You are on page 1of 104

สรุปย่อกฎหมายวิธีสบัญญัติ 2 ( A )

ชุดวิชา กฎหมายวิธีสบัญญัติ 2
สาขาวิชา นิติศาสตร์

หน่วยที 1 วิธีพิจารณาสามัญในศาลชันต้น

- กฎหมายห้ามมิให้ฟ้อง พิจารณา และชีขาดตัดสิ นคดีเป็ นครังแรกในศาลหรื อโดยศาลอืนนอกจากศาลชันต้น


- คําฟ้องต้องทําเป็ นหนังสือ ต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึ งสภาพแห่งข้อหาและคําขอบังคับ ทังข้ออ้างทีอาศัยเป็ น
หลักแห่งข้อหาเช่นว่านัน
- ระหว่างคดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ห้ามมิให้โจทก์ยนคํ
ื าฟ้องเรื องเดียวกันนันต่อศาลเดียวกันหรื อศาลอืน
- ภายหลังทีได้เสนอคําฟ้องแล้ว โจทก์เพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าทีเพือให้ส่งหมายเรี ยกให้แก้คดีแก่
จําเลย และไม่แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการ
เพิกเฉยภายใน 7 วัน หรื อโจทก์เพิกเฉยไม่ดาํ เนินคดีภายในเวลาทีศาลเห็นสมควรกําหนด ให้ถือว่าโจทก์ทิง
ฟ้อง
- ก่อนจําเลยยืนคําให้การ โจทก์อาจถอนคําฟ้องโดยยืนคําบอกกล่าวเป็ นหนังสื อต่อศาล ภายหลังจําเลยยืน
คําให้การ โจทก์อาจยืนคําร้องเพืออนุญาตให้
โจทก์ถอนฟ้องได้ ศาลอาจอนุญาตหรื อไม่อนุญาต หรื ออนุญาตภายในเงือนไขตามทีเห็นสมควร
- การทิงฟ้องและถอนฟ้อง ย่อมลบล้างผลแห่งการยืนคําฟ้องนัน รวมทังกระบวนพิจารณาอืน ๆ อันมีต่อมา
ภายหลังยืนคําฟ้อง และทําให้คู่ความกลับคืนสู่
ฐานะเดิมเสมือนมิได้มีการยืนฟ้องเลย
- กฎหมายให้จาํ เลยทําคําให้การเป็ นหนังสือยืนต่อศาลภายในกําหนด 15 วัน ให้จาํ เลยแสดงโดยชัดแจ้งใน
คําให้การว่า จําเลยยอมรับหรื อปฏิเสธข้ออ้าง
ของโจทก์ทงสิั นหรื อแต่บางส่วน รวมทังเหตุแห่งการนัน
- จําเลยจะฟ้องแย้งมาในคําให้การก็ได้ ถ้าฟ้องแย้งนันเป็ นเรื องอืนทีไม่เกียวกับคําฟ้องเดิม ให้ศาลสังให้จาํ เลย
ฟ้องเป็ นคดีต่างหาก

รายละเอียดทัวไป

- การยืนฟ้อง
มาตรา 170 ห้ามมิให้ฟ้อง พิจารณา และชีขาดตัดสิ นคดีเป็ นครังแรกในศาลอืนนอกจากศาลชันต้น เว้นจะมี
กฎหมายบัญญัติไว้เป็ นอย่างอืน
ภายใต้บทบัญญัติคดีไม่มีขอ้ พิพาท คดีมโนสาเร่ คดีขาดนัด และคดีทีมอบให้อนุญาโตตุลาการชีขาด การฟ้อง
การพิจารณา และ
ชีขาดตัดสิ นคดีในศาลชันต้น ให้บงั คับตามบทบัญญัติภาค 1 และในลักษณะนีด้วย
อธิ บาย - หมายความว่า การฟ้อง พิจารณา และชีขาดตัดสินคดีเป็ นครังแรกต้องกระทําในศาลชันต้นเท่านัน
ทังนีเว้นแต่จะมีกฎหมาย

Sensitivity: Internal
บัญญัติไว้โดยชัดแจ้งเป็ นอย่างอืน และสําหรับคดีไม่มีขอ้ พิพาท คดีมโนสาเร่ คดีขาดนัด และคดีทีมอบให้
อนุญาโตตุลาการชีขาด
ก็ตอ้ งบังคับตามบทบัญญัติเกียวด้วยเรื องนัน ๆ
- การบรรยายฟ้อง
มาตรา 172 ให้โจทก์เสนอข้อหาของตน โดยทําคําฟ้องเป็ นหนังสือยืนต่อศาลชันต้น
คําฟ้องต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึ งสภาพแห่งข้อหา และคําขอบังคับ ทังข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา
ให้ศาลตรวจคําฟ้องแล้วสัง รับไว้ หรื อให้ยกเสีย หรื อให้คืนไป
อธิ บาย - หมายความว่า คําฟ้องจะต้องทําเป็ นหนังสื อ ( คดีมโนสาเร่ อาจทําด้วยวาจาก็ได้ ) โดยระบุสภาพแห่ง
ข้อหา คําขอบังคับ และข้อ
อ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา โดยชัดแจ้ง
- การทีกฎหมายบัญญัติให้โจทก์แสดงสภาพแห่งข้อหา คําขอบังคับ และข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา ใน
คําฟ้องให้ชดั แจ้งนัน
ก็เพือให้โอกาสจําเลยต่อสู้คดี ถ้าไม่ชดั แจ้งพอ ก็ทาํ ให้จาํ เลยไม่อาจต่อสู ้คดีได้ ( รวมถึงคดีไม่มีขอ้ พิพาท ซึ ง
ต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึง
สภาพแห่ งข้อหาด้วย )
- คําฟ้องทีไม่แสดงโดยชัดแจ้งซึ งสภาพแห่ งข้อหา คําขอบังคับ และข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา เรี ยกว่า
ฟ้องเคลือบคลุม
- ฟ้องคดีแพ่งไม่มีขอ้ กําหนดว่าต้องระบุรายละเอียดเกียวกับเวลาหรื อสถานทีอย่างคดีอาญา ซึงแม้จะไม่ระบุ
เวลา วันเดือนปี และ
สถานทีทีเกียวกับการกระทําบางประการ ก็ไม่เป็ นฟ้องเคลือบคลุม
ตัวอย่างฎีกา - ฟ้องเรี ยกค่านายหน้า สภาพแห่งข้อหาคือสัญญานายหน้า คําขอบังคับคือจํานวนเงินทีเรี ยกร้อง
ข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา
คือการทีจําเลยทําสัญญากับโจทก์และโจทก์ปฏิบตั ิตามสัญญาแล้ว เมือบรรยายชัดแจ้งก็เป็ นฟ้องสมบูรณ์
- บรรยายฟ้องว่า สิ นค้าในร้านสหกรณ์ซึงอยูใ่ นความรับผิดของจําเลยซึ งเป็ นผูจ้ ดั การ ได้ขาดหายไปเป็ นราคา
เงินจํานวนหนึง โดยมิ
ได้แสดงรายละเอียดว่าเป็ นสิ งของอะไรบ้าง อย่างไหนราคาเท่าใด เป็ นฟ้องเคลือบคลุม ( เมือไม่ได้บรรยายว่า
สิ งของทีขาดหายไปมี
อะไรบ้าง จําเลยจะต่อสู ้คดีได้อย่างไร )
- ฟ้องซ้อน
มาตรา 173 เมือศาลรับฟ้อง ให้ศาลออกหมายส่งสําเนาคําฟ้องแก่จาํ เลย และภายในกําหนด 7 วันนับแต่วนั ยืน
คําฟ้อง ให้โจทก์ร้องขอต่อพนักงาน
เจ้าหน้าทีเพือให้ส่งหมายนัน
นับแต่เวลายืนคําฟ้อง ถือว่าคดีนนอยู
ั ใ่ นระหว่างพิจารณา และ
( 1 ) ห้ามโจทก์ยืนคําฟ้องเรื องเดียวกันต่อศาลเดียวกันและศาลอืน และ
( 2 ) ถ้ามีเหตุเปลียนแปลงเกิดขึนในพฤติการณ์อนั เกียวด้วยการยืนฟ้องคดีต่อศาลทีมีเขตศาลเหนือคดีนนั การ
เปลียนแปลงไม่ตดั

Sensitivity: Internal
อํานาจศาลทีรับฟ้องคดีไว้
อธิบาย - หลักเกณฑ์เรื องฟ้องซ้อน มีดงั นี
1.มีคดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา
เมือยืนฟ้องคดี ไม่ว่าศาลจะสังรับฟ้องหรื อยังก็ตาม ถือว่าคดีนนอยูั ใ่ นระหว่างพิจารณาแล้ว
2.เป็ นกรณีทีโจทก์ยนคํื าฟ้อง ( รวมถึงผูร้ ับมอบอํานาจหรื อผูม้ ีอาํ นาจกระทําการแทนโจทก์ดว้ ย )
รวมถึงผูร้ ับมอบอํานาจหรื อผูม้ ีอาํ นาจกระทําการแทนโจทก์ และรวมถึงการทีโจทก์คนละราย ( เช่น เจ้าของ
รวม ) ยืนฟ้องเรื อง
เดียวกันด้วย แต่ไม่รวมถึงการทีโจทก์ฟ้องจําเลยคนเดียวหรื อผูร้ ับผิดอันเดียวกันนันด้วย เช่น ผูเ้ สี ยหายฟ้อง
เรี ยกค่าเสียหายใน
มูลละเมิดจากลูกจ้างเป็ นคดีหนึง ต่อมาผูเ้ สี ยหายก็มาฟ้องนายจ้างให้รับผิดร่ วมด้วยในมูลละเมิดรายเดียวกัน
ดังนีแม้โจทก์ราย
เดียวกัน แต่จาํ เลยเป็ นคนละคนกัน ไม่เป็ นฟ้องซ้อน
3.เป็ นคําฟ้องเรื องเดียวกัน
4.เป็ นการฟ้องต่อศาลเดียวกันหรื อต่อศาลอืน
- เหตุเปลียนแปลงเกียวด้วยการฟ้องคดี
เมือยืนคําฟ้องและศาลรับฟ้องแล้ว มีเหตุเปลียนแปลงเกิดขึนศาลทีรับฟ้องยังคงดําเนินการพิจารณาและชีขาด
ตัดสิ นคดีตอ่ ไปได้
- ทิงฟ้อง
มาตรา 174 กรณี ต่อไปนี ถือว่าโจทก์ทิงฟ้อง
( 1 ) หลังทีเสนอคําฟ้อง โจทก์เพิกเฉยไม่ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าทีเพือให้ส่งหมายเรี ยกให้แก้คดีแก่จาํ เลย
และไม่แจ้งให้ศาล
ทราบเหตุแห่ งการเพิกเฉย ภายใน 7 วันนับแต่วนั ยืนคําฟ้อง
( 2 ) โจทก์เพิกเฉยไม่ดาํ เนินคดีภายในเวลาทีศาลกําหนดไว้เพือการนัน โดยได้ส่งคําสังให้แก่โจทก์โดยชอบ
แล้ว
อธิ บาย - หมายความว่า ภายในกําหนด 7 วันนับแต่ยนฟ้ ื อง ให้โจทก์ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าทีเพือให้ส่ง
หมาย ถ้าเพิกเฉยไม่ร้องขอให้ส่ง
หมายเรี ยกให้แก้คดีแก่จาํ เลยและไม่แจ้งให้ศาลทราบเหตุแห่งการเพิกเฉยภายใน 7 วันนับแต่วนั ยืนฟ้อง ถือว่า
โจทก์ทงฟ้ิ อง และอีก
กรณีหนึงคือโจทก์เพิกเฉยไม่ดาํ เนินคดีภายในเวลาทีศาลเห็นสมควรกําหนดไว้เพือการนัน โดยส่งคําสังให้
โจทก์โดยชอบแล้ว
- ถอนฟ้อง
มาตรา 175 ก่อนจําเลยยืนคําให้การ โจทก์สามารถถอนคําฟ้องได้ โดยยืนเป็ นหนังสื อต่อศาล
ถ้าจําเลยให้การแล้ว โจทก์ยนคํื าขอได้ แต่ศาลจะอนุญาตหรื อไม่อนุญาต หรื ออนุญาตโดยมีเงือนไขก็ได้ แต่
( 1 ) ห้ามศาลอนุญาต โดยไม่ได้ฟังจําเลยก่อน
( 2 ) ถ้าโจทก์ถอนคําฟ้อง เนืองจากมีขอ้ ตกลงหรื อประนีประนอมยอมความกัน ให้ศาลอนุญาต
- ผลของการทิงฟ้องและถอนฟ้อง

Sensitivity: Internal
มาตรา 176 การทิงฟ้องหรื อถอนฟ้อง ทําให้คู่ความกลับคืนเข้าสู่ฐานะเดิมเสมือนไม่ได้มีการยืนฟ้อง แต่คาํ ฟ้อง
นันสามารถยืนใหม่ได้ ภายใต้บท
บัญญัติอายุความ
อธิบาย - กรณีทีโจทก์แถลงว่าจะไม่ฟ้องจําเลยอีก ถือว่าคําแถลงนีผูกพันโจทก์ ( ตามแนวฎีกา )
- คําให้การ
มาตรา 177 เมือได้ส่งหมายเรี ยกและคําฟ้องให้จาํ เลยแล้ว ให้จาํ เลยทําคําให้การเป็ นหนังสื อยืนต่อศาลภายใน
15 วัน
ในคําให้การให้จาํ เลยระบุโดยชัดแจ้งว่า ยอมรับหรื อปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ทงสิ ั นหรื อบางส่ วน รวมทัง
เหตุผล
ให้ศาลตรวจดูคาํ ให้การนันแล้วสัง รับไว้ หรื อให้คืนไป หรื อไม่รับ
ใช้บงั คับถึงบุคคลภายนอกทีถูกเรี ยกเข้ามาเป็ นผูร้ ้องสอดตามมาตรา 57 ( 3 ) ( บุคคลภายนอกถูกหมายเรี ยกเข้า
มาในคดี )
อธิบาย - ในมาตรา 177 วรรคสอง แยกพิจารณาได้ดงั นี
1.จําเลยให้การยอมรับ
- โดยตรง
เป็ นกรณี ทจํี าเลยยอมรับโดยชัดแจ้งในคําให้การ
- โดยปริ ยาย
เป็ นกรณี ทจํี าเลยไม่ได้ให้การปฏิเสธหรื อต่อสู ้ไว้เลย ซึงถือว่าจําเลยยอมรับในข้อเท็จจริ งนัน ๆ ฟ้องข้อนันจะ
ไม่เป็ นประเด็น
ในคดี โจทก์ไม่ตอ้ งนําสืบ
2.จําเลยให้การปฏิเสธ
จําเลยอาจให้การปฏิเสธฟ้องหรื อข้ออ้างของโจทก์ ( ไม่ว่าทังสิ นหรื อบางส่ วน ) แต่ตอ้ งอ้างเหตุแห่งการปฏิเสธ
ด้วย หากไม่มีการ
กล่าวอ้างเหตุแห่งการปฏิเสธ ถือว่าเป็ นคําให้การเคลือบคลุม ซึงมีผลทําให้ไม่เป็ นประเด็นทีจะนําสื บ
ตัวอย่างฎีกา - ให้การว่า ไม่ได้ทาํ สัญญากับโจทก์ ไม่ได้รับเงินตามสัญญาเงินกู้ โจทก์ได้เอกสารมาโดยไม่
สุ จริ ต ถือว่าเป็ นการกล่าวอ้างลอย ๆ
ไม่มีประเด็นทีจะสืบ
- ให้การว่า ทีโจทก์บรรยายฟ้องว่าซือห้องพิพาทมานัน จําเลยไม่ทราบ ถือว่าจําเลยไม่ปฏิเสธ ไม่มีขอ้ ต่อสู ้ใน
ข้อนี โจทก์ไม่ตอ้ งนําสื บ
- ให้การว่า เจ้ามรดกทําพินยั กรรมยกทรัพย์ให้แก่จาํ เลยทังหมดซึ งจะส่งศาลในวันพิจารณา โจทก์เป็ นทายาท
โดยธรรมไม่มีสิทธิรับ
มรดก เป็ นคําให้การปฏิเสธฟ้องชัดแจ้ง
- ฟ้องแย้ง
มาตรา 177 ว.3 จําเลยจะฟ้องแย้งมาในคําให้การก็ได้ แต่ถา้ ฟ้องแย้งนันเป็ นเรื องอืนทีไม่เกียวกับคําฟ้องเดิม ให้
ศาลสังจําเลยฟ้องเป็ นคดีต่างหาก
มาตรา 178 ถ้าจําเลยฟ้องแย้งมาในคําให้การ ให้โจทก์ทาํ คําให้การแก้ฟ้องแย้ง ยืนต่อศาลภายใน 15 วันนับแต่

Sensitivity: Internal
ส่ งคําให้การถึงโจทก์
ใช้มาตรา 177 บังคับแก่คาํ ให้การแก้ฟ้องแย้ง
อธิบาย - ฟ้องแย้ง คือ การทีจําเลยกลับฟ้องโจทก์ในคดีเดียวกันนัน ( ไม่ใช่เรื องจําเลยฟ้องกลับโจทก์ซึงเป็ นคดี
อีกเรื องหนึงต่างหาก )
- การฟ้องร้องกันนัน จะมีการฟ้องร้องกันได้ก็ต่อเมือผูฟ้ ้องได้มีสิทธิ และหน้าทีทางแพ่งโต้แย้งกันอยูพ่ ร้อม
บริ บูรณ์แล้ว ดังนันการฟ้อง
แย้งทีมีเงือนไข ถือว่าเป็ นฟ้องแย้งทีไม่เกียวกับฟ้องเดิม
- ในกรณีทีฟ้องแย้งนันเกียวกับบุคคลภายนอก ถือว่าเป็ นฟ้องแย้งทีไม่เกียวกับฟ้องเดิม
ตัวอย่างฎีกา - ก. ฟ้องเรี ยกค่าเช่าบ้านจาก ข. ทีค้างชําระเป็ นเงิน 20,000 บาท ข. ให้การต่อสู้ว่าไม่ได้คา้ งชําระ
และฟ้องแย้งให้ ก. ชดใช้ค่าซ่อม
แซมบ้านที ข. เช่า และ ข. ออกไปตามสัญญาเช่า เป็ นเงิน 22,000 บาท ดังนีฟ้องแย้งของ ข. เกียวกับคําฟ้องเดิม
- ก. ฟ้องเรี ยกเงินกูจ้ าก ข. เป็ นเงิน 100,000 บาท ทีกูไ้ ปเมือวันที 2 มกราคม 2526 ข. ฟ้องแย้งเรี ยกเงินจาก ก.
อ้างว่า ก. ได้ซือทอง
รู ปพรรณไปจาก ข. คิดเป็ นเงิน 200,000 บาท เมือวันที 11 สิงหาคม 2525 ดังนีฟ้องแย้งของ ข. ไม่เกียวกับคํา
ฟ้องเดิม
- โจทก์ฟ้องเรี ยกเงินกู้ จําเลยรับว่ากูจ้ ริ งแต่ต่อสู้โจทก์วา่ โจทก์ยงั เป็ นหนีค่าอาหาร ขอหักกลบลบหนี เป็ นฟ้อง
แย้งเกียวกับฟ้องเดิม
- โจทก์ฟ้องขับไล่จาํ เลย จําเลยให้การต่อสู้และฟ้องแย้งว่า เมือโจทก์จะให้จาํ เลยเลิกเช่า โจทก์ตอ้ งคืนเงินค่าเช่า
บางส่ วนแก่จาํ เลย
ดังนีเป็ นฟ้องแย้งทีมีเงือนไข ถือว่าเป็ นฟ้องแย้งทีไม่เกียวกับฟ้องเดิม

หน่วยที 2 วิธีพิจารณาสามัญในศาลชันต้น ( 2 )

- โจทก์หรื อจําเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู้ ข้ออ้าง หรื อข้อเถียงอันกล่าวไว้ในคําฟ้องหรื อคําให้การก็ได้


โดยเฉพาะอาจเป็ นการแก้ไขในข้อตามทีกฎหมาย
บัญญัติไว้
- การแก้ไขคําฟ้องหรื อคําให้การให้ทาํ เป็ นคําร้อง ถ้าศาลเห็นว่าคําฟ้องทีเสนอแต่แรกและทีเสนอภายหลังโดย
ทําเป็ นคําร้องนีไม่เกียวข้องกัน หรื ออาจยืนคํา
ร้องได้ก่อนวันชีสองสถานหรื อก่อนวันสืบพยาน และคดีไม่เกียวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน ก็ให้สัง
ยกคําร้อง
- ศาลจะมีคาํ สังยอมรับการแก้ไขไม่ได้ เว้นแต่ได้ส่งสําเนาคําร้องให้แก่คู่ความอีกฝ่ ายหนึงทราบล่วงหน้าอย่าง
น้อย 3 วันก่อนกําหนดนัดพิจารณาคําร้อง
และจะพิพากษาหรื อมีคาํ สังชีขาดในประเด็นทีคู่ความได้แก้ไขไม่ได้ เว้นแต่อีกฝ่ ายหนึงได้มีโอกาสในอันทีจะ
ตรวจ โต้แย้ง และหักล้างข้อหาหรื อข้อต่อสู้
ใหม่ หรื อข้ออ้างหรื อข้อเถียงใหม่ ทีกล่าวในคําร้องแก้ไขนัน
- เมือได้ยืนคําฟ้อง คําให้การ และคําให้การแก้ฟ้องแย้ง ถ้าหากมี หรื อระยะเวลาเพือการยืนเอกสารเช่นว่านันได้

Sensitivity: Internal
สิ นสุ ดแล้ว ถ้าคู่ความยืนคําขอให้ชีสอง
สถานหรื อศาลเห็นว่าการชีสองสถานจะทําให้คดีง่ายขึน ก็ให้ศาลมีคาํ สังกําหนดวันชีสองสถาน
- เพือให้ได้ความชัดในประเด็นข้อพิพาท ให้ศาลมีการชีสองสถานโดยตรวจดูคาํ คูค่ วาม แล้วฟังคําแถลงของ
คู่ความ แล้วจดข้ออ้าง ข้อเถียง คํารับของคู่
ความเหล่านันเทียบดู ถ้ามีปัญหาข้อใด ไม่ว่าข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายทีคู่ความฝ่ ายหนึงยกขึนอ้าง และ
คู่ความอีกฝ่ ายหนึงไม่รับ ให้ศาลจดลงไว้เป็ น
ประเด็นข้อพิพาทในรายงานพิจารณา ถ้าจําเป็ นจะระบุให้คู่ความฝ่ ายใดนําพยานมาสื บในประเด็นข้อใดก่อน
หรื อหลังก็ได้
- เมือจําเลยยืนคําให้การแล้ว หรื อโจทก์ได้ยืนคําให้การฟ้องแย้งแล้ว หรื อระยะเวลาเพือยืนคําให้การเช่นว่านัน
ได้สินสุ ดลง หรื อภายหลังทีได้ชีสองสถาน
แล้ว แล้วแต่กรณี ให้ศาลออกหมายกําหนดวันสื บพยานส่งให้แก่คคู่ วามทราบล่วงหน้าไม่ตากว่ ํ า 10 วัน
- ให้ศาลสื บพยานตามประเด็นข้อพิพาทตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วย
พยานหลักฐาน และฟังคําแถลงการณ์ดว้ ยวาจา
ของคูค่ วาม
- เมือได้สืบพยานตามทีจําเป็ นและคู่ความได้แถลงการณ์ ถ้าหากมีเสร็ จแล้วถือว่าการพิจารณาเป็ นอันสิ นสุ ด แต่
ตราบใดทียังไม่มีคาํ พิพากษา ศาลอาจทํา
การพิจารณาต่อไปอีกก็ได้ตามทีเห็นสมควร เพือประโยชน์แห่งความยุติธรรม
- ในคดีไม่มีขอ้ พิพาท ให้เริ มคดีโดยยืนคําร้องต่อศาล ศาลอาจเรี ยกพยานมาสืบได้เองตามทีเห็นจําเป็ น
- ทางแก้แห่งคําพิพากษาหรื อคําสังของศาลนัน ให้ใช้แต่โดยวิธียืนอุทธรณ์หรื อฎีกา ได้แต่เฉพาะ 2 กรณี คือ
1.ศาลได้ยกคําร้องขอของคูค่ วามฝ่ ายทีเริ มคดี
2.ในเหตุทีมิได้ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่งว่าด้วยการพิจารณา คํา
พิพากษาหรื อคําสัง
- ถ้ามีผคู ้ ดั ค้านเข้ามาในคดี ให้ถือว่าบุคคลเช่นนีเป็ นคู่ความ และให้ดาํ เนินคดีไปตามบทบัญญัติแห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งว่าด้วยคดีอนั
มีขอ้ พิพาท

รายละเอียดทัวไป

- ขอบเขตของการแก้ไข
มาตรา 179 โจทก์หรื อจําเลยจะแก้ไขข้อหา ข้อต่อสู ้ ข้ออ้าง หรื อข้อเถียง ทีกล่าวไว้ในคําฟ้องหรื อคําให้การที
เสนอต่อศาลแต่แรกก็ได้
โดยเฉพาะการแก้ไขในข้อต่อไปนี
( 1 ) เพิมหรื อลด จํานวนทุนทรัพย์หรื อราคาทรัพย์สินทีพิพาทในฟ้องเดิม หรื อ
( 2 ) สละข้อหาในฟ้องเดิมบางข้อ หรื อเพิมเติมฟ้องเดิมให้บริ บูรณ์ หรื อเสนอคําฟ้องเพือคุม้ ครองสิ ทธิของตน
ในระหว่างพิจารณา
หรื อเพือบังคับตามคําพิพากษาหรื อคําสัง หรื อ

Sensitivity: Internal
( 3 ) ยกข้อต่อสู ้ขนใหม่
ึ เป็ นข้อแก้ขอ้ หาเดิม หรื อทียืนภายหลัง หรื อเปลียนแปลงแก้ไขข้ออ้างหรื อข้อเถียง เพือ
สนับสนุนข้อหา
หรื อเพือหักล้างข้อหาของคูค่ วามอีกฝ่ ายหนึง
ห้ามคู่ความเสนอคําฟ้องต่อศาล ไม่ว่าฟ้องเพิมเติมหรื อฟ้องแย้ง ภายหลังทีได้ยนคํ ื าฟ้องเดิมต่อศาลแล้ว เว้นคํา
ฟ้องเดิมกับคําฟ้อง
หลังนีจะเกียวข้องกันพอทีจะรวมการพิจารณาและชีขาดเข้าด้วยกันได้
อธิบาย - มาตรา 179 ( 1 )
เป็ นการเพิมหรื อลด จํานวนทุนทรัพย์หรื อราคาทรัพย์สินทีพิพาทในฟ้องเดิม ( มิใช่เป็ นการตังทุนทรัพย์ที
เรี ยกร้องขึนมาใหม่ )
- มาตรา 179 ( 2 )
เช่น เมือศาลพิพากษาขับไล่จาํ เลยแล้ว ก็ให้จาํ เลยชดใช้ค่าเสียหายจนกว่าจําเลยจะออกจากทีพิพาทนัน
- มาตรา 179 ( 3 )
เช่น โจทก์ฟ้องเรี ยกเงินกู้ 10,000 บาท จําเลยให้การต่อสู ้ว่าไม่ได้รับเงินไปจากโจทก์ จําเลยขอแก้คาํ ให้การว่า
สัญญาเงินกูท้ ีโจทก์
นํามาฟ้องนัน เป็ นสัญญาเงินกูป้ ลอม
- มาตรา 179 วรรคสาม
เช่น ฟ้องเดิมเรี ยกเงินกู้ 100,000 บาท โจทก์แก้ฟ้องว่าจําเลยเป็ นหนีค่าก่อสร้างตึกแถวเป็ นเงิน 100,000 บาท
ดังนีฟ้องเดิมกับคํา
ฟ้องทีแก้ไขไม่เกียวกันพอทีจะรวมพิจารณาชีขาดตัดสิ นเข้ากันได้
- วิธีการขอแก้ไข
มาตรา 180 การแก้ไขคําฟ้องหรื อคําให้การ ให้ทาํ เป็ นคําร้องยืนต่อศาลก่อนวันชีสองสถาน หรื อก่อนวัน
สื บพยานไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ( กรณี ไม่มีการชี
สองสถาน ) เว้นมีเหตุอนั ควรทีไม่อาจยืนคําร้องได้ก่อนนัน หรื อทีเป็ นการขอแก้ไขในเรื องทีเกียวกับความสงบ
เรี ยบร้อยของประชาชน
หรื อทีเป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อย
อธิบาย - ไม่อาจยืนคําร้องได้ก่อนนัน หมายความว่า ถ้ายืนได้ก่อน ก็ตอ้ งยืน ถ้ายืนไม่ได้ก็ไม่ตอ้ งยืนก่อน เพราะ
อาจมีขอ้ เท็จจริ งหรื อพฤติ
การณ์บางเรื องทีไม่อาจยืนได้ก่อน เช่น โจทก์ฟ้องเรี ยกแม่กระบือคืนจากจําเลย เมือชีสองสถานแล้วปรากฏว่า
กระบือตกลูกออกมา
ดังนันโจทก์สามารถยืนคําร้องขอแก้ฟ้อง โดยเรี ยกลูกกระบือคืนมาด้วยหลังวันชีสองสถานก็ได้
- สําหรับกรณี ไม่มีการชีสองสถานและสืบพยาน ตราบใดทีศาลยังไม่พพิ ากษาชีขาดตัดสิ นคดี ย่อมขอแก้ไข
เพิมเติมได้
- การยอมรับการแก้ไข
มาตรา 181 เว้นกรณี ทคํี าร้องนันอาจทําได้ฝ่ายเดียว
( 1 ) ห้ามมีคาํ สังยอมรับการแก้ไข เว้นจะได้ส่งสําเนาคําร้องให้คู่ความอีกฝ่ ายหนึ งทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 3
วัน ก่อนกําหนด

Sensitivity: Internal
นัดพิจารณาคําร้องนัน
( 2 ) ห้ามศาลพิพากษาหรื อมีคาํ สังชีขาดในประเด็นทีแก้ไข เว้นคู่ความอีกฝ่ ายจะได้มีโอกาสบริ บูรณ์ในอันทีจะ
ตรวจ โต้แย้ง และ
หักล้างข้อทีกล่าวไว้ในคําร้องแก้ไขนัน
- การชีสองสถาน
มาตรา 182 เมือได้ยนคํื าฟ้อง คําให้การ และคําให้การแก้ฟ้องแย้ง ( ถ้ามี ) ให้ศาลทําการชีสองสถาน โดยแจ้ง
กําหนดวันชีสองสถานให้คู่ความ
ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน เว้นกรณี ต่อไปนี
( 1 ) จําเลยคนใดคนหนึงขาดนัดยืนคําให้การ
( 2 ) จําเลยให้การยอมรับโดยชัดแจ้งตามคําฟ้องโจทก์ทงหมด ั
( 3 ) จําเลยให้การปฏิเสธข้ออ้างของโจทก์ทงหมดโดยไม่
ั มีเหตุแห่งการปฏิเสธ และศาลเห็นว่าไม่ตอ้ งมีการชี
สองสถาน
( 4 ) ศาลเห็นว่าควรวินิจฉัยชีขาดคดีให้เสร็จไปทังเรื อง โดยไม่ตอ้ งสืบพยาน
( 5 ) คดีมโนสาเร่ และคดีไม่มีขอ้ ยุง่ มาก
( 6 ) คดีทีศาลเห็นว่ามีประเด็นข้อพิพาททีไม่ยงุ่ ยาก หรื อไม่จาํ เป็ นต้องชีสองสถาน
ถ้าไม่ตอ้ งชีสองสถาน ให้ศาลสังงดการชีสองสถาน และกําหนดวันสื บพยาน ( ถ้ามี ) แล้วส่ งคําสังดังกล่าวให้
คู่ความทราบ
คู่ความอาจตกลงกันกะประเด็นข้อพิพาท โดยยืนคําแถลงร่ วมกันต่อศาล ก็ให้ศาลกําหนดประเด็นข้อพิพาทไป
ตามนัน แต่ถา้ ศาล
เห็นว่าคําแถลงไม่ถูกต้อง ก็ให้ศาลสังยกคําแถลงนัน แล้วทําการชีสองสถานไป
มาตรา 183 ในวันชีสองสถาน ให้คู่ความมาศาล และให้ศาลตรวจคําคู่ความและคําแถลงของคูค่ วาม แล้วนํา
ข้ออ้างข้อเถียงของคู่ความเทียบกันดู
แล้วสอบถามคู่ความถึงข้ออ้างข้อเถียง และพยานหลักฐานทีจะยืนต่อศาล ว่าฝ่ ายใดยอมรับหรื อโต้แย้ง ถ้า
ข้อเท็จจริ งใดทีคู่ความยอม
รับกันก็ให้ยตุ ิไปตามนัน ส่ วนข้อกฎหมายหรื อข้อเท็จจริ งใดทีคูค่ วามไม่ยอมรับและเกียวเนืองโดยตรงกับ
ประเด็นข้อพิพาท ให้ศาล
กําหนดไว้เป็ นประเด็นข้อพิพาท แล้วกําหนดให้คู่ความฝ่ ายใดนําพยานหลักฐานมาสื บในประเด็นข้อใดก่อน
หรื อหลังก็ได้
ในการสอบถามของศาล ( โดยศาลถามเองหรื อถามตามคําขอของคูค่ วามฝ่ ายอืน ) คู่ความต้องตอบคําถาม
เกียวกับข้อเท็จจริ งทีคู่
ความฝ่ ายอืนยกเป็ นข้ออ้างข้อเถียง และพยานหลักฐานต่าง ๆ ทีคู่ความนันจะยืนต่อศาล ถ้าคู่ความไม่ตอบ
คําถามเกียวกับข้อเท็จจริ ง
ใด หรื อปฏิเสธโดยไม่มีเหตุผลอันควร ให้ถือว่ายอมรับข้อเท็จจริ งนันแล้ว เว้นคูค่ วามนันไม่อยูใ่ นวิสัยทีจะ
ตอบหรื อแสดงเหตุผลได้ใน
ขณะนัน
อธิบาย - การชีสองสถาน คือ การกําหนดประเด็นข้อพิพาท และกําหนดหน้าทีนําสื บว่าประเด็นข้อใดจะตกแก่

Sensitivity: Internal
ฝ่ ายใดนําสื บก่อน
- ในการนําสื บ ต้องนําสื บในประเด็นข้อพิพาท ห้ามศาลรับฟังการนําสื บนอกประเด็น
- การสืบพยาน
มาตรา 184 กรณี ทีมีการชีสองสถาน ให้ศาลกําหนดวันสื บพยานซึ งไม่น้อยกว่า 10 วันนับแต่วนั ชีสองสถาน
กรณีไม่มีการชีสองสถาน ให้ศาลออกหมายกําหนดวันสื บพยานส่งให้คคู่ วามทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 10 วัน
มาตรา 185 ในวันนัดสื บพยาน เมือศาลเห็นควรหรื อเมือคูค่ วามมีคาํ ขอ ศาลจะอ่านให้คู่ความฟังซึ งคําฟ้อง
คําให้การ และคําให้การแก้ฟ้องแย้ง (
ถ้ามี ) หรื อรายงานพิสดารแห่งการชีสองสถาน ( แล้วแต่กรณี ) และคําร้องแก้ไขเพิมเติมก็ได้
ภายใต้มาตรา 186 , 187 , 188 ให้ศาลสื บพยานตามประเด็นในข้อพิพาท และฟังคําแถลงการณ์ดว้ ยวาจาของ
คู่ความ
มาตรา 186 เมือสื บพยานเสร็ จ ให้โจทก์แถลงการณ์ดว้ ยวาจาก่อน แล้วจําเลยแถลงการณ์ดว้ ยวาจา ทบทวนข้อ
เถียง แสดงเหตุผลแห่งพยานหลัก
ฐานในประเด็นทีพิพาท หลังจากนันให้โจทก์แถลงตอบจําเลยอีกครังหนึง
ก่อนพิพากษา ไม่ว่าคู่ความจะได้แถลงการณ์ดว้ ยวาจาแล้วหรื อไม่ คู่ความจะยืนคําแถลงการณ์เป็ นหนังสือต่อ
ศาลก็ได้ แต่ตอ้ งส่ง
สําเนานัน ๆ ไปยังคู่ความคนอืน ๆ
มาตรา 187 เมือได้สืบพยาน และคู่ความได้แถลงการณ์แล้ว ( ถ้ามี ) เสร็ จ ถือว่าการพิจารณาสิ นสุ ด แต่ตราบที
ยังไม่พพิ ากษา ศาลอาจทําการ
พิจารณาต่อได้อีก ตามเห็นสมควรเพือประโยชน์แห่งความยุติธรรม
- การดําเนินคดีไม่มีขอ้ พิพาท
มาตรา 188 ในคดีไม่มีขอ้ พิพาท ให้ใช้ขอ้ บังคับต่อไปนี
( 1 ) เริ มคดีโดยยืนคําร้องต่อศาล
( 2 ) ศาลเรี ยกพยานมาสื บได้เองตามเห็นจําเป็ น และวินิจฉัยชีขาดตามทีเห็นสมควรและยุติธรรม
( 3 ) ทางแก้คาํ พิพากษาหรื อคําสังศาลนัน ทําโดยยืนอุทธรณ์หรื อฎีกาเท่านัน และอุทธรณ์ฎีกาได้เฉพาะกรณี
ต่อไปนี
( ก ) ถ้าศาลยกคําร้องขอของคูค่ วามทีเริ มคดี ทังหมดหรื อบางส่วน หรื อ
( ข ) ไม่ได้ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณา หรื อพิพากษาหรื อคําสัง
( 4 ) ถ้าบุคคลอืนได้เข้ามาเกียวข้องในคดี ( โดยตรงหรื ออ้อม ) ถือว่าบุคคลนันเป็ นคูค่ วาม แล้วดําเนินคดีตาม
บทบัญญัติคดีอนั มี
ข้อพิพาท แต่คดีทีร้องขอให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังให้คาํ อนุญาตทีผูแ้ ทนโดยชอบธรรมได้ปฏิเสธเสี ย หรื อ
ให้ศาลมีคาํ
พิพากษาหรื อคําสังถอนคืนคําอนุญาตทีให้ไว้แก่ผไู ้ ร้ความสามารถ ให้ถือว่าเป็ นคดีไม่มีขอ้ พิพาท แม้ผแู้ ทนโดย
ชอบธรรมหรื อ
ผูไ้ ร้ความสามารถนันจะได้มาศาล และแสดงข้อคัดค้าน
อธิบาย - มาตรา 188 ( 4 )
เป็ นกรณี ทมีี ผขู ้ อเข้ามาเกียวข้องในคดี ซึงผูเ้ ข้ามาเกียวข้องในคดี เรี ยกว่า ผูค้ ดั ค้าน ซึงผูค้ ดั ค้านนันกฎหมายถือ

Sensitivity: Internal
ว่าเป็ นคู่ความ
แล้วให้ดาํ เนินคดีไปตามบทบัญญัติคดีอนั มีขอ้ พิพาท ซึงผูค้ ดั ค้านนันต้องเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียในกรณีทีร้องขอ
นันด้วย
- คดีทีร้องขอให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังให้คาํ อนุญาตทีผูแ้ ทนโดยชอบธรรมได้ปฏิเสธเสี ย ให้ถือว่าเป็ นคดี
ไม่มีขอ้ พิพาท
เช่น ถ้าผูแ้ ทนโดยชอบธรรมไม่อนุญาต ผูเ้ ยาว์ยืนคําร้องต่อศาลขอให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังอนุญาต แม้
ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
คัดค้านเข้ามาในคดีว่าไม่ควรอนุญาต ก็ให้ถือว่าเป็ นคดีไม่มีขอ้ พิพาท
- คดีทีร้องขอให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังถอนคืนคําอนุญาตทีให้ไว้แก่ผไู ้ ร้ความสามารถ ให้ถือว่าเป็ นคดีไม่
มีขอ้ พิพาท
เช่น ถ้าศาลสังอนุญาตแก่ผไู ้ ร้ความสามารถ ผูอ้ นุบาลยืนคําร้องต่อศาลขอให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังถอน
คืนคําอนุญาตทีให้ไว้
แก่ผไู ้ ร้ความสามารถ แม้ผไู ้ ร้ความสามารถคัดค้านเข้ามาในคดีดว้ ย ก็ให้ถือว่าเป็ นคดีไม่มีขอ้ พิพาท

หน่วยที 3 คดีมโนสาเร่ และอนุญาโตตุลาการ

- คดีมโนสาเร่ คือ คดีฟ้องขับไล่ผเู ้ ช่าออกจากอสังหาริ มทรัพย์ทีมีคา่ เช่าในขณะยืนฟ้องไม่เกินเดือนละ 3 หมืน


บาท หรื อคดีฟ้องขับไล่ผอู ้ าศัยออกจาก
อสังหาริ มทรัพย์ซึงในขณะฟ้องอาจให้ค่าเช่าได้ไม่เกินเดือนละ 3 หมืนบาท และคดีทีเกียวกับสิ ทธิ เรี ยกร้อง
หรื อสิ ทธิต่าง ๆ ทีพิพาทกันไม่เกิน 3 แสนบาท
- วิธีฟ้องคดีมโนสาเร่นนั โจทก์อาจยืนฟ้องอย่างคดีสามัญหรื อแถลงข้อหาด้วยวาจา และขอให้ศาลออก
หมายเรี ยกจําเลยมาศาลเพือแก้ขอ้ หานัน
- ในคดีมโนสาเร่ เมือจําเลยมาศาลในวันทีกําหนดไว้ในหมายเรี ยก จําเลยอาจยืนคําให้การเป็ นหนังสื อหรื อด้วย
วาจาก็ได้ ถ้าจําเลยไม่ให้การ ถือว่าจําเลย
ขาดนัดยืนคําให้การ ถ้าไม่มาศาล ถือว่าจําเลยขาดนัดพิจารณา
- ในคดีสามัญทีโจทก์ฟ้องเพียงขอให้ชาํ ระเงินจํานวนแน่นอนตามตัวเงิน ซึงการรับรองหรื อการชําระเงินตาม
ตัวเงินนันได้ถูกปฏิเสธ หรื อตามสัญญาเป็ น
หนังสื อซึงปรากฏในเบืองต้นว่าเป็ นสัญญาอันแท้จริ งมีความสมบูรณ์บงั คับได้ตามกฎหมาย โจทก์จะยืนคําร้อง
พร้อมกับคําฟ้องขอให้ศาลพิจารณาคดีนนั
โดยรวบรัดก็ได้ ถ้าศาลเห็นว่าเป็ นคดีไม่มีขอ้ ยุง่ ยาก ก็ให้ศาลมีคาํ สังพิจารณาคดีนนตามข้
ั อบังคับว่าด้วยคดี
มโนสาเร่
- ในคดีไม่มีขอ้ ยุง่ ยาก ให้ศาลออกหมายเรี ยกไปยังจําเลยให้มาศาลและให้การในวันใดวันหนึ งตามทีศาล
เห็นสมควร ถ้าจําเลยมาศาล และศาลเห็นว่า
จําเลยไม่มีเหตุต่อสู้ ก็ให้ศาลพิพากษาคดีโดยเร็ ว ถ้ามีขอ้ ต่อสู ้อนั ควร ก็ดาํ เนินกระบวนพิจารณาไปโดยไม่ชกั ช้า
ถ้าจําเลยไม่มาศาล ให้ศาลมีคาํ สังโดย
ไม่ชกั ช้าว่าจําเลยขาดนัดพิจารณา แล้วพิจารณาคดีไปฝ่ ายเดียว และพิพากษาโดยเร็ วเท่าทีจะพึงทําได้

Sensitivity: Internal
- อนุญาโตตุลาการ คือ บุคคลคนเดียวหรื อหลายคนทีคู่กรณี ตงั หรื อบุคคลภายนอกทีคู่กรณี ตกลงกัน หรื อศาล
เป็ นผูต้ งเพื
ั อเป็ นผูช้ ีขาดข้อพิพาทในคดีแพ่ง
- อนุญาโตตุลาการ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1.อนุญาโตตุลาการในศาล
หมายถึง อนุญาโตตุลาการทีศาลอนุญาตในการแต่งตัง
2.อนุญาโตตุลาการนอกศาล
หมายถึง อนุญาโตตุลาการทีศาลไม่ได้อนุญาตในการแต่งตัง
- บรรดาคดีทีอยูใ่ นระหว่างพิจารณาของศาลชันต้น คู่ความจะตกลงกันเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการเป็ น
ผูช้ ีขาดก็ได้
- ถ้าในข้อตกลงในการตังอนุญาโตตุลาการไม่ได้กาํ หนดข้อความเป็ นอืน การตังอนุญาโตตุลาการย่อมบังคับ
ตามทีกฎหมายบัญญัติไว้ ซึงถ้าศาลไม่เห็นชอบ
ด้วยบุคคลทีทีคูค่ วามตังหรื อเสนอตัง ให้ศาลสังให้คู่ความตังบุคคลอืนหรื อเสนอบุคคลอืนตังเป็ น
อนุญาโตตุลาการ ถ้าคู่ความมิได้ตงหรื ั อเสนอให้ตงบุ
ั คคล
ใด ให้ศาลมีอาํ นาจตังบุคคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการได้ตามทีเห็นสมควร
- กฎหมายห้ามมิให้ศาลตังบุคคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการโดยมิได้รับความยินยอมจากบุคคลนัน
- เมือศาลตังอนุญาโตตุลาการขึนแล้ว บุคคลหรื อคูค่ วามทีมีสิทธิตงจะถอนการตั
ั งไม่ได้ เว้นคูค่ วามอีกฝ่ ายหนึง
จะยินยอมด้วย
- อนุญาโตตุลาการทีตังขึนโดยชอบอาจถูกคัดค้านได้ บุคคลทีจะคัดค้านและเหตุทีจะคัดค้านย่อมเป็ นไปตามที
กฎหมายบัญญัติไว้
- ในการชีขาดข้อพิพาท อนุญาโตตุลาการมีอาํ นาจหน้าทีกําหนดประเด็นข้อพิพาท ฟังคูค่ วาม ทําการไต่สวน
ตามทีต้องการ ตรวจเอกสาร ฟังพยานหรื อผู้
เชียวชาญ ถ้าจําเป็ นต้องดําเนินกระบวนพิจารณาทางศาล ศาลย่อมจัดการให้ได้
- ถ้าในข้อตกลงไม่ได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอืน คําชีขาดของอนุญาโตตุลาการให้อยูใ่ นบังคับตามทีกฎหมาย
บัญญัติไว้ และให้นาํ บทบัญญัติวา่ ด้วยคํา
พิพากษาและคําสังของศาลมาใช้บงั คับโดยอนุโลม และให้ศาลพิพากษาตามคําชีขาด ซึงถ้าคําชีขาดขัดต่อ
กฎหมาย ศาลอาจสังให้แก้ไขเสี ยก่อนก็ได้
- ถ้าในข้อตกลงตังอนุญาโตตุลาการไม่ได้กาํ หนดข้อความไว้เป็ นอย่างอืน เมือมีกรณี ตามทีกฎหมายบัญญัติไว้
และคู่ความไม่สามารถตกลงกันเป็ นอย่างอืน
ให้ถือว่าข้อตกลงนันเป็ นอันสิ นสุด
- ถ้ามีขอ้ พิพาทเกิดขึนเนืองจากการดําเนินตามข้อตกลงเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชี ขาด หรื อข้อ
พิพาทกันว่าข้อตกลงนันได้สินสุดลงหรื อไม่
ข้อพิพาทนันให้เสนอต่อศาลทีตกลงเห็นชอบด้วยข้อตกลงนัน
- ในกรณีทีเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชีขาดนอกศาล ถ้าคู่กรณีฝ่ายใดไม่ยอมปฏิบตั ิตามคําชีขาดของ
อนุญาโตตุลาการ ห้ามมิให้บงั คับตามคําชี
ขาด เว้นแต่คู่กรณี อีกฝ่ ายหนึงจะได้ยนฟ้
ื องต่อศาลทีมีเขตอํานาจและศาลได้มีคาํ พิพากษาตามคําชีขาดนัน
- กฎหมายห้ามมิให้อทุ ธรณ์คาํ สังศาลซึงปฏิเสธไม่ยอมพิพากษาตามคําชีขาดของอนุญาโตตุลาการ หรื อคํา

Sensitivity: Internal
พิพากษาของศาลตามคําชีขาดของ
อนุญาโตตุลาการ เว้นแต่มีเหตุทบัี ญญัติไว้

รายละเอียดทัวไป

- ลักษณะคดีมโนสาเร่
มาตรา 189 คดีมโนสาเร่ คือ
( 1 ) คดีทีขอให้ปลดเปลืองทุกข์อนั อาจคํานวนเป็ นเงินได้ไม่เกิน 3 แสนบาท หรื อไม่เกินจํานวนทีกําหนดใน
พระราชกฤษฎีกา
( 2 ) คดีฟ้องขับไล่บุคคลออกจากอสังหาริ มทรัพย์ทีมีค่าเช่าหรื ออาจให้เช่าได้ในขณะยืนคําฟ้องไม่เกินเดือนละ
3 หมืนบาท หรื อไม่
เกินจํานวนทีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา
มาตรา 190 จํานวนทุนทรัพย์หรื อราคาทีพิพาทนัน คํานวนดังนี
( 1 ) ราคาทุนทรัพย์นนคํ ั านวนตามคําเรี ยกร้องของโจทก์ ส่วนดอกผลทียังไม่ถึงกําหนดในเวลายืนฟ้อง หรื อ
ค่าธรรมเนียมศาลซึ ง
อาจเป็ นอุปกรณ์รวมอยู่ในคําเรี ยกร้อง ไม่คาํ นวนรวมเข้าด้วย
( 2 ) ถ้ามีขอ้ สงสัยหรื อข้อโต้แย้ง ให้ศาลกะประมาณราคาทีเป็ นอยูใ่ นเวลาทียืนฟ้องคดี
( 3 ) คดีทีมีหลายข้อหา ทีมีราคาทุนทรัพย์ไม่เกิน 3 แสนบาท หรื อไม่เกินจํานวนทีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา
ให้รวมราคาเหล่า
นันเข้าด้วยกัน แต่ถา้ ข้อหาเหล่านันจะต้องเรี ยกร้องเอาจากจําเลยหลายคน ถึงแม้ว่ารวมแล้วจะไม่เป็ นคดี
มโนสาเร่ ก็ตาม ให้
ถือเอาจํานวนทีเรี ยกร้องเอาจากจําเลยคนหนึง ๆ เป็ นประมาณแก่การทีจะถือว่าคดีนนเป็ ั นคดีมโนสาเร่ หรื อไม่
อธิบาย - ถ้าข้อหาเหล่านันจะต้องเรี ยกร้องเอาจากจําเลยหลายคน ให้ถือเอาจํานวนทีเรี ยกร้องเอาจากจําเลยคน
หนึง ๆ เป็ นประมาณแก่การ
ทีจะถือว่าคดีนนเป็
ั นคดีมโนสาเร่ หรื อไม่ เช่น ก. ฟ้อง ข. ค. ทีมาบุกรุ กฟันต้นไม้ในสวนของ ก. ( ในเวลา
เดียวกัน แต่ไม่ได้ร่วมกัน
กระทํา ) เป็ นคดีเดียวกัน เรี ยกค่าเสียหายจาก ข. 2 แสนบาท จาก ค. 2 แสนบาท รวมกันเป็ นเงิน 4 แสนบาท
ดังนีถือว่าเป็ นคดี
มโนสาเร่ แม้ถา้ รวมความรับผิดของ ข. ค. เข้าด้วยกันแล้ว จะไม่ถือว่าเป็ นคดีมโนสาเร่ ก็ตาม
- การฟ้องคดีมโนสาเร่
มาตรา 191 วิธีฟ้องคดีมโนสาเร่ โจทก์สามารถยืนคําฟ้องเป็ นหนังสื อ หรื อแถลงข้อหาด้วยวาจาก็ได้
ถ้าโจทก์ยนคํื าฟ้องเป็ นหนังสือ หากศาลเห็นว่าคําฟ้องไม่ถูกต้อง หรื อขาดสาระสําคัญ ศาลอาจมีคาํ สังให้แก้ไข
ถ้าโจทก์แถลงข้อหาด้วยวาจา ให้ศาลบันทึกรายการแห่งข้อหาไว้ อ่านให้โจทก์ฟัง แล้วให้โจทก์ลงลายมือชือไว้
เป็ นสําคัญ
มาตรา 192 ถ้าศาลเห็นว่าไม่ใช่คดีมโนสาเร่ และคดีนนโจทก์
ั ฟ้องโดยคําแถลงด้วยวาจา ก็ให้ศาลสังให้โจทก์
ยืนคําฟ้องเป็ นหนังสื อ แต่ถา้ โจทก์ยนื

Sensitivity: Internal
คําฟ้องเป็ นหนังสืออยูแ่ ล้ว ห้ามศาลออกหมายเรี ยกอย่างอืนนอกจากทีบัญญัติไว้สาํ หรับคดีสามัญ
ถ้ามีคาํ ฟ้องเพิมเติมเข้ามาทําให้คดีนนไม่
ั เป็ นคดีมโนสาเร่ ให้ศาลพิจารณาไปอย่างคดีสามัญ
แต่ถา้ ศาลไม่มีเขตอํานาจพิจารณาคดีนนอย่ั างคดีสามัญ ให้ศาลมีคาํ สังคืนคําฟ้องนันไป
กรณี จาํ เลยฟ้องแย้งเข้ามาในคดีมโนสาเร่ และฟ้องแย้งนันไม่ใช่คดีมโนสาเร่ หรื อกรณี ศาลสังพิจารณาคดีสามัญ
รวมกับคดีมโนสาเร่
ให้ศาลดําเนินการพิจารณาคดีมโนสาเร่ ไปอย่างคดีสามัญ แต่ถา้ ศาลเห็นว่าการนําบทบัญญัติหมวดนี ( วิธี
พิจารณาคดีมโนสาเร่ ) ไปใช้
บังคับในส่วนฟ้องแย้งหรื อคดีสามัญนันจะทําให้การดําเนินคดีรวดเร็วและเป็ นธรรม ก็ให้ศาลมีอาํ นาจพิจารณา
คดีในส่วนของฟ้องแย้ง
หรื อคดีสามัญนัน อย่างคดีมโนสาเร่ ได้
คําสังในวรรคสี ไม่กระทบต่อค่าขึนศาลทีคูค่ วามต้องชําระก่อนทีศาลจะมีคาํ สังเช่นว่านัน
มาตรา 193 คดีมโนสาเร่ ให้ศาลกําหนดวันพิจารณาโดยเร็ วและออกหมายเรี ยกไปยังจําเลย ในหมายนันให้แจ้ง
ประเด็นแห่งคดีและจํานวนทุนทรัพย์
ทีเรี ยกร้อง และแจ้งให้มาศาลเพือการไกล่เกลีย ให้การ และสืบพยานในวันเดียวกัน โดยให้โจทก์มาด้วย
ในวันนัดพิจารณา ให้ศาลไกล่เกลียให้คคู่ วามตกลงหรื อประนีประนอมยอมความกันก่อน
ถ้าตกลงกันไม่ได้และจําเลยยังไม่ได้ยืนคําให้การ ให้ศาลสอบถามคําให้การของจําเลย โดยจําเลยจะยืน
คําให้การเป็ นหนังสือหรื อ
ด้วยวาจาก็ได้
ถ้าจําเลยไม่ให้การ ให้ดาํ เนินกระบวนพิจารณาต่อ โดยถือว่าจําเลยขาดนัดยืนคําให้การ
มาตรา 193 ทวิ ถ้าโจทก์ไม่มาศาลในวันนัดพิจารณา โดยไม่ได้ร้องขอเลือนคดีหรื อแจ้งเหตุทีไม่มาศาล ให้ศาล
สังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
ถ้าจําเลยไม่มาศาลในวันนัดพิจารณา โดยไม่ได้ร้องขอเลือนคดีหรื อแจ้งเหตุทีไม่มาศาล ให้ถือว่าจําเลยขาดนัด
พิจารณา และถ้า
จําเลยยังไม่ได้ยืนคําให้การด้วย ก็ให้ถือขาดนัดยืนคําให้การด้วย
มาตรา 193 ตรี เมือศาลได้รับคําให้การ หรื อจําเลยเป็ นผูข้ าดนัดยืนคําให้การ ให้ศาลดําเนินการพิจารณาคดี
โดยเร็ ว โดยกําหนดให้ฝ่ายใดนําสื บพยาน
ก่อนหรื อหลังก็ได้ และให้ศาลสอบถามฝ่ ายทีต้องนําพยานเข้าสืบว่าจะอ้างอิงพยานหลักฐานใดบ้าง แล้วบันทึก
ไว้ หรื อสังให้คคู่ วามทํา
บัญชีระบุพยานยืนภายในเวลาทีเห็นสมควร
มาตรา193จัตวา ศาลมีอาํ นาจเรี ยกพยานหลักฐานมาสืบได้เองตามทีเห็นสมควร
ให้ศาลเป็ นผูซ้ กั ถามพยานก่อน แล้วจึงให้ตวั ความหรื อทนายซักถามเพิมเติมได้
ศาลมีอาํ นาจซักถามพยานเกียวกับข้อเท็จจริ งใด ๆ แม้ไม่มีฝ่ายใดยกขึนอ้างก็ตาม
ศาลจะบันทึกคําเบิกความของพยานโดยย่อก็ได้ แล้วให้พยานลงลายมือชือไว้
มาตรา193เบญจ ให้ศาลนังพิจารณาคดีติดต่อกันโดยไม่ตอ้ งเลือน เว้นมีเหตุจาํ เป็ น ให้เลือนได้ครังละไม่เกิน 7
วัน
มาตรา 194 ศาลมีอาํ นาจออกคําสังหรื อคําพิพากษาด้วยวาจา

Sensitivity: Internal
มาตรา 195 นอกเหนือบทบัญญัติคดีมโนสาเร่ ให้นาํ บทบัญญัติในคดีสามัญมาใช้แก่การพิจารณาและชี ขาด
ตัดสิ นคดีมโนสาเร่ดว้ ย
- คดีไม่มีขอ้ ยุง่ ยาก
มาตรา 196 ในคดีสามัญซึงโจทก์ฟ้องขอให้ชาํ ระเงินจํานวนแน่นอนตามตัวเงิน หรื อตามสัญญาเป็ นหนังสือซึ ง
ปรากฏในเบืองต้นว่าเป็ นสัญญาอันแท้จริ ง มีความสมบูรณ์และบังคับได้ตามกฎหมาย โจทก์จะยืนคําขอต่อศาล
พร้อมคําฟ้องขอให้ศาลพิจารณาคดีนนโดยรวบรั ั ดก็ได้
ถ้าศาลเห็นว่าคดีนนเป็ ั นคดีไม่มีขอ้ ยุง่ ยาก ให้ศาลนําบทบัญญัติวิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่ มาใช้บงั คับ ( เว้นมาตรา
190 จัตวา การเรี ยกพยานหลักฐานมาสื บเอง และการซักถามพยาน ) ภายใต้บงั คับต่อไปนี
( 1 ) ให้ศาลออกหมายเรี ยกไปยังจําเลย แสดงจํานวนเงินทีเรี ยกร้องและเหตุแห่งการเรี ยกร้อง และให้จาํ เลยมา
ศาลและให้การใน
วันใด ๆ ตามเห็นสมควร
( 2 ) ถ้าจําเลยมาศาล ให้ศาลจดทําแถลงของจําเลยในรายงานพิสดาร ถ้าเห็นว่าจําเลยไม่มีเหตุผลต่อสู ค้ ดี ให้ศาล
พิจารณา
พิพากษาคดีโดยเร็ ว ถ้าจําเลยมีขอ้ ต่อสู้อนั ควร ให้ศาลดําเนินการพิจารณาโดยไม่ชกั ช้า และฟังพยานหลักฐาน
ทังสองฝ่ าย
ก่อนพิพากษา
( 3 ) ถ้าจําเลยไม่มาศาลตามกําหนดนัด ให้ศาลมีคาํ สังว่าจําเลยขาดนัดพิจารณา แล้วพิจารณาคดีไปฝ่ ายเดียว
และพิพากษา
โดยเร็ ว
ห้ามศาลอนุญาตคําขอของจําเลยเพือเลือนเวลายืนคําให้การหรื อเพือเลือนคดี เว้นมีเหตุผลดีและสันนิษฐานได้
ว่าจําเลยมีขอ้ ต่อสู้คดี หรื อเมือโดยพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ เป็ นการพ้นวิสัยทีจําเลยจะมาศาล
ภายในกําหนดได้
ถ้าระหว่างพิจารณา ปรากฏว่าคดีไม่ตกภายใต้บงั คับแห่ งมาตรานี ศาลอาจสังเพิกถอนคําสังเดิม แล้วดําเนิน
พิจารณาต่อไปตามข้อบังคับคดีสามัญได้
อธิ บาย - คดีสามัญตามมาตรา 196 ไม่คาํ นึงถึงจํานวนทุนทรัพย์ จะมีทุนทรัพย์มากน้อยเพียงใดก็ได้ แต่จะ
ถือเอาความยุง่ ยากหรื อไม่ เป็ น
ข้อสําคัญ โดยจะต้องปรากฏให้เป็ นทีพอใจแก่ศาลในเบืองต้นก่อนว่าเป็ นคดีไม่มีขอ้ ยุง่ ยาก ซึงมีหลักเกณฑ์ว่า
จะต้องเป็ นการฟ้อง
เพียงขอให้ชาํ ระเงิน ไม่ใช่การฟ้องเรี ยกร้องให้ชาํ ระหนีอย่างอืน และจํานวนเงินนันต้องแน่นอน
- ความหมายและประเภทของอนุญาโตตุลาการ
อนุญาโตตุลาการ หมายถึง บุคคลโดยจะเป็ นคนเดียวหรื อหลายคน ซึ งคู่กรณี หรื อบุคคลภายนอกซึ งคู่กรณี ตก
ลงกัน หรื อศาลพร้อมใจกันตังขึน เพือเป็ นผูช้ ีขาดข้อพิพาทในคดีแพ่ง
* การตังอนุญาโตตุลาการเป็ นนิติกรรมอย่างหนึ ง
* การตังอนุญาโตตุลาการ มี 2 ประเภท คือ
1.อนุญาโตตุลาการทีคู่พิพาทตกลงตังกันเมือกําลังมีคดีอยูใ่ นศาล และได้รับอนุญาตจากศาล เรี ยกว่า
อนุญาโตตุลาการโดยศาลรับรู ้

Sensitivity: Internal
2.อนุญาโตตุลาการทีคู่พิพาทตกลงตังกันเอง โดยศาลไม่ได้เข้ามาเกียวข้องรับรู ้ดว้ ย เป็ นเรื องทีคู่พพิ าทพิจารณา
ตังกันเอง ( ไม่ว่าคดีอยูใ่ นศาลหรื อ
ไม่ก็ตาม )
* การตังอนุญาโตตุลาการ โดยได้รับอนุญาตจากศาล เรี ยกว่า อนุญาโตตุลาการในศาล
- การตังอนุญาโตตุลาการในศาล
1.การตกลงกันเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชีขาด
มาตรา 210 บรรดาคดีทงปวง ั คูค่ วามจะตกลงเสนอข้อพิพาทอันเกียวแก่ประเด็น ( ทังหมดหรื อข้อใดข้อหนึง )
ให้อนุญาโตตุลาการเป็ นผูช้ ีขาดก็
ได้ โดยยืนคําขอร่ วมกันต่อศาล
ถ้าข้อตกลงนันไม่ผดิ กฎหมาย ให้ศาลอนุญาต
2.ข้อบังคับในการตังอนุญาโตตุลาการ
มาตรา 211 ถ้าไม่มีขอ้ ตกลงเป็ นอืน การตังอนุญาโตตุลาการ ใช้ขอ้ บังคับต่อไปนี
( 1 ) คู่ความสามารถตังอนุญาโตตุลาการได้ฝ่ายละคน
( 2 ) การตังให้ทาํ เป็ นหนังสือ ลงวัน เดือน ปี และให้ลงลายมือชื อไว้เป็ นสําคัญ
( 3 ) ถ้าตกลงให้คู่ความฝ่ ายหนึง หรื อบุคคลภายนอกเป็ นผูต้ งั การตังให้ทาํ เป็ นหนังสือ ลงวัน เดือน ปี และให้
ลงลายมือชือ
ของคูค่ วามหรื อบุคคลภายนอกนัน แล้วส่ งให้คู่ความอืน ๆ
( 4 ) ถ้าศาลไม่เห็นชอบด้วยกับบุคคลทีคูค่ วามตัง หรื อทีเสนอตังเป็ นอนุญาโตตุลาการ ให้ศาลสังให้คคู่ วามตัง
บุคคลอืน หรื อ
เสนอบุคคลอืนตังเป็ นอนุญาโตตุลาการ ถ้าคู่ความไม่ได้ตงหรื ั อเสนอให้ตงบุ ั คคลใดเป็ นอนุญาโตตุลาการ ให้
ศาลมี
อํานาจตังอนุญาโตตุลาการได้ตามเห็นสมควร
3.การถอนการตังและการคัดค้านอนุญาโตตุลาการ
มาตรา 213 เมือบุคคลหรื อคูค่ วามทีมีสิทธิ ได้ตงอนุ
ั ญาโตตุลาการขึนแล้ว ห้ามผูน้ นถอนการตั
ั งเสี ย เว้นคู่ความ
อีกฝ่ ายหนึงจะยินยอมด้วย
ถ้าศาลหรื อบุคคลภายนอกเป็ นผูต้ งั คู่ความสามารถคัดค้านได้ ถ้าเป็ นกรณี คู่ความฝ่ ายหนึงเป็ นผูต้ งั คูค่ วามอีก
ฝ่ ายหนึงจะคัด
ค้านก็ได้ โดยอาศัยเหตุแห่งการคัดค้านตามมาตรา 11 หรื อเหตุทีอนุญาโตตุลาการเป็ นผูไ้ ร้ความสามารถ
หรื อไม่สามารถทําหน้าที
อนุญาโตตุลาการได้ ถ้ามีการคัดค้านให้นาํ บทบัญญัติการคัดค้านผูพ้ ิพากษามาใช้
ถ้าการคัดค้านฟังขึน ให้ตงอนุ ั ญาโตตุลาการขึนใหม่
- การชีขาดของอนุญาโตตุลาการ
1.การกําหนดประเด็นข้อพิพาท
มาตรา 215 ถ้าในข้อตกลงหรื อคําสังศาล ( แล้วแต่กรณี ) ไม่ได้กาํ หนดประเด็นข้อพิพาทไว้ ให้
อนุญาโตตุลาการกําหนดประเด็นข้อพิพาท แล้ว
จดลงในรายงานพิสดารกลัดไว้ในสํานวนคดีอนุญาโตตุลาการ

Sensitivity: Internal
2.การทําคําชีขาด
มาตรา 216 ก่อนทําคําชีขาด ให้อนุญาโตตุลาการฟังคู่ความ และอาจทําการไต่สวนในข้อพิพาทตามเห็นสมควร
อนุญาโตตุลาการอาจตรวจเอกสารทียืนขึนมา และฟังพยานหรื อผูเ้ ชียวชาญทีเต็มใจมาให้การ ถ้า
อนุญาโตตุลาการขอให้ศาล
ส่ งคําคู่ความหรื อเอกสารอืน ๆ มาให้ตรวจดู ให้ศาลจัดการตามคําร้องขอนัน
ถ้าต้องดําเนินกระบวนพิจารณาทางศาล อนุญาโตตุลาการอาจยืนคําขอโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาล ให้ศาลดําเนิน
กระบวน
พิจารณานัน แล้วให้ศาลจัดการตามคําขอ โดยเรี ยกค่าธรรมเนียมศาลตามอัตราทีกําหนด
มาตรา 217 ถ้าข้อตกลงไม่ได้กาํ หนดเป็ นอย่างอืน อนุญาโตตุลาการอยู่ภายใต้บงั คับต่อไปนี
( 1 ) ถ้ามีอนุญาโตตุลาการหลายคน ให้ชีขาดตามคะแนนเสี ยงฝ่ ายข้างมาก
( 2 ) ถ้าคะแนนเสี ยงเท่ากัน ให้อนุญาโตตุลาการตังบุคคลภายนอกเป็ นประธาน 1 คน เพืออกเสี ยงชีขาด ถ้า
อนุญาโตตุลาการไม่ตกลงกันตังประธาน ให้ยืนคําขอต่อศาลให้มีคาํ สังตังประธาน
3.ค่าธรรมเนียมอนุญาโตตุลาการ
มาตรา 214 ถ้าในข้อตกลงไม่ได้กาํ หนดค่าธรรมเนียมอนุญาโตตุลาการ อนุญาโตตุลาการสามารถเสนอเรื องนี
ต่อศาลได้ และให้ศาลมีอาํ นาจมี
คําสังให้ชาํ ระค่าธรรมเนียมตามทีเห็นสมควร
- ความสิ นสุ ดของข้อตกลงตังอนุญาโตตุลาการ
มาตรา 219 ถ้าข้อตกลงไม่ได้กาํ หนดเป็ นอย่างอืน ในกรณี บุคคลภายนอก ( ซึงได้รับมอบหมายให้ตงั
อนุญาโตตุลาการ ) ไม่ได้ตงอนุ
ั ญาโตตุลาการ
หรื ออนุญาโตตุลาการปฏิเสธไม่รับหน้าที หรื ออนุญาโตตุลาการไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าทีได้ก่อนให้คาํ ชีขาด
หรื ออนุญาโตตุลาการ
เพิกเฉยไม่ทาํ หน้าทีในเวลาอันสมควร ถ้าคู่ความไม่สามารถตกลงกันได้ ให้ถือว่าข้อตกลงนันเป็ นอันสิ นสุ ด
- การตังอนุญาโตตุลาการนอกศาล และการอุทธรณ์คาํ สังหรื อคําพิพากษาของศาล
1.การตังอนุญาโตตุลาการนอกศาล
มาตรา 221 การเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชีขาดนอกศาล ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วย
อนุญาโตตุลาการ
2.การอุทธรณ์คาํ สังหรื อคําพิพากษาของศาล
มาตรา 222 ห้ามอุทธรณ์คาํ สังศาลซึงปฏิเสธไม่ยอมพิพากษาตามคําชีขาดของอนุญาโตตุลาการ หรื อคํา
พิพากษาของศาลตามคําชีขาดของ
อนุญาโตตุลาการ เว้น
( 1 ) อนุญาโตตุลาการหรื อประธานไม่กระทําการโดยสุจริ ต หรื อคูค่ วามฝ่ ายหนึ งใช้กลฉ้อฉล
( 2 ) คําสังหรื อคําพิพากษานัน ฝ่ าฝื นบทกฎหมายในเรื องความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน
( 3 ) คําพิพากษาไม่ตรงกับคําชีขาดของอนุญาโตตุลาการ

หน่วยที 4 การพิจารณาโดยการขาดนัด

Sensitivity: Internal
- เมือจําเลยได้รับหมายเรี ยกให้ยนคํื าให้การหรื อเมือโจทก์ถูกฟ้องแย้งแล้ว จําเลยหรื อโจทก์ไม่ได้ยนคํ
ื าให้การ
หรื อคําให้การแก้ฟ้องแย้งภายในระยะเวลาที
กําหนดไว้ ทังไม่ได้แจ้งเหตุขดั ข้องต่อศาลภายในกําหนดเวลาเช่นว่านัน ให้ถือว่าจําเลยหรื อโจทก์ขาดนัดยืน
คําให้การ
- ถ้าจําเลยขาดนัดยืนคําให้การ ให้โจทก์มีคาํ ขอต่อศาลภายใน 15 วัน นับแต่ระยะเวลาทีกําหนดให้จาํ เลยยืน
คําให้การสิ นสุดลง เพือให้ศาลมีคาํ สังว่า
จําเลยขาดนัด คําขอเข่นว่านีให้ถือว่าโจทก์ประสงค์จะดําเนินคดีตอ่ ไป ถ้าโจทก์ไม่ยืน ให้ศาลมีคาํ สังจําหน่าย
คดี
- ถ้าจําเลยมาศาลเมือเริ มต้นสื บพยานหรื อแจ้งให้ศาลทราบก่อนเริ มสื บพยานถึงเหตุทีตนมิได้ยืนคําให้การ และ
ศาลเห็นว่าการขาดนัดมิได้เป็ นไปโดยจงใจ
หรื อมีเหตุสมควรประการอืน ให้ศาลอนุญาตให้จาํ เลยยืนคําให้การภายในกําหนดเวลาตามทีศาลจะเห็นสมควร
- ถ้าศาลเห็นว่าการขาดนัดเป็ นไปโดยจงใจหรื อไม่มีเหตุอนั ควร ให้ศาลมีคาํ สังให้ดาํ เนินคดีต่อไปโดยไม่
อนุญาตให้จาํ เลยยืนคําให้การ แต่จาํ เลยอาจสาบาน
ตนให้การเป็ นพยานเองและถามค้านพยานโจทก์ได้ แต่จะเรี ยกพยานของตนเข้าสืบไม่ได้
- ถ้าคู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึงไม่มาศาลในวันสื บพยาน และไม่ได้ร้องขอเลือนคดีหรื อแจ้งเหตุขดั ข้องทีไม่มาศาล
ก่อนลงมือสื บพยาน ให้ถือว่าคูค่ วามฝ่ ายนัน
ขาดนัดพิจารณา
- ถ้าคู่ความทังสองฝ่ ายขาดนัดพิจารณา ให้ศาลมีคาํ สังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ แต่ไม่ตดั สิ ทธิโจทก์ที
จะเสนอคําฟ้องของตนใหม่ภายในอายุความ
- ถ้าโจทก์ขาดนัดพิจารณา ให้ศาลมีคาํ สังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ เว้นแต่จาํ เลยจะได้แจ้งต่อศาลว่าตน
ตังใจจะให้ดาํ เนินการพิจารณาคดีต่อไป
จึงให้ศาลมีคาํ สังแสดงว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณา แล้วพิจารณาชีขาดตัดสิ นคดีไปฝ่ ายเดียว
- คู่ความฝ่ ายใดฝ่ ายหนึงจะร้องต่อศาลให้วนิ ิจฉัยชีขาดคดีให้ตนชนะโดยอาศัยเหตุแต่เพียงว่าคูค่ วามอีกฝ่ ายขาด
นัดไม่มาศาลไม่ได้ ศาลจะต้องวินิจฉัยชี
ขาดคดีให้คคู่ วามทีมาศาลเป็ นฝ่ ายชนะก็ต่อเมือศาลเห็นว่าข้ออ้างของคู่ความเช่นว่านันมีมูลและไม่ขดั ต่อ
กฎหมาย ศาลอาจสืบพยานตามทีจําเป็ นอัน
เกียวกับข้ออ้างของคูค่ วามนัน
- ในระหว่างพิจารณาคดีไปฝ่ ายเดียว ถ้าคู่ความฝ่ ายทีขาดนัดมาศาลภายหลังทีได้เริ มต้นสื บพยานไปบ้างแล้ว
และศาลเห็นว่าการขาดนัดนันไม่ได้เป็ นไป
โดยจงใจหรื อมีเหตุอนั ควร ให้ศาลมีคาํ สังให้พิจารณาคดีใหม่ แต่ถา้ เห็นว่าการขาดนัดนันเป็ นไปโดยจงใจ
หรื อไม่มีเหตุอนั ควร ก็ให้ดาํ เนินกระบวน
พิจารณาต่อไป โดยคูค่ วามฝ่ ายทีขาดนัดนันไม่มีสิทธิบางประการตามทีระบุไว้ในกฎหมาย
- คู่ความฝ่ ายใดซึงศาลแสดงว่าขาดนัดพิจารณาและมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังให้แพ้คดีในประเด็นทีพิพาท
คู่ความฝ่ ายนันอาจมีคาํ ขอให้มีการพิจารณาใหม่
ซึงมีขอ้ ยกเว้นบางประการ
- การยืนคําขอให้พิจารณาคดีใหม่ ให้ยืนภายในระยะเวลาตามทีกฎหมายบัญญัติไว้ คําขอจะต้องกล่าวโดย

Sensitivity: Internal
ละเอียดชัดแจ้งซึงเหตุทีคูค่ วามได้ขาดนัดและ
ขอคัดค้านคําตัดสิ นชีขาดของศาล และในกรณีทียืนคําขอล่าช้า ต้องแสดงเหตุแห่งการล่าช้านันด้วย
- ถ้าศาลเห็นว่าคําขอพิจารณาใหม่นนถูั กต้อง และมีเหตุสมควรเชือได้ว่าคู่ความฝ่ ายทีขาดนัดนันมาศาลไม่ได้
ให้ศาลมีคาํ สังอนุญาตตามคําขอ ให้งดการ
บังคับคดี และให้ถือว่าคําพิพากษาหรื อคําสังศาลและวิธีการบังคับคดีเป็ นอันเพิกถอนไปในตัว

รายละเอียดทัวไป

- ลักษณะของการขาดนัดยืนคําให้การ
มาตรา 197 จําเลยไม่ยืนคําให้การภายในเวลาทีกําหนดตามกฎหมายหรื อตามคําสังศาล ถือว่าจําเลยขาดนัดยืน
คําให้การ
- กระบวนพิจารณาหลังจําเลยขาดนัดยืนคําให้การ
มาตรา 198 เมือจําเลยขาดนัดยืนคําให้การ ให้โจทก์มีคาํ ขอต่อศาลภายใน 15 วันนับแต่ระยะเวลาทีกําหนดให้
จําเลยยืนคําให้การได้สินสุ ดลง เพือ
ให้ศาลมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังชีขาดให้ตนชนะคดีโดยขาด
ถ้าโจทก์ไม่ยนคํ
ื าขอต่อศาลภายในกําหนดดังกล่าว ให้ศาลสังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
ถ้าโจทก์ยนคํ
ื าขอต่อศาลภายในกําหนดดังกล่าว ให้ศาลพิพากษาหรื อชีขาดคดีไปโดยขาดนัด ( มาตรา 198 ทวิ )
มาตรา 198 ทวิ ศาลจะพิพากษาหรื อชีขาดคดีให้โจทก์เป็ นฝ่ ายชนะคดีโดยจําเลยขาดนัดยืนคําให้การไม่ได้ เว้น
แต่คาํ ฟ้องของโจทก์มีมูลและไม่ขดั ต่อ
กฎหมาย
ศาลอาจสื บพยานหลักฐานเกียวกับข้ออ้างของโจทก์ไปฝ่ ายเดียวตามทีเห็นว่าจําเป็ นก็ได้ แต่คดีสิทธิสภาพ
บุคคล สิ ทธิในครอบครัว
หรื อคดีทีพิพาทในเรื องกรรมสิทธิ ในอสังหาริ มทรัพย์ ให้ศาลสื บพยานหลักฐานโจทก์ไปฝ่ ายเดียว และอาจ
เรี ยกพยานหลักฐานอืนมาสืบ
ได้เองเพือประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ในการกําหนดจํานวนเงินตามคําขอบังคับของโจทก์ ให้ศาลปฏิบตั ิดงั นี
( 1 ) กรณี ของบังคับให้จาํ เลยชําระเงินเป็ นจํานวนเงินทีแน่นอน ให้ศาลสังให้โจทก์ส่งพยานเอกสารทีจําเป็ น
แทนการสื บ
พยาน
( 2 ) กรณี ของบังคับให้จาํ เลยชําระเงินเป็ นจํานวนเงินทีไม่แน่นอน ให้ศาลสืบพยานหลักฐานโจทก์ไปฝ่ ายเดียว
และเรี ยก
พยานหลักฐานอืนมาสื บได้เองตามทีเห็นว่าจําเป็ น
ถ้าจําเลยทีขาดนัดยืนคําให้การไม่มาศาลในวันสื บพยานตามมาตรานี ไม่ถือว่าจําเลยขาดนัดพิจารณา
ถ้าโจทก์ไม่นาํ พยานหลักฐานมาสืบตามมาตรานีภายในเวลาทีกําหนด ให้ศาลยกฟ้องของโจทก์
มาตรา 198 ตรี คดีทีจําเลยบางคนขาดนัดยืนคําให้การ ให้ศาลพิพากษาชีขาดคดีโดยขาดนัดยืนคําให้การไป
ก่อน และดําเนินการพิจารณาคดีระหว่าง

Sensitivity: Internal
โจทก์กบั จําเลยทียืนคําให้การต่อไป แต่ถา้ เป็ นการชําระหนีซึงแบ่งแยกจากกันไม่ได้ ให้ศาลรอการพิพากษาชี
ขาดคดีโดยขาดนัดยืนคําให้
การไว้ก่อน เมือดําเนินการพิจารณาคดีระหว่างโจทก์กบั จําเลยทียืนคําให้การเสร็จสิ นแล้ว ก็ให้ศาลพิพากษาชี
ขาดไปตามรู ปคดีสาํ หรับ
จําเลยทุกคน
ถ้าจําเลยทีขาดนัดยืนคําให้การไม่มาศาลในวันสื บพยานของคูค่ วามอืน ไม่ถือว่าขาดนัดพิจารณา
มาตรา 199 ถ้าจําเลยทีขาดนัดยืนคําให้การมาศาลก่อนศาลชีขาดคดี และแจ้งต่อศาลในโอกาสแรกว่าจะต่อสู ้คดี
ถ้าการขาดนัดนันไม่เป็ นไปโดยจง
ใจ หรื อมีเหตุอนั ควร ให้ศาลอนุญาตให้จาํ เลยยืนคําให้การภายในกําหนดเวลาทีเห็นสมควร และดําเนิน
กระบวนพิจารณาใหม่ตงแต่ ั
เวลาทีจําเลยขาดนัดยืนคําให้การ
แต่ถา้ จําเลยทีขาดนัดยืนคําให้การไม่แจ้งต่อศาล หรื อการขาดนัดนันเป็ นไปโดยจงใจ หรื อไม่มีเหตุอนั ควร ให้
ศาลดําเนินกระบวน
พิจารณาต่อไป โดยจําเลยถามค้านพยานโจทก์ได้แต่จะนําสื บพยานหลักฐานของตนไม่ได้
ถ้าจําเลยไม่ยืนคําให้การภายในกําหนดตามวรรคหนึง หรื อศาลไม่อนุญาตให้จาํ เลยยืนคําให้การตามวรรคสอง
หรื อศาลเคยมีคาํ สัง
ให้พิจารณาคดีใหม่มาแล้ว จําเลยจะขอยืนคําให้การตามมาตรานีอีกหรื อจะขอให้พิจารณาคดีใหม่ไม่ได้
มาตรา 199 ทวิ เมือศาลพิพากษาให้จาํ เลยทีขาดนัดยืนคําให้การแพ้คดี ศาลอาจกําหนดการเพือส่งคําบังคับตาม
คําพิพากษาหรื อคําสังให้แก่จาํ เลยตาม
ทีเห็นสมควร หรื อจะเลือนการบังคับตามคําพิพากษาหรื อคําสังนันไปตามระยะเวลาทีเห็นสมควรก็ได้
มาตรา 199 ตรี จําเลยซึงศาลพิพากษาหรื อคําสังชีขาดให้แพ้คดีโดยขาดนัดยืนคําให้การ ถ้าไม่ได้ยนอุ
ื ทธรณ์คาํ
พิพากษาหรื อคําสังนัน จําเลยขอให้
พิจารณาคดีใหม่ได้ เว้น
( 1 ) ศาลเคยสังให้พจิ ารณาคดีนนใหม่
ั มาครังหนึงแล้ว
( 2 ) คําขอให้พจิ ารณาคดีใหม่นนั ต้องห้ามตามกฎหมาย
มาตรา199จัตวา คําขอให้พิจารณาคดีใหม่ ให้ยืนต่อศาลภายใน 15 วันนับแต่วนั ส่งคําบังคับตามคําพิพากษา
หรื อคําสัง ถ้าศาลอาจกําหนดการอย่างใด ๆ
เพือส่งคําบังคับเช่นว่านี จะต้องมีการปฏิบตั ิตามข้อกําหนดนันแล้ว ถ้าจําเลยไม่สามารถยืนคําขอภายในเวลาที
กําหนด ( 15 วัน ) โดย
พฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ ให้จาํ เลยยืนคําขอให้พิจารณาคดีใหม่ได้ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที
พฤติการณ์นนได้ั สินสุดลง ไม่ว่า
กรณีใด ๆ ห้ามยืนคําขอเมือพ้นกําหนด 6 เดือนนับแต่วนั ทีได้ยึดทรัพย์หรื อได้มีการบังคับตามคําพิพากษาหรื อ
คําสังโดยวิธีอืน
ให้กล่าวโดยชัดแจ้งซึ งเหตุทีจําเลยขาดนัดยืนคําให้การ และข้อคัดค้านคําตัดสินชีขาดของศาล ทีแสดงให้เห็น
ว่าหากศาลพิจารณา
ใหม่ตนอาจชนะ ถ้ายืนคําขอล่าช้าให้แสดงเหตุแห่งการล่าช้าด้วย

Sensitivity: Internal
มาตรา199เบญจ เมือศาลได้รับคําขอให้พจิ ารณาคดีใหม่แล้ว ศาลจะสังงดการบังคับคดีไว้ก่อนก็ได้
การพิจารณาคําขอให้พจิ ารณาคดีใหม่ ถ้ามีเหตุควรเชือว่าการขาดนัดนันไม่ได้เป็ นไปโดยจงใจหรื อมีเหตุอนั
ควร และผูข้ ออาจชนะ
คดีได้ ให้ศาลสังอนุญาตตามคําขอ แต่ถา้ มีการอุทธรณ์หรื อฎีกา ให้ศาลแจ้งคําสังอนุญาตนันให้ศาลอุทธรณ์
หรื อฎีกา ( แล้วแต่กรณี )
ทราบด้วย
เมือศาลสังอนุญาต คําพิพากษาหรื อคําสังของศาล คําพิพากษาหรื อคําสังอืน ๆ ของศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกาใน
คดีเดียวกัน และ
วิธีการบังคับคดีทีได้ดาํ เนินไปแล้ว ให้เพิกถอนไปในตัว แต่ถา้ พ้นวิสัยทีจะให้คคู่ วามกลับสู่ฐานะเดิมเหมือน
เช่นก่อนบังคับคดี หรื อเมือ
ศาลเห็นว่าไม่จาํ เป็ นต้องบังคับเช่นนัน ให้ศาลมีอาํ นาจสังอย่างใด ๆ ตามเห็นสมควร
คําสังศาลทีอนุญาตให้พจิ ารณาคดีใหม่ให้เป็ นทีสุ ด แต่ถา้ ศาลสังไม่อนุญาต ผูข้ ออุทธรณ์คาํ สังดังกล่าวได้ คํา
พิพากษาของศาล
อุทธรณ์ให้เป็ นทีสุ ด
ถ้าจําเลยขาดนัดยืนคําให้การโดยจงใจหรื อไม่มีเหตุอนั ควร เป็ นเหตุให้อีกฝ่ ายเสี ยค่าฤชาธรรมเนียมมากกว่าที
ควรเสีย ค่าฤชาธรรม
เนียมทีเพิมขึน ให้ถือเป็ นค่าฤชาธรรมเนียมอันไม่จาํ เป็ น ( มาตรา 166 )
มาตรา 199 ฉ กรณีโจทก์ไม่ได้ให้การแก้ฟ้องแย้งของจําเลยภายในเวลาทีกําหนด ให้นาํ บทบัญญัติส่วนที 1 (
มาตรา 197 - 199 ฉ ) มาใช้บงั คับ
- ลักษณะของการขาดนัดพิจารณา
มาตรา 200 ถ้าคูค่ วามไม่มาศาลในวันสื บพยาน และไม่ได้รับอนุญาตจากศาลให้เลือนคดี ให้ถือว่าขาดนัด
พิจารณา
ถ้าคู่ความไม่มาศาลในวันอืนทีไม่ใช่วนั สืบพยาน ให้ถือว่าคู่ความนันสละสิ ทธิการดําเนินกระบวนพิจารณา
และทราบกระบวน
พิจารณาทีได้ดาํ เนินไปในนัดนันแล้ว
- กระบวนพิจารณาหลังการขาดนัดพิจารณา
มาตรา 201 ถ้าคูค่ วามทังสองฝ่ ายขาดนัดพิจารณา ให้ศาลจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
มาตรา 202 ถ้าโจทก์ขาดนัดพิจารณา ให้ศาลจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ เว้นแต่จาํ เลยแจ้งในวันสื บพยาน
ขอดําเนินกระบวนพิจารณาต่อ ก็
ให้ศาลพิจารณาและชีขาดตัดสินคดีไปฝ่ ายเดียว
มาตรา 203 ห้ามโจทก์อทุ ธรณ์คาํ สังจําหน่ายคดีในมาตรา 201 , 202
มาตรา 204 ถ้าจําเลยขาดนัดพิจารณา ให้ศาลพิจารณาและชีขาดตัดสิ นคดีไปฝ่ ายเดียว
มาตรา 205 ถ้ายังไม่เป็ นทีพอใจแก่ศาลว่าได้ส่งหมายกําหนดวันนัดสืบพยานให้คู่ความทีขาดนัดโดยชอบแล้ว
ให้ศาลเลือนวันสื บพยานไป และ
กําหนดวิธีการตามทีเห็นสมควรเพือส่งหมายกําหนดวันนัดสืบพยานให้ฝ่ายทีขาดนัด ถ้ายังไม่มาศาล ให้ใช้
มาตรา 202 , 204 ( แล้วแต่

Sensitivity: Internal
กรณี )
- การพิจารณาคดีใหม่ก่อนศาลพิพากษา
มาตรา 206 คูค่ วามจะร้องขอให้ศาลชีขาดให้ตนชนะโดยอาศัยเหตุอีกฝ่ ายขาดนัดพิจารณาไม่ได้ ให้ศาลชีขาด
ให้คคู่ วามฝ่ ายทีมาศาลชนะ ต่อเมือ
ข้ออ้างมีมูลและไม่ขดั ต่อกฎหมาย
ในระหว่างพิจารณาคดีฝ่ายเดียว ถ้าคู่ความทีขาดนัดพิจารณามาศาลภายหลังทีเริ มต้นสื บพยานไปบ้างแล้ว และ
แจ้งต่อศาลใน
โอกาสแรกว่าจะดําเนินคดี ถ้าการขาดนัดพิจารณานันไม่ได้เป็ นไปโดยจงใจหรื อมีเหตุอนั ควรและศาลไม่เคย
สังให้พิจารณาคดีใหม่ตาม
คําขอของคู่ความฝ่ ายนันมาก่อน ให้ศาลสังให้พิจารณาคดีใหม่ ถ้าขาดนัดพิจารณาอีก จะขอให้พิจารณาคดีใหม่
ตามมาตรานีไม่ได้
ถ้าคู่ความฝ่ ายทีขาดนัดพิจารณาไม่แจ้งต่อศาลว่าจะดําเนินคดี หรื อการขาดนัดพิจารณานันเป็ นไปโดยจงใจ
หรื อไม่มีเหตุอนั ควร
หรื อคําขอให้พจิ ารณาคดีตอ้ งห้ามตามกฎหมาย ให้ศาลดําเนินกระบวนพิจารณาต่อไป แต่
( 1 ) ถ้ามาศาลเมือพ้นเวลาทีจะนําพยานตนเข้าสืบ ห้ามศาลอนุญาตให้คคู่ วามทีขาดนัดพิจารณานําพยานเข้าสื บ
( 2 ) ถ้ามาศาลเมืออีกฝ่ ายได้นาํ พยานหลักฐานเข้าสืบไปแล้ว ห้ามคู่ความทีขาดนัดพิจารณาคัดค้าน
พยานหลักฐานเช่นว่านัน แต่
ถ้านําพยานหลักฐานเข้าสื บยังไม่บริ บูรณ์ ให้หักล้างได้เฉพาะพยานหลักฐานทีนําสื บภายหลังทีตนมาศาล
( 3 ) ในกรณีเช่นนี คู่ความทีขาดนัดพิจารณาไม่มีสิทธิร้องขอให้พจิ ารณาคดีใหม่
- การพิจารณาคดีใหม่เมือแพ้คดีในประเด็นทีพิพาท
มาตรา 207 เมือศาลพิพากษาให้คคู่ วามฝ่ ายทีขาดนัดพิจารณาแพ้คดี ให้นาํ มาตรา 199 ทวิ มาใช้บงั คับ และคู่
ความสามารถขอให้พิจารณาคดีใหม่
ได้ ให้นาํ มาตรา 199 ตรี , 199 จัตวา , 199 เบญจ มาใช้บงั คับ

หน่วยที 5 อุทธรณ์และฎีกา

- คู่ความหรื อผูม้ ีส่วนได้เสียสามารถอุทธรณ์โต้แย้งคําพิพากษาหรื อคําสังศาลชันต้นได้เสมอ เว้นแต่จะมี


กฎหมายบัญญัติให้คาํ พิพากษาหรื อคําสังนันเป็ นที
สุ ด หรื อวางข้อจํากัดในการอุทธรณ์ไว้
- ประเด็นทีจะยกขึนอุทธรณ์ได้นนั โดยปกติจะต้องเป็ นเรื องทีว่ากล่าวกันมาแล้วในศาลชันต้น
- ข้อจํากัดการอุทธรณ์ทีสําคัญในลักษณะอุทธรณ์ คือ ห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริ งในคดีทีมีทุนทรัพย์ไม่
เกิน 5 หมืนบาท
- หลักการห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริ ง ไม่ใช้บงั คับในคดีฟ้องขอให้ปลดเปลืองทุกข์อนั ไม่อาจคํานวนเป็ น
ราคาเงินได้ คดีเกียวกับสิ ทธิ ในสภาพบุคคล
และสิทธิในครอบครัว และคดีเกียวกับอสังหาริ มทรัพย์
- คู่ความจะอุทธรณ์คาํ สังศาลในระหว่างพิจารณาไม่ได้ ต้องโต้แย้งคําสังไว้ แล้วอุทธรณ์เมือศาลพิพากษาหรื อมี

Sensitivity: Internal
คําสังชีขาดคดีแล้ว
- การยืนและตรวจรับอุทธรณ์เป็ นอํานาจของศาลชันต้น ถ้าศาลชันต้นไม่รับอุทธรณ์ ผูอ้ ุทธรณ์สามารถอุทธรณ์
ไปยังศาลอุทธรณ์ได้
- เนืองจากการอุทธรณ์ไม่เป็ นเหตุให้ศาลงดการบังคับคดี ดังนันหากผูอ้ ุทธรณ์ซึงจะต้องถูกบังคับคดีตอ้ งการ
ให้ศาลงดการบังคับคดีไว้ก่อน ก็ตอ้ งร้องขอ
ทุเลาการบังคับมาต่างหาก
- ศาลอุทธรณ์จะพิจารณาคดีจากอุทธรณ์ คําแก้อุทธรณ์ และพยานหลักฐานในสํานวนของศาลชันต้น แล้ว
พิพากษาไปตามรู ปคดี
- การฎีกาคําพิพากษาหรื อคําสัง มีหลักเกณฑ์ในการยืน การตรวจรับ การพิจารณา และพิพากษา เช่นเดียวกับ
อุทธรณ์

รายละเอียดทัวไป

- การอุทธรณ์คาํ พิพากษาหรื อคําสัง


มาตรา 223 คําพิพากษาหรื อคําสังของศาลชันต้น ให้ยนอุ ื ทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ เว้นคําพิพากษาหรื อคําสังนัน
กฎหมายได้บญั ญัติว่าให้เป็ นทีสุ ด
อธิบาย - การอุทธรณ์คาํ พิพากษาหรื อคําสัง มีขอ้ ควรพิจารณาดังนี
1.บุคคลผูม้ ีส่วนได้เสี ยกับคําพิพากษาหรื อคําสังของศาลชันต้น ย่อมอุทธรณ์ได้
2.สําหรับคูค่ วามในคดี ย่อมมีสิทธิอทุ ธรณ์ได้เสมอ ( แม้จะเป็ นฝ่ ายชนะคดี )
3. การอุทธรณ์คาํ พิพากษาหรื อคําสังของศาลชันต้น ถือว่าเป็ นหลักทัวไปของวิธีพิจารณาความแพ่ง
4.ข้อจํากัดของการอุทธรณ์
- เมือมีกฎหมายบัญญัติว่าให้คาํ พิพากษาหรื อคําสังนันเป็ นทีสุด คูค่ วามจะอุทธรณ์คาํ พิพากษาหรื อคําสังนัน
ไม่ได้
- การอุทธรณ์ตอ้ งอยูภ่ ายใต้บงั คับของมาตรา 138 , 168 , 188 , 222 และมาตรา 224 - 246
5.การยืนอุทธรณ์ตอ้ งยืนทีศาลชันต้น ( ทีว่า ให้ยืนอุทธรณ์ต่อศาลอุทธรณ์ หมายความว่า อุทธรณ์นนให้ ั ยนื
เพือให้ศาลอุทธรณ์
พิจารณาพิพากษา แต่ไม่ใช่หมายความว่านําอุทธรณ์ไปยืนทีศาลอุทธรณ์จริ ง ๆ )
- เนือหาอุทธรณ์
มาตรา 225 ข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายทียกขึนอ้าง จะต้องกล่าวไว้โดยชัดแจ้ง และต้องเป็ นข้อทีได้ยกขึนว่า
มาแล้วในศาลชันต้น และต้องเป็ นสาระ
แก่คดีอนั ควรได้รับการวินิจฉัยด้วย
ถ้าคู่ความไม่ได้ยกปัญหาอันเกียวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชนขึนกล่าวในศาลชันต้น หรื อคูค่ วามไม่
สามารถยกปั ญหาข้อ
กฎหมายขึนกล่าวในศาลชันต้น เพราะพฤติการณ์ไม่เปิ ดช่องให้กระทําได้ หรื อเพราะเป็ นเรื องทีไม่ปฏิบตั ิตาม
บทบัญญัติกระบวน
พิจารณาชันอุทธรณ์ คู่ความทีเกียวข้องมีสิทธิ ยกขึนอ้างซึงปัญหาเช่นว่านันได้

Sensitivity: Internal
อธิบาย - ประเด็นทีอุทธรณ์ไม่ว่าจะเป็ นปัญหาข้อเท็จจริ งหรื อปัญหาข้อกฎหมาย จะต้องเป็ นข้อทีได้ยกขึนว่า
กันมาแล้วในศาลชันต้น
- ถ้าประเด็นทีอุทธรณ์เป็ นปัญหาเกียวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน แม้ไม่เคยโต้เถียงกันมาในศาล
ชันต้น ก็สามารถยกขึน
อุทธรณ์ได้ ซึงปัญหาเกียวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชน เช่น ปั ญหาว่ากฎหมายขัดรัฐธรรมนูญหรื อไม่
ปัญหาว่าโจทก์มี
อํานาจฟ้องหรื อไม่ ปัญหาว่าศาลดําเนินกระบวนพิจารณาถูกกฎหมายหรื อไม่ ปั ญหาว่าศาลมีอาํ นาจพิจารณา
พิพากษาคดีนนหรื ั อไม่
- ข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายทีคูค่ วามจะอุทธรณ์นนั ต้องกล่าวไว้ชดั แจ้งในอุทธรณ์
- ถ้าเป็ นการอุทธรณ์ขอ้ กฎหมาย ต้องเป็ นข้อกฎหมายทีเป็ นสาระสําคัญแก่คดีอนั ควรได้รับการวินิจฉัย ( ซึงถ้า
ศาลวินิจฉัยแล้ว จะ
ต้องเกิดผลอย่างใดอย่างหนึงต่อคดี ซึงจะทําให้คาํ พิพากษาของศาลชันต้นนันเปลียนแปลง )
- คดีทีต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริ ง และข้อยกเว้นการห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริ ง
มาตรา 224 ในคดีจาํ นวนทุนทรัพย์ทีพิพาทกันในชันอุทธรณ์ไม่เกิน 5 หมืนบาทหรื อไม่เกินจํานวนทีกําหนด
ในพระราชกฤษฎีกา ห้ามอุทธรณ์ในข้อ
เท็จจริ ง เว้นผูพ้ ิพากษาทีนังพิจารณาคดีในศาลชันต้นได้ทาํ ความเห็นแย้งไว้ หรื อได้รับรองว่ามีเหตุอนั ควร
อุทธรณ์ได้ หรื อได้รับอนุญาติ
ให้อทุ ธรณ์เป็ นหนังสื อจากอธิบดีผพู้ ิพากษาศาลชันต้นหรื ออธิบดีผพู ้ ิพากษาภาค ( แล้วแต่กรณี )
ในวรรคหนึง ไม่ใช้บงั คับในคดีสิทธิสภาพบุคคลหรื อสิทธิในครอบครัว และคดีฟ้องขอให้ปลดเปลืองทุกข์อนั
ไม่อาจคํานวนเป็ นราคา
เงินได้ เว้นแต่ในคดีฟ้องขับไล่ออกจากอสังหาริ มทรัพย์อนั มีค่าเช่าหรื ออาจให้ค่าเช่าได้ในขณะยืนคําฟ้องไม่
เกินเดือนละ 4 พันบาทหรื อ
ไม่เกินจํานวนทีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา
การขอให้ผพู ้ ิพากษาทีนังพิจารณาคดีในศาลชันต้นรับรองว่ามีเหตุอนั ควรอุทธรณ์ได้ ให้ยนคํ ื าร้องถึงผูพ้ ิพากษา
นันพร้อมกับคําฟ้อง
อุทธรณ์ต่อศาลชันต้น
อธิ บาย - หลักการห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริ ง
1.มาตรานีเป็ นบทห้ามอุทธรณ์เฉพาะในปัญหาข้อเท็จจริ ง
2.การห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริ งตามมาตรานี ใช้บงั คับทังกรณี อุทธรณ์คาํ พิพากษาและอุทธรณ์คาํ สัง
3.การคํานวนทุนทรัพย์เพือพิจารณาว่าเกิน 5 หมืนบาทหรื อไม่
- คดีทีมีทุนทรัพย์ไม่เกิน 5 หมืนบาท หมายถึง ทุนทรัพย์ทีพิพาทในศาลชันต้น ไม่ใช่ทนุ ทรัพย์ทีพิพาทในศาล
อุทธรณ์
- กรณี ทีคดีหลายเรื องได้พจิ ารณาพิพากษารวมกัน ต้องพิจารณาทุนทรัพย์เป็ นรายคดี ไม่นาํ ทุนทรัพย์ของทุกคดี
มารวมกัน
- ถ้าคดีมีโจทก์หลายคนรวมกันฟ้องมาเป็ นคดีเดียว และโจทก์แต่ละคนใช้สิทธิเฉพาะตัวฟ้อง ( สิ ทธิของโจทก์
แต่ละคนแบ่ง

Sensitivity: Internal
แยกกันได้ ) ถ้าโจทก์คนใดจะอุทธรณ์จะต้องพิจารณาทุนทรัพย์เฉพาะของโจทก์คนนัน
- ถ้าคดีมีโจทก์หลายคนรวมกันฟ้องมาเป็ นคดีเดียว และสิ ทธิ ของโจทก์แต่ละคนแบ่งแยกกันไม่ได้ ถ้าโจทก์คน
ใดจะอุทธรณ์
จะต้องคิดทุนทรัพย์รวมของโจทก์ทุกคน
- ถ้าคดีของโจทก์หลายคนรวมกันฟ้องจําเลยคนหนึงในคดีเดียวกัน และจําเลยเป็ นผูอ้ ุทธรณ์ การพิจารณาทุน
ทรัพย์ตอ้ ง
พิจารณาทุนทรัพย์รวมของโจทก์ทุกคน ไม่ว่าสิทธิเรี ยกร้องของโจทก์แต่ละคนนันจะแบ่งแยกกันได้หรื อไม่ก็
ตาม
- ถ้าฟ้องจําเลยหลายคนในสํานวนเดียว ต้องพิจารณาว่าจําเลยมีผลประโยชน์ร่วมกันหรื อไม่ ถ้ามีผลประโยชน์
ร่ วมกันในมูล
คดี ก็ตอ้ งคิดทุนทรัพย์รวมกัน แต่ถา้ ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลคดี ก็ตอ้ งคิดทุนทรัพย์ของจําเลยแต่ละคน
- การคํานวนทุนทรัพย์ ต้องเป็ นทุนทรัพย์ทีโจทก์และจําเลยขัดแย้งกันอยู่ ไม่ถือตามทีโจทก์เรี ยกมาเสมอไป
- คดีฟ้องขอให้ปลดเปลืองทุกข์อนั ไม่อาจคํานวนเป็ นราคาเงินได้ ( คดีไม่มีทุนทรัพย์ ) ได้แก่ คดีทีโจทก์ไม่ได้
กล่าวอ้างหรื อตังข้อเรี ยก
ร้องเป็ นจํานวนเงินหรื อส่งมอบทรัพย์สินใดเป็ นประโยชน์แก่โจทก์
- การฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรม ให้พิจารณาว่าผลของการเพิกถอนนิติกรรมจะทําให้โจทก์ได้กรรมสิ ทธิใน
ทรัพย์สินหรื อเงินบ้างหรื อ
ไม่ ถ้าโจทก์ได้กรรมสิทธิในทรัพย์สินหรื อเงิน ก็เป็ นคดีมีทุนทรัพย์
- คดีทีโจทก์ฟ้องเรี ยกคืนการครอบครองทรัพย์สิน ถ้าโจทก์เป็ นเจ้าของทรัพย์สินอยูแ่ ล้วเป็ นคดีไม่มีทุนทรัพย์
- การฟ้องขอให้โอนกรรมสิ ทธิในทรัพย์ตามสัญญาซื อขาย เป็ นคดีมีทุนทรัพย์
- การฟ้องขอให้นิติกรรมหรื อพินยั กรรมเป็ นโมฆะ ซึงผลแห่งคดีอาจทําให้โจทก์ได้มาซึ งเงินหรื อทรัพย์ เป็ น
คดีมีทนุ ทรัพย์
- คดีเกียวกับสิ ทธิ สภาพบุคคล หมายถึง สิ ทธิต่าง ๆ ทีเกียวกับสถานะและความสามารถของบุคคล ซึ งไม่
รวมถึงสิ ทธิในทรัพย์สิน
- สิ ทธิในครอบครัว หมายถึง สิทธิทีเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา หรื อบิดามารดา และบุตร
- การห้ามอุทธรณ์คาํ สังระหว่างพิจารณา
มาตรา 226 ก่อนศาลชันต้นชีขาดตัดสินคดี ถ้าศาลมีคาํ สังอย่างใดอย่างหนึง นอกจากทีระบุไว้ในมาตรา 227 ,
228
( 1 ) ห้ามอุทธรณ์คาํ สังนันในระหว่างพิจารณา
( 2 ) ถ้าคู่ความโต้แย้งคําสัง ให้ศาลจดข้อโต้แย้งลงในรายงาน คูค่ วามทีโต้แย้งสามารถอุทธรณ์คาํ สังนันได้
ภายใน 1 เดือนนับแต่
ศาลชีขาดตัดสิ นคดีนนั
- ข้อยกเว้นการอุทธรณ์คาํ สังระหว่างพิจารณา
มาตรา 227 คําสังศาลทีสังไม่รับหรื อให้คืนคําคูค่ วาม หรื อคําสังวินิจฉัยชีขาดเบืองต้น ( มาตรา 24 ) ไม่ถือว่า
เป็ นคําสังระหว่างพิจารณา และให้อยู่
ภายในข้อบังคับของการอุทธรณ์

Sensitivity: Internal
มาตรา 228 ก่อนศาลชีขาดตัดสินคดี ถ้าศาลมีคาํ สัง
( 1 ) ให้กกั ขัง หรื อปรับไหม หรื อจําขัง
( 2 ) คําสังเกียวกับคําขอเพือคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรื อคําขอเพือบังคับคดี
( 3 ) ไม่รับ หรื อคืนคําคูค่ วาม หรื อคําสังวินิจฉัยชีขาดเบืองต้น ( มาตรา 24 )
คําสังเช่นว่า อุทธรณ์ได้ภายใน 1 เดือนนับแต่มีคาํ สังนัน
แม้มีการอุทธรณ์ ให้ศาลดําเนินคดีต่อไป แต่ถา้ คูค่ วามอุทธรณ์คาํ สัง ( 3 ) ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่าการแก้ไขคําสัง
นัน จะเป็ นการ
วินิจฉัยชีขาดคดีหรื อชีขาดประเด็นข้อทีศาลล่างไม่ได้วินิจฉัยไว้ ให้ศาลอุทธรณ์มีอาํ นาจสังให้ศาลล่างงดการ
พิจารณาไว้ จนกว่าศาล
อุทธรณ์ได้วินิจฉัยชีขาดอุทธรณ์นนั
ถ้าคู่ความไม่ได้อุทธรณ์คาํ สังในระหว่างพิจารณาตามมาตรานี ก็ให้อุทธรณ์เมือศาลพิพากษาคดีแล้ว ( มาตรา
223 )
- การยืนและตรวจรับอุทธรณ์
มาตรา 229 การอุทธรณ์ให้ทาํ เป็ นหนังสือยืนต่อศาลชันต้นทีมีคาํ พิพากษาหรื อมีคาํ สังภายใน 1 เดือนนับแต่
อ่านคําพิพากษาหรื อคําสัง และผู้
อุทธรณ์ตอ้ งนําเงินค่าธรรมเนียมมาวางพร้อมกับอุทธรณ์ ให้ผอู ้ ุทธรณ์ยืนสําเนาอุทธรณ์ต่อศาลเพือส่งแก่จาํ เลย
อุทธรณ์ ( คือฝ่ ายโจทก์
หรื อจําเลยเดิม )
มาตรา 230 คดีตามมาตรา 224 ถ้าอุทธรณ์ในข้อเท็จจริ ง ให้ศาลชันต้นตรวจว่าจะรับพิจารณาหรื อไม่
ถ้าผูพ้ ิพากษาทีพิจารณาคดีนนมี ั ความเห็นแย้ง หรื อได้รับรองไว้ หรื อรับรองในเวลาทีตรวจอุทธรณ์ว่ามีเหตุ
อุทธรณ์ได้ ให้ศาลรับ
พิจารณา
ถ้าไม่มีความเห็นแย้งหรื อคํารับรอง ให้ศาลสังไม่รับอุทธรณ์ และถ้าอธิ บดีผพู้ ิพากษาหรื ออธิบดีผพู ้ พิ ากษาภาค
ไม่ได้เป็ นคณะในคํา
สังนัน ผูอ้ ุทธรณ์สามารถยืนคําร้องขอต่อศาลถึงอธิบดีผพู ้ ิพากษาหรื ออธิ บดีผพู ้ ิพากษาภาคภายใน 7 วัน เมือ
ศาลได้รับ ให้ศาลส่งไปยัง
อธิ บดีผพู ้ ิพากษาหรื ออธิบดีผพู ้ ิพากษาภาค เพือมีคาํ สังยืนตามหรื อแก้ไขคําสัง คําสังนีให้เป็ นทีสุ ด
ในมาตรานี ไม่ห้ามศาลในอันทีจะมีคาํ สังตามมาตรา 232 ปฏิเสธไม่ส่งอุทธรณ์ในเหตุอนื หรื อในอันทีจะสังให้
ส่ งอุทธรณ์นนไปเท่
ั า
ทีเป็ นอุทธรณ์ในข้อกฎหมาย
มาตรา 232 เมือได้รับอุทธรณ์ ให้ศาลชันต้นตรวจอุทธรณ์ และให้มีคาํ สังส่งหรื อไม่ส่งอุทธรณ์นนไปยั ั งศาล
อุทธรณ์ ถ้าศาลไม่ส่ง ให้แสดงเหตุทีไม่
ส่ งไว้ในคําสังนัน ถ้าคูค่ วามทัง 2 ฝ่ ายอุทธรณ์ ศาลจะวินิจฉัยทัง 2 ฉบับในคําสังฉบับเดียวก็ได้
มาตรา 233 ถ้าศาลรับอุทธรณ์และคู่ความทีศาลพิพากษาให้ชนะต้องเสียค่าธรรมเนียมเพิมขึน ให้ศาลมีอาํ นาจ
กําหนดให้ผอู ้ ุทธรณ์นาํ เงินมาวางให้
พอกับจํานวนทีจะต้องเสี ย ถ้าไม่นาํ มาวาง ให้ศาลยกอุทธรณ์

Sensitivity: Internal
มาตรา 234 ถ้าศาลชันต้นไม่รับอุทธรณ์ ผูอ้ ุทธรณ์อาจอุทธรณ์คาํ สังนันไปยังศาลอุทธรณ์ โดยยืนคําขอเป็ นคํา
ร้องต่อศาลชันต้น และนําค่าธรรม
เนียมมาวางศาลและนําเงินมาชําระตามคําพิพากษาหรื อหาประกันให้ไว้ต่อศาลภายใน 15 วันนับแต่ศาลมีคาํ สัง
มาตรา 235 เมือศาลชันต้นรับอุทธรณ์ ให้ส่งสําเนาอุทธรณ์นนแก่ ั จาํ เลยอุทธรณ์ ภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีจําเลย
อุทธรณ์ยนคํื าแก้อุทธรณ์หรื อภาย
ใน 7 วันนับแต่ระยะทีกําหนดในมาตรา 237 ได้สินสุ ดลง ( กําหนดเวลาในการยืนแก้อุทธรณ์ ) ให้ศาลส่ ง
อุทธรณ์และคําแก้อุทธรณ์ ( ถ้า
มี ) พร้อมสํานวนและหลักฐานต่าง ๆ ไปยังศาลอุทธรณ์ เมือศาลอุทธรณ์ได้รับฟ้องและสํานวนความไว้แล้ว
ให้นาํ คดีลงสารบบความ
ของศาลอุทธรณ์
มาตรา 236 เมือคู่ความยืนคําร้องอุทธรณ์คาํ สังศาลทีปฏิเสธไม่รับอุทธรณ์ ให้ศาลส่ งคําร้องไปยังศาลอุทธรณ์
พร้อมคําพิพากษาและฟ้องอุทธรณ์ ถ้า
ศาลอุทธรณ์เห็นว่าจําเป็ นต้องตรวจสํานวน ให้สงให้ ั ศาลชันต้นส่ งสํานวนไปยังศาลอุทธรณ์ แล้วให้ศาล
อุทธรณ์พจิ ารณาคําร้อง แล้วมี
คําสังยืนตามหรื อมีคาํ สังให้รับอุทธรณ์ คําสังนีให้เป็ นทีสุ ด แล้วส่ งให้ศาลชันต้นอ่าน
เมือได้อ่านคําสังศาลอุทธรณ์ให้รับอุทธรณ์แล้ว ให้ศาลชันต้นส่ งสําเนาอุทธรณ์แก่จาํ เลยอุทธรณ์ และภายใน 7
วันนับแต่วนั ทีจําเลย
อุทธรณ์ยนคํ ื าแก้อุทธรณ์ หรื อนับแต่เวลาทีกําหนดในมาตรา 237 ได้สินสุ ดลง ( กําหนดเวลาในการยืนแก้
อุทธรณ์ ) ให้ศาลส่งคําแก้
อุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์หรื อแจ้งให้ทราบว่าไม่มีคาํ แก้อุทธรณ์ เมือศาลอุทธรณ์ได้รับทราบ ให้นาํ คดีลงสา
รบบความของศาลอุทธรณ์
มาตรา 237 จําเลยอุทธรณ์สามารถยืนคําแก้อุทธรณ์ต่อศาลชันต้นได้ภายใน 15 วันนับแต่ส่งสําเนาอุทธรณ์
ห้ามศาลแสดงว่าจําเลยอุทธรณ์ขาดนัดเพราะไม่ยนคํ ื าแก้อุทธรณ์
- การทุเลาการบังคับตามคําพิพากษาหรื อคําสัง
มาตรา 231 การยืนอุทธรณ์ไม่ทเุ ลาการบังคับตามคําพิพากษาของศาลชันต้น แต่คู่ความทีอุทธรณ์สามารถยืนคํา
ขอโดยทําเป็ นคําร้อง ชีแจงเหตุแห่ง
อันสมควรแห่งการขอให้ศาลอุทธรณ์ทุเลาการบังคับไว้
คําขอนี ให้ผอู ้ ุทธรณ์ยืนต่อศาลชันต้นได้จนถึงเวลาทีศาลมีคาํ สังอนุญาตให้อทุ ธรณ์ ถ้าหลังจากนีให้ยืนต่อศาล
อุทธรณ์ เมือศาลชัน
ต้นได้รับคําขอไว้ ให้มีอาํ นาจทําคําสังให้ทุเลาการบังคับไว้รอคําชีขาดของศาลอุทธรณ์ในคําขอเช่นว่านัน
ถ้าผูอ้ ุทธรณ์วางเงินต่อศาลฃันต้นเป็ นจํานวนพอชําระหนีตามคําพิพากษารวมทังค่าธรรมเนียมในการฟ้องร้อง
และบังคับคดี หรื อหา
ประกันมาให้ ให้ศาลงดการบังคับคดี
ในคําขอเข่นว่านี ศาลอุทธรณ์จะอนุญาตให้ทุเลาการบังคับคดีไว้ในกรณี ทีมีเหตุฉุกเฉินก็ได้ โดยไม่ตอ้ งฟัง
คู่ความอีกฝ่ าย กรณีเช่น
นีให้ถือว่าคําสังนีเป็ นการชัวคราวจนกว่าศาลได้ฟังคู่ความอีกฝ่ ายหนึงในภายหลัง ถ้าศาลมีคาํ สังทุเลาการ

Sensitivity: Internal
บังคับ คําสังนีอาจอยูภ่ ายใต้
เงือนไขใด ๆ ก็ได้ ศาลจะมีคาํ สังให้ผอู ้ ทุ ธรณ์ทาํ ทัณฑ์บนว่าจะไม่ยกั ย้ายจําหน่ายทรัพย์สินในระหว่างอุทธรณ์
หรื อให้หาประกันให้พอ
กับเงินทีต้องใช้ หรื อให้วางเงินนันต่อศาลก็ได้ ถ้าผูอ้ ุทธรณ์ไม่ปฏิบตั ิ ศาลจะสังยึดหรื ออายัดทรัพย์สินผู ้
อุทธรณ์ก็ได้ ถ้าทรัพย์สินเป็ น
สังหาริ มทรัพย์ ศาลอาจสังขายทอดตลาดก็ได้ ถ้าจําเป็ นและสมควร เพราะทรัพย์นนเป็ ั นของเสี ยง่าย หรื อการ
เก็บรักษายุง่ ยากหรื อต้อง
เสี ยค่าใช้จ่ายมาก
- การพิจารณาพิพากษาของศาลอุทธรณ์
1.การพิจารณาของศาลอุทธรณ์
มาตรา 238 ภายใต้มาตรา 243 ( 3 ) ในคดีทีอุทธรณ์ได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายนัน การวินิจฉัยปัญหา ศาล
อุทธรณ์ตอ้ งถือตามข้อเท็จจริ งทีศาล
ชันต้นได้วินิจฉัยจากพยานหลักฐานในสํานวน
มาตรา 239 อุทธรณ์คาํ สังนัน ต้องพิจารณาก่อนอุทธรณ์คาํ พิพากษา แม้อุทธรณ์คาํ พิพากษาจะลงในสารบบ
ความก่อนอุทธรณ์คาํ สัง
มาตรา 240 ศาลอุทธรณ์มีอาํ นาจวินิจฉัยคดี โดยพิจารณาฟ้องอุทธรณ์ คําแก้อุทธรณ์ เอกสารและหลักฐานทัง
ปวง ในสํานวนความทีศาลชันต้น
ส่ งขึนมา เว้นแต่
( 1 ) ศาลอุทธรณ์ได้นดั ฟังคําแถลงการณ์ดว้ ยวาจาตามมาตรา 241 แต่ถา้ คู่ความฝ่ ายใดหรื อทัง 2 ฝ่ ายไม่มาศาล
ในวันนัด ศาล
อุทธรณ์สามารถดําเนินคดีตอ่ ไปได้ และคําพิพากษาหรื อคําสังของศาลอุทธรณ์นนไม่ ั ให้ถือว่าเป็ นคําพิพากษา
โดยขาดนัด
( 2 ) ถ้าศาลอุทธรณ์ไม่พอใจในการพิจารณาฟ้องอุทธรณ์ คําแก้อุทธรณ์ และพยานหลักฐานจากมาตรา 238 ศาล
มีอาํ นาจกําหนด
ประเด็นทําการสืบพยานทีสื บมาแล้ว หรื อพยานทีเห็นสมควรสื บ และพิจารณาคดีโดยทัว ๆ ไป ( ดังทีบัญญัติ
สําหรับการ
พิจารณาในศาลชันต้น )
( 3 ) คดีทีอุทธรณ์ในปั ญหาข้อกฎหมาย ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่าศาลชันต้นยังไม่ได้พจิ ารณาหรื อวินิจฉัย
ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ
ให้ศาลอุทธรณ์มีอาํ นาจสังให้ศาลชันต้นพิจารณาปัญหาข้อเท็จจริ งนัน แล้วพิพากษาไปตามรู ปความ
มาตรา 241 ถ้าคูค่ วามประสงค์จะแถลงการณ์ดว้ ยวาจา ให้ขอมาในตอนท้ายของคําฟ้องอุทธรณ์หรื อคําแก้
อุทธรณ์ ( แล้วแต่กรณี ) และให้ศาล
อุทธรณ์กาํ หนดนัดฟังคําแถลงการณ์นัน เว้นศาลอุทธรณ์เห็นว่าไม่จาํ เป็ นแก่คดี จะสังงดก็ได้ กรณี ทีศาล
อุทธรณ์นดั ฟังคําแถลงการณ์
คู่ความอีกฝ่ ายจะไปแถลงการณ์ดว้ ยก็ได้ แม้ไม่ได้แจ้งความประสงค์ไว้
การแถลงการณ์ดว้ ยวาจา ผูข้ อแถลงเป็ นผูแ้ ถลงก่อน แล้วอีกฝ่ ายแถลงแก้ แล้วผูข้ อแถลงแถลงได้อกี ครัง ถ้าขอ

Sensitivity: Internal
แถลงทัง 2 ฝ่ าย
ให้ผอู ้ ทุ ธรณ์แถลงก่อน ถ้าทัง 2 ฝ่ ายอุทธรณ์และต่างขอแถลง ให้ศาลอุทธรณ์พิจารณาสัง
2.การพิพากษาตัดสินอุทธรณ์
มาตรา 242 เมือศาลอุทธรณ์ได้ตรวจสํานวนความและฟังคูค่ วามทังปวง หรื อสื บพยานตามาตรา 240 เสร็ จ ให้
ศาลอุทธรณ์ชีขาดตัดสิ นอุทธรณ์
โดยประการใดประการหนึงดังนี
( 1 ) ถ้าเห็นว่าอุทธรณ์นนต้ั องห้ามตามกฎหมาย ก็ให้ยกอุทธรณ์นนั โดยไม่ตอ้ งวินิจฉัยในประเด็นทีอุทธรณ์
( 2 ) ถ้าเห็นว่าคําวินิจฉัยของศาลชันต้นถูกต้อง ( ไม่ว่าโดยเหตุเดียวกันหรื อเหตุอืน ) ให้พิพากษายืนตามศาล
ชันต้น
( 3 ) ถ้าเห็นว่าคําชีขาดของศาลชันต้นไม่ถูกต้อง ให้กลับคําพิพากษาของศาลชันต้น และพิพากษาในปัญหา
เหล่านันใหม่
( 4 ) ถ้าเห็นว่าคําวินิจฉัยของศาลชันต้นถูกต้องบางส่วนและผิดบางส่วน ให้แก้คาํ พิพากษาของศาลชันต้นไป
ตามนัน โดยพิพากษา
ยืนบางส่ วน กลับบางส่วน และมีคาํ พิพากษาใหม่แทนทีส่ วนทีกลับกันนัน
มาตรา 243 ศาลอุทธรณ์มีอาํ นาจดังต่อไปนีด้วย
( 1 ) เมือคดีไม่ได้ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติว่าด้วยคําพิพากษาและคําสัง ให้ศาลอุทธรณ์สงยกคํ ั าพิพากษาหรื อคําสัง
ของศาลชันต้น
แล้วส่ งสํานวนคืนไปยังศาลชันต้น เพือให้พิพากษาหรื อมีคาํ สังใหม่ ในกรณีนีศาลชันต้นอาจวินิจฉัยชีขาดคดี
เป็ นอย่างอืนนอก
จากคําพิพากษาหรื อคําสังทีถูกยกได้
( 2 ) เมือคดีไม่ได้ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณา หรื อมีเหตุทีศาลไม่สืบพยานตามผูอ้ ุทธรณ์ร้องขอ
ให้ศาลอุทธรณ์สังยก
คําพิพากษาหรื อคําสังของศาลชันต้น แล้วกําหนดให้ศาลชันต้นซึงอาจประกอบด้วยผูพ้ ิพากษาคณะเดิมหรื อผู ้
พิพากษาอืน
หรื อศาลชันต้นอืนใด ตามทีเห็นสมควร พิจารณาคดีนนใหม่ ั ทงหมดหรื
ั อบางส่ วน และพิพากษาหรื อมีคาํ สัง
ใหม่
( 3 ) กรณีทีศาลอุทธรณ์จาํ ต้องถือตามข้อเท็จจริ งของศาลชันต้น ถ้าปรากฏว่า
( ก ) ศาลชันต้นวินิจฉัยข้อเท็จจริ งผิดต่อกฎหมาย ศาลอุทธรณ์อาจฟังข้อเท็จจริ งใหม่ได้ แล้วพิพากษาหรื อมี
คําสังไปตามนัน
( ข ) ข้อเท็จจริ งของศาลชันต้นไม่พอแก่การวินิจฉัยข้อกฎหมาย ศาลอุทธรณ์อาจสังให้ยกคําพิพากษาหรื อคําสัง
ของศาลชันต้น
แล้วกําหนดให้ศาลชันต้นซึงอาจประกอบด้วยผูพ้ ิพากษาคณะเดิมหรื อผูพ้ ิพากษาอืน หรื อศาลชันต้นอืนใด
ตามทีเห็นสม
ควร พิจารณาคดีนนใหม่ ั ทงหมดหรื
ั อบางส่ วน แล้วมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังไปตามรู ปความ ทังนีไม่วา่ จะ
ปรากฏจากการ
อุทธรณ์หรื อไม่

Sensitivity: Internal
ในคดีทศาลชั
ี นต้นได้มีคาํ พิพากษาหรื อคําสังใหม่ตามมาตรานี คู่ความสามารถอุทธรณ์คาํ พิพากษาหรื อคําสัง
ใหม่นีไปยังศาล
อุทธรณ์ได้
มาตรา 244 ศาลอุทธรณ์จะอ่านคําพิพากษานันเองหรื อจะส่งให้ศาลชันต้นอ่านก็ได้ ให้ศาลทีอ่านคําพิพากษา
กําหนดวันอ่านส่งให้แก่คู่ความทุกฝ่ าย
มาตรา 245 คําพิพากษาหรื อคําสังชันอุทธรณ์ ให้มีผลเฉพาะคู่ความชันอุทธรณ์ เว้น
( 1 ) ถ้าคําพิพากษาหรื อคําสังนันเกียวกับการชําระหนีอันไม่อาจแบ่งแยกได้ และคู่ความบางฝ่ ายอุทธรณ์ ซึงทํา
ให้คาํ พิพากษาหรื อ
คําสังนันมีผลเป็ นทีสุดระหว่างคูค่ วามอืน ๆ ถ้าศาลอุทธรณ์เห็นว่าควรกลับคําพิพากษาหรื อคําสังทีอุทธรณ์ ให้
ศาลอุทธรณ์มี
อํานาจชีขาดว่าคําพิพากษาหรื อคําสังศาลอุทธรณ์ให้มีผลระหว่างคูค่ วามทุกฝ่ ายในคดีศาลชันต้นด้วย
( 2 ) ถ้ามีการอนุญาตให้ผรู้ ้องสอดเข้ามาในคดีแทนคู่ความฝ่ ายใด คําพิพากษาศาลอุทธรณ์มีผลบังคับแก่คู่ความ
ฝ่ ายนันด้วย
มาตรา 246 นําบทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณาและการชีขาดตัดสิ นในศาลชันต้น มาใช้บงั คับแก่การพิจารณา
และการชีขาดตัดสิ นในชันอุทธรณ์
โดยอนุโลม
- การฎีกาคําพิพากษาหรื อคําสัง
มาตรา 247 กรณี ทีศาลอุทธรณ์ได้พิพากษาหรื อคําสังในชันอุทธรณ์ ให้ยืนฎีกาภายใน 1 เดือนนับแต่วนั ทีอ่าน
คําพิพากษาหรื อคําสังศาลอุทธรณ์นนั
ให้นาํ บทบัญญัติวา่ ด้วยอุทธรณ์มาใช้บงั คับโดยอนุโลม
มาตรา 249 ข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมายทียกขึนอ้างในการยืนฎีกา ต้องกล่าวโดยชัดแจ้งในฎีกาและต้องเป็ นข้อ
ทีได้ยกว่ากันมาแล้วในศาลชันต้นและ
ศาลอุทธรณ์ และต้องเป็ นสาระสําคัญแก่คดีอนั ควรได้รับการวินิจฉัยด้วย การวินิจฉัยว่าข้อเท็จจริ งหรื อข้อ
กฎหมายทีเป็ นสาระแก่คดีขอ้
ใดไม่ควรได้รับการวินิจฉัยจากศาลฎีกา ให้กระทําโดยความเห็นชอบของรองประธานศาลฎีกาซึ งประธานศาล
ฎีกามอบหมาย
ถ้าคู่ความไม่ได้ยกปัญหาอันเกียวกับความสงบเรี ยบร้อยของประชาชนขึนกล่าวในศาลชันต้นหรื อศาลอุทธรณ์
หรื อคูค่ วามไม่
สามารถยกปั ญหาข้อกฎหมายขึนกล่าวในศาลชันต้นหรื อศาลอุทธรณ์ เพราะพฤติการณ์ไม่เปิ ดช่องให้กระทําได้
หรื อเพราะเป็ นเรื องทีไม่
ปฏิบตั ิตามบทบัญญัติกระบวนพิจารณาชันฎีกา คู่ความทีเกียวข้องมีสิทธิยกขึนอ้างซึงปั ญหาเช่นว่านันได้
มาตรา 251 ถ้าคูค่ วามทีแพ้คดีในศาลชันต้นได้อทุ ธรณ์ และศาลอุทธรณ์พิพากษากลับให้ตนชนะในข้อ
สาระสําคัญอย่างใดอย่างหนึง คูค่ วามฝ่ ายนัน
จะยืนขอต่อศาลชันต้นให้ถอนการยึดหรื ออายัดทรัพย์สินหรื อคืนเงินจํานวนทีวางไว้ต่อศาลในข้อนัน ๆ ก็ได้
มาตรา 252 ถ้าคูค่ วามยืนคําร้องอุทธรณ์คาํ สังทีไม่ยอมรับฎีกา ให้ศาลชันต้นส่งคําร้องไปยังศาลฎีกา พร้อมกับ
ฎีกาและคําพิพากษาหรื อคําสังชีขาด

Sensitivity: Internal
ของศาลชันต้นและศาลอุทธรณ์ ถ้าศาลฎีกาเห็นว่าจําต้องตรวจสํานวน ให้สังให้ศาลล่างส่ งสํานวนไปยังศาล
ฎีกา
- คดีทีต้องห้ามฎีกา
มาตรา 248 ในคดีจาํ นวนทุนทรัพย์ทีพิพาทกันในชันฎีกาไม่เกิน 2 แสนบาทหรื อไม่เกินจํานวนทีกําหนดใน
พระราชกฤษฎีกา ห้ามฎีกาในข้อเท็จจริ ง
เว้นผูพ้ ิพากษาทีนังพิจารณาคดีในศาลอุทธรณ์ได้ทาํ ความเห็นแย้งไว้ หรื อได้รับรองว่ามีเหตุอนั ควรฎีกาได้
หรื อได้รับอนุญาติให้ฎีกาเป็ น
หนังสื อจากอธิบดีผพู ้ ิพากษาศาลอุทธรณ์
ในวรรคหนึง ไม่ใช้บงั คับในคดีสิทธิสภาพบุคคลหรื อสิ ทธิในครอบครัว และคดีฟ้องขอให้ปลดเปลืองทุกข์อนั
ไม่อาจคํานวนเป็ นราคา
เงินได้ เว้นแต่ในคดีฟ้องขับไล่ออกจากอสังหาริ มทรัพย์อนั มีค่าเช่าหรื ออาจให้ค่าเช่าได้ในขณะยืนคําฟ้องไม่
เกินเดือนละ 1 หมืนบาทหรื อ
ไม่เกินจํานวนทีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา
คดีเกียวกับการบังคับวงศ์ญาติและบริ วารของผูถ้ ูกขับไล่ ซึงอยูบ่ นอสังหาริ มทรัพย์ ห้ามฎีกาข้อเท็จจริ งตาม
วรรคสอง ถ้าศาล
อุทธรณ์พพิ ากษายืนตามคําพิพากษาหรื อคําสังศาลชันต้นหรื อแก้ไขเล็กน้อย เว้นแต่มีความเห็นแย้งหรื อคํา
รับรอง หรื อหนังสื ออนุญาต
ให้ฎีกาตามวรรคหนึง
การขอให้ผพู ้ ิพากษาทีนังพิจารณาคดีในศาลชันต้นหรื อศาลอุทธรณ์รับรองว่ามีเหตุอนั ควรฎีกาได้ ให้ยืนคําร้อง
ถึงผูพ้ ิพากษานัน
พร้อมกับคําฟ้องฎีกาต่อศาลชันต้น เมือศาลได้รับคําร้องนัน ให้ส่งคําร้องพร้อมสํานวนความไปยังผูพ้ ิพากษาดัง
กล่าเพือพิจารณารับรอง

หน่วยที 6 วิธีการชัวคราวก่อนพิพากษา

- ถ้าโจทก์ไม่ใช่ผอู้ ยูใ่ นอํานาจศาล หรื อเมือแพ้คดีแล้วจะหลีกเลียงไม่ชาํ ระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย


จําเลยอาจขอให้ศาลมีคาํ สังให้โจทก์วางเงิน
ประกันค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย
- ในคดีอืน ๆ นอกจากคดีมโนสาเร่ โจทก์อาจมีคาํ ขอฝ่ ายเดียวให้มีวิธีการคุม้ ครอง คือ ให้ยดึ หรื ออายัด
ทรัพย์สินของจําเลยทังหมดหรื อบางส่วนไว้ก่อน
พิพากษา ให้ห้ามชัวคราวมิให้จาํ เลยกระทําการบางอย่าง หรื อให้จบั กุมและกักขังจําเลยไว้ชวคราว

- ในการขอคุม้ ครองชัวคราวของโจทก์ดงั กล่าว อาจมีคาํ ขอในเหตุฉุกเฉินซึงศาลจะต้องพิจารณาคําขอเป็ นการ
ด่วน และการบังคับตามคําสังศาลเป็ นไปโดย
รวดเร็ วกว่าวิธีธรรมดา
- ถ้าในคําพิพากษาหรื อคําสังชีขาดตัดสิ นคดีไม่ได้กล่าวถึงวิธีการชัวคราวทีศาลได้สังไว้ หากคดีนนศาลตั
ั ดสิ น
ให้จาํ เลยเป็ นฝ่ ายชนะคดี คําสังนันเป็ นอันยก

Sensitivity: Internal
เลิกไป แต่ถา้ คดีนนศาลตั
ั ดสิ นให้โจทก์ชนะ คําสังนันคงมีผลต่อไป
- จําเลยซึงต้องถูกบังคับโดยคําสังในวิธีการชัวคราว อาจได้รับค่าสินไหมทดแทนหากว่าศาลมีคาํ สังโดยมี
ความเห็นหลงไปว่าสิ ทธิเรี ยกร้องของผูข้ อมีเหตุอนั
สมควรหรื อวิธีการเช่นนันมีเหตุผลเพียงพอ ทังนีโดยความผิดหรื อเลินเล่อของผูข้ อ
- คู่ความมีสิทธิ ขอให้ศาลมีคาํ สังกําหนดวิธีการเพือคุม้ ครองประโยชน์ของผูข้ อในระหว่างพิจารณา หรื อเพือ
บังคับตามคําพิพากษา

รายละเอียดทัวไป

- วิธีการชัวคราวก่อนพิพากษา หมายถึง วิธีการคุม้ ครองประโยชน์ของคูค่ วามในระหว่างพิจารณา เพราะเหตุว่า


การมีขอ้ พิพาทในทางแพ่งเกิดขึนย่อมนํามาซึงความเสียหายในลักษระทรัพย์สินหรื อในด้านอืน ๆ แก่คู่ความ
ทังสองฝ่ าย
- การวางเงินประกันค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย
มาตรา 253 ถ้าโจทก์ไม่มีภูมิลาํ เนาหรื อสํานักการงานอยูในราชอาณาจักรและไม่มีทรัพย์สินทีอาจถูกบังคับคดี
ได้อยูใ่ นราชอาณาจักร หรื อถ้าเชือได้
ว่าถ้าโจทก์แพ้คดีแล้วจะเลียงไม่ชาํ ระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จา่ ย จําเลยสามารถยืนคําร้องก่อนศาล
พิพากษา ขอให้ศาลสังให้โจทก์
วางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมาให้เพือการชําระเงินดังกล่าวได้
ถ้าศาลไต่สวนแล้วเห็นว่า มีเหตุทเชื ี อได้ ให้ศาลสังให้โจทก์วางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมาให้ตามเวลาที
กําหนด โดยกําหนดเงือน
ไขตามสมควรก็ได้
ถ้าโจทก์ไม่ปฏิบตั ิ ให้ศาลสังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ เว้นแต่จาํ เลยขอดําเนินกระบวนพิจารณาต่อไป
หรื อมีการอุทธรณ์
คําสังตามวรรคสอง
อธิบาย - การทีจําเลยจะยืนคําขอคุม้ ครองชัวคราวตามมาตรานี ต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี
1.ต้องยืนคําขอโดยทําเป็ นคําร้อง
2.ต้องยืนก่อนวันสื บพยาน
3.ต้องยืนต่อศาลชันต้น
4.หลักเกณฑ์ทีจะยืนคําร้องมี 2 กรณี คือ
4.1.โจทก์ไม่ใช่ผอู้ ยูใ่ นอํานาจศาล
หมายความว่า โจทก์ไม่ได้อยูใ่ นอํานาจศาลไทย เช่น โจทก์ไม่มีภมู ิลาํ เนาในประเทศไทย กรณี ฟ้องแย้ง จําเลยผู ้
ฟ้องแย้ง
มีฐานะเป็ นโจทก์ดว้ ย
4.2.เมือโจทก์แพ้คดีแล้วจะหลีกเลียงไม่ชาํ ระค่าฤชาธรรมเนียม
5.การพิจารณาไต่สวนคําร้อง
5.1.สังให้โจทก์วางเงินประกัน

Sensitivity: Internal
5.2.สังยกคําร้อง
6.การอุทธรณ์คาํ สังศาล
คู่ความสามารถอุทธรณ์คาํ สังได้ภายใน 1 เดือนนับแต่วนั มีคาํ สัง
7.หน้าทีของโจทก์ทีจะต้องปฏิบตั ิตามคําสังศาล
หากโจทก์ไม่ปฏิบตั ิตาม ศาลมีอาํ นาจสังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
มาตรา 253 ทวิ กรณีโจทก์ยนอุ ื ทธรณ์หรื อฎีกาคัดค้านคําพิพากษา ถ้ามีเหตุตามมาตรา 253 วรรคหนึง จําเลย
สามารถยืนคําร้องต่อศาลอุทธรณ์หรื อ
ศาลฎีกา ( แล้วแต่กรณี ) ก่อนศาลพิพากษา เพือขอให้ศาลสังให้โจทก์วางเงินต่อศาลหรื อหาประกันมาให้เพือ
การชําระเงินดังกล่าวได้
ถ้าศาลชันต้นยังไม่ได้ส่งสํานวนความไปยังศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกา คําร้องตามวรรคหนึงให้ยนต่ ื อศาลชันต้น
และให้ศาลชันต้นทํา
การไต่สวน แล้วส่ งคําร้องนันพร้อมด้วยสํานวนไปให้ศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกาสัง
ให้นาํ มาตรา 253 วรรคสองและวรรคสาม มาใช้บงั คับแก่การพิจารณาในชันอุทธรณ์และฎีกา
- การขอคุม้ ครองชัวคราว
มาตรา 254 เว้นในคดีมโนสาเร่ โจทก์สามารถยืนต่อศาลพร้อมคําฟ้อง หรื อในเวลาก่อนศาลพิพากษา โดยมีคาํ
ขอฝ่ ายเดียวขอให้ศาลมีคาํ สังเพือจัด
ให้มีวิธีคมุ้ ครองใด ๆ ดังต่อไปนี
( 1 ) ให้ยึดหรื ออายัด ทรัพย์สินทีพิพาทหรื อทรัพย์สินจําเลยทังหมดหรื อบางส่วนก่อนพิพากษา รวมทังเงินหรื อ
ทรัพย์สินของบุคคลภาย
นอกทีถึงกําหนดชําระแก่จาํ เลย
( 2 ) ให้ศาลมีคาํ สังชัวคราวไม่ให้จาํ เลยกระทําซําหรื อกระทําต่อไป ซึงการละเมิดหรื อการผิดสัญญาหรื อการ
กระทําทีถูกฟ้องร้อง หรื อมี
คําสังใดเพือบรรเทาความเดือดร้อนเสียหายทีโจทก์อาจได้รับเนืองจากการกระทําของจําเลย หรื อมีคาํ สัง
ชัวคราวไม่ให้จาํ เลยโอน
ขายย้ายหรื อจําหน่ายทรัพย์สินทีพิพาทหรื อทรัพย์สินของจําเลย หรื อมีคาํ สังให้หยุดหรื อป้องกันการเปลืองเปล่า
ไปหรื อการบุบ
สลายซึงทรัพย์สินดังกล่าว จนกว่าคดีถึงทีสุ ดหรื อจะมีคาํ สังเป็ นอย่างอืน
( 3 ) ให้ศาลมีคาํ สังให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที หรื อบุคคลอืนผูม้ ีอาํ นาจหน้าทีตามกฎหมาย ระงับการ
จดทะเบียน การแก้ไข
ทางทะเบียน หรื อเพิกถอนการจดทะเบียนทีเกียวกับทรัพย์สินทีพิพาทหรื อทรัพย์สินของจําเลย หรื อทีเกียวกับ
การกระทําทีถูกฟ้อง
ร้องไว้ชวคราวจนกว่
ั าคดีถึงทีสุ ดหรื อจะมีคาํ สังเป็ นอย่างอืน เท่าทีไม่ขดั ต่อบทบัญญัติทีเกียวข้อง
( 4 ) ให้จบั กุมและกักขังจําเลยไว้ชวคราว

ระหว่างเวลานับแต่ศาลชันต้นหรื อศาลอุทธรณ์ได้อ่านคําพิพากษาหรื อคําสังชีขาด ไปจนถึงเวลาทีศาลชันต้น
ได้ส่งสํานวนความที
อุทธรณ์หรื อฎีกาไปยังศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกา ( แล้วแต่กรณี ) คําขอตามมาตรานีให้ยนต่ ื อศาลชันต้น ให้ศาล

Sensitivity: Internal
ชันต้นมีอาํ นาจสัง
อนุญาตหรื อยกคําขอ
มาตรา 255 การพิจารณาคําขอทียืนตามมาตรา 254 ต้องเป็ นทีพอใจแก่ศาลว่าคําฟ้องมีมูลและมีเหตุเพียงพอ ที
จะนําวิธีคมุ ้ ครองมาใช้ ตามหลัก
เกณฑ์ดงั นี
( 1 ) กรณียนคํ ื าขอให้ศาลมีคาํ สังตามมาตรา 254 ( 1 ) ต้องเป็ นทีพอใจแก่ศาลว่า
( ก) จําเลยตังใจยักย้ายทรัพย์สินทีพิพาทหรื อทรัพย์สินของตนให้พน้ อํานาจศาล หรื อจะโอน ขายหรื อจําหน่าย
ทรัพย์สินดัง
กล่าวเพือประวิงหรื อขัดขวางต่อการบังคับซึ งอาจจะออกบังคับเอาแก่จาํ เลย หรื อเพือให้โจทก์เสี ยเปรี ยบ
( ข ) มีเหตุจาํ เป็ นตามทีศาลเห็นเป็ นการยุติธรรมและสมควร
( 2 ) กรณียืนคําขอให้ศาลมีคาํ สังตามมาตรา 254 ( 2 ) ต้องเป็ นทีพอใจแก่ศาลว่า
( ก ) จําเลยตังใจกระทําซําหรื อกระทําต่อไปเพือละเมิด การผิดสัญญา หรื อการกระทําทีถูกฟ้องร้อง
( ข ) โจทก์จะได้รับความเดือดร้อนเสี ยหายต่อไปเนืองจากการกระทําของจําเลย
( ค ) ทรัพย์สินทีพิพาทหรื อทรัพย์สินของจําเลยนัน มีพฤติการณ์วา่ จะมีการกระทําให้เปลืองเปล่าหรื อบุบสลาย
หรื อโอนไปยังผูอ้ นื
( ง ) มีเหตุตาม ( 1 ) ( ก ) หรื อ ( ข )
( 3 ) กรณียืนคําขอให้ศาลมีคาํ สังตามมาตรา 254 ( 3 ) ต้องเป็ นทีพอใจแก่ศาลว่า
( ก ) จําเลยจะมีการจดทะเบียนแก้ไขเปลียนแปลงทะเบียน หรื อเพิกถอนการจดทะเบียนเกียวกับทรัพย์สินที
พิพาทหรื อทรัพย์สิน
ของจําเลย หรื อทีเกียวกับการกระทําทีถูกฟ้องร้องซึ งการกระทําดังกล่าวจะทําให้โจทก์เสียหาย
( ข ) มีเหตุตาม ( 1 ) ( ข )
( 4 ) กรณียืนคําขอให้ศาลมีคาํ สังตามมาตรา 254 ( 4 ) ต้องเป็ นทีพอใจแก่ศาลว่า เพือประวิงหรื อขัดขวางต่อการ
พิจารณาคดีหรื อการ
บังคับซึงอาจจะออกบังคับเอาแก่จาํ เลย หรื อเพือให้โจทก์เสียเปรี ยบ
( ก ) จําเลยซ่อนตัวเพือไม่รับหมายหรื อคําสังศาล
( ข ) จําเลยได้ยา้ ยไปให้พน้ อํานาจศาล หรื อซ่อนเอกสารทีจะเป็ นพยานหลักฐานยันจําเลย หรื อซ่อนทรัพย์สินที
พิพาทหรื อทรัพย์
สิ นของจําเลย หรื อจําเลยจะจําหน่ายหรื อทําลายเอกสารหรื อทรัพย์สินเช่นว่านัน
( ค ) ปรากฏตามกิริยาหรื อตามวิธีทีจําเลยประกอบการงานว่าจําเลยจะหลีกหนีหรื อจะหนีไปให้พน้ อํานาจศาล
มาตรา 256 กรณี ยืนคําขอให้ศาลมีคาํ สังตามมาตรา 254 ( 2 ) หรื อ ( 3 ) ถ้าศาลเห็นว่าถ้าให้โอกาสจําเลยคัดค้าน
จะไม่เสี ยหายแก่โจทก์ ก็ให้ศาล
แจ้งกําหนดวันนังพิจารณาพร้อมส่งสําเนาคําขอให้แก่จาํ เลย จําเลยจะคัดค้านในวันนังพิจารณาก็ได้
มาตรา 257 ศาลมีอาํ นาจสังอนุญาตตามคําขอมาตรา 254 ได้ ภายในขอบเขตหรื อเงือนไขอย่างใดก็ได้ ตาม
เห็นสมควร
กรณีสังอนุญาตตามคําขอมาตรา 254 ( 2 ) ให้ศาลแจ้งคําสังให้จาํ เลยทราบ
กรณีสังห้ามชัวคราว ไม่ให้จาํ เลยโอน ขาย ยักย้าย หรื อจําหน่ายทรัพย์สิน ศาลจะกําหนดวิธีการโฆษณาตาม

Sensitivity: Internal
เห็นสมควรเพือป้อง
กันการฉ้อฉลก็ได้
กรณีสังห้ามชัวคราว ไม่ให้จาํ เลยโอน ขาย ยักย้าย หรื อจําหน่ายทรัพย์สินทีกฎหมายกําหนดให้จดทะเบียน หรื อ
มีคาํ สังให้นาย
ทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที หรื อบุคคลอืนผูม้ ีอาํ นาจหน้าทีตามกฎหมาย ระงับการจดทะเบียน การแก้ไขทาง
ทะเบียน หรื อเพิกถอน
การจดทะเบียนทีเกียวกับทรัพย์สินทีพิพาทหรื อทรัพย์สินของจําเลย หรื อทีเกียวกับการกระทําทีถูกฟ้องร้อง ให้
ศาลแจ้งคําสังนันให้นาย
ทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที หรื อบุคคลอืนผูม้ ีอาํ นาจหน้าทีตามกฎหมายทราบ และให้บคุ คลดังกล่าวบันทึก
คําสังศาลลงไว้ในทะเบียน
ก่อนศาลออกหมายยึด หมายอายัด หมายห้ามชัวคราว หมายจับ หรื อคําสังใด ศาลจะสังให้ผขู ้ อนําเงินหรื อหา
ประกันมาวาง
เพือการชําระค่าสิ นไหมทดแทนทีจําเลยอาจได้รับก็ได้
มาตรา 258 คําสังศาลทีอนุญาตตามคําขอตามมาตรา 254 ( 1 ) ให้บงั คับจําเลยได้ทนั ทีแล้วแจ้งคําสังให้จาํ เลย
ทราบทันที แต่จะใช้บงั คับบุคคลภาย
นอกซึงพิสูจน์ได้ว่าได้รับโอนโดยสุจริ ตและเสี ยค่าตอบแทนก่อนการแจ้งคําสังให้จาํ เลยทราบไม่ได้
คําสังศาลทีอนุญาตตามคําขอตามมาตรา 254 ( 2 ) ให้บงั คับจําเลยได้ทนั ทีแม้จาํ เลยยังไม่ได้รับแจ้งคําสังนันก็
ตาม เว้นศาลได้
พิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้วเห็นสมควรให้คาํ สังมีผลบังคับเมือจําเลยได้รับแจ้งคําสังเช่นว่านันแล้ว
คําสังศาลทีอนุญาตตามคําขอตามมาตรา 254 ( 3 ) ให้บงั คับใช้ได้ทนั ที แม้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที
หรื อบุคคลอืนผูม้ ี
อํานาจหน้าทีตามกฎหมายยังไม่ได้รับแจ้งคําสังก็ตาม เว้นศาลได้พิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้วเห็นสมควร
ให้คาํ สังมีผลบังคับเมือ
จําเลยได้รับแจ้งคําสังเช่นว่านันแล้ว
คําสังศาลทีอนุญาตตามคําขอตามมาตรา 254 ( 3 ) ทีเกียวกับการกระทําทีถูกฟ้องร้อง ให้มีผลใช้บงั คับแก่นาย
ทะเบียน พนักงาน
เจ้าหน้าที หรื อบุคคลอืนผูม้ ีอาํ นาจหน้าทีตามกฎหมายต่อเมือบุคคลดังกล่าวได้รับแจ้งคําสังนันแล้ว
หมายจับจําเลยทีออกตามคําขอตามมาตรา 254 ( 4 ) ให้บงั คับได้ทวราชอาณาจั
ั กร การกักขังไม่ให้เกิน 6 เดือน
นับแต่วนั จับ
- คําขอในเหตุฉุกเฉิน
มาตรา 266 กรณี มีเหตุฉุกเฉิน เมือโจทก์ยืนคําขอตามมาตรา 254 โจทก์จะยืนคําร้องรวมไปด้วยเพือให้ศาลมี
คําสังหรื อออกหมายตามทีขอโดยไม่
ชักช้าก็ได้
เมือได้ยนคํ
ื าร้องเช่นว่านี วิธีพิจารณาและชีขาดคําขอ ให้อยูภ่ ายใต้บทบัญญัติมาตรา 267 , 268 , 269
มาตรา 267 ให้ศาลพิจารณาคําขอเป็ นการด่วน ถ้าเป็ นทีพอใจจากคําแถลงหรื อพยานหลักฐานทีโจทก์นาํ มาสื บ
หรื อทีศาลเรี ยกมาสืบเอง ว่าคดีนนั

Sensitivity: Internal
มีเหตุฉุกเฉินและคําขอมีเหตุผลสมควร ให้ศาลมีคาํ สังหรื อออกหมายตามทีขอ ภายในขอบเขตและเงือนไข
ตามทีเห็นจําเป็ นทันที ถ้า
ศาลสังยกคําขอ คําสังนีให้เป็ นทีสุด
จําเลยสามารถยืนคําขอให้ศาลยกเลิกคําสังหรื อหมายนันเสี ย และนําวรรคก่อนมาใช้โดยอนุโลม คําขอเช่นว่า
อาจทําเป็ นคําขอฝ่ าย
เดียวโดยได้รับอนุญาตจากศาล ถ้าศาลสังยกคําสังเดิมตามคําขอ คําสังเช่นว่านีให้เป็ นทีสุ ด
การทีศาลยกคําขอในเหตุฉุกเฉิน หรื อยกเลิกคําสังทีได้ออกตามคําขอในเหตุฉุกเฉินนัน สามารถขอได้ใหม่
อธิบาย - เมือโจทก์ยนคํื าขอในเหตุฉุกเฉินตามมาตรา 266 ศาลต้องพิจารณาคําขอนันเป็ นการด่วน โดยไต่สวน
คําขอของโจทก์ในวันนันเลย
ในการไต่สวนของศาล ต้องเป็ นทีพอใจจากคําแถลงของโจทก์หรื อจากพยานหลักฐานทีโจทก์นาํ มาสื บเองหรื อ
ทีศาลนํามาสืบ ว่า
1.คดีมีเหตุฉุกเฉิน
เช่น จําเลยกําลังยักย้ายถ่ายเททรัพย์ หรื อหากจําเลยกระทําละเมิดต่อไปจะเกิดความเสี ยหายอย่างใหญ่หลวงต่อ
โจทก์
2.คําขอมีเหตุสมควรอันแท้จริ ง
หมายถึง มีเหตุสมควรทีจะให้ความคุม้ ครองประโยชน์ของโจทก์ไว้เป็ นการชัวคราว
มาตรา 268 กรณี มีคาํ ขอในเหตุฉุกเฉิน ศาลมีอาํ นาจใช้ดุลยพินิจว่าคดีนนมี
ั เหตุฉุกเฉินหรื อไม่ ส่ วนวิธีการทีศาล
จะกําหนดนันหากจําเป็ นให้เสื อมเสี ย
แก่สิทธิของคูค่ วามเท่าทีจําเป็ น
มาตรา 269 คําสังศาลทีอนุญาตตามคําขอในเหตุฉุกเฉินนัน ให้มีผลบังคับตามมาตรา 258 , 258 ทวิ โดยศาลจะ
สังให้โจทก์รอการบังคับไว้จนกว่า
ศาลจะได้วินิจฉัยชีขาดคําขอให้ยกเลิกคําสัง หรื อจนกว่าโจทก์วางประกันก็ได้
มาตรา 270 บทบัญญัติในหมวดนี ใช้บงั คับแก่คาํ ขออืน ๆ นอกจากคําขอมาตรา 254 ได้ต่อเมือมีกฎหมาย
บัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง
- ผลแห่ งคําสังคุม้ ครองชัวคราว
มาตรา 260 กรณี คาํ พิพากษาหรื อคําสังชีขาดตัดสิ นคดีไม่ได้กล่าวถึงวิธีการชัวคราวก่อพิพากษาทีศาลสังไว้ใน
ระหว่างพิจารณา
( 1 ) ถ้าศาลตัดสินให้จาํ เลยชะเต็มข้อหาหรื อบางส่วน คําสังวิธีการชัวคราวเป็ นอันยกเลิกเมือพ้น 7 วันนับแต่
ศาลพิพากษา เว้นโจทก์
ยืนขอภายในเวลาดังกล่าวว่าจะอุทธรณ์หรื อฎีกา และมีเหตุอนั ควรทีจะให้วิธีการชัวคราวนันมีผลบังคับต่อไป
แต่ถา้ ศาลชันต้นสัง
ให้ยกคําขอของโจทก์ให้เป็ นทีสุด ถ้าศาลชันต้นสังให้วิธีการชัวคราวมีผลบังคับต่อไป ให้มีผลจนกว่าครบ
กําหนดยืนอุทธรณ์หรื อ
ฎีกา เมือมีการอุทธรณ์หรื อฎีกาให้มีผลจนกว่าศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกาจะมีคาํ สังเป็ นอย่างอืน
( 2 ) ถ้าศาลตัดสินให้โจทก์ชนะ คําสังวิธีการชัวคราวมีผลต่อไปเท่าทีจําเป็ นเพือปฏิบตั ิตามคําพิพากษาหรื อ
คําสังศาล

Sensitivity: Internal
มาตรา 261 จําเลยหรื อบุคคลภายนอกทีได้รับหมายยึด หมายอายัด หรื อคําสังตามมาตรา 254 ( 1 ) ( 2 ) หรื อ ( 3
) หรื อต้องเสี ยหายเพราะหมาย
ยึด หมายอายัด หรื อคําสังดังกล่าว สามารถขอต่อศาลให้ถอนได้ แต่ถา้ บุคคลภายนอกขอให้ปล่อยทรัพย์ทียึด
หรื อคัดค้านคําสังอายัด
ให้นาํ มาตรา 288 หรื อ 312 ( แล้วแต่กรณี ) มาใช้บงั คับ
จําเลยทีถูกศาลสังจับกุมตามมาตรา 254 ( 4 ) สามารถขอให้ศาลปล่อยตัวโดยไม่มีเงือนไข หรื อให้ปล่อยตัว
ชัวคราวโดยมีหลัก
ประกันก็ได้
ถ้าวิธีการในมาตรา 254 ไม่มีเหตุผลเพียงพอหรื อมีเหตุสมควรประการอืน ศาลจะอนุญาตตามคําขอหรื อมีคาํ สัง
อืนใดตามทีเห็นสม
ควรก็ได้ ศาลจะกําหนดให้ผขู้ อวางเงินหรื อประกันตามจํานวนและในระยะเวลาทีเห็นสมควรหรื อจะกําหนด
เงือนไขก็ได้ แต่กรณี ฟ้อง
เรี ยกเงิน ห้ามศาลเรี ยกประกันเกินเงินทีฟ้องรวมทังค่าฤชาธรรมเนียม
มาตรา 262 ถ้าข้อเท็จจริ งหรื อพฤติการณ์ทีศาลใช้เป็ นหลักในการอนุญาตในวิธีการชัวคราวเปลียนแปลง ศาล
จะมีคาํ สังแก้ไขหรื อยกเลิกวิธีการเช่น
ว่านีก็ได้
ระหว่างเวลาตังแต่ศาลชันต้นหรื อศาลอุทธรณ์อ่านคําพิพากษา ถึงเวลาทีศาลชันต้นส่ งสํานวนความทีอุทธรณ์
หรื อฎีกา ( แล้วแต่
กรณี ) ให้เป็ นอํานาจของศาลชันต้นทีจะมีคาํ สังคําขอเช่นว่านัน
- การชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
มาตรา 263 ถ้าศาลอนุญาตตามคําขอในวิธีการชัวคราว จําเลยสามารถยืนคําขอต่อศาลชันต้นภายใน 30 วันนับ
แต่วนั พิพากษาของศาลทีมีคาํ สัง
ตามวิธีการชัวคราว ขอให้โจทก์ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนได้ในกรณี ดงั ต่อไปนี
( 1 ) ศาลตัดสิ นให้โจทก์แพ้ และปรากฏว่าศาลมีคาํ สังโดยหลงไปว่าสิ ทธิเรี ยกร้องของผูข้ อมีมูล โดยความผิด
หรื อเลินเล่อของผูข้ อ
( 2 ) ไม่ว่าใครชนะ ถ้าปรากฏว่าศาลมีคาํ สังโดยหลงไปว่าวิธีการเช่นว่านีมีเหตุเพียงพอ โดยความผิดหรื อ
เลินเล่อของผูข้ อ
เมือได้รับคําขอตามวรรคหนึง ศาลมีอาํ นาจสังแยกพิจารณาออกเป็ นสํานวนต่างหากจากคดีเดิม เมือไต่สวน
แล้วเห็นว่าคําขอรับฟัง
ได้ ให้สงให้
ั โจทก์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามเห็นสมควร ถ้าศาลทีมีคาํ สังตามวิธีการชัวคราวเป็ นศาล
อุทธรณ์หรื อศาลฎีกา เมือศาลชัน
ต้นไต่สวนแล้ว ให้ส่งสํานวนแก่ศาลอุทธรณ์หรื อศาลฎีกา ( แล้วแต่กรณี ) เป็ นผูส้ ังตามคําขอ ถ้าโจทก์ไม่
ปฏิบตั ิตาม ศาลมีอาํ นาจ
บังคับโจทก์เสมือนลูกหนีตามคําพิพากษา แต่กรณี ศาลสังให้ชดใช้ตาม ( 1 ) ให้งดการบังคับคดีจนกว่าศาลมีคาํ
พิพากษาถึงทีสุ ดให้
โจทก์แพ้คดี

Sensitivity: Internal
คําสังของศาลชันต้นหรื อศาลอุทธรณ์ตามวรรคสอง ให้อทุ ธรณ์หรื อฎีกาได้
อธิบาย - หลักเกณฑ์ทีจําเลยจะได้ค่าสิ นไหมทดแทน มี 2 กรณี
1.มาตรา 263 ( 1 )
- ศาลตัดสิ นให้โจทก์แพ้คดี
- ศาลมีคาํ สังโดยมีความเห็นหลงไปว่าสิทธิเรี ยกร้องของโจทก์มีเหตุอนั สมควรโดยความผิดหรื อเลินเล่อของผู ้
ขอ
ถ้าศาลเห็นหลงไปเองว่าสิ ทธิเรี ยกร้องของผูข้ อมีเหตุอนั ควร ถ้าโจทก์ผขู ้ อไม่ผดิ และไม่เลินเล่อ ก็ไม่เข้า
องค์ประกอบในข้อนี
- จําเลยได้รับความเสียหายจากคําสังศาลนัน
2.มาตรา 263 ( 2 )
- ไม่ว่าคดีนนศาลจะตั
ั ดสิ นให้โจทก์ชนะหรื อแพ้คดี
- ศาลมีคาํ สังโดยมีความเห็นหลงไปว่าวิธีการชัวคราวทีสังไปนันมีเหตุผลเพียงพอโดยความผิดหรื อเลินเล่อของ
ผูข้ อ
เช่น โจทก์นาํ พยานมาสื บว่าจําเลยกําลังยักย้ายจําหน่ายทรัพย์ ศาลหลงเชือจึงอนุญาตให้ยึดทรัพย์จาํ เลยชัวคราว
แต่
ปรากฏว่าแท้จริ งแล้วคนข้างบ้านของจําเลยย้ายของ
- จําเลยได้รับความเสียหายจากคําสังศาลนัน
- การคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความระหว่างพิจารณา และกรณีทีศาลยอมรับเอาบุคคลเป็ นประกัน
1. การคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความระหว่างพิจารณา
มาตรา 264 นอกจากกรณี ในมาตรา 253 และ 254 คูค่ วามสามารถยืนคําขอต่อศาล เพือให้มีคาํ สังกําหนดวิธีการ
เพือคุม้ ครองประโยชน์ของผู้
ขอในระหว่างพิจารณาหรื อเพือบังคับตามคําพิพากษา
คําขอตามวรรคหนึง ให้บงั คับตามมาตรา 21 , 25 , 227 , 228 , 260 , 262
2. กรณีทีศาลยอมรับเอาบุคคลเป็ นประกัน
มาตรา 265 กรณี ศาลยอมรับเอาบุคคลเป็ นประกัน และบุคคลนันแสดงกิริยาทีพอเห็นได้ว่าจะทําให้โจทก์
เสี ยเปรี ยบ หรื อจะหลีกเลียง ขัดขวาง
หรื อกระทําให้เนินช้า ซึงการปฏิบตั ิหน้าทีของตน ให้นาํ บทบัญญัติหมวดนี ( วิธีการชัวคราวก่อนพิพากษา ) มา
ใช้บงั คับ

หน่วยที 7 การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรื อคําสัง

- เมือลูกหนีตามคําพิพากษาหรื อผูแ้ พ้คดีไม่ปฏิบตั ิตามคําพิพากษาหรื อคําสัง เจ้าหนีตามคําพิพากษาหรื อผูช้ นะ


คดีมีสิทธิ ร้องขอให้บงั คับได้ภายใน 10 ปี
- การขอบังคับคดีทาํ ได้โดยการยืนคําขอฝ่ ายเดียวเพือให้ศาลออกคําบังคับหรื อหมายบังคับคดี
- คําพิพากษาหรื อคําสังย่อมใช้บงั คับแก่ผคู้ าประกั
ํ นในศาลได้ โดยไม่ตอ้ งฟ้องเป็ นคดีใหม่
- เมือศาลเห็นว่าคําบังคับนันได้ส่งให้แก่ลูกหนีตามคําพิพากษาหรื อลูกหนีตามคําพิพากษาได้ลงลายมือชือไว้

Sensitivity: Internal
เป็ นสําคัญแล้ว และระยะเวลาทีศาลได้กาํ หนด
ไว้เพือให้ปฏิบตั ิตามคําบังคับได้ลว่ งพ้นไปแล้ว และคําขอนันมีขอ้ ความระบุไว้ครบถ้วน ให้ศาลออกหมาย
บังคับคดี
- ศาลมีอาํ นาจออกคําสังให้ผขู ้ อยึดวางเงินประกันตามจํานวนทีศาลเห็นสมควรในเวลาออกหมายบังคับคดีได้
- ศาลมีอาํ นาจไต่สวนเพือสืบหาทรัพย์สินของลูกหนีตามคําพิพากษา ตามคําร้องของเจ้าหนีตามคําพิพากษา
- อํานาจหน้าทีของเจ้าหน้าทีบังคับคดีเริ มนับตังแต่วนั ทีส่ งหมายบังคับคดีให้แก่ลูกหนีตามคําพิพากษา หรื อถ้า
ไม่มีการส่งหมายบังคับคดีกใ็ ห้นบั ตังแต่วนั
ออกหมายนัน
- เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจในฐานะผูแ้ ทนเจ้าหนีตามคําพิพากษาในอันทีจะรับชําระหนี หรื อทรัพย์สินที
ลูกหนีนํามาวาง กับมีอาํ นาจยึดอายัดและขาย
ทอดตลาดในทรัพย์สินของลูกหนีตามคําพิพากษา
- เจ้าพนักงานบังคับคดีตอ้ งดําเนินการบังคับคดีในเวลากลางวันและวันทํางานปกติ
- เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจเท่าทีจําเป็ นเพือค้นสถานทีอันเป็ นของลูกหนีตามคําพิพากษาหรื อทีลูกหนีตาม
คําพิพากษาครอบครองอยู่ และมีอาํ นาจ
กระทําการตามทีเห็นสมควรเพือเปิ ดสถานทีดังกล่าว รวมทังตูน้ ิรภัย ตูห้ รื อทีเก็บของอืน
- ผูม้ ีส่วนได้เสี ยในวิธีการบังคับคดีอาจอยูด่ ว้ ยในการบังคับคดี แต่ตอ้ งไม่ทาํ การป้องกันหรื อขัดขวางแก่การ
บังคับคดี
- เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจรวบรวมเงินให้พอชําระหนีตามคําพิพากษาหรื อคําสัง โดยวิธีการยึด อายัด หรื อ
ขายทรัพย์สินของลูกหนี
- เครื องนุ่งห่มหลับนอนหรื อเครื องใช้ในครัวเรื อน เครื องมือหรื อเครื องใช้ทีจําเป็ นในการเลียงชีพหรื อประกอบ
วิชาชีพ วัตถุเครื องใช้ และอุปกรณ์ทีจําเป็ น
ต้องใช้ทาํ หน้าทีแทนหรื อช่วยอวัยวะของลูกหนีตามคําพิพากษา ทรัพย์สินของลูกหนีทีโอนกันไม่ได้ตาม
กฎหมาย หรื อทรัพย์สินทีตามกฎหมายย่อมไม่อยู่
ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ทังหมดนีไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี
- เบียเลียงชีพ เงินรายได้อนั บุคคลภายนอกให้เพือเลียงชีพเป็ นคราว ๆ เงินเดือน บํานาญ บําเหน็จ เบียหวัด
ค่าจ้าง ค่าชดใช้ เงินสงเคราะห์ และเงิน
ฌาปนกิจสงเคราะห์ ทังหมดนีไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี

รายละเอียดทัวไป

- การร้องขอบังคับคดี
มาตรา 271 ถ้าบุคคลซึงแพ้คดี ( ลูกหนีตามคําพิพากษา ) ไม่ปฏิบตั ิตามคําพิพากษาหรื อคําสังศาลทังหมดหรื อ
บางส่วน บุคคลซึงเป็ นฝ่ ายชนะ ( เจ้า
หนีตามคําพิพากษา ) สามารถร้องขอให้บงั คับคดีตามคําพิพากษาหรื อคําสังนันได้ภายใน 10 ปี นับแต่วนั ทีศาล
พิพากษาหรื อมีคาํ สัง
- คําบังคับ

Sensitivity: Internal
1.คําบังคับ
มาตรา 272 ถ้าต้องมีการบังคับคดี ให้ศาลกําหนดวิธีทีจะปฏิบตั ิในวันทีอ่านคําพิพากษาหรื อคําสัง และให้เจ้า
พนักงานศาลส่งคําบังคับนันไปยัง
ลูกหนีตามคําพิพากษา เว้นลูกหนีตามคําพิพากษาอยูใ่ นศาลในวันทีศาลมีคาํ บังคับนันและศาลให้ลงลายมือชือ
ไว้
2.รายการในคําบังคับ
มาตรา 273 ถ้าในคําบังคับกําหนดให้ใช้เงิน หรื อส่งทรัพย์สิน หรื อให้กระทําการหรื องดเว้น ให้ศาลระบุในคํา
บังคับโดยชัดแจ้งซึ งระยะเวลาและ
เงือนไข ถ้าคดีมโนสาเร่ ศาลไม่ตอ้ งให้เวลาลูกหนีตามคําพิพากษาเกิน 15 วันในการปฏิบตั ิตามคําพิพากษาหรื อ
คําสังนัน
ถ้าพิพากษาหรื อมีคาํ สังโดยขาดนัด ให้ศาลให้เวลาไม่ตากว่
ํ า 7 วันในการปฏิบตั ิตามคําพิพากษาหรื อคําสังนัน
ระยะเวลาเริ มนับตังแต่วนั ทีลูกหนีตามคําพิพากษาลงลายมือชือไว้ หรื อวันทีได้ส่งคําบังคับนันแก่ลกู หนีตามคํา
พิพากษา ( แล้ว
แต่กรณี ) เว้นศาลกําหนดโดยชัดแจ้งว่าให้เริ มนับวันใด
ให้ศาลระบุโดยชัดแจ้งในคําบังคับว่า ถ้าไม่ปฏิบตั ิตามทีกําหนดไว้ ลูกหนีตามคําพิพากษาจะต้องถูกยึดทรัพย์
หรื อถูกจับและ
จําขัง
- การคําประกันในศาล
มาตรา 274 ถ้าบุคคลใดเข้าเป็ นผูค้ าประกั
ํ นในศาลเพือการชําระหนีตามคําพิพากษาหรื อคําสัง คําพิพากษาหรื อ
คําสังนันย่อมใช้บงั คับแก่การประกัน
นันได้โดยไม่ตอ้ งฟ้องผูค้ าประกั
ํ นขึนใหม่
- หมายบังคับคดี คือ คําสังของศาลทีตังเจ้าพนักงานเป็ นเจ้าพนักงานบังคับคดีเพือดําเนินการบังคับคดีให้
เป็ นไปตามคําพิพากษาหรื อคําสัง
- หมายบังคับคดี
1.การขอให้ออกหมายบังคับคดี
มาตรา 275 ถ้าเจ้าหนีตามคําพิพากษาขอให้บงั คับคดี ให้ยืนคําขอฝ่ ายเดียวต่อศาลเพือให้ออกหมายบังคับคดี
คําขอให้ระบุโดยชัดแจ้ง
( 1 ) คําพิพากษาหรื อคําสังซึ งจะขอให้มีการบังคับคดีตามนัน
( 2 ) จํานวนทียังไม่ได้รับชําระตามคําพิพากษาหรื อคําสังนัน
( 3 ) วิธีการบังคับคดีซึงขอให้ออกหมายนัน
2.การออกหมายบังคับคดี
มาตรา 276 ถ้าศาลเห็นว่าคําขอบังคับได้ส่งแก่ลูกหนีตามคําพิพากษาหรื อลูกหนีตามคําพิพากษาได้ลงลายมือ
ชือไว้ และระยะเวลาทีกําหนดไว้
เพือปฏิบตั ิตามคําบังคับได้พน้ แล้ว และคําขอนันมีขอ้ ความระบุไว้ครบถ้วน ให้ศาลออกหมายบังคับคดีทนั ที
หมายเช่นว่านีให้แจ้ง
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ ส่วนลูกหนีตามคําพิพากษานันให้ส่งสําเนาหมายเมือศาลสังให้เจ้าหนีตามคํา

Sensitivity: Internal
พิพากษาจัดการส่ง
หรื อให้พนักงานบังคับคดีมีหน้าทีแสดงหมายนัน
กรณี ออกหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินอย่างหนึงโดยเฉพาะ ถ้าศาลสงสัยว่าไม่ควรยึด ศาลจะสังให้ผขู ้ อวางเงิน
หรื อหาประกันมา
ให้ก็ได้ เพือป้องกันการบุบสลายหรื อสู ญหายทีอาจเกิดขึนเนืองจากการยึดทรัพย์ผิด
กรณี ออกหมายบังคับคดีให้ลูกหนีส่ งมอบทรัพย์สิน กระทําการหรื องดเว้น หรื อให้ขบั ไล่ลูกหนี ให้ระบุ
เงือนไขลงในหมาย ให้
ศาลกําหนดการบังคับคดีเท่าทีสภาพจะเปิ ดช่องให้ทาํ ได้โดยทางศาลหรื อทางเจ้าพนักงานบังคับคดี
3.การขอให้ศาลออกหมายเรี ยกลูกหนีตามคําพิพากษาหรื อบุคคลอืนมาให้ถอ้ ยคํา
มาตรา 277 ถ้าเจ้าหนีเชือว่าลูกหนีมีทรัพย์สินทีต้องถูกบังคับมากกว่าทีตนทราบ เจ้าหนีสามารถยืนคําขอฝ่ าย
เดียวโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาลให้
ไต่สวนและออกหมายเรี ยกลูกหนีหรื อบุคคลอืนมาไต่สวนได้
เมือมีคาํ ขอ ให้ศาลไต่สวนตามกําหนดและเงือนไขตามทีเห็นสมควร
ในคดีมโนสาเร่ ศาลจะออกหมายเรี ยกลูกหนีหรื อบุคคลอืนมาไต่สวนเกียวกับทรัพย์สินลูกหนีก่อนออกหมาย
บังคับคดี แล้วจด
แจ้งการไต่สวนลงไว้ในหมายบังคับคดีก็ได้
- เจ้าพนักงานบังคับคดี หมายถึง เจ้าพนักงานศาลหรื อเจ้าพนักงานอืนผูม้ ีอาํ นาจตามบทบัญญัติกฎหมายทีใช้อยู่
ในอันทีจะปฏิบตั ิตามวิธีการทีบัญญัติในภาค 4 เพือคุม้ ครองสิ ทธิของคูค่ วามในระหว่างพิจารณา หรื อเพือ
บังคับการให้เป็ นไปตามคําพิพากษาหรื อคําสัง แต่ตอ้ งมีหมายบังคับคดีจากศาลแต่งตังให้บคุ คลนันเป็ นเจ้า
พนักงานบังคับคดีเสียก่อนทุกครังไป
- อํานาจและหน้าทีของเจ้าพนักงานบังคับคดี
1.อํานาจและหน้าทีของเจ้าพนักงานบังคับคดี
มาตรา 278 นับแต่วนั ทีส่ งหมายบังคับคดีแก่ลูกหนี หรื อถ้าหมายไม่ได้ส่งก็นบั แต่วนั ออกหมาย ให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีมีอาํ นาจเป็ นผูแ้ ทนเจ้า
หนี ในการรับชําระหนีหรื อทรัพย์สินทีลูกหนีนํามาวางและออกใบรับให้ และอํานาจหน้าทีทีจะยึด อายัด หรื อ
ยึดถือทรัพย์สินของ
ลูกหนี และอํานาจทีจะเอาทรัพย์สินขายทอดตลาด และอํานาจทีจะจําหน่ายทรัพย์สินหรื อเงินรายได้จากการนัน
และดําเนินการ
ตามทีศาลกําหนดไว้ในหมายบังคับคดี
เจ้าพนักงานบังคับคดีเป็ นผูร้ ับผิดในการรักษาซึงเงินหรื อทรัพย์สินหรื อเอกสาร ทียึดมาหรื อได้ชาํ ระแก่เจ้า
พนักงานตามหมาย
บังคับคดี
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทาํ บันทึกแล้วรักษาในทีปลอดภัยซึงวิธีการบังคับคดีทงหมายที
ั ได้ทาํ ไป และรายงาน
ต่อศาลเป็ นระยะ
2.การดําเนินการบังคับคดีของเจ้าพนักงานบังคับคดี
มาตรา 279 เจ้าพนักงานบังคับคดีตอ้ งบังคับคดีในระหว่างพระอาทิตย์ขึนถึงพระอาทิตย์ตกในวันทําการปกติ

Sensitivity: Internal
เว้นกรณี ฉุกเฉินโดยศาลอนุญาต
เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจเท่าทีจําเป็ นเพือค้นสถานทีของลูกหนีหรื อทีลูกหนีได้ปกครองอยู่และร้านค้าขาย
และมีอาํ นาจยึด
และตรวจสมุดและกระทําการตามสมควรเพือเปิ ดสถานทีดังกล่าว รวมทังตูน้ ิรภัยหรื อทีเก็บของอืน ๆ
ถ้ามีผขู ้ ดั ขวาง เจ้าพนักงานบังคับคดีสามารถขอความช่วยเหลือจากตํารวจได้
- บุคคลผูม้ ีส่วนได้เสี ยในการบังคับคดี
มาตรา 280 บุคคลต่อไปนีถือว่าเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสียในวิธีบงั คับคดี
( 1 ) เจ้าหนีและลูกหนี และลูกหนี ( ในกรณี ทีมีการอายัดสิ ทธิเรี ยกร้อง )
( 2 ) บุคคลซึงชอบทีจะใช้สิทธิ อนั ได้จดทะเบียนไว้โดยชอบ หรื อทีได้ยืนคําร้องตามมาตรา 288 , 289 , 290
เว้นแต่คาํ ขอเช่นว่าได้ถูก
ยกในชันทีสุด
มาตรา 281 ผูม้ ีส่วนได้เสี ยสามารถร้องขอสําเนาบันทึกทีเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ทาํ ขึน โดยเสี ยค่าธรรมเนียม
ตามทีกําหนด
- วิธีการบังคับคดี
มาตรา 282 ถ้าคําพิพากษาหรื อคําสังกําหนดให้ชาํ ระเงิน เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจรวบรวมเงินโดยวิธียึด
อายัด และขายทรัพย์สินลูกหนี คือ
( 1 ) ยึดและขายทอดตลาดสังหาริ มทรัพย์ทีมีรูปร่ าง และอสังหาริ มทรัพย์
( 2 ) อายัดสังหาริ มทรัพย์ทีมีรูปร่ าง และอสังหาริ มทรัพย์ รวมทังสิ ทธิ ในทรัพย์นนซึ
ั งบุคคลภายนอกจะต้องส่ง
มอบหรื อโอนมายังลูกหนี
และเมือได้ส่งมอบหรื อโอนมาก็เอาทรัพย์สินหรื อสิ ทธิเหล่านีออกขาย ในกรณีนีเจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจ
ยึดเอกสารทีให้สิทธิ
แก่ลูกหนีในการทีจะได้รับส่งมอบหรื อรับโอนหรื อสิทธิเช่นว่านัน
( 3 ) อายัดเงินทีบุคคลภายนอกต้องชําระแก่ลูกหนี แล้วเรี ยกเก็บตามนัน ในกรณี นีเจ้าพนักงานบังคับคดีมี
อํานาจยึดเอกสารทีให้สิทธิ
แก่ลูกหนีในการทีจะได้รับชําระเงินเช่นว่านัน
( 4 ) ยึดเอกสารอืน ๆ ทังปวง เช่น สัญญากระทําการงานซึงได้รับการชําระเงินทังหมดหรื อบางส่วนแล้ว ซึง
การบังคับตามสัญญานี
อาจเพิมจํานวนหรื อราคาทรัพย์ของลูกหนี และเพือทีจะนํามาตรา 310 ( 4 ) มาใช้บงั คับ
ทรัพย์สินของภรรยาและบุตรผูเ้ ยาว์ของลูกหนี ซึงตามกฎหมายอาจถือได้ว่าเป็ นของลูกหนี หรื อทรัพย์สินที
บังคับเอาชําระหนีได้ เจ้า
พนักงานบังคับคดีสามารถยึด อายัด และเอาออกขายได้
- ความรับผิดของเจ้าพนักงานบังคับคดี
มาตรา 283 ถ้าต้องยึดหรื ออายัดและขายทรัพย์สินของลูกหนี เจ้าพนักงานบังคับคดีสามารถยึดหรื ออายัดหรื อ
ขายทรัพย์สินทีเจ้าหนีอ้างว่าเป็ นของ
ลูกหนีภายใต้มาตรา 284 และ 288
ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ยดึ ทรัพย์ภายในเวลาอันควร โดยปราศจากความระมัดระวัง หรื อโดยสมรู้กบั ลูกหนี

Sensitivity: Internal
หรื อบุคคลเจ้าของ
ทรัพย์ หรื อเพิกเฉยไม่ทาํ การโดยเร็ ว เจ้าหนีผูเ้ สี ยหายสามารถยืนคําร้องต่อศาลขอให้ปลดเปลืองทุกข์ได้ ถ้าศาล
ไต่สวนเป็ นทีพอใจว่า
ข้ออ้างเป็ นจริ ง ให้ศาลสังให้เจ้าพนักงานบังคับคดีอยูใ่ นความรับผิด ต้องชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนแก่เจ้าหนีไม่
เกินจํานวนตามคํา
พิพากษา แต่ถา้ เจ้าพนักงานมีความสงสัยในการยึดหรื ออายัดทรัพย์สินทีเจ้าหนีได้นาํ ชีซึงบุคคลอืนเป็ นเจ้าของ
ทรัพย์ทียึดถือมีชือเป็ นเจ้า
ของในทะเบียน เจ้าพนักงานสามารถงดเว้นการยึดหรื ออายัดทรัพย์สินนัน และร้องต่อศาลเพือตนไม่ตอ้ งรับผิด
ในค่าสิ นไหมทดแทนดังกล่าว
มาตรา 284 เว้นแต่มีกฎหมายกําหนดไว้หรื อศาลมีคาํ สังเป็ นอย่างอืน ห้ามยึดหรื ออายัดทรัพย์สินของลูกหนีเกิน
กว่าจํานวนหนีและค่าฤชาธรรมเนียม
ในคดีและค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี ถ้าได้เงินมาพอ ห้ามเอาทรัพย์สินออกขายหรื อจําหน่าย
ความรับผิดต่อลูกหนีหรื อบุคคลภายนอกเพือความเสียหาย ( ถ้าหากมี ) อันเกิดจากการยึดและขายทรัพย์สิน
โดยมิชอบ หรื อยึด
เกินกว่าทีจําเป็ นแก่การบังคับคดี ให้ตกแก่เจ้าหนี เว้นเจ้าพนักงานบังคับคดีทาํ การฝ่ าฝื นบทบัญญัติกฎหมายนี
- ทรัพย์สินทีไม่ตกอยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี
มาตรา 285 ทรัพย์สินทีไม่ตกอยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี
( 1 ) เครื องนุ่งห่ มหลับนอน หรื อเครื องใช้ในครัวเรื อน โดยราคารวมกันไม่เกิน 5 พันบาท แต่ศาลจะกําหนดให้
ทรัพย์สินทีมีราคาเกิน
ราคาเกิน 5 พันบาทให้เป็ นทรัพย์สินทีไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดีก็ได้ โดยคํานึงถึงความจําเป็ นตาม
ฐานะของลูกหนี
( 2 ) เครื องมือ หรื อเครื องใช้ทจํี าเป็ นในการเลียงชีพหรื อประกอบวิชาชีพ โดยราคารวมกันไม่เกิน 1 หมืนบาท
แต่ถา้ ลูกหนีมีคาํ ขอโดย
ทําเป็ นคําร้องขอยึดหน่วงและใช้เครื องมือหรื อเครื องใช้ทีจําเป็ นในการเลียงชีพทีมีราคาเกิน 1 หมืนบาท ให้
ศาลใช้ดุลยพินิจ
อนุญาตหรื อไม่อนุญาตภายในบังคับแห่งเงือนไขตามทีศาลเห็นสมควร
( 3 ) วัตถุ เครื องใช้ และอุปกรณ์ทีต้องใช้ทาํ หน้าทีแทนหรื อช่วยอวัยวะของลูกหนี
( 4 ) ทรัพย์สินทีโอนกันไม่ได้ตามกฎหมาย หรื อตามกฎหมายไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
ทรัพย์สินลูกหนีทีมีลกั ษณะเป็ นของส่วนตัวโดยแท้ เช่น หนังสื อวงศ์ตระกูล สามารถยึดมาตรวจดูเพือการ
บังคับคดีได้ ( ถ้าจําเป็ น )
แต่ห้ามเอาออกขาย
ในมาตรานี ข้อยกเว้นนันให้รวมถึงทรัพย์สินของภริ ยาหรื อบุตรผูเ้ ยาว์ของลูกหนี
คําสังศาลตามวรรคหนึง ( 1 ) และ ( 2 ) ให้อทุ ธรณ์ยงั ศาลอุทธรณ์ได้ และให้เป็ นทีสุ ด
- สิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นเงินทีไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี
มาตรา 286 สิ ทธิเรี ยกร้องเป็ นเงินทีไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี
( 1 ) เบียเลียงชีพทีกฎหมายกําหนดไว้ และเงินรายได้เป็ นคราวทีบุคคลภายนอกยกให้เพือเลียงชีพเป็ นจํานวนที

Sensitivity: Internal
ศาลเห็นสมควร
( 2 ) เงินเดือน ค่าจ้าง บํานาญ บําเหน็จ และเบียหวัดราชการหรื อลูกจ้างรัฐบาล และเงินสงเคราะห์หรื อบํานาญ
ทีรัฐบาลจ่ายแก่คู่
สมรสหรื อญาติทียังมีชีวิตอยูข่ องบุคคลเหล่านัน
( 3 ) เงินเดือน ค่าจ้าง บํานาญ ค่าชดใช้ เงินสงเคราะห์หรื อรายได้อนในลั
ื กษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจ้าง
หรื อคนงานนอกจาก
ทีกล่าวใน ( 2 ) ทีนายจ้างจ่ายให้แก่บุคคลเหล่านันหรื อคู่สมรสหรื อญาติทียังมีชีวิตอยูเ่ ป็ นจํานวนตามทีศาล
เห็นสมควร
( 4 ) เงินฌาปนกิจสงเคราะห์ทีลูกหนีได้รับเนืองจากการตายของบุคคลอืน เป็ นจํานวนตามทีจําเป็ นในการ
ฌาปนกิจศพตามฐานะผู ้
ตายตามทีศาลเห็นสมควร
การกําหนดเงินตาม ( 1 ) และ ( 3 ) ให้ศาลกําหนดไม่นอ้ ยว่าอัตราเงินเดือนขันตําสุ ดของข้าราชการพลเรื อน
โดยคํานึงถึงฐานะใน
ครอบครัวของลูกหนี และจํานวนบุพการี และผูส้ ืบสันดานทีอยูใ่ นความอุปการะของลูกหนี
กรณี เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจออกคําสังอายัดตามมาตรา 311 ว.2 ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีกาํ หนดจํานวน
เงินตาม ( 1 ) ( 2 )
และ ( 4 ) และนําวรรคสองมาใช้ในการกําหนดเงินตาม ( 1 ) และ ( 3 ) แต่ถา้ เจ้าหนี ลูกหนี หรื อบุคคลภายนอก
ผูม้ ีส่วนได้เสี ย ไม่เห็น
ด้วยกับจํานวนเงินเจ้าพนักงานบังคับคดีกาํ หนด บุคคลนันสามารถยืนคําร้องต่อศาลภายใน 15 วันนับแต่วนั
ทราบ เพือขอให้ศาลกําหนด
จํานวนเงินใหม่ได้
กรณีทีพฤติการณ์การดํารงชีพของลูกหนีเปลียนแปลงไป บุคคลตามวรรคสามจะยืนคําร้องให้ศาลหรื อเจ้า
พนักงานบังคับคดี ( แล้ว
แต่กรณี ) กําหนดเงินตาม ( 1 ) และ ( 3 ) ใหม่ก็ได้
คําสังศาลเกียวกับการกําหนดจํานวนเงินนี สามารถอุทธรณ์ยงั ศาลอุทธรณ์ได้ และให้เป็ นทีสุ ด

หน่วยที 8 การบังคับคดีตามคําพิพากษาหรื อคําสัง ( 2 )

- การบังคับคดีของศาลไม่กระทบกระทังถึงบุริมสิทธิหรื อสิทธิของบุคคลภายนอก และกฎหมายกําหนดให้


บุคคลภายนอกอาจร้องขอให้บงั คับเหนือทรัพย์นนั
ตามสิทธิของตน
- การร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ยอ่ มกระทําได้ในข้ออ้างทีว่า จําเลยหรื อลูกหนีตามคําพิพากษาไม่ใช่เจ้าของ
ทรัพย์สินทีเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ยึดไว้ แต่ตอ้ งยืน
คําร้องขอต่อศาลในระยะเวลาทีกฎหมายกําหนดไว้
- บุคคลภายนอกอาจจะบังคับชําระหนีเอาจากทรัพย์สินของลูกหนีตามคําพิพากษาทีเจ้าพนักงานบังคับคดีได้
ยึดไว้ หรื อบังคับจํานองหลุดได้

Sensitivity: Internal
- เมือลูกหนีคนเดียวกันมีเจ้าหนีตามคําพิพากษาหลายคดี เจ้าหนีทีไม่ได้ยึดหรื ออายัดทรัพย์ไว้ก่อนจะเข้ายึด
หรื ออายัดซําอีกไม่ได้ ต้องยืนคําร้องขอเฉลีย
- ศาลอาจมีคาํ สังงดการบังคับคดีดว้ ยเหตุหลายประการ และเจ้าพนักงานบังคับคดีก็อาจงดการบังคับคดีได้เอง
ตามบทบัญญัติของกฎหมาย
- เจ้าพนักงานบังคับคดีอาจจะถอนการบังคับคดีตามทีกฎหมายกําหนดไว้ หรื อตามคําสังศาล
- ถ้าศาลออกหมายบังคับคดีหรื อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ดาํ เนินการบังคับคดีโดยฝ่ าฝื นต่อกฎหมาย อาจมีการ
ขอให้ยกหรื อแก้ไขหมายบังคับคดี หรื อยก
เลิกการบังคับคดีทีผิดพลาดนันได้
- ลูกหนีตามคําพิพากษามีหน้าทีต้องปฏิบตั ิตามคําพิพากษา ถ้าสามารถปฏิบตั ิตามคําพิพากษาได้ แต่จงใจฝ่ าฝื น
และไม่มีวิธีบงั คับอืนใดได้อีก เจ้าหนีตาม
คําพิพากษาอาจร้องขอให้ศาลมีคาํ สังจับกุมและกักขังลูกหนีตามคําพิพากษา เพือบังคับให้ปฏิบตั ิตามคํา
พิพากษาต่อไปได้
- ตามปกติศาลทีมีอาํ นาจในการบังคับคดี ได้แก่ ศาลทีได้พิจารณาและตัดสินคดีในศาลชันต้น

รายละเอียดทัวไป

- บุริมสิ ทธิ หรื อสิ ทธิอนื ๆ ของบุคคลภายนอก


มาตรา 287 ภายใต้มาตรา 288 และ 289 การบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนีไม่กระทบถึงบุริมสิทธิหรื อสิทธิ
อืน ๆ ทีบุคคลภายนอกอาจร้องขอให้
บังคับเหนือทรัพย์สินได้ตามกฎหมาย
อธิบาย - การบังคับคดีไม่กระทบกระเทือนต่อบุริมสิทธิหรื อสิ ทธิอืน ๆ ของบุคคลภายนอกเหนือทรัพย์สินนัน
ซึงถ้าทรัพย์ทียึดมานันบุคคล
ภายนอกมีบุริมสิทธิหรื อสิทธิอืน ๆ เหนือทรัพย์สินนัน บุริมสิ ทธิหรื อสิ ทธิอนื ๆ ของบุคคลภายนอกจะไม่ได้
รับการกระทบกระเทือน
จากการบังคับคดีนนั หมายความว่า เจ้าหนีตามคําพิพากษาอาจบังคับคดีได้เพียงเท่าทีไม่ทาํ ให้เสี ยหายแก่
บุริมสิ ทธิ หรื อสิ ทธิอืน ๆ
ของบุคคลภายนอก ซึงอาจทําให้เจ้าหนีตามคําพิพากษาไม่ได้รับชําระหนีจากทรัพย์สินทียึดนันเลยหรื ออาจ
ได้รับเงินจากส่วนทีเหลือ
เช่น อาจต้องชําระหนีเจ้าหนีจํานองก่อน
- การร้องขอให้ปล่อยทรัพย์ทียึด
มาตรา 288 ถ้าบุคคลใดอ้างว่าจําเลยหรื อลูกหนีไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินทีเจ้าพนักงานบังคับคดียดึ ไว้ ก่อนเอา
ทรัพย์สินจําหน่าย สามารถยืนคําร้อง
ต่อศาลให้ปล่อยทรัพย์สินนันได้ โดยให้ผกู ้ ล่าวอ้างส่งสําเนาคําร้องแก่โจทก์หรื อเจ้าหนี และจําเลยหรื อลูกหนี
และเจ้าพนักงานบังคับคดี
โดยลําดับ เมือเจ้าพนักงานบังคับคดีได้รับคําร้องให้งดการจําหน่ายทรัพย์นนไว้ั
เมือได้ยนคํ
ื าร้องขอต่อศาล ให้ศาลพิจารณาและชีขาดตัดสิ นคดีนนเหมื ั อนอย่างคดีธรรมดา เว้นแต่

Sensitivity: Internal
( 1 ) เมือเจ้าหนียืนคําขอโดยทําเป็ นคําร้องก่อนวันชีสองสถานหรื อวันสืบพยาน หากมีพยานหลักฐานเบืองต้น
ว่าคําร้องขอนันไม่มี
มูลและยืนมาเพือประวิงเวลาให้ชกั ช้า ศาลมีอาํ นาจสังให้ผกู ้ ล่าวอ้างวางเงินในเวลาทีกําหนด เพือประกันการ
ชําระค่าสิ นไหม
ทดแทนแก่เจ้าหนีสําหรับความเสียหายทีอาจได้รับเนืองจากเหตุชกั ช้าในการบังคับคดี ถ้าผูก้ ล่าวอ้างไม่ปฏิบตั ิ
ให้ศาล
จําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
( 2 ) ถ้าทรัพย์สินเป็ นสังหาริ มทรัพย์และมีพยานหลักฐานว่าคําร้องขอไม่มีเหตุอนั ควรฟัง หรื อทรัพย์นนเก็
ั บไว้
นานไม่ได้ ศาลมี
อํานาจสังให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจาํ หน่ายทรัพย์สินโดยไม่ชกั ช้า
คําสังตามวรรคสอง ( 1 ) และ ( 2 ) ให้เป็ นทีสุ ด
- การขอรับชําระหนีจากทรัพย์สินทีถูกยึดหรื อขอบังคับจํานองหลุดของบุคคลภายนอก
มาตรา 289 ถ้าบุคคลใดชอบทีจะบังคับชําระหนีจากทรัพย์สินของลูกหนีทียึดไว้ หรื อชอบทีจะได้เงินจากการที
จําหน่ายทรัพย์สินนันได้โดยอาศัย
อํานาจการจํานองหรื ออํานาจแห่งบุริมสิทธิ บุคคลนันสามารถยืนคําร้องขอต่อศาลให้เอาเงินทีได้มาชําระหนี
ตนก่อนเจ้าหนีอืน ในกรณีที
สามารถบังคับเอาทรัพย์สินทีจํานองหลุดได้ ผูร้ ับจํานองจะมีคาํ ขอให้เอาทรัพย์ทีจํานองหลุดก็ได้
กรณี จาํ นองอสังหาริ มทรัพย์หรื อบุริมสิ ทธิเหนืออสังหาริ มทรัพย์โดยได้จดทะเบียน ให้ยืนคําร้องขอก่อนเอา
ทรัพย์สินนันขายทอด
ตลาด ส่วนกรณี อนื ๆ ให้ยนคํ ื าร้องขอก่อนส่งคําบอกกล่าวในมาตรา 319
ถ้าศาลอนุญาตให้เอาทรัพย์จาํ นองหลุด การยึดทรัพย์ทีจํานองเป็ นอันเพิกถอนไปในตัว และเจ้าหนีตามคํา
พิพากษาได้รับแต่เงินที
เหลือ ภายหลังทีหักชําระค่าธรรมเนียมการบังคับจํานอง และชําระหนีผูร้ ับจํานองหรื อเจ้าหนีบุริมสิ ทธิแล้ว
- การร้องขอเฉลียทรัพย์สินหรื อเงินทีขายหรื อจําหน่าย
มาตรา 290 เมือเจ้าพนักงานบังคับคดียดึ หรื ออายัดทรัพย์สินลูกหนี ห้ามเจ้าหนีตามคําพิพากษาอืนยึดหรื ออายัด
ซําอีก แต่สามารถยืนคําขอโดยทํา
เป็ นคําร้องเพือให้ศาลมีคาํ สังให้ตนเข้าเฉลียทรัพย์สินหรื อเงินทีจําหน่ายทรัพย์สินนันได้
ห้ามศาลอนุญาตตามคําขอเช่นว่า เว้นแต่ผยู ้ นคํื าขอไม่สามารถเอาชําระได้จากทรัพย์สินอืน ๆ ของลูกหนีได้
เจ้าพนักงานผูม้ ีอาํ นาจตามกฎหมายภาษีอากรในการสังยึดหรื ออายัดทรัพย์สินลูกหนีเพือชําระค่าภาษีอากรที
ค้าง ให้มีสิทธิขอเฉลีย
ทรัพย์สินเช่นเดียวกับเจ้าหนีตามวรรคหนึง แต่ถา้ เจ้าพนักงานไม่ได้ยึดหรื ออายัดไว้ก่อน ให้ขอเฉลียภายใต้
บังคับวรรคสอง
กรณีทียึดทรัพย์สินเพือจําหน่าย คําขอนีให้ยืนก่อนสิ นเวลา 14 วันนับแต่วนั ทีจําหน่าย
กรณีทียึดเงิน ให้ยืนคําขอก่อนสิ นระยะ 14 วันนับแต่วนั ยึด
เมือส่งสําเนาคําขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดี ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการจ่ายเงินหรื อทรัพย์สินจนกว่าศาล
วินิจฉัยชีขาด เมือศาล

Sensitivity: Internal
มีคาํ สังประการใดให้ส่งให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีปฏิบตั ิตามคําสังนัน
กรณี เจ้าหนีสละสิ ทธิ ในการบังคับคดีหรื อเพิกเฉยไม่ดาํ เนินการบังคับคดีภายในเวลาทีเจ้าพนักงานบังคับคดี
กําหนด ผูข้ อเฉลียหรื อผู ้
ยืนคําร้องตามมาตรา 287 หรื อ 288 มีสิทธิขอให้ดาํ เนินการบังคับคดีต่อไป
คําสังอนุญาตตามวรรคแปด ให้เป็ นทีสุ ด
มาตรา 291 เมือศาลยกคําร้องขอเฉลียโดยเหตุยนไม่ ื ทนั กําหนด ผูข้ อสามารถยืนคําร้องต่อศาลได้อีกครังก่อนได้
มีการส่ งคําบอกกล่าวตามมาตรา
319 เพือขอให้ศาลมีคาํ สังดังนี
( 1 ) ให้ผยู ้ ืนคําขอมีสิทธิรับชําระเงินทีเหลือภายหลังทีได้ชาํ ระแก่เจ้าหนีผูย้ ึดแล้ว
( 2 ) กรณี ศาลถอนการยึดหรื อเจ้าหนีสละสิ ทธิ การบังคับคดี ถือว่าผูข้ อเป็ นเจ้าหนีผูย้ ึดต่อไปตังแต่วนั ยืนคําร้อง
และให้บงั คับคดีไป
ตามนัน
คําสังมาตรานีให้เป็ นทีสุ ด
- การงดการบังคับคดี
มาตรา 292 เจ้าพนักงานบังคับคดีตอ้ งงดการบังคับคดี กรณี ดงั ต่อไปนี
( 1 ) ถ้าคําพิพากษากระทําไปโดยขาดนัด หากลูกหนียืนคําขอให้พจิ ารณาใหม่ เมือศาลส่งคําสังให้งดการบังคับ
คดีไปยังเจ้าพนักงาน
บังคับคดี แต่ไม่ตดั สิ ทธิ เจ้าหนีในการขอให้มีคาํ สังวิธีการชัวคราว
( 2 ) ถ้าศาลสังงดการบังคับคดีไว้ เมือศาลส่ งคําสังให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงด
การบังคับคดีตามทีศาล
กําหนด
( 3 ) ถ้าเจ้าหนีแจ้งเป็ นหนังสื อไปยังเจ้าพนักงานบังคับคดีวา่ ตนตกลงงดการบังคับคดีไว้ ในเวลาหรื อใน
เงือนไขอย่างใดอย่างหนึง
( 4 ) เมือเจ้าหนีไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 154
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีส่งคําบอกกล่าวงดการบังคับคดีนนั ให้แก่เจ้าหนีและบุคคลภายนอกผูม้ ีส่วนได้เสี ย
มาตรา 293 ลูกหนีสามารถมีคาํ ของดการบังคับคดีไว้ โดยเหตุทีตนได้ยืนฟ้องเจ้าหนีเป็ นคดีเรื องอืนในศาล
เดียวกัน ซึงศาลยังไม่ได้ชีขาด และหากตน
ชนะจะสามารถหักกลบลบหนีกันได้
ถ้าศาลเห็นว่าข้ออ้างมีเหตุฟังได้และถ้างดการบังคับคดีไว้ไม่น่าเป็ นทีเสี ยหายแก่เจ้าหนี ศาลอาจสังงดการ
บังคับคดีไว้ภายในเวลา
และเงือนไขตามเห็นสมควร
คําสังมาตรานีให้เป็ นทีสุ ด
มาตรา 294 ถ้ามีการงดการบังคับคดี ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีบงั คับคดีต่อไป เมือศาลส่งคําสังให้ดาํ เนินคดี
ต่อไปยังเจ้าพนักงานบังคับคดีแล้ว โดย
ศาลเป็ นผูอ้ อกคําสัง หรื อเจ้าหนียืนคําขอเนืองจากระยะเวลาทีให้งดการบังคับพ้นไป หรื อเนืองจากไม่ปฏิบตั ิ
ตามเงือนไขทีศาลหรื อเจ้าหนี

Sensitivity: Internal
กําหนด หรื อเนืองจากศาลทีคดีนนอยู ั ใ่ นระหว่างพิจารณาในชันอุทธรณ์หรื อฎีกาได้พิพากษายืนตาม แต่ถา้ ยืน
ตามบางส่ วน เจ้า
พนักงานบังคับคดีบงั คับคดีไม่ได้ ถ้าเงินทีรวบรวมได้ก่อนงดการบังคับคดีพอชําระหนี
ถ้างดการบังคับคดีตามมาตรา 154 ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีบงั คับคดีต่อไป เมือเจ้าหนีปฏิบตั ิตามมาตรานี
- การถอนการบังคับคดี
มาตรา 295 ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดีได้ ในกรณี ต่อไปนี
( 1 ) เจ้าพนักงานบังคับคดีถอนเองหรื อถอนโดยคําสังศาล เมือลูกหนีวางเงินต่อศาลหรื อต่อเจ้าพนักงานบังคับ
คดี เป็ นจํานวนพอชําระ
หนีพร้อมค่าฤชาธรรมเนียม หรื อได้หาประกันมาให้
( 2 ) ถ้าเจ้าหนีแจ้งไปยังเจ้าพนักงานบังคับคดี เป็ นหนังสื อว่าตนสละสิทธิการบังคับคดีนนั
( 3 ) ถ้าคําพิพากษาได้ถูกกลับในชันทีสุ ด หรื อหมายบังคับคดีได้ถูกยกเลิก เมือศาลทีออกหมายบังคับคดีส่ง
คําสังแก่เจ้าพนักงาน
บังคับคดี แต่ถา้ ถูกกลับบางส่วน การบังคับคดีดาํ เนินต่อไปจนกว่าเงินจะพอชําระหนี
มาตรา 295 ทวิ ถ้าเจ้าหนีเพิกเฉยไม่บงั คับคดีภายในเวลาทีเจ้าพนักงานบังคับคดีกาํ หนด ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีขอให้ศาลสังถอนการบังคับนันเสีย
มาตรา 295 ตรี กรณี ยึดทรัพย์ทีไม่ใช่ตวั เงิน หรื อกรณี ยึดหรื ออายัดเงิน หรื ออายัดทรัพย์สินแล้วไม่มีการ
จําหน่าย เนืองจากเจ้าพนักงานบังคับคดีถอน
การบังคับคดีหรื อถอนโดยคําสังศาล และผูข้ อให้ยึดหรื ออายัดไม่ชาํ ระค่าธรรมเนียมแก่เจ้าพนักงานบังคับคดี
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
ขอหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของผูน้ นเพืั อชําระค่าธรรมเนียม ให้ถือว่าเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็ นเจ้าหนีตาม
คําพิพากษาในส่วนทีเป็ น
ค่าธรรมเนียม และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีบงั คับคดีได้เอง
- การยกหรื อแก้ไขหมายบังคับคดี และการยกเลิกการบังคับคดีทีผิดพลาด
มาตรา 296 กรณี คาํ บังคับ หมายบังคับคดี หรื อคําสังศาลในชันบังคับคดีฝ่าฝื นบทบัญญัติ เมือศาลเห็นสมควร
ในเวลาก่อนการบังคับคดีสาํ เร็ จลง
หรื อเมือเจ้าพนักงานบังคับคดีรายงานต่อศาล หรื อเมือเจ้าหนี ลูกหนี หรื อบุคคลภายนอกผูม้ ีส่วนได้เสี ยยืนคํา
ร้องต่อศาล ให้ศาลมี
อํานาจสังเพิกถอนหรื อแก้ไข
ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดีบงั คับคดีฝ่าฝื นบทบัญญัติ เมือศาลเห็นสมควรในเวลาก่อนการบังคับคดีสาํ เร็ จลง หรื อ
เมือเจ้าหนี ลูกหนี
หรื อบุคคลภายนอกผูม้ ีส่วนได้เสียยืนคําร้องต่อศาล ให้ศาลมีอาํ นาจสังเพิกถอนหรื อแก้ไขกระบวนวิธีการ
บังคับคดี
คําร้องนันทําได้ก่อนการบังคับคดีเสร็ จลง แต่ตอ้ งไม่ชา้ กว่า 15 วันนับแต่ทราบมูลแห่งข้ออ้างนัน และต้องไม่
ดําเนินการอันใดขึน
ใหม่หลังจากทราบการฝ่ าฝื นหรื อต้องไม่ให้สัตยาบันแก่การกระทํานัน โดยผูย้ นคํ ื าร้องจะขอต่อศาลใน
ขณะเดียวกันให้งดการบังคับคดีไว้

Sensitivity: Internal
ในระหว่างวินิจฉัยชีขาดก็ได้
ให้ถือว่าการบังคับคดีเสร็ จลง เมือมีการดําเนินการดังต่อไปนี
( 1 ) กรณี คาํ บังคับคดีกาํ หนดให้ส่งมอบทรัพย์สิน กระทําการหรื องดเว้น เมือได้มีการปฏิบตั ิตามคําบังคับนัน
แล้ว ถ้าการปฏิบตั ิ
แยกเป็ นส่ วน ๆ เมือปฏิบตั ิตามส่วนใด ถือว่าบังคับคดีเสร็ จลงเฉพาะส่วนนัน
( 2 ) กรณี คาํ บังคับกําหนดให้ใช้เงิน เมือเจ้าพนักงานบังคับคดีได้จา่ ยเงินแล้ว แต่ถา้ ทรัพย์สินทีถูกบังคับมีหลาย
รายการ เมือเจ้า
พนักงานบังคับคดีจ่ายเงินทีได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์สินรายการใด ถือว่าบังคับคดีเสร็ จลงเฉพาะ
ทรัพย์สินรายการนัน
ในการยืนคําร้อง หากมีพยานหลักฐานว่าคําร้องไม่มีมูลและยืนเพือประวิงให้ชกั ช้า เมือศาลเห็นสมควร หรื อ
เจ้าหนีหรื อบุคคลอืนที
อาจเสี ยหายร้องขอ ศาลมีอาํ นาจสังให้ผยู ้ ืนคําร้องวางเงินหรื อหาประกันตามจํานวนและเวลาทีกําหนด เพือ
ประกันค่าสิ นไหมทดแทน
ถ้าไม่ปฏิบตั ิ ให้ศาลสังยกคําร้องขอนัน คําสังศาลในวรรคนีให้เป็ นทีสุ ด
กรณีศาลสังยกคําร้องในวรรคหนึงและวรรคสอง ถ้าเจ้าหนีหรื อบุคคลทีเสียหายจากการยืนคําร้อง เห็นว่าคํา
ร้องไม่มีมูลและยืนเพือ
ประวิงให้ชกั ช้า บุคคลดังกล่าวสามารถยืนคําร้องต่อศาลภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีมีคาํ สังยกคําร้อง เพือขอให้
ศาลสังให้ผยู ้ นคํ
ื าร้องชด
ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนได้ และให้ศาลมีอาํ นาจสังแยกพิจารณาเป็ นสํานวนต่างหากจากคดีเดิม เมือศาลไต่
สวนแล้วเห็นว่าคําร้องนัน
รับฟังได้ ให้ศาลสังให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามเห็นสมควร ถ้าไม่ชดใช้ คําสังศาลมีอาํ นาจบังคับผูย้ ืนคํา
ร้องนันเสมือนเป็ นลูกหนี
ตามคําพิพากษา
มาตรา 296 ทวิ กรณี ลูกหนีถูกพิพากษาให้ขบั ไล่ ถ้าลูกหนีไม่ปฏิบตั ิตามคําบังคับ เจ้าหนีสามารถยืนคําขอฝ่ าย
เดียวโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาล ให้มีคาํ
สังตังเจ้าพนักงานบังคับคดีให้จดั การให้เจ้าหนีเข้าครอบครองทรัพย์
เมือศาลสังตังเจ้าพนักงานบังคับคดีตามวรรคหนึง ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจดําเนินการดังห้ามาตรา
ต่อไปนี
มาตรา 296 ตรี ถ้าทรัพย์ไม่มีบคุ คลอยูอ่ าศัย เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจมอบทรัพย์ให้เจ้าหนีครอบครองได้
ทันที ถ้าจําเป็ นให้มีอาํ นาจทําลายสิ ง
อุปสรรคในการให้เข้าครอบครองได้ตามสมควร
ถ้ายังมีสิงของอยูใ่ นทรัพย์ เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจมอบให้เจ้าหนีรักษาไว้ หรื อขนย้ายโดยลูกหนีเสีย
ค่าใช้จ่ายก็ได้ ให้เจ้า
พนักงานบังคับคดีทาํ บัญชีสิงของและแจ้งให้ลูกหนีมารับคืนภายในเวลาทีกําหนด ถ้าไม่มารับ เจ้าพนักงาน
บังคับคดีโดยได้รับอนุญาต
จากศาลมีอาํ นาจขายทอดตลาดแล้วเก็บรักษาเงินไว้

Sensitivity: Internal
กรณีสิงของทีอยูใ่ นทรัพย์ มีสภาพเป็ นของสดของเสียได้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจขายได้ทนั ที
กรณีสิงของนันถูกยึดหรื ออายัด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจย้ายสถานทีเก็บรักษาตามเห็นสมควร
ค่าใช้จ่ายลูกหนีเป็ นผูเ้ สี ย
มาตรา 296 จัตวา ถ้าลูกหนีหรื อบริ วารยังไม่ออกไปตามคําบังคับศาล ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีปฏิบตั ิดงั นี
( 1 ) รายงานต่อศาลเพือมีคาํ สังจับกุมและกักขัง และศาลมีอาํ นาจสังจับกุมและกักขังได้ทนั ที และนํามาตรา
300 มาใช้บงั คับ
( 2 ) เมือศาลมีคาํ สังสังตาม ( 1 ) หรื อลูกหนีหรื อบริ วารหลบหนี ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดาํ เนินการตามมาตรา
296 ตรี
( 3 ) ปิ ดประกาศกําหนดเวลา ให้ผทู ้ ีอ้างว่าไม่ใช่บริ วารของลูกหนียืนคําร้องแสดงอํานาจพิเศษต่อศษลภายใน 8
วันนับแต่วนั ปิ ด
ประกาศ ถ้าไม่ยืน ให้สันนิษฐานว่าเป็ นบริ วารลูกหนี
บุคคลทีอาศัยในทรัพย์ในระหว่างทีเจ้าพนักงานบังคับคดีจดั การให้เจ้าหนีเข้าครอบครองทรัพย์ ให้ถือว่าเป็ น
บริ วารลูกหนี
มาตรา 296 เบญจ กรณี ทีลูกหนีต้องรื อถอนสิ งปลูกสร้างไปจากทรัพย์นนด้ ั วย เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจ
จัดการรื อถอนและขนย้ายสิ งของ ค่าใช้จ่ายลูก
หนีเป็ นผูเ้ สี ย
การรื อถอน ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีปิดประกาศกําหนดการรื อถอนไม่น้อยกว่า 7 วัน และให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีใช้ความ
ระมัดระวังตามสมควรแก่พฤติการณ์ในการรื อถอนนัน
เจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ตอ้ งรับผิดในการปฏิบตั ิหน้าทีตามมาตรานี เว้นกระทําโดยมีเจตนาร้ายหรื อประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง
วัสดุทีถูกรื อถอนและสิ งของทีขนย้ายออกจากสิ งปลูกสร้าง ถ้าไม่รับคืนไป เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจเก็บ
รักษาหรื อขายแล้วเก็บ
เงินไว้ ถ้าไม่เรี ยกเอาทรัพย์หรื อเงินนันคืนภายใน 5 ปี นับแต่วนั ประกาศกําหนดการรื อถอน ให้ตกเป็ นของ
แผ่นดิน
กรณีสิงปลูกสร้างถูกยึด เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจขายทอดตลาด แล้วเก็บเงินทีเหลือหักจากค่าใช้จ่ายและ
ค่าธรรมเนียมไว้
มาตรา 296 ฉ เจ้าหนีมีหน้าทีช่วยเจ้าพนักงานบังคับคดีในการดําเนินการบังคับคดีดงั กล่าว และทดรองเงิน
ค่าใช้จ่าย
มาตรา 296 สัตต เจ้าพนักงานบังคับคดีสามารถขอความช่วยเหลือจากพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจได้ และ
เจ้าพนักงานฝ่ ายปกครองหรื อตํารวจมี
อํานาจจับกุมและคุมตัวผูข้ ดั ขวาง
- การจับกุมและกักขังลูกหนีตามคําพิพากษา
มาตรา 297 เจ้าหนีสามารถยืนคําขอฝ่ ายเดียวโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาล ในเวลาตังแต่ระยะเวลาทีกําหนดไว้เพือ
การปฏิบตั ิตามคําพิพากษาทีขอให้มี
การบังคับได้พน้ ไปจนถึงเวลาทีการบังคับคดีสินสุ ดลง ขอให้ศาลสังจับกุมและกักขังลูกหนีทีจงใจไม่ปฏิบตั ิ

Sensitivity: Internal
ตามหมายบังคับคดี
ห้ามศาลอนุญาตตามคําขอ เว้นเป็ นทีพอใจจากพยานหลักฐานทีผูร้ ้องนํามาสื บหรื อทีศาลเรี ยกมาสื บ ว่า
( 1 ) ลูกหนีสามารถปฏิบตั ิตามคําพิพากษาหรื อคําสังนันได้ ถ้าได้กระทําการโดยสุ จริ ต และ
( 2 ) ไม่มีวิธีบงั คับอืนใดทีเจ้าหนีจะใช้บงั คับได้
มาตรา 298 เมือมีคาํ ขอให้จบั ตัวลูกหนี ให้ศาลออกหมายเรี ยกลูกหนีมาศาล
ถ้าออกหมายเรี ยกแล้วไม่มาศาล และไม่แจ้งเหตุอนั ควรทีไม่มาให้ศาลทราบ ศาลจะออกหมายจับก็ได้ หรื อถ้า
ลูกหนีมาศาลแต่
แสดงเหตุอนั ควรในการปฏิบตั ิตามคําบังคับไม่ได้ ศาลมีอาํ นาจสังกักขังลูกหนีทันที
ถ้าลูกหนีไม่ได้รับหมายเรี ยก หรื อแจ้งเหตุอนั ควรทีไม่มาต่อศาล ให้ศาลเลือนการนังพิจารณาคําขอนันไป แต่
ถ้าศาลเห็นว่าลูกหนี
เลียงไม่รับหมาย ศาลออกหมายจับตามคําขอทันทีก็ได้
ถ้าลูกหนีมาศาลและแสดงเหตุอนั ควรได้ ศาลจะยกคําขอหรื อมีคาํ สังอย่างอืนก็ได้
ศาลมีอาํ นาจไต่สวนตามเห็นสมควร และลูกหนีนําพยานมาสื บแก้ได้
มาตรา 299 การกักขังลูกหนี และการจับกุมและการควบคุมตัวผูข้ ดั ขวาง ไม่ตดั สิ ทธิทีจะดําเนินคดีในความผิด
อาญา
มาตรา 300 ลูกหนีทีถูกจับกุมโดยเหตุจงใจขัดขืนคําบังคับคําบังคับ ต้องถูกกักขังจนกว่ามีประกัน หรื อประกัน
และหลักประกัน ตามทีศาลเห็นสม
ควร ว่าตนยินยอมปฏิบตั ิตามคําบังคับทุกประการ แต่ไม่ให้กกั ขังแต่ละครังเกิน 6 เดือน
กรณี ผิดสัญญาประกัน ศาลมีอาํ นาจสังบังคับตามสัญญาประกันหรื อตามจํานวนเงินตามทีศาลเห็นสมควร โดย
ไม่ตอ้ งฟ้องผูท้ าํ
สัญญาประกัน
มาตรา 301 กรณี ศาลยอมรับบุคคลเป็ นประกัน และบุคคลนันจงใจขัดขวางการบังคับคดีหรื อร่วมกับลูกหนีขัด
ขืนไม่ปฏิบตั ิตามคําบังคับ ให้นาํ
มาตรา 297 , 298 , 299 , 300 มาใช้
- ศาลทีมีอาํ นาจบังคับคดี
มาตรา 302 ศาลทีมีอาํ นาจออกหมายบังคับคดีหรื อหมายจับกุมลูกหนี หรื อศาลทีมีอาํ นาจวินิจฉัยชีขาดเรื องอัน
เกียวกับการบังคับคดี คือ ศาลทีได้
พิจารณาและชีขาดคดีในชันต้น
ถ้าศาลอุทธรณ์ส่งคดีไปยังศาลชันต้นอืนทีไม่ได้พิพากษา หรื อคําสังทีอุทธรณ์นนเพืั อการและพิพากษาใหม่
ตามมาตรา 243 ( 2 )
และ ( 3 ) ให้ศาลทีมีคาํ พิพากษาหรื อคําสังใหม่นนั เป็ นศาลทีมีอาํ นาจในการบังคับคดี เว้นศาลอุทธรณ์กาํ หนด
เป็ นอืน
กรณี ศาลออกหมายบังคับคดีให้อีกศาลหนึงบังคับคดีแทน ให้ส่งทรัพย์ทียึดได้หรื อเงินทีได้จากการขายทรัพย์
นัน ( แล้วแต่กรณี ) ไป
ยังศาลทีออกหมาย
จาก พิษณุโลก (58.147.124.117) วันที 19/10/2549 23:56:01

Sensitivity: Internal
ตอบ No. 1 หน่วยที 9 วิธียึดทรัพย์ อายัดทรัพย์ และการจ่ายเงิน
จาก พิษณุโลก
วันที 19/10/2549 - การยึดทรัพย์ของลูกหนีตามคําพิพากษา แบ่งเป็ น 2 กรณี คือ
23:57:16 1.การยึดเอกสารและสังหาริ มทรัพย์มีรูปร่ าง
2.การยึดอสังหาริ มทรัพย์
- ผลของการยึดทรัพย์ทาํ ให้การก่อให้เกิด โอน หรื อเปลียนแปลง ซึงสิ ทธิ ในทรัพย์สินที
ถูกยึดภายหลังทีได้ทาํ การยึดไว้แล้ว ไม่อาจใช้ยนั แก่เจ้าหนีตามคํา
พิพากษาหรื อเจ้าพนักงานบังคับคดีได้ แต่ถา้ ลูกหนีตามคําพิพากษาได้รับมอบหมายให้
เป็ นคนอารักขาทรัพย์สินทีถูกยึด มีสิทธิใช้ทรัพย์สินนันตามสมควร
- เมือได้ยึดทรัพย์สินแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีจะต้องขออนุญาตขายทอดตลาดและ
ดําเนินการขายทอดตลาดตามข้อบังคับทีบัญญัติในกฎหมาย แต่ถา้
สามารถจัดการอสังหาริ มทรัพย์ หรื อกิจการของลูกหนีตามคําพิพากษาจนมีรายได้พอแก่
การชําระหนีตามคําพิพากษา เจ้าพนักงานบังคับคดีอาจจะตัง
ผูจ้ ดั การทรัพย์สินแทนการขายทอดตลาดได้
- สิ ทธิเรี ยกร้องของลูกหนีตามคําพิพากษาทีมีต่อบุคคลภายนอกซึ งตามปกติจะยึดไม่ได้
ต้องใช้วธิ ีการอายัด ( แต่อาจมีในกรณี ทียึดพันธบัตร หลักทรัพย์ที
เป็ นประกัน หรื อตราสารเปลียนมือได้ ) หรื อจะใช้วิธีการฟ้องร้องก็ได้
- บุคคลภายนอกทีถูกอายัดมีสิทธิโต้แย้งได้ แต่ถา้ คําโต้แย้งนันฟังไม่ขึนหรื อไม่ได้โต้แย้ง
ไว้ แล้วบุคคลภายนอกนันไม่ปฏิบตั ิตามคําสังอายัด บุคคลภาย
นอกจะตกอยูใ่ นฐานะเสมือนหนึงว่า เป็ นลูกหนีตามคําพิพากษาและยังอาจต้องชดใช้ค่า
สิ นไหมทดแทนอีกด้วย
- เมือได้ทรัพย์สินทีอายัดมาแล้ว เจ้าพนักงานบังคับคดีจะต้องขายทอดตลาดหรื อศาล
อาจจะสังให้จาํ หน่ายโดยวิธีอนก็ื ได้ และเมือมีการอายัดทรัพย์แล้ว
จะเกิดผลทางกฎหมายตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา 314 ( 1 ) – ( 3
)
- เจ้าพนักงานบังคับคดีมีหน้าทีต้องทําบัญชีรายละเอียดแสดงจํานวนเงินทังหมด และ
บัญชีทรัพย์สินแต่ละรายซึงอยูใ่ นบังคับการจํานองหรื อบุริมสิทธิ เสร็ จ
แล้วมีหน้าทีจัดสรรแบ่งเฉลียเงินให้แก่เจ้าหนีตามคําพิพากษา
- ในกรณีทีมีเจ้าหนีตามคําพิพากษาหลายราย หรื อมีเจ้าหนีบุริมสิทธิ หรื อจํานอง เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีหน้าทีต้องทําบัญชีส่วนเฉลีย เจ้าหนีมีสิทธิยืนคํา
แถลงคัดค้านบัญชีส่วนเฉลียได้
- ถ้ามีเงินเหลือจากการบังคับคดี เจ้าพนักงานบังคับคดีจะต้องจําหน่ายเงินทีเหลือให้แก่ผู ้
มีสิทธิได้รับตามกฎหมาย บรรดาเงินต่าง ๆ ทีค้างจ่าย ถ้าไม่
เรี ยกร้องภายในกําหนดให้ตกเป็ นของแผ่นดิน

Sensitivity: Internal
รายละเอียดทัวไป

- การยึดทรัพย์สินของลูกหนีตามคําพิพากษา
มาตรา 303 การยึดเอกสารและสังหาริ มทรัพย์ทีมีรูปร่ างของลูกหนี ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีทาํ โดย
( 1 ) นํามาฝากไว้ ณ สถานทีใดหรื อแก่บุคคลใดตามทีเห็นสมควร และแจ้งการยึดให้
ลูกหนีทราบ
( 2 ) มอบให้ลูกหนีโดยเจ้าหนียินยอม หรื อมอบแก่บคุ คลทีครอบครองทรัพย์นนอยู ั ่ และ
แจ้งการยึดให้ลูกหนีทราบ และประทับตรา
หรื อวิธีอืนใดทีทําให้การยึดนันเห็นประจักษ์แจ้ง
การยึดสังหาริ มทรัพย์ครอบไปถึงดอกผลด้วย
มาตรา 304 การยึดอสังหาริ มทรัพย์ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเอาหนังสื อสําคัญสําหรับ
ทรัพย์สินนัน และฝากไว้ ณ สถานทีใดหรื อบุคคลใดตามเห็น
สมควร และแจ้งการยึดให้ลูกหนีและเจ้าพนักงานทีดินทราบ ถ้าหนังสือสําคัญไม่มี ให้
ถือว่าการทีได้แจ้งการยึดต่อลูกหนีและพนักงานที
ดินเป็ นการยึดตามกฎหมายแล้ว
การยึดอสังหาริ มทรัพย์ ครอบถึงเครื องอุปกรณ์และดอกผลนิตินยั เว้นกฎหมายบัญญัติ
เป็ นอืน ดอกผลธรรมดาทีลูกหนีต้องเก็บ
เกียว เมือเจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งเป็ นหนังสื อให้ทราบในขณะทําการยึดว่า จะทําการ
เก็บเกียวเอง เจ้าพนักงานบังคับคดีสามารถเก็บ
เกียวได้และทําการขายทอดตลาด
- ผลของการยึดทรัพย์สินของลูกหนี ตามคําพิพากษา
มาตรา 305 การยึดทรัพย์สินลูกหนี ในสองมาตราก่อน มีผลดังนี
( 1 ) การทีลูกหนีโอนหรื อเปลียนแปลงสิ ทธิในทรัพย์สินทีถูกยึดภายหลังทําการยึด ใช้ยนั
แก่เจ้าหนีหรื อเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่ได้ แม้
ราคาทรัพย์สินเกินจํานวนหนีและค่าธรรมเนียม และลูกหนีจําหน่ายในส่วนทีเกินก็ตาม
( 2 ) ถ้าลูกหนีได้รับมอบหมายให้รักษาสังหาริ มทรัพย์มีรูปร่ างทีถูกยึด ลูกหนีสามารถใช้
ทรัพย์สินนันได้ตามสมควร แต่ถา้ เจ้าพนักงาน
บังคับคดีเห็นว่าทรัพย์สินเสี ยหายหรื อจะเสียหาย เจ้าพนักงานบังคับคดีจะรักษาทรัพย์สิน
นันเองหรื อตังผูใ้ ดจัดการทรัพย์สินนันก็ได้
- การขายทอดตลาดทรัพย์สิน
มาตรา 306 เมือยึดสังหาริ มทรัพย์มีรูปร่ างหรื ออสังหาริ มทรัพย์แล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดียนคํ
ื าขอให้ศาลสังอนุญาตให้ขายทอดตลาด ถ้าไม่มีผู้
คัดค้าน ให้ศาลอนุญาต แล้วให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งคําสังศาลและวันขายทอดตลาด
แก่บุคคลผูม้ ีส่วนได้เสี ยในการบังคับคดี
คําสังศาลมาตรานีให้เป็ นทีสุ ด

Sensitivity: Internal
มาตรา 307 ถ้ารายได้ประจําปี จากอสังหาริ มทรัพย์ หรื อการประกอบอุตสาหกรรม พาณิ ช
ยกรรม หรื อกสิกรรมของลูกหนี พอชําระหนีและค่าธรรรม
เนียม ศาลอาจมีคาํ สังตังผูจ้ ดั การอสังหาริ มทรัพย์หรื อการประกอบกิจการเหล่านันได้
และบังคับให้มอบเงินรายได้ต่อการขายทอดตลาด
ทรัพย์สินต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีภายในเวลาและกําหนดตามทีศาลเห็นสมคสร แทน
การขายทอดตลาด
คําสังศาลมาตรานีอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์ได้ และให้เป็ นทีสุ ด
มาตรา 308 เมือศาลอนุญาตให้ขาย เจ้าพนักงานบังคับคดีสามารถขายได้เมือพ้นระยะ
อย่างน้อย 5 วันนับแต่วนั ยึด การขายดําเนินการตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์และกฎกระทรวง และตามข้อกําหนดของศาล ( ถ้าหากมี )
ไม่ใช้บงั คับแก่ทรัพย์ทีเป็ นของสดของเสียได้ ซึงเจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจขายได้
ทันที
มาตรา 309 ในการขายทอดตลาด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีปฏิบตั ิดงั นี
( 1 ) การขายทรัพย์สินหลายสิ ง ให้แยกขายทีละสิงต่อเนืองกันไป แต่
( ก ) เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจจัดสังหาริ มทรัพย์ทีราคาเล็กน้อยรวมขายเป็ นกอง ๆ
ได้ และ
( ข ) เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจจัดสังหาริ มทรัพย์หรื ออสังหาริ มทรัพย์รวมขายได้ ถ้า
คาดหมายว่าเงินรายได้จะเพิมขึน
( 2 ) การขายอสังหาริ มทรัพย์รายใหญ่และทรัพย์สินนันสามารถแยกได้เป็ นตอน ๆ เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจขายทรัพย์สินนันเป็ น
ตอน ๆ ได้ ถ้าคาดหมายได้ว่าเงินรายได้ในการขายเพียงบางตอนจะพอแก่การบังคับคดี
หรื อเงินรายได้จะเพิมขึน
( 3 ) ในการขายทรัพย์สินหลายสิ ง เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจกําหนดลําดับทีจะขาย
ทรัพย์สินนัน
ผูม้ ีส่วนได้เสี ยสามารถร้องขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีรวมหรื อแยกทรัพย์สิน หรื อขอให้
ขายทรัพย์สินตามลําดับทีกําหนดไว้ หรื อร้อง
คัดค้านคําสังของเจ้าพนักงานบังคับคดีในสองมาตราก่อนนันก็ได้ ถ้าเจ้าพนักงานบังคับ
คดีไม่ปฏิบตั ิตามคําร้องขอ ผูร้ ้องสามารถร้องขอ
ต่อศาลได้ภายใน 2 วันนับแต่วนั ปฏิเสธ เพือขอให้ชีขาดได้ คําสังศาลให้เป็ นทีสุ ด และให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีเลือนการขายไปจนกว่า
ศาลจะมีคาํ สังหรื อระยะเวลาซึ งให้นาํ เรื องขึนสู่ ศาลได้สินสุ ดลง
มาตรา 309 ทวิ ในการขายทอดตลาด ก่อนเจ้าพนักงานบังคับคดีจะเคาะไม้ขายให้แก่ผู ้
เสนอราคาสู งสุ ด เจ้าหนี ลูกหนี หรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ยสามารถคัด
ค้านว่าราคาตําเกินควรได้ กรณี นีให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเลือนการขายไป และในการ
ขายครังต่อ ๆ ไป หากมีผเู ้ สนอราคาสู งสุ ด
จํานวนไม่นอ้ ยกว่าครังก่อน ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเคาะไม้ขายให้แก่ผเู ้ สนอราคานันได้

Sensitivity: Internal
ถ้าเจ้าหนี ลูกหนี หรื อผูม้ ีส่วนได้เสียทีเห็นว่าราคาจากการขายทอดตลาดมีจาํ นวนตํา และ
การขายทรัพย์การขายในราคาตํานันเกิด
จากการคบคิดกันฉ้อฉลของผูเ้ กียวข้องในการสู้ราคา หรื อความไม่สุจริ ตหรื อประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรงของเจ้าพนักงานบังคับคดี
บุคคลดังกล่าวสามารถยืนคําร้องต่อศาลขอให้มีคาํ สังเพิกถอนการขายทอดตลาดได้ และ
เมือศาลไต่สวนแล้วเห็นว่าคําร้องรับฟังได้ ให้
ศาลอนุญาต
นํามาตรา 296 วรรคสาม , สี ,ห้า , หก มาใช้บงั คับแก่การยืนคําร้องในวรรคสอง
คําสังศาลตามวรรคสองอุทธรณ์ยงั ศาลอุทธรณ์ได้ และให้เป็ นทีสุ ด
- สิ ทธิเรี ยกร้องของลูกหนีต่อบุคคลภายนอก
มาตรา 310 เมือมีการยึดทรัพย์ สิ ทธิเรี ยกร้องของลูกหนีของลูกหนีทีมีต่อบุคคลภายนอก
ให้จดั การดังนี
( 1 ) ถ้าเป็ นพันธบัตรและหลักทรัพย์ทีเป็ นประกันทีเป็ นของลูกหนีลูกหนี เจ้าพนักงาน
บังคับคดีตอ้ งร้องขอต่อศาลให้อนุญาตจําหน่าย
ตามรายการขานราคาในวันทีขายได้ ( หากสิ งนันมีรายการขานราคากําหนดไว้ ณ สถาน
แลกเปลียน ) หรื อจะขายทอดตลาดก็ได้
ถ้าไม่ได้ทาํ คําขอหรื อคําขอถูกยก ให้ขายโดยทอดตลาด
( 2 ) ถ้าเป็ นตราสารเปลียนมือ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีร้องขอต่อศาลให้อนุญาตจําหน่าย
ตามราคาทีปรากฏในตราสารนันหรื อตาม
ทีศาลเห็นสมควร ถ้าศาลยกคําขอ ให้ขายทอดตลาด
( 3 ) ถ้าสิ ทธิเรี ยกร้องอืน ๆ นอกจากทีกําหนดในมาตรา 310 ทวิ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
ร้องขอให้ศาลออกหมายเรี ยกให้บุคคลที
ต้องชําระหนีนันมาศาล ถ้ามาศาลและชําระหนี ให้ศาลจดรายงานไว้ ถ้าไม่มาหรื อไม่
ชําระหนี เมือเจ้าหนีร้องขอ ให้ศาลสัง
อนุญาตให้เจ้าหนีฟ้องตามเอกสารทีได้ยึดนัน และถ้าศาลพิพากษาให้เจ้าหนีชนะ เจ้าหนี
ต้องให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบ
จํานวนเงินทีได้รับชําระ
คําสังอนุญาตของศาลให้เป็ นทีสุด
มาตรา 310 ทวิ ถ้าลูกหนีมีสิทธิเรี ยกร้องต่อบุคคลภายนอกให้ชาํ ระเงินหรื อให้ส่งมอบ
สิ งของนอกจากทีบัญญัติในมาตรา 310 ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
อายัดและจําหน่ายตามห้ามาตราต่อไปนี
มาตรา 311 สิทธิเรี ยกร้องตามมาตรา 310 ทวิ ให้อายัดได้โดยคําสังทีศาลได้ออกให้ตามที
เจ้าหนีได้ยืนคําขอ และเจ้าหนีได้นาํ ส่ งแก่ลูกหนีและบุคคล
ทีต้องรับผิดเพือการชําระเงินหรื อส่งมอบสิ งของนัน
ศาลอาจกําหนดในหมายบังคับคดีให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอาํ นาจอายัดสิ ทธิเรี ยกร้องตา
มาตรา 310 ทวิ ได้ และให้ถือว่าคําสัง

Sensitivity: Internal
อายัดของเจ้าพนักงานบังคับคดีเป็ นคําสังอายัดของศาล
คําสังอายัด อาจออกให้ได้ไม่ว่าหนีจะมีขอ้ โต้แย้งหรื อข้อจํากัดหรื อเงือนไขหรื อว่าได้
กําหนดจํานวนไว้แน่นอนหรื อไม่
คําสังนัน ต้องมีขอ้ ห้ามลูกหนีให้งดเว้นการจําหน่ายสิ ทธิเรี ยกร้องตังแต่ขณะได้ส่งคําสัง
นัน และข้อห้ามบุคคลภายนอกไม่ให้ชาํ ระเงิน
หรื อส่งมอบสิ งของแก่ลูกหนี แต่ให้ชาํ ระหรื อส่งมอบแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีภายใน
เวลาทีกําหนดในคําสัง
- ข้อโต้แย้งและความรับผิดของบุคคลภายนอก
มาตรา 312 ถ้าบุคคลภายนอกปฏิเสธหรื อโต้แย้งหนีทีเรี ยกจากตน ศาลอาจไต่สวน และ (
1 ) ถ้าเป็ นทีพอใจแก่ศาลว่าหนีมีอยูจ่ ริ ง ให้มีคาํ สังให้
บุคคลภายนอกปฏิบตั ิตามคําสังทีอายัด หรื อ ( 2 ) ถ้าศาลเห็นว่าไม่สะดวกโดยวิธีไต่สวน
ให้มีคาํ สังอืนใดทีจะทําให้เรื องเสร็จไปได้
ถ้าคําสังอายัดไม่มีคดั ค้านหรื อศาลรับรองคําสัง และบุคคลภายนอกไม่ปฏิบตั ิตามนัน เจ้า
พนักงานบังคับคดีสามารถร้องขอให้ศาล
ออกหมายบังคับคดีและดําเนินการไปเสมือนเป็ นลูกหนีตามคําพิพากษา
ถ้าค่าแห่งสิ ทธิเรี ยกร้องเสื อมเสี ยไปเพราะความผิดบุคคลภายนอกเนืองจากไม่ปฏิบตั ิตาม
คําสังศาล บุคคลภายนอกต้องชดใช้ค่าสิน
ไหมทดแทนเพือความเสียหายนัน
- ขอบเขตและผลแห่งการอายัดสิ ทธิเรี ยกร้อง
มาตรา 313 การอายัดสิ ทธิเรี ยกร้องแห่งรายได้เป็ นคราว ๆ ให้รวมตลอดถึงจํานวนเงินที
ถึงกําหนดชําระภายหลังการอายัดนันด้วย
ถ้าสิ ทธิ เรี ยกร้องเป็ นการเรี ยกให้ชาํ ระเงินมีการจํานองเป็ นประกัน การอายัดรวมถึงการ
จํานองด้วย แต่เจ้าพนักงานบังคับคดีตอ้ ง
แจ้งคําสังอายัดไปยังเจ้าพนักงานทีดิน และให้เจ้าพนักงานทีดินจดในทะเบียนทีดิน
มาตรา 314 การอายัดสิ ทธิเรี ยกร้องในสองมาตราก่อน มีผลดังนี
( 1 ) การทีลูกหนีได้โอนหรื อเปลียนแปลงสิ ทธิเรี ยกร้องทีถูกอายัดภายหลังทีได้ทาํ การ
อายัด ใช้ยนั เจ้าหนีหรื อเจ้าพนักงานบังคับคดีไม่
ได้ แม้ราคาสิ ทธิ เรี ยกร้องนันเกินจํานวนหนีและค่าธรรมเนียม และลูกหนีจําหน่ายใน
ส่วนทีเกินจํานวนนันก็ตาม
( 2 ) ถ้าค่าของสิ ทธิเรี ยกร้องเสื อมเพราะความผิดเจ้าหนี เจ้าหนีต้องชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทนแก่ลูกหนีเพือความเสียหายนัน
( 3 ) การชําระหนีของบุคคลภายนอกตามทีระบุในคําสังอายัดทรัพย์ ถือว่าเป็ นการชําระ
หนีตามกฎหมาย
มาตรา 315 ถ้าสิ งของทีจะต้องส่ งมอบตามสิทธิเรี ยกร้องทีถูกอายัดได้ส่งมอบแก่เจ้า
พนักงานบังคับคดีแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายทอดตลาด
ถ้าการจําหน่ายกระทําโดยยาก และการบังคับคดีอาจล่าช้าซึ งเป็ นการเสี ยหายแก่คู่ความ

Sensitivity: Internal
หรื อบุคคลภายนอกผูม้ ีส่วนได้เสีย เมือ
บุคคลเช่นว่านันหรื อเจ้าพนักงานบังคับคดีร้องขอ ศาลจะกําหนดให้จาํ หน่ายโดยวิธีอืน
ใดก็ได้
- การจัดทําบัญชีและแบ่งเฉลียเงิน
มาตรา 316 ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทาํ บัญชีแสดงรายละเอียดจํานวนเงินทังหมด และทํา
บัญชีพิเศษสําหรับทรัพย์สินแต่ละราย ซึงอยู่ในบังคับ
จํานองหรื อบุริมสิทธิพิเศษทีได้มีการแจ้งให้ทราบโดยชอบแล้วตามมาตรา 289
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจดั สรรหรื อแบ่งเฉลียเงิน ดังในมาตราต่อไปนี
- การทําบัญชีส่วนเฉลียและการคัดค้านบัญชี
มาตรา 317 กรณี บงั คับตามคําพิพากษาหรื อคําสังโดยจําเลยขาดนัด ห้ามเฉลียเงินทีได้มา
ก่อน 6 เดือนนับแต่วนั ยึดทรัพย์หรื ออายัดทรัพย์ แต่ถา้ เจ้า
หนีแสดงให้ศาลพอใจว่าลูกหนีได้ทราบถึงคดีซึงขอให้มีการบังคับแล้ว ไม่นาํ มาตรานีมา
ใช้บงั คับ
มาตรา 318 กรณี เจ้าหนีเพียงคนเดียวขอร้องให้บงั คับคดี และไม่มีการแจ้งให้ทราบถึงการ
จํานองหรื อบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินทีจําหน่ายได้มาดัง
มาตรา 289 เมือจําหน่ายทรัพย์สินเสร็ จและหักค่าธรรมเนียมแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับ
คดีจ่ายเงินตามจํานวนหนีในคําพิพากษาและ
ค่าฤชาธรรมเนียมแก่เจ้าหนี
มาตรา 319 กรณี เจ้าหนีหลายคนร้องขอให้บงั คับคดี หรื อมีการแจ้งให้ทราบถึงการจํานอง
หรื อบุริมสิ ทธิเหนือทรัพย์สินทีจําหน่ายได้มาดังมาตรา 289
เมือจําหน่ายทรัพย์สินเสร็จและหักค่าธรรมเนียมแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทาํ บัญชี
ส่วนเฉลียแสดงจํานวนเงินทีจ่ายให้แก่เจ้าหนีตาม
คําพิพากษาหรื อเจ้าหนีบุริมสิ ทธิแต่ละคน และให้เจ้าพนักงานบังคับคดีส่งคําบอกกล่าว
ไปยังเจ้าหนีเหล่านันขอให้ตรวจสอบบัญชีและให้
แถลงข้อคัดค้านภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีส่ งคําบอกกล่าว
ถ้าไม่มีคาํ แถลงภายในกําหนด ถือว่าบัญชีส่วนเฉลียนันเป็ นทีสุ ด และให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีจ่ายเงินแก่เจ้าหนีเหล่านันตามบัญชี
มาตรา 320 ถ้าเจ้าหนียืนคําแถลงคัดค้านบัญชีส่วนเฉลียภายในกําหนด ให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีออกหมายเรี ยกให้เจ้าหนีทุกคนมาในเวลา และ ณ
สถานทีตามเห็นสมควร แต่ตอ้ งให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน
เจ้าหนีจะไปตามหมายด้วยตนเอง หรื อให้ผแู ้ ทนทีรับมอบอํานาจโดยชอบไปและกระทํา
การแทนก็ได้
เมือตรวจพิจารณาคําแถลงและฟังคําชีแจงของเจ้าหนี ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีทาํ คําสัง
ยืนตามหรื อแก้ไขบัญชีส่วนเฉลีย แล้วอ่าน
ให้เจ้าหนีฟังและให้เจ้าหนีลงลายมือชือรับทราบ และส่งคําสังนันไปยังเจ้าหนีทีไม่ได้มา
ตามหมายเรี ยกด้วย

Sensitivity: Internal
ถ้าเจ้าหนีไม่พอใจ สามารถยืนคําขอโดยทําเป็ นคําร้องคัดค้านคําสังนันต่อศาลได้ภายใน 7
วันนับแต่วนั ทีได้อ่านหรื อได้ส่งคําสัง ( แล้ว
แต่กรณี ) แต่ถา้ เจ้าหนีทียืนคําขอเป็ นผูไ้ ม่ได้ไปตามหมายเรี ยกและไม่สามารถแสดง
เหตุผลดีในการทีไม่ไป ให้ศาลยกคําขอ คําสังศาล
ในวรรคนีให้เป็ นทีสุ ด
ถ้าเจ้าหนีผูไ้ ด้มาตามหมายเรี ยกทุกคนยินยอมตามคําสังเจ้าพนักงานบังคับคดีและลง
ลายมือชือในการยินยอม และถ้าเจ้าหนีผูไ้ ม่
มาไม่ยืนคําคัดค้านในกําหนดเวลา ให้ถือว่าบัญชีส่วนเฉลียนันเป็ นทีสุ ด และให้เจ้า
พนักงานบังคับคดีจ่ายเงินแก่เจ้าหนีตามนัน
ถ้าเจ้าหนียืนคัดค้าน ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีเลือนการจ่ายส่วนเฉลียจนกว่าศาลจะมี
คําสัง หรื อทําการจ่ายส่วนเฉลียชัวคราว ดัง
มาตราต่อไปนี
ในมาตรานี ใช้บงั คับแก่ลูกหนีตามคําพิพากษาในเรื องค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
มาตรา 321 ถ้าเจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นว่า หากเลือนการจ่ายส่ วนเฉลียไปจนกว่าจะ
จําหน่ายทรัพย์สินทังหมดหรื อจนกว่าการเรี ยกร้องทังหมดทีมา
สู่ ศาลได้เสร็ จเด็ดขาด จะทําให้ผมู ้ ีส่วนเฉลียในเงินรายได้ได้รับความเสี ยหาย เจ้า
พนักงานบังคับคดีมีสิทธิแบ่งเงินรายได้เท่าทีพอแก่การ
จ่ายดังสองมาตราก่อนได้ เมือเจ้าพนักงานบังคับคดีกนั เงินไว้สาํ หรับชําระค่าฤชาธรรม
เนียมในการบังคับคดีทีอาจเกิดขึนต่อไปและ
สําหรับชําระการเรี ยกร้องใด ๆ ทียังมีขอ้ โต้แย้งไว้แล้ว
- เงินทีเหลือจากการบังคับคดี
มาตรา 322 เมือผูม้ ีส่วนได้เสี ยได้รับส่วนแบ่งเป็ นทีพอใจแล้ว ถ้ายังมีเงินเหลือและเงินที
เหลือได้ถูกอายัด ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจาํ หน่ายส่วนที
เหลือตามมาตรา 291 หรื อตามคําสังอายัดทรัพย์ ( แล้วแต่กรณี )
ถ้าเงินรายได้สุทธิทจํี าหน่ายทรัพย์สิน ไม่ตอ้ งการใช้สาํ หรับบังคับคดีต่อไป หรื อมีเงิน
เหลืออยูห่ ลังจากหักค่าธรรมเนียมและจ่ายแก่
เจ้าหนีจนเป็ นทีพอใจแล้ว ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินทีเหลือแก่ลูกหนี และถ้า
ทรัพย์สินบุคคลภายนอกต้องถูกจําหน่ายไปเพือ
ประโยชน์แก่ลูกหนีตามคําพิพากษา ให้จ่ายเงินรายได้สุทธินนแก่ ั บคุ คลภายนอกตามสิทธิ
เรี ยกร้องทีมีต่อลูกหนีตามคําพิพากษา
ถ้าจําหน่ายสังหาริ มทรัพย์รายใดไปตามมาตรา 288 และมีคาํ พิพากษาถึงทีสุ ดเป็ นคุณแก่ผู้
เรี ยกร้อง ให้ศาลหรื อเจ้าพนักงานบังคับ
คดีจ่ายเงินแก่ผเู ้ รี ยกร้อง
มาตรา 323 เงินค้างจ่ายทีอยูใ่ นศาลหรื อทีเจ้าพนักงานบังคับคดี ถ้าผูม้ ีสิทธิไม่ได้เรี ยกเอา
ภายใน 5 ปี ให้ตกเป็ นของแผ่นดิน

Sensitivity: Internal
หน่วยที 10 กระบวนพิจารณาตังแต่ขอให้ลม้ ละลายจนถึงปลดจากการล้มละลาย

- คดีลม้ ละลายต่างจากคดีแพ่งสามัญ ไม่ว่าเรื องอํานาจศาล หลักเกณฑ์การฟ้อง วิธี


พิจารณา และผลภายหลังยืนฟ้อง
- การพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราวและเด็
ั ดขาด แม้มีหลักเกณฑ์การสังต่างกัน แต่ก็มีผลเกือบจะ
เป็ นอย่างเดียวกัน คือ ตัดอํานาจของลูกหนีทีจะกระทําการใด ๆ
เกียวกับกิจการและทรัพย์สินของตนโดยสิ นเชิง
- กิจกรรมแรกทีจะต้องกระทําหลังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด คือ จัดให้ลูกหนียืนคําชีแจง
เกียวกับกิจการและทรัพย์สินของตน หลังจากนันเจ้าพนักงานพิทกั ษ์จะ
กําหนดเวลาให้ลูกหนียืนคําขอประนอมหนีพร้อมทังนัดประชุมเจ้าหนีครังแรก เพือ
ปรึ กษาว่าจะมีมติพิเศษยอมรับคําขอนันหรื อไม่
- การประชุมเจ้าหนี มี 2 อย่าง
1.การประชุมเจ้าหนีครังแรก
จะต้องมีในคดีลม้ ละลาย
2.การประชุมเจ้าหนีครังอืน
อาจจะมีหรื อไม่มีก็ได้
- เพือความสะดวกในการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี ทีประชุมเจ้าหนีอาจจัดตังกรรมการ
เจ้าหนีไว้ก็ได้
- การไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย เป็ นการไต่สวนเพือทราบข้อเท็จจริ งเกียวกับกิจการและ
ทรัพย์สิน ตลอดจนความประพฤติของลูกหนี

รายละเอียดทัวไป

- การขอให้ลม้ ละลาย
1.อํานาจศาลในการพิพากษาคดีลม้ ละลาย
มาตรา 7 ลูกหนีทีมีหนีสิ นล้นพ้นตัวอาจถูกพิพากษาให้ลม้ ละลายได้ ถ้าลูกหนีมีภมู ิลาํ เนา
ในราชอาณาจักร หรื อประกอบธุรกิจในราชอาณาจักร (
ไม่วา่ ด้วยตนเองหรื อโดยตัวแทน ) ภายในกําหนด 1 ปี
มาตรา 8 ถ้ามีเหตุต่อไปนี ให้สันนิษฐานว่าลูกหนีมีหนีสิ นล้นพ้นตัว
( 1 ) ลูกหนีโอนทรัพย์สิน หรื อสิทธิ จดั การทรัพย์สินแก่บคุ คลอืนเพือประโยชน์แห่ง
เจ้าหนีของตน ไม่ว่ากระทําในหรื อนอกราชอาณา
จักร
( 2 ) ลูกหนีโอนหรื อส่งมอบทรัพย์สินตน โดยแสดงเจตนาลวง หรื อฉ้อฉล ไม่ว่ากระทํา
ในหรื อนอกราชอาณาจักร
( 3 ) ลูกหนีโอนทรัพย์สินตน หรื อก่อให้เกิดทรัพยสิ ทธิขึนเหนือทรัพย์สินนัน ซึงถ้า
ลูกหนีล้มละลายแล้ว ถือว่าเป็ นการให้เปรี ยบ ไม่

Sensitivity: Internal
ว่ากระทําในหรื อนอกราชอาณาจักร
( 4 ) ถ้าลูกหนีประวิงการชําระหนีหรื อไม่ให้เจ้าหนีได้รับชําระหนี ดังต่อไปนี
ก.ออกไปนอกราชอาณาจักร
ข.ไปจากเคหะสถานทีเคยอยู่ หรื อซ่อนตัวในเคหะสถาน หรื อหลบไป หรื อปิ ดสถาน
ประกอบธุรกิจ
ค.ยักย้ายทรัพย์ให้พน้ อํานาจศาล
ง.ยอมตนให้ตอ้ งคําพิพากษาซึ งบังคับให้ชาํ ระเงินซึงตนไม่ควรชําระ
( 5 ) ถ้าลูกหนีถูกยึดทรัพย์ตามหมายบังคับคดี หรื อไม่มีทรัพย์สินทีจะยึดมาชําระหนีได้
( 6 ) ถ้าลูกหนีแถลงต่อศาลว่าไม่สามารถชําระหนีได้
( 7 ) ถ้าลูกหนีแจ้งไปยังเจ้าหนีว่าไม่สามารถชําระหนีได้
( 8 ) ถ้าลูกหนีเสนอคําขอประนอมหนีแก่เจ้าหนีตังแต่ 2 คนขึนไป
( 9 ) ถ้าลูกหนีได้รับหนังสื อทวงหนีแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ครัง ซึ งมีระยะห่ างไม่นอ้ ยกว่า 30
วัน และลูกหนีไม่ชาํ ระหนี
อธิบาย - หนีสิ นล้นพ้นตัว มีความหมายว่า ลูกหนีมีหนีสิ นมากกว่าทรัพย์สิน
- อย่างไรก็ดีการทีจะพิสูจน์ว่าลูกหนีมีทรัพย์สินและหนีสิ นเท่าใดย่อมเป็ นการยาก
กฎหมายจึงกําหนดพฤติการณ์ต่าง ๆ ของลูกหนี ไว้
ทีให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าลูกหนีมีหนีสิ นล้นพ้นตัวในมาตรา 8 อย่างไรก็ดีลูกหนีอาจนํา
สื บหักล้างได้
2.หลักเกณฑ์การฟ้องให้ลม้ ละลาย
2.1.การฟ้องของเจ้าหนีทัวไป
มาตรา 9 เจ้าหนีฟ้องลูกหนีให้ลม้ ละลายได้ ต่อเมือ
( 1 ) ลูกหนีมีหนีสิ นล้นพ้นตัว และ
( 2 ) ลูกหนีบุคคลธรรมดาเป็ นหนีโจทก์จาํ นวนไม่นอ้ ยกว่า 1 ล้านบาท หรื อลูกหนีนิติ
บุคคลเป็ นหนีโจทก์ไม่นอ้ ยกว่า 2 ล้านบาท และ
( 3 ) หนีนันกําหนดจํานวนได้แน่นอน ไม่ว่าหนีนันถึงกําหนดชําระโดยพลันหรื อใน
อนาคตก็ตาม
2.2.การฟ้องของเจ้าหนีมีประกัน
มาตรา 10 ภายใต้มาตรา 9 เจ้าหนีมีประกันจะฟ้องลูกหนีให้ลม้ ละลาย ได้ต่อเมือ
( 1 ) ไม่เป็ นผูต้ อ้ งห้ามมิให้บงั คับการชําระหนีเอาแก่ทรัพย์สินของลูกหนีเกินกว่าตัว
ทรัพย์ทเป็
ี นหลักประกัน และ
( 2 ) กล่าวในฟ้องว่า ถ้าลูกหนีล้มละลาย จะสละหลักประกันเพือประโยชน์เจ้าหนี
ทังหลาย หรื อตีราคาหลักประกันมาในฟ้อง
ซึงเมือหักจํานวนหนีแล้วเงินยังขาดอยู่ สําหรับลูกหนีบุคคลธรรมดาเป็ นจํานวนไม่นอ้ ย
กว่า 1 ล้านบาท หรื อลูกหนีนิตบิ คุ คล
เป็ นจํานวนไม่นอ้ ยกว่า 2 ล้านบาท
* เจ้าหนีมีประกัน หมายถึง เจ้าหนีผูม้ ีสิทธิ เหนือทรัพย์สินของลูกหนีในทางจํานอง จํานํา

Sensitivity: Internal
หรื อสิทธิยึดหน่วง หรื อเจ้าหนีผูม้ ีบุริมสิ ทธิทีบังคับ
ได้ทาํ นองเดียวกับผูร้ ับจํานํา ( เจ้าหนีในมูลให้เช่าอสังหาริ มทรัพย์ และในมูลให้พกั อาศัย
ในโรงแรม )
อธิบาย - บุคคลผูเ้ ป็ นลูกหนีอาจล้มละลายได้ 3 วิธี คือ
1.เจ้าหนีฟ้องให้ลม้ ละลาย
2.ผูช้ าํ ระบัญชีของนิติบุคคลขอให้นิติบุคคลนันล้มละลาย
3.เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์หริ อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ขอให้ผเู ้ ป็ นหุ้นส่ วนไม่จาํ กัดความรับ
ผิดในห้างหุ้นส่วนทีถูกพิทกั ษืทรัพย์นนล้ ั ม
ละลายตามห้างหุ้นส่วน
3.การพิจารณาและพิพากษาคดีลม้ ละลาย
3.1.คดีลม้ ละลาย มีวิธีพิจารณาดังนี
3.1.1.ถ้ามีคาํ ฟ้องหลายรายให้ลูกหนีคนเดียวกันล้มละลาย หรื อให้ลูกหนีร่ วมกันแต่ละ
คนล้มละลาย ศาลมีอาํ นาจรวมการพิจารณา ( มาตรา 12 )
3.1.2.เมือศาลรับฟ้องคดีลม้ ละลาย ศาลต้องกําหนดวันนังพิจารณาเป็ นการด่วน และออก
หมายเรี ยกและส่งสําเนาคําฟ้องไปยังลูกหนีให้ทราบ
ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ( มาตรา 13 ) ลูกหนีจะยืนคําให้การหรื อไม่ก็ได้ ถ้าลูกหนีไม่
ยืนคําให้การ ไม่ถือว่าขาดนัดยืนคําให้การ
3.1.3.กระบวนพิจารณาต่าง ๆ ต้องทําเป็ นการด่วน ส่วนใดทีพระราชบัญญัติลม้ ละลาย
ไม่ได้บญั ญัติไว้ ให้นาํ บทบัญญัติวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาใช้บงั คับ ( มาตรา 153 )
3.2.การพิพากษา
มาตรา 14 ศาลต้องพิจารณาเอาความจริ งตามมาตรา 9 หรื อ 10 ถ้าพิจารณาได้ความจริ ง
ให้ศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์ลูกหนีเด็ดขาด แต่ถา้
ไม่ได้ความจริ งหรื อลูกหนีนําสื บได้ว่าอาจชําระหนีได้ หรื อมีเหตุอนที ื ไม่ควรให้ลูกหนี
ล้มละลาย ให้ศาลยกฟ้อง
4.ผลภายหลังฟ้องคดีลม้ ละลาย
4.1.เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์จะถอนคําฟ้องนันไม่ได้ เว้นแต่ศาลอนุญาต ( มาตรา 11 )
4.2.ตราบใดทีลูกหนียังไม่ได้ถูกพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เจ้าหนีจะฟ้องลูกหนีนันเป็ นคดี
ล้มละลายอีกก็ได้ แต่ถา้ ศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ให้
จําหน่ายคดีลม้ ละลายซึงเจ้าหนีอืนฟ้องลูกหนีคนเดียวกันนัน ( มาตรา 15 )
4.3.เมือศาลรับคําฟ้องขอให้ลูกหนีล้มละลายแล้ว อาจมีการคุมตัวและทรัพย์สินของ
ลูกหนี โดยศาลมีอาํ นาจสังดังต่อไปนี ( มาตรา 16 )
4.3.1.ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เข้าไปในเคหะสถานหรื อทีทําการลูกหนี เพือ
ตรวจสอบทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชี หรื อเอกสารลูกหนี และ
ให้มีอาํ นาจสอบสวนลูกหนีหรื อออกหมายเรี ยกลูกหนีมาสอบสวนได้
4.3.2.ให้ลูกหนีให้ประกัน จนศาลพอใจว่าลูกหนีจะไม่หลบหนี ถ้าลูกหนีไม่สามารถให้

Sensitivity: Internal
ประกันได้ ศาลมีอาํ นาจสังขังลูกหนีได้ครังละไม่เกิน 1
เดือน แต่รวมแล้วไม่เกิน 6 เดือน
4.3.3.ออกหมายจับลูกหนีมาขังจนกว่าพิพากษาให้ลม้ ละลาย หรื อยกฟ้อง หรื อจนกว่า
ลูกหนีให้ประกันจนศาลพอใจ
* การสังของศาลนัน เจ้าหนีต้องมีคาํ ขอฝ่ ายเดียวโดยทําเป็ นคําร้อง และนําสื บได้ว่า
ลูกหนีกระทําการอย่างหนึงอย่างใด ดังต่อไปนี
ก.ออกหรื อกําลังจะออกไปนอกเขตอํานาจศาล หรื อได้ออกไปแล้ว โดยเจตนาป้องกัน
หรื อประวิงไม่ให้เจ้าหนีได้รับการชําระหนี
ข.ปกปิ ด ซุกซ่อน โอน ขาย หรื อยักย้ายทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชี หรื อเอกสารให้พน้
อํานาจศาล หรื อกําลังจะกระทําดังกล่าว
ค.กระทําหรื อกําลังจะกระทําการฉ้อโกงเจ้าหนี หรื อกระทําหรื อกําลังจะกระทําความผิด
อย่างหนึงอย่างใด ซึงมีโทษตามพระราชบัญญัตินี
4.4.การฟ้องคดีลม้ ละลายทําให้เกิดผลอืน ๆ
เช่น ทําให้อายุความสะดุดหยุดลง
- การพิทกั ษ์ทรัพย์
1.ความหมายและหลักเกณฑ์การสัง
1.1.การพิทกั ษ์ทรัพย์ หมายถึง การคุมกิจการและทรัพย์สินของลูกหนีโดยเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์ตามคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ของศาล
การพิทกั ษ์ทรัพย์ มี 2 อย่าง คือ
- การพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว

- การพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด
1.2.การพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว

มาตรา 17 ก่อนศาลมีคาํ สังการพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เจ้าหนีจะขอให้พิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว

ก็ได้ เมือศาลได้รับคําร้อง ให้ดาํ เนินการไต่สวน ถ้า
เห็นว่ามีมูล ให้สงพิ
ั ทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว
ั แต่ก่อนจะสัง จะให้เจ้าหนีให้ประกันค่าเสียหาย
ของลูกหนีตามจํานวนทีเห็นสมควรก็ได้
1.3.การพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เกิดขึนเมือการพิจารณาเสร็จแล้ว และได้ความจริ งตาม
มาตรา 9 หรื อ 10 ( มาตรา 14 ) ศาลจะมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์
เด็ดขาดก่อน เพือให้โอกาสเป็ นครังสุ ดท้ายทีจะขอประนอมหนีก่อน ต่อเมือการประนอม
หนีไม่เป็ นผลสําเร็จศาลจึงจะพิพากษาให้ลม้ ละลาย
2.ผลของคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์
2.1.คําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ( ไม่ว่าชัวคราวหรื อเด็ดขาด ) มีผลดังนี
2.1.1.เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจเข้าครอบครองทรัพย์สินของลูกหนี ( มาตรา 19 )
2.1.2.เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แต่เพียงผูเ้ ดียว ทีมีอาํ นาจกระทําการใด ๆ เกียวกับ
ทรัพย์สินของลูกหนี
มาตรา 22 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ลูกหนีแล้ว เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แต่ผเู้ ดียว มี

Sensitivity: Internal
อํานาจดังต่อไปนี
( 1 ) จัดการและจําหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี หรื อกระทําการทีจําเป็ นเพือให้กิจการของ
ลูกหนีทีค้างอยูเ่ สร็ จสิ น
( 2 ) เก็บ รวบรวม และรับ เงินหรื อทรัพย์สินซึงจะตกได้แก่ลูกหนี หรื อทีลูกหนีมีสิทธิจะ
ได้รับจากผูอ้ นื
( 3 ) ประนีประนอมยอมความ หรื อฟ้องร้อง หรื อต่อสู ้คดีใด ๆ เกียวกับทรัพย์สินของ
ลูกหนี
2.1.3.ลูกหนีมีหน้าที และถูกจํากัดสิ ทธิหลายประการ
ลูกหนีมีหน้าทีดังนี
- ต้องส่ งมอบทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชี และเอกสารเกียวกับกิจการและทรัพย์สินของ
ตนให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ( มาตรา 23 ) - ต้องกระทําการเกียวกับกิจการและ
ทรัพย์สินตามทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์สงั หรื อตามทีพระราชบัญญัติลม้ ละลายบัญญัติ
ไว้ หรื อ
ตามทีศาลสัง ( มาตรา 64 )
- ต้องให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์กาํ หนดจํานวนเงินเพือใช้จ่ายเลียงชีพและครอบครัว
และต้องส่ งเงินและทรัพย์สิน ( ทีได้มาในระหว่าง
ล้มละลาย ) ทีเหลือให้แก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์พร้อมด้วยบัญชีรับจ่าย ( มาตรา 67 ( 1
))
- ต้องรายงานเป็ นหนังสือให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ทราบทุกครังทีมีสิทธิได้รับ
ทรัพย์สินใด โดยแสดงรายละเอียด และต้องแสดงบัญชี
รับจ่ายทุก 6 เดือน ( มาตรา 67 ( 2 ) )
ลูกหนีถูกจํากัดสิ ทธิ ดงั นี
- ลูกหนีกระทําการเกียวกับทรัพย์สินและกิจการของตนตามลําพังไม่ได้ ( มาตรา 22 , 24 ,
25 , 26 ) หากกระทําไปก็ไม่มีผล
- ลูกหนีจะออกไปนอกราชอาณาจักรไม่ได้ เว้นแต่ศาลหรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะ
อนุญาตเป็ นหนังสื อ ( มาตรา 67 ( 3 ) )
- ลูกหนีจะรับสินเชือตังแต่ 100 บาท โดยไม่แจ้งให้ผนู้ นทราบว่
ั าตนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์
ไม่ได้ ( มาตรา 165 ( 1 ) )
2.1.4.ผลตามกฎหมายอืน ๆ
2.2.ผลของคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราวและเด็
ั ดขาดเกือบจะเหมือนกัน ผลของคําสังพิทกั ษ์
ทรัพย์ชวคราวกั
ั บเด็ดขาดต่างกันดังนี
2.2.1.การฟ้องลูกหนีเป็ นคดีแพ่งและคดีลม้ ละลาย
- เมือมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว เจ้าหนีจะฟ้องเป็ นคดีแพ่งเกียวกับทรัพย์สินทีอาจ
ขอรับชําระได้ในคดีลม้ ละลาย หรื อจะฟ้องเป็ น
คดีลม้ ละลายอีกไม่ได้ ( มาตรา 27 )
- กรณีทีเจ้าหนีฟ้องลูกหนีให้ลม้ ละลายก่อนลูกหนีถูกพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เมือลูกหนีถูก

Sensitivity: Internal
พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดในคดีอนแล้ ื ว ศาลต้อง
จําหน่ายคดีนนั ( มาตรา 15 )
- แต่ถา้ ลูกหนีถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว
ั เจ้าหนีอืนจะฟ้องลูกหนีเป็ นคดีลม้ ละลาย หรื อคดี
แพ่งในหนีทีอาจขอรับชําระได้ในคดีลม้ ละลาย
ก็ได้ ( มาตรา 15 , 26 )
- กรณีลูกหนีถูกฟ้องเป็ นคดีแพ่ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะสู ้คดีแทนลูกหนี ( มาตรา 25
)
2.2.2.การโฆษณาคําสัง
- เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งโฆษณาคําสังในราชกิจจา
นุเบกษาและในหนังสือพิมพ์รายวัน โดย
ก.การโฆษณาคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ต้องโฆษณากําหนดวัน เวลา ให้เจ้าหนียืนคํา
ขอรับชําระหนีต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ข.การโฆษณาคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว ั เพียงโฆษณาคําสังเท่านัน ไม่ตอ้ งต้องโฆษณา
กําหนดวัน เวลาดังกล่าว
2.2.3.การเพิกถอนและการแก้ไขคําสัง
- คําสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ศาลจะสังเพิกถอนหรื อแก้ไขคําสังนันไม่ได้ ( ยกเว้นศาลสู ง
) ส่ วนคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว
ั ศาลมี
อํานาจสังเพิกถอนหรื อมีคาํ สังอย่างอืนตามเห็นสมควร
2.2.4.กิจกรรมภายหลังพิทกั ษ์ทรัพย์
- กิจกรรมบางอย่างมีเฉพาะพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เช่น การประชุมเจ้าหนี การยืนคําชีแจง
เกียวกับกิจการและทรัพย์สินลูกหนี การไต่
สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย การประนอมหนี
3.การเข้าว่าคดีแพ่งแทนลูกหนีของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะเข้าว่าคดีแพ่งแทนลูกหนี ใน 2 กรณี ต่อไปนี
3.1.คดีแพ่งของลูกหนีทีค้างพิจารณาอยู่ ( โดยอาจในฐานะโจทก์หรื อจําเลยก็ได้ ) เมือศาล
มีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์
3.2.คดีแพ่งทีลูกหนีถูกฟ้องภายหลังถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราวั แต่ตอ้ งก่อนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์
เด็ดขาด
- คําชีแจงเกียวกับกิจการ และทรัพย์สินของลูกหนี
มาตรา 30 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ลูกหนีต้องปฏิบตั ิดงั นี
( 1 ) ภายใน 24 ชัวโมงนับแต่ลูกหนีทราบคําสัง ลูกหนีต้องไปสาบานตัวต่อเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์ และยืนชีแจงตามแบบพิมพ์ว่า มี
หุ้นส่ วนกับผูใ้ ดหรื อไม่ ถ้ามีให้ระบุชือและทีอยูข่ องห้างหุ ้นส่วน และผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน
ทังหมด
( 2 ) ภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีทราบคําสัง ลูกหนีต้องไปสาบานตัวต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ และยืนชีแจงเกียวกับกิจการและทรัพย์สิน

Sensitivity: Internal
ตามแบบพิมพ์ แสดงเหตุผลทีทําให้มีหนีสิ น ทรัพย์สินและหนีสิ น ชือทีอยูแ่ ละอาชีพ
เจ้าหนี ทรัพย์สินทีให้เป็ นประกันและวันทีให้
ทรัพย์สินเป็ นประกัน รายละเอียดทรัพย์สินทีจะตกได้แก่ตนในภายหน้า ทรัพย์สินคู่
สมรส ตลอดจนทรัพย์สินบุคคลอืนทีตนยึดถืออยู่
ระยะเวลาตามมาตรานี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจขยายเวลาได้ตามสมควร
ถ้าลูกหนีไม่อยู่หรื อไม่สามารถทําคําชีแจงนีได้ ให้เจ้าหนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ทาํ แทน และ
มีอาํ นาจจ้างบุคคลอืนเข้าช่วย โดยหักค่าใช้
จ่ายจากกองทรัพย์สินลูกหนี
- การประชุมเจ้าหนี
1.ชนิดของการประชุมเจ้าหนี
1.1.การประชุมเจ้าหนีครังแรก
มาตรา 31 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกประชุม
เจ้าหนีเร็ วทีสุด เพือปรึ กษาว่าจะยอมรับคําประนอม
หนี หรื อจะให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนีล้มละลาย และปรึ กษาวิธีการจัดการทรัพย์สิน
ลูกหนี การประชุมนีเรี ยกว่า การประชุมเจ้าหนี
ครังแรก
1.2.การประชุมเจ้าหนีครังอืน ( อาจมีหรื อไม่มีก็ได้ )
มาตรา 32 การประชุมเจ้าหนีครังอืน ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกตามเวลาทีเห็นควร
หรื อตามทีกฎหมายบัญญัติไว้ หรือตามทีศาลสัง
หรื อเมือเจ้าหนีซึงมีจาํ นวนหนีรวมกันไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 4 ของจํานวนหนีทีได้มีการยืน
ขอรับชําระหนีไว้ ได้ทาํ หนังสือขอให้เรี ยก
ประชุม
2.ผูเ้ รี ยกประชุมเจ้าหนีและวิธีเรี ยก
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เป็ นผูเ้ รี ยกประชุม โดยถ้าเป็ นการเรี ยกประชุมครังแรก เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งโฆษณากําหนดวันเวลาและสถานที
ประชุม ในหนังสือพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน และต้อง
แจ้งให้เจ้าหนีทราบด้วย ( มาตรา 31 ว.2 ) ถ้าเป็ นการเรี ยก
ประชุมครังอืน ๆ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่ตอ้ งโฆษณาในหนังสือพิมพ์ เพียงแจ้ง
กําหนดวันเวลาและสถานทีหัวข้อประชุมไปยังเจ้าหนีทีได้ยนคํ ื าขอ
รับชําระไว้ ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน และในกรณี ยงั ไม่พน้ เวลาทีเจ้าหนีจะยืนคําขอรับ
ชําระหนี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งแจ้งไปยังเจ้าหนีอืนที
ยังไม่ได้ยืนคําขอรับชําระหนีแต่มีชือในบัญชีทีลูกหนีได้ทาํ ยืนไว้หรื อปรากฏตาม
หลักฐานอืนด้วย ( มาตรา 32 ว.2 )
3.องค์ประชุม
กฎหมายไม่ได้กาํ หนดไว้ แม้เพียงคนเดียวก็ถือว่าเป็ นการประชุมเจ้าหนีทีสามารถกระทํา
ได้ตามกฎหมาย

Sensitivity: Internal
4.หน้าทีของลูกหนีในการประชุมเจ้าหนี
ลูกหนีต้องไปประชุมเจ้าหนีทุกครัง และต้องตอบคําถามของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
กรรมการเจ้าหนี หรื อเจ้าหนีคนใดคนหนึง ในเรื องทีเกียวกับ
กิจการและทรัพย์สิน หรื อหุน้ ส่วนของตน
5.หลักเกณฑ์การออกเสี ยง
5.1.เจ้าหนีทีมีสิทธิออกเสี ยง คือ เจ้าหนีทีอาจขอรับชําระหนีได้ และได้ยืนคําขอรับชําระ
หนีไว้แล้วก่อนวันประชุม ( มาตรา 34 ว.1 )
5.2.เจ้าหนีจะออกเสี ยงด้วยตนเองหรื อมอบฉันทะเป็ นหนังสือให้ผอู้ ืนออกเสี ยงแทนก็ได้
( มาตรา 34 ว.2 )
ในการประชุมพิจารณาคําขอประนอมหนี เจ้าหนีจะออกเสี ยงด้วยตนเองหรื อมอบฉันทะ
เป็ นหนังสือให้ผอู ้ นออกเสี
ื ยงแทนก็ได้ ถ้าไม่มาจะออก
เสี ยงเป็ นหนังสื อก็ได้ แต่ตอ้ งให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ได้รับหนังสื อก่อนวันประชุม (
มาตรา 48 )
5.3.ข้อปรึ กษาใด ซึ งทําให้เจ้าหนีหรื อผูเ้ ข้าประชุมแทน หรื อผูเ้ ป็ นหุ ้นส่วนกับเจ้าหนีหรื อ
กับผูแ้ ทน ได้รับประโยชน์จากทรัพย์สินของลูกหนีนอกจากที
ควรได้รับตามส่วนเช่นเดียวกับเจ้าหนีอืน เจ้าหนีหรื อผูแ้ ทนจะออกเสียงลงคะแนนไม่ได้
( มาตรา 34 ว.3 )
5.4.การนับคะแนนเสียง ถ้าศาลสังรับคําขอรับชําระหนีแล้วก็นบั คะแนนเสียงของเจ้าหนี
ไปตามจํานวนหนีทีศาลสังรับ
6.มติทีประชุม
6.1.มติ ( มติธรรมดา )
หมายถึง มติของเจ้าหนีฝ่ ายทีมีจาํ นวนหนีข้างมากซึงได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรื อมอบ
ฉันทะให้ผอู ้ นเข้
ื าประชุมแทนในทีประชุมเจ้าหนี และได้
ออกเสียงลงคะแนนในมตินนั
6.2.มติพิเศษ
หมายถึง มติของเจ้าหนีฝ่ ายข้างมากและมีจาํ นวนหนี 3 ใน 4 แห่งจํานวนหนีทังหมดของ
เจ้าหนีทีได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรื อมอบฉันทะให้ผอู ้ ืน
เข้าประชุมแทนในทีประชุมเจ้าหนี และได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินนั
อธิบาย - มติธรรมดาถือเอาจํานวนหนีเป็ นสําคัญ คือ จะต้องมีจาํ นวนหนีฝ่ ายข้างมาก
ส่ วนจํานวนเจ้าหนีไม่ถือเป็ นข้อสําคัญ และถือเอา
เสี ยงของเจ้าหนีผูไ้ ปประชุมและใช้สิทธิออกเสียง ถ้าเจ้าหนีไม่ไปประชุมหรื อไปประชุม
แต่ไม่ใช้สิทธิ ออกเสียง ก็ตดั เสี ยงของเจ้าหนี
คนนันไป
- มติพิเศษ
1.จํานวนเจ้าหนีต้องเป็ นจํานวนเจ้าหนีฝ่ ายข้างมาของเจ้าหนีทีมาประชุมและใช้สิทธิออก
เสียง

Sensitivity: Internal
2.จํานวนหนีของเจ้าหนีซึงออกเสี ยงดังกล่าว ต้องเท่ากับ 3 ใน 4 ของจํานวนหนีของ
เจ้าหนีทีมาประชุมและใช้สิทธิออกเสียง
7.กิจการทีต้องใช้มติของทีประชุมเจ้าหนี
7.1.กิจการทีต้องใช้มติพิเศษ
คือ การพิจารณาคําขอประประนอมหนี ของลูกหนี ( มาตรา 45 )
7.2.กิจการทีต้องใช้มติธรรมดา
- การตังกรรมการเจ้าหนีและให้กรรมการเจ้าหนีออกจากตําแหน่ง ( มาตรา 37 , 39 )
- การกําหนดบําเหน็จผูจ้ ดั การทรัพย์สิน กรณี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ดาํ เนินธุรกิจของ
ลูกหนีต่อไปและได้กาํ หนดบุคคลใดเป็ นผูจ้ ดั การ
ทรัพย์สิน ( มาตรา 120 )
- การให้ความเห็นแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ในกิจการดังต่อไปนี
ก.การดําเนินธุรกิจของลูกหนีต่อไป ( มาตรา 120 )
ข.การแต่งตังเจ้าหนีอืนแทนเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์คนเดิม กรณี เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์คนเดิมขัด
ขืนหรื อละเลยไม่ช่วยเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรื อ
ไม่ให้ประกันเมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกร้อง ( มาตรา 156 )
ค.ให้ความเห็นชอบแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ กรณี ทีกฎหมายล้มละลายกําหนดว่าต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากกรรมการเจ้าหนีก่อน
และคดีลม้ ละลายนันยังไม่ได้ตงกรรมการเจ้
ั าหนีไว้ ( มาตรา 41 ) ซึงกรณี ดงั กล่าวมี
บัญญัติไว้ในมาตรา 145
ง.ในการแต่งตังเจ้าหนีคนหนึงคนใดขึนให้มีสิทธิและหน้าทีเสมือนเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ (
มาตรา 88 ว.2 ) ( กรณีผชู้ าํ ระบัญชีของนิติบุคคลร้อง
ขอให้นิติบคุ คลนันล้มละลาย เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดนิติบคุ คลนันแล้ว )
8.การขอห้ามมิให้ปฏิบตั ิตามมติ
มาตรา 36 เมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เห็นว่ามติของทีประชุมเจ้าหนีขัดต่อกฎหมาย
หรื อประโยชนอันร่ วมกันของเจ้าหนี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
สามารถยืนคําขอโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาล และศาลอาจสังห้ามมิปฏิบตั ิตามมตินนได้ ั แต่
ต้องยืนต่อศาลภายใน 7 วันนับแต่วนั ลงมติ
- กรรมการเจ้าหนี
1.กรรมการเจ้าหนีคือใคร
กรรมการเจ้าหนี คือ บุคคลทีทีประชุมเจ้าหนีแต่งตังไว้เพือแทนเจ้าหนีทังหลาย ในกิจการ
เกียวกับการจัดการทรัพย์สินและกิจการลูกหนี ตามที
กําหนดในกฎหมายล้มละลาย ( มาตรา 37 ว.1 )
มาตรา 145 เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะกระทําการดังต่อไปนีได้ ก็ต่อเมือได้รับความ
เห็นชอบจากกรรมการเจ้าหนีแล้ว
( 1 ) ถอนการยึดทรัพย์ในคดีลม้ ละลาย
( 2 ) โอนทรัพย์สิน นอกจากวิธีการขายทอดตลาด

Sensitivity: Internal
( 3 ) สละสิ ทธิ
( 4 ) ฟ้องหรื อถอนฟ้องคดีแพ่งเกียวกับทรัพยสิ ทธิในคดีลม้ ละลาย หรื อฟ้องหรื อถอน
ฟ้องคดีลม้ ละลาย
( 5 ) ประนีประนอมยอมความ หรื อมอบคดีให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
2.จํานวนและผูม้ ีสิทธิได้รับเลือกเป็ นกรรมการเจ้าหนี
- กรรมการเจ้าหนีต้องมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน และไม่เกิน 7 คน
- ผูม้ ีสิทธิ ได้รับเลือกเป็ นกรรมการเจ้าหนี คือ ตัวเจ้าหนีหรื อผูร้ ับมอบอํานาจ แต่เจ้าหนี
หรื อผูร้ ับมอบอํานาจนันจะกระทําการเป็ นกรรมการเจ้าหนี
ได้ ต่อเมือศาลได้สงรั ั บคําขอรับชําระหนีนันแล้ว ( มาตรา 37 ว.2 )
3.มติของกรรมการเจ้าหนี
- มติของกรรมการเจ้าหนี ให้ถือเสี ยงข้างมากของผูม้ าประชุม และกรรมการเจ้าหนี
จะต้องมาประชุมไม่นอ้ ยกว่ากึงจํานวนจึงจะเป็ นองค์ประชุม (
มาตรา 38 )
- กรณี กรรมการเจ้าหนีบางคนขาดจากตําแหน่งและยังไม่ได้เลือกตังคนอืนขึนแทน ถ้า
กรรมการเจ้าหนียังมีจาํ นวนเหลืออยูไ่ ม่นอ้ ยกว่ากึงหนึงแล้ว
กรรมการเจ้าหนีนันก็กระทําการต่อไปได้ ( มาตรา 40 )
4.เหตุทีทําให้กรรมการเจ้าหนีขาดจากตําแหน่ง
มาตรา 39 กรรมการเจ้าหนีขาดจากตําแหน่ง ด้วยเหตุดงั นี
( 1 ) ลาออก โดยมีหนังสือแจ้งไปยังเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
( 2 ) ถูกศาลพิพากษาให้ลม้ ละลาย หรื อถูกศาลสังให้เป็ นผูไ้ ร้ความสามารถหรื อเสมือนไร้
ความสามารถ
( 3 ) ทีประชุมเจ้าหนีให้ออกจากตําแหน่ง โดยได้แจ้งให้เจ้าหนีทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า
7 วัน
เมือตําแหน่งว่างลง ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกประชุมโดยไม่ชกั ช้า เพือเลือกตัง
ผูอ้ นขึ
ื นแทน
- การไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย
1.การไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย
มาตรา 42 เมือประชุมเจ้าหนีครังแรกเสร็ จ ให้ศาลไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย เพือทราบ
กิจการและทรัพย์สินของลูกหนี เหตุทีทําให้มีหนีสิ นล้นพ้นตัว
ตลอดจนความประพฤติของลูกหนี ว่าได้กระทําการใดหรื อละเว้นกระทําการใด ซึงเป็ น
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี หรื อตาม
กฎหมายอืนเกียวกับกฎหมายล้มละลาย หรื อเป็ นข้อบกพร่ องอันเป็ นเหตุให้ศาลไม่ยอม
ปลดจากล้มละลายโดยไม่มีเงือนไข
2.การดําเนินการไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย
2.1.เมือประชุมเจ้าหนีครังแรกเสร็ จ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งส่งประกาศแจ้งความ
นัดให้ลูกหนีและเจ้าหนีทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน และ

Sensitivity: Internal
ต้องโฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ
2.2.เมือถึงวันนัด ลูกหนีและเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งไปศาล ส่วนเจ้าหนีจะไป
หรื อไม่ก็ได้
2.3.ลูกหนีต้องสาบานตัวและตอบคําถามเกียวกับเรื องทีกล่าวในมาตรา 42 ว.1 และศาล
ต้องจดถ้อยคําของลูกหนี อ่านให้ลูกหนีฟัง แล้วให้ลูกหนีลง
ลายมือชือไว้ โดยทนายความจะทําการแทนไม่ได้
2.4.เมือศาลไต่สวนแล้ว ให้ศาลมีคาํ สังปิ ดการไต่สวน แล้วส่งสําเนาการไต่สวนให้เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ 1 ฉบับ แต่คาํ สังนีไม่ตดั อํานาจศาลทีจะ
สังไต่สวนเพิมเติมเมือมีเหตุอนั ควร ( มาตรา 42 , 43 )
3.การงดการไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผย
คดีใดปรากฏว่าลูกหนีเป็ นคนวิกลจริ ต หรื อจิตฟันเฟื อนไม่สมประกอบ หรื อกายพิการ
ศาลมีอาํ นาจสังงดการไต่สวนโดยเปิ ดเผย หรื อสังให้มีการไต่
สวนโดยวิธีอืนใดในทีใด ตามเห็นสมควรได้ ( มาตรา 44 )
4.ความสําคัญของการไต่สวนโดยเปิ ดเผย
- ข้อเท็จจริ งตามาตรา 42 ว.1 เป็ นประโยชน์ต่อศาล เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ตลอดจน
เจ้าหนี ในการดําเนินกระบวนพิจารณาและจัดการทรัพย์
สิ นของลูกหนี
- เป็ นประโยชน์แก่ตวั ลูกหนี ถ้าลูกหนีกระทําการโดยสุจริ ตเคยไม่ประพฤติเสียหาย
ความสุ จริ ตนีจะนํามาประกอบการพิจารณาเมือลูกหนีขอ
ประนอมหนีหรื อขอปลดจากล้มละลาย

หน่วยที 11 กระบวนพิจารณาตังแต่ขอให้ลม้ ละลายจนถึงปลดจากการล้มละลาย ( 2 )

- การประนอมหนี คือ การทีลูกหนีขอทําความตกลงกับบรรดาเจ้าหนีทังหลาย โดยขอให้


ใช้หนีแต่เพียงบางส่วนหรื อโดยวิธีอืน
- การประนอมหนี ต้องกระทํา 2 ชัน คือ
1.ชันทีประชุม
2.ชันศาล
- ถ้าการประนอมหนีเป็ นผลสําเร็จ ลูกหนีจะไม่ตอ้ งถูกพิพากษาให้ลม้ ละลาย คําสัง
พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดก็เป็ นอันถูกยกเลิกเพิกถอนไปในตัว
- การประนอมหนีผูกมัดเจ้าหนีทัวไป แม้จะไม่เห็นชอบด้วยในการประนอมหนีนัน อนึง
การประนอมหนีอาจถูกยกเลิกได้
- เมือลูกหนีไม่ขอประนอมหนีหรื อการประนอมหนีไม่เป็ นผลสําเร็ จ ลูกหนีจะถูก
พิพากษาให้ลม้ ละลาย ซึ งทําให้ลกู หนีเป็ นบุคคลล้มละลายโดยสมบูรณ์ เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจเอาทรัพย์สินของลูกหนีทีถูกยึดไว้ออกขาย เพือแบ่งเฉลีย
แก่เจ้าหนี ลูกหนีจะมีหน้าทีและถูกจํากัดสิ ทธิยงขึ
ิ น

Sensitivity: Internal
- หลังล้มละลายลูกหนีอาจขอประนอมหนีได้ โดยนําบทบัญญัติเรื องการประนอมหนี
ก่อนล้มละลายมาใช้โดยอนุโลม นอกจากนัน ลูกหนียังอาจหลุดพ้น
จากการล้มละลาย โดยการปลดจากล้มละลาย
- กรณีลูกหนีตาย หรื อกรณี ลูกหนีเป็ นนิติบคุ คล กฎหมายล้มละลายกําหนดกระบวน
พิจารณาไว้เป็ นพิเศษ

รายละเอียดทัวไป

- หลักเกณฑ์การประนอมหนี
1.ความหมายของการประนอมหนี
การประนอมหนี คือ การทีลูกหนีขอทําความตกลงในเรื องหนีสิ นกับบรรดาเจ้าหนี
ทังหลาย หลังมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด โดยลูกหนีขอชําระหนี
ให้กบั เจ้าหนีเพียงบางส่ วนหรื อโดยลดหย่อนผ่อนผันประการอืน ซึงถ้าการประนอมหนี
เป็ นผลสําเร็ จแล้ว ลูกหนีก็ไม่ตอ้ งถูกพิพากษาให้ลม้ ละลาย คํา
สังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดเป็ นอันถูกเพิกถอนไปในตัว และลูกหนีกลับมามีอาํ นาจกระทํา
การใด ๆ เกียวกับกิจการและทรัพย์สินของตนเองตามเดิมอีก (
มาตรา 45 ว.1 , 46 , 56 )
2.หลักเกณฑ์ทวไป ั
2.1.ลูกหนีจะยืนคําขอประนอมหนีได้ก็ต่อเมือ ศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว หาก
ศาลเพียงมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์ชวคราว
ั ลูกหนีจะขอยืนคําขอ
ประนอมหนียังไม่ได้
2.2.ลูกหนีจะต้องยืนคําขอประนอมหนีต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ภายใน 7 วันนับแต่
วันยืนคําชีแจงเกียวกับกิจการและทรัพย์สินตามมาตรา 30 ( 2 )
หรื อภายในเวลาทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์กาํ หนดให้ ( มาตรา 45 )
2.3.คําขอประนอมหนีต้องทําเป็ นหนังสื อ แสดงให้เห็นถึง
- ข้อความแห่งการประนอมหนี คือ ข้อเสนอของลูกหนีว่าจะขอประนอมหนีประการใด
หรื อโดยวิธีใด
- ข้อความระบุให้ใช้หนีก่อนและหลัง ตามลําดับทีกฎหมายระบุไว้สําหรับการแบ่ง
ทรัพย์สินของบุคคลล้มละลายตามมาตรา 130
- รายละเอียดแห่งหลักประกันหรื อผูค้ าประกั
ํ น ( ถ้ามี ) ( มาตรา 45 , 53 )
2.4.จะต้องมีการพิจารณาคําขอประนอมหนี 2 ชัน คือ
- ชันทีประชุมเจ้าหนี
เป็ นการปรึ กษาว่ามีมติพิเศษยอมรับคําขอประนอมหนีหรื อไม่ ถ้าทีประชุมเจ้าหนีมีมติ
พิเศษไม่ยอมรับ คําขอประนอมหนีก็เป็ นอันตกไป
ลูกหนีจะถูกพิพากษาให้ลม้ ละลาย และไม่ตอ้ งมีการพิจารณาชันศาลอีก
- ชันศาล

Sensitivity: Internal
ถ้าทีประชุมเจ้าหนีมีมติยอมรับคําขอประนอมหนี ศาลจะพิจารณาว่าเห็นชอบด้วยหรื อไม่
ถ้าศาลเห็นชอบด้วยก็ถือว่าการประนอมหนีเป็ น
ผลสําเร็ จ แต่ถา้ ศาลไม่เห็นชอบด้วย การประนอมหนีก็เป็ นอันตกไป และศาลจะพิพากษา
ให้ลูกหนีเป็ นบุคคลล้มละลาย ( มาตรา 61 )
* ลูกหนีอาจทําการแก้ไขคําขอประนอมหนีได้ การขอแก้ไขในชันทีประชุมเจ้าหนีต้อง
ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ส่วนการขอ
แก้ไขในชันศาลต้องได้รับอนุญาตจากศาล แต่การอนุญาตจะกระทําได้ก็ต่อเมือ เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อศาลเห็นว่าการแก้ไขนันเป็ น
ประโยชน์ตอ่ เจ้าหนีโดยทัวไป ( มาตรา 47 )
3.การพิจารณาชันทีประชุมเจ้าหนี
- เมือลูกหนียืนคําขอประนอมหนี ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เรี ยกประชุมเจ้าหนีเพือลง
มติพิเศษ ว่ายอมรับคําขอประนอมหนีหรื อไม่ ( มาตรา 45
ว.3 )
- เจ้าหนีทีไม่มาประชุมจะออกเสียงโดยทําเป็ นหนังสือก็ได้ แต่ตอ้ งให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ได้รับหนังสื อนันก่อนวันประชุม ให้ถือเสมือนว่าเจ้า
หนีได้มาประชุมและออกเสี ยงด้วยตนเอง ( มาตรา 48 )
4.การพิจารณาชันศาล
- เมือทีประชุมเจ้าหนีมีมติพเิ ศษยอมรับคําขอประนอมหนี ลูกหนีหรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์มีอาํ นาจขอต่อศาลให้พิจารณาและสังว่าเห็นชอบ
ด้วยหรื อไม่ ( มาตรา 49 ว.1 )
- การกําหนดวันนังพิจารณาคําขอ ต้องให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีเวลาพอทีจะแจ้งให้
ลูกหนีและเจ้าหนีทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน ( มาตรา
49 ว.2 )
- ก่อนวันนังพิจารณาอย่างน้อย 3 วัน เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งยืนรายงานเกียวกับ
การประนอมหนี กิจการทรัพย์สิน และความประพฤติของ
ลูกหนีต่อศาล ( มาตรา 50 )
- จะมีการพิจารณาคําขอประนอมหนีชันศาลไม่ได้ จนกว่ามีการไต่สวนลูกหนีโดย
เปิ ดเผย เว้นกรณีลูกหนีร่ วมขอประนอมหนี ( ถ้าเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์รายงานว่าไม่จาํ ต้องไต่สวนลูกหนีคนนัน ๆ ศาลมีอาํ นาจพิจารณาคําขอ
ประนอมหนีได้ แต่ตอ้ งมีการไต่สวนลูกหนีโดยเปิ ดเผยแล้ว
อย่างน้อย 1 คน คือ คนทียืนคําขอประนอมหนีนัน ) ( มาตรา 51 )
5.หลักเกณฑ์การสัง
- กรณีทวไป

ศาลจะพิจารณาจากรายงานของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ และคําคัดค้านของเจ้าหนี (
มาตรา 53 ว.ท้าย )
- กรณีทีศาลสังเห็นชอบด้วยการประนอมหนีไม่ได้

Sensitivity: Internal
มาตรา 53 ห้ามศาลสังเห็นชอบด้วยการประนอมหนี ในกรณี ดงั ต่อไปนี
( 1 ) การประนอมหนีไม่มีขอ้ ความให้ใช้หนีก่อนและหลัง ตามลําดับทีกฎหมายกําหนด
( 2 ) การประนอมหนีไม่เป็ นประโยชน์แก่เจ้าหนีทัวไป หรื อทําให้เจ้าหนีได้เปรี ยบ
เสี ยเปรี ยบกัน หรื อปรากฏว่าถ้าลูกหนีล้มละลาย
แล้ว ไม่มีเหตุทีจะปลดลูกหนีจากล้มละลายได้เลย
- กรณีทีศาลสังเห็นชอบได้ต่อเมือลูกหนีให้ประกัน
มาตรา 54 ถ้าปรากฏว่า ถ้าหากลูกหนีล้มละลาย จะปลดลูกหนีจากล้มละลายได้ก็แต่โดยมี
เงือนไข ศาลจะสังเห็นชอบด้วยการประนอมหนีก็
ได้ เมือลูกหนีให้ประกันสําหรับชําระหนีไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 4 ของจํานวนหนีทีไม่มี
ประกัน
- ผลของการประนอมหนีและการยกเลิกการประนอมหนี
1.ผลของการประนอมหนี
1.1.คําสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดเป็ นอันเพิกถอนไปในตัว และให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
โฆษณาในราชกืจจานุเบกษาและในหนังสือพิมพ์รายวันไม่
น้อยกว่า 1 ฉบับ ภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีศาลสังเห็นชอบ ( มาตรา 55 )
1.2.ลูกหนีต้องปฏิบตั ิตามข้อตกลงในการประนอมหนี ซึ งหากไม่ปฏิบตั ิตาม เจ้าหนีหรื อ
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจขอต่อศษลให้ลูกหนีหรื อผู ้
คําประกันปฏิบตั ิตามข้อตกลงดังกล่าวได้ ( มาตรา 57 )
1.3.กรณี ขอประนอมหนีโดยวิธีอืน นอกจากขอใช้หนีบางส่ วน ถ้ามีการตังผูจ้ ดั การ
ทรัพย์สินหรื อกิจการของลูกหนี ผูจ้ ดั การมีอาํ นาจจัดการทรัพย์สิน
และกิจการของลูกหนีอย่างเดียวกับเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
1.4.มาตรา 56 การประนอมหนีซึงทีประชุมเจ้าหนียอมรับและศาลเห็นชอบด้วย ผูกมัด
เจ้าหนีทังหมดในเรื องหนีทีขอชําระได้ แต่ไม่ผกู มัดเจ้าหนีคน
ใดในเรื องหนีซึงตามพระราชบัญญัตินีลูกหนีไม่อาจหลุดพ้นโดยคําสังปลดจากล้มละลาย
ได้ เว้นเจ้าหนีคนนันยินยอมด้วยในการ
ประนอมหนี
1.5.มาตรา 59 การประนอมหนีไม่ทาํ ให้บคุ คลซึงเป็ นหุน้ ส่วนกับลูกหนี หรื อรับผิด
ร่ วมกับลูกหนี หรื อผูค้ าประกั
ํ น หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย
2.การยกเลิกการประนอมหนี
มาตรา 60 ถ้าลูกหนีผิดนัดไม่ชาํ ระหนีตามทีตกลงในการประนอมหนี หรื อการประนอม
หนีไม่อาจดําเนินไปได้โดยปราศจากอยุติธรรมหรื อเป็ นการ
ช้าเกินควร หรื อการทีศาลสังเห็นชอบด้วยนันเพราะถูกหลอกลวงหรื อทุจริ ต เมือเจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์รายงานหรื อเจ้าหนีมีคาํ ขอโดย
ทําเป็ นคําร้อง ศาลมีอาํ นาจยกเลิกการประนอมหนีและพิพากษาให้ลูกหนีล้มละลาย แต่
ไม่กระทบถึงการทีได้ทาํ ไปแล้วตามข้อประนอม
หนี

Sensitivity: Internal
เมือศาลพิพากษาแล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์โฆษณาคําพิพากษาในราชกิจจา
นุเบกษาและในหนังสือพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า
1 ฉบับ และแจ้งให้กาํ หนดเวลาให้เจ้าหนีเสนอคําขอรับชําระหนีทีลูกหนีได้กระทําขึนใน
ระหว่างวันทีศาลมีคาํ สังเห็นชอบด้วยการ
ประนอมหนีถึงวันทีศาลพิพากษาให้ลูกหนีนันล้มละลาย ต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ด้วย
- คําพิพากษาให้ลม้ ละลาย และการประนอมหนีภายหลังล้มละลาย
1.คําพิพากษาให้ลม้ ละลาย
มาตรา 61 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว และเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์รายงานว่า
เจ้าหนีได้ลงมติในการประชุมเจ้าหนีขอให้ศาลพิพากษา
ให้ลูกหนีล้มละลาย หรื อไม่ลงมติ หรื อไม่มีเจ้าหนีไปประชุม หรื อการขอประนอมหนี
ไม่ได้รับความเห็นชอบ ให้ศาลพิพากษาให้ลูกหนี
ล้มละลาย และเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจจัดการทรัพย์สินเพือแบ่งแก่เจ้าหนี
ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์โฆษณาคําพิพากษาในราชกิจจานุเบกษาและในหนังสื อพิมพ์
รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ
มาตรา 62 การล้มละลายของลูกหนี เริ มมีผลมาตังแต่วนั ทีศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์
2.การประนอมหนีหลังล้มละลาย
มาตรา 63 เมือศาลพิพากษาให้ลม้ ละลาย ลูกหนีจะเสนอคําขอประนอมหนีก็ได้ โดยให้
นําบทบัญญัติว่าด้วยการประนอมหนีก่อนล้มละลายมาใช้
แต่ถา้ ลูกหนีเคยขอประนอมหนีไม่เป็ นผลมาแล้ว ห้ามขอประนอมหนีในระยะ 3 เดือน
นับแต่วนั ทีการขอประนอมหนีครังสุ ดท้ายไม่เป็ นผล
ถ้าศาลเห็นชอบด้วย ให้ศาลมีคาํ สังยกเลิกการล้มละลาย และจะสังให้ลูกหนีมีอาํ นาจ
กลับมาจัดการทรัพย์สินตน หรื อสังประการ
ใดตามทีเห็นสมควรก็ได้
- การปลดจากล้มละลาย
มาตรา 68 เมือศาลพิพากษาให้ลม้ ละลาย บุคคลล้มละลายอาจยืนคําขอโดยทําเป็ นคําร้อง
ต่อศาล เพือขอให้มีคาํ สังปลดจากล้มละลาย แต่ตอ้ งนํา
เงินมาวางต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตามจํานวนทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เห็นสมควร
ไม่เกิน 5,000 บาท เพือเป็ นประกันค่าธรรมเนียม
และค่าใช้จ่าย
การกําหนดวันนังพิจารณาคําขอ ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แจ้งให้บคุ คลล้มละลายและ
เจ้าหนีทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน
และโฆษณาในหนังสื อพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ
มาตรา 69 ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ยืนรายงานเกียวกับกิจการทรัพย์สินและความ
ประพฤติของบุคคลล้มละลายต่อศาล และส่งสําเนารายงานนัน
ให้บคุ คลล้มละลายทราบไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันนังพิจารณาคําขอ

Sensitivity: Internal
มาตรา 70 ในการพิจารณาคําขอ ศาลฟังคําชีแจงของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ เจ้าหนีหรื อ
ผูแ้ ทน รายงานของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ และราย
งานการไต่สวนโดยเปิ ดเผย และศาลอาจให้บคุ คลล้มละลายสาบานตัว ให้การ หรื อ
พิจารณาพยานหลักฐาน ตามทีเห็นสมควรก็ได้
มาตรา 71 ศาลมีอาํ นาจสังปลดจากล้มละลายหรื อไม่ยอมปลด หรื อสังให้งดการปลดไว้
ภายในเวลาทีจะกําหนด หรื อปลดโดยมีเงือนไขเกียวกับทรัพย์
สิ นทีจะพึงได้มาในเวลาต่อไป ก็ได้
ห้ามศาลสังปลดจากล้มละลาย ถ้าบุคคลล้มละลายทุจริ ต นอกจากมีเหตุผลพิเศษ และ
ลูกหนีล้มละลายแล้วไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี
มาตรา 72 เมือพิจารณาข้อเท็จจริ งตามมาตรา 73 ให้ศาลมีคาํ สังอย่างใดอย่างหนึง
ดังต่อไปนี
( 1 ) ไม่ยอมปลดจากล้มละลาย
( 2 ) งดการปลดจากล้มละลายไว้ภายในเวลาไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
( 3 ) งดการปลดจากล้มละลายไว้จนกว่าแบ่งทรัพย์สินชําระแก่เจ้าหนีแล้วไม่นอ้ ยกว่า 50
ใน 100
( 4 ) ปลดจากล้มละลาย โดยให้ใช้เงินให้แก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เต็มจํานวน หรื อ
บางส่วนทียังไม่ได้ชาํ ระให้เสร็ จ โดยมีเงือนไข
ตามทีศาลเห็นควร ถ้าบุคคลล้มละลายไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มี
อํานาจขอให้ศาลบังคับคดีได้ โดยไม่ตอ้ ง
ฟ้องเป็ นคดีขนใหม่

เมือศาลสังตาม ( 3 ) หรื อ ( 4 ) และเวลาล่วงเกิน 2 ปี ถ้าบุคคลล้มละลายมีคาํ ขอโดยทํา
เป็ นคําร้อง ศาลมีอาํ นาจพิจารณาและ
เปลียนแปลงคําสังเดิมได้
มาตรา 73 ข้อเท็จจริ งทีให้ศาลสังตามมาตรา 72 คือ
( 1 ) ทรัพย์สินทีอาจแบ่งแก่เจ้าหนีได้เหลือไม่ถึง 50 ใน 100 ของหนีทีไม่มีประกัน เว้น
แต่แสดงให้ศาลพอใจว่าเหตุทีทําให้ทรัพย์สินเหลือ
เช่นนัน ไม่ควรตําหนิบุคคลล้มละลาย
( 2 ) บุคคลล้มละลายไม่เก็บรักษาสมุดบัญชีต่าง ๆ ซึงควรมีไว้ในการประกอบธุรกิจ ให้
พอเห็นได้ว่าการประกอบธุรกิจและฐานะทางการ
เงินเป็ นอย่างไรบ้างในระหว่าง 3 ปี ก่อนทีศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ เว้นแต่สูญหายหรื อถูก
ทําลายโดยเหตุสุดวิสัย
( 3 ) บุคคลล้มละลายได้ขนื กระทําการค้าขายต่อไปอีก โดยรู้ว่าไม่สามารถชําระหนี ได้
( 4 ) บุคคลล้มละลายได้กระทําให้เกิดการล้มละลายขึน โดยกระทําการเสี ยงโชคอันน่าจะ
ขาดทุน หรื อใช้จ่ายสุรุ่ยสุ ร่าย หรื อเล่นการ
พนัน หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในธุรกิจตน
( 5 ) บุคคลล้มละลายได้ทาํ ให้เจ้าหนีผูฟ้ ้อง ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายอันไม่จาํ เป็ นโดยสู้ความ

Sensitivity: Internal
อย่างไม่มีมูล หรื อแกล้งประวิงความ
( 6 ) การล้มละลายได้เกิดโดยเหตุทีบุคคลล้มละลายได้ใช้จ่ายอย่างไร้ประโยชน์ในการ
ฟ้องร้องคดีอนั ไม่มีมูล หรื อเพือก่อความรําคาญ
( 7 ) ในระหว่าง 3 เดือนก่อนมีการขอให้ลม้ ละลายและภายหลังจากนัน บุคคลล้มละลาย
ได้ให้เปรี ยบแก่เจ้าหนีคนใดโดยใช่เหตุ
( 8 ) ในระหว่าง 3 เดือนก่อนมีการขอให้ลม้ ละลายและภายหลังจากนัน บุคคลล้มละลาย
ได้ก่อหนีขึน เพือให้ได้ทรัพย์สินมาพอชําระหนี
ถึง 50 ใน 100 ของหนีไม่มีประกัน
( 9 ) บุคคลล้มละลายได้เคยถูกพิพากษาให้ลม้ ละลาย หรื อได้เคยทําประนอมหนี มาก่อน
ไม่วา่ ในหรื อนอกราชอาณาจักร
( 10 ) ในระหว่าง 3 เดือนก่อนมีการขอให้ลม้ ละลายและภายหลังจากนัน บุคคลล้มละลาย
ได้ส่งสิ นค้าออกนอกราชอาณาจักร โดยไม่ได้
กระทําการค้าโดยสุจริ ต
มาตรา 76 เมือศาลมีคาํ สังปลดจากล้มละลาย ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์โฆษณาในราช
กิจจานุเบกษา และในหนังสือพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ
มาตรา 77 คําสังปลดจากล้มละลาย ทําให้บคุ คลล้มละลายหลุดพ้นจากหนีทังปวง เว้นแต่
( 1 ) หนีเกียวกับภาษีอากร หรื อจังกอบของรัฐบาลหรื อเทศบาล
( 2 ) หนีทีได้เกิดขึนโดยทุจริ ตฉ้อโกงของบุคคลล้มละลาย หรื อหนีซึงเจ้าหนีไม่ได้
เรี ยกร้องเนืองจากความทุจริ ตฉ้อโกงซึ งบุคคลล้มละลาย
มีส่วนเกียวข้องสมรู ้
- กระบวนพิจารณากรณี พิเศษ
1.กระบวนพิจารณาในกรณีลูกหนี ตาย
มาตรา 82 กรณี ลูกหนีตาย หากปรากฏว่าถ้าลูกหนียังมีชีวิตอยู่ เจ้าหนีฟ้องล้มละลายได้
เจ้าหนีฟ้องขอให้จดั การทรัพย์สินของลูกหนีได้ แต่ตอ้ ง
ยืนภายใน 1 ปี นับแต่วนั ทีลูกหนีตาย
มาตรา 83 ในการฟ้องเจ้าหนีต้องเรี ยกให้ทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดก หรื อผูป้ กครองทรัพย์
เข้ามาแก้คดีแทน
ถ้าบุคคลทีถูกเรี ยกไม่มาศาล หรื อมาศาลแต่คดั ค้านว่าตนไม่ใช่ทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดก
หรื อผูป้ กครองทรัพย์ ให้ศาลไต่สวน ถ้า
ศาลเห็นว่าบุคคลนันควรเข้ามาแก้คดีแทน ก็ให้สังเป็ นผูแ้ ทนลูกหนีนัน มิฉะนันให้สังให้
เจ้าหนีเรี ยกบุคคลอืนเข้ามาแก้คดีแทนต่อไป
มาตรา 85 การทีทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดก หรื อผูป้ กครองทรัพย์ได้กระทําไปเกียวกับ
ทรัพย์มรดก ให้ถือเสมือนว่าเป็ นการกระทําของลูกหนีหรื อ
บุคคลล้มละลาย
มาตรา 87 ถ้าลูกหนีตายในระหว่างพิจารณาหรื อเมือศาลพิพากษาให้ลม้ ละลายแล้ว
กระบวนพิจารณาดําเนินต่อไป ให้นาํ บทบัญญัติหมวดนี มาใช้

Sensitivity: Internal
บังคับ
2.กระบวนพิจารณาในกรณีลูกหนี เป็ นนิติบุคคล
มาตรา 88 กรณี ลูกหนีเป็ นนิติบุคคล นอกจากเจ้าหนีจะฟ้องให้ลม้ ละลายได้แล้ว ผูช้ าํ ระ
บัญชีอาจยืนคําร้องขอให้ศาลสังให้นิติบุคคลนันล้มละลาย
ได้ ถ้าเงินลงทุนหรื อค่าหุ้นได้ใช้เสร็จหมดแล้ว สิ นทรัพย์ก็ยงั ไม่พอกับหนีสิ น
เมือศาลได้รับคําร้องขอ ให้สงพิ ั ทกั ษ์ทรัพย์นิติบุคคลเด็ดขาดทันที และให้ทีประชุม
เจ้าหนีแต่งตังเจ้าหนีคนหนึงขึน ให้มีสิทธิทาํ หน้า
ทีเสมือนเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์
มาตรา 89 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ห้างหุ้นส่วนสามัญทีได้จดทะเบียนหรื อห้างหุ้นส่วน
จํากัดแล้ว เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์หรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
อาจมีคาํ ขอโดยทําเป็ นคําร้อง ให้บุคคลผูเ้ ป็ นหุ้นส่วนไม่จาํ กัดความรับผิดนันล้มละลาย
ได้ โดยไม่ตอ้ งฟ้องเป็ นคดีใหม่
มาตรา 90 เมือมีคาํ ขอตามมาตราก่อน ถ้าเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์หรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ขอให้พทิ กั ษ์ทรัพย์ของผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนชัวคราว ศาลมี
ั วคราวได้ แต่ก่อนสังจะให้เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ให้ประกัน
อํานาจสังพิทกั ษ์ทรัพย์ผนู้ นชั
ค่าเสียหายตามทีเห็นสมควรก็ได้
ถ้าภายหลัง ปรากฏว่าผูท้ ีถูกศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์นนไม่ ั ใช้ผเู ้ ป็ นหุ้นส่วน ให้ศาลสังถอน
การพิทกั ษ์ทรัพย์ และถ้าผูน้ นมี
ั คาํ ขอโดยทํา
เป็ นคําร้อง ศาลมีอาํ นาจสังให้เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ชดใช้ค่าเสียหาย หรื อจะสังให้เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จ่ายจากทรัพย์สินของห้างหุ้น
ส่วนก็ได้
ถ้าเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ไม่ปฏิบตั ิตามคําสัง ศาลมีอาํ นาจบังคับเจ้าหนีนันเสมือนเป็ นลูกหนี
ตามคําพิพากษา

หน่วยที 12 วิธีจดั การทรัพย์สินของลูกหนี

- การยืนคําขอรับชําระหนีจะต้องยืนต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ภายในกําหนด 2 เดือน


นับแต่วนั โฆษณาคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เว้นเจ้าหนีบางจําพวก
ซึงสิ ทธิ ขอรับชําระหนีเกิดขึนภายหลังพิทกั ษ์ทรัพย์ กําหนดเวลาสําหรับเจ้าหนีดังกล่าวมิ
ให้นบั แต่วนั โฆษณาคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด แต่นบั แต่วนั ทีอาจ
ใช้สิทธิ ขอรับชําระหนีเป็ นต้นไป
- การไม่ยืนคําขอรับชําระหนี ทําให้เจ้าหนีหมดสิ ทธิ ได้รับชําระหนี แต่หนีไม่ระงับ
- หนีทีจะยืนขอรับชําระหนีได้ จะต้องเป็ นหนีทีเกิดขึนก่อนพิทกั ษ์ทรัพย์ มีความสมบูรณ์
ตามกฎหมาย และเจ้าหนีมิได้รู้ถึงการทีลูกหนีมีหนีสิ นล้นพ้นตัวใน
เวลาก่อหนีนัน
- เจ้าหนีมีประกันสามารถบังคับเอาแก่หลักประกันได้อยูแ่ ล้ว จึงไม่จาํ เป็ นต้องยืนคํา

Sensitivity: Internal
ขอรับชําระหนี แต่หากหลักประกันไม่พอกับหนีและผูค้ าประกั ํ นประสงค์
จะยืนคําขอรับชําระหนี ก็สามารถทําได้ภายใต้เงือนไขพิเศษ
- คําขอรับชําระหนีนัน เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจเพียงสอบสวนและทําความเห็น
การสังอนุญาตหรื อไม่อนุญาตเป็ นอํานาจหน้าทีของศาล
- นอกจากพิทกั ษ์ทรัพย์ของลูกหนีแล้ว ทรัพย์ของคนอืนทียอมให้ลูกหนีครอบครอง
ในทางการค้าหรื อธุรกิจ ก็ถือว่าเป็ นทรัพย์สินทีอาจเอามาชําระหนีได้ใน
คดีลม้ ละลาย
- การยึดหรื ออายัดทรัพย์สินของลูกหนี ไว้ชวคราวในคดี
ั แพ่ง ใช้ยนั เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ไม่ได้ สําหรับการยึดหรื ออายัดทรัพย์สินของลูกหนีตามหมาย
บังคับคดีนนั ก็ใช้ยนั เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์นนไม่
ั ได้ เว้นแต่การบังคับคดีสาํ เร็ จ
บริ บูรณ์แล้วก่อนวันทีลูกหนีถูกพิทกั ษ์ทรัพย์
- ก่อนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ หากลูกหนีโอนทรัพย์สินของตนไปให้บคุ คลภายนอก หรื อเลือก
ชําระหนีให้กบั เจ้าหนีบางคน เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ขอให้เพิกถอน
การโอนนันได้

รายละเอียดทัวไป

- การยืนคําขอรับชําระหนี
1.วิธียืนคําขอรับชําระหนีและผูส้ งคํ
ั าขอ
- คําขอรับชําระหนีต้องยืนต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ( มาตรา 91 ว.1 )
- โดยต้องทําตามแบบพิมพ์ แสดงรายละเอียดหนีสิ น และระบุหลักฐานประกอบหนีและ
ทรัพย์สินอย่างใดของลูกหนีทียึดถือไว้เป็ นหลักประกัน (
มาตรา 91 ว.2 )
2.กําหนดเวลายืนคําขอรับชําระหนี
ให้เจ้าหนียืนคําขอรับชําระหนีต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ภายใน 2 เดือนนับแต่วนั
โฆษณาคําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ถ้าเจ้าหนีอยูน่ อกราชอาณาจักรในขณะ
โฆษณา เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจขยายเวลาให้อีกไม่เกิน 2 เดือน ( รวมเป็ น 4 เดือน )
( มาตรา 91 )
2.1. เจ้าหนีซึงสิ ทธิขอรับชําระหนีเกิดขึนภายหลังพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 92 บุคคลใดได้รับความเสี ยหายเพราะสิ งของของตนถูกยึดไปตามมาตรา 109 ( 3 )
หรื อเพราะการโอนทรัพย์สินหรื อการกระทําใด ๆ
ถูกเพิกถอนตามาตรา 115 หรื อเพราะเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่ยอมรับทรัพย์สินหรื อ
สิ ทธิตามสัญญาตามมาตรา 122 ก็ดี
มีสิทธิขอรับชําระหนีสําหรับราคาสิ งของหรื อหนีเดิมหรื อค่าเสี ยหายได้ ภายใน
กําหนดเวลาตามมาตรา 91 แต่ให้นบั จากวันทีอาจ
ใช้สิทธิ ขอรับชําระหนีได้ ถ้าข้อโต้เถียงเป็ นคดี ให้นบั จากวันทีคดีถึงทีสุ ด

Sensitivity: Internal
อธิบาย - มาตรา 92 แยกพิจารณาได้ดงั นี
1.กรณี ได้รับความเสี ยหายเพราะสิ งของถูกยึด ตามมาตรา 109 ( 3 )
เช่น ลูกหนีค้าขายวิทยุ ดําเอาวิทยุของตนไปฝากและตังโชว์ทีร้านลูกหนี ต่อมาลูกหนีถูก
พิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ยึดทรัพย์สินลูกหนีรวมทังวิทยุของดําไป ซึงตามมาตรา 109 ( 3 )
ถือว่าวิทยุเป็ นทรัพย์สินในคดีลม้
ละลาย ดําจะขอคืนไม่ได้ ได้แต่ขอรับชําระหนีสําหรับราคาวิทยุต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ โดยมีกาํ หนดเวลายืนคํา
ขอรับชําระหนี 2 เดือนนับแต่วนั ทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ยึดไป
2.กรณี ได้รับความเสี ยหายเพราะนิติกรรมถูกเพิกถอน ตามมาตรา 115
เช่น แดงเป็ นหนีเขียว 20,000 บาท แดงกับเขียวเป็ นญาติกนั พอแดงรู ้วา่ ตนมีหนีสิ นล้น
พ้นตัวก็รีบชําระหนีให้เขียว เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ยืนขอต่อศาล ศาลสังเพิกถอนการใช้หนีนันเสี ย ดังนันเขียวต้องใช้
เงิน 20,000 บาทคืนแก่เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ แล้วยืนคําขอรับชําระหนีต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ใน 2 เดือน
นับแต่วนั ทีศาลสังเพิกถอน
3.กรณี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่ยอมรับทรัพย์หรื อสิ ทธิ ตามสัญญา ตามมาตรา 122
เช่น ก่อนลูกหนีล้มละลาย ลูกหนีทําสัญญาจะขายทีดินให้ดาํ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
เห็นว่าตามสัญญาลูกหนีเสี ย
เปรี ยบ แล้วบอกปั ดไม่โอนทีดินให้ดาํ ดังนันดําขอรับชําระหนีสําหรับค่าเสี ยหายทีตน
ได้รับได้ภายใน 2 เดือนนับแต่วนั ที
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ใช้สิทธิบอกปัดดังกล่าว
2.2.เจ้าหนีผูช้ นะคดีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 93 กรณี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ว่าคดีทีค้างพิจารณาอยูแ่ ทนลูกหนี ถ้าแพ้คดี
เจ้าหนีตามคําพิพากษามีสิทธิขอรับชําระหนีภาย
ในกําหนดเวลาตามมาตรา 91 แต่ให้นบั จากวันคดีถึงทีสุ ด
3.ผลของการไม่ยนคํ ื าขอรับชําระหนี
มาตรา 27 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว เจ้าหนีจะขอรับชําระหนีได้ก็โดยปฏิบตั ิ
ตามวิธีการในพระราชบัญญัตินี แม้จะเป็ นเจ้าหนีตามคํา
พิพากษา หรื อเป็ นเจ้าหนีทีได้ยนฟ้
ื องคดีไว้แล้วแต่คดีอยูใ่ นระหว่างพิจารณา ก็ตาม
อธิบาย - เจ้าหนีทีจะต้องยืนคําขอรับชําระหนีนัน ต้องเป็ นเจ้าหนีในหนีเงินเท่านัน ส่ วน
หนีทีมีวตั ถุเป็ นการกระทําอย่างใดอย่างหนึง เจ้าหนี
ไม่ตอ้ งยืนคําขอรับชําระหนี ซึงในกรณี นีเจ้าหนีขอให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ปฏิบตั ิ
ตามข้อผูกพันของลูกหนีแทนลูกหนีได้เลย
- หนีทีอาจขอรับชําระหนีได้ในคดีลม้ ละลาย
1.หนีทีอาจขอรับชําระได้ในคดีลม้ ละลาย : หลักทัวไป

Sensitivity: Internal
มาตรา 94 เจ้าหนีไม่มีหลักประกันสามารถขอรับชําระหนีได้ ถ้ามูลหนีเกิดขึนก่อนวันที
ศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์ แม้หนียังไม่ถึงกําหนดชําระหรื อมี
เงือนไขก็ตาม เว้นแต่
( 1 ) หนีเกิดขึนโดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตามกฎหมาย หรื อศีลธรรมอันดี หรื อหนีทีจะฟ้องร้อง
ให้บงั คับคดีไม่ได้
( 2 ) หนีทีเจ้าหนียอมให้ลูกหนีกระทําขึน โดยเจ้าหนีรู ้ถึงการทีลูกหนีมีหนีสิ นล้นพ้นตัว
แต่ไม่รวมถึงหนีทีเจ้าหนียอมให้กระทําขึนเพือให้
กิจการของลูกหนีดําเนินต่อไปได้
มาตรา 101 ถ้าลูกหนีร่ วมบางคนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนีร่ วมคนอืนอาจยืนคําขอรับชําระ
หนีสําหรับจํานวนทีตนอาจใช้สิทธิไล่เบียในภายหน้าได้ เว้น
แต่เจ้าหนีได้ใช้สิทธิขอรับชําระหนีไว้เต็มจํานวนแล้ว
ในวรรคก่อนใช้บงั คับแก่ผคู้ าประกั
ํ น ผูค้ าประกั
ํ นร่ วม หรื อบุคคลในลักษณะเดียวกัน
โดยอนุโลม
อธิบาย - ลูกหนีร่ วมบางคนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนีร่ วมคนอืนยืนคําขอรับชําระหนี
สําหรับจํานวนทีตนอาจใช้สิทธิไล่เบียในภายหน้าได้
เช่น แดงกับดําเป็ นลูกหนีร่ วมในหนี 300,000 บาท แดงถูกศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ดังนีดํายืน
คําขอรับชําระหนีได้ 150,000 บาท แม้
ยังไม่ได้ชาํ ระหนีแก่เจ้าหนีไปจริง ๆ ก็ตาม
2.สิ ทธิขอรับชําระหนีของเจ้าหนีมีประกัน
- เจ้าหนีมีประกันมีสิทธิเหนือทรัพย์สินทีเป็ นหลักประกัน ซึงลูกหนีได้ให้ไว้ก่อนถูก
พิทกั ษ์ทรัพย์และสามารถบังคับการชําระหนีจากทรัพย์สินนันได้
จึงไม่จาํ เป็ นต้องยืนคําขอรับชําระหนี ( มาตรา 95 )
- แต่กฎหมายก็ให้โอกาสเจ้าหนีมีประกันยืนคําขอรับชําระหนีได้ เว้นกรณี ทีตามกฎหมาย
ลูกหนีไม่ตอ้ งรับผิดเกินราคาทรัพย์ทีเป็ นหลักประกัน ( การ
จํานอง )
- การขอรับชําระหนีของเจ้าหนีมีประกัน ต้องอยูใ่ นเงือนไขอย่างหนึงอย่างใดดังต่อไปนี
1.เมือยินยอมสละทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกันเพือประโยชน์แก่เจ้าหนีทังหลาย ก็ขอรับ
ชําระหนีได้เต็มจํานวนเช่นเจ้าหนีสามัญทัวไป
2.เมือได้บงั คับเอาแก่ทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน แล้วขอรับชําระหนีสําหรับจํานวนที
ยังขาดอยู่
3.เมือขอให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ขายทอดตลาดทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน แล้ว
ขอรับชําระหนีสําหรับจํานวนทียังขาดอยู่
4.เมือตีราคาทรัพย์สินทีเป็ นหลักประกัน แล้วขอรับชําระหนีสําหรับจํานวนทียังขาดอยู่ (
มาตรา 96 )
- ถ้าเจ้าหนีมีประกันขอรับชําระหนีโดยจงใจปกปิ ดว่าตนไม่ใช่เจ้าหนีมีประกัน เจ้าหนี
นันต้องคืนทรัพย์อนั เป็ นหลักประกันแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์

Sensitivity: Internal
ทรัพย์ และสิทธิ เหนือทรัพย์สินนันเป็ นอันระงับไป ( มาตรา 97 )
3.การหักกลบลบหนี
กรณี ทีบุคคลภายนอกและผูล้ ม้ ละลายเป็ นหนีซึงกันและกันอยู่ บุคคลภายนอกไม่ตอ้ งยืน
คําขอรับชําระหนีและไม่ตอ้ งชําระหนี แต่ขอหักกลบลบหนี
กับเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ให้หนีทังสองนันระงับไปได้เลย
มาตรา 102 ถ้าเจ้าหนีมีสิทธิขอรับชําระหนีเป็ นลูกหนีในเวลาทีมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์ ถึงแม้
มูลหนีทังสองฝ่ ายจะไม่มีวตั ถุเป็ นอย่างเดียวกัน หรื ออยู่
ในเงือนไขหรื อเงือนเวลา ก็หักกลบกันได้ เว้นแต่เจ้าหนีได้สิทธิเรี ยกร้องต่อลูกหนี
ภายหลังทีมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์แล้ว
มาตรา 103 เมือบุคคลซึงมีสิทธิ ขอรับชําระหนี สําหรับหนีทีมีเงือนไขบังคับก่อนขอหัก
กลบลบหนี บุคคลนันต้องให้ประกันสําหรับจํานวนทีขอหัก
กลบลบหนีนัน
อธิบาย - การขอหักกลบลบหนีในคดีลม้ ละลาย มีสาระสําคัญดังนี
1.สิ ทธิเรี ยกร้องของผูห้ ักกลบลบหนีต้องเป็ นสิทธิ เรี ยกร้องทีอาจขอรับชําระหนีได้
2.สิทธิเรี ยกร้องซึ งผูข้ อหักกลบลบหนีได้มาภายหลังวันทีศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ จะนํามา
หักกลบลบหนีไม่ได้
เช่น ดําเป็ นหนีแดงค่าซือของเชือ 10,000 บาท ขาวกูย้ ืมดํา 10,000 บาท เมือดําถูกพิทกั ษ์
ทรัพย์แล้ว แดงได้โอนสิทธิของตน
ให้ขาว ดังนีขาวจะนําสิ ทธิเรี ยกร้องทีรับโอนมาหักกลบลบหนีกับสิ ทธิเรี ยกร้องดําไม่ได้
โดยขาวต้องยืนคําขอรับชําระหนีสําหรับ
สิ ทธิเรี ยกร้องทีได้รับโอนมาต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ และต้องใช้หนีแก่เจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์สาํ หรับหนีเดิมของตนโดย
เต็มจํานวน
3.แม้มูลหนีของทังสองฝ่ ายจะไม่มีวตั ถุเป็ นอย่างเดียวกัน ก็อาจหักกลบลบกันได้ โดยผู ้
ขอหักกลบลบหนีต้องกะประมาณราคาคิด
เป็ นจํานวนเงินมาเสี ยก่อน
4.หนีทียังไม่ถึงกําหนดหรื อหนีทีมีเงือนไขก็หักกลบลบกันได้ แต่ถา้ สิ ทธิเรี ยกร้องของผู้
ขอหักกลบลบหนีอยูใ่ นเงือนไขบังคับก่อน ผู้
ขอหักกลบลบหนีต้องให้ประกันสําหรับจํานวนทีขอหักกลบลบหนีนัน
5.การขอหักกลบลบหนีทําได้โดยแสดงเจตนาต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ไม่ตอ้ งทําเป็ น
คําขอรับชําระหนี
- การสอบสวนและคําสังขอรับชําระหนี
1.หน้าทีของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เกียวกับคําขอรับชําระหนี
1.1.การตรวจคําขอรับชําระหนี
- เมือครบกําหนดเวลายืนคําขอรับชําระหนี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งรี บนัดลูกหนี
และเจ้าหนีทังหลายมาพร้อมกัน เพือตรวจคําขอรับ

Sensitivity: Internal
ชําระหนี โดยแจ้งให้ทราบล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน ( มาตรา 104 )
- เมือถึงวันนัด เจ้าหนีและลูกหนีมีสิทธิตรวจและแถลงโต้แย้งคําขอรับชําระหนีได้ เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะจดคําแถลงโต้แย้งไว้ หรื อให้
ผูโ้ ต้แย้งไปทําคําแถลงเป็ นหนังสือรวมไว้ในสํานวนก็ได้
1.2.สอบสวนหนีสิ น
เมือตรวจคําขอรับชําระหนีแล้ว เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะสอบสวนเรื องหนีสิ นจาก
พยานหลักฐาน หรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะมีหมาย
เรี ยกบุคคลใดมาสอบสวนด้วยก็ได้ หรื อจะสังให้ส่งเอกสารหรื อวัตถุพยานด้วยก็ได้ (
มาตรา 115 , 117 )
1.3.ทําความเห็นส่งสํานวนความและรายงานเรื องหนีสิ นต่อศาล
เมือสอบสวนเรื องหนีสิ นเสร็จ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งส่งสํานวนคําขอรับชําระหนี
ต่อศาล พร้อมทําความเห็นว่าควรอนุญาตให้เจ้าหนีทียืน
คําขอรับชําระหนีนัน ได้รับชําระหนีได้ในจํานวนเท่าใดหรื อไม่ และรายงานว่ามีผใู้ ด
โต้แย้งคําขอรับชําระหนีนันประการใดหรื อไม่ แต่การสัง
อนุญาตหรื อไม่เป็ นเรื องของศาลโดยเฉพาะ
2.การสังคําขอรับชําระหนี
2.1.การสังคําขอรับชําระหนีของศาล มีหลักเกณฑ์ดงั นี
2.1.1.กรณี ไม่มีผโู ้ ต้แย้ง
ศาลมีอาํ นาจสังอนุญาตให้ชาํ ระหนีได้ ( มาตรา 106 )
2.1.2.กรณี มีผโู ้ ต้แย้ง
มาตรา 107 คําขอรับชําระหนีรายใดมีผโู ้ ต้แย้ง ให้ศาลพิจารณาแล้วมีคาํ สังดังต่อไปนี
( 1 ) ให้ยกคําขอรับชําระหนี
( 2 ) อนุญาตให้ได้รับชําระหนีเต็มจํานวน
( 3 ) อนุญาตให้ได้รับชําระหนีบางส่วน
2.2.คําขอรับชําระหนีทีศาลอนุญาต ถ้าต่อมาปรากฏว่าศาลสังไปโดยหลงผิด เมือเจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีคาํ ขอโดยทําเป็ นคําร้อง ศาลมีอาํ นาจ
ยกคําขอรับชําระหนีหรื อลดจํานวนหนีทีได้สงอนุ ั ญาตไปแล้วได้ ( มาตรา 108 )
- ทรัพย์สินซึงอาจเอามาชําระหนี
1.ทรัพย์สินของลูกหนี
มาตรา 109 ทรัพย์สินดังต่อไปนี ถือว่าเป็ นทรัพย์สินในคดีลม้ ละลายอันแบ่งแก่เจ้าหนีได้
( 1 ) ทรัพย์สินทังหลายทีลูกหนีมีอยูใ่ นเวลาเริ มต้นแห่ งการล้มละลาย รวมทังสิ ทธิ
เรี ยกร้องเหนือทรัพย์สินของบุคคลอืน เว้นแต่
ก.เครื องใช้สอยส่ วนตัวทีจําเป็ นแก่การดํารงชีพ ซึงลูกหนีรวมทังคูส่ มรสและบุตรผูเ้ ยาว์
จําเป็ นต้องใช้ตามสมควรแก่ฐานานุรูป
ข.สัตว์ พืชพันธุ์ เครื องมือ และสิ งของสําหรับในการประกอบอาชีพของลูกหนี ราคา
รวมกันไม่เกิน 1 แสนบาท

Sensitivity: Internal
( 2 ) ทรัพย์สินซึงลูกหนีได้มาภายหลังเวลาเริ มต้นแห่งการล้มละลายจนถึงเวลาปลดจาก
ล้มละลาย
2.ทรัพย์สินของผูอ้ นื
มาตรา 109 ทรัพย์สินดังต่อไปนี ถือว่าเป็ นทรัพย์สินในคดีลม้ ละลายอันแบ่งแก่เจ้าหนีได้
( 3 ) สิ งของซึงอยูใ่ นครอบครอง หรื ออํานาจสังการหรื อสังจําหน่ายของลูกหนี ในทาง
การค้าหรื อธุรกิจของลูกหนี ด้วยความยินยอม
ของเจ้าของอันแท้จริ ง โดยพฤติการณ์ซึงทําให้เห็นว่าลูกหนีเป็ นเจ้าของในขณะทีมีการ
ขอให้ลูกหนีนันล้มละลาย

อธิบาย - ทรัพย์สินของผูอ้ นที ื เป็ นทรัพย์สินซึงอาจเอามาชําระหนี ต้องประกอบด้วย


หลักเกณฑ์ดงั นี
1.เป็ นสิ งของ ( สังหาริ มทรัพย์ )
2.อยูใ่ นความครอบครอง หรื ออํานาจสังการหรื อสังจําหน่ายของลูกหนี ในขณะทีมีการ
ขอให้ลม้ ละลาย
3.เกียวกับการค้าหรื อธุรกิจลูกหนี
4.ตามพฤติการณ์ทาํ ให้เห็นว่าลูกหนีเป็ นเจ้าของทรัพย์
5.เจ้าของทีแท้จริ งยินยอม
- เกียวกับคดีแพ่งสามัญ
1.อํานาจของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ต่อทรัพย์สินทียึดหรื ออายัดไว้ในคดีแพ่ง
มาตรา 110 คําสังของศาลทีให้ยดึ หรื ออายัดทรัพย์สินไว้ชวคราว ั หรื อหมายบังคับคดีแก่
ทรัพย์สินลูกหนีนัน จะใช้ยนั แก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ของลูกหนีไม่ได้ เว้นแต่การบังคับคดีได้สําเร็ จบริ บูรณ์ก่อนวันทีศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์
การบังคับคดีนนั ให้ถือว่าได้สําเร็ จบริ บูรณ์เมือพ้นกําหนดเวลาทีอนุญาตให้เจ้าหนีอืนยืน
คําขอเฉลียตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง
ไม่กระทบถึงสิทธิของเจ้าหนีมีประกันในการบังคับคดีแก่ทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน
หรื อการทีผูใ้ ดชําระเงินโดยสุจริ ตต่อศาล
หรื อเจ้าพนักงานบังคับคดีตามคําสังศาล หรื อถึงความสมบูรณ์แห่งการซื อโดยสุ จริ ตใน
การขายทอดตลาดตามคําสังศาล
2.วิธีการปฏิบตั ิของเจ้าพนักงานบังคับคดีเกียวกับทรัพย์สิน
2.1.ข้อปฏิบตั ิของเจ้าพนักงานบังคับคดี เมือได้รับแจ้งว่ามีการขอให้ลูกหนีล้มละลายไว้
มาตรา 111 เมือเจ้าพนักงานบังคับคดีได้จาํ หน่ายทรัพย์สินแล้ว แต่ยงั ไม่ได้จ่ายเงิน ถ้า
ได้รับแจ้งว่ามีการขอให้ลูกหนีล้มละลายก่อนทีบังคับ
คดีได้สาํ เร็จบริ บูรณ์ ให้กกั เงินไว้และเมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาด ให้หักไว้เป็ น
ค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานบังคับคดีและค่า
ธรรมเนียมโจทก์ในชันบังคับคดี เหลือเท่าใดให้ส่งเป็ นทรัพย์สินในคดีลม้ ละลาย

Sensitivity: Internal
2.2.ข้อปฏิบตั ิของเจ้าพนักงานบังคับคดี เมือมีการแจ้งว่าลูกหนีถูกพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 112 ถ้าในระหว่างการบังคับคดียงั ไม่สาํ เร็จบริ บูรณ์ เจ้าพนักงานบังคับคดีได้รับ
แจ้งว่าลูกหนีถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
แจ้งรายการทรัพย์สินทีอยูใ่ นอํานาจหรื อความยึดถือของตนแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
และปฏิบตั ิตามคําขอของเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์ ค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานบังคับคดีและค่าธรรมเนียมโจทก์ในชันบังคับคดี
ให้หกั จาทรัพย์สินนันได้ก่อน
- การเพิกถอนการกระทําเกียวกับทรัพย์สินของลูกหนีก่อนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์
1.การเพิกถอนการฉ้อฉล
มาตรา 113 การขอให้ศาลเพิกถอนการฉ้อฉล ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ขอได้โดยทํา
เป็ นคําร้อง
อธิบาย - การเพิกถอนการฉ้อฉล ประกอบด้วยสาระสําคัญดังนี
1.ลูกหนีกระทํานิติกรรมอันมีผลให้กองทรัพย์สินลูกหนี ลดน้อยลงไป เว้นแต่นิติกรรม
นันจะมิได้มีวตั ถุเป็ นสิทธิในทรัพย์สิน
2.ลูกหนีรู ้อยูว่ ่าการกระทําดังกล่าวทําให้เจ้าหนีเสียเปรี ยบ
3.บุคคลผูไ้ ด้รับประโยชน์จากการกระทําดังกล่าวรู ้ถึงการทีเจ้าหนีต้องเสี ยเปรี ยบ แต่หาก
ทําให้โดยเสน่หา ลูกหนีรู้ฝ่ายเดียวก็พอ
2.การเพิกถอนการกระทําตามมาตรา 114
มาตรา 114 ถ้านิติกรรมทีขอเพิกถอน เกิดขึนภายในเวลา 1 ปี ก่อนมีการขอให้ลม้ ละลาย
หรื อเป็ นการทําให้โดยเสน่หา หรื อเป็ นการทีลูกหนีได้รับ
ค่าตอบแทนน้อยเกินสมควร ให้สนั นิษฐานว่าเป็ นการกระทําทีลูกหนีและผูไ้ ด้รับลาภ
งอกแต่การนัน รู ้ว่าเป็ นทางให้เจ้าหนีต้องเสี ย
เปรี ยบ
3.การเพิกถอนการกระทําตามมาตรา 115
มาตรา 115 การโอนทรัพย์สินหรื อการกระทําใด ๆ ทีลูกหนีกระทําหรื อยินยอมให้กระทํา
ในระยะ 3 เดือนก่อนมีการขอให้ลม้ ละลาย โดยมุ่งหมายให้
เจ้าหนีคนหนึงคนใดได้เปรี ยบเจ้าหนีอืน ถ้าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีคาํ ขอโดยทําเป็ น
คําร้อง ศาลมีอาํ นาจสังเพิกถอนการโอนหรื อ
การกระทํานันได้
ถ้าเจ้าหนีผูใ้ ดได้เปรี ยบเป็ นบุคคลภายในลูกหนี ศาลมีอาํ นาจสังเพิกถอนการโอนหรื อการ
กระทําตามวรรคหนึง ทีได้กระทําขึนใน
ระยะ 1 ปี ก่อนมีการขอให้ลม้ ละลาย
มาตรา 116 ในมาตรา 115 ไม่กระทบถึงสิทธิบุคคลภายนอกอันได้มาโดยสุ จริ ตและมี
ค่าตอบแทนก่อนมีการขอให้ลม้ ละลาย

หน่วยที 13 วิธีจดั การทรัพย์สินของลูกหนี ( 2 ) , การปิ ดคดีและการยกเลิกการล้มละลาย

Sensitivity: Internal
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจไต่สวน สอบสวนเกียวกับกิจการและทรัพย์สินของ
ลูกหนีได้ และมีอาํ นาจสังให้บคุ คลใด ๆ ส่ งเอกสารหรื อวัตถุพยานอัน
เกียวกับกิจการหรื อทรัพย์สินของลูกหนีมาให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ได้
- เมือยึดทรัพย์แล้ว เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะขายตามวิธีใดก็ได้ทีเห็นว่าสะดวกและ
เป็ นผลดีทีสุ ด แต่ถา้ จะขายโดยวิธีอนนอกจากการขายทอดตลาด

ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการเจ้าหนีเสี ยก่อน
- เมือบุคคลใดถูกเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ทวงหนีทีค้างชําระแทนลูกหนีแล้ว ถ้า
ประสงค์ทีจะคัดค้าน ต้องปฏิเสธหนีเป็ นหนังสื อไปยังเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ภายใน 14 วัน ถ้าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ยงั คงยืนยันให้เขาชําระหนีอีก ก็สามารถ
ยืนคําร้องคัดค้านคําสังของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ่ ศาลได้
ภายใน 14 วัน
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจปฏิเสธไม่ยอมรับทรัพย์สินหรื อสิ ทธิ ตามสัญญาทีจะ
ตกได้แก่ลูกหนีได้ หากมีภาระเกินกว่าประโยชน์ทีจะพึงได้
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจทีจะดําเนินธุรกิจของลูกหนี เพือชําระสะสางธุรกิจนัน
ให้เสร็จสิ นไป แต่ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากทีประชุมเจ้าหนีก่อน
- ก่อนทําการแบ่งทรัพย์สิน เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งกันเงินส่วนแบ่งไว้สาํ หรับ
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายก่อน กับต้องทําบัญชีส่วนแบ่ง และโฆษณา
ให้เจ้าหนีทังหลายมาตรวจดูบญั ชีส่วนแบ่งนันก่อน
- เจ้าหนีรายใดจะคัดค้านบัญชีส่วนแบ่งนัน ต้องคัดค้านต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ซึง
เมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีคาํ สังอย่างใดแล้ว ผูม้ ีส่วนได้เสี ย
อาจคัดค้านคําสังนันต่อศาลได้ภายในกําหนด 7 วัน นับแต่วนั ทีได้ฟังคําสัง
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะต้องแบ่งทรัพย์สินภายในเวลาทีกฎหมายกําหนด และต้อง
ทําการแบ่งทรัพย์สินชําระแก่ให้แก่เจ้าหนีตามลําดับก่อนหลังตามที
กฎหมายกําหนด
- การแบ่งทรัพย์สินครังทีสุ ด เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะต้องแจ้งความไปยังผูท้ ีเกียวค้าง
ค่าแรงงานหรื อเงินทีได้ออกไปโดยคําสังของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ก่อน เมือได้ชาํ ระหนีทังหมดเต็มจํานวนแล้ว ถ้ายังมีทรัพย์สินเหลืออยูใ่ ห้คืนแก่
บุคคลล้มละลายไป
- การปิ ดคดี คือ การทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ขอให้ศาลสังให้ระงับการดําเนินงานตาม
หน้าที ซึงเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะต้องทําเสียชัวคราวก่อน
- การปิ ดคดีไม่ทาํ ให้คดีลม้ ละลายสิ นสุ ดลง เพียงแต่ระงับคดีไว้ชวคราวเท่
ั านัน ซึงใน
ระหว่างปิ ดคดีนนั เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ยงั มีหน้าทีต้องดําเนินการ
บางประการอยูต่ ามทีกฎหมายกําหนด
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจขอให้ศาลเปิ ดคดีต่อไปได้ ถ้าเห็นว่าบุคคลล้มละลายมี
ทรัพย์สินขึนมาใหม่

Sensitivity: Internal
- การยกเลิกการล้มละลายมีผลทําให้ลูกหนีหลุดพ้นจากการล้มละลาย และกลับมาเป็ นผูม้ ี
ความสามารถในการจัดการทรัพย์สินของตนต่อไป
- คําสังยกเลิกการล้มละลายไม่กระทบถึงการใดทีศาลหรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ได้
กระทําไปแล้ว

รายละเอียดทัวไป

- การรวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี
1.การไต่สวนรายละเอียดเกียวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี
มาตรา 117 เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ศาลหรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจออก
หมายเรี ยกลูกหนี คู่สมรส หรื อบุคคลซึ งสงสัยว่ามีทรัพย์สิน
ลูกหนีในครอบครอง หรื อเชือว่าเป็ นหนีลูกหนี หรื อเห็นว่าสามารถแจ้งข้อความเกียวกับ
กิจการหรื อทรัพย์สินของลูกหนีมาไต่สวนหรื อ
สอบสวน และมีอาํ นาจสังให้บุคคลนัน ๆ ส่ งเอกสารหรื อพยานวัตถุอนั เกียวกับกิจการ
หรื อทรัพย์สินลูกหนี
ถ้าบุคคลนันจงใจขัดขืนหมายเรี ยกหรื อคําสัง ศาลมีอาํ นาจออกหมายจับมาขังไว้ จนกว่า
จะปฏิบตั ิตามคําสัง
2.การยึดทรัพย์สินของลูกหนี
มาตรา 19 คําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ให้ถือเสมือนเป็ นหมายของศาล ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์เข้ายึดดวงตรา สมุดบัญชี หรื อเอกสารของลูกหนี
และบรรดาทรัพย์สินซึ งอยูใ่ นความครอบครองของลูกหนี หรื อของผูอ้ ืนอันอาจแบ่งได้
ในคดีลม้ ละลาย
ในการยึดทรัพย์ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจเข้าไปในสถานทีใด ๆ ของลูกหนีหรื อ
ทีลูกหนีครอบครองอยู่ และมีอาํ นาจหัก
พังเพือเข้าไปในสถานทีนัน ๆ รวมทังเปิ ดตูน้ ิรภัย หรื อทีเก็บของอืน ๆ ตามทีจําเป็ น
ทรัพย์สินทียึด ห้ามขาย จนกว่าศาลมีคาํ พิพากษาให้ลม้ ละลาย เว้นแต่เป็ นของเสี ยง่าย
หรื อถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็ นการเสี ยงความ
เสียหาย หรื อค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่าทรัพย์สินนัน
มาตรา 121 ลูกหนีทีเป็ นข้าราชการ เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มี
สิ ทธิ รับเงินเดือน บํานาญ บําเหน็จ เบียหวัด หรื อเงิน
ทํานองเดียวกัน จากเจ้าหน้าทีเพือรวบรวมให้แก่เจ้าหนี แต่ตอ้ งจ่ายค่าเลียงชีพลูกหนีและ
ครอบครัวตามฐานานุรูป
ใช้บงั คับในกรณีลูกหนีมีสิทธิได้รับเงินจากบุคคลหรื อองค์กรอืนด้วย
3.การทวงหนีและการเรี ยกทรัพย์สินของลูกหนีคืนจากบุคคลภายนอก
มาตรา 118 เมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีคาํ ขอ ศาลมีอาํ นาจบังคับให้ผทู้ ีรับว่าเป็ นหนี
ลูกหนี หรื อรับว่ามีทรัพย์สินของลูกหนีในครอบครอง

Sensitivity: Internal
ชําระเงินหรื อส่งมอบทรัพย์สินแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ภายในเวลาสมควร ถ้าไม่
ปฏิบตั ิ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจมีคาํ ขอให้
ศาลออกหมายบังคับคดีเสมือนบุคคลนันเป็ นลูกหนีตมคําพิพากษา
มาตรา 119 ถ้าลูกหนีมีสิทธิเรี ยกร้อง ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แจ้งเป็ นหนังสือให้
บุคคลนันชําระเงินหรื อส่งมอบทรัพย์สินตามจํานวนทีแจ้งไป
และบอกด้วยว่าถ้าจะปฏิเสธให้แสดงเหตุผลเป็ นหนังสื อแจ้งมายังเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ภายใน 14 วันนับแต่วนั ได้รับแจ้ง มิฉะนัน
ถือว่าเป็ นหนีลูกหนีอยูต่ ามจํานวนทีแจ้งไปเป็ นการเด็ดขาด
ถ้าปฏิเสธภายในกําหนดเวลา ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์สอบสวน ถ้าเห็นว่าไม่ได้เป็ น
หนี ให้จาํ หน่ายออกจากบัญชีลูกหนี
และแจ้งให้บคุ คลนันทราบ ถ้าเห็นว่าเป็ นหนี ให้แจ้งจํานวนเป็ นหนังสื อไปยังบุคคลที
ต้องรับผิดนัน และแจ้งด้วยว่า ถ้าจะคัดค้าน ให้
ร้องคัดค้านต่อศาลภายใน 14 วันนับแต่วนั ได้รับแจ้งยืนยัน
ถ้าคัดค้านต่อศาลภายในกําหนดเวลา ให้ศาลพิจารณา ถ้าพอใจว่าเป็ นหนี ให้มีคาํ บังคับ
ให้บคุ คลนันชําระเงินหรื อส่งมอบทรัพย์
สิ นแก่เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ถ้าเห็นว่าไม่ได้เป็ นหนี ให้ศาลสังจําหน่ายจาก
บัญชีลูกหนี
ถ้าไม่ได้ปฏิเสธต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อไม่ได้ร้องคัดค้านต่อศาลภายใน
กําหนดเวลา เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจมีคาํ ขอ
ต่อศาลให้บงั คับบุคคลนันชําระหนีภายในกําหนดเวลาทีศาลเห็นควร
ถ้าบุคคลนันไม่ปฏิบตั ิตามคําบังคับศาล เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจมีคาํ ขอให้ศาลออก
หมายบังคับคดีเสมือนบุคคลนันเป็ นลูก
หนีตามคําพิพากษา
กรณี ผถู ้ ูกทวงหนีร้องคัดค้านต่อศาล เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจมีคาํ ขอต่อศาลให้สังยึด
หรื ออายัดทรัพย์สินของผูร้ ้องคัดค้าน
ไว้ชวคราวก่
ั อนมีคาํ สังในเรื องหนีก็ได้
4.การปฏิเสธไม่ยอมรับทรัพย์สินหรื อสิทธิตามสัญญาทีมีภาระเกินกว่าประโยชน์ทีพึงจะ
ได้
มาตรา 122 ภายใน 3 เดือนนับแต่วนั ทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ทราบว่า ทรัพย์สินของ
ลูกหนีหรื อสิทธิตามสัญญา มีภาระเกินกว่าประโยชน์ทีจะ
ได้ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจไม่ยอมรับทรัพย์สินหรื อสิทธิตามสัญญานันได้
บุคคลใดได้รับความเสี ยหายโดยเหตุเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่ยอมรับดังกล่าว มีสิทธิ
ขอรับชําระหนีสําหรับค่าเสี ยหายได้
- การจําหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี
1.กําหนดเวลาในการขายทรัพย์สิน
มาตรา 19 ทรัพย์สินทียึด ห้ามขาย จนกว่าศาลมีคาํ พิพากษาให้ลม้ ละลาย เว้นแต่เป็ นของ

Sensitivity: Internal
เสียง่าย หรื อถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็ นการเสี ยงความ
เสียหาย หรื อค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่าทรัพย์สินนัน
2.วิธีการขายทรัพย์สิน
มาตรา 123 เมือลูกหนีล้มละลาย เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจขายตามวิธีทีสะดวก
และเป็ นผลดีทีสุ ด
การขายโดยวิธีอนนอกจากการขายทอดตลาด
ื ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการ
เจ้าหนี เว้นทรัพย์สินทีเป็ นของเสียง่ายหรื อ
ถ้าหน่วงช้าไว้จะเสียหายหรื อค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนค่าของทรัพย์สินนัน
ผูไ้ ด้รับโอนทรัพย์สินจากเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ในการขายหรื อการแบ่ง ไม่ตอ้ งรับผิด
ในค่าภาษีอากรหรื อจังกอบสําหรับปี ก่อนที
ได้รับโอน
3.ผลของการขายทรัพย์สิน
ผูร้ ับโอนทรัพย์สินไปจากเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ย่อมได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิ
- การดําเนินธุรกิจของลูกหนี
มาตรา 120 ถ้าลักษณะธุรกิจของลูกหนีสมควรดําเนินต่อไป เมือได้รับความเห็นชอบจาก
ทีประชุมเจ้าหนี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะดําเนินธุรกิจ
เอง หรื อตังบุคคลใดหรื อลูกหนีเป็ นผูจ้ ดั การ โดยกําหนดอํานาจหน้าทีไว้ก็ได้
ถ้าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตงบุ ั คคลใดนอกจากลูกหนีเป็ นผูจ้ ดั การ บุคคลนันต้องให้
ประกันตามทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์สงั
และมีสิทธิ ได้รับบําเหน็จตามทีทีประชุมเจ้าหนีกําหนด ถ้าไม่ได้กาํ หนดไว้ ให้เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เป็ นผูก้ าํ หนด
ผูจ้ ดั การต้องทําบัญชียนตามที
ื เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์สงั
- วิธีการแบ่งทรัพย์สิน
1.การเตรี ยมการก่อนทําการแบ่งทรัพย์สิน
1.1.ต้องกันเงินส่วนแบ่งไว้สาํ หรับเป็ นค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายก่อน
มาตรา 124 ทรัพย์สินซึงเหลือจากทีกันไว้สาํ หรับค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย เจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งจัดการแบ่งในระหว่างเจ้าหนีโดย
เร็ว
1.2.ต้องกันเงินส่วนแบ่งสําหรับคําขอรับชําระหนีรายทีมีเงือนไขหรื อข้อโต้แย้งก่อน
มาตรา 125 เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งกันเงินส่วนแบ่งรายทีมีเงือนไขหรื อมีขอ้ โต้แย้ง
และค่าธรรมเนียมสําหรับค่าใช้จ่ายอันอาจเกิดขึนได้
แล้วแบ่งเงินทีเหลือให้แก่เจ้าหนีนอกนันไป
1.3.ต้องทําบัญชีส่วนแบ่ง และโฆษณาให้เจ้าหนีมาตรวจดูบญ ั ชีส่วนแบ่งนันก่อน
มาตรา 126 ก่อนทําการแบ่งทุกครัง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งโฆษณาหนังสือพิมพ์
รายวันอย่างน้อย 1 ฉบับ และแจ้งไปยังเจ้าหนีและ
บุคคลล้มละลายล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน กําหนดวันเวลาให้มาตรวจบัญชีส่วนแบ่ง ถ้า

Sensitivity: Internal
ไม่มีคดั ค้าน ให้ถือว่าบัญชีนนถู ั กต้อง
และเป็ นทีสุ ด แล้วให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์โฆษณาการแบ่งไว้ ณ สํานักงาน และแจ้ง
จํานวนส่วนทีจะจ่ายไปยังเจ้าหนี
2.วิธีการแบ่งทรัพย์สิน
2.1.กําหนดเวลาในการแบ่งทรัพย์สิน
มาตรา 124 การแบ่งทรัพย์สินต้องกระทําทุกระยะไม่เกิน 6 เดือนนับแต่วนั ทีศาลพิพากษา
ให้ลม้ ละลาย เว้นแต่ศาลอนุญาตให้ขยายเวลาเมือมี
เหตุอนั ควร
2.2.การแบ่งทรัพย์สินชําระให้แก่เจ้าหนีตามลําดับก่อนหลังตามทีกฎหมายกําหนด
2.3.การคัดค้านบัญชีส่วนแบ่ง
มาตรา 127 ถ้ามีผมู ้ ีส่วนได้เสียคัดค้านบัญชีส่วนแบ่ง ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
พิจารณาคําคัดค้านและคําชีแจงของเจ้าหนีและบุคคลล้ม
ละลาย แล้วสังตามทีเห็นสมควร
ผูม้ ีส่วนได้เสี ยอาจคัดค้านคําสังนัน โดยทําเป็ นคําร้องยืนต่อศาลภายใน 7 วันนับแต่วนั ฟัง
คําสัง
ถ้ามีผคู ้ ดั ค้านต่อศาล ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เลือนการจ่ายเงินจนกว่าศาลมีคาํ สัง แต่
ถ้าเห็นว่าการเลือนนันจะทําให้ผมู ้ ี
ส่ วน ได้เสี ยได้รับความเสี ยหาย เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะกันเงินค่าธรรมเนียมและ
ค่าใช้จ่ายอันอาจเกิดขึนได้ ไว้ตามสมควร
แล้ว แบ่งเงินทีเหลือให้เจ้าหนีทีไม่มีขอ้ โต้แย้งไปก่อนได้
2.4.ข้อจํากัดในการแบ่งทรัพย์สิน
มาตรา 128 ห้ามจ่ายเงินส่ วนแบ่งแก่เจ้าหนี เมือรวมส่วนแบ่งทุกครังแล้วเงินไม่ถึง 1 บาท
มาตรา 129 สามีหรื อภริ ยาของบุคคลล้มละลาย จะได้รับส่วนแบ่งในฐานะเจ้าหนี ต่อเมือ
เจ้าหนีอืนได้รับชําระหนีเป็ นทีพอใจแล้ว
3.การแบ่งทรัพย์สินครังทีสุด
มาตรา 131 ก่อนการแบ่งครังทีสุ ด ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แจ้งไปยังผูท้ ีเกียวค้าง
ค่าจ้างแรงงานหรื อเงินทีออกไปโดยคําสังของเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์ว่า ให้ส่งบัญชีเงินทีเกียวค้างนันภายใน 14 วันนับแต่วนั ทีได้รับแจ้ง ถ้าไม่ส่ง
ตามกําหนด เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะทํา
การแบ่งครังทีสุ ดและจ่ายเงินนันไปโดยไม่คาํ นึงถึงเงินทีเกียวค้างอยูน่ นั ถ้าผูไ้ ด้รับแจ้ง
ไม่ปฏิบตั ิดงั ว่านีผูน้ นหมดสิ
ั ทธิ เรี ยกร้องต่อไป
กําหนดเวลาในวรรคก่อน เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจขยายได้เมือมีเหตุสมควร
- ลําดับบุริมสิ ทธิในคดีลม้ ละลาย
มาตรา 130 ในการแบ่งทรัพย์สินให้แก่เจ้าหนี ให้ชาํ ระค่าใช้จ่ายและหนีสิ นตามลําดับ
ดังต่อไปนี
( 1 ) ค่าใช้จ่ายในการจัดการมรดกของลูกหนี

Sensitivity: Internal
( 2 ) ค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ในการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี
( 3 ) ค่าปลงศพลูกหนีตามฐานานุรูป
( 4 ) ค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สินตามมาตรา 179 ( 3 )
( 5 ) ค่าธรรมเนียมของเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์และค่าทนายความ ตามทีศาลหรื อเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์กาํ หนด
( 6 ) ค่าภาษีอากรทีถึงกําหนดชําระภายใน 6 เดือนก่อนมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์ และเงินที
ลูกจ้างมีสิทธิ ได้รับก่อนมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์
( 7 ) หนีอืน ๆ
ถ้ามีเงินไม่พอชําระเต็มจํานวนหนีในลําดับใด ให้เจ้าหนีในลําดับนันได้รับเฉลียตามส่วน
- การปิ ดคดี
มาตรา 133 เมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ได้แบ่งทรัพย์สินของลูกหนี หรื อได้หยุดกระทํา
การเนืองจากข้อตกลงในการประนอมหนี หรื อเมือลูกหนีไม่มี
ทรัพย์สินทีจะแบ่ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจทํารายงานแสดงกิจการและบัญชีรายรับ
จ่ายในคดีลม้ ละลายยืนต่อศาล และขอให้ศาล
สังปิ ดคดีได้
เมือศาลพิจารณารายงานประกอบกับคําคัดค้านของเจ้าหนีหรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ยแล้ว ศาลจะ
สังปิ ดคดีหรื อไม่ก็ได้
ถ้าศาลสังไม่ปิดคดี เมือเจ้าหนีหรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ยมีคาํ ขอโดยทําเป็ นคําร้อง ศาลอาจสังให้
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์รับผิดในการทีได้
กระทําหรื อละเว้นการกระทําอันมิชอบด้วยหน้าทีก็ได้
คําสังปิ ดคดีทาํ ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์พน้ จากความรับผิดในหน้าทีจนถึงวันทีศาลสัง
ถ้าศาลสังไปโดยหลงผิด ศาลอาจเพิกถอนคําสังปิ ดคดีนนได้ ั
มาตรา 134 คําสังปิ ดคดีมีผลเพียงให้ระงับการจัดการต่าง ๆ ไว้ แต่ไม่ทาํ ให้คดีลม้ ละลาย
สิ นสุดลง และไม่ทาํ ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์หลุดพ้น
จากหน้าที ดังต่อไปนี
( 1 ) หน้าทีตามมาตรา 160 ( หน้าทีในฐานะพนักงานสอบสวนทีจะดําเนินคดีกบั ลูกหนี
หรื อผูก้ ระทําผิดในทางอาญาเกียวกับการล้ม
ละลาย )
( 2 ) หน้าทีอนุมตั ิการใด ๆ ทีกฎหมายบัญญัติไว้ ( เช่น การอนุญาตให้ลูกหนีกระทําการ
เกียวกับทรัพย์สิน การอนุญาติให้ลูกหนีเดิน
ทางไปต่างประเทศ )
( 3 ) หน้าทีตรวจบัญชีรับจ่ายของบุคคลล้มละลาย
ถ้าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เห็นว่าบุคคลล้มละลายมีทรัพย์สินขึนใหม่ เจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์อาจขอให้ศาลเปิ ดคดีต่อไปได้
- การยกเลิกการล้มละลาย
1.เหตุทีจะยกเลิกการล้มละลาย

Sensitivity: Internal
มาตรา 135 เมือผูม้ ีส่วนได้เสี ยหรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีคาํ ขอ ศาลมีอาํ นาจสัง
ยกเลิกการล้มละลายได้ ถ้าปรากฏเหตุดงั ต่อไปนี
( 1 ) เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่อาจดําเนินการให้ได้ผลเพือประโยชน์แก่เจ้าหนี
ทังหลาย เพราะเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ไม่ช่วยหรื อยอม
เสี ยค่าธรรมเนียมหรื อค่าใช้จ่ายหรื อวางเงินประกันตามทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
เรี ยกร้อง และไม่มีเจ้าหนีอืนสามารถและเต็ม
ใจกระทําการดังกล่าว ภายใน 1 เดือนนับแต่วนั ทีเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ขดั ขืนหรื อละเลย
( 2 ) ลูกหนีไม่ควรถูกพิพากษาให้ลม้ ละลาย
( 3 ) หนีสิ นของบุคคลล้มละลายได้ชาํ ระเต็มจํานวนแล้ว
ถ้าลูกหนีปฏิเสธหนีรายใด แต่ลูกหนียอมทําสัญญาและให้ประกันต่อศาลว่าจะใช้เงินเต็ม
จํานวนกับค่าธรรมเนียม หรื อถ้าหาตัว
เจ้าหนีไม่พบแต่ลูกหนีได้วางเงินเต็มจํานวนต่อศาล ให้ถือว่าหนีรายนันชําระเต็มจํานวน
แล้ว
( 4 ) เมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ได้แบ่งทรัพย์ครังทีสุ ด หรื อไม่มีทรัพย์สินจะแบ่งแล้ว
หลังจากนันใน 10 ปี เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ไม่อาจรวบรวมทรัพย์สินของบุคคลล้มละลายได้อีก และไม่มีเจ้าหนีมาขอให้เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จดั การรวบรวม
ทรัพย์สินของบุคคลล้มละลาย
2.ผลของการยกเลิกการล้มละลาย
มาตรา 136 คําสังยกเลิกการล้มละลายตามมาตรา 135 ( 1 ) , ( 2 ) ไม่ทาํ ให้ลูกหนีหลุดพ้น
หนีสิ นแต่อย่างใด
มาตรา 137 คําสังยกเลิกการล้มละลายไม่กระทบถึงการใดทีศาลหรื อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์ได้กระทําไปแล้ว ส่วนทรัพย์สินของบุคคลล้มละลาย
ให้ตกแก่บคุ คลทีศาลกําหนด ถ้าไม่กาํ หนด ให้คืนแก่บุคคลล้มละลาย
มาตรา 138 เมือศาลสังยกเลิกการล้มละลาย ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์โฆษณาในราช
กิจจานุเบกษาและหนังสื อพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ

หน่วยที 14 เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ อํานาจศาล และกระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลาย

- รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรมมีอาํ นาจแต่งตังและถอดถอนเจ้าพนักงานพิทกั ษ์


ทรัพย์ ทังนีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจแต่งตังจากบุคคลอืนซึงไม่ใช่
ข้าราชการก็ได้
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์นอกจากจะมีอาํ นาจหน้าทีในการเก็บ รวบรวม จัดการ และ
จําหน่ายทรัพย์สินของลูกหนีแล้ว ยังมีอาํ นาจหน้าทีคล้ายตุลาการ
หรื อเป็ นทนายความ และเป็ นพนักงานสอบสวนคดีอาญาเกียวกับการล้มละลายอีกด้วย
- การกระทําของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์บางอย่างต้องได้รับความเห็นชอบจาก

Sensitivity: Internal
กรรมการเจ้าหนี ทีประชุมเจ้าหนี หรื อจากศาลเสี ยก่อน
- ผูม้ ีส่วนได้เสียอาจร้องคัดค้านการกระทําหรื อคําวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ต่อศาลได้ แต่การร้องคัดค้านการยึดทรัพย์ตอ้ งร้องต่อเจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์เสี ยก่อน ผูม้ ีส่วนได้เสี ยต้องร้องคัดค้านการยึดทรัพย์ตอ่ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์เสียก่อน
- ศาลทีมีอาํ นาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มีอาํ นาจ
พิจารณาพิพากษาคดีลม้ ละลาย เว้นแต่ศาลแขวงทีไม่มีสิทธิ
- การยืนคําฟ้องหรื อคําร้องขอให้ลม้ ละลาย ต้องยืนต่อศาลซึงลูกหนีมีภมู ิลาํ เนาอยูใ่ นเขต
ศาล หรื อประกอบธุรกิจอยู่ในเจตศาล
- ศาลมีอาํ นาจหน้าทีควบคุมและสอดส่องให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ปฏิบตั ิหน้าทีด้วย
ความเรี ยบร้อย
- ถ้าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ก่อให้เกิดความเสียหายแก่แก่กองทรัพย์สินของลูกหนี โดย
เจตนา หรื อประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ศาลมีอาํ นาจสังให้เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ขดใช้ค่าเสียหายแก่กองทรัพย์สินของลูกหนีเป็ นการส่ วนตัวได้
- กระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลายต้องดําเนินเป็ นการด่วน ส่วนใดทีพระราชบัญญัติ
ล้มละลายมิได้บญั ญัติไว้โดยเฉพาะ ให้นาํ บทบัญญัติแห่งประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บงั คับ
- เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์เป็ นผูช้ ่วยงานของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ระวังประโยชน์ของ
เจ้าหนีทังหลายและรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในคดีลม้
ละลาย
- ถ้าเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ไม่ยอมปฏิบตั ิหน้าที เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์โดยความเห็นชอบ
ของทีประชุมเจ้าหนีมีอาํ นาจแต่งตังเจ้าหนีคนอืนเป็ นเจ้าหนีผูเ้ ป็ น
โจทก์แทน
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เป็ นพนักงานสอบสวนคดีทางอาญาเกียวกับการล้มละลาย
- ลูกหนี เจ้าหนี หรื อบุคคลภายนอก ผูก้ ระทําการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ
ล้มละลาย อาจมีความผิดทางอาญา
- เงินค้างจ่ายซึงไม่มีผใู ้ ดมารับภายในกําหนด 5 ปี นับแต่วนั ทีศาลสังปิ ดคดี อาจตกเป็ น
ของแผ่นดิน
- การล้มละลายมีผลเฉพาะทรัพย์สินของลูกหนีในราชอาณาจักรเท่านัน ไม่มีผลไปถึง
ทรัพย์สินของลูกหนีทีอยูน่ อกราชอาณาจักร
- เจ้าหนีต่างประเทศซึ งมีภูมิลาํ เนาอยู่ตา่ งประเทศ อาจขอรับชําระหนีในคดีลม้ ละลายได้
ภายใต้เงือนไข คือ
1.ต้องพิสูจน์ว่า เจ้าหนีในประเทศไทยก็มีสิทธิขอรับชําระหนีในคดีลม้ ละลายตาม
กฎหมายและศาลแห่งประเทศของตนได้ในทํานองเดียวกัน
2.ต้องแถลงว่า ตนได้รับหรื อมีสิทธิได้รับทรัพย์สิน หรื อส่ วนแบ่งจากทรัพย์สินของ
ลูกหนีคนเดียวกันนันนอกราชอาณาจักรเป็ นจํานวนเท่าใดหรื อไม่ และ

Sensitivity: Internal
ถ้ามี ตนยอมส่ งทรัพย์สินหรื อส่วนแบ่งจากทรัพย์สินของลูกหนี ดังกล่าวมารวมในกอง
ทรัพย์สินของลูกหนีในราชอาณาจักร
- ค่าขึนศาล ค่ายืนคําขอรับชําระหนี และค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สิน ต้องใช้
อัตราตามทีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติลม้ ละลาย นอกเหนือจาก
นี อนุโลมให้ใช้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

รายละเอียดทัวไป

- การแต่งตังและถอดถอนเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 139 รัฐมนตรี มีอาํ นาจแต่งตังบุคคลให้เป็ นเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ และมีอาํ นาจ
ถอดถอนได้
การแต่งตังหรื อถอดถอนเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ให้โฆษณาในราชกิจจานุเบกษา
เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ถือว่าเป็ นพนักงานของศาล
- อํานาจหน้าทีและความรับผิดชอบของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
1.อํานาจหน้าทีของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
1.1.อํานาจหน้าทีคล้ายตุลาการ
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจออกหมายเรี ยกบุคคลใด ๆ มาไต่สวนหรื อสอบสวน (
มาตรา 117 )
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจมีคาํ สังในเรื องใด ๆ ในคดีได้เช่นเดียวกับศาล ( มาตรา
146 )
1.2.อํานาจหน้าทีอย่างทนายความ
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจฟ้องร้องหรื อต่อสู ้คดีเกียวกับทรัพย์สินลูกหนี ( มาตรา 22
(3))
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจซักถามลูกหนีในการไต่สวนโดยเปิ ดเผย ( มาตรา 43 )
1.3.อํานาจหน้าทีเป็ นพนักงานสอบสวน
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจหน้าทีเป็ นพนักงานสอบสวนในความผิดอาญา
เกียวกับการล้มละลาย ( มาตรา 160 )
1.4.อํานาจหน้าทีจัดธุรกิจและบัญชี
- เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจหน้าทีในการจัดการและจําหน่ายทรัพย์สิน ชําระบัญชี
รวบรวมเรี ยกร้องหนีสิ น และจัดแบ่งทรัพย์สินให้
แก่เจ้าหนี รวมทังมีอาํ นาจเข้าดําเนินธุรกิจของลูกหนี ( มาตรา 120 )
1.5.อํานาจหน้าทีทัวไป
มาตรา 142 เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มีหน้าทีดังต่อไปนี
( 1 ) รายงานข้อความเกียวกับกิจการ ทรัพย์สิน หรื อความประพฤติของลูกหนี ตามทีศาล
ต้องการ
( 2 ) ช่วยซักถามลูกหนีหรื อบุคคลอืน ในการทีศาลดําเนินกระบวนพิจารณาตาม

Sensitivity: Internal
พระราชบัญญัตินี
มาตรา 143 ในการปฏิบตั ิหน้าที เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์อาจมีคาํ ขอให้ศาลมีคาํ สัง
เกียวกับการใดทีเป็ นปัญหาได้
2.ข้อจํากัดอํานาจหน้าทีของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 145 เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะกระทําการดังต่อไปนี ต่อเมือได้รับความ
เห็นชอบจากกรรมการเจ้าหนีแล้ว
( 1 ) ถอนการยึดทรัพย์ในคดีลม้ ละลาย
( 2 ) โอนทรัพย์สินใด ๆ นอกจากโดยวิธีขายทอดตลาด
( 3 ) สละสิทธิ
( 4 ) ฟ้องหรื อถอนฟ้องคดีแพ่งเกียวกับทรัพย์สินในคดีลม้ ละลาย หรื อฟ้องหรื อถอนฟ้อง
คดีลม้ ละลาย
( 5 ) ประนีประนอมยอมความ หรื อมอบคดีให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
3.ความรับผิดชอบของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 147 ในการปฏิบตั ิตามหน้าที เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่ตอ้ งรับผิดเป็ นส่วนตัว
เว้นแต่ได้กระทําโดยเจตนาร้าย หรื อโดยประมาทเลินเล่อ
อย่างร้ายแรง
- การร้องคัดค้านเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
1.การร้องคัดค้านการกระทําหรื อคําวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 146 ถ้าบุคคลล้มละลาย เจ้าหนี หรื อบุคคลใด ได้รับความเสียหายโดยการกระทํา
หรื อคําวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ สามารถ
ยืนคําร้องต่อศาลภายใน 14 วันนับแต่วนั ทีได้ทราบการกระทําหรื อคําวินิจฉัย ศาลมี
อํานาจสังยืนตาม กลับ แก้ไข หรื อสังประการใด
ตามทีเห็นสมควร
2.การร้องคัดค้านการยึดทรัพย์ของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 158 ถ้าผูม้ ีส่วนได้เสี ยเห็นว่าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ไม่มีสิทธิยึดทรัพย์สินใด ให้
คัดค้านต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ เมือได้รับคําคัดค้าน
ให้สอบสวนแล้วมีคาํ สัง ถ้าเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์สังไม่ถอนการยึด ผูน้ นมี ั สิทธิ ยนคํ
ื า
ร้องขอต่อศาลภายใน 14 วันนับแต่วนั ทราบ
คําสังนัน เมือศาลได้รับคําร้องขอ ให้ศาลพิจารณาและมีคาํ สังชีขาดเหมือนอย่างคดี
ธรรมดา โดยเรี ยกเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์มาสู้คดี
- อํานาจศาล
1.ศาลมีอาํ นาจพิจารณาพิพากษาคดีลม้ ละลาย
2.เขตอํานาจศาล
มาตรา 150 การยืนคําฟ้องหรื อคําร้องขอให้ลม้ ละลาย ให้ยนต่ ื อศาลซึ งลูกหนีมีภมู ิลาํ เนา
อยูใ่ นเขตหรื อประกอบธุรกิจอยูใ่ นเขตไม่ว่าด้วยตนเองหรื อ
โดยตัวแทนในขณะยืนคําฟ้องหรื อคําร้องขอภายในกําหนด 1 ปี ก่อนนัน

Sensitivity: Internal
3.อํานาจหน้าทีของศาล
3.1.ควบคุมการปฏิบตั ิหน้าทีของเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 151 ศาลต้องสอดส่องให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ปฏิบตั ิหน้าทีโดยเรี ยบร้อย และ
มีอาํ นาจสังให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ทาํ คําชีแจง
ในเรื องบัญชีหรื อเรื องใด ๆ เกียวกับกระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลาย หรื อจะสังให้กระทํา
หรื อละเว้นกระทําตามทีเห็นสมควรก็ได้
3.2.หน้าทีแจ้งคําสังเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
มาตรา 159 เมือศาลได้พิพากษาหรื อมีคาํ สังอย่างใด ให้แจ้งให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์
ทราบ
- กระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลาย
1.เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์
1.1.เจ้าหนีซึงเป็ นผูเ้ สนอคําฟ้องคดีลม้ ละลาย
1.2.เจ้าหนีซึงได้รับการแต่งตังให้ทาํ หน้าทีผูเ้ ป็ นโจทก์
1.2.1.ตามมาตรา 156
มาตรา 156 ถ้าเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ขดั ขืนหรื อละเลยไม่ช่วยเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรื อ
ไม่ให้ประกันตามมาตรา 155 ภายใน 7 วันนับ
แต่วนั ทีได้รับแจ้ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ดว้ ยความเห็นชอบจากทีประชุมเจ้าหนีมี
อํานาจแต่งตังเจ้าหนีอืนเป็ นเจ้าหนีผู ้
เป็ นโจทก์แทนต่อไป
1.2.2.ในกรณี ผชู ้ าํ ระบัญชีนิติบุคคลร้องขอให้นิติบคุ คลนันล้มละลาย ทีประชุมเจ้าหนี
ต้องแต่งตังเจ้าหนีคนหนึงขึนเป็ นเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ ( มาตรา
88 )
1.2.3.กรณี เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ตายและไม่มีบุคคลทีมีสิทธิตามกฎหมายเข้ามาแทนที หรื อ
เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ขอถอนคําขอรับชําระหนี ซึงในทาง
ปฏิบตั ิเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จะแต่งตังเจ้าหนีอืนขึนเป็ นเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์แทนโดย
ความเห็นชอบของทีประชุมเจ้าหนี
2.หน้าทีของเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์
มาตรา 155 เจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์มีหน้าทีระวังประโยชน์ของเจ้าหนีทังหลาย ช่วยเจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ในการรวบรวมจําหน่ายทรัพย์สินลูกหนี
และรับผิดในค่าธรรมเนียม ค่าเสียหาย และค่าใช้จ่ายในคดีลม้ ละลายนัน เจ้าพนักงาน
พิทกั ษ์ทรัพย์มีอาํ นาจเรี ยกประกันจากเจ้าหนีผู ้
เป็ นโจทก์ตามจํานวนทีเห็นว่าจําเป็ น
3.กรณีทีเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ไม่ปฏิบตั ิหน้าที
มาตรา 156 ถ้าเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์ขดั ขืนหรื อละเลยไม่ช่วยเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรื อ
ไม่ให้ประกันตามมาตรา 155 ภายใน 7 วันนับแต่วนั ทีได้
รับแจ้ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ดว้ ยความเห็นชอบจากทีประชุมเจ้าหนีมีอาํ นาจแต่งตัง

Sensitivity: Internal
เจ้าหนีอืนเป็ นเจ้าหนีผูเ้ ป็ นโจทก์แทนต่อไป
- การสอบสวนและบทกําหนดโทษ
1.การสอบสวนคดีอาญา
มาตรา 160 ในระหว่างกระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลาย ถ้าลูกหนีหรื อผูใ้ ดกระทําผิด
ในทางอาญาเกียวกับการล้มละลาย ให้เจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์เป็ นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย
กรณี ทีพนักงานอัยการมีความเห็นไม่ฟ้อง ซึงแย้งกับเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ให้ส่ง
สํานวนไปยังอธิบดีกรมอัยการเพือสัง
2.บทกําหนดโทษ
2.1.บทลงโทษลูกหนี
2.1.1.เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ แล้วลูกหนีออกไปนอกราชอาณาจักรโดยไม่ได้รับอนุญาต
เป็ นหนังสือ หรื อย้ายถินทีอยูโ่ ดยไม่แจ้งทีอยูใ่ หม่ให้
ทราบเป็ นหนังสื อ
2.1.2.ลูกหนีขัดขืนเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ในการเข้าไปในเคหะสถานหรื อทีทําการของ
ลูกหนี เพือตรวจสอบทรัพย์สินตามคําสังศาล หรื อลูกหนี
กระทําการบางอย่าง เช่น ไม่ไปประชุมเจ้าหนี ไม่ส่งมอบทรัพย์สิน
2.1.3.เมือลูกหนีถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ แต่ยงั ไม่มีการปลดจากการล้มละลาย ลูกหนีกระทําการ
บางอย่าง เช่น ไม่ส่งเงินทีเหลือจากการยังชีพให้เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ กล่าวเท็จเกียวกับกิจการหรื อทรัพย์สินของตนต่อศาล
2.1.4.ในระหว่าง 1 ปี ก่อนมีการขอให้ลูกหนีล้มละลายหรื อภายหลังจากนัน แต่ก่อนมี
คําสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนีกระทําการบางอย่าง เช่น เจตนา
ปกปิ ดสภาพแห่งกิจการของตน ยอมให้ผอู ้ นกระทํ ื าให้ทรัพย์สินตนมีภาระผูกพันขึนโดย
ทุจริ ต
2.1.5.ในระหว่างศาลมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์จนถึงเวลาทีพ้นจากการล้มละลาย ลูกหนีกระทํา
การบางอย่าง เช่น ประกอบธุรกิจโดยใช้นามผูอ้ ืนบัง
หน้า รับสิ นเชือจากผูอ้ ืนจํานวน 100 บาทขึนไป โดยไม่บอกว่าตนถูกพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อ
ล้มละลาย
2.1.6.ลูกหนีทีมีหนีสิ นสืบเนืองมาจากธุรกิจ ในขณะถูกพิทกั ษ์ทรัพย์ กระทําการบางอย่าง
เช่น ไม่สามารถให้เหตุผลได้ถึงการทีเสี ยทรัพย์สินไป
ในระหว่าง 1 ปี ก่อนมีการขอให้ลม้ ละลายหรื อภายหลังนัน แต่ก่อนมีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์
2.1.7.บุคคลซึงประกอบพาณิ ชยกิจ ไม่มีบญั ชียอ้ นหลังขึนไป 3 ปี นับแต่วนั ทีถูกพิทกั ษ์
ทรัพย์เด็ดขาด
2.1.8.ในระหว่าง 6 เดือนก่อนมีการขอให้ลม้ ละลายหรื อภายหลังนัน แต่ก่อนเวลาทีพ้น
จากล้มละลาย ลูกหนีออกไปนอกราชอาณาจักร โดยนํา
ทรัพย์สินราคาเกิน 100 บาทออกไปด้วย ( มาตรา 168 )
2.1.9.เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนีซ่อนตัวหรื อหลบจากทีทีอยู่หรื อทีประกอบกิจการ

Sensitivity: Internal
โดยเจตนาเลียงหมายศาล หรื อเลียงการสอบสวนหรื อไต่
สวน ( มาตรา 169 )
2.1.10.เมือศาลสังพิทกั ษ์ทรัพย์ ลูกหนีฉ้อฉล ให้ หรื อตกลงจะให้ประโยชน์ใด ๆ แก่
เจ้าหนี เพือการประนอมหนี หรื อข้อตกลงเกียวกับกิจการ
หรื อการล้มละลายของตน หรื อเพือมิให้คดั ค้านการขอปลดจากการล้มละลาย
2.1.11.ลูกหนีทีเป็ นนิติบุคคล ลูกหนีทีตังตัวแทนดําเนินการ หรื อลูกหนีทีตายไปแล้ว
ย่อมต้องมีผแู ้ ทน ตัวแทน หรื อทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดก
บุคคลเหล่านีต้องรับผิดทางอาญาเช่นเดียวกับลูกหนี ( มาตรา 175 )
3.บทลงโทษเจ้าหนี
3.1.เจ้าหนีขอรับชําระหนีในคดีลม้ ละลาย หรื อขอประนอมหนี หรื อในการตกลงเกียวกับ
ทรัพย์สินของลูกหนีโดยไม่เป็ นความจริ งในส่วนสาระสําคัญ
เว้นพิสูจน์ได้ว่าไม่มีเจตนาฉ้อฉล ( มาตรา 171 )
3.2.เจ้าหนีเรี ยก รับ หรื อยินยอมทีจะรับผลประโยชน์ใด ๆ เพือยินยอมหรื อไม่คดั ค้านใน
การขอประนอมหนี หรื อการขอปลดจากล้มละลาย
4.บทลงโทษบุคคลทัวไป
4.1.ผูใ้ ดรู ้วา่ มีคาํ สังพิทกั ษ์ทรัพย์ แล้วยักย้าย ซ่อน จําหน่าย หรื อจัดการแก่ทรัพย์สินโดย
ทุจริ ต ( มาตรา 173 )
4.2.ผูใ้ ดกล่าวอ้างโดยไม่เป็ นความจริ ง ว่าตนเป็ นเจ้าหนีโดยมุ่งหมายทีจะได้ดูหรื อคัด
สําเนาเอกสารเกียวกับกระบวนพิจารณาคดีลม้ ละลาย (
มาตรา 174 )
- เงินค้างจ่ายและการล้มละลายเกียวกับต่างประเทศ
1.เงินค้างจ่าย
เงินค้างจ่าย หมายถึง เงินของลูกหนีทีเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์จดั สรรแบ่งแก่บคุ คลใด ๆ
แล้วบุคคลนันไม่มารับเงินส่วนแบ่ง ซึงเจ้าพนักงานพิทกั ษ์
ทรัพย์จะต้องเก็บรักษาจนกว่ามีผมู ้ ารับเอาไป
มาตรา 176 เมือเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์แบ่งทรัพย์สินครังทีสุ ดแล้ว ถ้ามีเงินค้างจ่ายซึ ง
ไม่มีผใู ้ ดมารับภายใน 5 ปี นับแต่วนั ทีศาลสังปิ ดคดี เจ้า
พนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ตอ้ งโฆษณาในหนังสื อพิมพ์รายวันไม่นอ้ ยกว่า 1 ฉบับ ให้เจ้าหนี
มารับภายใน 2 เดือน ถ้าไม่มารับในกําหนด
เงินตกเป็ นของแผ่นดิน
2.การล้มละลายเกียวกับต่างประเทศ
2.1.การพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อล้มละลายของประเทศใด มีผลเฉพาะทรัพย์สินของลูกหนีใน
ประเทศนัน
มาตรา 177 การพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อการล้มละลายตามพระราชบัญญัตินี มีผลเกียวกับ
ทรัพย์สินของลูกหนีเฉพาะแต่ในราชอาณาจักร
การพิทกั ษ์ทรัพย์หรื อการล้มละลายตามกฎหมายประเทศอืน ไม่มีผลเกียวกับทรัพย์สิน

Sensitivity: Internal
ของลูกหนีทีอยูใ่ นราชอาณาจักร
2.2.การขอรับชําระหนีของเจ้าหนีต่างประเทศ
มาตรา 178 เจ้าหนีต่างประเทศซึ งมีภมู ิลาํ เนานอกราชอาณาจักร จะขอรับชําระหนีในคดี
ล้มละลายได้ ต่อเมือปฏิบตั ิตามเงือนไขดังต่อไปนี
( 1 ) ต้องพิสูจน์ว่า เจ้าหนีในประเทศไทยก็มีสิทธิขอรับชําระหนีในคดีลม้ ละลายตาม
กฎหมายและในศาลแห่งประเทศของตนได้
ในทํานองเดียวกัน
( 2 ) ต้องแถลงว่า ตนได้รับหรื อมีสิทธิจะได้รับทรัพย์สินของลูกหนีคนเดียวกันนันนอก
ราชอาณาจักรจํานวนเท่าใดหรื อไม่ และ
ถ้ามี ตนยอมส่งทรัพย์สินของลูกหนีดังกล่าว มารวมในกองทรัพย์สินของลูกหนีใน
ราชอาณาจักร
- ค่าธรรมเนียม
มาตรา 179 ค่าธรรมเนียมในคดีลม้ ละลาย คิดตามอัตราดังต่อไปนี
( 1 ) ค่าขึนศาลสําหรับคําฟ้องหรื อคําร้องขอให้ลม้ ละลาย 50 บาท
( 2 ) ค่ายืนคําขอรับชําระหนีในคดีลม้ ละลาย คิดตามจํานวนหนีสิ นทีขอรับชําระ โดย
อัตราดังต่อไปนี
ก.หนีสินไม่เกิน 5,000 บาท ค่าธรรมเนียม 25 บาท
ข.หนีสินเกิน 5,000 บาท ถึง 20,000 บาท ค่าธรรมเนียม 50 บาท
ค.หนีสินเกิน 20,000 บาท ถึง 50,000 บาท ค่าธรรมเนียม 100 บาท
ง.หนีสิ นเกิน 50,000 บาทขึนไป ค่าธรรมเนียม 200 บาท
ถ้าเป็ นเจ้าหนีตามคําพิพากษาให้คิดฉบับละ 25 บาทเสมอกันหมด
( 3 ) ค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สิน คิดร้อยละ 5 ของเงินสุ ทธิทีรวบรวมได้
สําหรับทรัพย์สินทีไม่มีการจําหน่าย ให้คิดร้อยละ
3 ครึ ง ของราคาทรัพย์สิน แต่ถา้ มีการประนอมหนี ให้คิดค่าธรรมเนียมร้อยละ 5 ของ
จํานวนเงินทีประนอมหนี
ค่าธรรมเนียมนอกจากนี ให้คิดอัตราเดียวกับค่าธรรมเนียมตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง

หน่วยที 15 การดําเนินคดีแพ่ง

- ในการทีโจทก์จะยืนคําฟ้อง นอกจากทีบัญญัติไว้เป็ นหลักในประมวลกฎหมายวิธี


พิจารณาความแพ่งแล้ว ก็ตอ้ งแสดงว่าเป็ นการสะดวกอย่างไรไว้ในคํา
ร้องขอยืนฟ้อง
- ในกรณียนคํ
ื าฟ้องขอต่อศาลทีตนมีภูมิลาํ เนาหรื ออยูใ่ นเขตในกรณี ไม่อาจดําเนิน
กระบวนพิจารณาในศาลทีมีเขตเหนือคดี ต้องแสดงเหตุสุดวิสัยในคําร้อง
นันด้วย

Sensitivity: Internal
- กรณีทีศาลสังไม่รับหรื อให้คืนคําคู่ความนัน จะรับคืนแบบพิมพ์ทียืนกลับมาไม่ได้
เพราะเป็ นการสังติดสํานวน
- การยืนคําร้องขอขยายหรื อย่นระยะเวลา จะต้องแสดงข้อเท็จจริ งทีเป็ นพฤติการณ์พิเศษ
และเหตุสุดวิสัย แล้วแต่กรณี
- ในการร้องขอให้ศาลชีขาดข้อกฎหมายเบืองต้น ควรกล่าวถึงคําคูค่ วามแต่เพียงโดยย่อ
- ในการร้องขอให้ศาลสังเพิกถอนการพิจารณาทีผิดระเบียบ ควรกล่าวถึงข้อเท็จจริ งทีจะ
ให้เพิกถอนแต่เพียงโดยย่อ
- ในการร้องขอให้รวมการพิจารณาคดีเข้าด้วยกัน ต้องกล่าวถึงกรณี ให้ตอ้ งตามมาตรา 28
โดยเฉพาะความสะดวกในการทีรวมพิจารณา
- ในการร้องขอเลือนคดี จะต้องแสดงเหตุทีขอเลือนในคําขอหรื อคําร้องขอเลือนนันด้วย
- ในการร้องขอเข้าเป็ นคู่ความแทนผูท้ ีมรณะ ต้องเสนอพยานหลักฐานสนับสนุนคําขอ
ของตน เช่น หลักฐานแห่งความเป็ นทายาท เป็ นต้น ส่วนผูท้ ีถูก
หมายเรี ยกเข้ามาแทนทีผูม้ รณะ หากไม่ยนิ ยอมก็ควรแถลงคัดค้านและเหตุผลแห่งการ
คัดค้านนันไว้ดว้ ย
- การตังทนายความให้ดาํ เนินคดีแทน ผูท้ ีจะเป็ นทนายความได้นัน จะต้องขอจดทะเบียน
และรับใบอนุญาตจากเนติบณ ั ฑิตยสภา ตามพระราชบัญญัติ
ทนายความ จะต้องกรอกข้อความลงในแบบพิมพ์ของกระทรวงยุติธรรมและลงลายมือ
ชือตัวความและทนายความ จึงจะมีสิทธิ ดาํ เนินคดีแทนและลงลาย
มือชือในเอกสารต่าง ๆ ในคดีได้ สําหรับการมอบให้บคุ คลใดเป็ นผูแ้ ทนในคดีนนั ไม่มี
แบบพิมพ์ของกระทรวงยุติธรรมกําหนดไว้ เป็ นเรื องทีผูม้ อบและผู ้
รับมอบจัดทําเป็ นหนังสือมอบอํานาจกันขึนเอง ส่ วนการมอบอํานาจให้รับเงินหรื อ
ทรัพย์สิน หรื อกระทํากิจการอย่างใดอย่างหนึง มีใบมอบฉันทะตาม
แบบพิมพ์ทีกระทรวงยุติธรรมได้จดั ไว้ให้
- การทีจะบรรยายฟ้อง คําให้การ และฟ้องแย้งในรูปใด ๆ ย่อมแล้วแต่สิทธิหน้าทีและ
ความรับผิดระหว่างโจทก์จาํ เลย ทีจะเรี ยกร้องจากกันโดยอาศัยบท
บัญญัติแห่งกฎหมายส่วนสารบัญญัติในมูลหนีและข้อต่อสู ้ของจําเลยในข้อใดเป็ น
พืนฐาน
- การบรรยายฟ้องคดีไม่มีขอ้ พิพาทและการคัดค้านในรู ปใด ๆ ขึนอยูก่ บั บทบัญญัติแห่ง
กฎหมายส่วนสารบัญญัติทีจะให้บุคคลใช้สิทธิของตนทางศาลและ
คัดค้านได้เป็ นพืนฐาน
- สิ ทธิ ของผูท้ ีจะร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความ ย่อมเป็ นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา 57
- วิธีการถอนฟ้อง แล้วแต่ว่าเป็ นการถอนฟ้องก่อนจําเลยยืนคําให้การหรื อภายหลังที
จําเลยยืนคําให้การ โดยการถอนฟ้องเดิม หรื อถอนอุทธรณ์หรื อฎีกา
ไม่ตอ้ งชีแจงแสดงเหตุผลแต่ประการใด
- การขอยืนคําให้การหรื อขอให้พจิ ารณาใหม่ก่อนศาลพิพากษา จะทําเป็ นคําร้องก็ได้ แต่

Sensitivity: Internal
คําขอพิจารณาใหม่หลังศาลพิพากษาให้แพ้คดีในประเด็นข้อพิพาท
จะต้องคําเป็ นคําร้อง นอกจากจะต้องกล่าวอ้างตามทีกฎหมายบังคับแล้ว ไม่ตอ้ งยืนคํา
ร้องอย่างละเอียดฟุ่ มเฟื อยหรื อลอกคําฟ้องคําให้การมาในคําร้อง
เพียงแต่บรรยายโดยละเอียดชัดแจ้งถึงเหตุทีขาดนัดและข้อคัดค้านคําตัดสิ นชีขาดของ
ศาลก็เพียงพอแล้ว
- ในการทําคําขอให้ศาลมีคาํ สังคุม้ ครองชัวคราวตามมาตรา 254 แต่ละอนุมาตรา จะต้อง
บรรยายข้อเท็จจริ งตามทีบัญญัติไว้ในมาตรา 255 แล้วแต่กรณีว่าเป็ นการขอให้ทาํ อะไร
ของมาตรา 254
- การร้องขอต่อศาลให้มีคาํ สังคุม้ ครองประโยชน์ของคูค่ วามผูข้ อในระหว่างพิจารณา
หรื อเพือบังคับตามคําพิพากษา จะต้องเป็ นการร้องขอทีไม่นอกเหนือ
หรื อเกินไปกว่าทีปรากฏในคําคูค่ วามของฝ่ ายตน
- ในกรณีทีจะต้องมีการบังคับคดี ถ้าศาลไม่ออกคําบังคับ เจ้าหนีตามคําพิพากษาอาจ
แถลงต่อศาลเพือขอให้ศาลออกคําบังคับได้ เมือลูกหนีตามคํา
พิพากษาไม่ชาํ ระหนี ถ้าเจ้าหนีตามคําพิพากษาประสงค์จะให้มีการบังคับคดี ก็ขอต่อศาล
เพือให้ออกหมายบังคับคดีได้
- ถ้าลูกหนีตามคําพิพากษาเป็ นเจ้าของทรัพย์สินทีเจ้าพนักงานบังคับคดียดึ
บุคคลภายนอกก็จะขอให้ปล่อยทรัพย์ทียึดไม่ได้ แต่ถา้ เจ้าหนีมีบุริมสิ ทธิ หรื อ
สิ ทธิอนื ๆ เหนือทรัพย์นนั ก็ร้องขอให้บงั คับคดีตามสิ ทธิของตนได้ โดยให้ทาํ เป็ นคําร้อง
ยืนต่อศาล

รายละเอียดทัวไป

- การยืนคําร้องขอฟ้องและกรณี ไม่อาจดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลทีมีเขตเหนือคดี
โดยเหตุสุดวิสัย
1.การยืนคําร้องขอฟ้องต่อศาลทีจําเลยมีภมู ิลาํ เนา
คําฟ้องเกียวด้วยอสังหาริ มทรัพย์หรื อสังหาริ มทรัพย์ หรื อสิทธิ หรื อประโยชน์ใด ๆ อัน
เกียวกับทรัพย์นนั ให้เสนอต่อศาลทีทรัพย์เหล่านันตังอยูใ่ นเขต
ศาล แต่ถา้ โจทก์ประสงค์จะยืนฟ้องต่อศาลทีจําเลยมีภมู ิลาํ เนาอยูใ่ นเขตศาล เมือโจทก์ยืน
คําขอโดยทําเป็ นคําร้องแสดงให้เห็นว่า การพิจารณาจะ
เป็ นการสะดวก ศาลจะใช้ดุลยพินิจอนุญาตให้โจทก์ยืนคําฟ้องตามทีขอนันก็ได้
2.การยืนคําร้องขอฟ้องต่อศาลทีมูลคดีเกิดขึนในเขตศาล
คําฟ้องนอกจากทีกล่าวมา ( คําฟ้องทีไม่เกียวกับทรัพย์ ) ให้เสนอต่อศาลทีจําเลยมี
ภูมิลาํ เนาอยูใ่ นเขตศาล แต่ถา้ โจทก์ประสงค์จะยืนคําฟ้องต่อศาลที
มูลคดีเกิดขึนในเขตศาลนัน เมือโจทก์ยนคํ ื าขอโดยทําเป็ นคําร้อง แสดงให้เห็นว่าการ
พิจารณาคดีในศาลนัน ๆ จะเป็ นการสะดวก ศาลจะใช้ดุลยพินิจ
อนุญาตให้โจทก์ยนคํ ื าฟ้องตามทีขอนันก็ได้

Sensitivity: Internal
3.การยืนคําร้องในกรณี ทีไม่อาจดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลชันต้นทีมีเขตเหนือคดี
โดยเหตุสุดวิสัย
ถ้าไม่อาจดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลชันต้นทีมีเขตเหนือคดีโดยเหตุสุดวิสยั คู่ความ
ฝ่ ายทีเสียหายจะยืนคําขอฝ่ ายเดียวโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาล
ชันต้นซึงตนมีภูมิลาํ เนาในเขตศาลในขณะนัน และให้ศาลมีอาํ นาจทําคําสังอย่างใดตามที
เห็นสมควรเพือประโยชน์แห่งความยุติธรรม
- การตรวจสังคําคูค่ วามของศาล , การร้องขอขยายหรื อย่นระยะเวลา และการร้องขอให้
วินิจฉัยชีขาดเบืองต้นในปั ญหาข้อกฎหมาย
1.การตรวจสังคําคูค่ วามของศาล
เมือนําคําคูค่ วามมายืนต่อศาล ( ซึงตามปกติจะต้องยืนต่อพนักงานเจ้าหน้าทีของศาล แล้ว
พนักงานเจ้าหน้าทีก็นาํ เสนอศาล ) ศาลมีอาํ นาจตรวจคําคู่
ความ แล้วสังตามอํานาจมาตรา 18 ถ้าเป็ นคําร้อง คําขอ ก็สังอนุญาตหรื อสังยก สําหรับคํา
ฟ้องเมือโจทก์ยนฟ้ื อง พนักงานเจ้าหน้าทีศาลจะลง
ทะเบียนคดีในสารบบความ ( เป็ นบัญชีรับฟ้อง ลงหมายเลขคดีดาํ ) แม้ว่ายังไม่สังรับฟ้อง
ก็ตาม ถ้าต่อมาศาลพิพากษา หรื อมีคาํ สังใดทําให้คดีถึงที
สุ ด ซึงอาจเป็ นเรื องโจทก์ทิงฟ้อง ก็จะลงทะเบียนคดีคาํ พิพากษาของศาล ( เป็ นบัญชี
ตัดสิ นคดี ลงหมายเลขคดีแดง )
2.การร้องขอขยายหรื อย่นระยะเวลา
คู่ความอาจขอขยายหรื อย่นระยะเวลาได้ การขอต้องทําเป็ นคําร้อง แต่จะร้องขอได้ต่อเมือ
มีพฤติการณ์พิเศษ และศาลได้มีคาํ สังหรื อคู่ความมีคาํ ขอ
ขึนมาก่อนสิ นระยะเวลานัน เว้นแต่ในกรณีทีมีเหตุสุดวิสัย
3.การร้องขอให้วนิ ิจฉัยชีขาดเบืองต้นในปั ญหาข้อกฎหมาย
เมือคูค่ วามยกปั ญหาข้อกฎหมายขึนอ้าง ซึงถ้าหากวินิจฉัยให้เป็ นคุณแก่ฝ่ายนัน จะไม่
ต้องมีการพิจารณาคดีต่อไป หรื อไม่ตอ้ งพิจารณาประเด็น
สําคัญแห่งคดีบางข้อ หรื อถ้าพิจารณาคดีต่อไปก็ไม่ทาํ ให้ความชัดขึน เมือศาล
เห็นสมควรหรื อคูค่ วามมีคาํ ขอ ให้ศาลมีอาํ นาจสังว่าก่อนดําเนินการ
พิจารณาต่อไป ศาลจะพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายเช่นว่านัน แล้ววินิจฉัยชีขาดเบืองต้น
ในปัญหานัน ซึงคําขอให้วนิ ิจฉัยชีขาดเบืองต้นในปัญหาข้อ
กฎหมายจะต้องทําเป็ นคําร้อง
- การร้องขอให้เพิกถอนการพิจารณาทีผิดระเบียบ และรวมการพิจารณา
1.การร้องขอให้เพิกถอนการพิจารณาทีผิดระเบียบ
เมือมีการพิจารณาทีผิดระเบียบ เมือศาลเห็นสมควรหรื อเมือคูค่ วามฝ่ ายทีเสี ยหายยืนคําขอ
โดยทําเป็ นคําร้อง ศาลมีอาํ นาจสังเพิกถอนหรื อสังแก้ไข
การพิจารณาทีผิดระเบียบนัน หรื อมีคาํ สังในเรื องทีบัญญัติไว้ตามทีเห็นสมควร
2.การร้องขอให้รวมการพิจารณา
ถ้าศาลไม่ได้สังรวมพิจารณาด้วยตนเอง และคู่ความจะขอให้รวมพิจารณาโดยมิใช่กรณี

Sensitivity: Internal
แถลงในคําให้การ ก็ตอ้ งมีคาํ ขอโดยทําเป็ นคําร้อง
- การร้องขอเลือนคดี
1.การขอเลือนคดีเพราะรอคดีอนื
ถ้าการทีจะชีขาดเรื องใดทีค้างพิจารณาอยูใ่ นศาลใด จําต้องอาศัยคําชีขาดบางข้อทีศาลนัน
หรื อศาลอืนต้องกระทําเสียก่อน หรื อต้องรอให้พนักงาน
ธุรการวินิจฉัยชีขาดในข้อนันเสี ยก่อน หรื อถ้าปรากฏว่าได้มีการกระทําผิดอาญาเกิดขึน
ซึงอาจทําให้มีการฟ้องร้องอันอาจทําให้การชีขาดคดีทีพิจารณา
อยูน่ นเปลี
ั ยนแปลงไป เมือศาลเห็นสมควรหรื อคู่ความทีเกียวข้องร้องขอ ศาลจะมีคาํ สัง
เลือนการนังพิจารณาจนกว่าจะมีการพิพากษาหรื อชี ขาดในข้อ
นัน ๆ หรื อภายในเวลาทีศาลเห็นสมควร
2.การร้องขอเลือนคดีดว้ ยความจําเป็ น
เมือศาลกําหนดวันนังพิจารณาและแจ้งให้คคู่ วามทราบ ถ้าคูค่ วามมีความจําเป็ นทีจะเลือน
การนังพิจารณาออกไป โดยเสนอคําขอก่อนวันนันหรื อในวันนัน จะจะสังเลือนต่อไปก็
ได้ ( ในทางปฏิบตั ิสามารถขอเลือนด้วยวาจาได้ )
- การเข้ามาเป็ นคูค่ วามแทนทีผูม้ รณะ
1.การร้องขอเข้ามาเป็ นคูค่ วามแทนทีผูม้ รณะ
ถ้าบุคคลผูเ้ ป็ นทายาทหรื อผูจ้ ดั การมรดก หรื อผูป้ กครองทรัพย์ ประสงค์ขอเข้ามาเป็ น
คู่ความแทนทีผูม้ รณะ ก็ให้ยนคํ ื าขอโดยทําเป็ นคําร้องต่อศาล
หรื ออาจเข้ามาเป็ นคูค่ วามเนืองจากศาลออกหมายเรี ยกให้เข้ามา ( เนืองจากคูค่ วามฝ่ ายใด
ฝ่ ายหนึงมีคาํ ขอฝ่ ายเดียวให้เรี ยกเข้ามา )
2.การคัดค้านกรณีศาลหมายเรี ยกเข้ามาเป็ นคู่ความแทนที
กรณี ทีศาลมีหมายเรี ยกบุคคลเข้ามาแทนทีคู่ความผูม้ รณะนัน และบุคคลนันไม่ยินยอม
หรื อไม่มาศาล โดยบุคคลนันอาจไม่ยินยอม โดยยืนข้อคัด
ค้านได้ ซึงข้อคัดค้านนันกฎหมายไม่ได้บญ ั ญัติว่าต้องให้ทาํ เป็ นคําขอ คําร้อง หรื อคํา
แถลงแต่ประการใด
- การตังทนายความและการมอบอํานาจ
1.การตังทนายความและการมอบอํานาจให้เป็ นผูแ้ ทนในคดี
การตังทนายความต้องทําเป็ นหนังสือลงลายมือชือตัวความและทนายความ แล้วยืนต่อ
ศาลเพือรวมไว้ในสํานวนความ ในการแต่งตังมีแบบพิมพ์ของ
กระทรวงยุติธรรมให้กรอกข้อความลงลายมือชือตัวความและทนายความ แต่การมอบ
อํานาจให้บุคคลใดเป็ นผูแ้ ทนในคดี ทําได้โดยทําเป็ นหนังสื อ
มอบอํานาจ แต่ผรู้ ับมอบอํานาจจะว่าความอย่างทนายความไม่ได้
2.การมอบอํานาจให้รับเงินหรื อทรัพย์สินหรื อกระทํากิจการอย่างใดอย่างหนึ ง
2.1.การมอบอํานาจให้รบั เงินหรื อทรัพย์สิน
ทนายความหรื อผูแ้ ทนไม่มีอาํ นาจรับเงินหรื อทรัพย์สินซึ งคู่ความอีกฝ่ ายชําระแก่ตวั ความ
เว้นตัวความได้มอบอํานาจให้รบั ไว้เป็ นส่วนหนึงต่างหาก

Sensitivity: Internal
สําหรับใบมอบอํานาจให้รับเงินหรื อทรัพย์สิน ต้องทําเป็ นหนังสือยืนต่อศาลหรื อทําเป็ น
ใบมอบฉันทะตามแบบพิมพ์ทีกระทรวงยุติธรรมได้จดั ไว้
2.2.การมอบอํานาจให้กระทํากิจการอย่างใดอย่างหนึง
การติดต่อกับศาลเกียวกับการดําเนินกระบวนพิจารณาเป็ นหน้าทีของตัวความหรื อผูแ้ ทน
หรื อทนายความ เว้นกรณี มีเหตุผลพิเศษเกียวกับตัว
ความหรื อผูแ้ ทน หรื อทนายความ ซึงอาจแต่งตังหรื อมอบอํานาจให้บคุ คลอืนทําการแทน
ได้ โดยยืนใบมอบฉันทะต่อศาลทุกครังทีมีการมอบ
หมาย เว้นแต่ศาลจะสังเป็ นอย่างอืน ซึงใบมอบฉันทะนัน คือ แบบพิมพ์ทีกระทรวง
ยุติธรรมจัดไว้ ซึงจะระบุว่าจะให้ผรู ้ ับมอบฉันทะทําอะไรบ้าง
- การบรรยายฟ้อง คําให้การและฟ้องแย้ง
มาตรา 172 ว.2 คําฟ้องต้องแสดงโดยชัดแจ้งซึงสภาพแห่งข้อหา และคําขอบังคับ ทัง
ข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา
* ในคําฟ้อง ต้องกล่าวบรรยายฟ้องนันให้ชดั แจ้ง โดยระบุถึงสภาพแห่งข้อหา คําขอ
บังคับ และข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่งข้อหา
- การบรรยายฟ้องคดีไม่มีขอ้ พิพาทและการคัดค้าน
1.การร้องขอให้ตงผู ั จ้ ดั การมรดก
ผูท้ ีจะร้องขอให้ศาลสังตังผูจ้ ดั การมรดก ต้องเป็ นทายาทของเจ้ามรดกหรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ย
หรื อพนักงานอัยการเท่านัน จึงควรบรรยายในคําร้องขอด้วย
ว่าผูข้ อมีความเกียวพันอย่างไรกับเจ้ามรดก และเหตุทีจะร้องขอให้ตงผู ั จ้ ดั การมรดกได้
ต้องเป็ นเหตุทีบัญญัติไว้ใน ปพพ.มาตรา 1713 จึงต้อง
บรรยายเหตุทีร้องขอนันด้วย
2.การร้องขอให้ศาลสังเป็ นคนไร้ความสามารถ
ผูร้ ้องขอมีความเกียวพันกับบุคลวิกลจริ ตอย่างไร ต้องบรรยายไว้ในคําร้องขอด้วย (
เพราะมีจาํ กัดไว้เฉพาะบุคคลทีบัญญัติไว้ใน ปพพ.มาตรา 34 เท่า
นัน ) และต้องบรรยายถึงลักษณะอาการของคนไร้ความสามารถนันด้วย
- การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความ
1.การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความฝ่ ายทีสาม
เมือมีคาํ ร้อง และศาลสังอนุญาตให้ผรู ้ ้องสอดเข้ามาเป็ นคู่ความฝ่ ายทีสามแล้ว ก็ตอ้ งส่ ง
สําเนาคําร้องให้คคู่ วามฝ่ ายอืนด้วย การดําเนินคดีกด็ าํ เนิน
ไปในลักษณะ 3 ฝ่ าย
2.การร้องสอดเข้ามาเป็ นคู่ความโดยสมัครใจ
เป็ นการร้องสอดเข้ามาเป็ นคู่ความโดยสมัครใจ เพราะตนมีส่วนได้เสี ย ในกรณี ขอเข้าเป็ น
โจทก์ร่วม โดยปกติให้ถือเอาคําฟ้องของโจทก์เดิมเป็ นคํา
ฟ้องของตนด้วย แต่สําหรับการขอเข้าเป็ นจําเลยร่วมนัน อาจจะถือเอาคําให้การของจําเลย
เดิมเป็ นคําให้การของตนด้วยก็ได้ หรื อให้การใหม่เพือ
เปลียนแปลงคําให้การของจําเลยเดิมก็ได้ โดยคําร้องสอด ต้องแสดงให้เห็นว่าตนมีส่วน

Sensitivity: Internal
ได้เสียตามกฎหมายประการใด เว้นแต่จะเห็นได้อยูใ่ นตัวเอง
( เช่นกรณี เจ้าของรวม )
3.การร้องสอดเข้าเป็ นคู่ความโดยถูกศาลหมายเรี ยก
ตามคําร้องไม่จาํ เป็ นต้องอ้างตัวบทกฎหมาย เพียงแต่บรรยายข้อเท็จจริ งไว้ในคําร้อง ปรับ
และวินิจฉัยได้เองอยูแ่ ล้ว แต่หากจะยกตัวบทกฎหมายก็จะ
ทําให้คาํ ร้องชัดเจนขึนอีก
- วิธีการถอนฟ้อง
1.ถอนฟ้องเดิม
1.1.การถอนฟ้องก่อนจําเลยยืนคําให้การ
ก่อนจําเลยยืนคําให้การ โจทก์อาจถอนฟ้องได้ โดยยืนคําบอกกล่าวเป็ นหนังสือต่อศาล
คําบอกกล่าวเป็ นหนังสือทีว่านี ทางปฏิบตั ินนใช้
ั แบบ
พิมพ์คาํ ร้องขอต่อศาล ขีดฆ่าคําร้องออก แล้วเขียนพิมพ์ว่า “ คําบอกกล่าวขอถอนฟ้อง “
มีใจความขอถอนฟ้อง การถอนฟ้องก่อนจําเลยยืนคํา
ให้การ บางทีศาลก็จดในรายงานกระบวนพิจารณาในโอกาสทีโจทก์มาศาล เมือโจทก์ลง
ลายมือชือในรายงาน ก็เท่ากับโจทก์ถอนฟ้องเป็ น
หนังสื อเหมือนกัน การถอนฟ้องก่อนจําเลยยืนคําให้การ ไม่ตอ้ งส่งสําเนาคําบอกกล่าวให้
จําเลย ไม่ตอ้ งไต่ถามฝ่ ายจําเลยว่าจะคัดค้านการถอน
ฟ้องของโจทก์หรื อไม่ เมือโจทก์ถอนฟ้องแล้ว ศาลก็สังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
ตามมาตรา 132
* กรณีทีโจทก์ถอนฟ้องเฉพาะจําเลยบางคน ก็มีผลเฉพาะจําเลยคนนัน และศาลสัง
จําหน่ายคดีโจทก์เฉพาะจําเลยคนนันไม่ใช่ว่าต้อง
จําหน่ายคดีโจทก์ทงคดีั
1.2.การถอนฟ้องภายหลังจําเลยยืนคําให้การ
การถอนฟ้องภายหลังจําเลยยืนคําให้การ ให้ทาํ เป็ นคําร้องยืนต่อศาลชันต้นเพืออนุญาต
ให้โจทก์ถอนฟ้อง ศาลจะอนุญาตหรื อไม่อนุญาตก็ได้
ขึนกับดุลยพินิจของศาล
2.ถอนอุทธรณ์หรื อฎีกา
การจะถอนฟ้องเดิมได้นนก็ ั ต่อเมือศาลชันต้นยังไม่ได้พิพากษา ถ้ามีการอุทธรณ์หรื อฎีกา
ก็ยอ่ มถอนฟ้องอุทธรณ์หรื อฎีกาได้ การขอถอนฟ้องอุทธรณ์
หรื อฎีกา ต้องยืนคําบอกกล่าวหรื อคําร้อง ( แล้วแต่กรณี ) ต่อศาลชันต้น แล้วศาลชันต้นก็
ส่งไปให้ศาลอุทธรณ์หรื อฎีกาอีกทีหนึง ถ้ามีการยืนคําให้
การแล้ว ศาลชันต้นจะสังให้ส่งสําเนาให้แก่อีกฝ่ ายหนึง ๆ นันจะบันทึกยืนยันลงลายมือ
ชือในคําร้องขอถอนฟ้อง ถอนอุทธรณ์หรื อฎีกา หรื อแถลงเป็ น
หนังสื อต่างหากว่าไม่คดั ค้านในการทีถอนฟ้อง
- การพิจารณาโดยขาดนัด
1.การขาดนัดยืนคําให้การ

Sensitivity: Internal
ถ้าจําเลยหรื อโจทก์ไม่ยืนคําให้การหรื อคําให้การแก้ฟ้องแย้งภายในเวลาทีกําหนด ถือว่า
จําเลยหรื อโจทก์ขาดนัดยืนคําให้การ ฉะนันถ้ามีการแจ้งเหตุ
ขัดข้อง ก็ไม่ถือว่าขาดนัด แต่เหตุทีแจ้งนันต้องเป็ นเหตุทีสมควร มิฉะนันไม่ถือว่าเป็ น
การแจ้งเหตุขดั ข้อง ในการแจ้งเหตุขดั ข้องไม่จาํ เป็ นต้องขอ
ขยายเวลายืนคําให้การ ทังไม่ใช่เรื องทีต้องขออนุญาตจากศาล เป็ นแต่แจ้งให้ศาลทราบ
เท่านัน และกรณีทีโจทก์ขาดนัดพิจารณา แล้วจําเลยแจ้งต่อ
ศาลว่าตังใจจะให้ดาํ เนินการพิจารณาคดีต่อไป ซึงมิใช่เรื องทีจะต้องขออนุญาตจากศาล
เช่นเดียวกัน แต่ทางปฏิบตั ิควรขอขยายระยะเวลายืนคําให้
การด้วย เพราะไม่รู้ว่าจะต้องยืนคําให้การเมือใด
* กรณีทีจําเลยทีขาดนัดยืนคําให้การมาศาล จําเลยต้องแถลงให้ศาลทราบถึงเหตุทีขาดนัด
โดยแถลงด้วยวาจาหรื อเป็ นหนังสือก็ได้ ไม่จาํ เป็ น
ต้องทําเป็ นคําร้อง แต่ทางปฏิบตั ิมกั ทําเป็ นคําร้องขอยืนคําให้การ โดยคําร้องควรชีแจงถึง
ข้อเท็จจริ งแห่งการขาดนัดอันแสดงว่าไม่จงใจขาดนัด
หรื อมีเหตุอนั ควรประการอืน
2.การขอพิจารณาคดีใหม่
2.1.การขอพิจารณาคดีใหม่ก่อนศาลพิพากษา
ถ้าคู่ความทีขาดนัดมาศาลภายหลังทีได้เริ มต้นสื บพยานไปบ้างแล้ว และศาลเห็นว่าการ
ขาดนัดไม่ได้เป็ นไปโดยจงใจ หรื อมีเหตุอนั ควร เมือมา
ศาลต้องแถลงต่อศาลว่าตนขาดนัดพิจารณาเพราะเหตุใด ขอให้ศาลมีคาํ สังพิจารณาคดี
นันใหม่ กฎหมายไม่ได้บญั ญัติให้ทาํ เป็ นคําร้อง แต่ใน
ทางปฏิบตั ิมกั ทําเป็ นคําร้องยืนต่อศาล แต่ไม่ว่าจะยืนคําแถลงหรื อคําร้อง ศาลมีหน้าที
วินิจฉัยว่าการขาดนัดเป็ นไปโดยจงใจหรื อมีเหตุอนั ควร
หรื อไม่
2.2.การขอพิจารณาคดีใหม่เมือแพ้คดีในประเด็นทีพิพาท
คําขอให้มีการพิจารณาใหม่ ต้องทําเป็ นคําร้อง จะต้องยืนต่อศาลชันต้นภายใน 15 วันนับ
แต่วนั ทีส่งคําบังคับ จะต้องกล่าวโดยละเอียดชัดแจ้งถึง
เหตุทีขาดนัด และข้อคัดค้านคําตัดสิ นชีขาดของศาล และในกรณี ยนคํ ื าขอล่าช้า ต้อง
แสดงเหตุแห่ งการล่าช้านันด้วย
* กรณีไม่สามารถยืนคําขอโดยพฤติการณ์นอกเหนือไม่อาจบังคับได้ คู่ความนันอาจยืน
คําขอให้พิจารณาใหม่ได้ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที
พฤติการณ์นนได้ั สินสุ ดลง ในการยืนคําร้องขอให้พจิ ารณาใหม่ตอ้ งบรรยายพฤติการณ์
นอกเหนือดังกล่าวไว้ในคําร้องโดยละเอียดชัดแจ้งด้วย
- วิธีการชัวคราวก่อนพิพากษา
ในคดีอืน ๆ นอกจากคดีมโนสาเร่ โจทก์จะยืนคําขอฝ่ ายเดียวต่อศาลพร้อมคําฟ้อง หรื อ
เวลาใด ๆ ก่อนพิพากษา ขอให้ศาลมีคาํ สังภายในบังคับแห่งเงือนไข เพือจัดให้มีวิธี
คุม้ ครองอย่างใด ๆ โดยคําขอต้องทําเป็ นคําร้อง และศาลมีอาํ นาจฟังคู่ความอีกฝ่ ายหนึง (

Sensitivity: Internal
คือฝ่ ายทีถูกยึดหรื ออายัดทรัพย์สิน ) ศาลต้องทําการไต่สวนสืบพยานหลักฐานให้ได้
ข้อเท็จจริ ง
- การร้องขอคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความ
คู่ความอาจมีคาํ ขอต่อศาลเพือให้มีคาํ สังกําหนดวิธีการเพือคุม้ ครองประโยชน์ของคู่ความ
ผูข้ อระหว่างพิจารณาหรื อเพือบังคับตามคําพิพากษา ซึงอาจเป็ นการร้องในศาลชันต้น
หรื อศาลอุทธรณ์หรื อฎีกาก็ได้ ถ้ายืนในระหว่างพิจารณาของศาลใด ศาลนันก็เป็ นผูส้ ัง
- การขอให้ออกคําบังคับและหมายบังคับคดี
1.การขอให้ออกคําบังคับ
เมือศาลพิพากษา ถ้าศาลมิได้มีคาํ บังคับ เจ้าหนีตามคําพิพากษาอาจขอให้ศาลมีคาํ บังคับ
ได้ ในการขออาจแถลงด้วยวาจาหรื อยืนคําแถลงก็ได้
2.การขอให้ออกหมายบังคับคดี
ถ้าเจ้าหนีตามคําพิพากษาจะขอให้บงั คับคดี กฎหมายให้ทาํ เป็ นคําขอฝ่ ายเดียวต่อศาล
เพือให้ออกหมายบังคับคดี
- การร้องขอให้บงั คับตามสิ ทธิเหนือทรัพย์สินทียึดของบุคคลภายนอก
ในการบังคับคดีนนั ถ้าเป็ นทรัพย์สินของลูกหนีตามคําพิพากษา เจ้าพนักงานบังคับคดีมี
อํานาจอายัดหรื อยึดได้เสมอ ถ้าผูใ้ ดกล่าวอ้างว่าลูกหนีตามคําพิพากษาไม่ใช่เจ้าของ
ทรัพย์สิน ก็ยนคํ
ื าร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินทียึดไว้นนั โดยทางปฏิบตั ิในการยืนคําขอมัก
ทํากันเป็ นคําร้อง และศาลต้องไต่สวนฟังข้อเท็จจริ งก่อนมีคาํ สังให้ตามสิ ทธิ ของผูร้ ้อง ผู ้
ร้องต้องบรรยายสิ ทธิของตนในคําร้องไว้ดว้ ย อันเป็ นสาระสําคัญของคําร้องซึ ง
หมายความว่าจะต้องมีความรู้กฎหมายสารบัญญัติพอสมควร มิฉะนันศาลอาจยกคําร้อง
เสี ยได้โดยไม่ตอ้ งไต่สวน
- การร้องขอให้ปล่อยทรัพย์สินทียึด
ถ้าผูใ้ ดกล่าวอ้างว่าลูกหนีตามคําพิพากษาไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินทีถูกบังคับคดี สามารถ
ยืนคําร้องขอต่อศาลทีออกหมายบังคับคดีให้ปล่อยทรัพย์สินเช่นว่านันได้ ( เรี ยกว่า ร้อง
ขัดทรัพย์ ) การร้องขัดทรัพย์ กฎหมายให้ทาํ เป็ นคําร้องขอ ( ขอให้ศาลสังปล่อยทรัพย์สิน
ทียึด ) และเป็ นคําฟ้อง ( เพราะเป็ นการกล่าวหาว่าโจทก์เป็ นผูย้ ดึ ทรัพย์ไม่ถูกต้อง ) คํา
ร้องขัดทรัพย์ทางปฏิบตั ิทาํ ในแบบพิมพ์คาํ ร้องธรรมดา ไม่ใช่ในแบบพิมพ์คาํ ฟ้อง ไม่ใช้
แบบพิมพ์คาํ ขอท้ายฟ้องอย่างคดีแพ่งสามัญ โดยเหตุทีคําร้องขัดทรัพย์เป็ นเพียงคําร้อง
ขอให้ปล่อยทรัพย์สินทียึด ในคําร้องจึงไม่ตอ้ งบรรยายว่าผูร้ ้องได้รับความเสี ยหาย
อะไรบ้าง แต่ตอ้ งบรรยายไว้เสมอว่าทรัพย์สินทีโจทก์นาํ ยึดนัน ไม่ใช่ของจําเลยหรื อ
ลูกหนีตามคําพิพากษา

Sensitivity: Internal

You might also like