You are on page 1of 4

อาการสาคัญ

ผู้ป่วยชายไทย อายุ47ปี
) แพทย์นัดมาผ่าตัด มีเนื้องอกบริเวณรอบๆทวาร
ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงจากการมีช่องเปิด
1.ไม่สุขสบายปวดแผลผ่าตัด
2.เสี่ยงต่อการติดเชื้อในร่างกายเนื่องจาก
หนัก ปวดตลอดเวลา รับประทานอาหารไม่ได้ ข้อมูลสนับสนุน


ลำไส้หน้าท้อง (colostomy) -ผู้ป่วยบ่นปวดแผล pain score 4 คะแนน มีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้องและทวารหนัก
เป็น ก่อนมาโรงพยาบาล 2 สัปดาห์
กิจกรรมการพยาบาล -ได้รับการผ่าตัดAbdominoperineal และมีท่อระบายต่างๆเป็นทางเข้าออกของ
ข้อวินิจฉัย 1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีเพื่อให้ผู้ป่วยเกิด เชื้อโรค
resection มีแผลผ่าตัดหน้าท้องยาว
Advance rectum cancer ความไว้วางใจและกล้าระบายความวิตก ข้อมูลสนับสนุน
ประมาณ15cm.ลึก0.3cm.
v กังวล เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความ -เมื่อขยับตัวจะรู้สึกปวดและบางครั้งก็ปวดขึ้น -มีแผลผ่าตัดAbdominoperineal
รู้สึกนึกคิดและซักถาม พูดคุยให้กำลังใจแก่ โดยไม่รู้สาเหตุเวลาปวดจะทำให้นอนไม่หลับ resection ที่หน้าท้องยาว
ลำไส้ตรง (rectum)เป็นส่วนปลายของลำไส้ใหญ่ การผ่าตัด ผู้ป่วย ประมาณ15cm.ลึก0.3cm.มีสารคัดหลั่ง
วัตถุประสงค์
มีลักษณะเป็นท่อตรงยาวประมาณ15เซนติเมตร Abdominoperineal resection 2.ดูแลผู้ป่วยใกล้ชิดแสดงให้เห็นถึงความ ซึมเล็กน้อย มีJackson drain ที่หน้าท้อง
-ปวดแผลผ่าตัดลดลงหรือไม่ปวดแผลผ่าตัด
with appendectomy เต็มใจให้การดูแล โดยไม่มีคำพูดหรือ ด้านขวา มีสารคัดหลั่งซึมสีใส แผลบวม
และสุขสบายขึ้น
✓ ท่าทางแสดงความรังเกียจผู้ป่วย กิจกรรมการพยาบาล แดงเล็กน้อย มีแผลผ่าตัดที่ทวารหนักมี
3.ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้พูดคุยแลกเปลี่ยน 1. ประเมินความปวดที่ตําแหน่งแผลผ่าตัด หนองซึม
มะเร็งลำไส้ใหญ่ปละทวารหนัก หมายถึง ประสบการณ์กับผู้ป่วยอื่นที่มีcolostomy -อุณหภูมิ 38.7 องศาเซลเซียส
โดยใช้แบบประเมินความปวดแบบ
ภาวะที่พบเนื้องอกชนิดร้ายแรงโดยเซลล์มีการแบ่งตัว -on colostomy บริเวณหน้าท้องด้านซ้าย
ตัว(numericrating scale) ซึ่งมี 0-10
ที่ไม่สามารถควบคุมได้ทำให้เกิดเป็นเนื้องอกและแพร่กระจายได้

i
คะแนน รวมทั้งสังเกตควํามปวดจากสีหน้าและ -WBC 23680 cell/mm H,
ส่วนมากเป็นใกล้บริเวณทวารหนัก ลำไส้ใหญ่และไส้ตรง มะเร็ง neutrophils 91% H , lymphocytes
ท่มทางของผู้ป่วย
จะขยายตัวตามแนวขวางเป็นวงรอบทำให้ท่อลำไส้แคบลงและที่ v 2. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดMorphine 3 4% L
ผิวเป็นแผลด้วยและทำให้ลำไส้อุดตันได้ง่าย วัตถุประสงค์
แผลผ่าตัดหน้าท้องจากxiphoid pcocess mg vein prn q 6 hr.
3.จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อให้กล้ามเนื้อหน้า -ปลอดภัยไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการติด
v
ถึงmons pubis ประมาณ 15cm ลึก 0.3 cm
และมีแผลcolostomy
> ท้องและทรวงอกคลายตัวและลดการตึงตัวของ เชื้อของแผล
แผลผ่าตัด กิจกรรมการพยาบาล
ปัจจัยเสี่ยง 4.ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล ระวังสาย 1.สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะ
-เพศและเชื้อชาติ หรือท่อระบายต่างๆไม่ให้ดึงรั้ง ติดเชื้อ เช่น ไข้ หนาวสั่น แผลบวมแดง มี
-อายุ หลัง40ปีขึ้นไป 5.แนะนําให้ผู้ป่วยประคองแผลผ่าตัดหน้าท้อง หนองซึม
ผู้ป่วยอายุ 47 ปี 2.แนะนำไม่ให้แกะ แคะ เกาและเปิดแผล
-การบริโภคอาหาร

ii.
ด้วยมือหรือหมอนเวลาไอหรือจามและขณะท่ีผู้
-เคยเป็นเนื้องอกที่ลำไส้ เคยดื่มสุราและ เอง
ป่วยพลิกหรือตะแคงตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการกระ
-การสูบบุหรี่ สูบบุหรี่ ค่าlabที่ผิดปกติ 3.ดูแลทำแผลโดยยึดหลัก aseptic
ทบกระเทือนแผลผ่าตัด
-การดื่มสุรา WBC 23680 cell/mm H 6.สอนวิธีการผ่อนคลาย (relaxation technique
-ผู้ที่มีประวัติของโรคลำไส้อักเสบ Neutrophil 91% H technique) เพื่อบรรเทาอาการปวดแผล เช่น 4.วัดสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง
-มีญาติใกล้ชิดที่เป็นโรคเนื้องอก Lymphocyte 4% L การหายใจเข้าออกลึกๆ การฟังเพลง การพูด 5งดูแลไม่ให้ drain มีการหักพับงอ และ
ของลำไส้ Sodium 129m mol/L L คุย สังเกตและบันทึกสี กลิ่น และลักษณะของ
Potassium 2.9m mol/L L 10.ดูแลวัดความดันโลหิตและติดตมาสัญญาณ สารคัดหลั่งที่ออกมาจากท่อระบาย
Chloride 95m mol/L L ชีพอย่างใกล้ชิด 6.ดูแลhygiene care,unit care
7.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
อาการและอาการแสดง 6เดือนก่อนรู้สึกเบื่ออาหาร รับประทานอาหารได้น้อยลง 8.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-เบื่ออาหาร น้ำหนักลด รู้สึกท้องอืดและปวดจุกแน่นท้องบ่อย น้ำหนักลดลง 16
-ถ่ายอุจจาระปนเลือด กิโลกรัมภายใน 6เดือน มีภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลท์
-ท้องผูก
ข้อมูลสนับสนุน
-อุจจาระเล็กลง
-sodium 129m mol/L L
-ปวดมวนท้อง 6เดือนก่อนอุจจาระลำบาก ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการปฎิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
-Potassium 2.9mmol/L L
-ปวดอุจจาระบ่อยๆ อุจจาระบ่อย ลำอุจจาระเล็กลง กิจกรรมการพยาบาล
-Chloride 95mmol/L L
-โลหิตจางไม่ทราบสาเหตุ คลำพบก้อนบริเวณรอบทวารหนัก 1. แนะนําเรื่องการดูแลแผลผ่าตัดโดยหลังผ่าตัดประมาณ5-7วัน
กิจกรรมการพยาบาล
-เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ยังต้องระวังไม่ให้แผลถูกน้ําไม่ควรใช้แป้ง หรือ ยาทาบริเวณแผล
1.เฝ้าระวังอาการแสดงของการเปลี่ยนแปลงระ
ดับอิเล็กโทรไลท์ ดังน้ี มีอาการคลื่นไส้ เมื่อแผลหายดีแล้วสามารถอาบน้ำได้โดยใช้สบู่ลูบเบาๆบริเวณ
อาเจียน สับสน อ่อนเพลีย และมีตะคริวท่ีท้องมี แผล และใช้ ผ้าเช็ดตัวนุ่มๆเช็ดให้แห้งดี
สาเหตุของการเกิดมะเร็ง อาการกล้ามเน้ืออ่อนแรง ชีพจรเต้นไม่ 2.แนะนําให้ผู้ป่วยวยรีบมาพบแพทย์เมื่อแผลมีการติดเชื้อ เช่น
-การรับประทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารต่ำ สม่ำเสมอ คลื่นไส้ อาเจียน ซึมลง ลําไส้มีการ อาการอักเสบ ปวด บวมแดง และมีน้ําเหลืองไหล
หรืออาหารที่มีปริมาณแคลเซียมน้อย เคลื่อนไหวลดลง และรายงายแพทย์เมื่อพบ ออกจากแผล
-เกิดก้อนเนื้องอกในระบบทางเดินอาหาร ความผิดปกติ 3. แนะนําเรื่องการทำกิจกรรมเบาๆได้ไม่ควรยกของหนัก
ผู้ป่วยมีเนื้องอกบริเวณทวารหนัก
โดยเฉพาะบริเวณลำไส้อาจเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นได้ 2.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง ต่อคืน
ปวดตลอดเวลา รับประทานอาหารไม่ได้
-ถ่ายทอดทางพันธุกรรม 3.ดูแลให้ได้รับElixir KCL 30ml po q 2 4.แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอและผ่อนคลายความเครียด
-รับประทานอาหารที่มีไขมันในประมาณสูง hr*3dose 5.แนะนำให้รับประทานอาหารอ่าน เคี้ยวให้ละเอียดและช้าๆ
-ได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายและตกค้างที่ลำไส้ 4.ติดตามผลอิเล็กโทรไลท์
-เส้นเลือดเกิดการเสื่อมสภาพ ทำให้เลือดเข้าไปเลี้ยง
บริเวณลำไส้ได้ไม่เพียงพอ นางสาวสุจิรา บุตรกาศ
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
การรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยยาเคมีบำบัด มีหลายสูตร แพทย์จะพิจารณาการรักษา ตามระยะโรค และความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละราย สูตรยาเคมี
บำบัดที่ใช้บ่อยปัจจุบัน มีดังนี้ คือ
1. สูตร ไฟว์เอฟยู (5-FU, 5 Fluorouracil และ โฟลินิคแอชิดหรือลิวโคโวริน (F olinic acid, leucovorin) เป็นยาฉีด 5 วันติดต่อกัน ต่อ 1 ชุดการรักษา
ทุก 28 วัน ให้ทั้งหมด 6 ชุด เป็นเวลา 6 เดือน
2. สูตร ฟอลฟอก ประกอบด้วยยาฉีด 3 ชนิด คือ โฟลินิค แอชิด ไฟว์เอฟยู และออกซาลิพลาติน (O xaliplatin) สูตรนี้ให้ทุก 2 สัปดาห์ ต่อ 1 ชุดการรักษา
ทั้งหมด 12 ชุด
3. สูตร ฟอลฟิริ (FOLF IRI) ประกอบด้วยยาฉีด 3 ชนิด คือ อิริโนทีแคน โฟลินิค แอซิด และไฟว์เอฟยู ให้ทุก 2 สัปดาห์ต่อ 1 ชุดการรักษา ทั้งหมด 12 ชุด
หรือจนกว่าโรคจะสงบ
4.สูตร เคพไซทาบีนหรือซี โลดา:Xeloda) เป็นยาเม็ดชนิดรับประทาน มีขนาด 500 มิลลิกรัม และ 150 มิลลิกรัมรับประทาน เช้าและเย็น หลังอาหารติดต่อ
กัน 14 วัน พัก 1 สัปดาห์ ต่อ 1 ชุดการรักษา รวม 8 ชุด หรือ 6 เดือน
5. สูตร ซีล็อก/แคฟพอค (XELOX /CAPOX) ประกอบด้วยยา 2 ชนิด คือ ยาเม็ดซีโลดา และ ยาฉีดออกซาลิพลาติน โดยให้ยาฉีดในวันแรก และยาซีโลด
า รับประทาน 14 วัน พัก 1 สัปดาห์ ต่อ 1 ชุดการรักษา ทั้งหมด 6 ชุด
. สูตรยามุ่งเป้า (Targeted therapy) ปัจจุบันมียาฉีด 2 ชนิด คือ ยาบีวาชิซูแมบ (Bevacizumab) ชื่อการค้าว่า อวาสติน (Avastin) และยาชิทูชิ
แม็บ (Cetuximab) ชื่อการค้าว่า เออร์บิทัก (Erbitux ) วิธีการให้ยาดังนี้
6.1 ยาขี่วาชิซูแมบ ให้คู่กับยาเคมีบำบัด สูตรฟอลฟอก หรือสูตรฟอลฟิริ ทุก 2 สัปดาห์
6.2 ยาบีวาชิซูแมบ ให้คู่กับยาเคมีบำบัด สูตร ซีล็อก/แคฟพอค ทุก 3 สัปดาห์
6.3 ยาเออร์บิทัก ฉีดทุก 1 สัปดาห์ ให้คู่กับยาเคมีบำบัด สูตรฟอลฟอก หรือ สูตรฟอลฟิริ ทุก 2 สัปดาห์
96% _
✓ \

อาการข้างเคียงเมื่อได้รับยาเคมีบำบัดและการปฏิบัติตน
ยาเคมีบำบัดนอกจากจะทำลายเซลล์มะเร็งแล้ว ยังมีผลกระทบต่อเซลล์ปกติที่แบ่งตัวเร็วในร่างกายด้วย เป็นผลให้เกิดอาการข้างเคียงต่าง ๆ เช่น
มีไข้ หนาวสั่น ซีด เหนื่อย อ่อนเพลีย มีจุดเลือดจ้ำเลือดตามตัว คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บปากเจ็บคอ ท้องเสีย อุจจาระมีสีดำ ท้องผูก ผมร่วง อาการ
เหล่านี้มักเกิดหลังจากได้รับยาประมาณ 7-14 วัน นอกจากนี้ อาจพบผลข้างเคียงอื่น ๆ เช่น ผิวหนังและเล็บเปลี่ยนสี ฝ่ามือฝาเท้ามีสีดำคล้ำและเจ็บ
ชาปลายมือปลายเท้า มีเพศสัมพันธ์ได้ยาก มีบุตรยาก และอารมณ์แปรปรวน เป็นต้น ผลข้างเคียง ที่พบในแต่ละอาการอาจมีความจำเพาะต่อยา
แต่ละชนิดหรือขนาดของยาที่ใช้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยแต่ละคนอาจตอบสนองต่อยาชนิดและขนาดเดียวกันแตกต่างกันได้
O
ภาวะแทรกซ้อนจากมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก''
เนื่องจากมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก เป็นโรคที่มีการลุกลามจึงอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย
บางครั้งอาการภาวะแทรกซ้อน เป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้มีดังต่อไปนี้
1. การทะลุของลำไส้ การทะลุอย่างเฉียบพลัน ทำให้เกิด โรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบเฉียบพลัน การทะลุ
ที่เกิดขึ้นช้าๆ บริเวณ ที่จะถูกหุ้มไว้ เป็นการอักเสบที่มีลักษณะเป็นก้อนเฉพาะที่
2. การมีเลือดออก ถ้ามะเร็งลุกลามถึงหลอดเลือดขนาดใหญ่ที่ผนังลำไส้จะทำให้มีเลือดออกอย่าง
รวดเร็ว
3. การอุดตันของลำไส้ โดยปกติ มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักทำให้เกิดลำไส้อุดต้นบางส่วนได้
อยู่แล้ว แต่อาจเกิดลำไส้อุดตันกะทันหันได้ด้วยสาเหตุต่างๆ เช่น มีก้อนอุจจาระแข็งไปอุด ก้อนมะเร็งเป็นตัวนำ
ทำให้เกิดลำไส้กลืนกันหรือลำไส้บิดเป็นเกลียว เป็นต้น
4. การกดอวัยวะใกล้คียง ก้อนมะเร็งที่มีขนาดใหญ่อาจกดมดลูก กระเพาะปัสสาวะ หรือท่อปัสสาวะ
เป็นต้น ทำให้เกิดอาการจากการถูกกด เช่น การกดกระเพาะปัสสาวะทำให้ปัสสาวะบ่อย เป็นต้น
5. การเกิดแผลชอนทะลุ การลุกลามทะลุเข้าอวัยวะอื่น ทำให้แผลชอนทะลุ เช่น ระหว่างไส้ตรงกับ
ช่องคลอด หรือ ระหว่างลำไส้กับกระเพาะอาหาร เป็นต้น
เมื่อพบมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักแล้ว การตรวจลำไส้ใหญ่ให้ทั่วถือว่ามีความสำคัญ เพราะเกือบ
ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยมะเร็งลำไ ส้ใหญ่และทวารหนักมีพยาธิสภาพอื่นอยู่ด้วข เช่น มะเร็งอีกแห่งหนึ่ง หรือมี
adenoma พยาธิสภาพเหล่านี้มีผลต่อแผนการผ่าตัด
อาการผิดปกติที่ต้องพบแพทย์
1.มีเลือดออกจากลำไส้เปิดทางหน้าท้อง
2.ปวดท้อง ท้องอืด แน่นท้อง คลื่นไส้อาเจียน
ไม่ผายลม ไม่มีอุจจาระออกทางหน้าท้อง
การเปลี่ยนถุงรองรับอุจจาระ มีขั้นตอนดังนี้
1.เตรียมอุปกรณ์สำหรับปิดถุงรองรับอุจจาระ
ได้แก่ สำลี น้ำสะอาด แผ่นพลาสติก/แผ่นวัดขนาดลำไส้
ปากกา กรรไกร ถุงขยะ ถุงรองรับอุจจาระ กลุ่มผลิตภัณฑ์ปกป้อง/รักษาผิวหนัง
ชนิดผงแป้ง/ชนิดสเปรย์/ชนิดครีม/ชนิดเพส เป็นต้น ให้พร้อมก่อนลอกถุงอุจจาระเดิมออก
2.ล้างมือให้สะอาด
3.ยืนหรือนั่งหน้ากระจกหรือท่าที่สะดวกสบายที่สุด แต่จะต้องเป็นท่าที่ทำให้รอบลำไส้เปิด
ไม่มีรอยย่น เพื่อการปิดถุงจะได้แนบสนิท การลดกลิ่น/แก๊ส
4.ลอกถุงออกโดยใช้นิ้วมือข้างหนึ่งกดผิวไว้ ขณะที่ใช้นิ้วมืออีกข้างค่อยๆลอกถุงออก 1.จำกัดอาหารประเภทปลา หัวหอม
5.ทำความสะอาดลำไส้เปิดและผิวหนังรอบๆด้วยสำลีชุบน้ำสะอาด(ขณะทำความสะอาด กระเทียม กะหล่ำปลี
อาจมีเลือดออกได้เล็กน้อย) 2.หลีกเลี่ยงการเคี้ยวหมากฝรั่ง สูบบุหรี่
6.วัดขนาดลำไส้เปิดทางหน้าท้อง หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
6.1กรณีลำไส้เปิดมีลักษณะกลม ใช้แผ่นวัดขนาดลำไส้ 3.รับประทานโยเกิร์ตช่วยลดกาเกิดแก๊ส
6.2กรณีลำไส้เปิดมีลักษณะรีหรือไม่มีรูปทรงที่แน่นอน ใช้วิธีการลอกลายโดยใช้แผ่นพลาสติกใส
วางทาบบนลำไส้เปิดและใช้ปากกาเคมีวาดตามรูปลำไส้ การดูแลลำไส้ใหญ่เปิดทางหน้าท้อง
7.นำแผ่นพลาสติกใสที่ลอกลายไว้มาตัดตามขนาดที่วัดได้ของลำไส้เปิดทางหน้าท้อง และนำมา
วาดลงบริเวณด้านหลังบนแป้นของถุงรองรับอุจจาระ
8.ตัดแป้นตามขนาดที่วาดไว้
9.ใช้นิ้วมือลูบขอบแป้นที่ตัดเพื่อลบคม
10.ลอกกระดาษกาวใต้แป้นหรือใต้ถุงออก
11.ครอบถุงรองรับอุจจาระบริเวณลำไส้เปิดหน้าท้อง โดยเริ่มปิดจากด้านล่างสุดของลำไส้เปิด การออกกำลังกาย
ทางหน้าท้อง กดแป้นให้แนบกับหน้าท้องบริเวณรอบๆลำไส้เปิด 1.สามารถออกกำลังกายเบาๆ เช่น
12.ล้างมือให้สะอาด การบริหารแขน ขาและลำตัว
-กรณีที่มีขนบริเวณหน้าท้อง เพื่อป้องกันการเกิดรูขุมขนอักเสบ ต้องโกนหรือขลิบให้สั้นเสมอ 2.หลีกเลี่ยงการเล่นกีฬาที่ต้องมีการปะทะ
-กรณีที่ผิวหนังรอบลำไส้เปิด มีการระคายเคือง
-ใช้ผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวหนังชนิดผงแป้งโรย และปัดส่วนเกินออก
-ใช้ผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวหนังชนิดสเปรย์พ่นทับผงแป้งและเคลือบบริเวณผิวหนังรอบลำไส้เปิดทางหน้าท้อง
-ใช้ผลิตภัณฑ์ปกป้องผิวหนังชนิดเพสทาบางๆ บริเวณผิวหนังที่มีการระคายเคือง และรอบลำไส้เปิดทาง
หน้าท้อง และรอให้แห้ง

การรับประทานอาหาร
1.รับประทานอาหารได้ทุกชนิดตามความต้องการ
การแต่งกาย 2.รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย 1-2 สัปดาห์หลังผ่าตัด
สามารถสวมเสื้อผ้าได้ตามปกติ ไม่ควรรัดแน่น 3.เคี้ยวอาหารให้ละเอียดโดยเฉพาะผักผลไม้
หรือกดบริเวณลำไส้เปิดหน้าท้อง 4.ดื่มน้ำอย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน
5.งดอาหารรสจัดและหมักดอง

You might also like