You are on page 1of 48

- การวัดปริมาตรของของแห้งด้วยเครื่องตวง

ที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน รายวิชา คณิตศาสตร์


รหัสวิชา ค12101
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
- การเปรียบเทียบ และเรียงลาดับปริมาตร ผู้สอน ครูเสาวลักษณ์ พันธ์มอญ

ของของแห้งที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
- การวัดปริมาตรของของแห้งด้วยเครื่องตวงที่มีหน่วย
ที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
- การเปรียบเทียบ และเรียงลาดับปริมาตรของของแห้ง
ที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้นักเรียนสามารถตวงและบอกปริมาตรของของแห้งโดยใช้
เครื่องมือตวงที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและเรียงลาดับปริมาตรของของแห้ง
ที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
3. เพื่อให้นักเรียนสามารถให้เหตุผลได้
4. เพื่อให้นักเรียนสามารถแก้ปัญหาได้
5. เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
การวัดปริมาตรของของแห้งด้วยเครื่องตวง
ที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
การตวงของแห้งที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน

พ่อค้าขายถั่วต้ม
ใช้กระป๋องตักถั่วต้ม
การตวงของแห้งที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน

แม่ใช้ถ้วย
ตักแป้งข้าวเจ้าทาขนม
การตวงของแห้งที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน

พ่อค้าขายถั่วแดง
ใช้ถ้วยตักถั่วแดง
กิจกรรม
การตวงของแห้งที่ละเอียด
อุปกรณ์ดังนี้
- ของแห้งที่ละเอียด เช่น ข้าวสาร น้าตาลทราย เมล็ดงาดา
- เครื่องตวงที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน เช่น แก้ว ถ้วย กระป๋อง
- สันตรง เช่น ไม้บรรทัด สาหรับใช้ปาด
ของแห้งที่ละเอียด
วิธีการตวงข้าวสารด้วยแก้ว ดังนี้
ใช้แก้วตวงข้าวสารได้ 8 แก้ว
ดังนั้น ข้าวสารในกล่องนี้มีปริมาตร 8 แก้ว
ถ้ามีเครื่องตวงเพียง 1 ใบ อาจบอกปริมาตรได้จากนับจานวนครั้งที่ตวงได้
เช่นเดียวกับการตวงของเหลว
กิจกรรม
การตวงของแห้งที่หยาบ
โดยเตรียมอุปกรณ์ดังนี้
- ของแห้งที่หยาบ เช่น ถั่วลิสงทั้งเปลือก ถ่าน กระจับ แห้ว
- เครื่องตวงที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน เช่น แก้ว ถ้วย กระป๋อง
วิธีการตวง
ถั่วลิสงทั้งเปลือก
กิจกรรม
“สนุกกับการตวงของแห้ง”
(ทั้งแบบละเอียดและแบบหยาบ)
อุปกรณ์ดังต่อไปนี้
1) เครื่องตวง ได้แก่ ถ้วย กระป๋อง แก้ว อย่างละ 2 ใบ
(เครื่องตวงต้องมีขนาดเท่ากัน รูปร่างอย่างเดียวกัน)

2) ไม้สาหรับปาด ถาดรอง และภาชนะใส่ของ


ที่ตวงแล้ว
3) ของแห้งที่ละเอียด เช่น ข้าวสาร น้าตาลทราย
และของแห้งที่หยาบ เช่น ถั่วแดง ถั่วลิสงทั้งเปลือก
ขั้นตอนทากิจกรรมสนุกกับการตวงของแห้ง ดังนี้

1) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้รับอุปกรณ์ชุดใดชุดหนึ่ง ดังนี้
ถุงที่ 1 พร้อม แก้ว 1 ใบ ถุงที่ 2 พร้อม ถ้วย 1 ใบ

ถุงที่ 3 พร้อม แก้ว 1 ใบ ถุงที่ 4 พร้อม กระป๋อง 1 ใบ


ขั้นตอนทากิจกรรมสนุกกับการตวงของแห้ง ดังนี้

2) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตวงของแห้งที่อยู่ในถุง
ที่ได้รับ โดยใช้เครื่องตวงที่ได้รับ และบอกปริมาตร
ของของแห้งที่ตวงได้ บันทึกในใบกิจกรรม
ใบกิจกรรม
สมาชิก 1................................... 2.............................................
3................................... 4.............................................
1. ของแห้งถุงที่ ................ คือ .....................................................
2. เครื่องตวง .........................
3. ผลการตวง
.........................................มีปริมาตร …….………………………
วิธีการตวงและผลการตวง ซึ่งจะได้ว่า
- การตวงของแห้งที่ละเอียด ให้ใส่สิ่งของที่จะตวงในเครื่องตวง
จนพูนแล้วใช้สันตรงปาดเสมอขอบบนของเครื่องตวง 1 ครั้ง
และไม่ควรเขย่าหรือกระแทกเครื่องตวงในระหว่างที่ตวง
- การตวงของแห้งที่หยาบ เช่น ถั่วลิสงทั้งเปลือก เมล็ดบัว
ให้ใส่สิ่งของในเครื่องตวงจนพูนโดยไม่ต้องปาด
เพราะต้องชดเชยช่องว่างระหว่างสิ่งของที่อยู่ในเครื่องตวง
และไม่ควรเขย่าหรือกระแทกเครื่องตวง
ในระหว่างที่ตวง
การเปรียบเทียบและเรียงลาดับปริมาตร
ของของแห้งที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
กิจกรรม
เปรียบเทียบปริมาตรของของแห้งแบบละเอียด
โดยติดภาพแสดงปริมาตรของของแห้ง ดังนี้
แป้งข้าวเจ้า

แป้งข้าวเหนียว
แป้งข้าวเจ้า

แป้งข้าวเจ้ามีปริมาตรกี่ถ้วย
12 ถ้วย
แป้งข้าวเหนียว

แป้งข้าวเหนียวมีปริมาตรกี่ถ้วย
18 ถ้วย
แป้งข้าวเจ้า

แป้งข้าวเหนียว

ของแห้งชนิดใดมีปริมาตรมากกว่า
แป้งข้าวเหนียว
แป้งข้าวเจ้า

แป้งข้าวเหนียว

มากกว่ากันเท่าไร ทราบได้อย่างไร
6 ถ้วย คิดจาก 18 - 12 = 6
กิจกรรม
เปรียบเทียบและเรียงลาดับปริมาตรของของแห้ง
ที่วัดด้วยเครื่องตวงที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
โดยครูติดบัตรภาพแสดงปริมาตรของของแห้ง
ที่ตวงด้วยชามที่มีขนาดเท่า ๆ กัน
ลูกเดือยมีปริมาตร 9 ชาม

ถั่วเขียวมีปริมาตร 11 ชาม

เมล็ดกาแฟมีปริมาตร 3 ชาม
ของแห้งชนิดใดมีปริมาตรมากกว่าลูกเดือย
ถั่วเขียว
มากกว่ากันเท่าไร ทราบได้อย่างไร
2 ชาม คิดจาก 11 - 9 = 2
ของแห้งชนิดใดมีปริมาตรน้อยกว่าลูกเดือย
เมล็ดกาแฟ
น้อยกว่ากันเท่าไร ทราบได้อย่างไร
6 ชาม คิดจาก 9 - 3 = 6
ของแห้งชนิดใดมีปริมาตรมากทีส่ ุด
ถั่วเขียว
ของแห้งชนิดใดมีปริมาตรน้อยที่สุด
เมล็ดกาแฟ
เรียงลาดับชนิดของแห้งที่มีปริมาตรจากมากไปน้อยได้อย่างไร

ถั่วเขียว ลูกเดือย เมล็ดกาแฟ


เรียงลาดับชนิดของแห้งที่มีปริมาตรจากน้อยไปมากได้อย่างไร

เมล็ดกาแฟ ลูกเดือย ถั่วเขียว


สรุป
- การเปรียบเทียบปริมาตรของของแห้งสองชนิด
จะเปรียบเทียบกันได้ ของแห้งสองชนิดนั้น
ต้องมีปริมาตรเป็นหน่วยเดียวกัน
- การเรียงลาดับปริมาตรของของแห้งที่มปี ริมาตร
เป็นหน่วยเดียวกัน ตั้งแต่ 3 ชนิดขึ้นไป อาจทาได้โดย
หาปริมาตรของของแห้งที่มากที่สดุ และน้อยที่สุดก่อน
จากนั้นจึงนาปริมาตรเรียงจากมากไปน้อย
หรือจากน้อยไปมาก
ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล
โดยติดบัตรภาพแสดงปริมาตรของของแห้ง
3 ชนิด ดังนี้
ข้าวขาวมีปริมาตร 6 ขัน

ข้าวกล้องมีปริมาตร 8 ขัน

ข้าวสังข์หยดมีปริมาตร 5 ขัน
ใบบันทึกกิจกรรม
เปรียบเทียบปริมาตรของของแห้งสองชนิดได้
ข้าวขาว
...................................มี ข้าวกล้อง
ปริมาตรน้อยกว่า...............................อยู 2 ขัน
่.....................
ข้าวกล้อง
...................................มี ข้าวสังข์หยด ่.....................
ปริมาตรมากกว่า................................อยู 3 ขัน
เรียงลาดับชนิดของของแห้งที่มีปริมาตรจากมากไปน้อยได้
ข้าวกล้อง ข้าวขาว ข้าวสังข์หยด
...........................................................................................................................
แบบฝึกหัด 6.25 – 6.26
สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.dltv.ac.th
แบบฝึกหัด 6.25 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.dltv.ac.th
แบบฝึกหัด 6.26 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.dltv.ac.th

You might also like