You are on page 1of 50

1

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
(Rate of Reaction)
/
2
ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =

ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง ปริมาณสารผลิตภัณฑ์ ที่เพิม่ ขึน้


อัตราการเกิดปฏิกิริยา = =
เวลา เวลา

อัตราการเกิดปฏิกิริยา = ปริมาณสารที่เปลีย่ นแปลงไป


เวลา
การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
ปริมาตร H2 (cm3) เวลา (s) เวลาที่ใช้จริง (s)
1-2 ...............................
- 25
...............................
4.5
2-3 ...............................
=>> ...............................
·3
3-4 ............................... ...............................
4-5 ...............................
80
...............................
5-6 ............................... ...............................
11

126
6-7 ............................... ...............................
15 เ
7-8 ............................... ...............................
8-9 ...............................
1 a6
...............................
9-10 27 7
............................... ...............................
สรุป
1. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาได้
ดังนี้................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
2. อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนระหว่างขีด 0-1.................................................................................
ระหว่างขีด 5-6.........................................................................................
ระหว่างขีด 8-9..........................................................................................
3. อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนเฉลี่ย.........................................................................................
4. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจนกับเวลา
100T
=>

5. อัตราการเกิดก๊าซ H2 ณ วินาที
ที่ 50............................................

ที่ 100.........................................

ที่ 150.........................................
3
6. อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนตอนเริ่มต้นจะ........................................กราฟมีลักษณะ..........................
และเมื่อเวลาผ่านไปจะ...............................................กราฟมีลักษณะ..................................................
7. ในการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา นอกจากจะวัดปริมาตรก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นใน 1 หน่วยเวลาแล้ว ยังอาจ
วัดจากปริมาณผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่น
7.1 .................................................................7.2 .............................................................
7.3 .................................................................7.4 .............................................................

8. สมการแสดงปฏิกิริยาเป็นดังนี้ Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g)


อัตราการเกิดปฏิกิริยา
=......................................................................................................................
=....................................................................................................................
=.....................................................................................................................
=.....................................................................................................................
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ในปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ มีขั้นตอนในการเกิดปฏิกิริยาหลายขั้นตอน บางขั้นเกิดเร็ว บางขั้นเกิดช้า
ขั้นควบคุมปฏิกิริยา หรือ ขั้นกำหนดอัตรา (rate detemining step) คือขั้นที่ดำเนินไปช้าที่สุด &

2. ในขั้นที่ปฏิกิริยาดำเนินไป เริ่มต้นปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว เพราะปริมาณสารตั้งต้นยังมีมาก แต่ช่วงหลังอัตรา


การเกิดปฏิกิริยาจะช้าลง เพราะปริมาณสารตั้งต้นลดลง เช่นการเกิดปฏิกิริยาของลวดแมกนีเซียมกับกรด
ไฮโดรคลอริก
Mg(S) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g)
Mg (ถ้า Mg มีมากเกินพอ) HCl H2

เวลา เวลา เวลา


3. สารแต่ละตัวในสมการจะมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน เช่นปฏิกิริยา A + 2B 3C + 4D
ในที่นี้สาร B เกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าสาร A เขียนเป็นกราฟแสดงการเกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้
อัตราการเกิดปฏิกิริยา

A
B
เวลา
4. การหาอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา หาจากสารตัวใดก็ได้ดังเช่น
4.1 ถ้าเป็นของแข็งหาโดยการชั่งน้ำหนัก
4.2 ถ้าเป็นสารละลายหาความเข้มข้น
4.3 ถ้าเป็นแก๊สจะต้องหาโดยวัดปริมาตรหรือวัดความดัน
4
5. การหาอัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา หาจากสารตัวใดก็ได้ ผลลัพธ์จะเท่ากัน โดยใช้สูตรดังนี้

A + 3B 2C + 4D
*

อัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร = - RA =- 1 RB +=12 +1 =
RC
3 4
RD

อัตราการเกิดปฏิกิริยา (R) -
[A] = - 1 [B] += 1 [C] + 14 =[D]
t 3 t 2 t t

1) อัตราการสลายตัวของ N2O5 ในช่วงเวลา 0-100 วินาที...........................................................


2) อัตราการเกิด NO2 ในช่วงเวลา 0-100 วินาที .........................................................................
3) อัตราการเกิด O2 ในช่วงเวลา 0-100 วินาที ............................................................................
5
2 N2O5(g) 4 NO2(g) + O2
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = อัตราการสลายตัว N2O5 = อัตราการเกิดNO2 = อัตราการเกิด O2

สรุปในสมการที่ดุลแล้ว อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารต่าง ๆ จะเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณ


เป็นโมลหรือโมลาร์ของสารแต่ละชนิดหารด้วยสัมประสิทธิ์แสดงจำนวนโมลของสารนั้น ๆ

6. การคำนวณอัตราเร็วของปฏิกิริยา
6.1 คำนวณจากผลการทดลอง 6.2 คำนวณจากสมการเคมี
การคำนวณอัตราเร็วจากผลการทดลอง

Ex1 จากการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ระหว่าง Zn กับ HCl เป็นดังนี้


Zn + 2HCl ZnCl2 + H2

ปริมาตร H2 เวลา (s) 1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในช่วงเวลา 9-19 วินาที


(cm3) =...................................................................................................
0 0 2. จงคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในช่วงเวลา 19-31 วินาที
10 9 =...................................................................................................
20 19 3. จงคานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในช่วงเวลา 31-47 วินาที
30 31 =...................................................................................................
40 47 4. จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยที่วินาทีที่ 25
50 71
ปริ มาตร H2
=

=
x
x
y aX อัตราเร็ว =
y
25
& เวลา
6
Ex2 โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ได้ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่ STP ณ เวลาต่าง ๆ
ดังตาราง

เวลา (s) 10 20 30 40 50 60 70 80
ปริมาตร H2 (mL) 25 45 60 70 75 78 80 80
1. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาเคมีนี้

2. เขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร

3. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยา ในหน่วย
โมลต่อวินาที

4. คำนวณอัตราการลดลงของ HCl เฉลี่ย

5. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สกับเวลา

6. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เวลา 40 วินาที ในหน่วย โมลต่อวินาที


..........................................................................……………………………………………..
6
Ex2 โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ได้ปริมาตรแก๊สไฮโดรเจนที่ STP ณ เวลาต่าง ๆ
ดังตาราง

เวลา (s) 10 20 30 40 50 60 70 80
ปริมาตร H2 (mL) 25 45 60 70 75 78 80 80
1. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาเคมีนี้

2. เขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร

3. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ยตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยา ในหน่วย
โมลต่อวินาที

4. คำนวณอัตราการลดลงของ HCl เฉลี่ย

5. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สกับเวลา

6. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เวลา 40 วินาที ในหน่วย โมลต่อวินาที


..........................................................................……………………………………………..
7
Ex3 กำหนดให้ ปฏิกิริยาการเผาไหม้ระหว่างแก๊สมีเทน (CH4) กับแก๊สออกซิเจน (O2) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ ไอน้ำ (H2O) โดยมีอัตราการเผาไหม้เป็น 0.936 M s-1
1. เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น........................................................................................
................................................................................................................................................
2. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ ไอน้ำ
2.1 เขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร.............................................
................................................................................................................................................
2.2 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สมีเทน ..........................................................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
2.3 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สออกซิเจน ...................................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
2.4 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์....................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
2.5 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของไอน้ำ...................................................................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
Ex4 จากการทดลองครั้งหนึ่งมีสมการดังนี้ 2A 4B + C และได้ข้อมูลดังนี้
เวลา (s) [ C ] (mol/dm3)
400 1.5 x 10-2
800 2.0 x 10-2

อัตราการลดลงของ A เป็นกี่mol/dm3.s

คำนวณจากสมการเคมี
Ex1 จากสมการ 2 Mn2+ + 5IO4- + 3H2O 2MnO4- + 5IO3- +6H+
เมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที เกิด MnO4- 10-2 mol/l จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยเป็น mol/l.s
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
8
Ex2 เมื่อนำ Mg มา 5 กรัม ใส่ลงในสารละลาย HCl 2.5 mol/l จำนวน 100 cm3 หลังจากเวลาผ่านไป 50
วินาที ปรากฏว่าเหลือ Mg อยู่จำนวนหนึ่ง ส่วนกรดใช้หมดไปพอดี จงคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย
เป็น mol/s
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
Ex3 จากสารละลาย Na2S2O3 0.3 mol/l 10 cm3 ทำปฏิกิริยากับ HCl 0.2 mol/l 10 cm3 ใช้เวลาทั้งสิ้น 20 5
วินาที ปฏิกิริยาจึงสิ้นสุด จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย เมื่อคิดจากมวลของ S เป็นกรัม/วินาที กำหนด
สมการให้ดังนี้ S2O32- + 2 H+ H2O + SO2 + S
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
Ex4 เมื่อนำกรด H2C2O4 มาทำปฏิกิริยากับสารละลายด่างทับทิมแล้วบันทึก เวลาจนสีของ KMnO4 หายไปหมด
เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาดังนี้
5H2C2O4 + 2 MnO4- + 6H+ 2Mn2+ + 8H2O + 10CO2
ใช้เวลาทั้งสิ้น 300 วินาที ถ้าใฃ้กรด H2C2O4 เข้มข้น 0.05 mol/l 2 cm3 ผสมกับ KMnO4 0.005 mol/l 2
cm3 กับสารละลายกรด H2SO4 1.0 mol/l จำนวน 1 cm3 จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของปฏิกิริยานี้(mol/s)
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
แบบฝึกหัด
1. จงอธิบายว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาใดเวลาหนึ่งต่างกันอย่างไร
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยคือค่าที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นเริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยา
ต่อหนึ่งหน่วยเวลา(มีเพียงค่าเดียว)
อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ เวลาใดเวลาหนึ่งคือ ค่าที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของสาร ณ เวลาใดเวลา
หนึ่ง ขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินอยู่ (มีได้หลายค่า)
2. ในการศึกษาการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ ควรติดตามการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารใด พร้อม
ทั้งให้เหตุผล
2.1 CH3COCH3(aq) + I2(aq) CH3COCH2I(aq) + HI(aq)
ไม่มีสี สีน้ำตาลแดง ไม่มีสี ไม่มีสี
..............................................................................................................................................................
2.2 CaCO3(s) + 2HCl(aq) CO2(g) + CaCl2(aq)
..................................................................................................................................................... .........
9
2.3 S 2O 3 2-(aq) + 2H+(aq) S(s) + H2SO4(aq)
..............................................................................................................................................................
3. สาร X ทำปฏิกิริยากับสาร Y เกิดเป็นสาร Z จากการทดลองพบว่าอัตราการลดลงของสาร X เท่ากับ 1/3
ของอัตราการลดลงของสาร Y และเท่ากับ ½ ของอัตราการเพิ่มขึ้นของสาร Z จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยา
ที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................
4. ถ้าสาร P ทำปฏิกิริยากับสาร Q เกิดผลิตภัณฑ์เป็นสาร W จากการทดลองพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เป็น ½ เท่าของอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร P และเป็น ¼ เท่าของอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ของสาร Q และเป็น 1/3 เท่าของอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร W จงเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยา
ที่เกิดขึ้น

5. จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีหนึ่งพบว่า ½ เท่าของอัตราการลดลงของสาร A เท่ากับ 2 เท่า


ของอัตราการลดลงของสาร B เท่ากับ 1/3 เท่าของอัตราการเพิ่มขึ้นของสาร C จงเขียนสมการแสดง
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

6. กำหนดให้ปฏิกิริยาเคมีหนึ่ง มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเท่ากับ อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารตั้ง


ต้น A เท่ากับ 3/2 เท่าของอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารตั้งต้น B เท่ากับ 2 เท่าของอัตราการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณของผลิตภัณฑ์ C จงเขียนสมการเคมีและหาว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร B
เป็นกี่เท่าของสาร C
เขียนสมการเคมี

อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร B เป็นกี่เท่าของสาร C
10
7. สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C เมื่อวัดความเข้มข้นของสาร A ขณะเกิดปฏิกิริยาได้ผลดังตาราง

7.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 0 - 20 วินาที.......................................................................

อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 40-60 วินาที......................................................................

อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 80-100 วินาที.....................................................................

7.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย......................................................................................................

8. CH3OH ทำปฏิกิริยากับ HCl เกิดเป็น CH3Cl กับ H2O เมื่อวัดความเข้มข้นของ HCl ในขณะเกิดปฏิกิริยา
ได้ผลดังแสดงในตารางต่อไปนี้
เวลา (s) ความเข้มข้นของ HCl (mol/dm3)
0 1.85
80 1.66
159 1.53
314 1.31
628 1.02
8.1 สมการแสดงปฏิกิริยานี้.................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
8.2 จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาในแต่ละช่วงเวลา และอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย

อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 0-80...................................................................................
อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 80-159...............................................................................

อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 159-314.............................................................................
อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 314-628.............................................................................

8.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย......................................................................................................
11
9. จากการทดลองศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2A + B C
โดยวัดความเข้มข้นของสาร A ได้ผลดังนี้

เวลา (s) 0.0 5.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0


[ A ] (M) 1.00 0.64 0.44 0.27 0.22 0.22 0.22
1. เขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร

2. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร A ในช่วงเวลาต่อไปนี้
ช่วงเวลา 0.00-5.0 วินาที

ช่วงเวลา 5.0-10.0 วินาที

ช่วงเวลา 10.0-20.0 วินาที

เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร A ในช่วงเวลาดังกล่าว

2. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร A ในช่วงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี

3. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร C ในช่วงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี

4. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย ในช่วงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี

6. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสาร A กับเวลา และหาอัตราการ


เกิดปฏิกิริยาเคมีที่เวลา 11 วินาที
12
10. จากการทดลองเผาสารในภาชนะปิด 2 ใบ ที่อุณหภูมิเดียวกัน มีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังสมการและได้ผลการ
ทดลองดังนี้
ก. 2A2(g) + B2(g) 2A2B(g) ข. 2X2(g) + Y2(g) 2X2Y(g)
ภาชนะ ก. ภาชนะ ข.
เวลา (s) A2 (mol) B2 (mol) A2B (mol) เวลา (s) X2 (mol) Y2 (mol) X2Y (mol)
0 2.0 1.0 0 0 2.0 1.0 0
10 1.6 0.8 0.4 10 1.4 0.7 0.6
20 1.2 0.6 0.8 20 0.8 0.4 1.2
30 0.8 0.4 1.2 30 0.6 0.3 1.4
40 0.6 0.3 1.4 40 0.4 0.2 1.6
50 0.2 0.1 1.8 50 0.2 0.1 1.8
60 0.2 0.1 1.8 60 0.2 0.1 1.8

ถ้าภาชนะทั้ง 2 ใบมีขนาดจุ 1 dm3 เท่ากัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาในภาชนะทั้ง 2 ใบ ต่างกันหรือไม่อย่างไร


จงอธิบาย
10.1 ภาชนะ ก. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 0-40.................................................................
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย....................................................................................

10.2 ภาชนะ ข. อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 0-40.................................................................


อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย....................................................................................

10.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยาในช่วงเวลา 0-40


ในภาชนะ…….......จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา..................................ในภาชนะ....................
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยในภาชนะ ก.............................................................ภาชนะ ข.
11. ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) สลายตัวด้วยความร้อน ดังสมการ
2 NO2(g) 2NO(g) + O2(g)

เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยามี NO2 อยู่ 0.1103 mol/dm3 หลังจากเกิดปฏิกิริยา 60 วินาที NO2 ลดลงเหลือ 0.1076
mol/dm3 จงหาอัตราการสลายตัวและการเกิดสารในปฏิกิริยา
อัตราการสลายตัวของ NO2 =.............................................................................................................
อัตราการเกิดก๊าซ NO = ......................................................................................................................
อัตราการเกิดก๊าซ O2 = .....................................................................................................................

อัตราการเกิดปฏิกิริยา = .....................................................................................................................
13
12. OC
ที่อุณหภูมิ 25 สารละลายโบรมีนทำปฏิกิริยากับกรดฟอร์มิก ดังสมการ
Br2(aq) + HCOOH(aq) 2Br- (aq) + 2H+(aq) +CO2(g)
เมื่อวัดความเข้มข้นของสารละลายโบรมีนได้ผลดังตาราง
เวลา (s) ความเข้มข้นของสารละลาย Br2 (mol/dm3)
0 0.0120
50 0.0101
100 0.0084
150 0.0071
200 0.0059

12.1 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารละลายโบรมีนกับเวลา

12.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายโบรมีนกับกรดฟอร์มิกในแต่ละช่วงเวลา

12.3 อัตราการเกิดปฏิกิริยา ณ วินาที ที่ 100

13. สาร A สลายตัวเป็น B ดังสมการ 3A 5B เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยามีสาร A 3.00 โมลาร์


เมื่อเวลาผ่านไป 30.0 นาที มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ เท่ากับ 0.0150 โมลาร์ต่อนาที สาร A และ
สาร B จะมีความเข้มข้นเท่าไร

8. ถ้าต้องการวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยา 1 ถึง 4 ด้วยวิธีการ A ถึง D (Ent’24)


A. วัดการเปลี่ยนความดัน
1. Cl2(g) + 2Br-(aq) Br2(l) + 2Cl-(aq) B. วัดการเปลี่ยน pH
2. I2(s) + 2S2O32-(aq) 2I-(aq) + S4O62-(aq) C. ดูสีที่หายไป
3. 3H2(g) + N2(g) 2NH3 D. ดูสีที่เพิ่มขึ้น
4. CO2(g) + H2O(l) HCO3-(aq) + H+(aq)
1. D, C, A, B 2. D, A, C, B 3. D, C, B, A 4. D, B, A, C
14
9. กราฟแสดงการเกิดก๊าซไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาระหว่างสังกะสีกับสารละลายกรดซัลฟิวริกเจือจาง เป็นดังนี้
ปริมาตรของก๊าซ H2 (cm3)
จากกราฟ ช่วงเวลาใดปฏิกิริยาเกิดช้าที่สุด
1. 2-4 นาที 2. 6-8 นาที
3. 10-12 นาที 4. 18-20 นาที
เวลา (s)

10. ในการทดลองวัดปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะอะลูมิเนียมกับสารละลายกรด
ไฮโดรคลอริก โดยจับเวลาที่เก็บแก๊สได้ทุกๆ 1 cm3 นำข้อมูลมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา แล้วหาค่าความชัน ณ เวลา 50 100 150 200 และ 300 วินาที ถ้าผล
การทดลองถูกต้อง ความชันของกราฟ ณ เวลาใดสูงที่สุด (Ent38)
1. 50 วินาที 2. 150 วินาที 3. 200 วินาที 4. 300 วินาที
11. เมื่อปล่อยให้เกิดปฏิกิริยาไปเรื่อย ๆ จนแมกนีเซียมถูกใช้ในปฏิกิริยาหมดไป ถ้านำเอามวลของแมกนีเซียมมา
เขียน กราฟสัมพันธ์กับเวลา จะได้กราฟมีรูปลักษณะอย่างไร
1. มวลของ Mg 2. มวลของ Mg 3. มวลของ Mg 4. มวลของ Mg

เวลา เวลา เวลา เวลา

12. สำหรับปฏิกิริยา 2H2O2 (aq) 2H2O(l) + O2(g) ซึ่งเกิดขึ้นในระบบปิด อัตราการสลายตัว


ของ H2O2 (วัดจากปริมาตรของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น) เปลี่ยนไปตามเวลาดังรูปใด (Ent’25)
1. ปริมาณ O2 2. ปริมาณ O2 3. ปริมาณ O2 4. ปริมาณ O2

เวลา เวลา เวลา เวลา

13. กราฟในข้อใดที่จะแทนความสัมพันธ์ระหว่าง Y (ความเข้มข้นของ HI) กับ X (เวลาที่ปฏิกิริยาดำเนินไปของ


ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2HI(g) (Ent’26)
Y B 1. A
C 2. B
D 3. C
A เวลา 4. D
15
14. เมื่อใส่กรดไนตริกกับชิ้นคัลเซียมคาร์บอเนต จำนวนมากลงในขวดรูปกรวย แล้วรีบปิดจุกที่เสียบหลอดบรรจุ
สารดูดความชื้นไว้ทันที นำขวดนี้ไปชั่ง แล้วรีบบันทึกมวลไวโดยเร็ว ต่อไปชั่งมวลของขวดนี้ทุก ๆ 30 วินาที แล้วนำ
มวลต่าง ๆ ที่ได้ไปเขียนกราฟ จะได้กราฟรูปใด (Ent’22)
มวล
สารดูดความชื้น A
B
1. A 2. B 3. C 4. D C
D เวลา

15. จากการทดลองให้โลหะแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกได้ข้อสรุปว่า อัตราการเกิดไฮโดรเจน


ตอนเริ่มต้นเร็ว และค่อย ๆ ช้าลงตามลำดับ กราฟข้อใดมีความหมายขัดแย้งกับข้อสรุปนี้

1. อัตรา 2. อัตรา 3. ปริมาตรของ H2 4. มวล Mg

ผลิตภัณ สารตัง้ ต้น เวลา เวลา


ฑ์
16. ในปฏิกิริยา Mg(s) + 2HCl(aq) MgCl2(aq) + H2(g) พบว่าเมื่อปฏิกิริยาใกล้จะสิ้นสุดนั้น
อัตราการเกิดก๊าซไฮโดรเจนจะลดลง ทั้งนี้เพราะเหตุใด (Ent’26)
1. ผลิตภัณฑ์รวมตัวกลับไปเป็นสารตั้งต้นมากขึ้น
2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง
3. อุณหภูมิของของผสมจะลดลงเนื่องจากพลังงานถูกใช้ไป
4. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทำหน้าที่เป็นตัวขัดขวางปฏิกิริยา

17. จากการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกได้ผลดังตาราง


(Onet 49)
เวลา (นาที) มวลของโลหะแมกนีเซียม อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลีย่ ในช่วง 1-4 นาที มีค่าเท่าใด
(g) ในหน่วยกรัมต่อนาที
0 0.50 .........................………………………………………………………
1 0.45 .........................………………………………………………………
2 0.41 .........................………………………………………………………
3 0.38 .........................………………………………………………………
4 0.36 .........................………………………………………………………
5 0.35
6 0.35
16
18. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างลวดแมกนีเซียมกับสารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นดังสมการ
Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq) + H2(g) บันทึกเวลาในการเกิดแก๊ส H2 เริ่มต้น
จนถึงปริมาตร 5 cm3 ดังตาราง จากข้อมูลในตาราง ข้อใดถูก (Onet 50)
ปริมาตร H2 ที่เกิด(cm3) เวลาที่ใช้ (s) ข้อ อัตราการเกิดปฏิกิริยา (cm3/s)
1 4 อัตราเฉลีย่ อัตราช่วงเกิดแก๊สH2 ปริมาตร 3-5 cm3
2 6 1. 0.6 0.18
3 9 2. 0.25 0.18
4 14 3. 0.50 0.25
5 20 4. 0.25 0.27

คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 19-20


จากผลการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกได้ผลดังต่อไปนี้
ปริมาตร H2 (cm3) เวลา (s)
19. อัตราการเกิดของก๊าซไฮโดรเจนทีป่ ริมาตร
1 20
ระหว่าง 4-5 cm3 มีค่ากี่ cm3/s
2 40
3 70
1. 1/20 2. 1/90
4 90 3. 1/110 4. 5/320
5 110

20. อัตราเฉลี่ยของการเกิด H2 มีค่าเท่ากับ 1 mol/s อัตราการใช้ HCl เป็นกี่ mol/s


64 x 22.4 x 103
1. 1 2. 1 3. 1 4. 1
128 x 22.4 x 103 64 x 22.4 x 103 32 x 22.4 x 103 16 x 22.4 x 103

21. ก๊าซ NO2 สลายตัวตามสมการ 2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) ถ้าอัตราการสลายตัวของ


NO2(g) เท่ากับ 4.4 x 10-5 mol/dm3. s อัตราการเกิด O2(g) จะเป็นเท่าใดในหน่วย mol/dm3 .s

1. 1.8 x 10-5 2. 2.2 x 10-5 3. 4.4 x 10-5 4. 8.8 x 10-5

22. ก๊าซ N2O5 สลายตัวตามสมการ 2 N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) ถ้าอัตราการสลายตัวของ N2O5


มีค่าคงที่เท่ากับ 1.8 x 10-5 mol/s เมื่อเวลาผ่านไป 5 วินาที ข้อสรุปใดถูก (Ent’46)
1. เกิด NO2 = 9.0 x 10-5 mol 2. เกิด NO2 = 4.5 x 10-5 mol
3. เกิด O2 = 18 x 10-5 mol 4. เกิด O2 = 4.5 x 10-5 mol
17
23. ก๊าซ AB2 สลายตัวได้ตามสมการ (Ent’40) 2AB2 (g) 2 AB(g) + B2(g)
ถ้าอัตราการสลายตัวของ AB2 เท่ากับ k1 mol. Dm-3 s-1 อัตราการเกิด B2 จะเป็นเท่าใด
1. k1 2. k1 3. k1 4. 2k1
4 2
24. ไดไนโตรเจนเพนทอกไซด์เป็นของแข็งไอออนิกไม่มีสี [NO2]+ [NO3] – เมื่อให้ความร้อนที่ 32 OC 1 atm จะ
ได้แก๊ส N2O5 ซึ่งจะสลายต่อไปเป็นเป็นแก๊สสีน้ำตาลของไนโตรเจนไดออกไซด์และออกซิเจน ดังสมการ
[NO2]+ [NO3] – (s) N2O5(g)
2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) ข้อสรุปใดผิด (Ent’44)
1. อัตราการเกิด NO2 เท่ากับ 4 เท่าของอัตราการเกิด O2
2. อัตราการเกิด NO2 เท่ากับ 2 เท่าของอัตราการสลาย N2O5
3. อัตราการเกิด O2 เท่ากับ 1/4 เท่าของอัตราการเกิด NO2
4. อัตราการเกิด O2 เท่ากับ 2 เท่าของอัตราการสลาย N2O5
25. เมื่อแก๊ส N2O5 สลายตัวดังปฏิกิริยา 2 N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) ความเข้มข้นของ N2O5
เปลี่ยนแปลงตามเวลาดังนี้
ความเข้มข้นของแก๊ส NO2 ควรเปลี่ยนแปลง
ตามเวลาดังกราฟรูปใด (Ent’26)

26. จากสมการ 2N2O5(g) 4NO2(g) + O2(g) การสลายตัวของ N2O5 มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น ดังนี้


เวลา ความเข้มข้นของ ถ้าอัตราการสลายตัวเฉลีย่ ของ N2O5 เป็ น 1.9 x 10-3
(s) N2O5(mol/dm ) 3
mol/dm3.s ข้อใดเป็ นค่าของ X (mol/dm3) และอัตราการเกิด
0 X ของ O2 (mol/dm3.s) ในช่วงเวลา 0 - 500 วินาที (Ent’38)
500 3.5 1. 5.0, 1.2 x 10-3 2. 5.0, 1.5 x 10-3
1000 2.5 3. 6.0, 2.5 x 10-3 4. 8.8, 3.5 x 10-3
1500 1.8
2000 1.2
27. พิจารณาสมการ A + 3B 5C + 4D นำสาร A 1โมล ทำปฏิกิริยากับสาร B 3 โมล
ในสารละลาย 1 ลิตร เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที พบว่ามี C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ B
ในช่วงเวลา 0 ถึง 10 วินาที เป็นกี่โมลต่อวินาที (Ent’ต.ค.41)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
18
28. สาร A และ B ทำปฏิกิริยากันดังสมการ A(aq) + B(aq) 2C(aq) เมื่อใช้สารละลาย A เข้มข้น
0.2 mol/l จำนวน 3 cm3 ผสมกับสารละลาย B เข้มข้น 0.2 mol/l จำนวน 3 cm3 แล้วจับเวลาทันทีที่สารละลาย
ผสมกันหลังจาก เวลาผ่านไป 10 วินาที นำสารละลายไปวิเคราะห์หาจำนวนโมลของสาร C ทันที ปรากฏว่ามีสาร C
เกิดขึ้น 2.3 x 104 mol อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด (Ent’28)
1. ระยะทางที่ระดับสารละลายลดลงใน 1 วินาที
2. ความเข้มข้นของสาร C ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยา / เวลา = 0.23 x 10-4 mol/l.s
3. ความเข้มข้นของสาร A ที่ลดลงเนื่องจากปฏิกิริยา / เวลา = 0.38 x 10-4 mol/l.s
4. อัตราการลดลงของสาร A ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.19 x 10-2 mol/l.s
29. ปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ เกิดได้พร้อม ๆ กัน A 2B
A C
โดยมีอัตราการเกิดสาร B เป็น 0.6 mol/s และสาร C เป็น 0.2 mol/s เมื่อนำสารตั้งต้นมา 5.00 mol ต้อง
ใช้เวลากี่วินาทีจึงจะเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ เมื่อถือว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยามี่ค่าคงที่ตลอดการทดลอง (Ent’38)

30. ถ้าอัตราการสลายตัวของสาร A ไปเป็นสาร P เกิดโดยมีขั้นตอนเดียว และจัดเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐาน


อย่างง่าย A P และความเข้มข้นของ A ขณะปฏิกิริยาดำเนินไปเป็นดังนี้
เวลา (A) mol/dm3
อัตราการเกิดปฏิกิริยาทีว่ นิ าทีท่ี 100 เป็ นเท่าใด (Ent’29)
0 1.00
1. 0.0048 mol/dm3 . s
50 0.61
2. 0.0030 mol/dm3 . s
100 0.37
3. มากกว่า 0.0033 แต่นอ้ ยกว่า 0.0048 mol/dm3 . s
150 0.22 4. เท่ากับอัตราเริ่มต้นของปฏิกิริยา คือ 0.0078 mol/dm3.s

31. ในการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่างโลหะสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริกเจือจางที่อุณหภูมิห้อง 2
ครั้ง โดยใช้อุปกรณ์ และสารละลายเหมือน ๆ กัน แต่บันทึกผลต่างกันดังนี้
การทดลองที่ 1 บันทึกเวลาที่ก๊าซเกิดขึ้นได้ปริมาตร 1,2,3 ...cm3
การทดลองที่ 2 บันทึกปริมาตรของก๊าซเมื่อปฏิกิริยาดำเนินไปได้ 0.5, 1, 1.5, 2 ... นาที
หลังจาก 10 นาทีจึงหยุดการทดลอง แล้วคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยา จุดแรกที่บันทึกผลทั้ง 2 การทดลองมีค่าไม่เท่ากัน
2. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของก๊าซกับเวลาที่ได้จากผลการทดลองทั้งสองครั้งมี
ลักษณะเหมือนกัน
3. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้สูงขึ้นเป็น 40 OC ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วขึ้นประมาณ 2 เท่า
4. ก๊าซที่เกิดขึ้น จะเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วในช่วงต้น และจะเพิ่มอย่างช้า ๆ ในภายหลัง
ข้อใดเป็นการสรุปผลการทดลองที่ผิด หรือไม่ใช่ ข้อสรุปจากการทดลองนี้ (Ent’37)
1. (1) และ (3) 2. (3) และ (4) 3. (1) เท่านั้น 4. (3) เท่านั้น
19
แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถอธิบายได้โดยทฤษฎีการชน และทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น
ทฤษฎีการชน (Colliision Theory) อธิบายว่า ปฏิกิรยิ าเคมีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นซึ่งอาจ
เป็นโมเลกุล อะตอม หรือไอออน จะต้องชนกัน แต่การชนกันของอนุภาคไม่สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ทุกครั้ง
การชนกันของอนุภาคของสารตั้งต้นจะเกิดปฏิกิริยาได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้
1. ทิศทางการชนของอนุภาค อนุภาคของสารตั้งต้นต้องชนกันในทิศทางที่เหมาะสม เช่น
H2O + CO H2 + CO2

2. พลังงานจลน์ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกัน อนุภาคของสารตั้งต้นเมื่อชนกันแล้วจะเกิดปฏิกิริยาได้ต่อเมื่ออนุภาคที่
ชนกัน
จะต้องเคลื่อนที่เร็วหรือมีพลังงานจลน์สูง คือเมื่อชนกันแล้วพลังงานที่ได้จากการชนจะต้องสูงพอที่ทำให้เกิดการ
สลายพันธะในสารตั้งตนแล้วมีการสร้างพันธะใหม่เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ แสดงว่าการชนเป็นผลสำเร็จ หรือ
เกิดปฏิกิริยาเคมีนั่นเอง พลังงานจำนวนน้อยที่สุดที่ได้จากการชนกันแล้วทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี เรียกกว่า
พลังงานกระตุ้น หรือ พลังงานก่อกัมมันต์ (Ea)

พลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy, Ea)


คือพลังงานจำนวนน้อยที่สุดที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
ลักษณะของพลังงานก่อกัมมันต์
1. ปฏิกิริยาเคมีต่างกัน พลังงานก่อกัมมันต์ก็ต่างกัน
2. พลังงานก่อกัมมันต์เป็นพลังงานศักย์ มีหน่วยเป็น kJ/mol, kcal/mol เป็นค่าที่คำนวณได้จากการ
ทดลอง
3. ปฏิกิริยาที่มี Ea ต่ำ ปฏิกิริยาจะเกิดง่ายกว่าปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์สูง
4. พลังงานก่อกัมมันต์เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา กล่าวคือ ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่ำ
ปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็ว
5. พลังงานก่อกัมมันต์ไม่เกี่ยวข้องกับพลังงานของปฏิกิริยา
·

&+D
& ------- ciner
·

$
+>>
ด เ น
การ

นิ
21
แบบฝึกหัด
1. จงแสดงการจัดตัวของโมเลกุลและทิศทางการชนกันในปฏิกิริยาต่อไปนี้
1.1 NO2(g) + CO(g) NO(g) + CO2(g)
1.2 HI(g) + HI(g) H2(g) + I2(g)

2. ปฏิกิริยาในข้อใดที่ชนถูกทิศทาง กำหนดให้

3. พลังงานก่อกัมมันต์คืออะไร
1. พลังงานที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้ 2. พลังงานที่ระบบคายออกมา
3. ผลต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ 4. พลังงานที่ระบบดูดเข้าไป
4. สาร A อาจเกิดปฏิกิริยาสลายตัว ณ อุณหภูมิห้องได้ 2 วิธี คือ (Ent’30)

A E1 ผลิตภัณฑ์ (1) ………1 A E2 ผลิตภัณฑ์ (2) ……….2

E1 และ E2 เป็นพลังงานกระตุ้น ถ้า E1 = 3/2 E2 ข้อสรุปในข้อใดถูกต้อง และใช้ข้อมูลที่กำหนดให้มาก


ที่สุด
1. ที่อุณหภูมิห้อง ปฏิกิริยา (2) จะเกิดเร็วกว่าปฏิกิริยา (1)
2. ปฏิกิริยาทั้งสองจะเกิดเร็วขึ้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิ
3. ผลิตภัณฑ์ (1) เสถียรกว่าผลิตภัณฑ์ (2)
4. เมื่อ A สลายตัวไประยะหนึ่ง อัตราการเกิดปฏิกิริยาทั้งสองจะลดลง
5. ตามทฤษฎีการชนกันของโมเลกุล และทฤษฎีจลน์ของก๊าซ ข้อใดที่เป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยารวม
(Ent’24)
1. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปช้าที่สุด 2. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปเร็วที่สุด
3. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นแรก 4. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นสุดท้าย

พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาเคมีสามารถแบ่งตามการเปลี่ยนแปลงพลังงานออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ปฏิกิริยาดูดพลังงานหรือปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothemic reaction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเท
พลังงานจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบ ดังนั้นสารผลิตภัณฑ์จะมีพลังงานสูงกว่าสารตั้งต้น
2. ปฏิกิริยาคายพลังงานหรือปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothemic reaction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเท
พลังงานจากระบบไปสู่สิ่งแวดล้อม ดังนั้นในปฏิกิริยาสารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าสารผลิตภัณฑ์
20
จำนวนโมเลกุล จำนวนโมเลกุล
จำนวนโมเลกุลที่เกิด จำนวนโมเลกุลที่เกิด
ปฏิกิริยาได้ ปฏิกิริยาได้

&

Ea พลังงาน Ea พลังงาน
ทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น (Activated Complex Theory)
มีอีกชื่อหนึ่งว่า ทฤษฎีภาวะแทรนซิชัน (Transition State Theory) ทฤษฎีนี้อธิบายว่า เมื่อสารเข้าทำ
ปฏิกิริยากัน อนุภาคของสารตั้งต้นเมื่อชนกันจะถูกกระทบกระเทือนทำให้พันธะ
เคมีของสารตั้งต้นอ่อนลงและยืดยาวออกไปกว่าเดิม

·1... Good
และเริ่มมีพันธะอย่างอ่อนเกิดขึ้นระหว่างคู่อะตอมที่
เหมาะสม ซึ่งขณะนี้สารตั้งต้นจะรวมตัวกันเป็นสาร
ชนิดหนึ่งที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานของสารตั้งต้น
และสารผลิตภัณฑ์ เรียกสารนี้ว่า ↓
สารเชิงซ้อนกัมมันต์ (Activated Complex) เป็น
สารที่ไม่อยู่ตัว มีอายุสั้น พร้อมที่จะเปลี่ยนเป็นสาร 4 . 0
/
ผลิตภัณฑ์ หรือกลับคืนมาเป็นสารตั้งต้นก็ได้ เมื่อ
สารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้นสลายตัวเป็นสารผลิตภัณฑ์
พันธะเก่าจะถูกทำลายโดยสิ้นเชิง พันธะใหม่จะถูก
สร้างขึ้นมาแทนที่ เนื่องจากสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น
อยู่ในสภาวะไม่เสถียรและมีพลังงานสูงมาก จึงนิยม
เรียกสภาวะนี้ว่า สภาวะแทรนซิชัน
(Transition State)
จากทฤษฎีการชน ทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น และค่าพลังงานก่อกัมมันต์ สามารถสรุปได้ว่า อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่กับ
1. ความถี่ในการชนกันของอนุภาค ถ้ามีความถี่สูงกว่าปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว
2. จำนวนอนุภาคที่มีพลังงานสูง ถ้าจำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงมีมากปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว ถ้ามีน้อย
เกิดช้า
3. ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ (Ea) ถ้า Ea น้อยปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว Ea มากปฏิกิริยาจะเกิดช้า
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะสูงหรือต่ำขึ้นอยู่กับ
1. ความถี่ในการชน
2. จำนวนอนุภาคที่มีพลังงานสูง
3. Ea
22

/ E
-3

การดำเนินไปของปฏิกิริยาที่มีหลายขั้นตอน
พลังงาน

การดาเนินไปของปฏิกิริยา

ปฏิกิริยาไปข้างหน้า ปฏิกิริยาย้อนกลับ
1.ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยา………………………… 1. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยา…………………………
2.ปฏิกิริยานี้มี 4 ขั้นตอน…………………………… 2. ปฏิกิริยานี้มี 4 ขั้นตอน………………………
ขั้นตอนที่ 1………………………………………… ขั้นตอนที่ 1………………………………………
ขั้นตอนที่ 2……………………………………… ขั้นตอนที่ 2……………………………………….
ขั้นตอนที่ 3………………………………………… ขั้นตอนที่3………………………………………
ขั้นตอนที่ 4………………………………………. ขั้นตอนที่ 4………………………………………
3.ขั้นกำหนดหรือขั้นควบคุมปฏิกิริยาคือขั้นที่………… 3. ขั้นกำหนดหรือขั้นควบคุมปฏิกิริยาคือขั้นที่…….…
เพราะ………………………………………… เพราะ…………………………………………………
4.เรียงลำดับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วไปช้า 4. เรียงลำดับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วไปช้า
ได้ดังนี้…………………………………………… ได้ดังนี้……………………………………………

1. จากปฏิกิริยาข้างหน้าขัน้ ที่ 1 มีค่า Ea =……………………..


2. จากปฏิกิริยาย้อนกลับขัน้ ที่ 2 มีค่า Ea =………………….

3. ขั้นที่ควบคุมอัตราเร็วของปฏิกิริยาไปข้างหน้าคือขั้นที่…...และขั้นนี้เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อนเท่าใด…….
4. ปฏิกิริยานี้ดูดหรือคายความร้อนเท่าใด…………………………………………………………
23
แบบฝึกหัด
1. พิจารณารูปแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสองปฏิกิริยาในสถานะแก๊สต่อไปนี้

ก. ปฏิกิริยาใดเกิดด้วยอัตราเร็วสูงกว่ากัน...............เพราะ..........................................................................
ข. ปฏิกิริยาทั้งสองเป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายพลังงาน..........................ทราบได้อย่างไร......................................
2. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A(g) + B(g) C(s) มีลักษณะดังนี้
พลังงาน (kJ)

x 1. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยามีค่าเท่ากับ……

2 .ปฏิกิริยานี้เป็นแบบดูดหรือคายพลังงาน

3. การเปรียบเทียบอัตราเร็วของปฏิกิริยา

1. รูปที่ 1 เป็นปฏิกิริยา……………..…รูปที่ 2 เป็นปฏิกิริยา………………………………


2. รูปใดเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่ากัน……………..……………………………..เพราะ……………………………………
3. รูปใดได้ผลิตภัณฑ์ที่เสถียรกว่ากัน…………………………………………เพราะ……………………………………
4. ปฏิกิริยาชนิดหนึ่งมีพลังงานกระตุ้น 150 kJ และคายพลังงานเท่ากับ 100 kJ กราฟใดต่อไปนี้จะแสดงการ
ดำเนินไปของปฏิกิริยาได้ดีที่สุด (Ent’30)
1624
5. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานขอปฏิกิริยา A(g) + B(g) C(s) มีลักษณะดังนี้

ข้อใดถูกต้อง 1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน = 15 kJ พลังงานสารตั้งต้น = 10 kJ


2. ปฏิกิริยาคายความร้อน = 15 kJ พลังงานสารตั้งต้น = 5 kJ
3. ปฏิกิริยาดูดความร้อน = 20 kJ พลังงานผลิตภัณฑ์ = 15 kJ
4. ปฏิกิริยาคายความร้อน = 20 kJ พลังงานผลิตภัณฑ์ = 20 kJ
6. จากปฏิกิริยาคายความร้อน 2 ปฏิกิริยาต่อไปนี้
1. AC + D2 AD + CD 2. G 2 + H2 2GH
ปฏิกิริยาที่ 1 มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ และพลังงานของปฏิกิริยาสูงกว่าของปฏิกิริยาที่ 2 กราฟแสดงการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาทั้ง 2 จะเป็นอย่างไร

7. ถ้ากราฟระหว่างพลังงานและการดำเนินไปของปฏิกิริยา (ก) (ข) เป็นดังแสดง

ข้อความเกี่ยวกับปฏิกิริยาทั้งสองนี้ ข้อใดผิด (Ent’26)


1. ปฏิกิริยา (ก) เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน ส่วนปฏิกิริยา (ข) เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
2. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา (ก) จะเป็นครึ่งหนึ่งของพลังงานกระตุ้นปฏิกิริยา (ข)
3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยา (ก) จะเสถียรมากกว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยา (ข)
4. กราฟทั้งสองไม่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราของปฏิกิริยาเลย
25
คำชี้แจง ใช้กราฟและข้อความต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อ 8-10
สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C และกราฟต่อไปนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานของสารตั้งต้น
พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาและพลังงานของสารใหม่
8. กราฟช่วงใดแสดงค่าพลังงานกระตุน้ ของ
พลังงาน •P ปฏิกิริยานี้
1. RS 2. QR
X
•Q 3. PQ 4. PR
•R
Y
S

9. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. พลังงานของสาร A สูงกว่า สาร B และสูงกว่าสาร C
2. 2. พลังงานของสาร A สูงกว่าสาร B และต่ำกว่าสาร C
3. พลังงานของสาร A และสาร B สูงกว่าสาร C
4. พลังงานของสาร A และสาร B ต่ำกว่าสาร C
10. ถ้าใส่คะตะไลส์ลงไปด้วย กราฟแต่ละส่วนจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
1. จุด X และจุด Y คงที่ จุด P สูงกว่าเดิม 2. จุด X และจุด Y คงที่ จุด P ลดต่ำลง
3. ทั้งจุด X และ จุด Y และจุด P ลดต่ำลง 4.ทั้งจุด X และ จุด Y และจุด P สูงกว่าเดิม
11. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา ก และ ข เป็นดังนี้ (Ent’27)

ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ปฏิกิริยา ก เกิดเร็วกว่า เพราะเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
2. ปฏิกิริยา ข เกิดเร็วกว่า เพราะเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
3. ปฏิกิรยิ าทั้งสองเกิดด้วยอัตราเร็วเท่ากันถึงแม้ว่า ก จะเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน และ ข เป็น
ปฏิกิริยาดูดความร้อน
4. ปฏิกิริยาทั้งสองเกิดด้วยอัตราเร็วเท่ากัน เพราะพลังงานที่เปลี่ยนไปของปฏิกิริยาเท่ากัน
12. ข้อสรุปเกี่ยวกับปฏิกิริยา A และปฏิกิริยา B จากกราฟนี้ ข้อใดถูกต้อง (Ent'37)
26
1. อัตราของปฏิกิริยา A เร็วกว่าอัตราของปฏิกิริยา B เพราะปฏิกิริยา A เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
2. อัตราของปฏิกิริยา B เร็วกว่าอัตราของปฏิกิริยา A เพราะปฏิกิริยา B เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน 18
3. อัตราของปฏิกิริยา A เร็วกว่าอัตราของปฏิกิริยา B เพราะพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A น้อย
กว่าของปฏิกิริยา B
4. อัตราของปฏิกิริยา B เร็วกว่าอัตราของปฏิกิริยา A เพราะพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา B สูงกว่า
ของปฏิกิริยา A
13. ข้อสรุปเกี่ยวกับปฏิกิริยา A และปฏิกิริยา B จากกราฟนี้ข้อใดถูกต้อง (Ent’36)
1. ปฏิกิริยา A เกิดยากกว่าปฏิกิริยา B เพราะ
พลังงาน
ปฏิกิริยา A มีพลังงานกระตุ้นสูงกว่า
2. ปฏิกิริยา B เกิดยากกว่าปฏิกิริยา A เพราะ
ปฏิกิริยา B เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
3. ที่อุณหภูมิเดียวกัน ปฏิกิริยา B เกิดเร็วกว่า
ปฏิกิริยา A
การดาเนินไปของปฏิกิริยา
4. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ พลังงานกระตุ้นของทั้งสองปฏิกิริยาจะสูงขึ้นมาก
14. ถ้าปฏิกิริยา A+B C + D เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน และมีค่า E = +30 kJ/mol ปฏิกิริยา
นี้มีพลังงานกระตุ้น (Ea) เป็นเท่าไร (Ent’29)
1. - 30 kJ/mol 2.น้อยกว่า + 30 kJ/mol 3. มากกว่า + 30 kJ/mol
4. อาจมากกว่า +30 kJ/mol หรือน้อยกว่า 30 kJ/mol และสามารถหาได้จากการทดลองเท่านั้น
15. กราฟที่แสดงต่อไปนี้เป็นของปฏิกิริยา (Ent’26)ข้อความใดถูกต้อง CO(g) +NO2(g) CO2(g+ NO(g)
1. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับ = ( X + Y) 2. ปฏิกิริยาย้อนกลับคายพลังงาน = X
3. ปฏิกิริยาไปข้างหน้าเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
4. อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า = อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
16. จากรูปข้างล่างนี้อัตราการเกิดปฏิกิริยาถูกควบคุมโดยปฏิกิริยาย่อยในข้อใด (Ent’29)
1. ขั้น C และ D 2. ขั้น B และ C
3. ขั้น C เท่านั้น 4. ขั้น D เท่านั้น
ความก้าวหน้าของปฏิกิริยา

คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 17-18 (Ent’21)


ปฏิกิริยาชนิดหนึ่ง จากสารเริ่มต้น A เกิดเป็นสารใหม่ E มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานตามที่แสดงไว้ในรูป
ข้างล่างนี้
17. ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเป็นขั้น ขั้นที่ช้าที่สุดคือขั้นใด
1. A C 2. B D
3. C D 4. C E
27
18. ปฏิกิริยานี้เป็นแบบอะไร
1. ดูดความร้อนเท่ากับ w – Y 2. ดูดความร้อนเท่ากับ Z
3. คายความร้อนเท่ากับ X 4. คายความร้อนเท่ากับ Z – X
19. ตามทฤษฎีการชนกันของโมเลกุล และทฤษฎีจลน์ของก๊าซ ข้อใดที่เป็นขั้นกำหนดอัตราเร็วของปฏิกิริยารวม
(Ent’24)
1. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปช้าที่สุด 2. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยที่ดำเนินไปเร็วที่สุด
3. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นแรก 4. ปฏิกิริยาขั้นตอนย่อยขั้นสุดท้าย

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.1ความเข้มข้นของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
1. โดยทั่วไปความเข้มข้นของสารตั้งต้นจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี คือเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้ง
ต้นที่ใช้ อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามยังมีบางปฏิกิริยาที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นอยู่
กับความเข้มข้นของสารตั้งต้นชนิดใดชนิดหนึ่งเท่านั้น นอกจากนี้ยังมีบางปฏิกิริยาที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่
ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น
2. ในปฏิกิริยาของก๊าซ การเพิ่มความดันมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
3. เมื่อความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น เนื่องจากจำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้น
ภายในภาชนะขนาดเท่าเดิม ดังนั้นอนุภาคของสารจึงชนกันบ่อยครั้งขึ้นในช่วงเวลาหนึ่งที่กำหนด และอนุภาคที่มี
พลังงานสูงมีจำนวนมากขึ้น จึงมีผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยามีค่าสูงขึ้น

แบบทดสอบ
1.พิจารณาปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไฮโดรเจนกับไอโอดีนที่อุณหภูมิ 458 OCดังสมการ H2(g) +I2(g) 2HI(g)
ถ้าลดจำนวนโมเลกุล H2 ที่อยู่ในภาชนะเดิมให้เหลือเป็นครึ่งหนึ่งของจำนวนเดิม จะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
อย่างไร

2. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น (Ent’28)
1. ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริก
4. ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไธโอซัลเฟตกับกรดไฮโดรคลอริก
2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิกกับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
3. ปฏิกิริยาการกำจัดแอลกอฮอล์ในเลือดคน
28
3. เมื่อนำสาร X และ Y ทำปฏิกิริยากัน โดยใช้สารตั้งต้นปริมาตรเท่ากัน ได้ผลการทดลองดังนี้
การทดลองครั้งที่ ความเข้มข้นของ X (mol/dm3) ความเข้มข้นของ Y (mol/dm3) เวลาในการเกิดผลิตภัณฑ์ (s)
1 0.20 0.20 24
2 0.20 0.30 24
3 0.30 0.30 6
4 0.30 0.20 6
จากผลการทดลองสรุปได้ว่าอย่างไร
1. ความเข้มข้นของสาร Y มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
2. ความเข้มข้นของสาร X ไม่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
3. เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสาร Y อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
4. เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสาร X อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น
4. ครั้งหนึ่งของการศึกษาปฏิกิริยาที่มีสารตั้งต้น 2 ชนิด พบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเวลาผ่านไป 50 และ 300
วินาที จะเปลี่ยนแปลงตามความเข้มข้นของสารตั้งต้นดังนี้ ข้อใดถูก (Ent’33)
ความเข้มข้นของ (mol/dm3) อัตราการเกิดปฏิกิริยา (mol/dm3.s)
สารตั้งต้น 1 สารตั้งต้น 2 ที 50 วินาที ที 300 วินาที
0.01 0.02 0.004 0.0002
0.01 0.04 0.008 0.0004
0.03 0.02 0.004 0.0002
1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น 1
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ขึ้นกับความเข้มข้นของสารตั้งต้น 2
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะลดลงเมื่อลดความเข้มข้นของสารตั้งต้น 1 หรือ สาร 2
4. ระบบเข้าสู่ภาวะสมดุลเมื่อเวลาผ่านไปประมาณ 350 วินาที
5. ในการทดลองเพื่อหาอัตราของการเกิดปฏิกิริยา A + B C ได้ข้อมูลดังนี้ ข้อความต่อไปนี้ข้อ
ใดผิด (Ent’32)
การทดลอง [A] (mol/dm3) [B] (mol/dm3) อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา (mol/dm3.min)
1 1.0 1.0 0.15
2 2.0 1.0 0.30
3 3.0 1.0 0.45
4 1.0 2.0 0.15
5 1.0 3.0 ?
1. ในการทดลองที่ 5 อัตราการเกิดปฏิกิริยา = 0.15 (mol/dm3.min)
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ [ B ]
3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ [ A ]
4. ถ้าอัตราการเกิดปฏิกิริยา = k[ A ] จะได้ K= 0.15 min-1
29
6. ในการทดลองวัดอัตราของปฏิกิริยา I และ II ได้ผลดังนี้
สารตั้งต้น อัตราของปฏิกิริยา I อัตราของปฏิกิริยา II (mol/dm3.s)
(mol/dm3) (mol/dm3.s)
0.1 0.5 x 10-3 0.1 x 10-3
0.2 0.5 x 10-3 0.2 x 10-3
0.4 0.5 x 10-3 0.4 x 10-3
ถ้าเลือกความเข้มข้นของสารตั้งต้นเพื่อให้ปฏิกิริยาทั้งสองเสร็จพร้อมกันพอดี (มีอัตราของปฏิกิริยาเท่ากัน)
ปฏิริยาจะสิ้นสุดในกี่วินาที

7. ถ้าเริ่มความเข้มข้นของ A และ B ต่าง ๆกัน จะเกิดC ที่ 1นาที ดังสมการ A + 2B 2C


และตารางความเข้มข้นของสารที่ใช้ในปฏิกิริยา
ความเข้มข้น (โมลาร์)
A (เริ่มต้น) B (เริ่มต้น) C (ที่ 1 นาที)
0.10 0.10 0.04
0.10 0.20 0.04
0.20 0.20 0.08
ถ้าต้องการทำลายสาร B เข้มข้น 1.00 โมลาร์ให้หมดภายใน 1 นาที ด้วยการทำปฏิกิริยากับสาร A จะต้องใส่
สาร A ลงไปให้มีความเข้มข้นเริ่มต้นขั้นต่ำกี่โมลาร์ (Ent’ ก.ค.52)
1. 0.50 2. 2.50 3. 5.00 4. 10.00

พื้นที่ผิวของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
การศึกษาเรื่องพื้นที่ผิวของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
สารละลายกรดไฮโดรคลอริก

แมกนีเซียมพันเป็นเกียว แมกนีเซียมพับทบ

หลอดที่ ลักษณะของลวดแมกนีเซียม เวลาที่ใช้ในการเกิดก๊าซ H2


1 พันเป็นเกียว
2 พับทบ
30
สรุป
1. ลวดแมกนีเซียมที่ใช้ทั้ง 2 ครั้ง มีความยาว................................................................................................
2. การพับลวดแมกนีเซียมทำเพื่อ....................................................................................................................
3. ลวดแมกนีเซียมที่พับทบจะใช้เวลาในการเกิดก๊าซ H2 มากหรือน้อยกว่า.........................ลวดแมกนีเซียมที่
พันเป็นเกลียว
4. พื้นที่ผิวสัมผัสมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีนี้หรือไม่...................อย่างไร................................................
..................................................................................................................................................................
สรุปพื้นที่ผิวของสารกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา
1. พื้นที่ผิวมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาถ้าสารนั้นเป็นของแข็ง พื้นที่ผิวให้พิจารณาที่ ขนาด รูปร่าง จำนวน
ปริมาณ เช่นถ้าพื้นที่ผิวมากจะทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น (จะมีผลต่อปฏิกิริยาเนื้อผสมเท่านั้น)
2. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะขึ้นอยู่กับพื้นที่ผิวของสารต่อเมื่อปฏิกิริยาเคมีนั้นเป็นปฏิกิริยาเนื้อผสม
ปฏิกิริยาเนื้อผสมคือ ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นมีสถานะต่างกัน เช่น A(s) + B(aq) C(g) + D(s)
ปฏิกิริยาเนื้อเดียวคือ ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นมีสถานะเดียวกัน เช่น A(g) + B(g) C(g) + D(s)
ถ้าสารนั้นเป็นสารละลาย พื้นที่ผิวขึ้นอยู่กับความเข้มข้น ไม่ขึ้นอยู่กับปริมาตรของสารละลาย
3. กราฟแสดงการเกิดปฏิกิริยาเมื่อเพิ่ม พื้นที่ผิว เช่น Mg + 2HCl MgCl2 + H2
ปริมาตร H2
พื้นที่ผิวมาก
พื้นที่ผิวน้อย

เวลา
4. เมื่อเพิ่มพื้นที่ผิว เช่นทำให้ของแข็งมีชิ้นเล็กลง หรือทำให้เป็นผง ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วขึ้น เนื่องจากการเพิ่ม
พื้นที่ผิวจะทำให้อนุภาคของสารมีโอกาสเข้าชนกันได้มากขึ้น ปฏิกิริยาจึงเกิดเร็วขึ้น
แบบทดสอบ
1.ถ้าเผาผงเหล็กกับก๊าซออกซิเจนจะเกิดการลุกไหม้ทันที แต่ถ้าใช้ตะปูเหล็กปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นช้ามากเพราะเหตุใด
............................................................................................................................. ......................................

2. เมื่อใส่แคลเซียมคาร์บอเนตลงในกรดไฮโดรคลอริก เกิดปฏิกิริยาดังนี้
CaCO3(s) + 2HCl(aq) CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(g)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะต่างกันหรือไม่ ถ้าใส่แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดก้อนกับชนิดผงที่มีมวลเท่ากัน จงอธิบาย
............................................................................................................................. .....................................
31
คำชี้แจง ใช้กราฟและข้อความต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถามข้อ 3-4 (Ent’19)
เมื่อนำแผ่นโลหะแมกนีเซียมมาทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก จะได้ก๊าซไฮโดรเจนเกิดขึ้น ถ้าจับเวลา
และปริมาตรของก๊าซ จะได้ผลดังกราฟ
ปริมาตรของก๊าซ H2 (cm3)
D E 3. กราฟช่วงใดทีแ่ สดงว่าก๊าซไฮโดรเจน
C เกิดขึ้นในอัตราที่รวดเร็วทีส่ ุด
B 1. AB 2. BC
A 3. CD 4. DE

เวลา
4. ถ้าใช้แผ่นโลหะแมกนีเซียมที่มีขนาดเป็นแผ่นใหญ่ขึ้น กราฟที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร
1. กราฟจะเป็นเส้นตรง 2. กราฟจะมีลักษณะและอยู่ในตำแหน่งเดิม
3. กราฟจะชันมากขึ้นแลสูงกว่ากราฟนี้ 4. กราฟจะชันน้อยลงและอยู่ต่ำกว่ากราฟนี้
5. การทดลองในข้อใด มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงที่สุดที่อุณหภูมิเดียวกัน (Ent’24)
1. ใส่แผ่นสังกะสี 1 ชิ้น หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3
2. ใส่แผ่นสังกะสี 2 ชิ้น หนักชิ้นละ 0.5 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 mol/dm3
3 ใส่สังกะสีละเอียด หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.1 mol/dm3
4. ใส่สังกะสีผงละเอียด หนัก 1 กรัม ลงในกรด HCl 0.2 mol/dm3
6. ใส่แท่งโลหะสังกะสีรูปทรงกลม 1 cm3 ลงในกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.1 mol/l 20 cm3 แล้วเขย่าเบา ๆ
ถ้าเพิ่มสิ่งต่อไปนี้เป็น 2 เท่า อะไรจะทำให้อัตราเร็วของการเกิดก๊าซ H2 เพิ่มมากขึ้น
1. พื้นที่ผิวของ Zn 2. ปริมาตรของ Zn
3. ปริมาตรของ HCl 4. ความเข้มข้นของ HCl
7. มีปฏิกิริยาระหว่างของแข็งกับก๊าซชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ถ้าต้องการทำให้อัตราการเกิด
ปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น จะต้องทำให้มีการเปลี่ยนแปลงอะไร (Ent’28)
1. ลดความดันของก๊าซ 2. ลดอุณหภูมิลง
3. ลดขนาดของของแข็งลง 4. รักษาความกดดันให้คงที่
8. เมื่อใส่ 1 M HCl 25 cm3 ลงในหินปูนชิ้นเล็ก ๆ จะเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การเปลี่ยนแปลงในข้อใด
ที่จะไม่ทำให้อัตราของปฏิกิริยาเริ่มต้นเพิ่มขึ้น (Ent”26)
1. ใช้ 1 M HCl 100 cm3 2. ใช้ 2 M HCl 25 cm3
3. ใช้ 2 M HCl 50 cm3 4. บดหินปูนให้เป็นผงละเอียด
9. ในการศึกษาปฏิกิริยาเคมีโดยทั่วไปมักต้องการให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็ว ดังนั้นเวลาทำการทดลองจึงมักกระทำ
อย่างไร
1. อุ่นให้ร้อนเพื่อเพิ่มอุณหภูมิ 2. ใช้สารละลายที่มีความเข้มข้นสูง
3. ใช้วิธีคนอย่างสม่ำเสมอ 4. ใช้วิธีทั้ง 1, 2 และ 3
32
10. เมื่อให้ความร้อนกับตะปูเหล็ก เส้นใยเหล็ก และผงตะไบเหล็ก เหล็กชนิดใดจะเกิดปฏิกิริยาได้เร็วที่สุด
1. ตะปูเหล็ก 2. เส้นใยเหล็ก 3. ผงตะไบเหล็ก 4. เท่ากัน

อุณหภูมิกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. การเพิ่มอุณหภูมิ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิสูงอนุภาคจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น
จึงมีโอกาสที่จะชนกันมากขึ้น ดังนั้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจึงสูงขึ้น
2. จากการคำนวณพบว่าเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 OC อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 - 3 เท่า

แบบทดสอบ
1. เมื่อเผาโลหะ A ในอากาศจะลุกไหม้อย่างรวดเร็วได้ออกไซด์ของโลหะ A แต่เมื่อวางโลหะ A ไว้ในอากาศจะ
ทำปฏิกิริยาอย่างช้า ๆ เป็นเพราะเหตุใด
2. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดช้าที่อุณหภูมิห้อง
1. H+(aq) + OH-(aq) H 2O 2. Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s)
3. 2H2(g) + O2(g) 2H2O(l) 4. 2H+(aq) + Zn(s) H2(g) + Zn2+(aq)
3. A+B P เกิดช้า แต่เกิดได้ดีและคายความร้อนพบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับปริมาณของ A
แต่ไม่ขึ้นกับปริมาณของ B การกระทำในข้อใดมีผลให้ปฏิกิริยาเร็วขึ้น (Ent’35)
1. ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A 2. ลดอุณหภูมิ เอาสาร P ออก
3. เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มสาร A, B 4. ลดอุณหภูมิ เพิ่มสาร A เอาสาร P ออก
4. ข้อใดเป็นเหตุผลที่ถูกต้องที่สุด เพื่อแสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น (Ent’23)
1. โมเลกุลของสารนั้นมีการชนกันมากขึ้น 2. จะทำให้ความดันเพิ่มขึ้น
3. ทำให้พลังงานการกระตุ้นเพิ่มขึ้น 4. โมเลกุลบางส่วนมีพลังงานสูงเกิดขึ้น
33
5. เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นด้วย เพราะเหตุผลข้อใด (ให้ตอบข้อที่ถูกที่สุด) (Ent’24)
1. จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นเพิ่มมากขึ้น
2. โมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นชนกันมากขึ้น
3. จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นเพิ่มมากขึ้นและมีการชนกันมากขึ้น
4. โมเลกุลทั้งหมดของสารตั้งต้นมีพลังงานสูงกว่าพลังงานกระตุ้นและชนกันมากขึ้นอย่างถูกทิศทาง
6. การที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงนั้นเป็นเพราะเหตุใด (Ent’25)
1. โมเลกุลชนกันบ่อยครั้งเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
2. โมเลกุลชนกันแรงขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
3. โมเลกุลมีพลังงานสูงพอที่จะเกิดปฏิกิริยามีจำนวนมากขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
4. พันธะในโมเลกุลของสารตั้งต้นจะถูกทำลายได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
7. คำตอบที่ดีที่สุดสำหรับอธิบายว่าเมื่ออุณหภูมิของระบบเพิ่มขึ้นเล็กน้อยอัตราการเกิดปฏิกิริยามักเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว คือข้อใด (Ent’29)
1. จำนวนครั้งของการชนเพิ่มขึ้น
2. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มขึ้น
3. สัดส่วนของโมเลกุลที่มีพลังงานมากกว่าหรือเท่ากับพลังงานกระตุ้นมีมากขึ้น
4. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
8. กราฟแสดงการกระจายของพลังงานจลน์ของโมเลกุลของก๊าซที่อุณหภูมิ T1 และ T2 เมื่อ T2 > T1 เป็นดังนี้
อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ T2 เร็วกว่า T1 เพราะ

1. พลังงานกระตุ้นสำหรับปฏิกิริยาต่ำกว่า 2. โมเลกุลที่มีพลังงานสูงมีมากกว่า
3. โมเลกุลชนกันในทิศทางที่เหมาะสมกว่า 4. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
9. การกระจายพลังงานจลน์ของโมเลกุลของก๊าซที่อุณหภูมิ T1 T2 และ T3 (T3 > T2 > T1) แสดงเป็นกราฟได้ดัง
รูป (Ea คือพลังงานกระตุ้น) (Ent’26)
ข้อความใดถูกต้อง
1. ที่อุณหภูมิ T1 ปฏิกิริยาเกิด
เร็วที่สุด
2. ที่อุณหภูมิ T2 ปฏิกิริยาเกิด
เร็วกว่าที่อุณหภูมิ T1 และ T3
3. ที่อุณหภูมิ T3 ปฏิกิริยาเกิดเร็วกว่าที่อุณหภูมิ T1 และ T2
4. ที่อุณหภูมิ T1 มีจำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูงกว่าพลังงานกระตุ้นมากว่าที่อุณหภูมิ T2
34
10. ปฏิกิริยาระหว่าง A และ B สามารถให้ผิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ C และ D โดยแต่ละปฏิกิริยาที่ค่า Ea และ
พลังงานในการเกิดปฏิกิริยาดังนี้
ปฏิกิริยาที่ 1 : A + B C Ea = 200 kJ H = +100 kJ
ปฏิกิริยาที่ 2 : A + B D Ea = 400 kJ H = -100 kJ
ข้อสรุปที่ถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับปฏิกิริยาระหว่าง A และ B คือ ข้อใด
1. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาที่ 1 จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
2. เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปฏิกิริยาที่ 2 จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง
3. ปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 1 มีพลังงานกระตุ้นสูงกว่าปฏิกิริยาย้อนกลับ ของปฏิกิริยาที่ 2
4. ปฏิกิริยาย้อนกลับของปฏิกิริยาที่ 2 มีพลังงานกระตุ้นสูงกว่าปฏิกิริยาย้อนกลับ ของปฏิกิริยาที่ 1

ตัวเร่งและตัวหน่วงปฏิกิรยิ า
สรุปสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยา
1. ตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) คือสารที่เติมลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น
2. ตัวขัดขวางปฏิกิริยา (inhibitor) คือสารที่เติมลงไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดช้าลง
3. ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เติมลงไปในปฏิกิริยา จะมีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาด้วย แต่หลังปฏิกิริยาก็กลับมา
เหมือนเดิม
4. ตัวเร่งปฏิกิริยาใช้น้อย ถ้าใส่มากเกินไปอาจจะกลายเป็นสารตั้งต้นสารหนึ่งเข้าไปทำปฏิกิริยาด้วยก็ได้
5. ในปฏิกิริยาเคมีที่เติมตัวเร่งปฏิกิริยา หลังเกิดปฏิกิริยาสารนั้นจะกลับมาเหมือนเดิม มวลคงที่ แต่อาจจะ
มีสมบัติทางกายภาพเปลี่ยนไป เช่น ขนาดและรูปร่างเปลี่ยนไป
6. ปฏิกิริยาหนึ่งอาจจะเลือกตัวเร่งปฏิกิริยามากกว่าหนึ่งชนิดได้ แต่ตัวเร่งปฏิกิริยาต่างชนิดก็จะเร่งได้เร็วขึ้นไม่
เท่ากัน
7. ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดเดียวกัน อาจจะใช้เร่งปฏิกิริยาได้หลายปฏิกิริยา แต่ได้เร็วต่างกัน
8. เอนไซม์ (enzyme) เป็นสารอินทรีย์จำพวกโปรตีน ซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาของกระบวนการต่าง ๆ
ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต เช่น อะไมเลสในน้ำลายช่วยย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาล เปปซินในน้ำย่อย ช่วยย่อย
โปรตีนให้มีขนาดโมเลกุลเล็กลง
9. ในปฏิกิริยาที่เกิดก๊าซหมด ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เป็นของแข็ง นอกจากจะเร่งให้ปฏิกิริยาเร็วขึ้นแล้ว พื้นที่ผิวมี
ส่วนเร่งปฏิกิริยาเร็วยิ่งขึ้น โดยที่ตัวเร่งปฏิกิริยาจะดูดซับโมเลกุลของสารตั้งต้นไว้ที่ผิวจำนวนมากมาย ทำให้
ชนกันง่ายและบ่อยขึ้น
10. ตัวเร่งปฏิกิริยาจะทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดต่ำลง เป็นผลทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงขึ้น
คะตะไลท์กับการดำเนินไปของปฏิกิริยา การเพิ่มตัวเร่ง ตัวเร่งทำให้โมเลกุลวิ่งชนถูกทิศทางมากขึ้น

ตัวขัดขวาง (ตัวหน่วง) กับการดำเนินไปของปฏิกิริยา การเพิ่มตัวขัดขวาง ตัวขัดขวางทำให้โมเลกุลวิ่ง


ชนผิดทิศทางมากขึ้น
35

แบบทดสอบ
1. ในปฏิกิริยา H2(g) + Cl2(g) 2HCl(g) ถ้าเติมผงนิกเกิลลงไปเล็กน้อย จะมีผลให้อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น นักเรียนคิดว่าผงนิกเกิลทำหน้าที่อะไร..................................................................
อย่างไร......................................................................................................................................................……
2. เมื่อผสมแก๊สออกซิเจนและไฮโดรเจนที่อุณหภูมิห้องจะไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ้น แต่ถ้าผสมกันบนผิวของโลหะ
แพลทินัม ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นทันที เพราะเหตุใด

3. กลไกของปฏิกิริยาออกซิเดชัน จาก V3+ ไปเป็น V4+ มี 2 ขั้นตอนดังนี้


คะตะไลต์ของปฏิกิริยาคือข้อใด (Ent’26)
V3+ + Cu2+ V4+ + Cu+ 4+ 2+
1. V 2. Cu
Cu+ + Fe3+ Cu2+ + Fe2+ 3. Fe3+ 4. Fe2+

4. หน้าที่ของตัวเร่งปฏิกิริยาคือข้อใด
1. ลดความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์
3. ลดพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
2. เพิ่มพลังงานให้กับโมเลกุลของระบบ
4. ช่วยเพิ่มจำนวนครั้งของการชนกันของโมเลกุลของสารตั้งต้น
5. ปฏิกิริยาก๊าซไฮโดรเจนกับสารอินทรีย์แทบจะไม่เกิดขึ้นเลยถ้าไม่เติมผงนิเกิลลงไปในปฏิกิริยา และสิ้นสุด
ปฏิกิริยาแล้วจะได้ผงนิเกิลเหมือนเดิม ผงนิเกิลมีผลต่อปฏิกิริยาอย่างไร
1. เพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่โมเลกุลของสารตั้งต้น
2. ลดพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา
3. เพิ่มความสามารถในการผสมเป็นเนื้อเดียวกันของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา
4. ลดความแตกต่างระหว่างระดับพลังงานของสารเริ่มต้น และผลิตภัณฑ์
36
6. ในการทดลองเปรียบเทียบผลของโลหะ 2 ชนิด ต่อความสามารถในการเร่งปฏิกิริยา (Ent’39) ได้ผลดังนี้
ชนิดของ อัตราการเกิด ข้อใดผิด
โลหะ ปฏิกิริยาสัมพัทธ์ 1. พลังงานกระตุน้ ของปฏิกิริยาทีใ่ ช้ทองคาขาวเป็ นตัวเร่งจะตา่ สุด
ไม่ใช้ ช้าที่สุด 2. อัตราการชนของ N2O บนทองคาขาวมีค่าสูงกว่าบนทองคา
ทองคำ เร็ว 3. เมือ่ เพิม่ ความดันจะมีผลให้ทงั้ สาม กรณีเกิดปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น
ทองคำขาว เร็วที่สุด 4. ปฏิกิริยาดังกล่าวควรเกิดได้ดถี า้ อุณหภูมสิ ูงขึ้น

คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 7-8


ปฏิกิริยาแตกต่างกัน 4 ปฏิกิริยา ที่อุณหภูมิเดียวกันจะมีการกระจายพลังงานจลน์ที่เหมือนกัน ยกเว้นค่า
พลังงาน E ดังแสดงในรูป ก-ง ตามลำดับ (Ent’31)

7. ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน ปฏิกิริยาใดเกิดเร็วสุด
1. ปฏิกิริยา 1 2. ปฏิกิริยา 2 3. ปฏิกิริยา 3 4. ปฏิกิริยา 4

8. ถ้าเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไปในปฏิกิริยาที่ 3 จะมีผลอย่างไร
1. เส้นโค้งการกระจายพลังงานจลน์จะเลื่อนไปทางซ้าย
2. เส้นโค้งการกระจายพลังงานจลน์จะเลื่อนไปทางขวา
3. พลังงาน E จะเพิ่มขึ้น ดังนั้นจำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานเท่าหรือมากกว่าพลังงานกระตุ้นลดลง
4. พลังงาน E จะลดลง ดังนั้นจำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานเท่าหรือมากกว่าพลังงานกระตุ้นเพิ่มขึ้น
คำชี้แจง ข้อมูลตามที่ปรากฏในรูปใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 9-10 (Ent’21)

9. พลังงานกระตุน้ สาหรับปฏิกิริยาทีด่ าเนินจากซ้ายไปขวาคือ


1. W 2. X - W 3. Y – X 4. Y – W

10. ถ้าเติมคะตะไลส์ลงในปฏิกิริยานี้ ส่วนใดจะเกิดการเปลี่ยนแปลง


1. X 2. W 3. Y-X 4. W–X
37
11. จากกราฟข้างล่างนี้ช่วงใดที่แสดงถึงพลังงานกระตุ้นสำหรับปฏิกิริยาย้อนกลับที่ดูดความร้อน (Ent’25)

1. A 2. B
3. C 4. D

คำชี้แจง ใช้กราฟและข้อความข้างล่างประกอบการตอบคำถามข้อ 12-14 (Ent’19)


สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร C และสาร D ถ้ามีตัวคะตะไลส์จะทำให้เกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น

12. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาที่มีตัวคะตะไลส์
1. a 2. b 3. c 4. d
13. พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยาย้อนกลับที่ไม่มีตัวคะตะไลส์คือ
1. a 2. b 3. c 4. d
14. เมื่อตัวคะตะไลส์สามารถลดพลังงานกระตุ้นได้อย่างไร
1. a-b 2. b-a 3. d-c 4. c-d
15. พิจารณาสมการแสดงปฏิกิริยาต่อไปนี้ 2SO2(g) + O2(g) SO3(g)
เมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไป กราฟแสดงพลังงานศักย์ของปฏิกิริยาช่วงใดที่มีการเปลี่ยนแปลง

1. ช่วงที่ 1 และ 2 2. ช่วงที่ 1 และ 3 3. ช่วงที่ 1 และ 4


4. ช่วงที่ 2 และ 3 5. ช่วงที่ 2 และ 4
38
16. กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยา A + B C+D

17. จงพิจารณากราฟและข้อสรุปต่อไปนี้ ข้อสรุปจากกราฟข้อใดถูกต้อง (Ent’40)


1. สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ให้ C และ D
และคายความร้อนออกมา
2. สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ให้ C และ D และมีการดูด
ความร้อนเข้าไป
3. พลังงานของสารตั้งต้นต่ำกว่าของผลิตภัณฑ์
4. เส้นทางการดำเนินของปฏิกิริยาตาม I ทำที่อุณหภูมิสูงกว่าตาม II
5. เส้นทางการดำเนินของปฏิกิริยาตาม II ใช้ตัวเร่งแต่ตาม I เป็นการดำเนินของปฏิกิริยาตามปกติ
1. 1, 3, 4 2. 1, 3, 5 3. 2, 3, 5 4. 2, 4, 5
ธรรมชาติของสารตั้งต้น
สารตั้งต้นที่เกาะกันแข็งแรงหรือมีพันธะที่แข็งแรงจะเกิดปฏิกิริยายาก เช่น
ฟอสฟอรัสขาวเหลือง เกิดปฏิกิริยาง่ายเพราะสารตั้งต้นมีโครงสร้างไม่ซับซ้อน
ฟอสฟอรัสแดง เกิดปฏิกิริยายาก เพราะสารตั้งต้นมีโครงสร้างที่ซับซ้อน
H2 + O2 H2O เกิดปฏิกิริยายาก เพราะต้องใช้พลังงานสลายพันธะเก่าที่เสถียรแล้วมาเกิดพันธะ
ใหม่
NaCl + AgNO3 AgCl + NaNO3 เกิดปฏิกิริยาง่าย เพราะสามารถแลกเปลี่ยนไอออนกันได้
39
แบบทดสอบ
1. แฟคเตอร์ที่มีอิทธพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีคือ (Ent’19)
1. ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน ตัวคะตะไลทส์ พันธะโควาเลนต์
2. พันธะโควาเลนท์ อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย ความดัน
3. อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสารละลาย พื้นที่ผิว ตัวคะตะไลส์
4. อุณหภูมิ พันธะโควาเลนต์ พื้นที่ผิว ตัวคะตะไลส์
2. ปัจจัยที่สำคัญที่เป็นตัวกำหนดว่าทำไมธรรมชาติของสารตั้งต้นจึงมีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
(Ent’29)
1. ความแตกต่างของขนาดโมเลกุล
2. ความแตกต่างของมวลโมเลกุล
3. ความแตกต่างของพันธะที่เกี่ยวข้องในการเกิดปฏิกิริยา
4. ความแตกต่างระหว่างพลังงานของสารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์
3. ปฏิกิริยา A(s) + B(aq) C(aq) + D(aq) เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน อัตราการเกิดปฏิกิริยา
จะเพิ่มขึ้นเมื่อใด (Ent’36)
1. ลดขนาดของ A เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
2. ลดปริมาณของ D เพิ่มความเข้มข้นของ B ลดอุณหภูมิ
3. เพิ่มขนาดของ A ลดความดัน เพิ่มอุณหภูมิ
4. ลดขนาดของ A เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพิ่มอุณหภูมิ
6. X(s) + Y(aq) -------> Z(g) เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน อัตราเร็วของปฏิกิริยานี้เพิ่มขึ้นเมื่อ
1. เพิ่มอุณหภูมิ เพราะจำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์สูงมีมากขึ้น
2. เติมตัวเร่งปฏิกิริยา เพราะทำให้ปริมาณสารผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น
3. เพิ่มอุณหภูมิเพราะทำให้สารตั้งต้นขยายตัวมีพื้นที่ผิวเพิ่มขึ้น 4. บดXให้มีขนาดเล็กลงหรือเป็นผง
และเพิ่มปริมาณ Y
ข้อใดถูกต้อง (Ent’34)
1. 1 และ 2 2. 2 และ 3 3. 3 และ 4
4. 1 และ 4
7. เมื่อนำกรด H2C2O4 มาทำปฏิกิริยากับสารละลายด่างทับทิมแล้วบันทึก เวลาจนสีของ KMnO4 หายไปหมด เขียน
สมการแสดงปฏิกิริยาดังนี้ 5H2C2O4 + 2 MnO4- +6H+ 2Mn2+ + 8H2O + 10CO2
ใช้เวลาทั้งสิ้น 300 วินาที ถ้าใฃ้กรด H2C2O4 เข้มข้น 0.05 mol/l 2 cm3 ผสมกับ KMnO4 0.005 mol/l 2
cm3 กับสารละลายกรด H2SO4 1.0 mol/l จำนวน 1 cm3 จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของปฏิกิริยานี้เป็น mol/s
40
การอธิบายผลของปัจจัยต่าง ๆ ต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ความเข้มข้นกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี
เมื่อเพิ่มความเข้มข้น ทำให้จำนวนโมเลกุลเพิ่มมากขึ้น และโมเลกุลที่มีพลังงานสูงก็มีเพิ่มมากด้วย

อุณหภูมิกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
การเพิ่มอุณหภูมิ ทำให้โมเลกุลมีพลังงานจลน์สูงขึ้น โมเลกุลวิ่งชนกันเร็วขึ้น พลังงานจลน์ของโมเลกุลสูงขึ้น

คะตะไลท์กับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
การเพิ่มตัวเร่ง ตัวเร่งทำให้โมเลกุลวิ่งชนถูกทิศทางมากขึ้น

ตัวขัดขวาง (ตัวหน่วง) กับการดำเนินไปของปฏิกริ ิยา


การเพิ่มตัวขัดขวาง ตัวขัดขวางทำให้โมเลกุลวิ่งชนผิดทิศทางมากขึ้น

สรุป
1. การเพิ่มความเข้มข้น ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นเพราะ จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูงกว่า Ea มีมากขึ้น
2. การเพิ่มอุณหภูมิ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นเพราะ โมเลกุลวิ่งชนกันมากขึ้น จำนวนโมเลกุลที่มีพลังงานสูง
กว่า Ea มีมากขึ้น
3. การเพิ่มตัวเร่ง ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นเพราะ Ea ลดต่ำลง
4. การเพิ่มตัวขัดขวาง (ตัวหน่วง) ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้นเพราะ Ea เพิ่มมากขึ้น
แบบทดสอบ
18. เมื่อให้ก๊าซ NO รวมกับก๊าซ O2 จะเกิดก๊าซ สีน้ำตาลแดงขึ้นทันที อุณหภูมิห้อง ถ้าให้ก๊าซ H2 รวมกับก๊าซ
O2 ที่อุณหภูมิห้องจะไม่เกิดอะไรเลย แต่ถ้าให้ความร้อนแก่ก๊าซ 2 ชนิดหลังในหารเริ่มต้นจะเกิดปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาทั้ง2 นี้ คายความร้อนข้อใดสรุปผิด
1. ปฏิกิริยาระหว่าง NO กับ O2 มีพลังงานกระตุ้นต่ำ
2. ปฏิกิริยาระหว่าง H2 กับ O2 มีพลังงานกระตุ้นสูง
3. ถ้าเพิ่มอุณหภูมิแก่ปฏิกิริยาระหว่าง NO กับ O2 พลังงานกระตุ้นจะสูงขึ้นกว่าเดิม
4. ถ้าเพิ่มอุณหภูมิแก่ปฏิกิริยาระหว่าง H2 กับ O2 ในตอนเริ่มต้นพลังงานกระตุ้นจะสูงขึ้นกว่าเดิม
41
19. สาร A และ B ทำปฏิกิริยากันดังสมการ A(aq) + B(aq) 2C(aq) เมื่อใช้สารละลาย A เข้มข้น
0.2 mol/l จำนวน 3 cm3 ผสมกับสารละลาย B เข้มข้น 0.2 mol/l จำนวน 3 cm3 แล้วจับเวลาทันทีที่
สารละลายผสมกันหลังจาก เวลาผ่านไป 10 วินาที นำสารละลายไปวิเคราะห์หาจำนวนโมลของสาร
C ทันที ปรากฏว่ามีสาร C เกิดขึ้น 2.3 x 104 mol อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด (Ent’28)
1. ระยะทางที่ระดับสารละลายลดลงใน 1 วินาที
2. ความเข้มข้นของสาร C ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยา / เวลา = 0.23 x 10-4 mol/l.s
3. ความเข้มข้นของสาร A ที่ลดลงเนื่องจากปฏิกิริยา / เวลา = 0.38 x 10-4 mol/l.s
4. อัตราการลดลงของสาร A ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.19 x 10-2 mol/l.s
20. ปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้ เกิดได้พร้อม ๆ กัน A 2B
A C
โดยมีอัตราการเกิดสาร B เป็น 0.6 mol/s และสาร C เป็น 0.2 mol/s เมื่อนำสารตั้งต้นมา 5.00 mol ต้อง
ใช้เวลากี่วินาทีจึงจะเกิดปฏิกิริยาสมบูรณ์ เมื่อถือว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยามี่ค่าคงที่ตลอดการทดลอง (Ent’38)

22. ถ้าอัตราการสลายตัวของสาร A ไปเป็นสาร P เกิดโดยมีขั้นตอนเดียว และจัดเป็นกระบวนการขั้นพื้นฐาน


อย่างง่าย
A P และความเข้มข้นของ A ขณะปฏิกิริยาดำเนินไปเป็นดังนี้
เวลา (A) mol/dm3
0 1.00
50 0.61
100 0.37
150 0.22
อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่วินาทีที่ 100 เป็นเท่าใด (Ent’29)
1.0.0048 mol/dm3 .s 3. มากกว่า 0.0033 แต่น้อยกว่า 0.0048 mol/dm3 . s
2.0.0030 mol/dm3 . s 4. เท่ากับอัตราเริ่มต้นของปฏิกิริยา คือ 0.0078 mol/dm3.s
17. ปฏิกิริยาที่การเปลี่ยนแปลงพลังงานดังกราฟนี้ควรมีลักษณะอย่างไร
ข้อ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3
1. เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดช้า คายพลังงาน เกิดเร็วปานกลาง ดูดพลังงาน
2. เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดช้า ดูดพลังงาน
3. เกิดช้า ดูดพลังงาน เกิดเร็ว ดูดพลังงาน เกิดช้า คายพลังงาน
4. เกิดเร็ว คายพลังงาน เกิดช้า คายพลังงาน เกิดเร็วปานกลาง คายพลังงาน
42
7. กำหนดให้ ปฏิกิริยาการเผาไหม้ระหว่างแก๊สมีเทน (CH4) กับแก๊สออกซิเจน (O2) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ ไอน้ำ (H2O) โดยมีอัตราการเผาไหม้เป็น 0.936 M s-1
7.1 เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
....................................................................................................................... .........................
7.2 คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ ไอน้ำ
7.2.1 เขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร.............................................
................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...................
7.2.2 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สมีเทน ..........................................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
7.2.3 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สออกซิเจน ...................................................
............................................................................................................................. ...................
................................................................................................................................................
7.2.4 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์....................................
............................................................................................................................. ...................
............................................................................................................................. ...................
7.2.5 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของไอน้ำ...................................................................
............................................................................................................................. ...................
............................................................................................................................. ...................
7. จากการทดลองศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2A + B C
โดยวัดความเข้มข้นของสาร A ได้ผลดังนี้

เวลา (s) 0.0 5.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0


[ A ] (M) 1.00 0.64 0.44 0.27 0.22 0.22 0.22
1. เขียนความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร
..........................................................................……………………………………………..
2. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงของสาร A ในช่วงเวลาต่อไปนี้
ช่วงเวลา 0.00-5.0 วินาที .....................................................................................................
..........................................................................……………………………………………..
ช่วงเวลา 5.0-10.0 วินาที .....................................................................................................
..........................................................................……………………………………………..
ช่วงเวลา 10.0-20.0 วินาที ......................................................................................................
..........................................................................……………………………………………..
43
เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร A ในช่วงเวลาดังกล่าว
..........................................................................……………………………………………..
3. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร A ในช่วงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี
..........................................................................……………………………………………..
..........................................................................……………………………………………..
4. คำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร C ในช่วงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี
..........................................................................……………………………………………..
..........................................................................……………………………………………..
5. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย ในช่วงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี
..........................................................................……………………………………………..
6. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสาร A กับเวลา และหาอัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีที่เวลา 11 วินาที

8. ปฏิกิริยา 3A + 2B 2C ถ้าสาร A มีความเข้มข้นเริ่มต้น 0.20 โมลาร์ เมื่อเวลาผ่านไป


90 วินาที ความเข้มข้นของสาร A ลดลงเหลือ 0.05 โมลาร์ อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร C ในช่วง
เวลาดังกล่าวเป็นเท่าใด

9. สาร A สลายตัวเป็น B ดังสมการ 3A 5B เมื่อเริ่มต้นปฏิกิริยามีสาร A 3.00 โมลาร์ เมื่อ


เวลาผ่านไป 30.0 นาที มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเฉลี่ย เท่ากับ 0.0150 โมลาร์ต่อนาที สาร A และ สาร B จะมี
ความเข้มข้นเท่าไร
44
10. พิจารณากราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารและเวลา เพื่อตอบคำถามต่อไปนี้

10.1 ระบุความเข้มข้นของสาร A B และ C เมื่อเริ่มต้นและเมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น


สาร ความเข้มข้นเริ่มต้น ความเข้มข้นเริ่มต้นเมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น
A
B
C

10.2 สารใดเป็นผลิตภัณฑ์............................................................................................................
10.3 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารแต่ละชนิด ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนความเข้มข้น
ไม่เปลี่ยนแปลงมีค่าเท่าใด
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร A...................………………………………………
..........................................................................……………………………………………
..........................................................................……………………………………………
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร B...................………………………………………
..........................................................................……………………………………………
..........................................................................……………………………………………
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร C...................………………………………………
..........................................................................……………………………………………
..........................................................................……………………………………………
10.4 สมการเคมีของปฏิกิริยาเคมีเป็นอย่างไรและอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยา
จนความเข้มข้นไม่เปลี่ยนแปลง มีค่าเท่าใด
..........................................................................……………………………………………
..........................................................................……………………………………………
45
10. พิจารณากราฟต่อไปนี้

จงเขียนสมการเคมีและคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีหาความเข้มข้นตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาจนความเข้มข้นไม่
เปลี่ยน
สาร ความเข้มข้นเริ่มต้น ความเข้มข้นเมื่อสิ้นสุด การเปลี่ยนแปลงความ
(M) ปฏิกิริยาเคมี (M) เข้มข้น (M)
A
B
C

ดังนั้นสมการเคมีเป็น
ความเข้มข้นไม่เปลี่ยนแปลงที่เวลา 30 วินาที
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =

โจทย์เพิ่มเติม เรื่องแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. จงเติมเครื่องหมาย ✓หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง
...........1.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้นที่เป็นของแข็งกับของเหลวไม่สามารถ
อธิบายได้โดยใช้ทฤษฎีการชนกัน
...........1.2 ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นได้ ถ้าอนุภาคของสารตั้งต้นชนกันด้วยทิศทางที่เหมาะสมและมี
พลังงานอย่างน้อยเท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์
...........1.3 อนุภาคของสารที่ชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาเคมี แต่ละอนุภาคไม่จำเป็นต้องมีพลังงานเท่ากับ
พลังงานก่อกัมมกันต์
46
2. พิจารณาแผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาต่อไปนี้

2.1 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A + B C + D มีค่า............................................


2.2 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา C + D A + B มีค่า............................................
2.3 พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A + B C + D เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคาย
พลังงาน และพลังงานของปฏิกิริยามีค่าเท่าใด.......................................................................
3. จากข้อมูลในตารางต่อไปนี้

3.1 เรียงลำดับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของทั้งสามปฏิกิริยาจากมากไปหาน้อย.............................................
3.2 ปฏิกิริยาที่ 1 สารตั้งต้นมีพลังงานมากหรือน้อยกว่าผลิตภัณฑ์เท่าใด.........................................................
4. ปฏิกิริยา A C เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน 36 kJ/mol โดยมี B เป็นสารที่สถานะแทรนซิชัน ซึ่งมี
พลังงานมากกว่า A 45 kJ/mol
4.1 เขียนแผนภาพการดำเนินไปของปฏิกิริยา

4.2 เปรียบเทียบพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A C กับ C A


47
1. สาร A เกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนเป็นสาร B และ C ตามแผนภาพการดำเนินไปของปฏิกิริยาดังแสดง

ถ้าเริ่มต้นปฏิกิริยาเคมีด้วยความเข้มข้นของสาร A เท่ากัน อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของ


A B และ A C เท่ากันหรือไม่ อย่างไร

You might also like