You are on page 1of 373

เอกสารประกอบการบรรยาย

งานสารบรรณ
และการเขียนหนังสือราชการ

ฝ�กอบรมข้าราชการและบุคลากรของสํานักการระบายน�า
วันพุ ธที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมชัน
้ ๘ อาคารธานีนพรัตน์

รวบรวมและจัดทําโดย
นายศุภฤกษ์ หูไธสง ผู้อาํ นวยการส่วนบริหารกลาง
สํานักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สํานักการวางผัง
และพัฒนาเมือง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528
และฉบับแก �ไขเพิ่มเติม
2. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
และฉบับแก �ไขเพิ่มเติม
3. คําอธิบายเพิ่ มเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2533
4. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 และ
ฉบับแก �ไขเพิ่มเติม
5. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552
และฉบับแก �ไขเพิ่มเติม
6. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการใช้ตําแหน่งทางวิชาการเป�นคํานําหน้านาม
พ.ศ. 2536
7. ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธป ี ฏิบัตง
ิ านสารบรรณ พ.ศ. 2546
และฉบับแก �ไขเพิ่มเติม
8. ประกาศกรุงเทพมหานคร เรือ ่ ง การแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานและ
การกําหนดอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการกรุงเทพมหานคร
9. เทคนิคการเขียนรายงานการประชุม
10. หลักเกณฑ์การใช้เครือ ่ งหมายวรรคตอน และเครือ ่ งหมายอืน
่ ๆ
หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนคําย่อ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คํานิยามศั พท์
ระเบียบ กทม. ว่าด้วยวิธป
ี ฏิบัตง
ิ านสารบรรณ พ.ศ. 2546

“หน่วยงาน”
หมายความว่า หน่วยงานตามมาตรา 60 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบ
บริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และ
ให้หมายความรวมถึงการพาณิชย์ของ กทม. ด้วย

“ส่วนราชการ”
หมายความว่า ส่วนราชการตามประกาศ กทม.
เรือ
่ ง การแบ่งส่วนราชการภายในหน่วยงานและ
การกําหนดอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการ กทม.

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คํานิยามศั พท์
ระเบียบ กทม. ว่าด้วยวิธป
ี ฏิบัตง
ิ านสารบรรณ พ.ศ. 2546

“ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ”
หมายความว่า หน่วยงานหรือส่วนราชการ
ที่เป�นเจ้าของหนังสือนั้น

“ส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง”
หมายความว่า หน่วยงานหรือส่วนราชการ
ที่ออกหนังสือนั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก
ท้ายระเบียบ กทม. ว่าด้วยวิธป
ี ฏิบัตง
ิ านสารบรรณ พ.ศ. 2546 และที่แก �ไขเพิ่ มเติม

ภาคผนวก ๑ การกําหนดเลขที่หนังสือออก

ภาคผนวก ๒ คําขึ้นต้น สรรพนาม คําลงท้ายในหนังสือราชการ และ


คําที่ใช �ในการจ่าหน้าซอง
ภาคผนวก ๓ การลงชื่อและตําแหน่ง
ภาคผนวก ๔ หนังสือราชการภาษาอังกฤษ
ภาคผนวก ๕ การกําหนดเลขที่หนังสือออกและการออกหนังสือราชการของ
ส่วนราชการที่ประจําในต่างประเทศ
ภาคผนวก ๖ หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
และหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ภาคผนวก ๗ หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
และหนังสือราชการโดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คําอธิบาย
ท้ายระเบียบ กทม. ว่าด้วยวิธป
ี ฏิบัตง
ิ านสารบรรณ พ.ศ. 2546 และที่แก �ไขเพิ่ มเติม

คําอธิบาย ๑ ความหมายของงานสารบรรณ
คําอธิบาย ๒ วิธก
ี ารบันทึก
คําอธิบาย ๓ การร่างหนังสือ
คําอธิบาย ๔ การเขียนและการพิ มพ์
คําอธิบาย ๕ การกําหนดตัวเลขสําหรับใช้เป�นหัวข้อ
คําอธิบาย ๖ การทําสําเนา
คําอธิบาย ๗ การเสนอหนังสือ
คําอธิบาย ๘ การจ่าหน้าซอง
คําอธิบาย ๙ การควบคุมและเร่งรัดงานสารบรรณ
คําอธิบาย ๑๐ รายงานการประชุม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้บังคับของระเบียบ
ระเบียบนี้ใช้บังคับแก่
ส่วนราชการ หมายความรวมถึง
คณะกรรมการด้วย

ส่ วนราชการใด
มีความจําเป�น
ที่ จะต้ องปฏิ บัติงาน
สารบรรณ ให้ขอทําความตกลงกับ
ผู้รก
ั ษาการ ตามระเบียบนี้
นอกเหนือไปจาก
ที่ได้กําหนดไว �ในระเบียบนี้
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้บังคับของระเบียบ
ในกรณีที่

กฎหมาย

ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
หรือ

ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ

กําหนดวิธป
ี ฏิบัติเกี่ยวกับสารบรรณไว้เป�นอย่างอืน

ให้ถือปฏิบัติ ตามกฎหมาย หรือระเบียบว่าด้วยการนั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ความหมายของงานสารบรรณ

การจัดทํา
งานสารบรรณ
การรับ
หมายความว่า
การส่ ง

งานที่เกี่ยวกับ การเก็บรักษา
การบริหารงาน
เอกสาร การยืม

การทําลาย

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
1 หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ
หนังสื อราชการ 2 - หน่วยงานอืน่ ที่ไม่ใช่ส่วนราชการ
หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึง

- บุคคลภายนอก

3 หนังสือที่มีมาถึงส่วนราชการจาก
- หน่วยงานอืน ่ ที่ ไม่ใช่ส่วนราชการ
คือ - บุคคลภายนอก

เอกสารที่เป�น 4 เอกสารที ่ทางราชการ จัดทําขึ้นเพื่อ


เป�นหลักฐานในราชการ
หลักฐาน 5 เอกสารที ่ทางราชการจัดทําขึ้น
ในราชการ ตามกฎหมายระเบียบหรือข้อบังคับ

6 ข้จากระบบสารบรรณอิ
อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รบ

เล็กทรอนิกส์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ชนิดและแบบ
ของหนังสือราชการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ชนิดและแบบของหนังสือราชการ
1 2 3
หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา
(แบบที่ 1) (แบบที่ 2) (แบบที่ 3)

4 หนังสือสั่งการ 5 หนังสือ 6 หนังสือที่เจ้าหน้าที่


ประชาสัมพั นธ์ ทําขึ้นหรือรับไว้เป�น
หลักฐานในราชการ
คําสั่ง ประกาศ หนังสือรับรอง
(แบบที่ 5) (แบบที่ 8) (แบบที่ 10)

ระเบียบ แถลงการณ์ รายงานการประชุม


(แบบที่ 6) (แบบที่ 9) (แบบที่ 11)

ข้อบังคับ
ข้อบังคับ ข่าว
(แบบที่ 7) (แบบที่ 10) หนังสืออืน

ที่เกิดจากการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
กระดาษตราครุฑ
และกระดาษบันทึกข้อความ

กระดาษตราครุฑ กระดาษบันทึกข้อความ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือภายนอก

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือภายนอก
 หนังสือติดต่อราชการที่เป�นแบบพิธี
 ติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือ
ส่วนราชการมีถง ึ หน่วยงานอืน ่ ใด
ซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถงึ
บุคคลภายนอก
 ใช้กระดาษตราครุฑ
 หนังสือติดต่อระหว่าง กทม. กับ
หน่วยราชการอืน ่ หรือหน่วยงานอืน

ที่มิใช่หน่วยราชการหรือ
บุคคลภายนอก และหนังสือที่
ผว.กทม. มีไปถึง
ประธานสภากรุงเทพมหานคร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ชั้นความเร็ว
ชั้นความเร็ว (ถามี)
ที่ นร ๐๑๐๖/๑ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

หนังสือที่ต้องปฏิบัติ ดวนที่สุด ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบต


ั ิ
ในทันทีที่ได้รบั หนังสือนั้น
ให้เร็วกว่าปกติ
เป�นหนังสือที่ต้องจัดส่ งและ
ดําเนินการทางสารบรรณ ดวนมาก ั ิโดยเร็ว
ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบต
ด้วยความรวดเร็วเป�นพิเศษ

ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบต
ั ิ
ดวน เร็วกว่าปกติเท่าที่จะทําได้

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เลขที่หนังสือออกของราชการส่วนกลาง
ชั้นความเร็ว (ถามี)
ที่ นร ๐๑๐๖/๑ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

เลขประจําเจาของเรื่อง

รหัสตัวพยัญชนะ
ประจํากระทรวง นร ๐๑๐๖ /๒๕ เลขทะเบียน
หนังสือสง

ตัวเลขสองตัวแรก ตัวเลขสองตัวหลัง
หมายถึง สวนราชการระดับกรม โดยเริ่มจากตัวเลข ๐๑ หมายถึง สํานัก กอง หรือสวนราชการที่มีฐานะ
เรียงไปตามลําดับสวนราชการตามกฎหมายวาดวย เทียบเทากอง โดยเริ่มจากตัวเลข ๐๑ เรียงไป
การปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม สําหรับสวนราชการ ตามลําดับสวนราชการตามกฎหมายวาดวย
ที่ไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง การแบงสวนราชการ
ใหใชตัวเลข ๐๐
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เลขที่หนังสือออกของราชการส่วนภูมิภาค

ชั้นความเร็ว (ถามี)
ที่ นบ ๐๐๑๒/๒๕ ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี

เลขประจําเจาของเรื่อง

รหัสตัวพยัญชนะ
ประจําจังหวัด
นบ ๐๐๒๓ /๒๕ เลขทะเบียน
หนังสือสง
ตัวเลขสองตัวแรก ตัวเลขสองตัวหลัง
หมายถึง อําเภอหรือกิ่งอําเภอ โดยเริ่มจากตัวเลข ๐๑ หมายถึง หนวยงานในราชการสวนภูมิภาค
ซึ่งโดยปกติใหใชสําหรับอําเภอเมือง เรียงไปตามลําดับ ที่สังกัดจังหวัดหรืออําเภอ
ตามที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด
สําหรับหนวยงานในราชการสวนภูมภิ าคที่ขึ้นกับ
จังหวัดโดยตรง ใหใชตัวเลข ๐๐

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เลขที่หนังสือออกของราชการกรุงเทพมหานคร

ชั้นความเร็ว (ถามี)
ที่ กท ๑๐๐๒/๒๔ กรุงเทพมหานคร

เลขประจําเจาของเรื่อง

รหัสตัวพยัญชนะ
ประจํา กทม.
กท ๑๐๐๒/๒๔ เลขทะเบียน
หนังสือสง
ตัวเลขสองตัวแรก ตัวเลขสองตัวหลัง
สําหรับหนวยงาน โดยเริ่มจากตัวเลข ๐๑ เรียงไป หมายถึง สวนราชการภายในหนวยงาน
ตามลําดับหนวยงานตามประกาศ กทม. วาดวยการจัด ระดับไมต่ํากวากองหรือฝาย (ฝาย สังกัด
ระเบียบราชการของ กทม. สํานักงานเขต) ตามประกาศ กทม.
วาดวยการแบงสวนราชการภายใน
หนวยงานฯ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เลขที่หนังสือออกของคณะกรรมการ
รหัสตัวพยัญชนะของคณะกรรมการ
ที่ นร (กคร) ๐๑๐๖/๑๒๓ คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร
สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง ของหน ว ยงานของรั ฐ (กคร.)
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐

การกําหนดเลขที่หนังสือออกของคณะกรรมการ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและ
เลขประจําของเจ้าของเรือ
่ ง

ในกรณีที่คณะกรรมการประสงค์จะกําหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิ่มขึ้น ให้กําหนดได้
ไม่เกินสี่ตัว โดยให้อยู่ในวงเล็บต่อจากรหัสตัวพยัญชนะของเจ้าของเรือ
่ ง และ
รหัสตัวพยัญชนะดังกล่าวจะต้องไม่ซ�ากับรหัสตัวพยัญชนะที่กําหนดไว �ใน
ภาคผนวก ๑ แล้วต่อด้วยเลขประจําของเจ้าของเรือ
่ ง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือเวียน

ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๑ สํานักนายกรัฐมนตรี


ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐

หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีถึงผูรับเปนจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน


ใหเพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว หนาเลขทะเบียนหนังสือสง ซึ่งกําหนดเปนเลขที่หนังสือเวียน
โดยเฉพาะ เริ่มตั้งแตเลข ๑ เรียงเปนลําดับไปจนถึงสิ้นปปฏิทิน หรือใชเลขที่ของหนังสือทัว่ ไป
ตามแบบหนังสือภายนอก อยางหนึ่งอยางใด
เมื่อผูรับไดรับหนังสือเวียนแลวเห็นวา เรื่องนั้นจะตองใหหนวยงานหรือบุคคลในบังคับบัญชา
ในระดับตาง ๆ ไดรับทราบดวย ก็ใหมีหนาที่จดั ทําสําเนา หรือจัดสงใหหนวยงาน หรือบุคคล
เหลานั้นโดยเร็ว
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ส่วนราชการเจ้าของหนังสือ

ที่ ........................ (สวนราชการเจาของหนังสือ)


(ที่ตั้ง)

ใหลงชื่อสวนราชการ สถานที่ราชการ หรือคณะกรรมการ ซึ่งเปนเจาของหนังสือนั้น


โดยปกติใหลงที่ตั้งไวดวย
สํานักนายกรัฐมนตรี
ทําเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐
คําถาม
การลงที่ตั้งจะวางรูปแบบอยางไร สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐
คณะกรรมการรถราชการ
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี
ทําเนียบรัฐบาล กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หน่วยสารบรรณกลางของกรุงเทพมหานคร
และหน่วยสารบรรณกลางของหน่วยงาน
1. สํานักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร
เป�นหน่วยสารบรรณกลางของ กทม.
2. สํานักงานเลขานุการสํานัก เป�นหน่วยสารบรรณกลางของสํานัก
3. ฝ�ายปกครอง สํานักงานเขต เป�นหน่วยสารบรรณกลาง
ของสํานักงานเขต
3. กองบริหารงานทั่วไป สํานักงาน ก.ก. เป�นหน่วยสารบรรณกลาง
ของสํานักงาน ก.ก.
4. ฝ�ายบริหารงานทั่วไป สลส.กทม. เป�นหน่วยสารบรรณกลาง
ของ สลส.กทม.
5. ฝ�ายบริหารงานทั่วไป สผว.กทม. เป�นหน่วยสารบรรณกลาง
ของ สผว.กทม.
6. ฝ�ายบริหารงานทั่วไป หรืองานธุรการ ของส่วนราชการระดับไม่ต�ากว่า
กองในสั งกัด สนป. เป�นหน่วยสารบรรณกลางของส่วนราชการระดับไม่
ต�ากว่ากองใน สนป.
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
วัน เดือน ป�

ที่ …………………. (สวนราชการเจาของหนังสือ)


(ที่ตั้ง)
๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
ตัวเลขของวันที่ ตัวเลขของปพุทธศักราช

ชื่อเต็มของเดือน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เรือ
่ ง

ที่ นร ๑๐๐๒/ว ๔๗ สํานักนายกรัฐมนตรี


ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐
๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๐
เรื่อง วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการรับรองสําเนาหนังสือ

ใหลงเรื่องยอที่เปนใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น
ในกรณีที่เปนหนังสือตอเนื่อง โดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คําขึ้นต้น

ที่ ............................. (สวนราชการเจาของหนังสือ)


(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป)

เรื่อง ........................................................................
(คําขึ้นตน) ......................................

ใหใชคําขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามภาคผนวก ๒ คําขึ้นตน สรรพนาม


และคําลงทาย แลวลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีมีถึง
ตัวบุคคลไมเกี่ยวกับตําแหนงหนาที่
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คําขึ้นต้น

ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๑๙ สํานักนายกรัฐมนตรี


ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
เรื่อง คําอธิบายการพิมพหนังสือราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพิมพในเครื่องคอมพิวเตอร
และตัวอยางการพิมพ
เรียน ปลัดกระทรวงกลาโหม
นมัสการ เลขานุการสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
กราบเรียน ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ระบุคํานําหนานาม
เรียน ทานรองนายกรัฐมนตรี (.............................................) และชือ่ เต็ม
เรียน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ผาน รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (……........…………..)
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คําลงท้าย
ที่ นร ............................. (สวนราชการเจาของหนังสือ)
(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป)
เรื่อง ....................................................
(คําขึ้นตน) ..............................
(ขอความ) ......................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตําแหนง)

ใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามภาคผนวก ๒ คําขึ้นตน
สรรพนาม คําลงทาย ในหนังสือราชการ และคําที่ใชในการจาหนาซอง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๒
คําขึ้นต้น สรรพนาม คําลงท้าย ในหนังสือราชการ
และคําที่ใช �ในการจ่าหน้าซอง
คําที่ใช้
ผู้รบ
ั หนังสือ คําขึ้นต้น สรรพนาม คําลงท้าย ในการ
จ่าหน้าซอง
๓.๑ ประธานองคมนตรี กราบเรียน ข้าพเจ้า ขอแสดงความนับถือ กราบเรียน
นายกรัฐมนตรี กระผม อย่างยิ่ง
ประธานรัฐสภา ผม
ประธานสภาผู้แทนราษฎร ดิฉัน
ประธานวุฒส
ิ ภา ท่าน
ประธานศาลฎีกา
ประธานศาลรัฐธรรมนูญ
ประธานศาลปกครองสูงสุด
ประธานกรรมการการเลือกตัง้
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ประธานกรรมการป�องกันและปราบปรามการทุจริต
แห่งชาติ ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินหรือผู้ตรวจการแผ่นดิน
อัยการสูงสุด
รัฐบุรษ

ที่มา : หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๙๑๓ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ (แก �ไขเพิ่มเติมภาคผนวก ๒ ข้อ ๓.๑)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อ้างถึง (ถ้ามี)

ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๔๙๗ สํานักนายกรัฐมนตรี


ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐
๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๘
เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมชื่อสวนราชการและการกําหนดรหัสตัวพยัญชนะประจําสวนราชการ
ของสํานักงานราชบัณฑิตยสภา
เรียน .................................................
อางถึง หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ดวนที่สุด ที่ นร ๑๔๐๗/ว ๗๔๖๐ ลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕

ใหอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกันเฉพาะหนังสือที่สวนราชการผูรับหนังสือไดรับมากอนแลว
จะจากสวนราชการใดก็ตาม โดยใหลงชื่อสวนราชการเจาของหนังสือและเลขที่หนังสือ
วันที่ เดือน ปพุทธศักราช ของหนังสือนั้น
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สิ่ งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี)
ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๑๙ สํานักนายกรัฐมนตรี
ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
เรื่อง ...............................................................................
เรียน ............................................................
อางถึง .....................................................................................................................................................
สิ่งที่สงมาดวย สําเนาคําอธิบายการพิมพหนังสือราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพิมพในเครื่องคอมพิวเตอร
และตัวอยางการพิมพ จํานวน ๓ แบบ

ใหลงชื่อสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร ที่สงไปพรอมกับหนังสือนั้น


ในกรณีที่ไมสามารถสงไปในซองเดียวกันได ใหแจงดวยวา สงไปโดยทางใด
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความ
ที่ ............................. (สวนราชการเจาของหนังสือ)
(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป�)
เรื่อง ............................................................................
เรียน ...................................................................
(ข้อความ) ..............................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………

ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย
หากมีความประสงคหลายประการ ใหแยกเปนขอ ๆ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง

ที่ .................................. (สวนราชการเจาของหนังสือ)


(ที่ตั้ง)

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตําแหนง)

ลงชื่อ ใหลงลายมือชื่อเจาของหนังสือ และใหพิมพชื่อเต็มของเจาของลายมือชื่อ


ไวใตลายมือชื่อ ตามรายละเอียดที่กําหนดไวในภาคผนวก ๓
ตําแหนง ใหลงตําแหนงของเจาของหนังสือ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง

ที่ ………………………….……. (สวนราชการเจาของหนังสือ)


(ที่ตั้ง)

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตําแหนง)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง

การลงชื่อแทน ผู้ลงชื่อแทน จะต้องเป�นผู้ที่ได้รบ



มอบหมาย หรือมอบอํานาจ ให้ปฏิบัติหน้าที่แทน
รักษาราชการแทน รักษาการแทน ปฏิบัติราชการ
แทน รักษาการในตําแหน่ง หรือทําการแทน
ตามที่มีกฎหมายกําหนด
ขอแสดงความนับถือ ขอแสดงความนับถือ
แบบที่ ๑ แบบที่ ๒
(…………………………………………) (…………………………………………)
รองปลัดกรุงเทพมหานคร ปฏิบัติราชการแทน รองปลัดกรุงเทพมหานคร
ปลัดกรุงเทพมหานคร ปฏิบัติราชการแทนปลัดกรุงเทพมหานคร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ

ใหใช้
� คํานํานามว่า (คําลงทาย)
นาย นาง นางสาว
(นางสาว……………………………………….)
หน้าชื่อเต็ม
ตําแหนง
ใต้ลายมือชื่อ
เวนแตกรณีดังตอไปนี้
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ

๑. ในกรณี
ที่เจ้าของลายมือชื่อเป�น

สตรีที่ได้รบ
ั พระราชทาน
เครือ
่ งราชอิสริยาภรณ์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ

๑. ในกรณีที่เจ้าของลายมือชื่อเป�นสตรีที่ได้รบ ั พระราชทานเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์


ใหใช้� คํานํานามตามกฎหมายว่าด้วยการใช้คํานํานามสตรี
เช่น สตรีท่ัวไป ซึ่งมีสามีที่ได้รบ
ั พระราชทานเครือ
่ งราชย์อส
ิ ริยาภรณ์
ตัง้ แต่ชัน
้ ทุติยจุ ลจอมเกล้าวิเศษขึ้นไป
หรือที่ได้รบั พระราชทานเครือ ่ งราชอิสริยาภรณ์
ชั้นทุติยจุ ลจอมเกล้า ตติยจุ ลจอมเกล้า และ
จตุตถจุ ลจอมเกล้า
(คําลงทาย)
ใหใช้
� คํานํานามว่า
ท่านผู้หญิง หรือคุณหญิง
แล้วแต่กรณี (คุณหญิง………………………………….)
หน้าชื่อเต็มใต้ลายมือชื่อ ตําแหนง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ

๒.ในกรณีที่เจ้าของลายมือชื่อ
มีบรรดาศักดิ์ หรือ (คําลงทาย)
ฐานันดรศักดิ์
(คําเต็มของบรรดาศักดิ์……………………….)
ตําแหนง
ให้พิมพ์ คําเต็มของ
บรรดาศักดิ์ หรือ (คําลงทาย)
ฐานันดรศักดิ์
ไว �ใต้ลายมือชื่อ (คําเต็มของฐานันดรศักดิ์……………………….)
ตําแหนง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ

๓. ในกรณีที่เจ้าของลายมือชื่อ
มียศ ที่ต้องใช้ยศประกอบชื่อ
ให้พิมพ์ คําเต็มของยศ (คําลงทาย)
ไว้หน้าลายมือชื่อ คําเต็มของยศ
และพิมพ์ชื่อเต็ม (…………..……………………….)
ตําแหนง
ไว �ใต้ลายมือชื่อ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ
๔. ในกรณีที่มีกฎหมาย หรือระเบียบกําหนดใหใช้
� ตําแหน่งทางวิชาการเป�น
คํานํานาม ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมาย หรือระเบียบว่าด้วยการนั้น

การใช้ตําแหน่งทางวิชาการเป�นคํานําหน้านาม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วย


การใช้ตําแหน่งทางวิชาการเป�นคํานําหน้านาม พ.ศ. ๒๕๓๖

ตําแหน่งทางวิชาการ หมายความว่า ตําแหน่งศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ หรือ


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ซึ่งได้รบั แต่งตัง
้ ตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษา
ไม่วา่ จะเป�น ตําแหน่งทางวิชาการประจํา (คําลงทาย)
ตําแหน่งวิชาการพิ เศษ
ตําแหน่งทางวิชาการ
เกียรติคุณ หรือที่เรียกชื่ออย่างอืน
่ (ตําแหนงทางวิชาการ……………………………………..)
ในลักษณะเดียวกัน ตําแหนง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงชื่อและตําแหน่ง
การพิ มพ์ ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อ
กรณีที่ผู้ดํารงตําแหน่งทางวิชาการมีสิทธิใช้คํานําหน้านามอย่างอืน
่ ด้วย
ใหเรียงตามลําดับกอนหลัง ดังนี้
๑. ตําแหนงทางวิชาการ ๒. ยศ ๓. บรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ หรือคํานําหนานามสตรี
ที่ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ
และมีสิทธิใชคํานําหนานามนั้นตามกฎหมาย
ระเบียบ หรือประกาศของทางราชการ
(คําลงทาย) (คําลงทาย)

๒ ๑ ๒
( ๑ ๓ ...................) ( ๓ ...........................)
ตําแหนง ตําแหนง

การลงชื่อและตําแหนง แบบที่ ๑ การลงชื่อและตําแหนง แบบที่ ๒


งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง
ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง
หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ

สวนราชการที่ออกหนังสือ สวนราชการเจาของเรื่อง
ระดับกระทรวง ใหลงชื่อทั้งระดับกรม
หรือทบวง และกอง
ใหลงชื่อเพียงระดับกอง
ระดับกรมลงมา
หรือหนวยงานที่รับผิดชอบ

สําหรับหนังสือของคณะกรรมการ
ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง
ว่า “ฝ�ายเลขานุการ”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง (ของ กทม.)

ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง หรือ
หน่วยงาน/ส่วนราชการ/ส่วนงาน
ที่ออกหนังสือ

สวนราชการที่ออกหนังสือ สวนราชการเจาของเรื่อง

ใหลงชื่อทั้งระดับหนวยงาน
ระดับ กทม.
และสวนราชการ
ระดับ หนวยงาน ใหลงชื่อเพียงระดับสวนราชการ
ใหลงชื่อเพียงระดับสวนงาน หรือ
ระดับ สวนราชการ
สวนงานที่รับผิดชอบ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ที่ ………………………….……. (สวนราชการเจาของหนังสือ)
(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป)
เรื่อง ......................................
(คําขึ้นตน)
อางถึง (ถามี)
งที
ส ่สงมาดวย (ถามี)
(ขอความ) ……………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตําแหนง)
(สวนราชการเจาของเรื่อง)
โทร.
โทรสาร
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทีที่…่ ……………………….……
มท ๐๑๐๐/๖๑ (สวนราชการเจาของหนังสือ)
กระทรวงมหาดไทย
(ที่ตั้ง) ษฎางค เขตพระนคร กท ๑๐๒๐๐
ถนนอั

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตํ าแหน ง)
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

กรุงเทพมหานคร
สํ านั กการระบายน้


(สวนราชการเจาของเรื่อง )
โทร.
โทรสาร
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทีที่…่ ……………………….……
กท ๑๐๐๒/๖๑ (สงวเทพมหานคร
กรุ นราชการเจาของหนังสือ)
(ที่ตั้ง) ถนนดินสอ กทม. ๑๐๒๐๐
๑๗๓

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตํ าแหน ง)
ปลัดกรุงเทพมหานคร

สํานักการระบายน้ํา
สํ านั กงานพั ฒนาระบบระบายน้
(สวนราชการเจาของเรื่อง ) า

โทร.
โทรสาร
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทีที่…่ ……………………….……
กท ๑๐๐๒/๖๑ สํานัก(สการระบายน้
วนราชการเจํา าของหนังสือ)
๑๒๓(ทีถนนมิ
่ตั้ง) ตรไมตรี เขตดินแดง กทม. ๑๐๒๐๐

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตํ าแหน ง)
ผูอํานวยการสํานักการระบายน้ํา

สํานักงานพัฒนาระบบระบายน้
) า

(สวนราชการเจาของเรื่อง
โทร.
โทรสาร
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทีที่…่ ……………………….……
กท ๑๐๐๒/๖๑ (สวนราชการเจ
สํานักงานพั าของหนัํางสือ)
ฒนาระบบระบายน้
(ที่ตั้ง)
สํานักการระบายน้ ํา
๑๒๓ ถนนมิตรไมตรี เขตดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตํ าแหน ง)
ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาระบบระบายน้ํา

(สสววนวิ ชาการและแผนงาน
นราชการเจ าของเรื่อง )
โทร.
โทรสาร
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ที่…นร
……………………….……
๐๑๐๖ (ครร)/๑๒๓ (สวนราชการเจาของหนังสือ)
คณะกรรมการรถราชการ
สํ(ทีานั่ตั้งก)งานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐

(คําลงทาย)
(ลงชื่อ)
(พิมพชื่อเต็ม)
(ตําแหนง)
ประธานกรรมการ...
/กรรมการและเลขานุการ...
/เลขานุการ…
ฝายเลขานุการ
โทร.
โทรสาร
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
โทร.โทรสาร
ที่ ............................. (สวนราชการเจาของหนังสือ)
(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป)
เรื่อง ....................................................
เรียน ..............................
(ขอความ) …………………………………………………………………………………….…………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………..
ขอแสดงความนับถือ
โทร. ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเรื่อง หรือ
หนวยงานที่ออกหนังสือ และหมายเลขภายในตูสาขา (ถามี) ไวดว ย
ตําแหนง

โทร. X XXXX XXXX ตอ XXX โทรสาร ใหพิมพหมายเลขโทรสาร


โทรสาร X XXXX XXXX ตอจากหมายเลขโทรศัพท

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
โทร.
ขอใดถูกตอง ก. โทรศัพท ๐ ๒๒๒๖ ๐๒๐๔

ข. โทร. ๐๒-๒๒๖-๐๒๐๔
ค. โทร. ๐-๒๒๒๖-๐๒๐๔
ง. โทร. ๐ ๒๒๒๖ ๐๒๐๔
จ. โทร. ๐ ๒๒๒๖ ๐๒๐๔ (ศุภฤกษ)
ฉ. โทร. ๐ ๒๒๒๖ ๐๒๐๔ (นายศุภฤกษ หูไธสง)
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
ที่ ............................. (สวนราชการเจาของเรื่อง)
(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป)
เรื่อง ....................................................
เรียน ..............................
(ขอความ) .............................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ขอแสดงความนับถือ

(…………………………………)
ตําแหนง
(สวนราชการเจาของเรื่อง)
โทร. X XXXX XXXX ตอ XXX
โทรสาร X XXXX XXXX
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส supharerk@bangkok.go.th
สําเนาสง (ถามี)
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สําเนาส่ง
ที่ ............................. (สวนราชการเจาของเรื่อง)
(ที่ตั้ง)
(วัน เดือน ป)
เรื่อง ....................................................
เรียน ..............................

ใช………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
สําหรับกรณีที่ผูจัดสงสําเนาไปใหสวนราชการ หรือบุคคลอื่นทราบ
และประสงคจะใหผูรับทราบวา ไดมีสําเนาสงไปใหผูใดแลว

ใหพิมพชื่อเต็ม หรือชื่อยอของสวนราชการ หรือชื่อบุคคล


(สวนราชการเจาของเรื่อง)
โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๔๕๕๔ ที่สงสําเนาไปให เพื่อใหเปนที่เขาใจระหวางผูสงและผูรับ
โทรสาร ๐ ๒๒๘๓ ๔๕๘๙
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
สําเนาสง (ถามี) ถาหากมีรายชื่อที่สงมาก ใหพิมพวาสงไปตามรายชื่อที่แนบ
และแนบรายชื่อไปดวย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือภายใน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือภายใน

หนังสือติดต่อราชการที่เป�น
แบบพิ ธี น้อยกว่าหนังสือ
ภายนอก

เป�นหนังสือติดต่อภายใน
กระทรวง กรม หรือจังหวัด
เดียวกัน
ใช้กระดาษบันทึกข้อความ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือภายใน

หนังสือติดต่อระหว่างหน่วยงานของ
กทม. ให้ทําในนามของหัวหน้าหน่วยงาน
ยกเว้น ส่วนราชการระดับไม่ต�ากว่ากอง
ในสั งกัดสํานักปลัดกรุงเทพมหานคร
ให้ติดต่อระหว่างหัวหน้าหน่วยงานกับ
หัวหน้าส่วนราชการได้

หนังสือติดต่อระหว่างส่วนราชการ
ภายในหน่วยงานเดียวกัน
ให้ทําในนามของหัวหน้าส่วนราชการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ส่วนราชการ
บันทึกขอความ
สวนราชการ.………………………………………………………………………………………………………........................
ที…่ ……………………………………………..….………….……วันที่…………….……..…………………………………............
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………..........................…….

ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรือ
่ ง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ
โดยมีรายละเอียดพอสมควร พร้อมทัง ้ หมายเลขโทรศัพท์ (ถ้ามี)

สวนราชการที่ออกหนังสือ สวนราชการเจาของเรื่อง
ระดับกรมขึ้นไป ใหลงชื่อทั้งระดับกรมและกอง
ใหลงชื่อเพียงระดับกอง
ระดับต่ํากวากรมลงมา หรือสวนราชการเจาของเรื่อง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บันทึกขอความ
สวนราชการ.….......................................................................................................
กรุงเทพมหานคร (สํานักการระบายน้ํา โทร. หรือโทร. โทรสาร)
ที่…กท ๑๐๐๒/๑๘
…………………..…..…….......................วั ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
นที่................................……………...........
แผนปฏิบัตกิ ารปองกันและแกไขปญหาน้ําทวมกรุงเทพมหานครประจําป ๒๕๖๖
เรื่อง........................................................................................................................
เรียน ……….………………………………………………..

อางถึง
สิ่งที่สงมาดวย
(ขอความ) ……………………………..….……………………………………………………………………………….…..
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

(คําลงทาย)
(……………………………………
ปลัดกรุงเทพมหานคร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ส่วนราชการ (ของ กทม.)
บันทึกขอความ
สวนราชการ.………………………………………………………………………………………………………........................
ที่………………………………………………..….………….……วันที่…………….……..…………………………………............
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………..........................…….

สวนราชการที่ออกหนังสือ สวนราชการเจาของเรื่อง
ใหลงชื่อทั้งระดับหนวยงาน
ระดับ กทม.
และสวนราชการ
ใหลงชื่อเพียงระดับ
ระดับหนวยงาน สวนราชการเจาของเรื่อง
ใหลงชื่อเพียงระดับ
ระดับสวนราชการ
สวนงานเจาของเรื่อง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บันทึกขอความ
สวนราชการ.….......................................................................................................
กรุงเทพมหานคร (สํานักการระบายน้ํา โทร. หรือโทร. โทรสาร)
ที่…กท ๑๐๐๒/๑๘
…………………..…..…….......................วั ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
นที่................................……………...........
เรื่อง........................................................................................................................
เรียน ……….………………………………………………..

(ขอความ) ……………………………..….……………………………………………………………………………….…..
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

(พิมพชื่อเต็ม)
ปลัดกรุ(ตํงาเทพมหานคร
แหนง)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บันทึกขอความ
สวนราชการ.….......................................................................................................
สํานักการระบายน้ํา (สํานักงานพัฒนาระบบระบายน้ํา โทร. หรือโทร. โทรสาร)
ที่…กท ๑๐๐๒/๑๘
…………………..…..…….......................วั ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
นที่................................……………...........
เรื่อง........................................................................................................................
เรียน ……….………………………………………………..

(ขอความ) ……………………………..….……………………………………………………………………………….…..
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

(พิมพชื่อเต็ม)
(ตํานัแหน
ผูอํานวยการสํ ง)
กการระบายน้ ํา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บันทึกขอความ
สวนราชการ.….......................................................................................................
สํานักงานพัฒนาระบบระบายน้ํา (สวนวิศวกรรมระบบระบายน้ํา โทร. หรือโทร. โทรสาร)
ที่…กท ๑๐๐๒/๑๘
…………………..…..…….......................วั ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
นที่................................……………...........
เรื่อง........................................................................................................................
เรียน ……….………………………………………………..

(ขอความ) ……………………………..….……………………………………………………………………………….…..
………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………

(พิมพชื่อ
ผูอ ํานวยการสํานักเต็(ตํงานพั
มา)แหนฒงนาระบบระบายน้
) ํา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่องตามที่กําหนดไวใน
ภาคผนวก ๑ ทับเลขทะเบียนหนังสือสง
หนังสือของคณะกรรมการใหกําหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิ่มขึ้นไดตามความจําเปน

หนังสือภายใน ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และ


ตัวเลขของปพุทธศักราชที่ออกหนังสือ

หนังสือติดต่อราชการที่เป�น ใหลงเรื่องยอที่เปนใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น
ในกรณีที่เปนหนังสือตอเนื่อง โดยปกติใหลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม
แบบพิ ธี น้อยกว่าหนังสือ
ภายนอก

เป�นหนังสือติดต่อภายใน
กระทรวง กรม หรือจังหวัด
เดียวกัน
ใช้กระดาษบันทึกข้อความ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ใหใชคําขึ้นตนตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใชคําขึ้นตน
สรรพนาม และคําลงทายที่กําหนดไวในภาคผนวก ๒
แลวลงตําแหนงของผูที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อของบุคคลในกรณีที่

หนังสือภายใน
มีถึงตัวบุคคลไมเกี่ยวกับตําแหนงหนาที่

หนังสือติดต่อราชการที่เป�น ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย
แบบพิ ธี น้อยกว่าหนังสือ หากมีความประสงคหลายประการ ใหแยกเปนขอ ๆ
ในกรณีที่มีการอางถึงหนังสือที่เคยมีติดตอกัน หรือ
ภายนอก มีสิ่งที่สงมาดวย ใหระบุไวในขอนี้

เป�นหนังสือติดต่อภายใน
กระทรวง กรม หรือจังหวัด
เดียวกัน
ใหปฏิบัติตามหนังสือภายนอก
ใช้กระดาษบันทึกข้อความ โดยอนุโลม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือ
ประทับตรา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือประทับตรา
หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของ
หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม ขึ้นไป
โดยให้หว ั หน้าส่วนราชการระดับกอง
หรือผู้ที่ได้รบ
ั มอบหมายจากหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป�น
ผู้รบ
ั ผิดชอบลงชื่อย่อกํากับตรา
ใช้กระดาษตราครุฑ

การลงชื่อย่อกํากับตราในหนังสือ
ประทับตรา ให้เป�นอํานาจหน้าที่ของ
หัวหน้าหน่วยงานหรือหัวหน้าส่วน
ราชการระดับไม่ต�ากว่ากองที่ได้รบ

มอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงาน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือประทับตรา
หนังสือประทับตรา ใหใช
� �ได้ทง
ั้ ระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และ ระหว่าง
ส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรือ
่ งสําคัญ ได้แก่

๑. การขอรายละเอียดเพิ่ม

๒. การส่งสําเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร

๓. การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสําคัญหรือการเงิน

๔. การแจ้งผลงานที่ได้ดําเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ

๕. การเตือนเรือ
่ งที่ค้าง

๖. เรือ
่ งซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนดโดยทําเป�นคําสั่ ง
ใหใช้
� หนังสือประทับตรา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ใหลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจําของเจาของเรื่อง
ตามที่กาํ หนดไวในภาคผนวก ๑ ทับเลขทะเบียนหนังสือสง

ใหลงชื่อสวนราชการ หนวยงาน หรือบุคคลที่หนังสือนั้นมีถึง

หนังสือประทับตรา ใหลงสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย

หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อ
ของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
โดยให้หว ั หน้าส่วนราชการระดับกอง
ใหลงชื่อสวนราชการที่สงหนังสือออก
หรือผู้ที่ได้รบ
ั มอบหมายจากหัวหน้า
ส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป�น ใหลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน
และตัวเลขของปพุทธศักราชที่ออกหนังสือ
ผู้รบ
ั ผิดชอบลงชื่อย่อกํากับตรา
ใหผูรับผิดชอบลงลายมือชื่อยอกํากับตรา
ใช้กระดาษตราครุฑ
ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องหรือหนวยงานที่ออกหนังสือ

ใหลงหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการเจาของเรื่องและหมายเลขภายในตูสาขา (ถามี)
ในกรณีที่ไมมีโทรศัพท ใหลงที่ตั้งของสวนราชการเจาของเรื่อง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตราชื่อส่วนราชการ
ให้ประทับตราชื่อส่วนราชการด้วยหมึกแดง
ให้ผู้รบ
ั ผิดชอบลงลายมือชื่อย่อกํากับตรา

๔.๕ ซม.
๓.๕ ซม. ๓ ซม.

อักษรไทยชื่อกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอืน


่ และมีฐานะเป�นกรม หรือ
จังหวัด อยู่ขอบล่างของตรา

ส่วนราชการใดที่มีการติดต่อกับต่างประเทศ จะให้มีชื่อภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้นด้วยก็ได้
โดยให้อก
ั ษรไทยอยู่ขอบบน และอักษรโรมันอยู่ขอบล่างของตรา
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือสั่งการ
 ใหใช้
� ตามแบบที่กําหนดไว �ในระเบียบนี้
เว้นแต่จะมีกฎหมายกําหนดแบบไว �โดยเฉพาะ

มี ๓ ชนิด ได้แก่ คําสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ


งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คําสั่ ง
บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชา
สั่ งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วย
กฎหมาย
ใช้กระดาษตราครุฑ
หนังสือสั่ งการชนิดคําสั่ งมีได้
3 ระดับ คือ
๑) คําสั่ งกรุงเทพมหานคร
๒) คําสั่ งหน่วยงาน
๓) คําสั่ งส่วนราชการ
***คําสั่ งคณะกรรมการ/
คําสั่ งประธานกรรมการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบ
บรรดาข้อความที่
ผู้มีอาํ นาจหน้าที่ได้วางไว้
โดยจะอาศัยอํานาจของ
กฎหมายหรือไม่ก็ได้
เพื่อถือเป�นหลักปฏิบต ั ง
ิ าน
เป�นการประจํา

ใช้กระดาษตราครุฑ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อบังคับ
บรรดาข้อความที่
ผู้มีอาํ นาจหน้าที่
กําหนดใหใช � �โดยอาศัย
อํานาจของกฎหมาย
ที่บัญญัติให้กระทําได้

ใช้กระดาษตราครุฑ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือ
ประชาสัมพั นธ์
 ใหใช้
� ตามแบบที่กําหนดไว �ในระเบียบนี้
เว้นแต่จะมีกฎหมายกําหนดแบบไว �โดยเฉพาะ

มี ๓ ชนิด ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว


งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ประกาศ

บรรดาข้อความที่ทาง
ราชการ ประกาศหรือ
ชี้แจงให้ทราบ หรือแนะ
แนวทางปฏิบัติ

ใช้กระดาษตราครุฑ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
แถลงกาณ์
บรรดาข้อความที่
ทางราชการแถลง
เพื่อทําความเข้าใจ
ในกิจการของทางราชการ
หรือเหตุการณ์ หรือ
กรณีใด ๆ ให้ทราบชัดเจน
โดยทั่วกัน

ใช้กระดาษตราครุฑ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข่าว
บรรดาข้อความที่
ทางราชการ เห็นสมควร
เผยแพร่ให้ทราบ
อาจจัดทําแบบข่าว
โดยมีรปู แบบ แตกต่างไป
จากแบบที่กําหนดได้
โดยมีสาระสําคัญของ
หัวข้อข่าว ตามที่ระเบียบ
กําหนด

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือที่เจ้าหน้าที่
ทําขึ้น หรือรับไว้
เป�นหลักฐานในราชการ
คือ หนังสือที่ทางราชการทําขึ้นนอกจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
หรือหนังสือ ที่หน่วยงานอืน
่ ใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือ
บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ และส่วนราชการรับไว้เป�น
หลักฐานของทางราชการ
มี ๔ ชนิด คือ หนังสือรับรอง รายงานการประชุม
บันทึก และหนังสืออืน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือรับรอง

หนังสือที่ส่วนราชการออกให้
เพื่อรับรอง แก่บุคคล
นิติบุคคล หรือหน่วยงาน
เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่ง
อย่างใด ให้ปรากฏแก่บุคคล
โดยทั่วไปไม่จาํ เพาะเจาะจง

ใช้กระดาษตราครุฑ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
รายงานการประชุม

การบันทึกความคิดเห็น
ของผู้มาประชุม
ผู้เข้าร่วมประชุม และ
มติของที่ประชุม
ไว้เป�นหลักฐาน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การจดรายงานการประชุม
อาจทําได้ ๓ วิธี

๑. จดละเอียดทุกคําพู ดของกรรมการ
หรือผู้เข้าร่วม ประชุมทุกคน พร้อมด้วยมติ

๒. จดย่อคําพู ดที่เป�นประเด็นสําคัญของกรรมการ
หรือผู้เข้าร่วมประชุม อันเป�นเหตุผลนําไปสู่มติ
ของที่ประชุม พร้อมด้วยมติ

๓. จดแต่เหตุผลกับมติของที่ประชุม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
รายงานการประชุม

รายงานการประชุม..........................................
ครั้งที่.................... ๑/๒๕๖๕

เมื่อ ..................................... ๒๐๕ - ๑/๒๕๖๕


ณ ............................................

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
รายงานการประชุม
ผูมาประชุม
ใหลงชื่อและหรือตําแหนงของผูไดรับแตงตัง้ เปนคณะที่ประชุม ซึ่งมาประชุม
๑. นาย...................... ....(ตําแหนง)..................... ประธานกรรมการ
๒. นางสาว................ ....(ตําแหนง)..................... กรรมการ
ผูแทน...........................
๓. นาง....................... ....(ตําแหนง)...................... กรรมการ
แทนผูแทน......................
ผูไมมาประชุม
ใหลงชื่อและหรือตําแหนงของผูไดรับแตงตัง้ เปนคณะที่ประชุม ซึ่งมิไดมาประชุม พรอมทั้ง
เหตุผล (ถามี)
๑. นาย...................... ...(ตําแหนง)..................... ติดราชการ
๒. นางสาว................ ...(ตําแหนง)..................... ลาประชุม
ผูแทน............................
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
รายงานการประชุม

ผูเขารวมประชุม
ใหลงชื่อและหรือตําแหนงของผูที่มิไดรับแตงตั้งเปนคณะที่ประชุม ซึ่งไดเขารวม
ประชุม (ถามี)
๑. นางสาว.................... ...(ตําแหนง)....................
...(หนวยงาน)..................
๒. นาย.................... ...(ตําแหนง)....................
...(หนวยงาน)..................

เริ่มประชุมเวลา เปดประชุมเวลา ๐๙.๐๐ น.


ใหลงเวลาที่เริ่มประชุม เริ่มประชุมเวลา ๐๙.๐๐ น.
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
รายงานการประชุม
(ขอความ)………..……………………………………….………………….
………………………………………………………………………………………

ใหบันทึกขอความทีป่ ระชุม โดยปกติใหเริม่ ดวยประธานกลาวเปดประชุม


และเรื่องที่ประชุม กับมติ หรือขอสรุปของที่ประชุมในแตละเรื่องตามลําดับ
ประกอบดวย หัวขอ ดังนี้
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจงใหที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องการรับรองรายงานการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องที่เสนอใหที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่เสนอใหที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ (ถามี)
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
รายงานการประชุม

เลิกประชุมเวลา ปดประชุมเวลา ๑๒.๐๐ น.


ใหลงเวลาที่เลิกประชุม เลิกประชุมเวลา ๑๒.๐๐ น.
ผูจดรายงานการประชุม
ใหลงชื่อผูจดรายงานการประชุมครั้งนั้น

รักชาติ ยิง่ ชีพ (ลงชื่อ)


(นายรักชาติ ยิ่งชีพ) (พิมพชื่อเต็ม)
นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการ (ตําแหนง)
ผูชวยเลขานุการ เลขานุการหรือผูซึ่งไดรับมอบหมาย
ผูจดรายงานการประชุม ผูจดรายงานการประชุม
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การรับรองรายงานการประชุม
อาจทําได้ ๓ วิธี
๑. รับรองในการประชุมครัง ้ นั้น
ใชสําหรับกรณีเรื่องเรงดวน ใหประธานหรือเลขานุการของที่ประชุมอานสรุป
มติใหที่ประชุมพิจารณารับรอง
๒.รับรองในการประชุมครัง ้ ต่อไป
ประธานหรือเลขานุการ เสนอรายงานการประชุมครั้งที่แลวมาใหทปี่ ระชุม
พิจารณารับรอง
๓.รับรองโดยการแจ้งเวียน
ใชในกรณีที่ไมมีการประชุมครั้งตอไป หรือมีแตยังกําหนดเวลาประชุมครั้งตอไป
ไมได หรือมีระยะเวลาหางจากการประชุมครัง้ นัน้ มาก ใหเลขานุการสงรายงานการ
ประชุม ไปใหบุคคลในคณะกรรมการพิจารณารับรอง ภายในระยะเวลาที่กําหนด
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ให้มีหว
ั ข้อดังต่อไปนี้
บันทึก ๑. ชื่อหรือตําแหนงที่บันทึกถึง
ใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในภาคผนวก ๒
ขอความซึ่งผูใตบังคับบัญชาเสนอตอ
ผูบังคับบัญชา หรือ ๒. สาระสําคัญของเรื่อง
ขอความซึ่งผูบังคับบัญชาสั่งการแก ใหลงใจความของเรื่องที่บันทึก
ผูใตบังคับบัญชา หรือ ถามีเอกสารประกอบก็ใหระบุไวดวย
ขอความที่เจาหนาที่หรือหนวยงาน ๓. ชื่อและตําแหนง
ระดับต่ํากวาสวนราชการระดับกรม
ติดตอกันในการปฏิบัติราชการ ใหลงลายมือชื่อและตําแหนงของผูบันทึก
ในกรณีที่ไมใชกระดาษบันทึกขอความ
ใหลงวัน เดือน ป ที่บันทึกไวดวย

ในกรณีที่บันทึกทําในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส หรือโดยการพิมพขอความในไปรษณีย
อิเล็กทรอนิกส หรือระบบสื่อสารอื่นใดทีม่ ีการยืนยันตัวตน จะพิมพชื่อผูบันทึกแทนการลงลาย-
มือชื่อ และจะไมลงวัน เดือน ปที่บันทึกก็ได หากระบบมีการบันทึกวัน เดือน ป ไวอยูแลว
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสืออืน

หนังสืออืน
่ คือ หนังสือหรือเอกสารอืน
่ ใดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัตง
ิ านของเจ้าหน้าที่
เพื่ อเป�นหลักฐานในราชการ ซึ่งรวมถึง ภาพถ่าย ฟิ ล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ
และสื่อกลางบันทึกข้อมูลด้วย หรือหนังสือของบุคคลภายนอก ที่ยื่นต่อเจ้าหน้าที่ และ
เจ้าหน้าที่ได้รบ
ั เข้าทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแล้ว มีรป
ู แบบตามที่กระทรวง
ทบวง กรม จะกําหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตามกฎหมายเฉพาะเรือ
่ งให้
ทําตามแบบ เช่น โฉนด แผนที่ แบบ แผนผัง สัญญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน
และคําร้อง เป�นต้น

สื่อกลางบันทึกข้อมูลดังกล่าวข้างต้น หมายถึง สื่อใด ๆ ที่อาจใช้บันทึกข้อมูลได้ด้วย


อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทัง
้ พื้ นที่ส่วนราชการใช �ในการจัดเก็บข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ด้วย เช่น บริการคลาวด์ (cloud computing)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียน
หนังสือราชการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

ผู้เขียนหนังสือ ผู้รบ
ั หนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หลักทั่วไป เขียนให้ถูกต้อง

ที่นิยมยึดถือ

ในการเขียน เขียนให้ชัดเจน รัดกุม

หนังสือ
เขียนให้บรรลุวต
ั ถุประสงค์
ราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ขั้นตอนที่
ศึกษาวิเคราะห์เรือ
่ ง

ขั้นตอน
ขัน
้ ตอนที่ รวบรวมข้อมูล
การร่าง ๒ ที่เกี่ยวข้อง
หนังสื อ
ขั้นตอนที่
ร่างหนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ขั้นตอนที่ ๑ ศึกษาวิเคราะห์เรือ
่ ง

Who

How What
ประเด็น
สําคัญ
Why ของเรือ
่ ง When

where

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ขัน
้ ตอนที่ ๒ รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

ข้อเท็จจริงครบถ้วน

กฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง


มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ

แนววินิจฉัยเดิม (ถ้ามี)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ขั้นตอนที่ ๓ ร่างหนังสือ

การลําดับคํา ลําดับความที่ดี

ความสมเหตุสมผล

คํานึงถึงใจผู้ลงนาม

ถนอมใจผู้รบ
ั หนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
ชื่อเรือ
่ ง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หลักการเขียน “ชื่อเรือ
่ ง” ที่ดี

ย่อให้สั้นที่สุด

ควรเขียนให้เป�นประโยค หรือวลี

พอให้รใจความว่
ู� าเป�นเรือ
่ งอะไร

แยกความแตกต่างจากเรือ
่ งอืน
่ ได้

เก็บค้นอ้างอิงได้งา่ ย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ย่อให้สั้นที่สุด

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ถ้าขึ้นต้นด้วย คํากริยา
จะชัดเจนดี
เรื่อง ขออนุมัติ

เรื่อง ขออนุญาต

เรื่อง ขอหารือ

เรื่อง ขอเชิญ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
แยกความแตกต่าง
จากเรือ
่ งอืน
่ ได้

เรื่อง แจงมติคณะรัฐมนตรี

เรื่อง แจงมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการชวยเหลือคาครองชีพ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เก็บค้นอ้างอิงได้งา่ ย

เรื่อง ขอเชิญประชุม

เรื่อง ขอเชิญประชุมคณะผูบริหารสํานักการระบายน้ํา ครั้งที่ ๒/๒๕๖๖

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้ชื่อเรือ
่ งเดิม
อาจทําให้ผู้รบ
ั สับสน
เรื่อง ขอหารือเกี่ยวกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และที่แกไขเพิ่มเติม

เรื่อง ขอหารือเกี่ยวกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และที่แกไขเพิ่มเติม
เรื่อง ตอบขอหารือเกี่ยวกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และที่แกไขเพิ่มเติม
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ไม่พึงใช้ชื่อเรือ
่ ง
ที่ไม่พึงประสงค์
เรื่อง การไมอนุมัติเลื่อนเงินเดือนนอกเหนือโควตาปกติเปนกรณีพิเศษ

เรื่อง การอนุมัติเลื่อนเงินเดือนนอกเหนือโควตาปกติเปนกรณีพิเศษ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตรงประเด็น และสอดคล้อง
กับส่วนสรุปความ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตรงประเด็น และสอดคล้อง
กับส่วนสรุปความ
ขอใดถูกตอง
ก. เรื่อง ขอเชิญเปนวิทยากรบรรยาย...
เรียน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ข. เรื่อง ขอเชิญวิทยากรบรรยาย...
เรียน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาใหความอนุเคราะหวิทยากรบรรยาย
ดังกลาวขางตนตอไปดวย จะขอบคุณมาก
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อาจใช้คํานามเป�นชื่อเรือ
่ งได้
กรณีที่มีความหมายกว้างและเป�นกลาง

เรือ
่ ง ร่างระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ....

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่างการเขียนเรือ
่ ง
 เรื่อง ขอศึกษาดูงาน
 เรือ่ ง ขออนุญาตศึกษาดูงานเกี่ยวกับการจัดการดานระบบสารสนเทศดาน
งบประมาณของกรุงเทพมหานคร
 เรื่อง ขอเชิญรวมสัมมนาประจําป
 เรือ่ ง ขอเชิญรวมสัมมนาประจําป 2557 เรื่อง การเสริมสรางศักยภาพเจาหนาที่
ผูปฏิบัติงานดานเลขานุการ
 เรื่อง ขอยืนยันการใชสถานที่ ณ หองนพรัตน ชั้น 5 ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร
ในการบรรยายหัวขอวิชา “การเขียนหนังสือราชการ”
 เรื่อง ขอยืนยันการใชหอ งนพรัตน ชั้น 5 ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร
 เรื่อง ขอยืนยันการใชสถานที่จัดการบรรยายหัวขอวิชา “การเขียนหนังสือราชการ”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่างการเขียนเรือ
่ ง

 เรื่อง ขอความเห็นชอบการแตงตัง้ กรรมการบริหารเพิม่ เติม 2 คน


 เรื่อง ขอความเห็นชอบการแตงตัง้ กรรมการบริหารเพิม่ เติม
 เรื่อง ขออนุเคราะหเขาสัมภาษณทานเนื่องในโอกาสเขารับตําแหนง
 เรื่อง ขออนุญาตเขาสัมภาษณ
 เรื่อง ขอความอนุเคราะหใหเขาสัมภาษณ
 เรื่อง ขออนุมัติจัดพิมพคูมือการปฏิบัติงานดานการทะเบียนราษฎร และ
ใหหนวยงานถือปฏิบัติตามคูมือการปฏิบัติงานดานการทะเบียนราษฎร
 เรื่อง ขออนุมัติจัดพิมพคูมือการปฏิบัติงานดานการทะเบียนราษฎร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่างการเขียนเรือ
่ ง

เรื่อง ขอความเห็นชอบจําหนายพัสดุ
 เรื่อง เห็นชอบใหจําหนายพัสดุ
เรื่อง ขออนุญาตเขาชมพิพิธภัณฑเด็กกรุงเทพมหานคร
 เรื่อง อนุญาตใหเขาชมพิพิธภัณฑเด็กกรุงเทพมหานคร
 เรื่อง การเขาชมพิพิธภัณฑเด็กกรุงเทพมหานคร
เรื่อง ขอความรวมมือการจัดการบรรยายหัวขอวิชา “การเขียนหนังสือราชการ”
 เรื่อง ใหความรวมมือการจัดการบรรยายหัวขอวิชา “การเขียนหนังสือราชการ”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
อ้างถึง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อ้างถึง (ถ้ามี)

ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๔๙๗ สํานักนายกรัฐมนตรี


ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐
๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๘
เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมชื่อสวนราชการและการกําหนดรหัสตัวพยัญชนะประจําสวนราชการ
ของสํานักงานราชบัณฑิตยสภา
เรียน .................................................
อางถึง หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ดวนที่สุด ที่ นร ๑๔๐๗/ว ๗๔๖๐ ลงวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕

ให้อา้ งถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือที่ส่วนราชการ
ผู้รบ
ั หนังสือได้รบ
ั มาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม
โดยให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือและเลขที่หนังสือ วันที่ เดือน
ป�พุทธศักราช ของหนังสือนั้น
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อ้างถึง (ถ้ามี)
การอ้างถึง ให้อา้ งถึงหนังสือฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว
เว้นแต่ มีเรือ
่ งอืน
่ ที่เป�นสาระสําคัญต้องนํามาพิจารณา
จึงอ้างถึงหนังสือฉบับอืน
่ ๆ ที่เกี่ยวกับเรือ
่ งนั้นโดยเฉพาะให้ทราบด้วย

ยกตัวอยางเชน
อางถึง หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๑๑๓๓ ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕

อางถึง หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ลับ ดวนที่สุด ที่ นร ๐๑๐๖/๑๑๓๔ ลง


วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
อางถึง หนังสือ นร. ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๑๑๓๓ ลว. ๑ พ.ค. ๕๕

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อ้างถึง

ขอใดถูกตอง
ก. อางถึง หนังสือศาลากลางจังหวัดนนทบุรี ที่ นบ …………… ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕

ข. อางถึง หนังสือจังหวัดนนทบุรี ที่ นบ ………….. ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕


งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อ้างถึง

ขอใดถูกตอง
ก. อางถึง หนังสือสํานักงานเทศบาลเมืองไทรมา ที่ นบ ……….. ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ข. อางถึง หนังสือเทศบาลเมืองไทรมา ที่ นบ ………… ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อ้างถึง

ขอใดถูกตอง
ก. อางถึง หนังสือสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ดวนที่สุด ที่ นร ๐๑๐๖/๑๒๓๔
ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕

ข. อางถึง หนังสือปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ดวนที่สุด ที่ นร ๐๑๐๖/๑๒๓๔


ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
สิ่ งที่ส่งมาด้วย

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สิ่ งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี)

ให้ลงชื่อสิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสารที่ส่งไปพร้อมกับหนังสือนั้น


ในกรณีที่ไม่สามารถส่ งไปในซองเดียวกันได้ ให้แจ้งด้วยว่าส่งไปโดยทางใด
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สิ่ งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี)
สิ่งที่สงมาดวย ตนฉบับหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๙๑๓ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕

สิ่งที่สงมาดวย สําเนาหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๙๑๓ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ จํานวน ๑ ฉบับ

สิ่งที่สงมาดวย สําเนาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม


จํานวน ๑๒๑ แผน
สิ่งที่สงมาดวย ๑. สําเนาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ จํานวน ๑๑๔ แผน
๒. สําเนาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ จํานวน ๖ แผน
๓. สําเนาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘ จํานวน ๑ แผน

สิ่งที่สงมาดวย รางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการลาของขาราชการ พ.ศ. .... จํานวน ๑ ชุด


และเอกสารที่เกี่ยวของ

สิ่งที่สงมาดวย (บัญชีเอกสารสิ่งที่สงมาดวย)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สิ่ งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สิ่ งที่ส่งมาด้วย
การสงสิ่งที่สงมาดวยเปน QR Code ในหนังสือ ยังไมมีระเบียบหรือหนังสือ
สั่งการกําหนดไว หลายสวนราชการนํารูปแบบตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ดวนที่สุด ที่ นร ๑๐๐๒/ว ๓๕๗ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓
มาอนุโลมใช โดยตําแหนงการจัดวาง QR Code จะอยูทายหนังสือตามความเหมาะสม
ขนาดไมนอยกวา ๑.๕x๑.๕ ซม. ควรเขียนรายละเอียดในเนื้อความของหนังสือดวย
ตัวอยางเชน
“...มอบหมายผูเกี่ยวของตอบแบบสอบถามดังสิ่งที่สงมาดวยทางออนไลนตาม QR Code
ทายหนังสือนี้”
“...รายละเอียดโครงการ กําหนดการ และแบบตอบรับเขารวมประชุมปรากฏตามลิงค
URL ทายหนังสือนี้”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
ข้อความ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความ

ให้ลงสาระสําคัญของเรือ
่ งให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย
หากมีความประสงค์หลายประการให้แยกเป�นข้อ ๆ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เนื้อหาของหนังสือราชการ
โดยปกติ จะประกอบด้วยเนื้อหา ๓ ส่วน

เหตุ ดวยมีสวนราชการไดหารือเกี่ยวกับการรับรองสําเนาหนังสือวา ตามระเบียบสํานักนายก-


รัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ใหใชคําวา “สําเนาถูกตอง” นั้น จะใชรวมถึงการรับรองสําเนา
ทีเ่ กิดจากการถายเอกสารดวยหรือไม อยางไร
ความประสงค สํานักนายกรัฐมนตรีพจิ ารณาแลวเห็นวา เรื่องการรับรองสําเนาหนังสือหรือเอกสาร นั้น
ตามหลักการของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ใหใชคําวา “สําเนาถูกตอง”
ไมวาสําเนานั้นจะทําดวยวิธีการถายเอกสาร คัดลอก หรืออัดสําเนาจากตนฉบับจริงก็ตาม ดังนั้น การรับรองสําเนา
ที่เกิดจากการถายเอกสารจึงใหใชคาํ วา “สําเนาถูกตอง” และเพือ่ ใหเปนไปตามหลักการดังกลาว การเรียก
สําเนาหนังสือทีเ่ กิดจากการถายเอกสารจึงใหใชคําวา “สําเนาหนังสือ” ทํานองเดียวกัน

สรุปความ จึงเรียนมาเพือ่ โปรดทราบ และกรุณาแจงใหสวนราชการในสังกัดทราบตอไปดวย

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
ข้อความส่วนเหตุ
(ส่วนนํา)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนเหตุ

คื อ
ข้อความที่
ผู้เขียนแจ้งไปยัง การเริม
่ เรือ
่ งใหม่
ผู้รบ
ั หนั งสื อ

เพื่ อบอกกล่ าว
เล่ าเหตุว่า เหตุใด
จึงมีหนั งสื อไป
การอ้างเรือ
่ งเดิม
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเริม

เรือ
่ งใหม่ “ด้วย”

“เนื่องด้วย” “โดยที่”
“เนื่องจาก” “สืบเนื่องจาก”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเริม
่ เรือ
่ งใหม่

ควรใช้เป�นการบอกกล่าวเล่าเหตุ
“ด้วย”
หรือเกริน
่ ขึ้นมาลอย ๆ
ดวยมีสวนราชการซึ่งมีการจัดทําขาวสารเผยแพร และจําเปน
ตองจัดทํารูปแบบขาวในลักษณะตาง ๆ ที่มีหัวกระดาษโดยเฉพาะ
ไดขอทําความตกลงไปยังสํานักนายกรัฐมนตรี เพื่อขอใชแบบขาว
แตกตางไปจากที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ
พ.ศ. ๒๕๒๖ กําหนด นั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเริม
่ เรือ
่ งใหม่
ควรใช �ในกรณีที่อา้ งเป�นเหตุอน ั หนักแน่น ที่จาํ เป�นต้อง
“เนื่องจาก” มีหนังสือไป หรือมีสาเหตุเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกัน หรือ
เป�นเรือ
่ งที่รู้ ๆ กันอยู่ทั่วไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเริม
่ เรือ
่ งใหม่
มักใช �ในกรณีที่กล่าวถึงข้อกฎหมาย
“โดยที่” หรือใช �ในการเขียนระเบียบ ข้อบังคับ
หรือคําสั่ ง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง การเริม่ เรือ่ งใหม่

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การอ้างเรือ
่ งเดิม

ขึ้นต้นด้วย ตามด้วย “ข้อความ”


ซึ่งสรุปใจความสําคัญของเรือ
่ ง
คําว่า ที่เคยติดต่อกัน หรือรับรูก
้ ันมาก่อน
โดยย่อ

“ตาม”
แล้วตามด้วยคําว่า

“ตามที่” “นั้น”

“อนุสนธิ” “ความละเอียดแจ้งแล้วนั้น”

“ความละเอียดแจ้งอยู่แล้ว นั้น”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การอ้างเรือ
่ งเดิม

ตาม จะต่อด้วย คํานาม

ตามหนังสือที่อา้ งถึง...

ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง การอ้างเรือ่ งเดิม
อางถึง หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/๑๒๓๕ ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕
ตามหนังสือที่อางถึง สํานักนายกรัฐมนตรี...
อางถึง โทรสารของสํานักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐
ตามโทรสารที่อางถึง สํานักนายกรัฐมนตรี...
อางถึง หมายเรียกพยานบุคคล ศาลอาญากรุงเทพใต คดีหมายเลขดําที่ ๑๑๑/๒๕๕๐
ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๐
ตามหมายเรียกพยานบุคคลที่อางถึง ศาลอาญา...
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ขอใดถูกตอง
ก. ตามบันทึกขอความสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๒๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
สํานักนายกรัฐมนตรีแจงวา ……. ความละเอียดแจงแลว นั้น

ข. ตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๒๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓


สํานักนายกรัฐมนตรีแจงวา ……. ความละเอียดแจงแลว นั้น

ค. ตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๒๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓


เรื่อง .......... สํานักนายกรัฐมนตรีแจงวา ……. ความละเอียดแจงแลว นั้น
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
เลือกแบบไหนดี
ก. ตามที่สํานักนายกรัฐมนตรีไดมีหนังสือ ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๒๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
แจงวา ……. ความละเอียดแจงแลว นั้น

ข. ตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๒๐ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓


สํานักนายกรัฐมนตรีแจงวา ……. ความละเอียดแจงแลว นั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การอ้างเรือ
่ งเดิม

ตามที่ จะต่อด้วย ประโยค

ตามที่คณะรัฐมนตรีได้ลงมติเห็นชอบ...

ตามที่ได้ประกาศใช้ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การอ้างเรือ
่ งเดิม

อนุสนธิ จะต่อด้วย คํานาม


มักใช �ในการอ้างถึง คําสั่ง กฎ ระเบียบ มติ ฯลฯ

อนุสนธิมติที่ประชุม...ครัง
้ ที่... วันที่...

อนุสนธิคําสั่งกรุงเทพมหานคร ที่... ลงวันที่...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การอ้างเรือ
่ งเดิม
หากเรือ
่ งเดิมมีรายละเอียดไม่มากนัก “นั้น”

หากเรือ
่ งเดิมมีรายละเอียดค่อนข้างมาก
แต่ได้สรุปใจความสําคัญของเรือ
่ งที่เคยติดต่อกันโดยย่อ

“ความละเอียดแจ้งแล้ว นั้น”

“ความละเอียดแจ้งอยู่แล้ว นั้น”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง การอ้างเรือ่ งเดิม
ดวยกรม...จะจัดฝกอบรมหลักสูตรการเปนขาราชการที่ดใี หแกขาราชการบรรจุใหม จํานวน ๒๕ คน
ระหวางวันที่ ๑-๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. และกําหนดใหมีการบรรยายหัวขอวิชา
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ หองประชุม... กรม… รายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย

กรม...พิจารณาแลวเห็นวา สํานักนายกรัฐมนตรีมีวิทยากรที่มีความรูเกีย่ วกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี


วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม เปนอยางดี จึงขอเชิญวิทยากรจากสํานักนายกรัฐมนตรี
ไปบรรยายตามวัน เวลา และสถานที่ดังกลาวขางตน

ตามหนังสือที่อางถึง แจงวา กรม….จะจัดการฝกอบรมหลักสูตรการเปนขาราชการที่ดี


ใหแกขาราชการบรรจุใหมในสังกัด ระหวางวันที่ ๑ - ๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๖ และขอเชิญ
ขาราชการสํานักนายกรัฐมนตรีเปนวิทยากรบรรยายหัวขอวิชาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ หองประชุม... กรม... ความละเอียดแจงแลว นั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง การอ้างเรือ่ งเดิม
ดวยกรม...จะจัดฝกอบรมหลักสูตรการเปนขาราชการที่ดใี หแกขาราชการบรรจุใหม จํานวน ๒๕ คน
ระหวางวันที่ ๑-๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. และกําหนดใหมีการบรรยายหัวขอวิชา ระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ เวลา
๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ หองประชุม... กรม… รายละเอียดปรากฏตามสิ่งที่สงมาดวย

กรม…พิจารณาแลวเห็นวา สํานักนายกรัฐมนตรีมีวิทยากรที่มีความรูเกี่ยวกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม เปนอยางดี จึงขอเชิญวิทยากรจากสํานักนายกรัฐมนตรี
ไปบรรยายตามวัน เวลา และสถานที่ดังกลาวขางตน

ตามหนังสือที่อางถึง แจงวา กรม…จะจัดการฝกอบรมหลักสูตรการเปนขาราชการที่ดี


ใหแกขาราชการบรรจุใหมในสังกัด ระหวางวันที่ ๑ - ๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๖ และขอเชิญ
ขาราชการสํานักนายกรัฐมนตรีเปนวิทยากรบรรยายหัวขอวิชาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แกไขเพิ่มเติม ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๖
เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ หองประชุม... กรม... ความละเอียดแจงแลว นั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การอ้างเรือ
่ งเดิม

ชื่อเรือ
่ งของที่เคยติดต่อกัน

ตามหนังสือที่อางถึง สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดสงเรื่อง
…………………………………………..…....................................................………
ไม ค วรใส ช อ
่ ื เรื อ
่ ง ?
…………………………………………..…....................................................………
ไปเพื่อขอใหสํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณาเสนอความเห็นในสวนที่เกี่ยวของ
เพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ความละเอียดแจงแลว นั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
๑. เหตุจากผู้มีหนังสือไปเอง
ที่มาของ
เหตุที่มี ๒. เหตุจากบุคคลภายนอก
เช่น ขอมา หรือแจ้งความประสงค์มา
หรือกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง

หนังสื อไป ที่เป�นเหตุให้ต้องมีหนังสือไป เป�นต้น

๓. เหตุจากเหตุการณ์
ซึ่งเขียนใน ที่ปรากฏขี้น

เนื้อเรือ
่ ง ๔. เหตุจากผู้รบ
ั หนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง เหตุจากผู้มีหนังสือไปเอง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง เหตุจากบุคคลภายนอก

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง เหตุจากเหตุการณ์ที่ปรากฏขึ้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง เหตุจากผู้รบ
ั หนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
ข้อความส่วนความประสงค์
(ส่วนเนื้อหา)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

คื อ ต้องระลึกถึง
ข้อความที่ ผู้เขียน ผู้ที่จะรับหนังสือว่า
แจ้งความประสงค์ เข้าใจถูกต้อง
ไปยั งผู้ รบ
ั หนั งสื อ ตามความประสงค์
เพื่ อให้ทําอะไร หรือ
ที่มีหนังสือไป
ทําอย่ างไร

สํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแลวเห็นวา ………………………..
………………………………………………………………………………………………….
จึงขอให.................................................................................................
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

ตัวอย่าง หนังสือบางประเภท ดังนี้

หนังสือเชิญ
สํานักการระบายน้ําเห็นวา ทานเปนผูมีความรูและประสบการณในเรื่องดังกลาวเปนอยางสูง จึงขอ
เชิญทานเปนวิทยากรบรรยายและฝกปฏิบตั เิ รื่อง การเปนวิทยากรมืออาชีพ ในวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๖ เวลา
๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ หองเจาพระยา ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร เขตพระนคร กรุงเทพฯ

ในการนี้ สํานักจะจัดการออกราน หนึ่งชุมชนหนึง่ ผลิตภัณฑ จํานวนประมาณ ๕๐ ชุมชน โดยได


คัดเลือกผลิตภัณฑของชุมชน... เขต... ดวย ดังนั้น จึงขอเชิญทานนําผลิตภัณฑของชุมชนดังกลาวไปออกราน
จําหนายในวันและเวลาดังกลาวขางตน ทั้งนี้ สํานักไดมอบหมายใหนาย... ตําแหนง... เปนผูประสานงาน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

ตัวอย่าง หนังสือบางประเภท ดังนี้

หนังสือตอบข้อหารือ หรือชี้แจงข้อเท็จจริง

สํานักงานกฎหมายและคดีขอเรียนวา ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ...(อางรายละเอียด) ดังนั้น สํานักงานเขต
หนองจอกอาจดําเนินกิจการนอกเขตกรุงเทพมหานครได เมื่อ...

กองสารสนเทศระบายน้ําขอเรียนวา ขาวดังกลาวไมเปนความจริงแต
อยางใด กองยังมิไดดําเนินการจัดหาผูรับจางตามโครงการ...(กลาวรายละเอียด)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

คําสําคัญในการขึ้นต้น
ส่ ว นค ว า ม ป ร ะส ง ค์

คําสําคั ญในการขึ้นต้ น “ในการนี้”


ส่ วนความประสงค์
“บัดนี้”
เป�นคําเชื่อม “การประชุมดังกล่าว”
จากส่ วนเหตุ “จากเป�นการดังกล่าว”

สวนความประสงคหากมีรายละเอียดมาก อาจเขียนมากกวา ๑ ยอหนาก็ได


งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง ข้อความส่วนความประสงค์

ฉะนั้น ในการจัดหากระดาษและซองเพื่อใชในราชการ
สํานักนายกรัฐมนตรีจึงขอใหสวนราชการตาง ๆ ไดถือปฏิบัติ
ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖
โดยเครงครัดตอไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง ข้อความส่วนความประสงค์

การตรวจสอบเอกสารที่สงมามีเปนจํานวนมาก
แตเนื่องจากมีเวลาตรวจสอบจํากัด จึงไมสามารถ
ดําเนินการไดทันตามระยะเวลาที่กําหนด จึงขอเลื่อน
เวลาการตรวจสอบดังกลาว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

หากมีหลายข้อ ให้แยกเป�นข้อ ๆ
เพื่อให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย

สํานักการระบายน้ําพิจารณาแลวเห็นวา เพื่อใหการ
ดําเนินการดังกลาวขางตนเปนไปดวยความเรียบรอยและมีประสิทธิภาพ
เห็นควรดําเนินการดังนี้
๑. ………………………………........................................
๒. ………………………………........................................

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง ข้อความส่วนความประสงค์

สํานักนายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการรถราชการ พิจารณาแลวเห็นวา


ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และที่แกไขเพิ่มเติม ขอ ๔ ไดกําหนด...
ดังนั้น สํานักนายกรัฐมนตรีจงึ ขอความรวมมือใหสวนราชการตาง ๆ กํากับดูแล ควบคุมและตรวจสอบ
การใชรถสวนกลาง...เพื่อใหการใชรถสวนกลางเปนไปอยางถูกตองตามระเบียบฯ โดยใหถือปฏิบัติ
อยางเครงครัด ดังตอไปนี้
๑. กํากับดูแล ควบคุมและตรวจสอบการใชรถสวนกลาง...
๒. ตรวจสอบใบอนุญาตขอใชรถสวนกลางตามแบบ ๓ ทายระเบียบฯ…
๓. ในกรณีที่ตรวจสอบพบวา มีขาราชการรายใด...
๔. ในการขออนุญาตใหนํารถสวนกลางไปเก็บรักษาที่อื่นเปนการชั่วคราว...
๕. กรณีรถสวนกลางคันใด ไดรับอนุมัติยกเวนการมีตราเครื่องหมายและอักษรชือ่ แสดงสังกัด
ของสวนราชการไวที่ดานนอกรถ หรือไดรับอนุญาตใหนําไปเก็บรักษาที่อื่นเปนการชั่วคราวอันเนื่องมาจาก...
สวนราชการตาง ๆ สมควรพิจารณาทบทวนเหตุผลและความจําเปนของการอนุมัตหิ รืออนุญาตดังกลาว
ในชวงเวลาอันเหมาะสมอยูเสมอ เชน อยางนอยปละครั้ง ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ของทุกป เพื่อปองกัน
มิใหมีการนํารถสวนกลางกลางไปใชเสมือนเปนรถประจําตําแหนงและเบิกจายคาเชื้อเพลิงของรถสวนกลาง
อันเปนเท็จ... รวมทั้งรายงานผลการดําเนินการดังกลาวใหคณะกรรมการรถราชการเพื่อทราบดวย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๒๖๙๔
ที่…นร ๐๑๐๖/ว ๑๒๓
…………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
คําอธิบายการพิมพหนังสือราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพิมพในเครื่องคอมพิวเตอรและ
ตัวอยางการพิมพ
เรียน หัวหนาสวนราชการในสังกัดสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
พรอมนี้ สํานักกฎหมายและระเบียบกลางขอสงสําเนาหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี
ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๑๑๙ ลงวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เรื่อง คําอธิบายการพิมพหนังสือราชการ
ภาษาไทยดวยโปรแกรมการพิมพ ในเครื่องพิมพคอมพิวเตอรและตัวอยางการพิมพ มาเพื่อโปรดทราบ

(……………………………………….)
ผูอํานวยการสํานักกฎหมายและระเบียบกลาง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ที่ นร ๐๑๐๑/ว ๒๑
ถึง กระทรวง กรม และจังหวัด

พรอมนี้ สํานักนายกรัฐมนตรีขอสงหนังสือ “สํานักนายกรัฐมนตรีปท ี่ ๘๒”


จํานวน ๑ เลม มาเพื่อไวใชประโยชนราชการตอไป

สํานักนายกรัฐมนตรี
๒ มกราคม ๒๕๕๗

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
กองกลาง
โทร. x xxxx xxxx
โทรสาร x xxxx xxxx

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือราชการ

การเขียน
ข้อความส่วนสรุปความ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

คื อ ให้เขียนแสดงจุ ดมุ่งหมาย
ข้อความที่ ผู้เขียน โดยสรุปว่าต้องการให้
สรุปใจความของเนื้อเรือ ่ ง ผู้รบ
ั หนังสือทําอะไร หรือทําอย่างไร
เพื่ อย�าความประสงค์
ให้ผู้รบ
ั หนังสื อทราบ
หรือขอบคุณ (แล้วแต่ กรณี)
มัก ขึ้นต้นด้วยคําว่า “จึง”
ทั้งนี้ ไม่ควรมีเนื้ อหา
แล้วต่อด้วยวัตถุประสงค์ที่ต้องการให้
สําคั ญอยู่ ในส่ วนนี้ อีก
ผู้รบ
ั หนังสือทําอะไร หรือทําอย่างไร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

การเชิญประชุม
แจงกําหนดนัดประชุมใหทราบ
ขอใหไปเขารวมประชุม

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและขอไดโปรดไปเขารวม
ประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ดังกลาวตอไปดวย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

การขอให้พิจารณาดําเนินการ
ขอใหพิจารณาดําเนินการ
ขอใหแจงผลการพิจารณาดําเนินการใหทราบดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณาดําเนินการ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดําเนินการและขอไดโปรด
แจงผลการพิจารณาใหทราบดวย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อความส่วนความประสงค์

การขอหารือ
ขอใหพิจารณาขอหารือ
ขอใหแจงผลการพิจารณาใหทราบดวย

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดําเนินการตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ผลการพิจารณาเปนประการใด
ขอไดโปรดแจงใหสํานักการระบายน้ําทราบดวย จะขอบคุณยิ่ง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การลงท้าย
ด้วยการขอบคุณ
พิจารณาถึงความอาวุโสของตําแหน่งผู้รบ
ั หนังสือ
ดอกบว◌ใั ตเ◌ส้ าชง◌ชิ า◌้

ตําแหน่ง คําขอบคุณ

ระดับเสมอกัน
ขอขอบคุณ
หรือผู �ใต้บังคับบัญชา

ระดับสูงกว่า จะเป�นพระคุณ

ระดับ “กราบเรียน” จะเป�นพระคุณยิ่ง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง ข้อความส่วนสรุปความ

ส่วนสรุปความจะต้องตรงกับ “เรือ
่ ง”
เรื่อง คําลงทาย
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
ขออนุมัติ หรือขออนุญาต
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ/อนุญาต
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
รายงานผลการปฏิบัติงาน
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณาดําเนินการตอไป
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ชี้แจงขอเท็จจริง -จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และดําเนินการตอไปดวย
จะขอบคุณยิ่ง
สงขอมูล จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง ข้อความส่วนสรุปความ

เรื่อง คําลงทาย
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณารับเชิญดวย จะขอบคุณยิ่ง
เชิญเปนวิทยากร -กรมหวังวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และ
ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดใหความรวมมือ ขอขอบคุณ
-จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาใหความรวมมือ
ขอความรวมมือ
(อนุเคราะห) ดวย จะขอบคุณยิ่ง
หรือขอความอนุเคราะห
-(สํานัก) หวังวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี
เชนเคย และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
-จึงเรียนมาเพื่อ (โปรด) ทราบ
ตอบปฏิเสธ
-จึงเรียนมาเพื่อ (โปรด) ทราบ และขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง ข้อความส่วนสรุปความ

เรื่อง คําลงทาย

ซักซอมความเขาใจ -จึงเรียนซักซอมมาเพื่อใหเขาใจตรงกัน
-จึงเรียนยืนยันมาเพื่อโปรดเขาใจใหตรงกัน
ยันยัน
-จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติตอไป
หรือใหดําเนินการ -จึงเรียนมาเพื่อดําเนินการ (ตอไป)
-จึงเรียนมาเพื่อ (โปรด) ทราบ และขอได (โปรด) ไปเขา
เชิญประชุม
รวมประชุมตามวัน เวลาและสถานที่ดังกลาวตอไปดวย

*** ไมจําเปนตอง “จึงเรียนมาเพื่อ...” เสมอ ในกรณีที่เนื้อความกลาวจบ


สิ้นแลว เชน เชิญวิทยากรไปแลวในสวนความประสงค อาจลงทายวา
“สํานักหวังวาจะไดรับความอนุเคราะห...”
หากใช “จึงเรียนมาเพื่อ...” อีก จะเปนการซ้ําซอนกับที่กลาวมาแลว
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือเชิญ
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  แจงสาเหตุและวัตถุประสงคที่เชิญ
ผูอาน บุคคลภายนอก/ภายในองคกร  ใหความสําคัญ/ยกยองผูไดรับเชิญ
จุดประสงค เพื่อเชิญ/เชิญชวน  ใหรายละเอียดแกผูไดรับเชิญวาจะตองทํา
อะไร เมื่อใด ที่ไหน อยางไร

ผลลัพธ รับเชิญดวยความเต็มใจ  กลาวขอบคุณ

งานสารบรรณ 175
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือเพื่ อขอความอนุเคราะห์
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  ชี้ใหเห็นความจําเปนที่ตองขอความ
ชวยเหลือ

ผูอาน บุคคลภายนอกองคกร  ยกยองหรือกลาวเยินยอ ผูที่เราตองการให


ชวย

จุดประสงค เพื่อขอความชวยเหลือ  ชี้ใหเห็นวางานจะสําเร็จลุลวงไมได


หากไมไดรับความชวยเหลือ
ผลลัพธ ไดรับความชวยเหลือดวยดี
(ใชวิธี ออด ออน ยอ มัด)

งานสารบรรณ 176
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือเพื่ อขอความร่วมมือ
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  แจงสาเหตุที่ทําหนังสือเพื่อขอความรวมมือ
ใหชัดเจน
ผูอาน บุคคลภายนอก/ภายในองคกร  ใหเหตุผลในการขอความรวมมือ
จุดประสงค เพื่อขอความรวมมือ  ชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของผูใหความรวมมือ

ผลลัพธ ไดรับความรวมมือดวยดี  ชี้ใหเห็นถึงประโยชนที่ผูใหความรวมมือ


ตลอดจนผูอื่นจะไดรับจากความรวมมือนั้น

งานสารบรรณ 177
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือปฏิเสธ
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  กลาวชื่นชมหรือยกยองในสิ่งที่เขาทํา
ผูอาน บุคคลภายนอกที่ขอความรวมมือ  กลาวถึงความจําเปนที่ไมอาจใหความ
หรือขอความชวยเหลือมา รวมมือหรือชวยเหลือได

จุดประสงค เพื่อปฏิเสธที่จะใหความรวมมือ  กลาวขออภัย และแสดงใหเห็นวาเรายินดีที่


หรือความชวยเหลือ จะใหความรวมมือ หรือชวยเหลือในโอกาส
ผลลัพธ ตองใหเกิดความเขาใจและยังคงมี อื่น ๆ ตอไป
ความสัมพันธที่ดีตอไป

งานสารบรรณ 178
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือตอบข้อร้องเรียน
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  กลาวถึงประเด็นที่มีการรองเรียน
ผูอาน บุคคลภายนอก/ภายในองคกร  กลาวขอบคุณที่ผูรองเรียนแจงขอบกพรอง
ใหทราบ
จุดประสงค เพื่อตอบขอรองเรียน  ชี้แจงขอเท็จจริงอยางชัดเจน
ผลลัพธ ไดรับความกระจางและ  กรณีที่เปนฝายผิด ตองยอมรับขอผิดพลาด
ความเปนธรรม กลาวขออภัย พรอมแสดงใหเห็นวายินดีที่
จะแกไขขอพรองนั้น หรือปฏิบัติตามขอ
รองเรียนดังกลาว

งานสารบรรณ 179
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือตอบข้อร้องเรียน (ต่อ)

ประเด็นที่ตองนําเสนอ

กรณีที่เราไมไดเปนฝายผิด
 ตองชี้แจงเหตุผลที่ไมสามารถปฏิบัติตามขอรองเรียนได
 ใชภาษาที่สุภาพ นุมนวล เนนการรักษาความสัมพันธที่ดีกับผูรองเรียนตลอดจนผูเกี่ยวของ
 กลาวถึงความตั้งใจจริงในการทํางาน/ความรับผิดชอบที่หนวยงานมีทั้งตอผูรองเรียน/ลูกคา
หากงานที่ทําเกี่ยวของตอประชาชนและสังคมในภาพรวม ตองแสดงใหผูรับหนังสือเห็นถึง
ความรับผิดชอบที่หนวยงานมีตอสังคมดวย

งานสารบรรณ 180
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือเพื่ อขออนุมัติ
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  ชี้ใหเห็นความสําคัญหรือความจําเปน

ผูอาน ผูบังคับบัญชา  ใหขอมูลครบถวน

จุดประสงค เพื่อขออนุมัติ  ชี้ใหเห็นประโยชนหรือผลที่คาดวา


จะไดรับ
ผลลัพธ ไดรับอนุมัติ

งานสารบรรณ 181
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนหนังสือเพื่ อรายงานผลการดําเนินงาน
ประเด็นที่ตองวิเคราะห ประเด็นที่ตองนําเสนอ
เรื่อง ...  กลาวถึงที่มาหรือสาเหตุที่ตอง
ดําเนินการ
ผูอาน ผูบังคับบัญชา  ผลของการดําเนินการ
จุดประสงค นําเสนอผลงานที่ดําเนินการไปแลว  อุปสรรค ปญหา
ผลลัพธ  ใหรับทราบผลงานและเสนอ  ขอเสนอแนะ
แนวทางปฏิบัติ
 ใหตัดสินใจ
 ใหขอเสนอแนะ

งานสารบรรณ 182
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การกําหนดแบบ
การเขียนโดยเฉพาะ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หนังสือภายใน

ในกรณีที่กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดใด


ประสงค์จะกําหนดแบบการเขียนโดยเฉพาะ
เพื่อใช้ตามความเหมาะสมก็ให้กระทําได้

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๔๕๕๔
ที…่ …………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
เรียน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
ดวยสํานักงานปลัดสํานักนายรัฐมนตรี.........................................................................................
.................................................................................................. ดังมีรายละเอียดปรากฏตามเอกสารที่แนบ
มาพรอมนี้
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแลวขอเรียนวา.......................................................
...........................................................................................................................................................................
...................................จึง...............................................................................................................................
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดําเนินการตอไปดวย จะขอบคุณมาก

(พิมพชื่อเต็ม)
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๔๕๕๔
ที่……………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
เรียน อธิบดีกรมประชาสัมพันธ
ตามหนังสือกรมประชาสัมพันธ ดวนมาก ที่ นร ..................................... ลงวันที่............
.............. กรมประชาสัมพันธไดขอ........................................................................................................
..................................................................................... ความละเอียดแจงแลว นั้น
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแลวขอเรียนวา.............................................
................................................................................................................................................................
...................................จึง......................................................................................................................
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

(พิมพชื่อเต็ม)
รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน
ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
ที่……………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
(คําขึ้นตน)
๑. เรื่องเดิม
..............................................................................................................................................
๒. ขอเท็จจริง
..............................................................................................................................................
๓. การดําเนินการ
..............................................................................................................................................
๔. ขอกฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วของ
..............................................................................................................................................
๕. ขอพิจารณา
..............................................................................................................................................
๖. ขอเสนอ
..............................................................................................................................................
(พิมพชื่อเต็ม)
งานสารบรรณ ตําแหนง Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
ที่……………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
(คําขึ้นตน)
๑. เรื่องเดิม
๑.๑ ......................................................................................................................................
.................................................................................
๑.๒ .............................................................................................................................
๒. ขอเท็จจริง
......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
๓. การดําเนินการ
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

๔. ขอกฎหมาย...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
-๒-

๔. ขอกฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วของ
๔.๑ พระราชบัญญัติ.................................................. บัญญัติวา
“มาตรา.........................................................................................................................
...............................................................................”
“มาตรา.........................................................................................................................
...............................................................”
๕.๒ ระเบียบ............................................................. กําหนดวา
“ขอ..........................................................................................................................”
๕. ขอพิจารณา
สํานักกฎหมายและระเบียบกลางพิจารณาแลว มีความเห็นดังนี้
๕.๑ ......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
๕.๒ ......................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๖. ขอเสนอ
..............................................................................................................................................

(พิมพชื่อเต็ม)
ตําแหนง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยางของ กทม.
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
ที…่ …………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
(คําขึ้นตน)
ตนเรื่อง
..............................................................................................................................................
ขอกฎหมาย (ถามี)
..............................................................................................................................................
ขอเท็จจริง
..............................................................................................................................................
ขอพิจารณาและเสนอแนะ
..............................................................................................................................................

(พิมพชื่อเต็ม)
ตําแหนง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยางของ กทม.
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
ที่……………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
เรียน
ตนเรื่อง...............................................................................................................................
.................................................................................

ขอกฎหมาย
๑. พระราชบัญญัติ.................................................. บัญญัติวา
“มาตรา.........................................................................................................................
...............................................................................”
“มาตรา.........................................................................................................................
...............................................................”
๒. ระเบียบ............................................................. กําหนดวา
“ขอ..........................................................................................................................”

ขอเท็จจริง
๑. .........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
งานสารบรรณ ๑.๑ กกก... Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยางของ กทม.
-๒-

๑.๑ ...............................................................................................................................
๑.๒ ...............................................................................................................
๒. ................................................................................................................................
ขอพิจารณาและเสนอแนะ สํานักการระบายน้ําพิจารณาแลวเห็นวา เพื่อใหการจัดทํา
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ป ระยะที่ 3 (พ.ศ.2566-2570) เปนไปดวยความเรียบรอย เห็น
ควรดําเนินการดังนี้
๑. ......................................................................................................................................
๒. ......................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติและลงนามในขอ ๑-๒ อํานาจ...

(พิมพชื่อเต็ม)
ตําแหนง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

“ตนเรื่อง”
ตนเรื่อง คือ ประเด็นที่เปนปญหาของเรื่องที่จะพิจารณา หรือเหตุผลที่ตองทํา
เรื่องนี้ อาจเปนปญหาที่เกิดขึ้น ที่มาของเรื่อง คําขอ หรือความตองการ ซึ่งเปน
สวนนําในบันทึกยอหนาแรก
ขอบกพรอง มักจะอางหรือกลาวถึงเรื่องเดิมที่เปนอดีตตั้งแตเริ่มแรก ซึ่งไกลตัว
มากและไมใชประเด็นของเรื่องหรือเหตุผลที่ตองทําเรื่องนี้ ทําใหหนังสือยืดยาว
เยิ้นเยอ กวาจะเขาเรื่อง ตัวอยางเชน หนังสือเชิญประชุม เหตุที่ทําหนังสือ
เพราะประธานหรือที่ประชุมไดกําหนดวันประชุมแลว
“ดวยประธานกรรมการไดกําหนดประชุมคณะกรรมการ... ในวันที่...
ณ... เพื่อ... ดังนั้น เพื่อใหการประชุมเปนไปดวยความพรอมเพรียง จึงขอเชิญ
คณะกรรมการเขารวมประชุมดังกลาว ตามระเบียบวาระการประชุมที่แนบ”
ไมควรอางตั้งแตปญหา อางคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ อางประธาน
กรรมการกําหนดวันประชุม (ตามลําดับ) แลวจึงขอเชิญประชุม ฯลฯ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

“ขอกฎหมาย”
ขอกฎหมาย คือ ขอวินิจฉัยที่เกี่ยวของโดยอาศัยกฎหมาย คําพิพากษาของศาล
ระเบียบ คําสั่ง หลักการ หลักวิชา หลักเกณฑ มาตรฐานตาง ๆ แนววินิจฉัยเดิม
และตัวอยางที่คลายคลึงพอจะเทียบเคียงได
ขอบกพรอง
๑) ขอกฎหมายที่เกี่ยวของเพื่อประกอบการพิจารณาเทานั้น มิใชขอกฎหมาย
ทั้งหมด
๒) ขอกฎหมายขาดความนาเชื่อถือ ไมมีเอกสารหลักฐานยืนยันหรืออางอิง
แหลงที่มา
๓) การใชคํา “บัญญัติให/วา...” “กําหนดให/วา...” ไมสอดคลองกับลําดับชั้น
ของกฎหมาย
๔) ไมแนบขอกฎหมายที่เกี่ยวของมาดวย หรือแนบแตแนบทั้งฉบับ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

“ขอเท็จจริง”
ขอเท็จจริง คือ ขอมูลเพื่อประกอบการพิจารณา เชน
๑) ความเปนมาของเรื่อง
๒) ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับเรื่องนั้น ซึ่งปรากฏชัดตามเรื่องราวหรือเหตุการณ
๓) แผนพัฒนา นโยบาย มติที่ประชุม
๔) รายละเอียดการดําเนินงาน
๕) ตัวอยางที่คลายคลึงพอที่จะเทียบเคียงกับเรื่องนั้นได
ขอบกพรอง
๑) เขาใจผิดวา ขอเท็จจริง คือ สิ่งที่เปนความจริงที่ปรากฏขึ้นในหนังสือ เขาใจ
วา ปญหาก็เปนขอเท็จจริง ที่มาของเรื่องก็เปนขอเท็จจริง ความตองการของ
หนวยงาน/สวนราชการก็เปนขอเท็จจริง ฯลฯ
๒) ละเลยในการอางอิงขอมูล ทําให “ขอพิจารณาและเสนอแนะ” ไมมีน้ําหนัก
ขาดความนาเชื่อถือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

ขอบกพรอง
๓) ขอมูลไมถูกตองตรงกับความเปนจริง ขอมูลที่ฟงตอ ๆ กันมา ไมมีเอกสาร
หลักฐานยืนยัน ไมไดตรวจสอบจริง หรือไมไดพบเห็นดวยตนเอง อาจเปนขอมูล
ที่ไมถูกตอง
๔) ขอมูลไมตรงประเด็น มักเกิดจากการนําขอมูลที่เปนเรื่องเดียวกันมาเขียน
แตไมตรงประเด็นกับเรื่องที่พิจารณา ทําใหหลงประเด็น
๕) ขอมูลไมครบถวน ไมพยายามคนควาหาขอมูลเพิ่มเติม เขียนเทาที่มีขอมูล
“ขอพิจารณาและเสนอแนะ”
ขอพิจารณา คือ การวิเคราะหเรื่อง เพื่อแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะตอง
๑) พิจารณาอยางมีหลักเกณฑ ดวยการนําเอกกฎ ระเบียบ หลักการ หลักวิชา
ฯลฯ มาเปนเกณฑการพิจารณา เชน
-เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ ...
-เพื่อใหเปนไปตามกฎกระทรวงวาดวย...
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

๒) พิจารณาอยางมีมาตรฐาน ดวยการนําเอามาตรฐานตาง ๆ ที่ไดกําหนดขึ้น


ในสังคม มาเปนเกณฑการพิจารณา เชน
-เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรม...
-เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน ISO...
๓) พิจารณาอยางมีเหตุผล ดวยการนําเอาเหตุผล ซึ่งเปนไปตามเหตุการณหรือ
เรื่องราว หรือตามวัตถุประสงคมาเปนเกณฑการพิจารณา เชน
-เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความถูกตอง เรียบรอย ทันเวลา...
-เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความสะดวก ปลอดภัย...
-เพื่อเปนการประหยัดงบประมาณ...
-เพื่อใหประชาชนไดทราบขอเท็จจริง
-เพื่อใหเกิดความเปนธรรม...
-เพื่อใหการปฏิบตั ิงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น...
-เพื่อใหการจัดงานบรรลุวัตถุประสงค...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

๔) พิจารณาใหเห็นประโยชนที่จะไดรับ หรือความเสียหายที่คาดวาจะเกิดขึ้น
หากไมดําเนินการ เชน
-โครงการฝกอบรมนี้คาดวาจจะไดรับประโยชน กลาวคือ...
-การดําเนินการตามโครงการดังกลาวลาชากวากําหนด หากไม
แกไขใหรวดเร็วทันเวลา จะเกิดความเสียหาย กลาวคือ...
๕) พิจารณาโดยเปรียบเทียบขอดีขอเสียจากทางเลือก ดวยการกําหนด
ทางเลือก ๒ หรือ ๓ ทางเลือก และใหขอดีขอเสียแตละทางเลือก แลวพิจารณา
เปรียบเทียบวาทางเลือกใดขอดีมีน้ําหนักมากที่สุด เชน
-สํานักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานครพิจารณาแลวเห็นวา มี
แนวทางปฏิบัติที่เปนไปไดอยู ๓ แนวทาง ไดแก ๑) ... ๒) ... และ ๓) ... เมื่อ
เปรียบเทียบขอดีขอเสียแลวแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดคือขอที่... เนื่องจาก...
รายละเอียดตามตารางวิเคราะหที่แนบ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

ขอพิจารณาบางเรื่องไมซับซอน เปนเรื่องที่ปฏิบัติตามระเบียบ หรือเปนเรื่อง


ที่รูแลว เขาใจกันอยูแลว สามารถเขียนสรุปรวมกับขอเสนอเปนขอเดียวกันได
โดยใชคํานําหนาวา “เพื่อ” เชน
-(หนวยงาน/สวนราชการ) พิจารณาแลวเห็นวา เพื่อใหเกิดความ
ถูกตองและเปนไปตามระเบียบดังกลาว เห็นควร...
-(หนวยงาน/สวนราชการ) พิจารณาแลวเห็นวา เพื่อใหการ
ปฏิบัติงานเปนไปดวยความเรียบรอย ทันเวลา ตามมติที่ประชุมฯ เห็นควร...
การเขียนขอพิจารณาในกรณีที่มีความคิดเห็นซับซอน ควรแยกขอเปนอิสระ
โดยใชคําวา “ถา” “หาก” หรือ “การ” นําสิ่งที่สมมุติ แตถาความคิดเห็นไม
ซับซอน ใหเขียนสรุปรวมกับขอเสนอเปนขอเดียวกัน โดยใชคําขึ้นตนประโยค
วา “เพื่อ”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

ขอเสนอแนะ คือ การเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด และการกําหนดวิธีดําเนินงาน (How to do) เพื่อให


ผูบังคับบัญชาไดพิจารณาสั่งการ
การเขียนขอเสนอแนะแกผูบังคับบัญชา ตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้
๑) มีความเปนไปได
๒) บรรลุวัตถุประสงค
๓) ไมกระทบกระเทือน และความเสี่ยงนอยที่สุด
ผูจัดทําบันทึกเสนอควรประสานหนวยงาน/สวนราชการทีเ่ กี่ยวของใหไดขอ ตกลงกอนให
ขอเสนอแกผูบังคับบัญชาดวย
ขอบกพรอง
๑) ขอเสนอไมตอบสนองปญหา หรือไมสอดคลองกับขอพิจารณา
๒) เขียนขอเสนอกวางเกินไป ไมชัดเจน ทําใหผูบังคับบัญชาไมสามารถสั่งการได เชน
-เห็นควรจัดหาวัสดุอุปกรณใหเพียงพอตอการปฏิบตั ิงาน
-เห็นควรเพิ่มบุคลากรใหเพียงพอตอการปฏิบัติงาน
โดยควรระบุใหชัดเจนวา วัสดุอะไร จํานวนเทาใด หรือเพิ่มบุคลากรกี่อัตราในตําแหนงใดบาง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ของ กทม.

๓) เขียนขอเสนอแนะรวมหลายประเด็นในขอเดียวกัน ทําใหผูบังคับบัญชาสั่งการยาก
เชน
-เห็นควรเพิ่มบุคลากรอีก ๒ อัตรา ในตําแหนง... และใหเพิ่มประสิทธิภาพ
คอมพิวเตอรใหทันสมัย พรอมกับสงบุคลากรเขารับการอบรมในหลักสูตร...
ควรเขียนขอเสนอแนะโดยแยกประเด็นใหชัดเจน เชน
-เห็นควรดําเนินการดังนี้
๑. ใหเพิ่มบุคลากร ๒ อัตรา ในตําแหนง...
๒. ใหเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องคอมพิวเตอรของ (หนวยงาน/สวนราชการ)
จํานวน ๑ เครื่อง
๓. ใหสงบุคลากรที่ทําหนาที่... จํานวน...คน เขารับการอบรมหลักสูตร...
๔) มีขอเสนอแนะปรากฏอยูหลายแหงในหนังสือฉบับเดียวกัน ทั้งเริ่มยอหนา ยอหนาที่ ๒
และยอหนาสุดทาย มีคําวา “เห็นควร” อยูทุกยอหนา
๕) เขียนรายละเอียกมากเกินไปในขอเสนอ นํารายละเอียดการดําเนินงานหลายเรื่องมาเปน
ขอเสนอแนะทั้งหมด

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยางของ กทม.

การเสนอหนังสือตอผูบังคับบัญชา (หนังสือภายใน)
ตัวอยาง
× ×
ตนเรื่อง ตามที่สํานักการระบายน้ํา...นั้น
ขอเท็จจริง
1.
2.
ขอพิจารณาและเสนอแนะ สํานักอนามัยพิจารณาแลวเห็นวา การดําเนินโครงการ..

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยางของ กทม.

การเสนอหนังสือตอผูบังคับบัญชา (หนังสือภายใน)
ตัวอยาง
×
ตนเรื่อง ดวยสํานักเทศกิจไดมีหนังสือหารือ...
ขอกฎหมาย พระราชบัญญัติระเบียบบริหาราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘
บัญญัติวา...........................................................................
ขอเท็จจริง.................................................................................................
ขอพิจารณาและเสนอแนะ สํานักงานกฎหมายและคดีพิจารณาแลวเห็นวา พระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ให้มีหว
ั ข้อดังต่อไปนี้
บันทึก ๑. ชื่อหรือตําแหนงที่บันทึกถึง
ใชคําขึ้นตนตามที่กําหนดไวในภาคผนวก ๒
ขอความซึ่งผูใตบังคับบัญชาเสนอตอ
ผูบังคับบัญชา หรือ ๒. สาระสําคัญของเรื่อง
ขอความซึ่งผูบังคับบัญชาสั่งการแก ใหลงใจความของเรื่องที่บันทึก
ผูใตบังคับบัญชา หรือ ถามีเอกสารประกอบก็ใหระบุไวดวย
ขอความที่เจาหนาที่หรือหนวยงาน ๓. ชื่อและตําแหนง
ระดับต่ํากวาสวนราชการระดับกรม
ติดตอกันในการปฏิบัติราชการ ใหลงลายมือชื่อและตําแหนงของผูบันทึก
ในกรณีที่ไมใชกระดาษบันทึกขอความ
ใหลงวัน เดือน ป ที่บันทึกไวดวย
ในกรณีที่บันทึกจัดทําในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส หรือโดยการพิมพขอความในไปรษณีย
อิเล็กทรอนิกส หรือระบบสื่อสารอื่นใดทีม่ ีการยืนยันตัวตน จะพิมพชื่อผูบันทึกแทนการลงลายมือ
ชื่อ และจะไมลง วัน เดือน ปที่บันทึกก็ไดหากระบบมีการบันทึก วัน เดือน ปไวอยูแลว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
สกร. โทร ๔๕๕๔
ที่……………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
เรียน ปนร. ผาน ร.ปนร. (.........................)
๑. เรื่องเดิม
..............................................................................................................................................
๒. ขอเท็จจริง
..............................................................................................................................................
๓. การดําเนินการ
..............................................................................................................................................
๔. ขอกฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วของ
..............................................................................................................................................
๕. ขอพิจารณา
..............................................................................................................................................
๖. ขอเสนอ
..............................................................................................................................................
(พิมพชื่อเต็ม)
งานสารบรรณ ผอ.สกร.
และการเขียนหนังสือราชการ
Supharerk_A
ตัวอยาง
บันทึกขอความ
สวนราชการ..…………………………………………………………………………………...…………………………………………….
สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง โทร. ๔๕๕๔
ที่……………………………..……………………………………… วันที่….……………................……………………………………….
เรื่อง.……………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…
เรียน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ผาน รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (..................................)
๑. เรื่องเดิม
๑.๑ ......................................................................................................................................
.................................................................................
๑.๒ .............................................................................................................................
๒. ขอเท็จจริง
......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
๓. การดําเนินการ
..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................

๔. ขอกฎหมาย...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอยาง
-๒-

๔. ขอกฎหมายและระเบียบที่เกีย่ วของ
๔.๑ พระราชบัญญัติ.................................................. บัญญัติวา
“มาตรา.........................................................................................................................
...............................................................................”
“มาตรา.........................................................................................................................
...............................................................”
๕.๒ ระเบียบ............................................................. กําหนดวา
“ขอ..........................................................................................................................”
๕. ขอพิจารณา
สํานักกฎหมายและระเบียบกลางพิจารณาแลว มีความเห็นดังนี้
๕.๑ ......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
๕.๒ ......................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๖. ขอเสนอ
..............................................................................................................................................

(พิมพชื่อเต็ม)
ผูอํานวยการสํานักกฎหมายและระเบียบกลาง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การพิ มพ์ หนังสือราชการ

พิมพไมตก มีความรูในตัวสะกด

ตัวการันต ตัวยอ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การพิมพ์หนังสือราชการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การพิ มพ์ หนังสือราชการ
การพิมพหนังสือราชการที่ตองใชกระดาษตราครุฑ ถามีขอความมากกวา ๑ หนา
หนาตอไปใหใชกระดาษไมตองมีตราครุฑ แตใหมีคุณภาพเชนเดียวหรือใกลเคียงกับ
แผนแรก
การพิมพหนังสือที่มีหลายหนา ตองพิมพเลขหนา โดยใหพิมพตัวเลขหนากระดาษ
ไวระหวางเครื่องหมายยัติภังค ( - ) ที่กึ่งกลางดานบนของกระดาษ

-๒-
………………………………………………………………………………………….………………………
……………………….……………………..………………………………………….………………………
………………………………………………………………………………………….………………………
……………………….……………………..………….…..………………………….………………………

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การพิมพ์หนังสือราชการ
ถาคําสุดทายของบรรทัดมีหลายพยางค ไมสามารถพิมพจบคําในบรรทัดเดียวกันได
ใหใชเครื่องหมายยัติภังค ( - ) ระหวางพยางค
ควรจะตองมีขอความของหนังสือเหลือไปพิมพในหนาสุดทายอยางนอย ๒ บรรทัด
กอนพิมพคําลงทาย

-๒-

…………………………………………………….……………………………………………….…รถประจํา-
ตําแหนง……………………………..……………………………………………….…………
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
(คําลงทาย)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การพิมพ์หนังสือราชการ
การพิมพหนังสือที่มคี วามสําคัญและมีจํานวนหลายหนา ใหพิมพ คําตอเนื่อง ของขอความ
ที่จะยกไปพิมพหนาใหมไวดานลางทางมุมขวาของหนานั้น ๆ แลวตามดวย … (จุด ๓ จุด)
โดยปกติใหมีใหเวนระยะหางจากบรรทัดสุดทาย ๓ ระยะบรรทัดพิมพ

……………………………………………………..…………….………………………………
………………….……………………………………………….……………………………….
……………………………………………………..…………….………………………………

สํานักนายกรัฐมนตรี...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การกําหนดตัวเลขสําหรับใช้เป�นหัวข้อ
๓ ซม. ๒ ซม.
๒.๕ ซม. ๑. กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑.๑) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑.๑.๑) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑.๑.๑.๑) กกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑.๑.๑.๒) กกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑.๑.๒) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๑.๒) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๑ (๒) กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๑.๒ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๑.๒ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๑.๒ กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
๒. กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ฯลฯ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเว้นวรรค

การเว้นวรรคโดยทั่วไป เว้น ๒ จังหวะเคาะ


การเว้นวรรคระหว่างหัวข้อเรือ
่ งกับเรือ
่ ง เว้น ๒ จังหวะเคาะ
การเว้นวรรคในเนื้อหา
เรือ
่ งทีพ่ ิ มพ์มีเนื้อหาเดียวกัน เว้น ๑ จังหวะเคาะ
เรือ่ งทีพ่ ิ มพ์มีเนื้อหาต่างกัน เว้น ๒ จังหวะเคาะ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเว้นวรรค
๒ จังหวะเคาะ
เรื่อง ขอเชิญประชุมคณะกรรมการรถราชการ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๗
๒ จังหวะเคาะ
เรียน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
๑ จังหวะเคาะ
สํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแลวเห็นวา ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
งานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ขอ ๘ กําหนดให………..
หามเวนวรรค
ดวยสํานักนายกรัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควรใหมีหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการ...

ตามหนังสือที่อางถึง สํานักนายกรัฐมนตรีไดแจงการแกไขเพิ่มเติมภาคผนวก ๒ ขอ ๓.๑


โดยเห็นสมควรใหใชคําขึ้นตน สรรพนาม คําลงทายในหนังสือราชการ......................................
ความละเอียดแจงแลว นั้น
๒ จังหวะเคาะ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเว้นวรรค
ขอใดเวนวรรคไดถูกตอง

ก. ที่ นร ๐๑๐๖/๑๒๓๔ ก. ที่ นร ๐๑๐๖/ ว๑๒๓๔

ข. ที่ นร๐๑๐๖/๑๒๓๔ ข. ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๑๒๓๔

ค. ที่ นร ๐๑๐๖/ ๑๒๓๔ ค. ที่ นร ๐๑๐๖/ ว ๑๒๓๔

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเว้นวรรค
ใช้เครือ
่ งหมายถูกต้อง : การเว้นวรรคตอน
 ดวย กรุงเทพมหานครไดจัดทําโครงการ...
 ดวยกรุงเทพมหานครไดจัดทําโครงการ...
 ตามที่... ความละเอียดแจงแลวนั้น
 ตามที่... ความละเอียดแจงแลว นั้น
 กรุงเทพมหานคร ประสงคขอรับการจัดสรรทุนรัฐบาล เพื่อใหขาราชการไปศึกษาตอ
ตางประเทศ
 กรุงเทพมหานครประสงคขอรับการจัดสรรทุนรัฐบาลเพื่อใหขาราชการ
ไปศึกษาตอตางประเทศ
 สํานักงานเลขานุการสํานักการระบายน้ําไดดําเนินการสํารวจความพึงพอใจ...
 สํานักงานเลขานุการ สํานักการระบายน้ํา ไดดําเนินการสํารวจความพึงพอใจ...

งานสารบรรณ 217
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หลักเกณฑ์การเว้นวรรคตอน

ใช้เครือ
่ งหมายถูกต้อง :
“ไปยาลน้อย” ฯ
 ตามที่บริษัทฯ ไดทําหนังสือลงวันที่... นั้น
 ตามที่บริษัทเสริมสุข จํากัด (มหาชน) ไดทําหนังสือลงวันที่... นั้น
 การดําเนินการเปลี่ยนหมอแปลงฯ จะแลวเสร็จภายในวันที่...
 การดําเนินเปลี่ยนหมอแปลงไฟฟาจะแลวเสร็จภายในวันที่...
 นายศุภฤกษฯ เสนอใหใชวิธีการลงคะแนนโดยการยกมือ
 นายศุภฤกษ หูไธสง เสนอใหใชวิธีการลงคะแนนโดยการยกมือ

งานสารบรรณ 218
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หลักเกณฑ์การเว้นวรรคตอน

ใช้เครือ
่ งหมายถูกต้อง :

 คาเบี้ยเลี้ยงพนักงาน 20 คน ๆ ละ 500 บาท


 คาเบี้ยเลี้ยงพนักงาน 20 คน คนละ 500 บาท
 ตามรายละเอียดในเอกสารแนบ ดังนี้ :-
 ตามรายละเอียดในเอกสารแบบ ดังนี้
 อาทิเชน การขนสง การคมนาคม ฯลฯ
 อาทิ การขนสง การคมนาคม
 เชน การขนสง การคมนาคม ฯลฯ
 เชน การขนสง การคมนาคม เปนตน

งานสารบรรณ 219
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําเชื่อม
ทําหน้าที่แทนคํานามข้างหน้า หรือ
ที่ - ซึ่ง - อัน เชื่อมคํานามกับประโยคที่ตามมา
(สรรพนามเชื่อมประโยค/ ทัง
้ นี้ ไม่ควรมีเนื้อหาสําคัญ
ประพั นธสรรพนาม)
อยู่ในส่วนนี้อก

 ใชเมื่อตองกลาวซ้ําคํานาม หรือขอความที่อยูขางหนา เชน


“ฉันกินขนม ที่คุณแมซื้อให”
“บานของเขาสรางดวยไมสัก ซึ่งมีราคาแพง”
“การไหวเปนมารยาทไทย อันสืบทอดมาตั้งแตโบราณ”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําเชื่อม
ที่ - ซึ่ง - อัน

 ไมควรใชซ้ําบอย
 ถาไมไดกลาวซ้ําคํานาม หรือขอความที่อยูขางหนา
ไม่ควรใช้ เชน
“ประชาชนออกมาชุมนุมคัดคานกฎหมาย ซึ่งกําจัดเสรีภาพใน
การแสดงความคิดเห็น  ซึ่งการชุมนุมนั้นเปนไปดวยความสงบ
ปราศจากอาวุธ  ซึ่งเปนแนวทางในการชุมนุมแบบสันติ อหิงสา”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําเชื่อม
กับ - แก่ - แด่ - ต่อ

 กับ ใชเชื่อมคํา ความเขาดวยกัน (คูกัน รวมกัน เกี่ยวของกัน)


“นรกกับสวรรค”
“พี่กับนอง”
 แก ใชนําหนาผูรับที่มีศักดิ์เสมอ หรือต่ํากวา (ตามหลัง “ให”)
“ผูวาราชการกรุงเทพมหานครไดมอบสิ่งของยังชีพใหแก
ประชาชนกลุมเปราะบาง”
“ทําทานใหแกคนยากจน”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําเชื่อม
กับ - แก่ - แด่ - ต่อ

 แด ใชนําหนาผูรับที่มีศักดิ์สูงกวาผูให
“ถวายภัตตาหารแดพระภิกษุสงฆ”
“ถวายพระพรแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว”
 ตอ ใชนําหนาผูรับที่อาวุโส หรือมีอํานาจเหนือกวา
“ลูกตองกตัญูตอพอแม”
“เขายื่นเรื่องรองเรียนตอผูอาํ นวยการเขตสะพานสูง”
“เขาฟองรองคดีตอศาลยุติธรรม”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําให้ถูกต้อง
อาทิ-เช่น-ได้แก่-คือ

 อาทิ ใชยกตัวอยางเฉพาะสิ่งทีส่ ําคัญ หรืออยูในลําดับตน ๆ


โดยไมตองใชเครื่องหมาย ฯลฯ
 เชน ใชยกตัวอยางสิ่งทีใ่ กลเคียงกัน เพียง ๓ - ๔ ชนิด
ตามดวยเครื่องหมาย ฯลฯ หรือคําวา “เปนตน”
 ไดแก ไมใชการยกตัวอยาง แตยกสิ่งที่จะกลาวมาทั้งหมด
 คือ ใชในการใหความหมาย

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําให้ถูกต้อง

วโรกาส-โอกาส

 วโรกาส ใชเฉพาะเมื่อ “ขอโอกาส” จากพระมหากษัตริย


หรือพระราชวงศ โดยใชราชาศัพทวา
“ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส”
เมื่อพระมหากษัตริย หรือพระราชวงศ “ใหโอกาส” ใชราชาศัพทวา
“พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให...........”
 ในกรณีอื่นใหใชคําวา “โอกาส”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําให้ถูกต้อง

จะ–จัก
จะ–จัก
เปนกริยานุเคราะห สําหรับชวยกริยาอื่น บอกเวลาภายหนา
 จะ เสียงเบา รูสึกนุมนวลกวาคําวา “จัก” เชน
“จะไป” “จะมา” “จะขอบคุณยิ่ง”
 จัก เสียงหนัก มักใชกับคําสั่ง คําเนน กําชับ เชน
“เด็กควรขวนขวายศึกษา จักไดมีความฉลาดรอบรู”
ในหนังสือราชการนั้น นิยมใชคําวา “จะขอบคุณยิ่ง”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําให้ถูกต้อง
ใคร่-ไป-มา
ใคร-ไป-มา
 ใคร แปลวา ความปรารถนา ความตองการ ความอยาก
มักใชในเรื่อง กามคุณ ไมควรใชในหนังสือราชการ
 ไป - มา ในหนังสือราชการ มักใช ๒ คํานี้สลับกันบอย
การจะใชคําใดนั้น ใหคํานึงถึง “ผูรับหนังสือ” เปนสําคัญ
ตัวอยางเชน
“จึงขอเชิญไปเปนวิทยากร” ผูรับหนังสือยอมคิดวา ตนเดินทางไป
“...สงผูแทนมารวมประชุม” ผูรับหนังสือ (ผูจัดการประชุม)
ยอมคิดวา จะมีผูมารวมประชุม
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําให้ถูกต้อง
นี้-นั้น
นี้-นั้น
ใชบอกการชี้ระยะ
 นี้ บอกชี้ระยะใกล หรือกําลังจะเกิดขึ้น เชน
วันนี้ ดังนี้ ตอไปนี้
 นั้น บอกชี้ระยะไกล หรือที่ผานมาแลว
ดังนั้น ดังกลาวมาแลวนั้น โบราณนั้น เมื่อวานนั้น

มักใชผิดเปน “..................นี้นั้น”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําให้ถูกต้อง

 ระหวาง.....กับ (ใชกับสิ่งที่มี ๒ สวน หรือ ๒ ฝาย)


 ตั้งแต......ถึง (ใชกับเวลา และสิ่งที่มีจุดเริ่มตน จุดสิ้นสุด)
 กําหนดการ (ใชกับงานพิธีทั่วไป และเกี่ยวเนื่องกษัตริย)
 หมายกําหนดการ (เกี่ยวกับพระราชพิธีที่มีหมายรับสั่ง)
 ขอบใจ (ผูอาวุโสมากใชกับผูอาวุโสนอย)
 ขอบคุณ (ผูอาวุโสนอยใชกับผูอาวุโสมาก ผูอาวุโสเสมอกัน)
 ขอขอบพระคุณ (ผูอาวุโสนอยใชกับผูอาวุโสสูงมาก)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนคําให้ถก
ู ต้อง

กฏหมาย คําที่ถูกตอง กฎหมาย


ปรากฎ คําที่ถูกตอง ปรากฏ
รสชาด คําที่ถูกตอง รสชาติ
หลงไหล คําที่ถูกตอง หลงใหล
ทะนุทะนอม คําที่ถูกตอง ทะนุถนอม
มุขตลก คําที่ถูกตอง มุกตลก
เทห คําที่ถูกตอง เท
ลายเซ็นต คําที่ถูกตอง ลายเซ็น
สังเกตุ คําที่ถูกตอง สังเกต
นานับประการ คําที่ถูกตอง นานัปการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนคําให้ถก
ู ต้อง

ประสพการณ คําที่ถูกตอง ประสบการณ


อนุญาติ คําที่ถูกตอง อนุญาต
เจตนารมย คําที่ถูกตอง เจตนารมณ
โลกาภิวัฒน คําที่ถูกตอง โลกาภิวัตน
อัฒจรรย คําที่ถูกตอง อัฒจันทร
ศรีษะ คําที่ถูกตอง ศีรษะ
บุคคลากร คําที่ถูกตอง บุคลากร
สัมนา คําที่ถูกตอง สัมมนา
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเขียนคําให้ถก
ู ต้อง

คลีนิค คําที่ถูกตอง คลินิก


สําอางค คําที่ถูกตอง สําอาง
โพสรูป คําที่ถูกตอง โพสตรูป
อินเตอรเน็ท คําที่ถูกตอง อินเทอรเน็ต
ดิจิตอล คําที่ถูกตอง ดิจิทัล
อีเมล คําที่ถูกตอง อีเมล
เฟสบุค คําที่ถูกตอง เฟซบุก
เว็ปไซด คําที่ถูกตอง เว็บไซต
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําย่อ และคําแทน

 คํานามทั่วไปที่เปนชื่อหนวยงาน ชื่อสถานที่ เชน


มหาวิทยาลัย กระทรวง
กรม สํานักงาน
เมื่อนํามารวมกับชื่อ ซึ่งเปนคํานามเฉพาะ เชน
นวมินทราธิราช มหาดไทย
โยธาธิการและผังเมือง สภามหาวิทยาลัย
เปนคําผสม เมื่อกลาวชื่อเต็มไปแลว การกลาวครั้งตอไป
ใชคํานามทั่วไปแทนชื่อเต็มได โดยไมตองใชไปยาลนอย

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําย่อ และคําแทน

หนังสือราชการนั้น โดยปกติการกลาวในครั้งแรกจะใชคําเต็ม
หากมีอักษรยอ ควรวงเล็บอักษรยอไวดวย เมื่อกลาวครั้งตอไป
จะใชคํายอ หรือคําแทน เพื่อใหกระชับขึ้น
๑. ใชสรรพนาม เชน ทาน กระผม ขาพเจา
๒. ใชคํานาม เชน มหาวิทยาลัย สํานักงาน กระทรวง
๓. ใชอักษรยอ เชน ครม. พรบ. พรก. กทม.
๔. ใชคํายอ เชน วัดพระเชตุพนฯ
๕. ใชคําแทน เชน ตามวันเวลาดังกลาว
โครงการดังกลาว ตามรายชื่อขางตน
ตามรายชื่อดังกลาวขางตน
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ไปยาลน้อย (ฯ)

ใชสําหรับยอคําที่ยาวใหสั้นลง หรือละสิ่งที่ยังเหลืออยู เชน


กรุงเทพมหานคร - กรุงเทพฯ
โปรดเกลาโปรดกระหมอม - โปรดเกลาฯ
พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน – พระตําหนักภูพิงคฯ
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสุขภาพ –
คณะวิทยาศาสตรฯ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ไปยาลน้อย (ฯ)
 ชื่อคน
ชื่อและนามสกุล เปนคนละสวนกัน ดังนั้นจะเขียนเฉพาะชื่อแลวใช
ไปยาลนอย เพื่อยอนามสกุลไมได เชน
นายศุภฤกษ หูไธสง - นายศุภฤกษ ฯ

ใชไปยาลนอยได เฉพาะพระนาม ชื่อ หรือนามสกุลยาว ๆ เชน


(พระนาม) กรมสมเด็จพระเทพรัตนฯ
(นามสกุล) อิศรางกูร ณ อยุธยา – อิศรางกูรฯ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ไปยาลน้อย (ฯ)

ถาขอความที่ละไวนั้น เปนขอความที่เขียนติดกับขอความขางหนา
ใหเวนวรรคหลังเครื่องหมายไปยาลนอย เชน
“สมเด็จพระเจานองนางเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ
อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี”
“สมเด็จเจาฟาฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ยัติภง
ั ค์ (-)

ใชแยกคําที่ไมสามารถพิมพไวในบรรทัดเดียวกันได
โดยตองพิจารณา ดังนี้
๑. ถาคําที่จะแยกนั้น เปนคําเดียวกัน ตองใชยัติภังคคั่น เชน
ประสบ - การณ
พัฒนา - การ
ดําเนิน - การ
สวัสดิ - การ
อาชีว - อนามัย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ยัติภง
ั ค์ (-)

๒. ถาคําที่จะแยกนั้น ถาเปนนามทั่วไป กับนามเฉพาะ


เมื่อแยกคําแลว ยังมีความหมายสมบูรณในตัว ไมตองใชยัติภังค เชน
มหาวิทยาลัย / สุโขทัยธรรมาธิราช
กระทรวง / คมนาคม
สํานัก / งบประมาณกรุงเทพมหานคร
สํานักงาน / คณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานคร
สํานักงาน / เลขาธิการรัฐสภา
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ยัติภง
ั ค์ (-)

๓. คําสั้น ๆ ไมควรแยกคํา ควรพิมพบรรทัดใหมทั้งคํา เชน


โรงเรียน ตํารวจ
จําเริญ ดําเนิน
ชะลอ ดําริ
๔. คําสมาสที่ออกเสียงตอเนือ่ งกัน ไมควรแยกคํา เชน
ชัยภูมิ ราชการ
กรณียกิจ พลการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ยัติภง
ั ค์ (-)
๕. คําผสม ที่นําคํา ๒ คํามาผสมกันแลวเกิดเปนคําใหม
เมื่อแยกคําแลวความหมายเปลี่ยนไป ไมควรแยกคํา เชน
แม - น้ํา นักการ - ศึกษา
แม - ทัพ พอ - ครัว
แม – มด โรง - รถ
๖. คําที่ขึ้นตนดวย ประ กระ กะ ระ ละ สะ ไมควรแยกคํา เชน
ประสบ ประวัติ กระเทือน กระบวน
กะทัดรัด กะทิ ระเหย ระวัง
ละเอียด ละออง สะอาด สะกด
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ยัติภง
ั ค์ (-)

๗. ชื่อคน ไมควรแยกคํา ถากลาวชื่อ นามสกุลเต็มไปแลว


เมื่อกลาวถึงอีก อาจใชคําแทนวา “ตามชื่อขางตน”

ถาจําเปนสามารถพิมพชื่อ แยกจากนามสกุลได เชน


“.............................................................. นางสาวเจนตา
รัตนพานี”
หรือพิมพเฉพาะชื่อก็ได เชน นางสาวเจนตา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ยัติภาค (Dash -)

๑. ใชในความหมายวา “และ” หรือ “กับ” เชน


รายรับ-รายจาย, ภาษาตระกูลไทย-จีน
๒. ใชขยายความ เชน
ภาษาถิ่น-พายัพ
๓. ใชในความหมายวา “ถึง” เชน
ตั้งแตวันจันทร-วันศุกร เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
๔. ใชแทนคําวา “เปน” เชน
นามานุกรม ไทย-อังกฤษ
๕. ใชแสดงลําดับรายการ เชน
-เพศ
-อายุ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ไม้ยมก (ๆ)
ใชเขียนแทนคําที่ซ้ํากัน โดยตองเปนคําชนิดเดียวกัน
มีรูปเดียวกัน มีเสียงเดียวกัน และมีความหมายเดียวกัน เชน
“ใคร ๆ ก็ชมวาเธอสวย”
“สิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ”
“อะไร ๆ ก็ไมชอบ”
“ไป ๆ มา ๆ”
“เร็ว ๆ”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เครือ
่ งหมาย
ไม้ยมก (ๆ)
ถามีรูปเดียวกัน เสียงเดียวกัน แตเปนคําคนละชนิดกัน
ใชไมยมกแทนคําที่ซ้ํากันไมได เชน
“คาอาหารกลางวัน จํานวน ๕๐ คน คนละ ๒๐๐ บาท”
“ซื้อปากกามา ๑๐ ดาม ดามละ ๑๕ บาท
“คุณแมไปซื้อที่ ที่เชียงใหม”
“ของ ของใคร”
“ผม ผมยาวมาก”
“มือมี ๕ นิ้ว นิ้วที่สวมแหวนหมั้น ไดแก นิ้วนางขางซาย”
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การวรรคเว้น
กรณีที่ต้องเว้นวรรค
๑. ชื่อกับนามสกุล
นายสมชาติ ณรงคชัย
๒. ชื่อกับตําแหนง
นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี
๓. ยศกับชื่อ
พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
๔. หลังไปยาลนอย ในกรณีที่ละขอความขางหนาไว
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การวรรคเว้น

๕. ระหวางคํานําหนานามแตละชนิดของบุคคล เชน
ศาสตราจารย คุณหญิงนงเยาว ชัยเสรี
๖. หลังคํานําพระนามพระบรมวงศานุวงศ เชน
พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติวงศ
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
๗. ระหวางชื่อบริษัท หาง ราน ธนาคาร สหกรณ กับคําวา
“จํากัด” เชน
สหกรณออมทรัพยตํารวจ จํากัด
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การวรรคเว้น
๘. ระหวางคําวา “หางหุนสวนจํากัด”
“หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล” กับชื่อหาง เชน
หางหุนสวนจํากัด แหลมทองการพิมพ
หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล ประกายเพชร
๙. ระหวางกลุมคํา หรือขอความ เชน
ผลไมมีหลายชนิด เชน สม มะมวง ลองกอง ฝรั่ง เปนตน
๑๐. ระหวางคํา หรือขอความ กับอักษรยอ
ตามมติ ครม. เมื่อวันที่...................
๑๑. วันอังคารที่ ๑๗ สิงหาคม หรือ วันอังคาร ที่ ๑๗ สิงหาคม
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สิ่ งที่ไม่วรรคเว้น
๑. คํานําหนาชื่อ นาย นาง นางสาว เด็กชาย เด็กหญิง คุณ
กับชื่อ เชน
นายพงษพัฒน วชิรบรรจง คุณยุวดี เพชรรุงศักดิ์
๒. บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ ราชทินนามกับนาม เชน
พระยาอุปกิตศิลปสาร คุณหญิงชดชอย โสภณพานิช
๓. คํานําหนาชื่อที่เปนตําแหนงทางวิชาการ หรืออาชีพ กับชื่อ
ศาสตราจารยวิจิตร ศรีสอาน นายแพทยกานต ชํานาญกิจ
๔. ชื่อสถาบันการศึกษา บริษัท หาง ราน สมาคม มูลนิธิ กรม
กอง กระทรวง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
วรรคเว้นไม่ถูกต้อง
หามขาราชการสตรีนุงกางเกง ในเวลาปฏิบัติราชการ
หามขาราชการสตรีนุงกางเกงใน เวลาปฏิบัติราชการ
รถยนตชนคน จนทําใหขาหัก
รถยนตชนคนจน ทําใหขาหัก
ไขกินแลว แข็งแรง ไมมีโรคภัยเบียดเบียน
ไขกินแลวแข็ง แรงไมมี โรคภัยเบียดเบียน
เด็กกินกลวยแขก รอนจนตาเหลือก
เด็กกินกลวย แขกรอนจนตาเหลือก
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําสรรพนามในหนังสือ

เนื่องจากผูลงนามในหนังสือราชการ เปนการลงนาม
ในฐานะเปนตัวแทนของสวนราชการ ดังนั้นจึงตองใช
“ชื่อสวนราชการ “ เปน “สรรพนาม” แทนชื่อผูลงนาม ไมนิยมใช
สรรพนามวา “ขาพเจา” “กระผม” เวนแตจะเปนการลงนามใน
หนังสือในฐานะสวนตัว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้คําสรรพนามในหนังสือ

สํานักการระบายน้ําพิจารณาแลว เห็นวา ...


กองเครื่องจักรกลขอหารือวา ...
สํานักงานเลขานุการ สํานักการระบายน้ํา พิจารณาแลว
ขอเรียนวา ...
กรุงเทพมหานคร โดยสํานักการระบายน้ําไดดําเนินการ...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การใช้เลขไทย

“มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๓ ขอใหทุกสวนราชการสงเสริมการใช


เลขไทยเพื่ออนุรักษภาษาไทย”
ขอความในหนังสือราชการบางกรณี หนวยงานหรือสวนราชการอาจพิจารณาใชเลข
อารบิคบางสวนหรือทั้งหมดได เชน งานดานการเงิน งานวิเคราะหตารางตัวเลข หรือ
คําภาษาตางประเทศ เปนตน
ตัวอยาง
การใชเลขไทยกับสมการ สูตรทางเคมี เชน H2O เปนตน
การใชเลขอารบิคกับคําภาษาตางประเทศ เชน COVID-19 เปนตน
หากจะพิมพภาษาไทย ใหใชเลขไทย เชน โควิด-๑๙ เปนตน
หากจะพิมพทั้งภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ใหใชหลักการขางตน เชน
การแพรระบาดของโรคติดตอเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เปนตน
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. นาย ศุภฤกษ หูไธสง


ข. นายศุภฤกษ หูไธสง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. พลเอก สุรยุทธ จุลานนท


ข. พลเอกสุรยุทธ จุลานนท

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. กรุงเทพฯ และเขตปริมณฑล
ข. กรุงเทพ ฯ และเขตปริมณฑล
ค. กรุงเทพฯและเขตปริมณฑล
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. สวนราชการตางๆ ที่เกี่ยวของ
ข. สวนราชการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ค. สวนราชการตางๆที่เกี่ยวของ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. ตามที่ ฝายโยธา สํานักงานเขตสายไหม ไดจัดทําโครงการ...


ข. ตามที่ฝายโยธา สํานักงานเขตสายไหม ไดจัดทําโครงการ...
ค. ตามที่ฝายโยธา สํานักงานเขตสายไหมไดจัดทําโครงการ...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. ดวย กรุงเทพมหานคร มีความประสงคจะ...


ข. ดวย กรุงเทพมหานครมีความประสงคจะ...
ค. ดวยกรุงเทพมหานครมีความประสงคจะ...

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดเว้นวรรคตอนได้ถูกต้อง?

ก. สํานักอนามัยมีขอสังเกต วาประชากรวัยเด็กมี
มากกวาวัยชรา
ข. สํานักอนามัยมีขอสังเกตวา ประชากรวัยเด็กมี
มากกวาวัยชรา
ค. สํานักอนามัยมีขอสังเกตวาประชากรวัยเด็กมี
มากกวาวัยชรา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ข้อใดใช �ไม้ยมกได้ถูกต้อง?

ก. คาอาหารวางและเครื่องดื่ม จํานวน 5 คน ๆ ละ 25 บาท


ข. คาอาหารวางและเครื่องดื่ม จํานวน 5 คน คนละ 25 บาท

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การพิ มพ์ หนังสือราชการภาษาไทย
ด้วยโปรแกรมการพิ มพ์
ในเครือ่ งคอมพิ วเตอร์

หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร ๐๑๐๖/ว ๒๐๑๙ ลงวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๓


เรื่อง คําอธิบายการพิมพหนังสือราชการภาษาไทยดวยโปรแกรมการพิมพในเครื่องคอมพิวเตอร และตัวอยางการพิมพ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สําเนา
สําเนา คือเอกสารที่จด
ั ทําขึ้นเหมือนกับต้นฉบับ
ไม่วา่ จะทําจากต้นฉบับ สําเนาคู่ฉบับ หรือจากสําเนาอีกชั้นหนึ่ง
แบ่งออกเป�น ๒ ประเภท คือ สําเนาคู่ฉบับ และสําเนา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สําเนา
สําเนา คือ เอกสารที่จัดทําขึ้นเหมือนกับตนฉบับ
ไมวาจะทําจากตนฉบับ สําเนาคูฉบับ หรือจากสําเนาอีกชั้นหนึ่ง
สําเนาคูฉบับ
เปนสําเนาที่จัดทําพรอมกับตนฉบับ และเหมือนตนฉบับ
ผูลงลายมือชื่อในตนฉบับจะลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อยอไว และใหผูราง
ผูพิมพ และผูตรวจลงลายมือชือ่ หรือลายมือชื่อยอไวที่ขางทายขอบลาง
ดานขวาของหนังสือ
สําเนา
เปนสําเนาที่สวนราชการหรือเจาหนาที่จัดทําขึ้น
สําเนานี้อาจทําขึ้นดวยการถาย คัด อัดสําเนา หรือดวยวิธีการอื่นใด
สําเนาชนิดนี้โดยปกติตองมีการรับรอง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่งสําเนา
สําเนา

ไปให้ส่วนราชการอืน

ทราบ
หนังสือที่เจาของหนังสือเห็นวามีสวนราชการอื่น
ที่เกี่ยวของควรไดรับทราบดวย โดยปกติใหสงสําเนา
ไปใหสวนราชการอืน่ ทราบโดยทําเปนหนังสือประทับตรา
สําเนาหนังสือนีใ้ หมีคาํ รับรองวา สําเนาถูกตอง
ใหขาราชการพลเรือนหรือพนักงานสวนทองถิ่น
ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป
ระดับชํานาญงาน ขึ้นไป หรือเจาหนาทีข่ องรัฐอื่น
ที่เทียบเทา หรือพนักงานราชการ ซึ่งเปนเจาของเรื่อง
ที่ทําสําเนานั้นขึ้น ลงลายมือชื่อรับรอง พรอมทั้งลงชื่อ
ตัวบรรจง ตําแหนง และวัน เดือน ป ที่รับรอง
ที่ขอบดานลางของหนังสือ สําเนาถูกตอง
โดยปกติใหมีคําวา “สําเนา” ไวที่กึ่งกลาง รักชาติ ยิ่งชีพ
หนา เหนือบรรทัดแรกของสําเนาหนังสือดวย (นายรักชาติ ยิ่งชีพ)
นักจัดการงานทั่วไปชํานาญการ
๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๖

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การจัดทําหนังสือ
หนังสือที่จัดทําขึ้นโดยปกติใหมีสําเนาคูฉบับเก็บไวที่ตนเรื่อง ๑ ฉบับ
และใหมสี ําเนาเก็บไวที่หนวยงานสารบรรณกลาง ๑ ฉบับ
หนังสือที่จัดทําขึ้นและหนวยงานสารบรรณกลางไดสงหนังสือ
ดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหถือวาการเก็บสําเนาไวใน
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสที่สงนั้นเปนการเก็บสําเนาไวที่
หนวยงานสารบรรณกลางตามวรรคหนึ่งแลว
ทั้งนี้ โดยไมตองเก็บเปนเอกสารอีก

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การรับหนังสือ

หนังสือรับ คือหนังสือที่ได้รบ
ั เข้ามาจากภายนอก

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การรับหนังสือ
เจาหนาที่ของ จัดลําดับความสําคัญและความเรงดวน
หนวยงานสารบรรณกลาง ของหนังสือเพื่อดําเนินการกอนหลัง

ถูกตอง
ใหผูเปดซอง หากไมถูกตองใหติดตอสวนราชการเจาของเรื่อง
ตรวจสอบเอกสาร หรือหนวยงานที่ออกหนังสือ เพื่อดําเนินการใหถูกตอง
หรือบันทึกขอบกพรองไวเปนหลักฐาน

ดําเนินการเรื่องนั้นตอไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ประทับตรารับหนังสือตาม (ชื่อสวนราชการ)
เลขรับ........................................
แบบที่ ๑๒ ท้ายระเบียบ ที่ วันที่...........................................
มุมบนด้านขวาของหนังสือ เวลา…………………………..…………

ลงทะเบียนรับหนังสือ
ในทะเบียนรับหนังสือตามแบบที่ ๑๓ ทายระเบียบ

จัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับ แลวสงใหสวนราชการที่เกี่ยวของดําเนินการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
จัดแยกหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลว

สงใหสวนราชการที่เกี่ยวของดําเนินการ

ใหลงชื่อหนวยงานทีร่ ับหนังสือนัน้ ในชอง การปฏิบัติ


ถามีชื่อบุคคลหรือตําแหนงที่เกี่ยวของกับการรับหนังสือ
ใหลงชื่อหรือตําแหนงไวดวย

การสงหนังสือที่ลงทะเบียนรับแลว จะสงโดยใชสมุดสงหนังสือ
หรือใหผูรับหนังสือลงชื่อ และวัน เดือน ป ที่รับหนังสือไวเปน
หลักฐานในทะเบียนรับหนังสือก็ได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่งหนังสือ

หนังสือส่ ง คือหนังสือที่ส่งออกไปภายนอก

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่ งหนังสือ
ใหเจาของเรื่องตรวจสอบความเรียบรอยของหนังสือรวมทั้งสิ่งของที่จะสงไป
ใหครบถวน แลวสงเรื่องใหเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางเพื่อสงออก

เมื่อเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางไดรับเรื่องแลวใหลงทะเบียนสงหนังสือ
ในทะเบียนหนังสือสงตามแบบที่ ๑๔ ทายระเบียบ

ลงเลขที่ และวัน เดือน ป ในหนังสือที่จะสงออก ทั้งในตนฉบับ และสําเนาคูฉบับ


ใหตรงกับเลขทะเบียนหนังสือสง และวัน เดือน ป ในทะเบียนหนังสือสง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
กอนบรรจุซอง ใหเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางตรวจความเรียบรอย
ของหนังสือ ตลอดจนสิ่งที่สงไปดวยอีกครั้งหนึ่ง แลวปดผนึก

สงหนังสือ
การสงหนังสือโดยทางไปรษณีย
ใหถือปฏิบัติตามระเบียบ หรือวิธีการ
ที่การสื่อสารแหงประเทศไทยกําหนด

การสงหนังสือซึ่งมิใชเปนการสงโดยทางไปรษณีย
ผูสงตองใหผูรับลงชื่อรับในสมุดสงหนังสือ ตามแบบที่ ๑๖ ทายระเบียบ
หรือใบรับตามแบบที่ ๑๗ ทายระเบียบ แลวแตกรณี ถาเปนใบรับ
ใหนําใบรับนั้นมาผนึกติดไวที่สําเนาคูฉบับ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สมุดส่ งหนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ใบรับหนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บทเบ็ดเตล็ด (การรับและส่งหนังสือ)

เพื่อใหการรับและสงหนังสือดําเนินไปโดยสะดวกเรียบรอยและรวดเร็ว
สวนราชการจะกําหนดหนาที่ของผูปฏิบัติตลอดจนแนวทางปฏิบัตินั้นไวดวย
ก็ได

ทั้งนี้ ใหมีการสํารวจทะเบียนหนังสือรับเปนประจําวา หนังสือตามทะเบียนรับ


นั้นไดมีการปฏิบัติไปแลวเพียงใด และใหมีการติดตามเรื่องดวย

ในการนี้สวนราชการใดเห็นสมควรจะจัดใหมีบัตรตรวจคนสําหรับหนังสือรับ
และหนังสือสงเพื่อความสะดวกในการคนหาก็ไดตามความเหมาะสม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บัตรตรวจค้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่งหนังสือ

ซอง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ซอง ซี ๔
๒๒๙ x ๓๒๔ ม.ม.
กระดาษ เอ ๔

งานสารบรรณ 282S u p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
ซอง ซี ๕
ซอง ซี ๕ ขนาด ๑๖๒ x ๒๒๙ ม.ม.

กระดาษ เอ ๔

พับสอง

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ซอง ซี ๖
๑๑๔x ๑๖๒ ม.ม.

กระดาษ เอ ๔

งานสารบรรณ 284S u p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
ซองดีแอล
๑๑๐x ๒๒๐ ม.ม.

กระดาษ เอ ๔
หรือกระดาษ A4
พับสาม

งานสารบรรณ 285S u p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่งหนังสือ
การจ่าหน้าซองหนังสือราชการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง
การจ่าหน้าซองแบบส่วนราชการจัดส่ งเอง

ดวนมาก
กรุงเทพมหานคร
ที่ กท ๑๐๐๒/๑๒๓

เรียน ปลัดกระทรวงมหาดไทย

งานสารบรรณ 287S u p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง
การจ่าหน้าซองแบบส่วนราชการจัดส่งทางไปรษณีย์

ชําระฝากสงเปนรายเดือน
ใบอนุญาตที่ ๑๙/......
ดวนมาก ไปรษณียราชดําเนิน
กรุงเทพมหานคร
๑๗๓ ถนนดินสอ กทม. ๑๐๒๐๐
ที่ กท ๑๐๐๒/๑๒๓
เรียน ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ถนนอัษฎางค
เขตพระนคร
กรุงเทพฯ 10200

งานสารบรรณ 288S u p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
ตัวอย่าง การจ่าหน้าซองข้อมูลข่าวสารลับ

ชั้นความเร็ว ชั้นความลับ
สวนราชการที่ออกหนังสือ
ที่ กท ..../......

กราบเรียน อัยการสูงสุด

ชั้นความลั
 บ
ประทับตรายาง “ชั้นความลับ” ที่กึ่งกลางดานบนซองชั้นในเทานั้น
ซองชั้นนอก จาหนาซองเหมือนกันแตไมตองประทับตรา “ชั้นความลับ”
งานสารบรรณ 289
Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ชั้นความลับ

ชั้นความลั
บ

ประทับตรายาง “ชั้นความลับ” ที่ป�ดซองเท่านั้น


ลงลายมือชื่อ พร้อมติดเทปใสทับอีกครัง
้ หนึ่ง
ซองนอกไม่ต้องประทับตรา “ชั้นความลับ”

งานสารบรรณ 290S u p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
การจัดการ
“ข้อมูลข่าวสารลับ”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
แบบ “ลับ”
(ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กําหนดแบบเอกสารตามระเบียบ
วาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544)

1. ทะเบียนรับ = ทขล.1
2. ทะเบียนสง = ทขล.2
3. ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ = ทขล.3
4. ใบตอบรับ
5. บันทึกการยืม
6. ใบรับรองการทําลายขอมูลขาวสารลับ

งานสารบรรณ S u292p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทะเบียนรับ
ทขล.1
ทะเบียนรับ
เลขที่ ชั้น
เลขที่รับ จาก ถึง เรื่อง ลงชื่อ หมายเหตุ
หนังสือ ความลับ

หมายเหตุ ชองเลขที่รับใหปฏิบัติดังนี้
1. ใหลงเลขที่รับตอเนื่องกันไป
2. เมื่อขึ้นวันใหม ใหลงวันที่คั่นไวในทะเบียน
งานสารบรรณ S u293p h a r e r k _ A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทะเบียนส่ ง
ทะเบียนสง ทขล.2

หนวยงาน
เลขที่สง เลขที่สง เลขที่รับ ชั้นความลับ การดําเนินการ
เจาของเรื่อง

หมายเหตุ ชองเลขที่สงใหปฏิบัติดังนี้
1. ใหลงเลขที่สงตอเนื่องกันไป
2. เมื่อขึ้นวันใหม ใหลงวันที่คั่นไวในทะเบียน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ทะเบียนควบคุมข้อมูลข่าวสารลับ
ทะเบียนควบคุมขอมูลขาวสารลับ ทขล.3

ชั้น
ลําดับที่ จาก ถึง เรื่อง ลงชื่อ หมายเหตุ
ความลับ

หมายเหตุ 1.ชองเลขที่สง ใหลงเลขที่สงในทะเบียนสง


2.ชองเลขที่รับ ใหลงเลขที่สงในทะเบียนรับ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ใบตอบรับ
ใบตอบรับ
ขาพเจา (ยศ,ชื่อ)........................................................................................ ในฐานนะ
 นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
 ผูชวยนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
ไดรับซองหรือขอมูลขาวสารลับ เลขที่หนังสือ...................ลงวันที่..................................
จาก.....................................................ถึง.................................................................
ไวเรียบรอยแลวเมื่อวันที่..........เดือน.........................พ.ศ..............เวลา....................น.
ลงชื่อ......................................ผูรับ
(...................................................)
ลงชื่อ......................................ผูสง
(...................................................)
หมายเหตุ 1. กรณีที่นําสงโดยเจาหนาที่นําสาร ใหรอรับใบตอบรับนํากลับคืนทันที
2. กรณีที่นําสงโดยวิธีอื่น ใหผูรับจัดการใบตอบรับคืนโดยเร็ว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บันทึกการยืม
(ชั้นความลับ)
บันทึกการยืม
ขาพเจา (ยศ,ชื่อ)........................................................................................................ตําแหนง .................................................................
สังกัด......................................................................................ตั้งอยูที่........................................................................โทรศัพท ..................
ไดยืมขอมูลขาวสารลับจาก (หนวยงานผูใหยืม)...................................................................................... ไปจํานวน................. รายการ ดังนี้
ลําดับ ชัน
้ ที่หนังสือ ลงวันที่ เรือ
่ ง หมายเหตุ
ความลับ

ขาพเจายินดีปฏิบัติตามเงื่อนไขดังนี้ ............................................................................................................................................................
ขาพเจาจะนําขอมูลขาวสารลับที่ยืมกลับคืนภายในวันที่...........เดือน........................................พ.ศ...............
ลงชื่อ...............................ผูยืม
(.....................................)
อนุญาตให.......................................... ลงชื่อ...............................เจาหนาที่สงมอบ
ยืมขอมูลขาวสารลับตามรายการนี้ได (.....................................)
ลงชื่อ................................
(.......................................)
ตําแหนง............ ผูยมื ไดนําขอมูลขาวสารลับตามรายการ......................มาคืน
ผูอนุญาตใหยืม ครบถวนเรียบรอยแลว เมื่อวันที่.......เดือน...............พ.ศ.......

ไดจดแจงการไวในทะเบียนควบคุมขออมูลขาวสารลับแลว ลงชื่อ...................................
ลงชื่อ................................ (.......................................)
(.......................................) เจาหนาที่ผูรับคืน
นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
(ชั้นความลับ)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ใบรับรองการทําลายข้อมูลข่าวสารลับ
(ชั้นความลับ)
ใบรับรองการทําลายขอมูลขาวสารลับ
ชื่อหนวยงาน..............................
1. ตามคําสั่งที่...........ลงวันที่........เดือน.................พ.ศ............ใหคณะกรรมการตามขอ 3 ดําเนินการทําลายขอมูล
ขาวสารลับตามรายการในขอ 2.
2. รายการขอมูลขาวสารลับ
เลขที่
ลําดับที่ ลงวันที่ จาก ถึง เรือ
่ ง หมายเหตุ
หนังสือ

3. คณะกรรมการทําลายขอมูลขาวสารลับ
ตําแหน่ง รายชือ
่ ได้ทําลายข้อมูล ลงชือ

ข่าวสารลับ
1. ประธาน 1........................... 1...........................
ลําดับที่.....................
คณะกรรมการ
เมื่อวันที่....................
2. กรรมการ 2........................... เดือน........................ 2...........................
พ.ศ...........................
4. ได3.จดแจ
กรรมการ
งการทําลายลงในทะเบี 3...........................
ยนควบคุมขอมูลขาวสารลับแลว 3...........................
ลงชื่อ.........................................นายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
(..........................................)
วันที่............................................
(ชั้นความลับ)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเก็บรักษา
หนังสือ
การเก็บระหว่างปฏิบัติ
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
การเก็บไว้เพื่อใช �ในการตรวจสอบ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเก็บระหว่างปฏิบัติ

คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติยังไมเสร็จ

ใหอยูในความรับผิดชอบของเจาของเรื่อง

ใหกําหนดวิธีการเก็บใหเหมาะสมตามขั้นตอน
ของการปฏิบัติงาน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
คือ การเก็บหนังสือทีป่ ฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว และไมมีอะไรที่จะตองปฏิบัติตอไปอีก
ใหเจาหนาที่เจาของเรื่อง เรื่องที่เก็บไวเพื่อใช
ในการตรวจสอบ
ที่หมดความจําเปนที่จะตอง
เรื่องที่ปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว สํารวจ ใชในการตรวจสอบแลว

จัดทําบัญชีหนังสือสงเก็บตามแบบที่ ๑๙ ทายระเบียบ

สงหนังสือและเรื่องปฏิบัติทั้งปวงที่เกี่ยวของกับหนังสือนัน้
พรอมทั้งบัญชีหนังสือสงเก็บไปใหหนวยเก็บทีส่ วนราชการนัน้ ๆ กําหนด

หนวยเก็บ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บัญชีหนังสือส่งเก็บตามแบบที่ ๑๙ ท้ายระเบียบ
อย่างน้อยให้มีต้นฉบับและสําเนาคู่ฉบับ สําหรับเจ้าของเรือ
่ งและหน่วยเก็บ เก็บไว้อย่างละฉบับ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
หนวยเก็บ เจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการเก็บหนังสือ

ประทับตราเก็บหนังสือ หนังสือที่เก็บโดยมีกําหนดเวลา
หนังสือที่ตองเก็บไวตลอดไป ตามขอ ๗๓ ของระเบียบ ใหประทับตราคําวา
ใหประทับตราคําวา ไวที่มุมลางดานขวา เก็บถึง พ.ศ. ....
หามทําลาย ของกระดาษแผนแรก ดวยหมึกสีน้ําเงิน
ดวยหมึกสีแดง ของหนังสือฉบับนั้น และลงเลขของปพุทธศักราช
และลงลายมือชื่อยอกํากับตรา ที่ใหเก็บถึง

ลงทะเบียนหนังสือเก็บไวเปนหลักฐานตามแบบที่ ๒๐ ทายระเบียบ

เก็บ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
หนังสือที่ตองเก็บไวตลอดไป หนังสือที่ตองเก็บโดยมีกําหนดเวลา

หามทําลาย เก็บถึง พ.ศ. ๒๕๗๐

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การเก็บไว้เพื่ อใช �ในการตรวจสอบ
คือ การเก็บหนังสือทีป่ ฏิบตั เิ สร็จเรียบรอยแลว แตจาํ เปนจะตอง
ใชในการตรวจสอบเปนประจํา ไมสะดวกในการสงไปเก็บยังหนวยเก็บ
ของสวนราชการ

ใหเจาของเรื่องเก็บเปนเอกเทศ โดยแตงตั้งเจาหนาที่ขึ้นรับผิดชอบก็ได

เมื่อหมดความจําเปนที่จะตองใชในการตรวจสอบแลว ใหจัดสงหนังสือนั้น
ไปยังหนวยเก็บของสวนราชการ โดยใหถือปฏิบัติตามการเก็บเมื่อปฏิบัติ
เสร็จแลวโดยอนุโลม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อายุการเก็บหนังสือ
โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา ๑๐ ป
เวนแตหนังสือดังตอไปนี้
๑. หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับ ใหปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ หรือระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทาง
ราชการ
๒. หนังสือที่เปนหลักฐานทางอรรถคดี สํานวนของศาลหรือของพนักงาน-
สอบสวนหรือหนังสืออื่นใดที่ไดมีกฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกําหนดไวเปนพิเศษ
แลว การเก็บใหเปนไปตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนวาดวยการนั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อายุการเก็บหนังสือ
โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา ๑๐ ป
เวนแตหนังสือดังตอไปนี้
๓. หนังสือที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรทุกสาขาวิชา และมีคุณคาตอการศึกษา
คนควา วิจัย ใหเก็บไวเปนหลักฐานสําคัญทางประวัติศาสตรของชาติตลอดไป หรือ
ตามที่สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร กําหนด
๔. หนังสือที่ไดปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแลว และเปนคูสําเนาที่มีตนเรื่องจะคนได
จากที่อื่น ใหเก็บไวไมนอยกวา ๕ ป
๕. หนังสือที่เปนเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไมมีความสําคัญ และเปนเรื่องที่เกิดขึ้น
เปนประจําเมื่อดําเนินการแลวเสร็จ ใหเก็บไวไมนอยกวา ๑ ป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
อายุการเก็บหนังสือ
โดยปกติใหเก็บไวไมนอยกวา ๑๐ ป
เวนแตหนังสือดังตอไปนี้
๖. หนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน หรือการกอหนี้ผูกพัน
ทางการเงินที่ไมเปนหลักฐานแหงการกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
ในทางการเงิน รวมถึงหนังสือหรือเอกสารเกี่ยวกับการรับเงิน การจายเงิน หรือการกอหนี้
ผูกพันทางการเงินที่หมดความจําเปนในการใชเปนหลักฐานแหงการกอ เปลี่ยนแปลง
โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิในทางการเงิน เพราะไดมีหนังสือหรือเอกสารอื่นที่สามารถ
นํามาใชอางอิงหรือทดแทนหนังสือหรือเอกสารดังกลาวแลว เมื่อสํานักงานการตรวจเงิน-
แผนดินตรวจสอบแลวไมมีปญหา และไมมีความจําเปนตองใชประกอบการตรวจสอบ
หรือเพื่อการใดๆ อีก ใหเก็บไวไมนอยกวา ๕ ป
หนังสือเกี่ยวกับการเงิน ซึ่งเห็นวา ไมมีความจําเปนตองเก็บไวถึง ๑๐ ป หรือ ๕ ป
แลวแตกรณี ใหทําความตกลงกับกระทรวงการคลัง
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่ งหนังสือที่มีอายุครบ ๒๐ ป�
ให้สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร

ทุกปปฏิทิน

ใหสวนราชการจัดสงหนังสือทีม่ ีอายุครบ ๒๐ ป นับจากวันทีไ่ ดจัดทําขึ้น


ที่เก็บไว ณ สวนราชการใด พรอมทั้งบัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๐ ป
ตามแบบที่ ๒๑ ทายระเบียบ

ใหสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร

ภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ของปถัดไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การส่ งหนังสือที่มีอายุครบ ๒๐ ป�
ให้สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร

เวนแตหนังสือดังตอไปนี้
๑. หนังสือที่ตองสงวนเปนความลับใหปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวาดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ หรือระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทาง
ราชการ
๒. หนังสือที่มีกฎหมาย ขอบังคับ หรือระเบียบที่ออกใชเปนการทั่วไป
กําหนดไวเปนอยางอื่น
๓. หนังสือที่สวนราชการมีความจําเปนตองเก็บไวที่สวนราชการนั้น
ใหจัดทําบัญชีหนังสือครบ ๒๐ ปท่ีขอเก็บเอง ตามแบบที่ ๒๒ ทายระเบียบ
สงมอบใหสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๐ ป๑ และบัญชีหนังสือครบ ๒๐ ปที่ขอเก็บเอง๒ อยางนอยใหมีตนฉบับ และสําเนาคูฉบับ
เพื่อใหสวนราชการผูมอบและสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ผูรับมอบ ยึดถือไวเปนหลักฐานฝายละฉบับ

๑และ ๒แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
บัญชีหนังสือครบ ๒๐ ป�ที่ขอเก็บเอง๑

๑ แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘


งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การฝากหนังสือ
ให้สํานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร เก็บไว้

หนังสือที่ยังไมถึงกําหนดทําลาย ซึ่งสวนราชการเห็นวา เปนหนังสือที่มีความสําคัญและประสงค


จะฝากใหสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร เก็บไว

จัดทําบัญชีฝากหนังสือ สงตนฉบับและสําเนาคูฉบับบัญชีฝากหนังสือ
ตามแบบที่ ๒๓ ทายระเบียบ พรอมหนังสือที่จะฝาก
อยางนอยใหมีตนฉบับและสําเนาคูฉบับ ใหสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร

เมื่อสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ตรวจหนังสือและ


รับฝากหนังสือแลว ใหลงนามในบัญชีฝากหนังสือ
แลวคืนตนฉบับใหสวนราชการผูฝากเก็บไวเปนหลักฐาน
หนังสือที่ฝากเก็บไวที่สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ใหถือวาเปนหนังสือของสวนราชการผูฝาก
หากสวนราชการผูฝากตองการใชหนังสือหรือขอคืน ใหทําไดโดยจัดทําหลักฐานตอกันไวใหชัดแจง
เมื่อถึงกําหนดการทําลายแลว ใหสวนราชการผูฝากดําเนินการตามขอ ๖๖ ของระเบียบ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การรักษาหนังสือ
ใหเจาหนาที่ระมัดระวังรักษาหนังสือใหอยูในสภาพใชราชการไดทุกโอกาส
หากชํารุดเสียหาย
ตองรีบซอมใหใชราชการไดเหมือนเดิม
ถาชํารุดเสียหายจนไมสามารถซอมแซมไดใหคงสภาพเดิมได ใหรายงาน
ผูบังคับบัญชาทราบ และใหหมายเหตุไวในทะเบียนเก็บดวย
หากสูญหาย
ตองหาสําเนามาแทน
ถาหนังสือที่สูญหายเปนเอกสารสิทธิตามกฎหมายหรือหนังสือสําคัญที่เปนการ
แสดงเอกสารสิทธิ ก็ใหดําเนินการแจงความตอพนักงานสอบสวน
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การยืมหนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การยืมหนังสือ
การยืมหนังสือที่สงเก็บแลว

ผูยืมจะตองแจงใหทราบวาเรื่องที่ยืมนัน้ จะนําไปใชในราชการใด

ผูยืมจะตองมอบหลักฐานการยืมใหเจาหนาที่เก็บ
แลวลงชื่อรับเรื่องที่ยมื ไวในบัตรยืมหนังสือตามแบบที่ ๒๔ ทายระเบียบ

ใหเจาหนาที่เก็บรวบรวมหลักฐานการยืม เรียงลําดับวัน เดือน ป ไว


เพื่อติดตามทวงถาม

บัตรยืมนั้นใหเก็บไวแทนที่หนังสือที่ถกู ยืมไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การยืมหนังสือ
การยืมหนังสือภายในสวนราชการเดียวกัน
ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปนหัวหนาสวนราชการระดับแผนกขึ้นไป
หรือผูที่ไดรับมอบหมาย

การยืมหนังสือระหวางสวนราชการ
ผูยืมและผูอนุญาตใหยืมตองเปนหัวหนาสวนราชการระดับกองขึ้นไป
หรือผูที่ไดรับมอบหมาย
การใหบุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทํามิได เวนแตจะใหดูหรือคัดลอก
หนังสือ ทั้งนี้ จะตองไดรับอนุญาตจากหัวหนาสวนราชการระดับกองขึ้นไป
หรือผูที่ไดรับมอบหมายกอน

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การทําลาย
หนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การทําลายหนังสือ
ภายใน ๖๐ วัน หลังจากวันสิ้นปปฏิทิน

เจาหนาที่ผูรับผิดชอบในการเก็บหนังสือ
สํารวจหนังสือที่ครบกําหนดอายุการเก็บในปนั้น
ไมวาจะเปนหนังสือที่เก็บไวเอง
หรือที่ฝากเก็บไวที่สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร

จัดทําบัญชีหนังสือขอทําลาย ตามแบบที่ ๒๕ ทายระเบียบ

เสนอหัวหนาสวนราชการระดับกรม
เพื่อพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการทําลายหนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
การทําลายหนังสือ
หัวหนาสวนราชการระดับกรม
แตงตั้ง
คณะกรรมการทําลายหนังสือ
ประกอบดวย
ประธานกรรมการและกรรมการอีกอยางนอยสองคน
โดยปกติใหแตงตั้งจากขาราชการพลเรือน หรือพนักงานสวนทองถิ่น
ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ขึ้นไป
หรือเจาหนาทีข่ องรัฐอื่นทีเ่ ทียบเทา
ถาประธานกรรมการไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่ง
ทําหนาที่ประธาน
มติของคณะกรรมการใหถอื เสียงขางมาก ถากรรมการผูใดไมเห็นดวย ใหทําบันทึกความเห็นแยงไว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
คณะกรรมการทําลายหนังสือ
พิจารณาหนังสือที่จะขอทําลายตามบัญชีหนังสือขอทําลาย
ในกรณีที่มีความเห็นวาหนังสือฉบับใดไมควรทําลาย และควรจะขยายเวลาการเก็บไว
ใหลงความเห็นวาจะขยายเวลาการเก็บไวถึงเมื่อใด ในชอง การพิจารณา ของบัญชี
หนังสือขอทําลาย แลวใหแกไขอายุการเก็บหนังสือในตรากําหนดเก็บหนังสือ โดยให
ประธานกรรมการทําลายหนังสือลงลายมือชื่อกํากับการแกไข
ในกรณีที่มีความเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรใหทําลาย
ใหกรอกเครื่องหมายกากบาท (×) ในชอง การพิจารณา ของบัญชีหนังสือขอทําลาย

เสนอรายงานผลการพิจารณาพรอมทั้งบันทึกความเห็นแยงของคณะกรรมการ (ถามี)
ตอหัวหนาสวนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาสั่งการตามขอ ๖๙ ของระเบียบ

ควบคุมการทําลายหนังสือซึ่งผูมีอํานาจอนุมตั ิใหทําลายไดแลว โดยการเผาหรือวิธีอื่นใด


ที่จะไมใหหนังสือนั้นอานเปนเรือ่ งได และเมื่อทําลายเรียบรอยแลวใหทําบันทึกลงนามรวมกัน
เสนอผูมีอํานาจอนุมัติทราบ
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
หัวหนาสวนราชการระดับกรม
เมื่อไดรับรายงานจากคณะกรรมการทําลายหนังสือตามขอ ๖๘.๔ ของระเบียบ แลว
ใหพิจารณาสั่งการดังนี้

ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดยังไมควรทําลาย ถาเห็นวาหนังสือเรื่องใดควรทําลาย

ใหสั่งการใหเก็บหนังสือนั้นไว
จนถึงเวลาทําลายงวดตอไป ใหสงบัญชีหนังสือขอทําลาย ให
สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ
กรมศิลปากร พิจารณากอน

เวนแตหนังสือประเภทที่สวนราชการนั้นไดขอทําความตกลงกับ
กรมศิลปากรแลว ไมตองสงไปใหพิจารณา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร
พิจารณารายการในบัญชีหนังสือขอทําลายแลว
แจงใหสวนราชการที่สงบัญชีหนังสือขอทําลายทราบ ดังนี้

ถาเห็นชอบดวย ถาเห็นวาควรจะขยายเวลาเก็บไวอยาง
ใด หรือใหเก็บไวตลอดไป

ใหแจงใหสวนราชการนั้นดําเนินการ ใหแจงใหสวนราชการนั้นทราบ และให


ทําลายหนังสือตอไปได สวนราชการนั้น ๆ ทําการแกไขตามที่แจงมา

หากไมแจงใหทราบอยางใดภายในกําหนดเวลา หากเห็นวาควรใหสงไปเก็บไวที่
๖๐ วัน นับแตวันที่สวนราชการนั้นไดสงเรื่องให สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ
ใหถือวาสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติไดใหความเห็นชอบแลว
และใหสวนราชการทําลายหนังสือได ใหสวนราชการนั้นปฏิบัติตาม
เพื่อประโยชนในการนี้ สํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ จะสงเจาหนาที่มารวมตรวจสอบหนังสือของสวนราชการนั้นก็ได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
สารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
บทนิยาม
ปรับปรุงบทนิยาม “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส”

การรับสงและเก็บรักษาขอมูลขาวสาร หรือหนังสือผานระบบสื่อสารดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส
โดยรวมถึงการรับสงโดยใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกสของสวนราชการหรือสวนราชการจัดใหแก
เจาหนาที่และระบบสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกสอื่นใดตามที่หัวหนาสวนราชการกําหนดดวย

เพิ่มบทนิยาม “หนังสืออิเล็กทรอนิกส”

หนังสือราชการที่จัดทําและไดรบั สง หรือเก็บรักษาดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส (ขอ ๒๙)
การติดตอราชการใหดําเนินการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสเปนหลัก
กรณีที่เปนขอมูลขาวสารลับชั้นลับที่สุดตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ
เวนแต หรือเปนสิ่งที่เปนความลับของทางราชการชั้นลับที่สุดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวย
การรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
หรือมีเหตุจําเปนอื่นใดที่ไมสามารถดําเนินการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสได
ในกรณีทตี่ ิดตอราชการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหผูสงตรวจสอบผลการสงทุกครั้ง และใหผูรบั แจงตอบ
รับ เพื่อยืนยันวาหนังสือไดจดั สงไปยังผูรับเรียบรอยแลว ถาไดรับการแจงตอบรับแลว สวนราชการผูส งไมตอง
จัดสง หนังสือเปนเอกสารตามไปอีก

การสงขอความทางเครื่องมือสื่อสาร เชน โทรศัพท วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียง ใหผูรับปฏิบัติเชนเดียวกับไดรับ


หนังสือ ในกรณีที่จําเปนตองยืนยันเปนหนังสือ ใหทําหนังสือยืนยันตามไปทันที สําหรับกรณีที่ขอความที่สงไมมี
หลักฐานปรากฏชัดแจงใหผสู งและผูรับบันทึกขอความไวเปนหลักฐาน
การสงหรือจัดเก็บขอความตามวรรคสามดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสไวในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ใหถือเปนการบันทึกขอความไวเปนหลักฐานแลว
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
การจัดทําทะเบียนหรือบัญชีในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส (ขอ ๒๙/๑)

ใหสวนราชการจัดใหมี ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส

ทะเบียนหนังสือรับ ทะเบียนหนังสือสง โดยกรอกรายละเอียดเชนเดียวกับ


บัญชีหนังสือสงเก็บ ทะเบียนหนังสือ ทะเบียนหรือบัญชีในรูปแบบเอกสาร
เก็บ บัญชีสงมอบหนังสือครบ ๒๐ ป จะอยูในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส หรือ
บัญชีหนังสือครบ ๒๐ ปที่ขอเก็บเอง จัดทําโดยใชโปรแกรม เชน Microsoft Excel
บัญชีฝากหนังสือ หรือ Google Sheets หรือ Apple Numbers
บัญชีหนังสือขอทําลาย หรือแอปพลิเคชันอื่นใดก็ได
ทั้งนี้ เมื่อมีทะเบียนหรือบัญชีดังกลาวในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสแลว
ไมตองจัดทําทะเบียนหรือบัญชีใดเปนเอกสารอีก

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (ขอ ๘๙/๑)
สวนราชการ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ัล (องคการมหาชน)
จัดใหมีระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสสําหรับปฏิบัติงานสารบรรณ ใหรวบรวมที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลางของหนวยงานของรัฐ
ทั้งหมด เพื่อเผยแพรในที่เดียวกับที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลาง
หรืออยางนอยตองมีที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลาง ของสวนราชการ เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกใหแกประชาชน
สําหรับการรับและการสงหนังสืออิเล็กทรอนิกสของสวนราชการนั้น และการปฏิบัติงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกสของเจาหนาที่ของรัฐ
กรณีที่มีหนวยงานในสังกัดตั้งอยูในภูมิภาค หรือมีหนวยงานในสังกัดที่จําเปนตองมีหนวยงานสารบรรณกลางแยกตางหากจาก
สวนกลาง เพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ หรือมีเหตุจําเปนอื่นใดใหตองมีที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลางของตนเอง
สวนราชการนั้นจะอนุญาตหรือจัดใหหนวยงานในสังกัดดังกลาวมีที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลางเฉพาะสําหรับการรับ และการสง
หนังสืออิเล็กทรอนิกสของหนวยงานนั้นก็ได
ใหประกาศเผยแพรที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลางในเว็บไซตของสวนราชการนั้น และใหแจงไปยังสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
(องคการมหาชน) เพื่อรวบรวมเผยแพรพรอมกับหมายเลขโทรศัพทของเจาหนาที่ที่มีหนาที่ตรวจสอบหนังสือที่สงมายังที่อยูไปรษณีย
อิเล็กทรอนิกสดังกลาวดวย
หลักเกณฑและวิธีการปฏิบัติในการรับสงและเก็บรักษาขอมูลขาวสารและหนังสือราชการดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในภาคผนวก ๖ ทั้งนี้ โดยไมรวมถึงการใชไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
หลักเกณฑและวิธีการปฏิบัติในการรับสงและเก็บรักษาขอมูลขาวสารและหนังสือราชการโดยไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
ใหเปนไปตามที่กําหนดไวในภาคผนวก ๗
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
ขอ ๘๙/๒ ใหนําความในขอ ๓๕ ขอ ๓๖ ขอ ๓๘ ขอ ๓๙ ขอ ๔๐ ขอ ๔๑ ขอ ๔๒ ขอ ๔๓
ขอ ๔๗ ขอ ๕๘ และขอ ๕๙ มาใชบังคับแกหนังสืออิเล็กทรอนิกสดว ยโดยอนุโลม
หมวด ๒ การรับและสงหนังสือ
สวนที่ ๑ การรับหนังสือ
ขอ ๓๕ ขอ ๓๖ ขอ ๓๘ ขอ ๓๙ ขอ ๔๐
หมวด ๒ การรับและสงหนังสือ มาใชบังคับแก
สวนที่ ๒ การสงหนังสือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส
ขอ ๔๑ ขอ ๔๒ ขอ ๔๓ ขอ ๔๗
ดวยโดยอนุโลม
หมวด ๓ การเก็บรักษา ยืม และทําลายหนังสือ
สวนที่ ๑ การเก็บรักษา
ขอ ๕๘ ขอ ๕๙
ในกรณีที่หนวยงานสารบรรณกลางของสวนราชการมีความจําเปนตองพิมพหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ที่ไดรับออกเปนเอกสารเพื่อดําเนินการ ใหนําความในขอ ๓๗ มาใชบังคับดวย
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
การลงเวลาการรับ การสงหนังสืออิเล็กทรอนิกส (ขอ ๘๙/๓)
เพื่อประโยชนในการปฏิบัติงานสารบรรณ
ในการรับหรือสงหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ใหลงเวลาที่ปรากฏในระบบวา สวนราชการไดรับหรือไดสงหนังสือ
ไวในทะเบียนหนังสือรับหรือทะเบียนหนังสือสง แลวแตกรณี ไว
เพื่อเปนหลักฐานทางราชการดวย

ในกรณีที่ไดสงไปทางที่อยูไปรษณียอ ิเล็กทรอนิกสที่ไดรับแจงไวหรือที่ได
มีการประกาศเผยแพร ตามขอ ๘๙/๑ แลว แตไมสําเร็จ
ใหลงวันและเวลาที่ปรากฏในระบบวาไดจัดสงครั้งแรกเปนวันและเวลาที่ไดสงหนังสือ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

การเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส (ขอ ๘๙/๔)


เก็บไวในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสอันเปนผลจากที่ไดมีการรับหรือการสง
หนังสือนั้น

ใหมีการสํารองขอมูล (backup) หนังสืออิเล็กทรอนิกสไวอีกแหงเปนอยางนอย

ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่หัวหนาสวนราชการกําหนด

หนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เก็บรักษาไวในการสํารองขอมูล และที่สงใหสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ
กรมศิลปากร ตามขอ ๕๘ ใหอยูในรูปแบบมาตรฐาน เชน PDF ความละเอียด ไมนอยกวา ๑๕๐ dpi
และใหนําหลักเกณฑการตัง้ ชื่อไฟลที่กาํ หนดไวในภาคผนวก ๗ มาใชบังคับดวยโดยอนุโลม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
อายุการเก็บและการทําลายเอกสารอิเล็กทรอนิกส (ขอ ๘๙/๕)

หนังสืออิเล็กทรอนิกสไมมีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติใหเก็บไวตลอดไป
มีความจําเปนตองเพิ่มพื้นที่จัดเก็บในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
เวนแต
หรือมีเหตุผลความจําเปนอื่นใด

หัวหนาสวนราชการจะมีคําสั่งใหทําลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ที่มิใชเอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายวาดวยจดหมายเหตุแหงชาติ
ที่เก็บมาเปนเวลาเกินกวา ๑๐ ปแลวก็ได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
การทําลายเอกสารอิเล็กทรอนิกส (ขอ ๘๙/๕)

หัวหนาสวนราชการจะมีคาํ สัง่ ใหทาํ ลาย ใหใชวิธีลบออกจาก


ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
หนังสืออิเล็กทรอนิกส และใหลบหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ที่มิใชเอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายวาดวยจดหมายเหตุแหงชาติ ที่เก็บไวเปนเวลานานที่สุด
ที่เก็บมาเปนเวลาเกินกวา ๑๐ ปแลว ก็ได ยอนขึ้นมา

หนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เก็บรักษาไวในการสํารองขอมูลของสวนราชการตามขอ ๘๙/๔ โดยอนุโลม


โดยหัวหนาสวนราชการจะมีคาํ สั่งใหทําลายไดเฉพาะหนังสือที่เก็บมาเปนเวลาเกินกวา ๒๐ ป
ซึ่งไดมีการสงใหสํานักหอจดหมายเหตุแหงชาติ กรมศิลปากร ตามขอ ๕๘ แลว

เมื่อหัวหนาสวนราชการมีคําสั่งใหทําลายหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ใหนําความในสวนที่ ๓ การทําลาย ของหมวด ๓ การเก็บรักษา ยืม และทําลายหนังสือ
มาใชบังคับโดยอนุโลม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
การพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ปญหาอุปสรรคทางเทคนิค
การเชื่อมโยงขอมูลหรือระบบกับสวนราชการและหนวยงานอื่น
(ขอ ๑๑)

อาจขอรับการสนับสนุนหรือขอความชวยเหลือจาก

สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน) (สพร.)


หรือ
สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (สพธอ.)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

บทเฉพาะกาล (ขอ ๑๒)

การปฏิบตั ิงานสารบรรณดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสกอ นวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ


รวมทั้งหนังสือ เอกสาร และสําเนาที่เกี่ยวของ ถาไดกระทําไปโดยสอดคลองกับหลักเกณฑ
หรือวิธีการที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.
๒๕๒๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบนี้ ใหถือวาชอบดวยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และใหปฏิบัติตอไปตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานัก
นายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบนี้ และ
ภาคผนวกที่เกี่ยวของ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ
ในการรับส่ งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
และหนังสือราชการด้วย
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑและวิธีการปฏิบัติในการรับสงและเก็บรักษาขอมูลขาวสารและหนังสือราชการ
ดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

คุณสมบัติ
ของระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

หลักเกณฑและวิธีการขั้นต่ํา
ของระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๑. การรับสงขอมูลขาวสารหรือหนังสือและการติดตอราชการสามารถติดตอ
ผานทางระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

จะตองสนับสนุนการสรางหนังสือใหเปนไปตามรูปแบบที่ระเบียบกําหนด
หรือจะตองสามารถรองรับหนังสือที่สรางโดยใชกระดาษแลวแปลงเปน
รูปแบบอิเล็กทรอนิกส

และสามารถรับสงหนังสือทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส หรือเรียกโดยยอวา
“อีเมล” ตามภาคผนวก ๗ ได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๒. เมื่อไดรับหนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสแลว ระบบสารบรรณ-
อิเล็กทรอนิกสจะตองสามารถดําเนินการดังตอไปนี้ได
๒.๑ ออกเลขที่ทะเบียนรับและบันทึกลงในทะเบียนหนังสือรับตามลําดับติดตอกัน
ไปตลอดปปฏิทิน

๒.๒ สงผลการรับหนังสือกลับไปยังผูสงและจัดสงใหผูรับภายในหนวยงานตอไป

๒.๓ จะตองสามารถเก็บรักษาหนังสือที่มีการรับสงโดยใชระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
หรือหนังสือที่นําเขาภายหลังได และสามารถแสดงขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติของ
หนังสือได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๒. เมื่อไดรับหนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสแลว ระบบสารบรรณ-
อิเล็กทรอนิกสจะตองสามารถดําเนินการดังตอไปนี้ได
๒.๔ จะตองสามารถแสดงวัน เดือน ป และเวลาที่รับและสงขอมูล
ขาวสารหรือหนังสือใหปรากฏแกผูรับผูสงได

ในกรณีที่มีการโตแยงเรื่องวันและเวลาที่หนวยงานทําการลงทะเบียนรับหนังสือ
ใหนําวันและเวลาที่หนังสือเขาสูระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสของหนวยงาน
ผูรับประกอบการพิจารณาวันและเวลาการรับสงหนังสือของผูรับผูสง
คือ วันและเวลาที่เจาหนาที่ของหนวยงานไดลงทะเบียนรับสงหนังสือในระบบ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๒. เมื่อไดรับหนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสแลว ระบบสารบรรณ-
อิเล็กทรอนิกสจะตองสามารถดําเนินการดังตอไปนี้ได

๒.๕ จะตองสนับสนุนการสืบคนขอมูลหนังสือที่มีการจัดเก็บไว

๒.๖ จะตองมีระบบสํารองขอมูล (backup system) ที่สามารถกู


คืนขอมูลเพื่อปองกันการเสียหายหรือสูญหายของขอมูลนั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๓. คุณสมบัติดานความปลอดภัยขั้นต่ําของระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

อยางนอยตองสามารถกําหนดสิทธิผูใช (user) ในการเปด รับ หรือสง


หนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสเปนรายบุคคลได

และตองสามารถตรวจสอบยืนยันผูใชโดยวิธีการถามชื่อผูใชและ
รหัสผาน เปนอยางต่ํา

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๔. ๔.๑
การรับ การสง หลักเกณฑและวิธีการทั่วไป
และการเก็บรักษาหนังสือ
ดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส

ใหเปนไปตามหลักเกณฑ ๔.๒
และวิธีการขั้นต่ําดังตอไปนี้ หลักเกณฑและวิธีการเฉพาะ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๔.๑ ๔.๑.๑ ใหหัวหนาสวนราชการมอบหมายเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลาง


หลักเกณฑ คนหนึ่งหรือหลายคนเพื่อทําหนาที่รับสงหนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส
รวมทั้งเจาหนาที่ที่ไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารชั้นความลับเพื่อทําหนาที่รับสง
และ วิธีการ หนังสือที่มีชั้นความลับเฉพาะในชั้นลับหรือลับมากดวยระบบสารบรรณ
ทั่วไป อิเล็กทรอนิกส ทั้งนี้ ตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ

๔.๑.๒ ใหเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายหรือแตงตั้งตาม ๔.๑.๑ ตรวจสอบขอมูลขาวสารและ


และหนังสือที่ไดรับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสของสวนราชการเปนประจํา
ตามที่หัวหนาสวนราชการกําหนด ทั้งนี้ ตองไมนอยกวาวันละสองครั้งในเวลา
ราชการ อยางนอยหนึ่งครั้งในชวงเชาและอยางนอยหนึ่งครั้งในชวงบาย
๔.๑.๓ ใหผูใชระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสจัดเก็บขอมูลขาวสารหรือหนังสือที่หนวยงานไดรับไวใน
สื่อกลางบันทึกขอมูลตามที่ระเบียบกําหนด และลบขอมูลขาวสารหรือหนังสือที่ไมจําเปนตองใชงาน
แลว โดยดําเนินการเปนประจําตามระยะเวลาที่เหมาะสม ทั้งนี้ ตามที่หัวหนาสวนราชการกําหนด

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๖
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

๔.๒ ๔.๒.๑ การสงหนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสประกอบดวยการรางหนังสือ


หลักเกณฑ วิธีการที่สามารถระบุตัวตนและสามารถแสดงเจตนาของเจาของลายมือชือ่
(เชน การใชชื่อผูใชและรหัสผาน) ออกเลขที่หนังสือ บันทึกลงในทะเบียนหนังสือสง
และวิธีการ เก็บรักษาสําเนาหนังสือและสงหนังสือไปหนวยงานผูรับ
เฉพาะ
๔.๒.๒ เมื่อไดสงหนังสือดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสแลว สวนราชการผูสง
ไมตองจัดสงหนังสือเปนเอกสารอีก โดยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสตองสามารถ
แสดงผลโดยอัตโนมัตใิ นระบบของผูสง กรณีที่ไมสามารถสงหนังสือไปยังผูรับได และ
ผูสงตองตรวจผลการสงทุกครั้งเพื่อยืนยันวาหนังสือไดจัดสงไปยังผูรับเรียบรอยแลว
๔.๒.๓ การสงหนังสือที่มีชั้นความลับ ในชั้นลับและลับมากดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ให
ผูใชที่ไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารชั้นความลับเปนผูสงผานระบบการรักษาความปลอดภัย โดย
สามารถทําการเขารหัสขอมูลขาวสารหรือหนังสือเพื่อปองกันมิใหผูที่ไมไดรับอนุญาตสามารถ
อานขอความได ทั้งนี้ ตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบต
ั ิ
ในการรับส่ งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสาร
และหนังสือราชการ
โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

ไปรษณียอ ิเล็กทรอนิกสกลาง (อีเมลกลาง)


การมอบหมายเจาหนาที่
การรับขอมูลขาวสารหรือหนังสือราชการ
การจัดทําขอมูลขาวสารหรือหนังสือราชการ
การสงขอมูลขาวสารหรือหนังสือราชการ
การเก็บรักษา (สํารองขอมูล)

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่ งและเก็บรักษาข้อมูล
ข่าวสารและหนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๑. ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์กลาง (อีเมลกลาง)


โดยใหใชชื่อ saraban ตามดวยชื่อโดเมน (domain name)
ของสวนราชการนั้น หรืออยางนอยตองลงทายดวยชื่อโดเมน
ใหสวนราชการจัดใหมี ของสวนราชการตนสังกัด ตัวอยางเชน
ไปรษณียอิเล็กทรอนิกสกลาง ราชการบริหารสวนกลาง saraban@opm.go.th
(อีเมลกลาง) ของสวนราชการ saraban@dwr.mail.go.th
เพื่อการรับสงขอมูลขาวสาร ราชการบริหารสวนภูมิภาค saraban-phayao@moi.go.th
saraban_lampang@dopa.go.th
และหนังสือราชการ ราชการบริหารสวนทองถิ่น saraban@srirachacity.go.th
saraban_6301209@dla.go.th
สวนราชการอาจจัดหาลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (digital signature) เพื่อใชรับรองหนังสือของสวนราชการ
ที่จะสงทางอีเมลดวยก็ได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่ งและเก็บรักษาข้อมูล
ข่าวสารและหนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๒. การมอบหมายเจาหนาที่ เพื่อทําหนาที่รับสงหนังสือทางไปรษณียอเล็กทรอนิกสกลาง
ของสวนราชการ
ใหหัวหนาสวนราชการมอบหมายเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลางคนหนึ่งหรือหลายคน
เพื่อทําหนาที่รับหนังสือทางที่อยูอีเมลกลาง รวมทั้งตรวจสอบขอมูลขาวสารและหนังสือราชการที่
ไดรับในระบบอีเมลของสวนราชการเปนประจํา ตามที่หัวหนาสวนราชการกําหนด ซึ่งรวมถึงการ
ตรวจสอบ ในโฟลเดอรอีเมลขยะและโฟลเดอรอื่นใดที่อาจมีอีเมลเขามาได ทั้งนี้ ตองไมนอยกวาวัน
ละสองครั้ง ในเวลาราชการ อยางนอยหนึ่งครั้งในชวงเชาและอยางนอยหนึ่งครั้งในชวงบาย

ในกรณีที่เจาหนาที่ดังกลาวขางตนตรวจสอบพบอีเมลขยะหรืออีเมลโฆษณา เชน Spam mail


หรือ Junk mail หรือ Hoax mail ไมควรเปดอีเมลนั้น และหามมิใหตอบกลับ เปดเอกสาร หรือ
คลิกลิงกที่แนบมากับอีเมลนั้นโดยเด็ดขาด โดยใหเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งลบอีเมลนั้นทิ้งทันที

ในกรณีที่เจาหนาที่ดังกลาวขางตนตรวจสอบพบอีเมลที่สงมาจากสวนราชการหรือหนวยงานของรัฐ
ในโฟลเดอรอีเมลขยะหรือโฟลเดอรอื่นใด ใหยายไปยังกลองจดหมายเขา (inbox) แลวดําเนินการตอไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่ งและเก็บรักษาข้อมูล
ข่าวสารและหนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๓. การรับข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการอีเมล

เมื่อไดรับอีเมลจากภายนอก
ใหเจาหนาสารบรรณกลางที่ไดรับมอบหมายตามขอ ๒ ดําเนินการดังนี้

๓.๑ ลงทะเบียนรับหนังสือที่แนบมากับอีเมลนั้นในทะเบียนรับหนังสือ
ตามขอ ๓๘ ของระเบียบ
๓.๒ แจงยืนยันการไดรบั อีเมลโดยการตอบกลับ (reply) ภายในวันทําการ
ที่ไดรับอีเมลนั้นไปยังที่อยูอีเมลที่สงมาหรือที่อยูอีเมลอื่นใดตามที่ผูสงไดระบุไว
ภายในวันทําการที่ไดรบั อีเมลนั้น หรือในกรณีที่ไดรับภายหลัง ๑๖.๓๐ นาฬิกา
ใหตอบกลับอยางชาไมเกิน ๑๐.๐๐ นาฬิกา ของวันทําการถัดไป

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑและวิธีการปฏิบัติในการรับสงและเก็บรักษาขอมูลขาวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

เนื้อหาของอีเมลที่ตอบกลับยืนยัน
อยางนอยตองมี
ขอความซึ่งระบุวาสวนราชการนั้นไดรับอีเมลแลวทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ระบุหมายเลขโทรศัพทของสวนราชการ ตัวอยางเชน
“ไดรับอีเมลของทานแลว
สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
0 2283 4244
Your e-mail is well received.
Office of the Permanent Secretary, Prime Minister’s Office
+66 2283 4244”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธกี ารปฏิบัติในการรับส่ งและเก็บรักษา
ข้อมูลข่าวสารและหนังสือราชการ โดยไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์
เมื่อไดรับอีเมลจากภายนอก
ใหเจาหนาที่สารบรรณกลางที่ไดรับมอบหมายตามขอ ๒ ดําเนินการดังนี้
๓.๓ สํารองขอมูล (backup) อีเมลนั้นในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสตามหลักเกณฑและ
วิธีการ ที่หัวหนาสวนราชการกําหนด ซึ่งตองสามารถเรียกดูในภายหลังได เชน การสงเขา
อีเมลของสวนราชการที่กาํ หนดขึ้นเพื่อสํารองขอมูลเปนการเฉพาะ ทั้งนี้ การจัดเก็บหรือ
สํารองขอมูลหนังสือราชการในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสใหนําหลักเกณฑการตั้งชือ่ ไฟลในขอ ๔
มาใชบังคับดวยโดยอนุโลม
๓.๔ ในกรณีที่สวนราชการนั้นมีระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหนําเขาระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส ในกรณีที่สวนราชการนัน้ ไมมีระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหพิมพออก (print
out) เปนเอกสารแลวดําเนินการตอไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ

๓.๕ การจัดสงอีเมลที่ไดลงทะเบียนรับแลวใหผูที่เกี่ยวของภายในสวนราชการให
เปนไป ตามหลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาที่หัวหนาสวนราชการกําหนด

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

เมื่อไดรับอีเมลจากภายนอก
ใหเจาหนาที่สารบรรณกลางที่ไดรับมอบหมายตามขอ ๒ ดําเนินการดังนี้
๓.๖ ในกรณีที่สวนราชการไดรับหนังสือราชการที่มีชั้นความลับ ในชั้นลับหรือลับมาก
ใหดําเนินการตอไปตามระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ และระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ
ในกรณีที่สวนราชการไดรับหนังสือราชการที่มีชั้นความลับในชั้นลับที่สุด ให
ติดตอผูสงเพื่อแจงใหทราบวาหนังสือนั้นไมอาจสงและรับดวยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนิกสได
และขอใหดําเนินการสงใหมอกี ครั้งเปนเอกสาร เมื่อไดแจงแลวใหเจาหนาที่ของหนวยงาน
สารบรรณกลางลบอีเมลนั้นทิ้งทันที
การพิมพหนังสือตามวรรคหนึ่งออกเปนเอกสาร ใหนายทะเบียนขอมูลขาวสารลับ
หรือผูที่ไดรับการแตงตั้งใหเขาถึงเอกสารลับแตละระดับเปนผูดาํ เนินการ ในระหวางการ
ดําเนินการดังกลาวตองระมัดระวังมิใหบุคคลอื่นใดอานหรือเขาถึงอีเมลและหนังสือนั้นได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

เมื่อไดรับอีเมลจากภายนอก
ใหเจาหนาที่สารบรรณกลางที่ไดรับมอบหมายตามขอ ๒ ดําเนินการดังนี้

๓.๗ ในกรณีที่สวนราชการ หนวยงาน หรือเจาหนาที่ไดรับหนังสือราชการถึงสวน


ราชการทางที่อยูอีเมลอื่นที่ไมใชที่อยูอ ีเมลกลางตามขอ ๑ เชน ที่อยูอีเมลของหนวยงาน
ภายใน หรือที่อยูอีเมลของเจาหนาที่ที่สวนราชการจัดใหเจาหนาที่นั้นในการปฏิบัติงาน
ใหเปนหนาที่ของผูดูแลหรือใชงานที่อยูอ ีเมลนั้นที่จะสงตอ (forward) ไปยังที่อยูอีเมลกลาง
ตามขอ ๑ เพื่อดําเนินการตอไป ตามที่กําหนดในขอนี้ และใหเจาหนาที่ตามขอ ๒ สงอีเมล
แจงกลับไปยังผูสงเพื่อทราบที่อยูอเี มลที่ถูกตองสําหรับการจัดสงครั้งตอไปดวย

๓.๘ การดําเนินการตามขอ ๓ อาจใชระบบอัตโนมัติที่ใหผลลัพธเปนไปตามหลักเกณฑ


ที่กําหนดก็ได

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๔. การจัดทําข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการเพื่ อส่งทางอีเมล

๔.๑ จัดทํารางหนังสือใหผูมีอํานาจลงชื่อหรือใหความเห็นชอบรางหนังสือที่จะสงออก
ไปภายนอก

๔.๒ เมื่อผูมีอํานาจลงชื่อไดลงลายมือชื่อหรือใหความเห็นชอบหนังสือแลว ใหเจาของเรื่อง


ตรวจสอบความเรียบรอยของหนังสือและสิ่งที่จะสงไปดวย และใหตรวจสอบประสานหนวยงาน
สารบรรณกลาง เพื่อกําหนดเลขทะเบียนหนังสือสงและลงรายการทะเบียนหนังสือสงตามขอ ๔๓
แหงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ แลวนําเลขดังกลาวมา
กําหนดไวในหนังสือที่จะสงไปภายนอก
ในกรณีที่สวนราชการใดใชระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสในการสงหนังสือทางอีเมล
โดยระบบดังกลาวสามารถจัดทําหนังสือและออกเลขหนังสือไดโดยอัตโนมัติเมื่อผูมีอํานาจลง
ชื่อไดแสดงเจตนาเห็นชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสใหถือวาไดปฏิบัติตาม ๔.๒ แลว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๔. การจัดทําข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการเพื่ อส่งทางอีเมล

๔.๓ ใหเจาของเรื่องแปลงหนังสือและสิ่งทีจ่ ะสงไปดวยใหเปนไฟลอิเล็กทรอนิกสประเภท PDF เปนไฟล


เดียว ความละเอียดไมนอยกวา ๓๐๐ dpi เวนแตกรณีทสี่ ิ่งที่จะสงไปดวยมีจํานวนหนามากจะแยกไฟล
ตและให
างหากก็
ตั้งชืได่อไฟลตามหลักเกณฑ ทั้งนี้ ชื่อไฟลใหใชเลขอารบิก และใชเครื่องหมายขีดลาง (_) แทนการ
และลําดับดังตอไปนี้ เวนวรรค หรือเครื่องหมายหรือสัญลักษณพิเศษทีส่ งวนไมใหใชในชื่อไฟล
(reserved characters) เชน (/) (.) หรือ ($)
๔.๓.๑ ปพุทธศักราช
๔.๓.๒ รหัสตัวอักษรโรมันประจําสวนราชการตามที่กําหนดไวในเอกสารแนบทายภาคผนวกนี้
๔.๓.๓ เลขประจําของสวนราชการเจาของเรื่อง
๔.๓.๔ เลขที่ของหนังสือตามทะเบียนหนังสือสง
๔.๓.๕ กรณีมีหลายไฟล ใหไฟลสิ่งทีจ่ ะสงไปดวยใชชื่อไฟลเดียวกับหนังสือ แลวตามดวยตัวเลขตัง้ แตเลข 1
เปนตนไปตามลําดับ ทั้งนี้ โดยไมตองคํานึงวาเปนตัวเลขเดียวกับตัวเลขของสิ่งที่สงมาดวยตามที่ระบุในหนังสือหรือไม
ตัวอยางเชน 2564_OPM0913_56.pdf
สิ่งที่สงมาดวย ๑ 2564_OPM0913_56_1.pdf
สิ่งที่สงมาดวย ๒ 2564_OPM0913_56_2.pdf

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๑ ใหหัวหนาสวนราชการมอบหมายเจาหนาที่ของหนวยงานสารบรรณกลาง
หรือเจาหนาที่ในสังกัดสวนราชการนั้นคนหนึ่งหรือหลายคนเพื่อทําหนาที่สงขอมูลขาวสาร
หรือหนังสือของสวนราชการนั้นทางอีเมล

๕.๒ ใหเจาของเรื่องนําสงไฟลอิเล็กทรอนิกสตาม ๔.๓ รวมทั้งแจงที่อยูอ เี มลของผูรับ


และหมายเลขโทรศัพทของผูรับ (ถามี) ใหเจาหนาที่ตาม ๕.๑ เพื่อดําเนินการสงอีเมลตอไป

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้


๕.๓.๑ ลงทะเบียนหนังสือสงโดยระบุเลขทะเบียนสงตามที่ระบุไวในหนังสือสง
โดยใหปฏิบัติเชนเดียวกับการสงหนังสือเปนเอกสาร

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล
๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้
๕.๓.๒ ตรวจสอบความเรียบรอยของไฟลอเิ ล็กทรอนิกส และลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส
(digital signature) (ถามี) เพื่อรับรองความถูกตองของไฟลอิเล็กทรอนิกสนั้น
๕.๓.๓ เขาสูระบบอีเมล โดยในการสงหนังสือราชการ ใหใชที่อยูอีเมลกลาง
ของสวนราชการตามขอ ๑ เทานั้น
๕.๓.๔ ในสวนชื่อเรื่องของอีเมล (subject) ใหระบุโดยใชชื่อเรื่องตามที่ระบุใน
หนังสือ ทั้งนี้ ในกรณีมีการกําหนดชั้นความเร็ว ใหระบุชั้นความเร็วในชื่อเรือ่ งของ
อีเมล ตามดวยเครื่องหมายทวิภาค (:) แลวจึงระบุชื่อเรื่อง ตัวอยางเชน
ดวนที่สุด : ขอเชิญประชุมคณะกรรมการตรวจรับพัสดุตามสัญญาเลขที่ .. ครั้งที่ ..

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้


๕.๓.๕ ในเนื้อหาอีเมล ใหจัดรูปแบบเนื้อหาเปน HTML โดยใหใชการเขารหัส
ขอความ (text encoding) แบบ UTF-8 และใชตัวแบบอักษร (font) Arial หรือ
Verdana หรือ Times New Roman หรือ font อื่นใดซึ่งรองรับการแสดงผล
ภาษาไทย และ สามารถแสดงผลบนอุปกรณสวนใหญได

๕.๓.๖ เนื้อหาของอีเมลตองมีการจัดเรียงและมีเนื้อหาของขอความดังตอไปนี้

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑและวิธีการปฏิบตั ิในการรับสงและเก็บรักษาขอมูลขาวสารและหนังสือราชการ
โดยไปรษณียอิเล็กทรอนิกส

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทาง
อีเมล
๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้
๕.๓.๖ เนื้อหาของอีเมลตองมีการจัดเรียงและมีเนื้อหาของขอความดังตอไปนี้
๕.๓.๖.๑ คําขึ้นตน ใหใชคําขึ้นตนตามฐานะของผูร ับหนังสือตามตารางการใช
คําขึ้นตน สรรพนาม และคําลงทาย ที่กําหนดไวในภาคผนวก ๒ แลวลงตําแหนงของผูท ี่
อีเมลนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคลไมเกีย่ วกับตําแหนงหนาที่
๕.๓.๖.๒ ขอความ ใหลงสรุปสาระสําคัญของเรื่องใหชัดเจนและเขาใจงาย
หากมีความประสงคหลายประการใหแยกเปนขอ ๆ
๕.๓.๖.๓ คําลงทาย ใหใชคําลงทายตามฐานะของผูรับหนังสือตามตารางการใช
คําขึ้นตน สรรพนาม และคําลงทาย ที่กําหนดไวในภาคผนวก ๒
๕.๓.๖.๔ ลงชื่อ ใหพิมพชื่อสวนราชการที่สงหนังสือนั้น

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้


๕.๓.๖ เนื้อหาของอีเมลตองมีการจัดเรียงและมีเนื้อหาของขอความดังตอไปนี้
๕.๓.๖.๕ ขอมูลติดตอ ใหพิมพชื่อสวนราชการเจาของเรื่องหรือหนวยงานที่ออก
หนังสือ และหมายเลขโทรศัพท ทั้งนี้ ใหระบุชื่อเจาหนาที่ที่เปนเจาของเรื่องและหมายเลข
โทรศัพท ที่ติดตอกับเจาหนาที่นนั้ ไดไวดว ย
๕.๓.๖.๖ ขอความขอใหตอบกลับ เพื่อขอใหผูรับอีเมลหรือเจาหนาที่ที่เกี่ยวของแจง
ตอบ กลับ (reply) วาไดรับอีเมลนั้นแลว ตัวอยางเชน “หากทานไดรับอีเมลนี้แลว
กรุณาแจงการไดรับกลับมายังทีอ่ ยูอีเมลนี้ดว ย จะขอบคุณยิ่ง”
๕.๓.๖.๗ เสนปดขอความ โดยใหมีเสนประหรือเสนทึบปดขอความยาวตลอด
บรรทัด ที่อยูใตขอมูลติดตอ เพื่อแสดงใหเห็นวาสิ้นสุดเนือ้ หาของอีเมล

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้


๕.๓.๖ เนื้อหาของอีเมลตองมีการจัดเรียงและมีเนื้อหาของขอความดังตอไปนี้
๕.๓.๖.๘ ขอความจํากัดความรับผิดมาตรฐาน ใหพิมพขอความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ดังตอไปนี้
“อีเมล (และ/หรือเอกสารแนบ) นี้เปนขอมูลที่เปนความลับ และอาจเปนขอมูล
ที่เปนเอกสิทธิเ์ ฉพาะบุคคล การนําขอมูลดังกลาวไปใชหรือเปดเผยใหบุคคลอื่นใดลวงรู เปนการกระทําที่ไมไดรับ
อนุญาต หากทานมิไดเปนบุคคลที่อีเมลฉบับนีร้ ะบุถึงแลว กรุณาลบอีเมลนีอ้ อกจากคอมพิวเตอรที่ทา นไดรับ ทั้งนี้
ขอขอบคุณ หากทานไดแจงผูส งถึงการจัดสงอีเมลผิดพลาดดวย
Thise-mail(and/orattachments)is confidentialandmay be privileged.
Use or disclosure of it by anyone other than a designated addressee is unauthorized. If you are not
an intended recipient, please delete this e-mail from the computer on which you received it.
We thank you for notifying us immediately.”

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้


๕.๓.๗ ใหระบุที่อยูอีเมลของผูร ับไวในชอง “ถึง” (To) โดยในกรณีที่มีผูรับหลายคน
ใหเรียงลําดับที่อยูอีเมลในชองเดียวกัน แตสําหรับกรณีที่ตองสงอีเมลที่สงออกเปน
สําเนา ใหบุคคลอื่นใดดวยแลว ใหระบุที่อยูอีเมลของผูรับสําเนาในชอง “สําเนาถึง”
(CC) โดยใหสงสําเนาไปยังที่อยูอ ีเมลของเจาของเรื่องดวย (ถามี) และใหใชชอง “สําเนา
ลับถึง” (BCC) สําหรับกรณีดังตอไปนี้
๕.๓.๗.๑ การสงไปจัดเก็บเปนสําเนาภายในระบบของสวนราชการ
๕.๓.๗.๒ การสงหนังสือไปยังผูรับจํานวนเกินกวาหนึ่งคนซึ่งสวนราชการเห็นวา
จําเปนตองมีการปกปดไมใหผูรับทราบวาไดสงไปยังบุคคลอื่นดวย

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้

๕.๓.๘ กอนการสงอีเมลออก ใหเจาหนาที่ตาม ๕.๑ แนบหนังสือและสิ่งที่จะสงไปดวย


ที่เปนไฟลอิเล็กทรอนิกสประเภท PDF และไฟลอ่ืนใด (ถามี) พรอมทั้งตรวจสอบความ
ถูกตองอีกครั้งหนึ่ง หากเห็นวาถูกตองครบถวน ใหลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (digital
signature) (ถามี) เพื่อรับรองความถูกตองและสงอีเมลนั้น พรอมทั้งบันทึกในทะเบียน
หนังสือสงดวยวาไดสงหนังสือโดยทางอีเมลแลว

๕.๓.๙ ในกรณีที่ไฟลอิเล็กทรอนิกสที่จะแนบไปกับอีเมลมีขนาดใหญเกินกวาที่จะ
สามารถแนบไปไดแลว ใหนําไฟลอิเล็กทรอนิกสดังกลาวไปจัดเก็บไวในที่ที่ผูรับอีเมล
หรือผูรับหนังสือสามารถเขาถึงไดตามที่สวนราชการกําหนด และใหคัดลอกที่อยูของ
ไฟลอิเล็กทรอนิกสนั้นไประบุไวในสวนเนื้อหาของอีเมลแทน
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๓ เมื่อเจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดรับเรื่องแลว ใหปฏิบัติดังนี้

๕.๓.๑๐ ภายหลังจากไดสงอีเมลแลว หากไดรับการตอบกลับ (reply) ตาม ๓.๒


วาไดรับอีเมลแลว ใหเจาหนาที่ตาม ๕.๑ สงตอ (forward) อีเมลตอบกลับดังกลาว
ใหเจาของเรื่องทราบดวย

๕.๓.๑๑ ในกรณีที่ปรากฏวา ไมสามารถสงอีเมลไปยังผูรับไดแลว ใหเจาหนาที่ตาม


๕.๑ตรวจสอบและแกไขที่อยูอีเมลใหถูกตองตามที่มีการประกาศเผยแพรหรือที่ไดใหไว
แกสวนราชการนั้น แลวสงใหมอีกครั้ง หากตรวจสอบพบวา ถูกตองแลวหรือไม
สามารถแกไขที่อยูอีเมลได ใหแจงเจาของเรื่องโดยเร็ว

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
๕. การส่ งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือราชการทางอีเมล

๕.๔ เมื่อไดรับแจงวา ไมสามารถสงอีเมลไปยังที่อยูอ ีเมลของหนวยงานหรือบุคคลผูร ับอีเมลตามทีม่ ีการ


ประกาศ เผยแพรหรือที่ไดใหไวแกสวนราชการนั้น ใหเจาของเรื่องติดตอหนวยงานหรือบุคคลผูร ับอีเมลเพื่อ
ยืนยันที่อยูอีเมลที่สามารถรับสงได และแจงเจาหนาที่ตาม ๕.๑ เพื่อดําเนินการสงตาม ๕.๓ อีกครั้ง หากเจาหนาที่
ตาม ๕.๑ สงอีเมล ไปยังที่อยูอ ีเมลที่ไดรับการยืนยันหรือแจงใหมแลวแตยังไมสามารถสงไดสําเร็จ ใหสวนราชการ
นั้นดําเนินการสงหนังสือใหหนวยงานหรือบุคคลดังกลาวดวยวิธกี ารอืน่ ตอไป เพื่อใหสงหนังสือนั้นไดโดยไมเกิด
ความเสียหายแกราชการ ทั้งนี้ ในกรณีที่ผูรับหนังสือเปนหนวยงานของรัฐ ใหผูสงระบุเหตุการณทไี่ มสามารถ
สงหนังสือนั้นโดยทางอีเมลได ไวในหนังสือนั้นเพื่อใหหัวหนาหนวยงานผูร ับไดทราบดวย

๕.๕ กรณีอีเมลที่มีการกําหนดชั้นความเร็วประเภทดวนที่สุด หรือมีผลใหผูรับตองดําเนินการอยางหนึง่ อยาง


ใด ภายในกําหนดเวลาแลวใหเจาของเรื่องมีหนาที่ตดิ ตอเจาหนาทีข่ องผูรับทางโทรศัพทหรือชองทางอื่นใดเพื่อ
ยืนยันวา ไดรับหนังสือนัน้ แลวภายหลังจากที่เจาหนาที่ตาม ๕.๑ ไดจัดสงอีเมล และเมื่อไดรับแจงแลว ใหเจาของ
เรื่องแจงให เจาหนาที่ตาม ๕.๑ บันทึกไวในหมายเหตุของทะเบียนหนังสือสงวาไดยืนยันกับผูร ับแลว พรอมทั้ง
ระบุวันและเวลาที่ไดรับการยืนยันจากผูรับดวย ทั้งนี้ เวนแตกรณีทไี่ ดรับการตอบกลับวาไดรับอีเมลแลว จะไม
ดําเนินการตามขอนีก้ ไ็ ด
งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
ภาคผนวก ๗
หลักเกณฑ์และวิธก
ี ารปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและ
หนังสือราชการ โดยไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์

๖. ในกรณีที่สวนราชการใดอนุญาตหรือจัดใหมีที่อยูอีเมลกลางตามขอ ๑
สําหรับหนวยงานในสังกัดที่ตั้งอยูในภูมิภาค หรือหนวยงานในสังกัดที่จําเปนตองมี
หนวยงานสารบรรณกลางแยกตางหากจากสวนกลาง หรือกรณีมีเหตุผลความจําเปน
อื่นใด ใหหัวหนาหนวยงานนั้นมอบหมายเจาหนาที่ของหนวยงานคนหนึ่งหรือหลายคน
เพื่อทําหนาที่รับหรือสงหนังสือทางอีเมลกลางดังกลาว และใหนําความในขอ ๒ ขอ ๓
ขอ ๔ และขอ ๕ มาใชบังคับแกหนวยงานนั้นดวยโดยอนุโลม

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ
นายศุภฤกษ์ หูไธสง ผู้อาํ นวยการส่วนบริหารกลาง
สํานักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร

โทร. ๐ ๒๒๒๖ ๐๒๐๔ โทร. ๑๒๗๘

งานสารบรรณ Supharerk_A
และการเขียนหนังสือราชการ

You might also like