You are on page 1of 30

การวัดปริมาตรของของเหลว รายวิชา คณิตศาสตร์

ด้วยเครื่องตวงที่มีหน่วยที่ รหัสวิชา ค12101


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ผู้สอน ครูทรงสมร พกมณี
ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
การวัดปริมาตรของของเหลว
ด้วยเครื่องตวงที่มีหน่วย
ที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
จุดประสงค์การเรียนรู้

1. เพื่อให้นักเรียนสามารถตวงและบอกปริมาตรของของเหลว
ที่กาหนดให้ โดยใช้เครื่องตวงที่มีหน่วยทีไ่ ม่ใช่หน่วยมาตรฐาน

2. เพื่อให้นักเรียนสามารถสื่อสารและสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์
การตวงที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน
- พ่อค้าขายน้าเต้าหูใ้ ช้แก้วตักน้าเต้าหู้ใส่ถุง ถุงละ 1 แก้ว
- แม่ค้าขายน้ามะพร้าวใช้กระบวยตักน้ามะพร้าวใส่แก้ว
แก้วละ 2 กระบวย
- แม่ป้อนยาน้าให้ลูก โดยการเทยาน้าใส่ช้อน ป้อนลูก 1 ช้อน
ตัวอย่างภาพการตวงในชีวิตจริง
กิจกรรม
การวัดและบอกปริมาตรของของเหลว
โดยใช้การตวง
นาน้าแดงใส่ขวดขนาด 1 ลิตร ถ้าเทน้าแดงจากขวดนี้ใส่แก้ว
จนเต็ม(ขนาด 250 มิลลิลิตร) จะเทน้าแดงใส่แก้วขนาดนี้
ได้กี่แก้ว ทราบได้อย่างไร
เราอาจใช้ภาชนะต่าง ๆ ที่มีรูปร่างเหมือนกัน
เและขนาดเท่ากันเป็นอุปกรณ์ในการตวง
เช่น แก้ว ช้อน ขัน กระป๋อง
วิธีตวงน้าใส่แก้ว โดยเทน้าใส่แก้วให้เต็ม
แล้วให้ตัวแทนนักเรียนตวงน้าที่เหลือในขวด
โดยเทน้าใส่แก้วให้เต็มจนน้าหมดขวด
น้าแดงในขวดนี้เทใส่แก้วได้กี่แก้ว

4 แก้ว
ใช้แก้วตวงน้าแดงได้ 4 แก้ว
ดังนั้น น้าแดงในขวดนี้มีปริมาตร 4 แก้ว
แก้วเป็นเครื่องตวงที่มีหน่วยไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน

ตวงน้้าแดงในขวดนี้ใส่แก้วได้ 4 แก้ว
น้้าแดงในขวดนี้มีปริมาตร เท่ากับ 4 แก้ว
น้าในเหยือกมีปริมาตรเท่าไร

ไม่ทราบ
หาปริมาตรของน้าในเหยือกได้อย่างไร

ใช้การตวง
ควรเลือกสิ่งใดเป็นเครื่องตวง

แก้ว ถ้วย กระป๋อง


ภาชนะทุกใบที่ใช้เป็นเครื่องตวง
ต้องมีรูปร่างเหมือนกันและขนาดเท่ากัน
ตวงน้าส้มในเหยือกใส่แก้วได้ 6 แก้ว
ดังนั้น น้าในเหยือกมีปริมาตรเท่ากับ 6 แก้ว
สรุปวิธีการตวง
เมื่อมีแก้วขนาดเดียวกันหลาย ๆ ใบ ทาได้โดยเทน้าจากเหยือก
ใส่แก้วให้เต็มทีละแก้ว จนน้าหมดเหยือก แล้วนับจานวนแก้ว
ที่มีน้าอยู่เต็มแก้ว
แก้วที่นามาตวงน้านั้นต้องมีขนาดเท่ากันทุกใบ
ให้ตัวแทนนักเรียนออกมาตวงน้า โดยใช้ขันตักน้า
ให้เต็มทีละ 1 ขัน แล้วเทใส่ภาชนะอีกใบหนึ่ง
(กะละมังรองน้า) ใช้ขันใบเดิมตักน้าในถัง
ทาเช่นนี้จนน้าหมดถัง พร้อมนับจานวนครั้งที่ตัก
เพื่อบอกปริมาตรของน้าในถัง
ครั้งที่ 7

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 4 ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 6

ตักน้าในถังด้วยขันได้ 7 ครั้ง
ดังนั้น น้าในถังมีปริมาตร เท่ากับ 7 ขัน
สรุปวิธีการตวง
เมื่อมีขันเพียงใบเดียว ทาได้โดยใช้ขันตักน้าให้เต็มทีละ 1 ขัน
แล้วนาน้าที่ตวงได้ไปเทใส่ภาชนะอีกใบหนึง่ (กะละมังรองน้า)
พร้อมนับจานวนครั้งที่ตวงได้
- การตวง ด้วยเครื่องตวงที่มีหน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน
ควรใช้ภาชนะที่มีรูปร่างเหมือนกันและขนาดเท่า ๆ กัน
เช่น แก้ว ถ้วย กระบวย ขัน
- ในการตวงของเหลวต้องตวงให้เต็มเสมอขอบภาชนะ
ที่เป็นเครื่องตวง
วิธีการวัดและบอกปริมาตรของของเหลวในภาชนะต่าง ๆ
อาจทาได้ 2 วิธี ได้แก่
(1) ใช้ภาชนะที่เป็นเครื่องตวงที่มีรูปร่างเหมือนกันและขนาดเท่า ๆ กัน
หลาย ๆ ใบ และบอกปริมาตรของของเหลวได้จากการนับจานวนภาชนะ
ที่ใช้เป็นเครื่องตวง
(2) ใช้ภาชนะที่เป็นเครื่องตวงเพียงใบเดียวและบอกปริมาตรของ
ของเหลวได้จากการนับจานวนครั้งที่ตวงได้
- การตวงเพื่อบอกปริมาตรของของเหลว
ในภาชนะต่าง ๆ นั้นนักเรียนอาจจะ
เลือกใช้วิธีใดก็ได้
กิจกรรม
“สนุกกับการตวงของเหลว”
เตรียมอุปกรณ์ดังต่อไปนี้
- น้าสีต่าง ๆ บรรจุขวด เช่น น้าสีส้ม น้าสีเขียว น้าสีแดง
- เครื่องตวง ได้แก่ แก้ว ขันเล็ก และถ้วยเล็ก อย่างละ 4 ใบ
- ครูเตรียมน้าสีส้ม 3 แก้วใส่ในกระบอก
น้าเปล่า 2 ขันเล็กใส่กระบอก
น้าสีแดง 4 ถ้วยเล็กใส่กระบอก
- ถาดรองอุปกรณ์
ขั้นตอนทากิจกรรม สนุกกับการตวงของเหลว ดังนี้
1) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้รับอุปกรณ์ชุดใดชุดหนึ่งดังนี้
- ชุดกระบอกน้าสีส้ม พร้อมแก้ว 4 ใบ
- ชุดกระบอกน้าเปล่า พร้อมขันเล็ก 4 ใบ
- ชุดกระบอกน้าสีแดง พร้อมถ้วยเล็ก 4 ใบ
2) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตวงน้าสีที่อยู่ในกระบอก
โดยใช้เครื่องตวงที่ได้รับและบอกปริมาตรของ
น้าสีที่ตวงได้ บันทึกในใบกิจกรรม
ใบกิจกรรม “สนุกกับการตวงของเหลว”
สมาชิกกลุ่ม 1......................................... 2................................................
3……………............................. 4 …………………………………………
1. น้้าสี ..............................
2. เครื่องตวง ......................................
3. ผลการตวง
น้้าสี ............................... มีปริมาตร ……………………………………….
ให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ
วิธีการตวงและผลการตวง
ตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมเฉลย
แบบฝึกหัด 6.23
สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.dltv.ac.th
แบบฝึกหัด 6.23 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ www.dltv.ac.th

You might also like