You are on page 1of 8

คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดกี รีสูงกว่ าสอง

1. การแยกตัวประกอบของผลบวกของกำลังสาม
2. การแยกตัวประกอบของผลต่ างของกำลังสาม
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดกี รีสูงกว่ าสาม

คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2
การแยกตัวประกอบของพหุนามทีม่ ดี กี รีสูงกว่ าสอง
1. การแยกตัวประกอบของพหุนามทีอ่ ยู่ในรู ปผลบวกของกำลังสาม
กำหนดให้ A และ B เป็ นพหุนาม เรี ยกพหุนามที่อยูใ่ นรู ป A3 + B3 ว่า ผล
บวกของกำลังสาม โดยที่ A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2 )
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามทีอ่ ยู่ในรู ปผลต่ างของกำลังสาม
กำหนดให้ A และ B เป็ นพหุนาม เรี ยกพหุนามที่อยูใ่ นรู ป A3 - B3 ว่า ผล
ต่างของกำลังสาม โดยที่ A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2 )
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดกี รีสูงกว่ าสาม
3.1 พหุนามทีส่ ามารถจัดให้ อยู่ในรู ปผลต่ างของกำลังสอง
กำหนดให้ A และ B เป็ นพหุนาม เรี ยกพหุนามที่อยูใ่ นรู ป A2 – B2 ว่า
ผลต่างของกำลังสอง โดยที่ A2 – B2 = (A + B)(A – B )
3.2 พหุนามทีส่ ามารถจัดให้ อยู่ในรู ปกำลังสองสมบูรณ์
กำหนดให้ A และ B เป็ นพหุนามใด ๆ จะได้วา่
A2 – 2AB + B2 = (A – B )2
A2 – 2AB + B2 = (A + B )2

คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
1 สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
2 การแก้ สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3 โจทย์ ปัญหาสมการำลังสองตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
1.สมการกำลังสองตัวแปรเดียว คือ สมการที่อยูใ่ นรู ป ax2+ bx + c โดย
ที่  a,b และ c เป็ นค่าคงตัว และ a ≠ 0 พจน์ b,c อาจจะเป็ น 0 ได้ท ำให้เรา
ไม่เห็น แต่พจน์ a ห้ามเป็ น 0
2.การแก้ สมการกำลังสอง หมายถึง การคำนวณเพื่อหาค่าของตัวแปร ซึ่งจะ
ได้ค่าตัวแปร 2 ค่า โดยค่าทั้งสองอาจเท่ากันหรื อไม่เท่ากันก็ได้ ค่าของ
ตัวแปรที่ได้บางครั้งเรี ยกว่า รากของสมการ หรื อ คำตอบของสมการ
3.การแก้ สมการกำลังสองโดยการแยกตัวประกอบ
สมมติวา่ แยกตัวประกอบพหุนามได้เป็ น (x + d)(x + e) = 0 เราสามารถ
สรุ ปได้วา่ x + d = 0 หรื อ x + e = 0 โดยที่ d และ e เป็ นค่าคงตัวสมการ
กำลังสองจะมีจ ำนวนคำตอบได้ไม่เกิน 2 คำตอบ
4.การใช้ สูตร การแก้ สมการกำลังสองให้ ax² + bx + c = 0 โดยที่ a, b, c เป็ น
ค่ าคงตัว และ a ≠ 0

สูตรที่เราจะใช้ในการแก้สมการกำลังคือ  

ข้อดีของการใช้สูตรเราสามารถรู ้ได้วา่ สมการนั้นมีจ ำนวนคำตอบเท่าใด


โดยพิจารณา 
 > 0 แสดงว่าสมการมี 2 คำตอบ
= 0 แสดงว่าสมการมี 1 คำตอบ
< 0 แสดงว่าไม่มีค ำตอบของสมการที่เป็ นจำนวนจริ ง (หมายความ
ว่ามีค ำตอบแต่ค ำตอบนั้นไม่ใช่จ ำนวนจริ ง)
คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
1.สามเหลีย่ มคล้ าย
สามเหลี่ยมคล้าย คือ รู ปสามเหลี่ยมที่มีขนาดของมุมเท่ากัน ทั้ง 3 คู่ ใช้
สัญลักษณ์ ” ∼ ” แทนความคล้ายกัน
2. หลักการพิจารณา สามเหลีย่ มคล้ าย
2.1 เป็ นรู ปสามเหลีย่ มทีม่ ีมุมเท่ ากันสามคู่ถา้ เราสามารถตรวจได้วา่
สามเหลี่ยมมีมุมที่สมนัยกันเป็ นคู่ๆ ก็จะสามารถสรุ ปได้เลยว่า
สามเหลี่ยมสองรู ปนี้ เป็ นสามเหลี่ยมคล้ายกัน
2.2 เป็ นรู ปสามเหลีย่ มทีม่ ีอตั ราส่ วนความยาวของด้ านเท่ ากัน 3 คู่ถา้
เราทราบความยาวด้านของรู ปสามเหลี่ยมสองรู ป และอัตราส่ วนของ
ยาวของด้านของสามเหลี่ยมทั้งสองเท่ากันทั้ง 3 คู่สามเหลี่ยมสองรู ป
นี้เป็ นสามเหลี่ยมคล้ายกัน

2.3 เป็ นรู ปสามเหลีย่ มทีม่ ีอตั ราส่ วนความยาวของด้ านเท่ ากัน 2 คู่
และมีขนาดของมุมทีอ่ ยู่ระหว่ างอัตราส่ วนความยาวด้ านเท่ ากัน
สามเหลี่ยมสองรู ปนี้ เป็ นสามเหลี่ยมคล้ายกัน
คณิตศาสตร์ พนื้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 5
กราฟของฟังก์ ชันกำลังสอง
รู ปแบบที่ 1 สมการทีอ่ ยู่ในรู ป y=ax 2
สมการรู ปแบบนี้จะสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี คือ
1. กรณี a>0 (เป็ นบวก)
 ในกรณี a>0 จะพบว่า พาราโบลา มีลกั ษณะหงายขึ้น
 จุดต่ำสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ีจุด (0,0)
 a มาก กราฟมีความกว้างน้อย แต่ถา้ a น้อยกราฟมีลกั ษณะกว้างมาก
2. กรณี a<0 (ติดลบ)
 ในกรณี a<0 จะพบว่า พาราโบลา มีลกั ษณะคว่ำลง
 จุดสูงสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ีจุด (0,0)
 a มาก กราฟมีความกว้างน้อย แต่ถา้ a น้อยกราฟมีลกั ษณะกว้างมาก
รู ปแบบที่ 2 สมการทีอ่ ยู่ในรู ป y=ax 2+k
สมการรู ปแบบนี้จะสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี คือ
1. กรณี a>0 (เป็ นบวก)
 จุดต่ำสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ีจุด (0,k)
2. กรณี a<0 (ติดลบ)
 จุดสูงสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ีจุด (0,k)
รู ปแบบที่ 3 สมการทีอ่ ยู่ในรู ป y=a(x-h) 2
สมการรู ปแบบนี้จะสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี คือ
1. กรณี a>0 (เป็ นบวก)
 จุดต่ำสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ีจุด (h,0)
2. กรณี a<0 (ติดลบ)
 จุดสูงสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ีจุด (h,0)
รู ปแบบที่ 4 สมการทีอ่ ยู่ในรู ป y=a(x-h) 2+k
สมการรู ปแบบนี้จะสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี
1. กรณี a>0 (เป็ นบวก)
 จุดต่ำสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ี่จุด (h,k)
2. กรณี a<0 (ติดลบ)
 จุดสูงสุ ด (จุดยอด) อยูท่ ี่จุด (h,k)

You might also like