You are on page 1of 22

รายงาน

การจัดการพลังงานเบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม

โดย
นาย สรสิช สบาย
รหัส 63046561110
สาขาวิชา เทคโนโลยีสำรวจและภูมิสารสนเทศ

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งการเรียนการสอนรายวิชา การจัดการพลังงานเบื้องต้นในงานอุตสาหกรรม
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
พ.ศ. 2566
สารบัญ
หน้า
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นที่การจัดการพลังงาน 3
ข้อมูลบ้านพักอาศัย 3
ภาพที่ ... บิลค่าไฟฟ้า 4
ข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้า 5
ข้อมูลการใช้พลังงานเชื้อเพลิง

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน
หน่วยการใช้พลังงาน 6
ภาพที่ ... สัดส่วนหน่วยการใช้พลังงานระดับบ้านพักอาศัย 7
ภาพที่ ... สัดส่วนหน่วยการใช้พลังงานระดับพื้นที่ 8
ภาพที่ ... สัดส่วนหน่วยการใช้พลังงานระดับอุปกรณ์ 8
ค่าใช้จ่ายการใช้พลังงาน
ภาพที่ ... สัดส่วนค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานไฟฟ้ากับเชื้อเพลิง 11
ค่าการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก 12
ภาพที่ ... สัดส่วนปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือน 13

ส่วนที่ 3 การวิเคราะห์นัยยะสำคัญการใช้พลังงาน 14
นัยยะสำคัญการใช้พลังงาน 15
นัยยะสำคัญการปลดปล่อยเรือนกระจก 16
แนวคิดการลดใช้พลังงานไฟฟ้า 16
แนวคิดการลดใช้พลังงานเชื้อเพลิง

ส่วนที่ 4 แผนการจัดการพลังงาน 17
แผนรวมการจัดการพลังงาน 17
แผนการอนุรักษ์พลังงาน 18
แผนการฝึกอบรมการจัดการพลังงาน 18
แผนการประชาสัมพันธ์การลดใช้พลังงาน 18
รายละเอียดมาตรการการจัดการพลังงาน

~ 2~
ส่วนที่ 5 สรุปผลลัพธ์การเรียนรู้
สรุปผลกิจกรรมการเรียนรู้ 21
สิ่งที่ได้รับจากิจกรรมการเรียนรู้ 21
ข้อเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรู้ 21

ส่วนที่ 1
ข้อมูลพื้นที่การจัดการพลังงาน

ข้อมูลบ้านพักอาศัย (ลักษณะบ้านพัก, จำนวนพื้นที่ใช้สอย, จำนวนบุคคลใช้สอยแต่ละพื้นที่, บิลค่าไฟฟ้า และค่าไฟฟ้าฐาน


ต่อหน่วย)

~ 3~
ข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้า
ห้องนั่งเล่น
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ขนาดพิกัด จำนวนชิ้น ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันใช้งานต่อเดือน
1 พัดลม 30 1 5 30
2 หลอดไฟ 20 2 4 30
3 ทีวี 200 1 12 30
รวม 4 20 90
เฉลี่ย 4.6 30
สูงสุด 5 30
ต่ำสุด 4 30

ห้องนอน
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ขนาดพิกัด จำนวนชิ้น ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันใช้งานต่อเดือน
1 พัดลม 30 1 5 30
2 หลอดไฟ 20 1 4 30
รวม 2 9 60
เฉลี่ย 4.5 30
สูงสุด 5 30
ต่ำสุด 4 30

ห้องครัว
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ขนาดพิกัด จำนวนชิ้น ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันใช้งานต่อเดือน
1 หลอดไฟ 20 1 5 30
2 ตู้เย็น 240 1 12 30
รวม 2 17 60
เฉลี่ย 8.5 20
สูงสุด 12 25
ต่ำสุด 1 30

ห้องน้ำ
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ขนาดพิกัด จำนวนชิ้น ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันใช้งานต่อเดือน
1 หลอดไฟ 20 1 1 30
รวม 1 1 30
เฉลี่ย 20 20
สูงสุด 20 30
ต่ำสุด

~ 4~
ที่จอดรถ
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ขนาดพิกัด จำนวนชิ้น ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันใช้งานต่อเดือน
2 หลอดไฟ 20 1 2 30
4 เคริ่งซักผ้า 250 1 2 30
รวม 2 4 60
เฉลี่ย 1.3 20
สูงสุด 2 30
ต่ำสุด 1 30

ข้อมูลการใช้พลังงานเชื้อเพลิง

ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ขนาดพิกัด ปริมาณเชื้อเพลิงใช้งาน จำนวนชิ้น ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันใช้งานต่อเดือน


1 รถยนต์ 60 60 1 1 30
2 รถมอเตอร์ไซค์ 4.2 12.60 1 2 60
3 แก็สหุงต้ม 31 35.5 1 1 30
รวม 95.2 108.1 4 120
เฉลี่ย 31 33.23 2 60
สูงสุด 1 30
ต่ำสุด 1 30

~ 5~
ส่วนที่ 2
การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน

หน่วยการใช้พลังงาน
พลังงานไฟฟ้า
ห้องนั่งเล่น
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 พัดลม 0.15 4.5 54
2 หลอดไฟ 0.16 4.8 57.6
3 ทีวี 1 30 360
รวม 1.31 30 471.6
เฉลี่ย 0.43 13.1 157.2
สูงสุด 1.1 33 395
ต่ำสุด 0.16 4.8 57.6
ห้องนอน
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 พัดลม 0.175 5.25 63
2 หลอดไฟ 0.08 2.4 28.8
รวม 0.255 7.65 91.8
เฉลี่ย 0.1275 3.825 45.9
สูงสุด 0.175 5.25 63
ต่ำสุด 0.08 2.4 28.8
ห้องครัว
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 ตู้เย็น 2.88 86.4 1036.8
2 หลอดไฟ 0.1 3 36
รวม 2.98 89.4 1072.8
เฉลี่ย 0.99 29.8 357.6
สูงสุด 2.64 79.2 950.4
ต่ำสุด 0.035 1.05 12.6
ห้องน้ำ
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 หลอดไฟ 0.02 0.6 7.2
รวม 0.02 0.6 7.2
เฉลี่ย 0.02 0.6 7.2
สูงสุด 0.02 0.6 7.2
ต่ำสุด

~ 6~
ที่จอดรถ
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 เครื่องซักผ้า 0.5 15 180
2 หลอดไฟ 0.04 1.2 14.4
รวม 0.54 16.2 194.4
เฉลี่ย 0.18 5.4 64.8
สูงสุด 0.5 15 180
ต่ำสุด 0.08 2.4 28.8

พลังงานเชื้อเพลิง

ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน


1 รถยนต์ 2
2 รถมอเตอร์ไซค์ 1
3 แก๊สหุงต้ม 0.60
รวม 3.60
เฉลี่ย 1.20
สูงสุด 2
ต่ำสุด 0.60

สัดส่วนหน่วยการใช้พลังงานระดับบ้านพักอาศัย

หน่วยไฟฟ้ า

0%
11%
26% ห้องนั่งเล่น
ห้องนอน
ห้องครัว
5% ห้องนำ้
ที่จอดรถ
58%

สัดส่วนหน่วยการใช้พลังงานระดับพื้นที่
~ 7~
15% 12%
1%

10%

62%

ห้องนั่งเล่น ห้องนอน ห้องครัว ห้องนำ้ ที่จอดรถ

สัดส่วนหน่วยการใช้พลังงานระดับอุปกรณ์

1200

1000

800

600

400

200

~ 8~
ค่าใช้จ่ายการใช้พลังงาน

ห้องนั่งเล่น
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 พัดลม 150 900 360
2 หลอดไฟ 160 1200 480
3 ทีวี 1000 6000 2400
รวม 1310 8100 3240
เฉลี่ย 436.667 2700 1080
สูงสุด 1100 6600 2640
ต่ำสุด 160 1200 480

ห้องนอน
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 พัดลม 175 1050 420
2 หลอดไฟ 80 600 240
รวม 255 1650 660
เฉลี่ย 127.5 825 330
สูงสุด 175 1050 420
ต่ำสุด 80 600 240
ห้องครัว
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 หลอดไฟ 100 600 240
2 ตู้เย็น 2880 7200 2880
รวม 2980 7800 3120
เฉลี่ย 993.333 2600 1040
สูงสุด 2640 6600 2640
ต่ำสุด 35 600 240

ห้องน้ำ
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 หลอดไฟ 20 600 240
รวม 20 600 240
เฉลี่ย 20 600 240
สูงสุด 20 600 240
ต่ำสุด

~ 9~
ที่จอดรถ
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 หลอดไฟ 40 600 240
2 เครื่องซักผ้า 500 7500 3000
รวม 540 8100 3240
เฉลี่ย 180 2700 1080
สูงสุด 500 7500 3000
ต่ำสุด 200 1200 480

ค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานเชื้อเพลิง
ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี
1 รถยนต์ 120 3600 720
2 รถจักรยานยนต์ 12.6 378 151.2
3 แก็สหุงต้ม 35.5 1065 426
รวม 168.1 5043 1297.2
เฉลี่ย 24.05 721.5 288.6
สูงสุด 120 3600 720
ต่ำสุด 12.6 387 151.2
387

สัดส่วนค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานไฟฟ้ากับเชื้อเพลิง

~ 10~
ค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานเชือ้ เพลิง

แก็สหุงต้ม รถยนต์
33%
รถมอไซค์

รถยนต์ แก็สหุงต้ม
55%
รถมอไซค์
12%

ค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานไฟฟ้ า

ห้องนั่งเล่น
31%
ที่จอดรถ
31%
ห้องนั่งเล่น
ห้องนอน
ห้องครัว
ห้องนำ้
ที่จอดรถ
ห้องนำ้
2% ห้องนอน
ห้องครัว 6%
30%

สัดส่วนค่าใช้จ่ายการใช้เชื้อเพลิง

~ 11~
ค่าการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ลำดับ ชื่ออุปกรณ์ ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี


พลังงานไฟฟ้า
1 พัดลม 0.85 25.50 306.00
2 หลอดไฟ 3.5916 107.748 1292.976
3 ทีวี 2.993 89.79 1077.48
4 ตู้เย็น 7.1832 215.496 2585.952
5 เครื่องซักผ้า 0.5986 17.958 215.496
รวม 8.0332 456.492 4400.424
เฉลี่ย 1.60664 91.2984 880.0848
สูงสุด 3.5916 215.496 2585.952
ต่ำสุด 0.5986 17.958 215.496
พลังงานเชื้อเพลิง
1 รถยนต์ 0.2822 8.466 101.592
2 รถจักรยานยนต์ (95) 0.4024 12.126 145.512
3 แก็สหุงต้ม 0.256 7.680 92.167
รวม 0.9406 28.272 339.271
เฉลี่ย 0.313 9.424 113.090
สูงสุด 0.4024 12.126 145.512
ต่ำสุด 0.256 7.680 92.167

สัดส่วนปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนพลังงานไฟฟ้า

~ 12~
ชื่อแผนภูมิ
5000
4500
4000
3500
3000
2500
2000
1500
1000
500
0
ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี

สัดส่วนปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนพลังงานเชื้อเพลิง

ชื่อแผนภูมิ
400
350
300
250
200
150
100
50
0
1

ต่อวัน ต่อเดือน ต่อปี

~ 13~
ส่วนที่ 3

การวิเคราะห์นัยยะสำคัญการใช้พลังงาน

นัยยะสำคัญการใช้พลังงาน

ลำดับ อุปกรณ์ หน่วยการใช้ ค่าใช้จ่าย ศักยภาพการปรับปรุง ผลลัพธ์ จัดลำดับ


ต่อเดือน (a) ต่อเดือน (b) (c) (a*b*c)
พลังงานไฟฟ้า
1 หลอดไฟ LED 3 5 1 15 2
2 พัดลม 3 2 2 12 2
3 ทีว ี 5 5 1 25 3
4 ตู ้เย็น 5 5 2 50 5
5 เครือ ่ งซักผ ้า 5 2 2 20 3

นิยามศัพท์
หน่วยการใช้พลังงาน (a)
หน่วยวัดปริมาณของพลังงานที่ใช้ เช่น จำนวนหน่วยไฟฟ้า หน่วยน้ำมัน เป็นต้น

ค่าใช้จ่ายการใช้พลังงาน (b)
จำนวนเงินที่ต้องใช้ในการผลิตหรือใช้พลังงาน เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำมัน เป็นต้น

ศักยภาพการปรับปรุง (c)
ความสามารถในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีหรือกระบวนการทีใ่ ช้ในการผลิตหรือใช้พลังงาน เพื่อ
ลดค่าใช้จ่ายหรือเพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน

~ 14~
นัยยะสำคัญการปลดปล่อยเรือนกระจก

ลำดับ อุปกรณ์ หน่วยการใช้ ค่า EF ผลลัพธ์ จัดลำดับ


ต่อเดือน (a) kg (b) (a*b)
พลังงานไฟฟ้า
1 25.50 0.5986 64.498 5
หลอดไฟ LED
2 พัดลม 107.748 0.5986 64.497 5
3 ทีว ี 89.79 0.5986 53.748 4
4 ตู ้เย็น 215.496 0.5986 128.996 8
5 เครือ ่ งซักผ ้า 17.958 0.5986 10.750 1
พลังงานเชื้อเพลิง

แนวคิด/วิธีการลดใช้พลังงานไฟฟ้า
1. ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน ดับไฟทุกครั้งที่ออกจากห้อง
2. เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ หากมี
อุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5
3. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมง สำหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30
นาที สำหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5
4. หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศบ่อย ๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทำงาน
ของเครื่องปรับอากาศ
5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส
6. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง
ฝ้าเพดาน ประตูช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ
7. ลดและหลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไม่จำเป็นต้องใช้งานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ
เพื่อลดการใช้พลังงานในการปรับอากาศ

~ 15~
แนวคิด/วิธีการลดใช้พลังงานเชื้อเพลิง

1. ตรวจตราลมยางเป็นประจา เพราะยางที่อ่อนเกินไปนัน้ ทาให้


สิ้นเปลืองน้ามันมากกว่ายางที่มีปริมาณลมยางตามที่มาตรฐาน
กาหนด

2. สับเปลี่ยนยาง ตรวจตั้งศูนย์ล้อตามกาหนด จะช่วยประหยัด


น้ามันเพิ่มขึ้นอีกมาก

3. ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งเมื่อต้องจอดรถนานๆ แค่จอดรถติดเครื่อง
ทิ้งไว้ 10 นาที ก็เสียน้ามันฟรีๆ 200 ซีซี

4. ไม่ควรติดเครื่องทิ้งไว้เมื่อจอดรถ ให้ดับเครื่องยนต์ทุกครั้งที่
ขึ้นของ ลงของ หรือคอยคน เพราะการติดเครื่องทิ้งไว้ เปลืองน้ามัน
และสร้างมลพิษอีกด้วย

5. ไม่ออกรถกระชากดังเอี๊ยด การออกรถกระชาก 10 ครั้ง สูญเสีย


น้ามันไปเปล่าๆ ถึง 100 ซีซี น้ามันจานวนนี้รถสามารถวิ่งได้ไกล
700 เมตร

6. ไม่เร่งเครื่องยนต์ตอนเกียร์ว่างอย่างที่เราเรียกกันติดปากว่า
เบิ้ลเครื่องยนต์ การกระทาดังกล่าว 10 ครั้ง สูญเสียน้ามันถึง 50 ซีซี
ปริมาณน้ามันขนาดนี้รถวิ่งไปได้ตั้ง 350 เมตร

7. ตรวจตั้งเครื่องยนต์ตามกาหนด ควรตรวจเช็คเครื่องยนต์
สม่าเสมอ เช่น ทาความสะอาดระบบไฟจุดระเบิด เปลี่ยนหัว
คอนเดนเซอร์ ตั้งไฟแก่อ่อนให้พอดี จะช่วยประหยัดน้ามันได้ถึง 10%

8. ไม่ต้องอุ่นเครื่อง หากออกรถและขับช้าๆ สัก 1-2 กม. แรก


เครื่องยนต์จะอุ่นเอง ไม่ต้องเปลืองน้ามันไปกับการอุ่นเครื่อง

~ 16~
ส่วนที่ 4
แผนการจัดการพลังงาน

เป้าหมาย การลดใช้พลังงาน 25 % ต่อปี

แผนรวมการจัดการพลังงาน

ลำดับ มาตรการ พลังงานไฟฟ้า พลังงานเชื้อเพลิง ร้อยละผล เงิน ระยะเวลา


ประหยัด ลงทุน คืนทุน

หน่วยต่อ บาทต่อปี ชนิด ปริมาณ หน่วย บาทต่อปี % บาท ปี


ปี ต่อปี
พลังงานไฟฟ้า
1 ลดการใช้งาน 10 32.484 0.43% 0 -
หลอดไฟ
รวมพลังงานไฟฟ้า 10 32.484 0 0 0 0 0.43% 0 0
พลังงานเชื้อเพลิง
1 ไม่อุ่น 95.00 575.00 ลิตร 9600 25.00% 0 1
เครื่องยนต์
รวมพลังงานเชื้อเพลิง 0 0 575 9600 25.00% 0 0
รวมทั้งหมด 10.00 32.48 575.00 9,600.00 25.43% 0.00 0.00

แผนการอนุรักษ์พลังงาน

ลำดับ มาตรการ วัตถุประสงค์ ระยะเวลา เงินลงทุน ผู้รับผิดชอบ


เริ่มต้น (ด/ป) สิ้นสุด (ด/ป) บาท
ด้านพลังงานไฟฟ้า
1 ลดการใช้งานหลอดไฟ เพื่อลดการ (1/2566) (3/2566) - -
ใช้งานที่ไม่
จำเป็น
ด้านพลังงานเชื้อเพลิง
2 ไม่อุ่นเครื่องยนต์ เพื่อลดอัตรา (1/2566) (3/2566) - -
การเกิดก๊าซ
เรือนกระจก

~ 17~
แผนการฝึกอบรมการจัดการพลังงาน

ลำดับ หลักสูตร กลุ่มผู้เข้า จำนวน เดือน ผู้รับผิดชอบ


อบรม (คน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
1 ลดการใช้งาน 40 10 10 10 10 - - - - - - - -

หลอดไฟ
2 ไม่อุ่นเครื่องยนต์ 40 10 10 10 10 - - - - - - - -

แผนการประชาสัมพันธ์การลดใช้พลังงาน

ลำดับ กิจกรรม กลุ่ม จำนวน เดือน ผู้รับผิดชอบ


ผู้เข้าร่วม (คน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

1 ลดการใช้งาน 40 10 10 10 10 - - - - - - - -

หลอดไฟ
2 ไม่อุ่นเครื่องยนต์ 40 10 10 10 10 - - - - - - - -

รายละเอียดมาตรการการจัดการพลังงาน

1.ชื่อมาตรการ : มาตรการลดจำนวนการใช้พัดลมเกินความจำเป็น
2.อุปกรณ์ที่ปรุบปรุง : หลอดไฟLED
3.จำนวนที่ปรับปรุง : 10หลอด
4.สาเหตุการปรับปรุง : : สาเหตุที่จะต้องปรับปรุงหลอดไฟอาจมีหลายสาเหตุ แต่สาเหตุหลักๆ ที่ทำให้ต้อง
ปรับปรุงหลอดไฟได้แก่การติดตั้งหลอดไฟในที่ที่มีที่ว่างน้อย หรือไม่เหมาะสมกับขนาดของหลอดไฟที่ติดตั้งอยู่
ทำให้หลอดไฟทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพและไม่มีการไหลเวียนแสงได้ดีพอ ซึ่งจะทำให้ต้องปรับปรุงหลอดไฟ
โดยการติดตั้งหรือย้ายตำแหน่งหลอดไฟไปยังที่ที่เหมาะสมกับการใช้งาน

~ 18~
ขนาดพิกัดรวม หน่วยต่อปี บาท/ปี
5 เป้าหมายเชิงปริมาณ - 10 32.484
.
6. ระดับการใช้พลังงานก่อนปรับปรุง 33 251.36 839.00
7. ระดับการใช้พลังงานหลังปรับปรุง 33 231.36 807
8. เงินลงทุนทั้งหมด - บาท
9. ระยะเวลาคืนทุน - ปี

10.รายละเอียดการดำเนินการปรับปรุง
การดำเนินการปรับปรุงหลอดไฟLED ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้ใช้งาน โดยสามารถ
ดำเนินการได้ดังนี้
1.วิเคราะห์สภาพปัญหา: การวิเคราะห์สภาพปัญหาเป็นขั้นตอนสำคัญในการปรับปรุงหลอดไฟLED โดยต้อง
ประเมินสภาพพื้นที่และอุปกรณ์เกี่ยวกับการติดตั้งพัดลม เช่น ขนาดพื้นที่, ระบบการระบายแสง,
2.วางแผนการปรับปรุง: หลังจากวิเคราะห์สภาพปัญหาแล้ว ต้องวางแผนการปรับปรุงหลอดไฟLED โดย
คำนึงถึงเป้าหมายและวิธีการปรับปรุง และระยะเวลาการดำเนินการ รวมถึงการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ที่
จำเป็น
3.ปรับปรุงหลอดไฟLED: หลังจากวางแผนการปรับปรุงแล้ว ก็เริ่มดำเนินการปรับปรุงหลอดไฟLED โดยการ
ย้ายตำแหน่งหลอดไฟLED ไปยังที่ที่เหมาะสมและมีพื้นที่เพียงพอ เปลี่ยนอุปกรณ์ที่ชำรุด หรือปรับแต่งการ
ติดตั้งหลอดไฟLED มเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
4.ทดสอบการทำงาน: หลังจากทำการปรับปรุงเสร็จสิ้น ต้องทดสอบการทำงานของหลอดไฟLED ให้มั่นใจว่า
ทำงานได้อย่างถูก

~ 19~
11.วิธีการตรวจสอบผลการประหยัดหลังการปรับปรุง

ผลประหยัด (หน่วย/ปี) =[km x ชั่วโมงการทำงาน] x วันทำงาน/ปี

12.แสดงวิธีการคำนวณผลประหยัด (ก่อนและหลังการปรับปรุง)

ก่อน =[(33x5)+((33x4)x3)+(33x4)]x365
=251.36 หน่วย/ปี
หลัง =[(33x4)+((33x2)x3)+(33x4)]x365
=231.36 หน่วย/ปี

~ 20~
ส่วนที่ 5
สรุปผลลัพธ์การเรียนรู้

สรุปผลกิจกรรมการเรียนรู้ (สรุปข้อมูลที่ได้จากส่วนที่ 1 - ส่วนที่ 4)

1. เข้าใจถึงความสําคัญของการจัดการพลังงานในองค์กรและการทําบัญชีพลังงานเพื่อส่งเสริมความมั่นคง
สภาพของ องค์กร และอื่นๆ
2. รู้จักวิธีการวัดและบันทึกการใช้พลังงานในองค์กรด้วยการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการวัด เช่น การใช้
ตัวชีว้ ัดอัตราการใช้ พลังงาน
3. เข้าใจถึงกระบวนการทํางานของระบบการใช้พลังงานในองค์กร และสามารถระบุแหล่งใช้พลังงานที่สูงสุด
และแหล่งพลังต่ำสุด พลังงานที่ไม่มีประสิทธิภาพในองค์กรได้อย่างแม่นยำ
4. สามารถจัดทํารายงานเกี่ยวบัญชีพลังงานและประเมินผลการใช้พลังงานในองค์กรได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
และสมบูรณ์

สิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้

1.เป็นเครื่องมือในการวางแผนและจัดการทรัพยากรพลังงาน:การทําบัญชีพลังงานช่วยให้ผู้ประกอบการและ
ผู้บริหาร สามารถวางแผนการใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการจัดการทรัพยากรพลังงานให้
เหมาะสมกับความต้องการ
2. ช่วยลดค่าใช้จ่ายการใช้พลงั งาน: การทําบัญชีพลังงานช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถระบุแหล่งการใช้
พลังงานที่สูงสุด และทําการปรับปรงุ แหล่งพลังงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการใช้
พลังงานได้

ข้อเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรู้
การเรียนรู้เกี่ยวกับพลังไม่ว่าจะเป็นพลังธรรมชาติหรือพลังงานทดแทนมีความจำเป็นอย่างมากในยุดที่มีการใช้
พลังอย่างไม่รู้คุณค่าจึงต้องมีการสอนเกี่ยวกับการใช้พลังงานให้ถูกต้องคุ่มค่าที่สุด

~ 21~
~ 22~

You might also like