You are on page 1of 25

1 บทที่ 5. 2 บทที่ 5.

ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ฟังก์ชนั ของ n ตัวแปร


บทที่ 5. ให้ f : D → R เมื่อ D ⊆ R n
และ n เป็ นจํานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1
ฟั งก์ชนั ของหลายตัวแปร โดยที่ R n = R × R × ... × R (n พจน์)
เรากล่าวว่า f เป็ น ฟังก์ชนั ค่าจริงของตัวแปร n ตัว
หรือ f เป็ น ฟังก์ชนั ค่าจริงของ n ตัวแปร
หรือ f เป็ น ฟังก์ชนั ของ n ตัวแปร
สําหรับแต่ละสมาชิก X ใน D เราเขียน X ในรูป
X = ( x1, x 2 , ... , x n ) เมื่อ x1, x 2 , ... , x n เป็ นจํานวนจริง
กรณีท่ี n = 2 เรานิยมเขียน X = (x, y)
กรณีท่ี n = 3 เรานิยมเขียน X = (x, y, z)
สําหรับค่าของฟังก์ชัน f ที่จุด X เราจะเขียนแทนด้ วย
f(X) หรือ f( x1, x 2 , ... , x n )

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

3 บทที่ 5. 4 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

การกําหนดฟังก์ชัน กําหนดโดยใช้ สตู รแสดงค่าของฟังก์ชัน เช่น 4.1 ฟังก์ชนั ค่าจริงของสองตัวแปร


f(x, y) = 1 − x 2 − y2 ตัวอย่าง 5.1.1 กําหนดให้ f(x, y) = An( x 2 – y + 1)
g(x, y, z) = 2 12 2 จงหาค่าของ f(–1, 1) และ จงเขียนรูปแสดงโดเมนของ f
x +y +z
h( x1, x 2 , x 3 , x 4 ) = x1 x 3 + x 22 – x 4 วิธีทํา f(–1, 1) = An(1 – 1 + 1) = An 1 = 0
จะเห็นว่า f เป็ นฟังก์ชันค่าจริงของสองตัวแปร
f จะเป็ นฟังก์ชันค่าจริง ก็ต่อเมื่อ x 2 – y + 1 > 0
g เป็ นฟังก์ชันค่าจริงของสามตัวแปร
และ h เป็ นฟังก์ชันค่าจริงของสี่ตวั แปร y < x2 + 1
ซึ่งทั้งสามฟังก์ชันไม่ได้ ระบุโดเมนว่าเป็ นเซตใด โดเมนของ f คือ {(x, y) | y < x 2 + 1}
ในกรณีเช่นนี้ให้ ถอื ว่า โดเมนคือสับเซตทีใ่ หญ่ทีส่ ุดของ R n ที่ ซึ่งเป็ นเซตของจุดในระนาบ XY ที่อยู่ใต้ พาราโบลา y = x 2 + 1
ทําให้ สตู รแสดงค่าของฟังก์ชันเป็ นไปได้ และไม่รวมจุดบนพาราโบลา
เพราะฉะนั้น โดเมนของ f คือ {(x, y) | x 2 + y 2 ≤ 1}
โดเมนของ g คือ {(x, y, z) | (x, y, z) ≠ (0, 0, 0)}
โดเมนของ h คือ R 4
ถ้ า f เป็ นฟังก์ชันค่าจริงของ n ตัวแปร
และโดเมนของ f คือเซต D ซึ่ง D ⊆ R n
กราฟของ f คือ รูปที่ 5.1.1
{( x1, x 2 , ... , x n , u) | u = f( x1, x 2 , ... , x n )
และ ( x1, x 2 , ... , x n ) ∈ D}
ซึ่งเราจะเขียนรูปเรขาคณิตแสดงกราฟของ f ได้
ก็ต่อเมื่อ n ≤ 2 เท่านั้น
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
5 บทที่ 5. 6 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ให้ f เป็ นฟังก์ชันค่าจริงของสองตัวแปร ในการเขียนกราฟของฟังก์ชันของสองตัวแปร


กล่าวคือ f : D → R เมื่อ D ⊆ R 2 เราทําได้ โดยพิจารณาการแปรค่าของตัวแปรตัวหนึ่ง
เราจะได้ ว่ากราฟของ f คือ โดยกําหนดให้ ตวั แปรอีกตัวหนึ่งมีค่าคงตัว เช่น
S = {(x, y, z) | z = f(x, y) และ (x, y) ∈ D} ถ้ าเราจะเขียนกราฟของ f(x, y) = 2 x 2 + y 2
การเขียนกราฟของ f จะกระทําได้ โดยการลงจุด (x, y, z) เราจะทําได้ โดยให้
ในระบบแกนพิกดั ฉากในปริภมู ิสามมิติ z = f(x, y) = 2 x 2 + y 2 ... (1)
โดยกําหนดให้ z = f(x, y) เมื่อ (x, y) ∈ D สมมติว่า y มีค่าคงตัว แสดงว่าเราจะพิจารณากราฟของ f ซึ่งอยู่
บนระนาบที่ขนานกับระนาบ XZ นั่นเอง ซึ่งเราจะทําได้ โดยการ
ซึ่งเมื่อลงจุด (x, y, z) สําหรับทุกจุด (x, y) ∈ D
กําหนดค่าของ y ต่าง ๆ กัน ดังนี้
แล้ ว เราจะได้ กราฟของ f มีลักษณะเป็ นพื้นผิว
ถ้ า y = 0 จาก (1)
จะได้ z = 2 x 2 ซึ่งเป็ นสมการของพาราโบลาบนระนาบ XZ

รูปที่ 5.1.2
รูปที่ 5.1.3

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

7 บทที่ 5. 8 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ถ้ า y = 1 จาก z = f(x, y) = 2 x 2 + y 2 เมื่อเรานํากราฟเหล่านี้มาผนวกเข้ าด้ วยกัน


จะได้ z = 2 x 2 + 1 ซึ่งเป็ นสมการพาราโบลาบนระนาบ y = 1 จะได้ กราฟของ f ที่ต้องการดังแสดงในรูปที่ 5.1.6

รูปที่ 5.1.4 (ก) รูปที่ 5.1.4 (ข) รูปที่ 5.1.6


จะเห็นได้ ว่า ไม่ว่าเราจะกําหนดค่า y เป็ นเท่าใด
กราฟของ z = 2 x 2 + y 2 จะเป็ นพาราโบลาบนระนาบที่ขนาน
กับระนาบ XZ ทั้งสิ้น หมายเหตุ
เพราะฉะนั้น จากตัวอย่างนี้ นอกจากเราจะเขียนกราฟของ f
เมื่อเราเขียนกราฟของ z = 2 x 2 + y 2 บนระนาบ y = c โดยกําหนดให้ y มีค่าคงตัวแล้ ว
สําหรับค่า c ต่าง ๆ กัน จะได้ กราฟดังแสดงในรูปที่ 5.1.5 เราอาจพิจารณาโดยกําหนดให้ x มีค่าคงตัว
หรือกําหนดให้ z มีค่าคงตัวก็ได้
สําหรับการกําหนดให้ x มีค่าคงตัวนั้นจะเห็นว่า
ผลที่ได้ จะเป็ นไปในทํานองเดียวกับการกําหนดให้ y มีค่าคงตัว
เพราะฉะนั้น เราจะกล่าวเฉพาะวิธเี ขียนกราฟของ f เมื่อ
กําหนดให้ z มีค่าคงตัวซึ่งเป็ นการพิจารณากราฟของ f บน
ระนาบที่ขนานกับระนาบ XY นั่นเอง
รูปที่ 5.1.5
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
9 บทที่ 5. 10 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

จาก z = f(x, y) = 2 x 2 + y 2 เมื่อเราเขียนกราฟของ z = 2 x 2 + y 2


จะเห็นว่า z ≥ 0 เสมอ บนระนาบ z = k สําหรับค่า k ต่าง ๆ กัน
ถ้ า z = 0 เราจะได้ กราฟของ f เป็ นจุดกําเนิด จะได้ กราฟดังแสดงในรูปที่ 5.1.8
ถ้ า z = 1 จาก (1) จะได้ 2 x 2 + y 2 = 1 ซึ่งเป็ นสมการของวงรี ซึ่งเมื่อนํากราฟเหล่านั้นมาผนวกเข้ าด้ วยกัน
บนระนาบ z = 1 เราก็จะได้ กราฟของ f ตามต้ องการ
ดังแสดงในรูปที่ 5.1.7

รูปที่ 5.1.8 (ก) รูปที่ 5.1.8 (ข)

รูปที่ 5.1.7

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

11 บทที่ 5. 12 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.1.2 กําหนดให้ f(x, y) = 12 – 2x – 3y ตัวอย่าง 5.1.3 กําหนดให้ f(x, y) = 9 − x 2 − 4 y2


จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f พร้ อมทั้งเขียนกราฟของ f
พร้ อมทั้งเขียนกราฟของ f อย่างคร่าว ๆ ในอัฐภาคที่ 1 วิธีทํา f เป็ นฟังก์ชันค่าจริง ก็ต่อเมื่อ 9 – x 2 – 4 y 2 ≥ 0
x 2 + 4 y2 ≤ 9
วิธีทํา จะเห็นว่า f จะเป็ นฟังก์ชันค่าจริง ทุกค่า x, y
เพราะฉะนั้นโดเมนของ f คือ R 2
เพราะฉะนั้น โดเมนของ f คือ {(x, y) | x 2 + 4 y 2 ≤ 9}
ให้ z = f(x, y) = 12 – 2x – 3y
ซึ่งคือ เซตของจุดภายในวงรี x 2 + 4 y 2 = 9 และรวมจุดบนวงรี
สําหรับ z ∈ R เราสามารถหาจํานวนจริง x และ y ได้ ให้ z = f(x, y) = 9 − x 2 − 4 y 2
ที่ทาํ ให้ z = 12 – 2x – 3y
เพราะว่า 0 ≤ x 2 + 4 y2 ≤ 9
เพราะฉะนั้น เรนจ์ของ f คือ {z | z ∈ R} = (–∞, ∞)
เพราะฉะนั้นเรนจ์ของ f คือ {z | 0 ≤ z ≤ 3} = [0, 3]
จุดตัดแกน X คือ (6, 0, 0)
การเขียนกราฟของ f
จุดตัดแกน Y คือ (0, 4, 0)
จุดตัดแกน Z คือ (0, 0, 12) f = {(x, y, z) | z = 9 − x 2 − 4 y 2 และ x 2 + 4 y 2 ≤ 9}
ให้ z = c สําหรับค่า c ต่าง ๆ กัน ซึ่ง 0 ≤ c ≤ 3
จะได้ ว่า c = 9 − x 2 − 4y 2
เพราะฉะนั้น x 2 + 4 y2 = 9 – c2 ... (1)
ถ้ า c = 3
กราฟของสมการ (1) คือจุด (0, 0, 3)
ถ้ า 0 ≤ c < 3
รูปที่ 5.1.9 กราฟของสมการ (1) คือ วงรีบนระนาบ z = c เมื่อ c มีค่า
กราฟของ f(x, y) = 12 – 2x – 3y เพิ่มขึ้น ขนาดของวงรีจะเล็กลง
คือกราฟของระนาบ 2x + 3y + z = 12 ดังรูปที่ 5.1.9 †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
13 บทที่ 5. 14 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

จาก z = 9 − x 2 − 4 y 2 ตัวอย่าง 5.1.4 กําหนดให้ f(x, y) = x 2 + y 2


ถ้ าให้ x = 0 จะได้ z = 9 − 4 y 2 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ f พร้ อมทั้งเขียนกราฟของ f
ซึ่งเป็ นสมการของครึ่งวงรีบนระนาบ YZ วิธีทํา เพราะว่า f มีค่า ทุกค่า x, y เพราะฉะนั้น Df = R 2
โดยอาศัยการพิจารณาเช่นนี้ เราจะได้ กราฟของ f ดังแสดงในรูป ให้ z = f(x, y) = x 2 + y 2 เพราะว่า x 2 + y 2 ≥ 0
ที่ 5.1.10 เพราะฉะนั้น เรนจ์ของ f คือ {z | z ≥ 0} = [0, ∞)
การเขียนกราฟของ f ทําโดยการสมมติว่า z มีค่าคงตัว
ให้ z = c สําหรับค่า c ต่าง ๆ กันซึ่ง c ≥ 0
จะได้ ว่า c = x 2 + y2
เพราะฉะนั้น x 2 + y 2 = c 2 ... (1)
ถ้ า c = 0 กราฟของสมการ (1) คือ จุด (0, 0, 0)
ถ้ า c > 0 กราฟของสมการ (1) คือวงกลมรัศมี c
บนระนาบ z = c เมื่อ c มีค่าเพิ่มขึ้น ขนาดวงกลมจะใหญ่ข้ นึ
จาก z = x 2 + y 2
†
รูปที่ 5.1.10 ให้ x = 0 จะได้ z = y 2 = | y |
ซึ่งเป็ นสมการของเส้ นตรง 2 เส้ นตัดกันบนระนาบ YZ

รูปที่ 5.1.11

†
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

15 บทที่ 5. 16 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

5.2 ลิมิตและความต่อเนือ่ งของฟังก์ชนั ของสองตัวแปร 3. ให้ D ⊆ R 2 และ A ∈ D


บทนิยามทีส่ าํ คัญ A เป็ น จุดภายใน ของ D
1. ถ้ า X(x, y) และ A( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดสองจุดใน R 2 ก็ต่อเมื่อ มีแผ่นกลมเปิ ด B(A) ซึ่ง B(A) ⊆ D
เรานิยามว่า ระยะทาง ระหว่างจุด X กับจุด A
คือ (x − x 0 )2 + ( y − y0 )2 ถ้ า จุดทุกจุดที่อยู่ใน D เป็ นจุดภายในของ D
และเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ || X – A || แล้ ว เราจะกล่าวว่า D เป็ น เซตเปิ ด

2. ให้ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดใด ๆ ใน R 2 4. ให้ D ⊆ R 2 และ A ∈ R 2


และ r เป็ นจํานวนจริงบวก A เป็ น จุดขอบ ของ D
เรานิยาม แผ่นกลมเปิ ด มีจุดศูนย์กลางที่จุด A และ รัศมี r ก็ต่อเมื่อ สําหรับทุก ๆ แผ่นกลมเปิ ด B(A) มีจุดอย่างน้ อยหนึ่ง
คือ เซต {X ∈ R 2 | || X – A || < r} จุดที่อยู่ใน D และมีจุดอย่างน้ อยหนึ่งจุดที่ไม่อยู่ใน D
และเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ ถ้ าจุดขอบทุกจุดของ D อยู่ใน D แล้ ว D เป็ น เซตปิ ด
B(A ; r) ซึ่งจะมีลักษณะดังรูปที่ 5.2.1

รูปที่ 5.2.1
หมายเหตุ รูปที่ 5.2.2
ในกรณีท่เี ราไม่ต้องการเจาะจงรัศมีของแผ่นกลมเปิ ด จากรูปที่ 5.2.2 จะได้ ว่า D1 เป็ นเซตเปิ ด D 2 เป็ นเซตปิ ด
เราจะใช้ สญั ลักษณ์ B(A) และ D 3 ไม่เป็ นทั้งเซตเปิ ดและเซตปิ ด
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
17 บทที่ 5. 18 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

5. ให้ D ⊆ R 2 และ A ∈ R 2 6. ให้ D ⊆ R 2


A เป็ น จุดลิมิต ของ D D เป็ น เซตทีม่ ีขอบเขต
ก็ต่อเมื่อ ก็ต่อเมื่อ
สําหรับทุก ๆ แผ่นกลมเปิ ด B(A) จะได้ ว่า เราสามารถสร้ างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ าล้ อมรอบ D ได้
(B(A) – {A}) ∩ D ≠ ∅
ข้อสังเกต จุดภายในของ D จะเป็ นจุดลิมิตของ D ด้ วย
แต่จุดขอบของ D อาจจะเป็ นหรือไม่เป็ นจุดลิมิตของ D ก็ได้

รูปที่ 5.2.4 (ก) รูปที่ 5.2.4 (ข)

จากรูปที่ 5.2.4(ก) จะได้ ว่า D1 เป็ นเซตที่มีขอบเขต


รูปที่ 5.2.3 และจากรูปที่ 5.2.4(ข) จะได้ ว่า
จากรูปที่ 5.2.3 D 2 = {(x, y) | x ≥ 0 และ y ≥ 0} เป็ นเซตที่ไม่มีขอบเขต
จะเห็นว่า จุดขอบของ D1 เป็ นจุดลิมิตของ D1 ด้ วย
แต่ถ้า A ∉ D1 และ ให้ D = D 1 ∪ {A}
เราจะได้ ว่า A เป็ นจุดขอบของ D แต่ A ไม่เป็ นจุดลิมิตของ D

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

19 บทที่ 5. 20 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

5.2.1 ลิมิตของฟังก์ชนั ของสองตัวแปร 3x 2 y


ตัวอย่าง 5.2.1 จงแสดงว่า lim =0
( x , y )→(0, 0) x 2 + y 2
บทนิยาม 5.2.1 ให้ f : D → R เมื่อ D ⊆ R 2
แนวคิด เราจะต้ องแสดงว่า
และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดลิมิตของ D
เรากล่าวว่า f(x, y) สําหรับทุก ๆ จํานวนจริง ε > 0 ที่กาํ หนดให้
มีลิมิตเป็ นจํ านวนจริง L เมือ่ (x, y) เข้าใกล้ ( x 0 , y 0 ) จะมีจาํ นวนจริง δ > 0
3x 2 y
เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ lim f(x, y) = L
( x , y ) →( x 0 , y 0 )
ที่ทาํ ให้ | – 0 | < ε ทุก ๆ (x, y) ที่อยู่ใน D
x2 + y2
ก็ต่อเมื่อ สําหรับทุก ๆ จํานวนจริงบวก ε ที่กาํ หนดให้ (ในที่น้ ี D = {(x, y) | (x, y) ≠ (0, 0)})
จะมีจาํ นวนจริงบวก δ ที่ทาํ ให้ ซึ่ง 0 < || (x, y) – (0, 0) || < δ
| f(x, y) – L | < ε ทุก ๆ (x, y) ∈ D เราจะสังเกตได้ ว่า
ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ จุดสําคัญของการแสดงข้ อความนี้อยู่ท่กี ารเลือกค่า δ ที่เหมาะสม
3x 2 y
ซึ่งเราจะสามารถเลือก δ ได้ จากการพิจารณา | –0|
x2 + y2
3x 2 y 2
กล่าวอีกนัยหนึ่ง เพราะว่า | –0| = | 3x y|
2
x +y 2
| x + y2
2
|
ทุก ๆ (x, y) ∈ D 3x 2
y
=
ถ้ า 0 < || (x, y) – ( x 0 , y0 ) || < δ x + y2
2

| f(x, y) – L | < ε
2
+ y2 ) x 2 + y2
แล้ ว ≤ 3(x
x 2 + y2
= 3 x 2 + y2
< 3δ
เพราะฉะนั้นเราควรเลือก δ ซึ่ง 3δ ≤ ε หรือ δ ≤ 3ε
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
21 บทที่ 5. 22 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

วิธีทํา กําหนดให้ ε > 0 เลือก δ = 3ε บทนิยาม 5.2.2 ให้ f : D → R เมื่อ D ⊆ R 2


เพราะฉะนั้น δ > 0 และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดลิมิตของ D
D = {(x, y) | (x, y) ≠ (0, 0)} ให้ C เป็ นเส้ นโค้ งใด ๆ ใน R 2 ซึ่งผ่านจุด ( x 0 , y 0 )
เรากล่าวว่า
ให้ (x, y) เป็ นจุดใด ๆ ใน D ซึ่ง (x, y) ≠ (0, 0)
f(x, y) มีลิมิตเป็ นจํ านวนจริง L เมือ่ (x, y) เข้าใกล้
สมมติ 0 < || (x, y) – (0, 0) || < δ ( x 0 , y 0 ) ตามเส้นโค้ง C
3x 2 y 2
เพราะฉะนั้น | –0| = | 3x y|
เขียนแทนด้ วยสัญลักษ์ lim f(x, y) = L
2
x +y 2
| x + y2
2
| ( x , y ) →( x 0 , y 0 )
2 บน
3x y C
= 2
x +y 2
ก็ต่อเมื่อ สําหรับทุก ๆ จํานวนจริงบวก ε ที่กาํ หนดให้
2 2 2 2
≤ 3(x +y ) x +y จะมีจาํ นวนจริงบวก δ ที่ทาํ ให้
x 2 + y2
= 3 x + y2 2 | f(x, y) – L | < ε ทุก ๆ (x, y) ∈ C ∩ D
< 3δ ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ
= 3( 3ε )
กล่าวอีกนัยหนึ่ง

ทุก ๆ (x, y) ∈ C ∩ D
3x 2 y
เพราะฉะนั้น lim =0 † 0 < || (x, y) – ( x 0 , y0 ) || < δ
( x , y )→(0, 0) x 2 + y 2 ถ้ า
แล้ ว | f(x, y) – L | < ε
หมายเหตุ ตัวอย่าง 5.2.1 แสดงให้ เห็นถึงวิธกี ารแสดงว่าลิมิตมี
ค่าโดยใช้ บทนิยามของลิมิต ซึ่งในการเรียนระดับนี้ เราจะไม่เน้ น
วิธกี ารดังกล่าว
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

23 บทที่ 5. 24 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ข้อสังเกต x2y
ตัวอย่าง 5.2.2 กําหนดให้ f(x, y) =
1. ถ้ า lim f(x, y) = L x + y2
4
( x , y ) →( x 0 , y 0 )
จงแสดงว่า lim f(x, y) ไม่มีค่า
( x , y ) →( 0 , 0 )
แล้ ว lim f(x, y) = L
( x , y ) →( x 0 , y 0 ) วิธีทํา ให้ C1 เป็ นเส้ นตรง y = 0
บน C
และ C 2 เป็ นเส้ นโค้ ง y = x 2
สําหรับทุก ๆ เส้ นโค้ ง C ที่ผ่านจุด ( x 0 , y0 )
เพราะฉะนั้น C1 และ C 2 ผ่านจุด (0, 0)
2. จากผลใน ข้ อ 1. ถ้ าเรามีเส้ นโค้ ง 2 เส้ น สําหรับจุด (x, y) ใด ๆ บน C1 ซึ่ง (x, y) ≠ (0, 0)
คือ C1 และ C 2 ซึ่งต่างก็ผ่านจุด ( x 0 , y 0 ) แต่ จะได้ ว่า f(x, y) = 04 = 0
x
lim f(x, y) ≠ lim f(x, y) และสําหรับจุด (x, y) ใด ๆ บน C 2 ซึ่ง (x, y) ≠ (0, 0)
( x , y) →( x 0 , y 0 ) ( x , y ) →( x 0 , y 0 )
4
บน C1 บน C2 จะได้ ว่า f(x, y) = 4x 4 = 12
x +x
เราจะสรุปได้ ทนั ทีว่า f(x, y) ไม่มีลิมิตเป็ นจํานวนจริง เพราะฉะนั้น lim f(x, y) = 0
เมื่อ (x, y) เข้ าใกล้ ( x 0 , y 0 ) ( x , y ) → ( 0, 0 )
บน C1
ซึ่งอาจเขียนได้ ว่า lim f(x, y) ไม่มคี ่า 1
( x , y ) →( x 0 , y 0 ) และ lim f(x, y) =
( x , y ) → ( 0, 0 ) 2
บน C2
3. จากผลในข้ อ 1. ถ้ าเรามีเส้ นโค้ ง C ที่ผ่านจุด เพราะฉะนั้น
( x 0 , y 0 ) และ lim f(x, y) ไม่มคี ่า
( x , y ) →( x 0 , y 0 ) lim f(x, y) ≠ lim f(x, y)
( x , y ) → ( 0, 0 ) ( x , y ) → ( 0, 0 )
บน C
บน C1 บน C2
lim
เราสรุปได้ ว่า
( x , y ) →( 0 , 0 )
f(x, y) ไม่มีค่า เพราะฉะนั้น lim f(x, y) ไม่มีค่า †
( x , y ) →( 0 , 0 )

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


25 บทที่ 5. 26 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร
x 2 + y3 ทฤษฎีบท 5.2.1 ให้ f และ g เป็ นฟังก์ชันจาก D ไปยัง R
ตัวอย่าง 5.2.3 กําหนดให้ f(x, y) =
x2 + y4
เมื่อ D ⊆ R 2 และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดลิมิตของ D
จงแสดงว่า lim f(x, y) ไม่มีค่า
( x , y ) →( 0 , 0 ) และให้ c, A, B เป็ นจํานวนจริงใด ๆ จะได้ ว่า
วิธีทํา ให้ C เป็ นเส้ นตรง x = 0 1. ถ้ า f(x, y) = c ทุก (x, y) ∈ D
จะเห็นว่า C ผ่านจุด (0, 0) แล้ ว lim f(x, y) = c
( x , y ) →( x 0 , y 0 )
สําหรับจุด (x, y) ใด ๆ บน C ซึ่ง (x, y) ≠ (0, 0)
y3
2. ถ้ า f(x, y) = x ทุก (x, y) ∈ D
จะได้ ว่า f(x, y) = = 1
y 4 y แล้ ว lim f(x, y) = x 0
( x , y ) →( x 0 , y 0 )
lim lim 1
3. ถ้ า f(x, y) = y ทุก (x, y) ∈ D
เพราะฉะนั้น f(x, y) = ซึ่งไม่มีค่า
( x , y ) → ( 0, 0 ) ( x , y ) → ( 0, 0 ) y
บน C บน C
แล้ ว lim f(x, y) = y 0
เพราะฉะนั้น lim f(x, y) ไม่มีค่า † ( x , y ) →( x 0 , y 0 )
( x , y ) →( 0 , 0 )
4. ถ้ า lim f(x, y) = A
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

และ lim g(x, y) = B แล้ ว จะได้ ว่า


( x , y ) →( x 0 , y 0 )

4.1 lim [f(x, y) + g(x, y)] = A + B


( x , y ) →( x 0 , y 0 )

4.2 lim f(x, y)g(x, y) = AB


( x , y ) →( x 0 , y 0 )

4.3 lim
f ( x , y)
= A
B
เมื่อ B ≠ 0
( x , y ) →( x 0 , y 0 ) g ( x , y )

4.4 lim | f(x, y) | = | A |


( x , y ) →( x 0 , y 0 )

4.5 lim m f ( x , y) = mA
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

เมื่อ m เป็ นจํานวนเต็มบวกที่มากกว่า 1 และ m A ∈ R


ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

27 บทที่ 5. 28 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.2.4 จงหาค่าของลิมิตต่อไปนี้ x 2 y + y 2 − 3x 2 − 3 y


3. lim
( x , y )→( 0, 3) xy − 3x − y + 3
1. lim (4 x 3 y 2 – 2x y 3 + 5y – 1)
( x , y )→( −1, 2) ( x 2 + y)( y − 3)
= lim
2. lim x 3 y3 + 2 x ( x , y )→( 0, 3) ( x − 1)( y − 3)
( x , y )→( 4, − 2)
x2 + y
x 2 y + y 2 − 3x 2 − 3y = lim
3. lim ( x , y )→( 0, 3) x − 1
( x , y )→( 0, 3) xy − 3x − y + 3
lim ( x 2 + y)
4. lim | xxy+ y | = ( x , y )→(0, 3)
( x , y )→(3, −5) lim ( x − 1)
( x , y )→( 0, 3)
วิธีทํา
= −31
1. lim (4 x 3 y 2 – 2x y 3 + 5y – 1)
( x , y )→( −1, 2) = –3
=4 lim x3 y2 –2 lim x y3
( x , y )→( −1, 2) ( x , y )→( −1, 2)
+5 lim y– lim 1 4. เพราะว่า lim
xy
= 3((33))(+−(5−)5)
( x , y )→( −1, 2) ( x , y )→( −1, 2) ( x , y )→(3, −5) 3x + y
= 4(–1)(4) – 2(–1)(8) + 5(2) – 1 = –154
= –16 + 16 + 10 – 1 เพราะฉะนั้น lim | xy
x+y
| = | –154 |
( x , y )→(3, −5)
=9
= 154 †
2. lim x 3 y 3 + 2x
( x , y ) → ( 4, − 2 )

=( lim x)( 3 lim (y3 + 2x) )


( x , y ) → ( 4, − 2 ) ( x , y ) → ( 4, − 2 )

= 43 − 8 + 8
=0

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


29 บทที่ 5. 30 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ในการแสดงว่า lim f(x, y)g(x, y) = 0 บทพิสูจน์ กําหนดให้ f(x, y), g(x, y) เป็ นฟังก์ชัน และ
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

สามารถใช้ ผลของทฤษฎีบท ต่อไปนี้ 1. มีจาํ นวนจริงบวก M และ δ


ที่ทาํ ให้ | f(x, y) | ≤ M ทุก (x, y) ในโดเมนของ f
ทฤษฎีบท 5.2.2 กําหนดให้ f(x, y) และ g(x, y) เป็ นฟังก์ชัน
ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ
ถ้ า 1. มีจาํ นวนจริงบวก M และ δ
และ
ที่ทาํ ให้ | f(x, y) | ≤ M 2. lim g(x, y) = 0
( x , y ) →( x 0 , y 0 )
ทุก (x, y) ในโดเมนของ f
ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ กําหนดให้ ε > 0
เพราะว่า lim g(x, y) = 0
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

กล่าวอีกนัยหนึ่ง เพราะฉะนั้นจะมี δ′ > 0 ซึ่งทําให้


ทุก (x, y) ในโดเมนของ f | g(x, y) – 0 | < Mε+ 1 ทุก ๆ (x, y) ในโดเมนของ g
ถ้ า 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ′ ... (*)
แล้ ว | f(x, y) | ≤ M ให้ δ′′ เป็ นค่าตํ่าสุดของ {δ, δ′}
และ 2. lim g(x, y) = 0
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

แล้ ว
lim f(x, y)g(x, y) = 0
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

31 บทที่ 5. 32 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ให้ (x, y) เป็ นจุดใด ๆ ในโดเมนของ f และ โดเมนของ g 2x 2 y 3


ตัวอย่าง 5.2.5 จงแสดงว่า lim =0
( x , y )→(0, 0) x 2 + y 2
สมมติว่า
2 xy
0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ′′ วิธีทํา ให้ f(x, y) =
x + y2
2
และ g(x, y) = x y3

เพราะฉะนั้นจาก 1. จะได้ ว่า | f(x, y) | ≤ M เพราะว่า | 2 xy


| = 2 | x || y |
x + y2
2
x2 + y2
และจาก (*) จะได้ ว่า | g(x, y) | < Mε+ 1
2 x 2 y2
=
เพราะฉะนั้น x2 + y2
| f(x, y)g(x, y) – 0 | = | f(x, y)g(x, y) | ≤ 2 x 2 + y2 x 2 + y2
x 2 + y2
= | f(x, y) | | g(x, y) |
ทุก (x, y) ≠ (0, 0)
< M( Mε+ 1 )
=2
เพราะฉะนั้น | 2 xy
|≤2 ทุก (x, y) ∈ Df ... (1)
= ( MM+ 1 )ε x2 + y 2

< (1)ε และ lim g(x, y) = lim x y3 = 0 ... (2)


( x , y )→(0, 0) ( x , y )→(0, 0)

=ε เลือก M = 2 และ δ = 1 เพราะฉะนั้น จาก (1), (2) จะได้ ว่า


เพราะฉะนั้น lim f(x, y)g(x, y) = 0 † 1. มีจาํ นวนจริงบวก M และ δ ที่ทาํ ให้
( x , y ) →( x 0 , y 0 )
| f(x, y) | ≤ M ทุก (x, y) ในโดเมนของ f
ซึ่ง 0 < || (x, y) – (0, 0) || < δ
และ 2. lim g(x, y) = 0
( x , y ) → ( 0, 0 )
โดยทฤษฎีบท 5.2.2 จะได้ ว่า lim f(x, y)g(x, y) = 0
( x , y )→(0, 0)
2 3
2x y
เพราะฉะนั้น lim =0 †
( x , y )→(0, 0) x 2 + y 2

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


33 บทที่ 5. 34 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร
x 2y4 5.2.2 ความต่อเนือ่ งของฟังก์ชนั ของสองตัวแปร
ตัวอย่าง 5.2.6 จงแสดงว่า lim =0
( x , y )→(0, 0) x 4 + y 4
บทนิยาม 5.2.3
y4
วิธีทํา ให้ f(x, y) =
x + y4
4
และ g(x, y) = x 2 ให้ f : D → R เมื่อ D ⊆ R 2
เพราะว่า y 4 ≤ x 4 + y 4 ทุก (x, y) ในโดเมนของ f และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดใด ๆ ใน R 2
เราจะกล่าวว่า f มีความต่อเนือ่ งทีจ่ ุด ( x 0 , y 0 ) ก็ต่อเมื่อ
เพราะฉะนั้น ถ้ า 0 < || (x, y) – (0, 0) || < 1
1. f( x 0 , y 0 ) มีค่า
y4
แล้ ว | |≤1 ... (1) 2. lim f(x, y) มีค่า
x4 + y4 ( x , y ) →( x 0 , y 0 )
และ lim g(x, y) = lim x2 =0 ... (2) และ 3. lim f(x, y) = f( x 0 , y 0 )
( x , y )→(0, 0) ( x , y )→(0, 0) ( x , y ) →( x 0 , y 0 )
เลือก M = 1 และ δ = 1 สําหรับ S ⊆ D เราจะกล่าวว่า f มีความต่อเนือ่ งบน S
เพราะฉะนั้น จาก (1) และ (2) จะได้ ว่า ก็ต่อเมื่อ f มีความต่อเนื่องที่ทุก ๆ จุดใน S
1. มีจาํ นวนจริงบวก M และ δ ที่ทาํ ให้
ตัวอย่าง 5.2.7
| f(x, y) | ≤ M ทุก (x, y) ในโดเมนของ f ⎧ 2
x y
ซึ่ง 0 < || (x, y) – (0, 0) || < δ กําหนดให้ f(x, y) = ⎪⎨ x 4 + y2 เมื่อ (x, y) ≠ (0,0)
⎪ 0 เมื่อ ( x, y) = (0,0)
และ 2. lim g(x, y) = 0 ⎩
( x , y )→(0, 0)
โดยทฤษฎีบท 5.2.2 จะได้ ว่า lim f(x, y)g(x, y) = 0 จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องที่จุด (0, 0) หรือไม่
( x , y )→(0, 0)
2 4 วิธีทํา จากตัวอย่าง 5.2.2
x y
เพราะฉะนั้น lim =0 † เราได้ ว่า lim f(x, y) ไม่มีค่า
( x , y )→(0, 0) x 4 + y 4
( x , y ) → ( 0, 0 )

เพราะฉะนั้น f ไม่มีความต่อเนื่องที่จุด (0, 0) †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

35 บทที่ 5. 36 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร
xy xy
ตัวอย่าง 5.2.8.1 กําหนดให้ f(x, y) = x−y
ตัวอย่าง 5.2.8.2 กําหนดให้ f(x, y) = x−y
จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องที่จุด (1, –1) หรือไม่ จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องบนโดเมนของ f หรือไม่
วิธีทํา วิธีทํา
เพราะว่า โดเมนของ f คือ D = {(x, y) | x ≠ y}
(1) f(1, –1) = 11−(−(−1)1) ให้ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดใด ๆ ใน D
x y
= – 12 (1) f( x 0 , y 0 ) = x 0− y0 ซึ่งมีค่าเป็ นจํานวนจริง
0 0
xy xy
(2) lim f(x, y) = lim (2) lim f(x, y) = lim
( x , y )→(1, −1) ( x , y )→(1, −1) x − y ( x , y ) →( x 0 , y 0 ) ( x , y ) →( x 0 , y 0 ) x−y
= – 12 x 0 y0
= x 0 − y0
และ (3) lim f(x, y) = f(1, –1)
( x , y )→(1, −1)
ซึ่งมีค่าเป็ นจํานวนจริง
(จากข้ อ (1) และ (2)) และ
เพราะฉะนั้น f มีความต่อเนื่องที่จุด (1, –1) † (3) lim f(x, y) = f( x 0 , y0 )
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

(จาก (1) และ (2))


เพราะฉะนั้น f มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 )
แต่เพราะว่า ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดใด ๆ ใน D
เพราะฉะนั้น f มีความต่อเนื่องที่ทุก ๆ จุดใน D
เพราะฉะนั้น f มีความต่อเนื่องบนโดเมนของ f †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


37 บทที่ 5. 38 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

สมบัติเกีย่ วกับความต่อเนือ่ งของฟังก์ชนั ทฤษฎีบท 5.2.4 ให้ f, g : R 2 → R โดยที่ f(x, y) = x


ทฤษฎีบท 5.2.3 และ g(x, y) = y จะได้ ว่า f และ g มีความต่อเนื่องบน R 2
ถ้ า f และ g เป็ นฟังก์ชันที่มคี วามต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 )
และ c เป็ นค่าคงตัว หมายเหตุ เราเรียกฟังก์ชัน f และ g ในทฤษฎีบท 5.2.4
แล้ ว ว่า ฟังก์ชนั โพรเจกชัน
1. ฟังก์ชัน f + g, f – g, cf, fg และ | f |
มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 ) ข้อสังเกต สําหรับฟังก์ชันพหุนามของสองตัวแปร ซึ่งเป็ น
2. ถ้ า g( x 0 , y 0 ) ≠ 0 ฟังก์ชันที่เขียนได้ ในรูป
m n
แล้ ว ฟังก์ชัน gf มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 ) f(x, y) = ∑ ∑ c ij x i y j เมื่อ cij เป็ นค่าคงตัว
i = 0 j= 0
โดยอาศัยทฤษฎีบท 5.2.3 และ 5.2.4
จะเห็นว่า ฟังก์ชันพหุนามของสองตัวแปร
มีความต่อเนื่องบน R 2 เสมอ
ตัวอย่างเช่น
f(x, y) = 2x – 3y + 1
g(x, y) = x 2 – 3xy + 5 y 2 – x + 2y + 6
h(x, y) = x 5 y + x 4 y 3 - 2 x 2 + xy – y
y4

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

39 บทที่ 5. 40 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

บทนิยาม 5.2.4 ถ้ า f : D1 → R เมื่อ D1 ⊆ R 2 ทฤษฎีบท 5.2.5 ให้ f : D1 → R เมื่อ D1 ⊆ R 2


และ g : D 2 → R โดยที่เรนจ์ของ f เป็ นสับเซตของ D 2 และ g : D 2 → R โดยที่เรนจ์ของ f เป็ นสับเซตของ D 2
ฟังก์ชนั ประกอบของ f และ g และให้ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดใด ๆใน D1
ซึ่งจะเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ g D f ถ้ า f มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 )
คือ ฟังก์ชันจาก D1 ไปยัง R โดยที่ และ g มีความต่อเนื่องที่จุด f( x 0 , y 0 )
( g D f )(x, y) = g(f(x, y)) สําหรับทุก (x, y) ∈ D1 แล้ ว ฟังก์ชันประกอบของ f และ g
คือ g D f มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 )
บทพิสูจน์ ให้ h = g D f และ u 0 = f( x 0 , y 0 )

รูปที่ 5.2.5
รูปที่ 5.2.6
เราจะต้ องแสดงว่า สําหรับทุก ๆ จํานวนจริง ε > 0
ที่กาํ หนดให้ จะมีจาํ นวนจริง δ > 0
ที่ทาํ ให้ | h(x, y) – h( x 0 , y 0 ) | < ε ทุก ๆ (x, y) ∈ D1
ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


41 บทที่ 5. 42 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

กําหนดให้ ε > 0 ตัวอย่าง 5.2.9 กําหนดให้ f(x, y) = sin(x + y2)

เพราะว่า g มีความต่อเนื่องที่จุด u 0 จงแสดงว่า f มีความต่อเนื่องบน R 2


เพราะฉะนั้น จะมีจาํ นวนจริง δ1 > 0 ที่ทาํ ให้ วิธีทํา ให้ u(x, y) = x + y 2
| g(u) – g( u 0 ) | < ε ทุก ๆ u ∈ D 2 และ g(u) = sin u
จะเห็นว่า u มีความต่อเนื่องบน R 2
ซึ่ง 0 < | u – u 0 | < δ1 ... (1)
(เป็ นฟังก์ชันพหุนามของสองตัวแปร)
และเพราะว่า f มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 )
g มีความต่อเนื่องบน R
เพราะฉะนั้นจะมีจาํ นวนจริง δ > 0 ที่ทาํ ให้ และ f(x, y) = g(u(x, y)) = sin(x + y 2 )
| f(x, y) – f( x 0 , y 0 ) | < δ1 ทุก ๆ (x, y) ∈ D1
เพราะฉะนั้น โดยทฤษฎีบท 5.2.5
ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ ... (2) จะได้ ว่า f = g D u มีความต่อเนื่องบน R 2 †
ให้ (x, y) เป็ นจุดใด ๆ ใน D1
ซึ่ง 0 < || (x, y) – ( x 0 , y 0 ) || < δ
จาก (2) จะได้ ว่า
| f(x, y) – f( x 0 , y 0 ) | < δ1
และจาก (1) จะได้ ว่า
| g(f(x, y)) – g(f( x 0 , y 0 )) | < ε
หรือ | h(x, y) – h( x 0 , y 0 ) | < ε (เพราะว่า h = g D f )
เพราะฉะนั้น h = g D f มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 ) †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

43 บทที่ 5. 44 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร
2
+ y2 ) F( x , y)
ตัวอย่าง 5.2.10 กําหนดให้ f(x, y) = 3 An(x2 เพราะว่า f(x, y) = G ( x , y)
x −y
จงพิจารณาว่า f มีความต่อเนื่องที่จุดใดบ้ าง เพราะฉะนั้น f มีความต่อเนื่องที่ทุก ๆ จุด (x, y) ซึ่ง
พร้ อมทั้งเขียนรูปแสดงอาณาบริเวณที่ f มีความต่อเนื่อง (x, y) ≠ (0, 0) และ G(x, y) ≠ 0
วิธีทํา ให้ F(x, y) = 3 An( x 2 + y 2 ) ซึ่งก็คือ x 2 – y ≠ 0
G(x, y) = x 2 – y เพราะฉะนั้น f มีความต่อเนื่องที่ทุก ๆ จุด (x, y) ซึ่ง y ≠ x 2
(กล่าวคือ f มีความต่อเนื่องที่ทุกจุดใน R 2 ยกเว้ นจุดบน
u(x, y) = An( x 2 + y2)
พาราโบลา y = x 2 นั่นเอง)
v(x, y) = x 2 + y 2 และอาณาบริเวณที่ f มีความต่อเนื่อง
g(v) = An v คือ บริเวณที่แรเงาในรูปที่ 5.2.7
จะเห็นว่า G และ v มีความต่อเนื่องบน R 2 (เป็ นฟังก์ชันพหุ
นามของสองตัวแปร)
g มีความต่อเนื่อง เมื่อ v > 0 ซึ่งก็คอื x 2 + y 2 > 0
เพราะฉะนั้น (x, y) ≠ (0, 0)
และ u(x, y) = g(v(x, y)) = An( x 2 + y 2 )
เพราะฉะนั้น โดยทฤษฎีบท 5.2.5 จะได้ ว่า u = g D v
มีความต่อเนื่องที่ทุก ๆ จุด (x, y) ซึ่ง (x, y) ≠ (0, 0)
เพราะว่า F(x, y) = 3u(x, y) = 3An( x 2 + y 2 ) รูปที่ 5.2.7
เพราะฉะนั้น F มีความต่อเนื่องที่ทุก ๆ จุด (x, y) †
ซึ่ง (x, y) ≠ (0, 0)
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
45 บทที่ 5. 46 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

5.3 อนุ พนั ธ์ย่อยของฟังก์ชนั ของสองตัวแปร บทนิยาม 5.3.1


ให้ z = f(x, y) เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร ให้ z = f(x, y) เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร
และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดภายในของโดเมนของ f และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดภายในของโดเมนของ f
ถ้ าเรากําหนดให้ y มีค่าคงตัว สมมติว่า y = y 0 อนุ พนั ธ์ย่อยของ f เทียบกับ x ทีจ่ ุด ( x 0 , y 0 ) คือ
จะได้ ว่า z = f(x, y 0 ) เป็ นฟังก์ชันของตัวแปร x เพียงตัวเดียว ∂f ( x , y ) = lim f ( x 0 + h , y0 ) − f ( x 0 , y0 ) ถ้ าลิมิตมีค่า
∂x 0 0 h →0 h
ซึ่งถ้ าฟังก์ชันนี้มีอนุพันธ์ท่จี ุด x = x 0 และ
เราจะเรียกอนุพันธ์ท่ไี ด้ น้ ีว่าอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x ที่จุด อนุ พนั ธ์ย่อยของ f เทียบกับ y ทีจ่ ุด ( x 0 , y 0 ) คือ
( x 0 , y 0 ) และจะเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ ∂∂xf ( x 0 , y 0 ) ∂f ( x , y ) = lim f ( x 0 , y0 + k ) − f ( x 0 , y0 ) ถ้ าลิมิตมีค่า
∂y 0 0 k →0 k
ในทํานองเดียวกัน
ถ้ ากําหนดให้ x มีค่าคงตัว หมายเหตุ สัญลักษณ์ท่ใี ช้ เขียนแทนอนุพันธ์ย่อยของ
สมมติว่า x = x 0 จะได้ ว่า z = f( x 0 , y) z = f(x, y) มีหลายแบบ เช่น อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x
เป็ นฟังก์ชันของตัวแปร y เพียงตัวเดียว ที่จุด ( x 0 , y 0 ) อาจเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์
ซึ่งถ้ าฟังก์ชันนี้มีอนุพันธ์ท่จี ุด y = y 0 f x ( x 0 , y 0 ), f1 ( x 0 , y 0 ), D1 f( x 0 , y 0 ) หรือ ∂z
∂x ( x 0 , y0 )
เราจะเรียกอนุพันธ์ท่ไี ด้ น้ ีว่า และอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ y ที่จุด ( x 0 , y 0 ) อาจเขียน
อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ y ที่จุด ( x 0 , y 0 ) แทนด้ วยสัญลักษณ์
และเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ ∂∂xf ( x 0 , y 0 ) f y ( x 0 , y 0 ), f 2 ( x 0 , y 0 ), D 2 f( x 0 , y 0 ) หรือ ∂z
∂x ( x 0 , y0 )

การหาอนุพันธ์ย่อยคือ การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันของหนึ่งตัว
แปร
เพราะฉะนั้นเรานําสูตรการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันของหนึ่งตัว
แปรมาใช้ ได้
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

47 บทที่ 5. 48 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.3.1 กําหนดให้ f(x, y) = 3 x 5 y – 4 y 2 + 5x – 7 2x + y 2


ตัวอย่าง 5.3.2 กําหนด f(x, y) = x−y
จงหาค่าของ f x (1, –1) และ f y (1, –1)
จงหา f x (x, y) และ f y (x, y)
วิธีทํา เราจะหา f x (x, y) และ f y (x, y) ก่อน 2
วิธีทํา f x (x, y) = ∂ ( 2x + y )
แล้ วจึงแทนค่า x ด้ วย 1 และ y ด้ วย –1 ∂x x − y
สําหรับการหา f x (x, y) เราจะใช้ สตู รการหาอนุพันธ์ของ f ( x − y) ∂ ( 2 x + y 2 ) − ( 2 x + y 2 ) ∂ ( x − y)
= ∂x ∂x
โดยคิดว่า f เป็ นฟังก์ชันของตัวแปร x เพียงตัวเดียว ( x − y) 2
และการหา f y (x, y) เราจะใช้ สตู รการหาอนุพันธ์ของ f ( x − y)(2) − (2 x + y 2 )(1)
=
( x − y) 2
โดยคิดว่า f เป็ นฟังก์ชันของตัวแปร y เพียงตัวเดียว 2
+ 2y
f x (x, y) = ∂ (3 x 5 y – 4 y 2 + 5x – 7) =–y
∂x ( x − y) 2
= 15 x 4 y + 5 ∂ ( 2x + y )
2
และ f y (x, y) =
และ f y (x, y) = ∂ (3 x 5 y – 4 y 2 + 5x – 7) ∂y x − y
∂y
( x − y) ∂ ( 2 x + y 2 ) − ( 2 x + y 2 ) ∂ ( x − y)
= 3 x 5 – 8y ∂y ∂y
=
( x − y) 2
เพราะฉะนั้น f x (1, –1) = 15(1) 4 (–1) + 5
( x − y)(2 y) − (2 x + y 2 )(−1)
= –10 =
( x − y) 2
และ f y (1, –1) = 3(1) 5 – 8(–1) 2 xy + 2x − y 2
= †
= 11 † ( x − y) 2

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


49 บทที่ 5. 50 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร
2y
ตัวอย่าง 5.3.3 กําหนด f(x, y) = e x sin 2 (3y) ในกรณีท่เี ราไม่สามารถใช้ สตู รการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันของ
จงหา f x (x, y) และ f y (x, y) หนึ่งตัวแปรในการหาอนุพันธ์ย่อยได้ น้ัน เราจําเป็ นต้ องหา
วิธีทํา อนุพันธ์ย่อยโดยใช้ บทนิยาม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
2
f x (x, y) = ∂ ( e x y sin 2 (3y)) ตัวอย่าง 5.3.4 กําหนดให้ f(x, y) = x 3 y
∂x
x 2y จงหา ∂∂xf (0, 0) และ ∂∂yf (0, 0)
= sin 2 (3y) ∂∂x e
2y ∂ ( x 2 y)
= ( sin 2 (3y)) e x ∂x
วิธีทํา จาก f(x, y) = x 3 y
= 2xy e x
2y
sin 2 (3y)
เราสามารถหา ∂∂xf (0, 0)
และ ได้ โดยใช้ สตู รการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปร
f y (x, y) หา ∂∂xf (x, y) ก่อน แล้ วจึงแทนค่า x ด้ วย 0 และ y ด้ วย 0
2 ∂f (x, y) = 3 y
= ∂∂y ( e x y sin 2 (3y)) เพราะว่า ∂x
เพราะฉะนั้น ∂f (0, 0) = 0
2y ∂ 2y
= ex ∂y
sin 2 (3y) + sin 2 (3y) ∂∂y e x ∂x

2 2
เพราะว่า g(y) = 3 y ไม่มีอนุพันธ์ท่จี ุด 0
= e x y (2 sin(3y)cos(3y))(3) + ( sin 2 (3y)) e x y ( x 2 ) ∂f
เพราะฉะนั้น การหา ∂y (0, 0) ต้ องใช้ บทนิยาม 5.3.1
2
= e x y sin(3y)(6 cos(3y) + x 2 sin(3y)) † จากบทนิยาม 5.3.1 เราทราบว่า
f (0, k ) − f (0,0)
ถ้ า lim มีค่า
k →0 k
แล้ ว ∂f (0, 0) = lim f (0, k ) − f (0,0)
∂y k →0 k
f (0, k ) − f (0, 0)
เพราะว่า lim k
= lim 0 −k 0 = lim 0 =0
k →0 k →0 k →0
เพราะฉะนั้น ∂∂yf (0, 0) = 0 †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

51 บทที่ 5. 52 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.3.5 อนุ พนั ธ์ย่อยของฟังก์ชนั ของสามตัวแปร


⎧ x 3 y − xy3 ถ้ า u = f(x, y, z) เป็ นฟังก์ชันของสามตัวแปร
กําหนดให้ f(x, y) = ⎪⎨ x 2 + y2 เมื่อ (x, y) ≠ (0, 0)
⎪⎩ 0 เมื่อ ( x, y) = (0, 0) และ ( x 0 , y 0 , z 0 ) เป็ นจุดภายในของโดเมนของ f จะได้ ว่า
จงหาค่าของ f x (0, 0) และ f y (0, 0) อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x ที่จุด ( x 0 , y 0 , z 0 ) คือ
f (h , 0) − f (0, 0) ∂f ( x , y , z ) f ( x 0 + h1, y0 , z 0 ) − f ( x 0 , y0 , z 0 )
วิธีทํา เพราะว่า lim
h
= lim 0 −h 0 ∂x 0 0 0
= lim
h1→0 h1
h →0 h →0
=0 ถ้ าลิมิตมีค่า
เพราะฉะนั้น ∂f (0, 0) = 0 เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ f x ( x 0 , y 0 , z 0 ),
∂x
เพราะว่า lim
f (0, k ) − f (0, 0)
= lim 0 −k 0 f1 ( x 0 , y 0 , z 0 ), D1 f( x 0 , y 0 , z 0 ) หรือ ∂u
k →0 k k →0 ∂x ( x 0 , y0 , z 0 )
=0 อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ y ที่จุด ( x 0 , y 0 , z 0 ) คือ
เพราะฉะนั้น ∂f (0, 0) = 0 † ∂f ( x , y , z ) = lim f ( x 0 , y0 + h 2 , z 0 ) − f ( x 0 , y0 , z 0 )
∂y ∂y 0 0 0 h
h 2 →0 2
ถ้ าลิมิตมีค่า
เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ f y ( x 0 , y 0 , z 0 ),
f 2 ( x 0 , y 0 , z 0 ), D 2 f( x 0 , y 0 , z 0 ) หรือ ∂u
∂y ( x 0 , y0 , z0 )

อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ z ที่จุด ( x 0 , y 0 , z 0 ) คือ


∂f ( x , y , z ) = lim f ( x 0 , y0 , z 0 + h 3 ) − f ( x 0 , y0 , z 0 )
∂z 0 0 0 h 3 →0 h 3
ถ้ าลิมิตมีค่า
เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ f z ( x 0 , y 0 , z 0 ),
f3 ( x 0 , y 0 , z 0 ), D 3 f( x 0 , y 0 , z 0 ) หรือ ∂u
∂z ( x 0 , y0 , z 0 )

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


53 บทที่ 5. 54 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

การหาอนุพันธ์ย่อยของฟังก์ชันของสามตัวแปร u = f(x, y, z) 5.3.1 ความหมายทางเรขาคณิตของอนุ พนั ธ์ย่อยของฟังก์ชนั


ก็สามารถทําได้ ในทํานองเดียวกันกับ ของสองตัวแปร
การหาอนุพันธ์ย่อยของฟังก์ชันของสองตัวแปร กล่าวคือ ให้ z = f(x, y) เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร
ถ้ าเราต้ องการหาอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับตัวแปรใด และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดภายในของโดเมนของ f
ก็ให้ คิดว่า f เป็ นฟังก์ชันของตัวแปรนั้นเพียงตัวเดียว เราได้ ทราบมาแล้ วว่า
โดยถือว่าตัวแปรอื่นมีค่าคงตัว กราฟของสมการ z = f(x, y) เป็ นพื้นผิวในปริภมู ิสามมิติ
ตัวอย่างเช่น และ f x ( x 0 , y 0 )
ถ้ า f(x, y, z) = x e y + 2 x 2 y z 3 หรือ อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x ที่จุด ( x 0 , y 0 )
แล้ ว f x (x, y, z) = e y + 4xy z3 คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของ f เทียบกับ x เมื่อกําหนดให้ y มี
f y (x, y, z) = x e y + 2 x 2 z 3 ค่าคงตัว
และ f z (x, y, z) = 6 x 2 y z 2 เพราะฉะนั้น
เราพิจารณาความหมายทางเรขาคณิตของ f x ( x 0 , y 0 ) ได้ ดงั นี้
ถ้ ากําหนดให้ y มีค่าคงตัวเท่ากับ y0 จะได้ ว่า
กราฟของสมการ y = y0 คือระนาบที่ขนานกับระนาบ XZ
โดยมีระยะห่างจากระนาบ XZ เท่ากับ | y0 | หน่วย
และพื้นผิว z = f(x, y) ย่อมถูกตัดด้ วยระนาบ y = y 0
โดยมีรอยตัดเป็ นเส้ นโค้ ง z = f(x, y 0 )
บนระนาบ y = y 0 ซึ่งพิกดั ของจุดต่าง ๆ บนเส้ นโค้ งนี้
จะอยู่ในรูป (x, y0 , f(x, y0 ))
และจะเห็นว่าบนเส้ นโค้ งนี้ f จะเป็ นฟังก์ชันของตัวแปร x
เพียงตัวเดียว
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

55 บทที่ 5. 56 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ความหมายทางเรขาคณิตของ f x ( x 0 , y 0 ) ความหมายทางเรขาคณิตของ f y ( x 0 , y 0 )
เพราะฉะนั้น ถ้ า f x ( x 0 , y 0 ) มีค่า ในทํานองเดียวกัน ถ้ า f y ( x 0 , y 0 ) มีค่า
ค่านี้กจ็ ะเป็ นค่าความชันของเส้ นโค้ งที่จุด ( x 0 , y 0 , f( x 0 , y 0 )) ค่านี้กค็ อื ค่าความชันของเส้ นโค้ งที่เป็ นรอยตัดของ
พื้นผิว z = f(x, y)
กับระนาบ x = x 0 ที่จุด ( x 0 , y 0 , f( x 0 , y 0 ))

รูปที่ 5.3.1

รูปที่ 5.3.2

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


57 บทที่ 5. 58 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.3.6 จงหาความชันของเส้ นโค้ งที่เป็ นรอยตัดของ 5.4 กฎลูกโซ่


พื้นผิว z = 4 + x 2 – 4 y 2 กับ ระนาบ x = 2 ที่จุด (2, 1, 4) ก่อนอื่นเราจะกล่าวถึงการมีอนุพันธ์ของฟังก์ชันของสองตัวแปร
วิธีทํา ให้ z = f(x, y) ซึ่งการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องนี้ มีอยู่หลายวิธดี ้ วยกัน วิธที ่จี ะกล่าว
= 4 + x 2 – 4 y2 ต่อไปนี้เป็ นการอธิบายโดยอาศัยความหมายของการมีอนุพันธ์
จะได้ ว่า f y (x, y) = –8y ของฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปร ซึ่งเราได้ ศกึ ษากันมาแล้ ว เพื่อให้
เพราะฉะนั้น ความชันของเส้ นโค้ งที่จุด (2, 1, 4) เข้ าใจได้ ง่ายขึ้น จะขอทบทวนเกี่ยวกับความหมายของการมี
คือ f y (2, 1) = –8 † อนุพันธ์ของฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปรก่อน
ให้ f เป็ นฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปรที่มอี นุพันธ์ท่จี ุด x 0
ตัวอย่าง 5.3.7 จงหาความชันของเส้ นโค้ งที่เป็ นรอยตัด เราจะได้ ว่าอนุพันธ์ของ f ที่จุด x 0 คือ
ของพื้นผิว 3 x 2 + y2 + z2 = 8 f ′( x 0 ) = lim f (x 0 + ΔΔxx) − f (x 0 )
Δx →0
กับระนาบ y = –1 ที่จุด (1, –1, –2) = lim Δf เมื่อ Δf = f( x 0 + Δx) – f( x 0 )
Δx →0 Δx
วิธีทํา จาก 3 x 2 + y2 + z 2 = 8
ถ้ าเราให้ ε เป็ นฟังก์ชันที่นิยามโดย
จะได้ ว่า z = ± 8 − 3x 2 − y 2 ⎧ Δf − f ' ( x ) เมือ่ Δx ≠ 0
เพราะว่าเราจะหาความชันของเส้ นโค้ งที่จุด (1, –1, –2) ε(Δx) = ⎪⎨ Δx 0

⎪ 0 เมือ่ Δx = 0
ซึ่ง z มีค่าเป็ นลบ ⎩
เราจึงให้ f(x, y) = – 8 − 3x 2 − y2 จะได้ ว่า Δf = f ′( x 0 ) Δx + ε(Δx) Δx
จะได้ ว่า f x (x, y) = 3x
2 2
และ lim ε(Δx) = lim ( ΔΔxf – f ′( x 0 ))
8 − 3x − y Δx →0 Δx →0

เพราะฉะนั้น ความชันของเส้ นโค้ งที่จุด (1, –1, –2) = lim Δf – f ′( x 0 )


Δx →0 Δx
3(1)
คือ f x (1, –1) =
8 − 3 −1 = f ′( x 0 ) – f ′( x 0 )
= 3
2
† =0
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

59 บทที่ 5. 60 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

เพราะฉะนั้น เราอาจกล่าวได้ ว่า f มีอนุพันธ์ท่จี ุด x 0 บทนิยาม 5.4.1


ก็ต่อเมื่อ f ′( x 0 ) มีค่า ให้ f เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดภายใน
และมีฟังก์ชัน ε ที่ทาํ ให้ ของโดเมนของ f
f( x 0 + Δx) - f( x 0 ) = f ′( x 0 ) Δx + ε(Δx) Δx เราจะกล่าวว่า f มีอนุ พนั ธ์ทีจ่ ุด ( x 0 , y 0 )
ก็ต่อเมื่อ f x ( x 0 , y 0 ) และ f y ( x 0 , y 0 )
โดยที่ lim ε(Δx) = 0
Δx →0 มีค่าและมีฟังก์ชัน ε1 และ ε 2 ที่ทาํ ให้
f( x 0 + Δx, y 0 + Δy) – f( x 0 , y 0 )
= f x ( x 0 , y 0 ) Δx + f y ( x 0 , y 0 ) Δy
+ ε1(Δx, Δy) Δx + ε2 (Δx, Δy) Δy
โดยที่ lim ε1 (Δx, Δy) = 0
( Δx , Δy ) →(0, 0)

และ lim ε 2 (Δx, Δy) = 0


( Δx , Δy )→(0, 0)
หมายเหตุ
สําหรับ S ⊆ D f เราจะกล่าวว่า
f มีอนุ พนั ธ์บน S ก็ต่อเมื่อ f มีอนุพันธ์ท่ที ุก ๆ จุดใน S
สําหรับฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปร
ถ้ า f มีอนุพันธ์ท่จี ุด x 0 แล้ ว f จะมีความต่อเนื่องที่จุด x 0
ความจริงข้ อนี้ยังคงเป็ นจริงสําหรับฟังก์ชันของสองตัวแปร

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


61 บทที่ 5. 62 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ทฤษฎีบท 5.4.1 ถ้ า f มีอนุพันธ์ท่จี ุด ( x 0 , y 0 ) ข้อสังเกต สําหรับฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปร


แล้ ว f มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 ) การกล่าวว่า f ′( x 0 ) มีค่า
บทพิสูจน์ เราต้ องแสดงว่า lim f(x, y) = f( x 0 , y0 ) ก็หมายความว่า f มีอนุพันธ์ท่จี ุด x 0 นั่นเอง
( x , y ) →( x 0 , y 0 )

เพราะว่า f มีอนุพันธ์ท่จี ุด ( x 0 , y 0 ) แต่สาํ หรับฟังก์ชันของสองตัวแปร การกล่าวว่า f x ( x 0 , y0 )

เพราะฉะนั้นจากบทนิยาม 5.4.1 และ f y ( x 0 , y 0 ) มีค่า


ถ้ าให้ Δx = x – x 0 และ Δy = y – y 0 ไม่ได้ หมายความว่า f มีอนุพันธ์ท่จี ุด ( x 0 , y 0 )
เราจะได้ ว่า
f(x, y) – f( x 0 , y 0 ) ตัวอย่างเช่น
⎧ x2y
= f x ( x 0 , y 0 ) Δx + f y ( x 0 , y 0 ) Δy f(x, y) = ⎪
⎨ x 4 + y2
เมื่อ ( x , y) ≠ (0, 0)
⎪ 0
+ ε1(Δx, Δy) Δx + ε 2 (Δx, Δy) Δy ⎩ เมื่อ ( x , y) = (0, 0)
f (h , 0) − f (0, 0)
โดยที่ lim ε1(Δx, Δy) = 0
พิจารณา lim
h
= lim 0 −h 0 =0
h →0 h →0
( Δx , Δy )→(0, 0)
เพราะฉะนั้น f x (0, 0) = 0 ... (1)
และ lim ε 2 (Δx, Δy) = 0 f (0, k ) − f (0, 0)
( Δx , Δy )→(0, 0) และพิจารณา lim
k
= lim 0 −k 0
k →0 k →0
เพราะฉะนั้น
=0
lim (f(x, y) – f( x 0 , y 0 )) =0
( Δx , Δy )→(0, 0) เพราะฉะนั้น f y (0, 0) = 0 ... (2)
เพราะฉะนั้น จาก (1) และ (2) จะได้ ว่า f x (0, 0) และ f y (0, 0) มีค่า
lim f(x, y) = f( x 0 , y0 ) † จากตัวอย่าง 5.2.2 ได้ ว่า lim f(x, y) ไม่มคี ่า
( Δx , Δy )→(0, 0) ( x , y )→(0, 0)
เพราะฉะนั้น f ไม่มีความต่อเนื่องที่จุด (0, 0)

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

63 บทที่ 5. 64 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

เพราะฉะนั้น โดยทฤษฎีบท 5.4.1 ตัวอย่าง 5.4.1


จะได้ ว่า f ไม่มีอนุพันธ์ท่จี ุด (0, 0) จงแสดงว่า f(x, y) = x 4 y 3 – 3x y2 มีอนุพันธ์บน R2

วิธีทํา เพราะว่า f x (x, y) = 4 x 3 y 3 – 3 y2


จากตัวอย่างนี้จะเห็นได้ ว่า และ f y (x, y) = 3 x 4 y 2 – 6xy
การที่อนุพันธ์ย่อยของฟังก์ชันของสองตัวแปรมีค่า เพราะฉะนั้น f x และ f y มีความต่อเนื่องบน R 2
ไม่เพียงพอที่จะสรุปว่าฟังก์ชันนั้นมีอนุพันธ์ (เป็ นฟังก์ชันพหุนามของสองตัวแปร)
ทฤษฎีบทต่อไปนี้จะบอกให้ เราทราบว่า เพราะฉะนั้น โดยทฤษฎีบท 5.4.2
ฟังก์ชันของสองตัวแปรจะมีอนุพันธ์เมื่อใด จะได้ ว่า f มีอนุพันธ์บน R 2 †

ทฤษฎีบท 5.4.2 ให้ f เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร


และ ( x 0 , y 0 ) เป็ นจุดภายในของโดเมนของ f
ถ้ า อนุพันธ์ย่อยของ f มีค่าบนแผ่นกลมเปิ ด B( x 0 , y0 )
และ มีความต่อเนื่องที่จุด ( x 0 , y 0 )
แล้ ว f มีอนุพันธ์ท่จี ุด ( x 0 , y 0 )

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


65 บทที่ 5. 66 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

กฎลูกโซ่ของฟังก์ชันหลายตัวแปร ทฤษฎีบท 5.4.3 (กฎลูกโซ่)


ให้ z = f(x, y) เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร
ทนทวน Calculus I และ x = x(t), y = y(t) เป็ นฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปร
ถ้ า y = f(x) และ x = g(t) ถ้ า x และ y มีอนุพันธ์ท่จี ุด t 0
เป็ นฟังก์ชันที่มอี นุพันธ์ท่จี ุด x และ t ตามลําดับ และ f มีอนุพันธ์ท่จี ุด (x( t 0 ), y( t 0 ))
แล้ ว y = ( f D g )(t) แล้ ว z = f(x(t), y(t)) มีอนุพันธ์ท่จี ุด t 0
เป็ นฟังก์ชันที่มอี นุพันธ์ท่จี ุด t โดยที่ โดยที่
( f D g )′(t) = f ′(g(t))g′(t) dz
dt
= ∂∂xf (x( t 0 ), y( t 0 )) dx (t )
dt 0
t =t0
dy dy dx
หรือ = dx + ∂f (x( t ), y( t )) dy ( t )
dx dt ∂y 0 0 dt 0
หรือ dz = ∂f dx + ∂f dy
ถ้ า z = f(x, y) เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร dt ∂x dt ∂y dt
หรือ dz = ∂z dx + ∂z dy
และ x = x(t), y = y(t) เป็ นฟังก์ชันของหนึ่งตัวแปร dt ∂x dt ∂y dt
แล้ วจะได้ ว่า z = f(x(t), y(t)) เป็ นฟังก์ชันของตัวแปร t
เพียงตัวเดียว
เพราะฉะนั้น เราสามารถกล่าวถึง dz dt
ได้
∂z , ∂z , dx dy
ซึ่งค่านี้จะมีส่วนเกี่ยวข้ องกับ ∂x ∂y dt
และ dt

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

67 บทที่ 5. 68 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.4.2 กําหนดให้ ตัวอย่าง 5.4.3 กําหนดให้


z = x 2 y, x = t cos t และ y = t sin t z = An(2 x 2 + xy), x = t และ y = 3t – 1
จงหา dz dt
โดยใช้ กฎลูกโซ่ จงใช้ กฎลูกโซ่หาค่าของ dz เมื่อ t = 1
dt
วิธีทํา แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ คือ วิธีทํา แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ คือ

จากกฎลูกโซ่
dz = ∂z dx + ∂z dy
จากกฎลูกโซ่ dt ∂x dt ∂y dt
dz = ∂z dx + ∂z dy = ( 4x2 + y )( 1 ) +( x )(3)
dt ∂x dt ∂y dt 2 x + xy 2 t 2 x 2 + xy
= 2xy(–t sin t + cos t) + x 2 (t cos t + sin t) เมื่อ t = 1 จะได้ x = 1 และ y = 2
= 2(t cos t)(t sin t)(cos t – t sin t) เพราะฉะนั้น
+ (t cos t) 2 (t cos t + sin t) dz
dt
= ( 42(1) + 2 )( 1 ) + ( 1 )(3)
t =1 2(1 ) + (1)(2) 2 1 2(12 ) + (1)(2)
= 2 t 2 (sin t cos t)(cos t – t sin t)
= ( 64 )( 12 ) + ( 14 )(3)
+ t 2 ( cos 2 t)(t cos t + sin t)
= 3 †
= 2 t 2 sin t cos 2 t – 2 t 3 sin 2 t cos t + t 3 cos 3 t + t 2 sin t cos 2 t 2

= 3 t 2 sin t cos 2 t – 2 t 3 sin 2 t cos t + t 3 cos3 t †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


69 บทที่ 5. 70 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ทฤษฎีบท 5.4.4 ให้ z = f(x, y), x = x(u, v) ตัวอย่าง 5.4.4 กําหนดให้ z = e xy , x = 2u + v และ y = u
v
และ y = y(u, v) เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร จงหาค่าของ ∂∂uz และ ∂∂vz โดยใช้ กฎลูกโซ่
ถ้ า x และ y มีอนุพันธ์ย่อยที่จุด ( u 0 , v0 ) วิธีทํา แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ คือ
และ f มีอนุพันธ์ย่อยที่จุด (x( u 0 , v 0 ), y( u 0 , v 0 ))
แล้ ว z = f(x(u, v), y(u, v)) มีอนุพันธ์ย่อยที่จุด ( u 0 , v 0 )
โดยที่
∂z
∂u u = u , v = v
0 0
= ∂∂xf (x( u 0 , v 0 ), y( u 0 , v 0 )) ∂∂xu ( u 0 , v 0 ) จากกฎลูกโซ่
∂z = ∂z ∂x + ∂z ∂y
+ ∂∂yf (x( u 0 , v 0 ), y( u 0 , v 0 )) ∂∂uy ( u 0 , v 0 ) ∂u ∂x ∂u ∂y ∂u

และ ∂∂vz = (y exy )(2) + (x e xy )( 1v )


u = u 0 , v = v0 u ( 2u + v) u
2u e ( 2 u + v ) v + ( 2uv+ v ) e v
= ∂f (x( u , v ), y( u , v )) ∂x ( u , v ) = v
∂x 0 0 0 0 ∂v 0 0
(2u + v) u
+ ∂y (x( u 0 , v 0 ), y( u 0 , v 0 )) ∂∂yv ( u 0 , v 0 )
∂f = ( 4uv+ v ) e v

และ
∂z = ∂f ∂x + ∂f ∂y ∂z ∂z ∂x ∂z ∂y
∂u ∂x ∂u ∂y ∂u ∂v
= ∂x ∂v
+ ∂y ∂v
∂z ∂f ∂x ∂f ∂y
∂v
= ∂x ∂v
+ ∂y ∂v = (y e xy )(1) + (x exy )(– u2 )
v
u
u e (2u + v) v u (2u + v) ( 2u + v) uv
∂z ∂z ∂x ∂z ∂y = – e
∂u
= ∂x ∂u
+ v v2
∂y ∂u
∂z ∂z ∂x ∂z ∂y 2 ( 2u + v) u
∂v
= ∂x ∂v
+ ∂y ∂v
= – 2u2 e v †
v

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

71 บทที่ 5. 72 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.4.5 กําหนดให้ ตัวอย่าง 5.4.6 กําหนดให้ z = f(u – v, v – u)


t = 3u – v 2 , u = x + y An x และ v = x 2 – y An y จงแสดงว่า ∂∂uz + ∂∂vz = 0
จงหาค่าของ ∂∂xt และ ∂∂yt ที่จุด (x, y) = (1, 1) วิธีทํา ให้ x(u, v) = u – v และ y(u, v) = v – u
เพราะฉะนั้น z = f(x(u, v), y(u, v))
วิธีทํา แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ คือ
จากกฎลูกโซ่
∂z = ∂f ∂x + ∂f ∂y
∂u ∂x ∂u ∂y ∂u
= ∂x (1) + ∂∂yf (–1)
∂ f

∂f – ∂f
จากกฎลูกโซ่ ∂t
∂x
= ∂∂ut ∂∂ux + ∂∂vt ∂∂xv = ∂x ∂y
= (3)(1 + xy ) + (–2v)(2x) และ ∂z = ∂f ∂x + ∂f ∂y
∂v ∂x ∂v ∂y ∂v
= 3(1 + xy ) – 4vx = ∂f (–1) + ∂f (1)
∂x ∂y
และ ∂t = ∂∂ut ∂∂uy + ∂∂vt ∂∂vy ∂f ∂ f
∂y = – ∂x + ∂y
= (3)(An x) + (–2v)(–1 – An y) เพราะฉะนั้น
∂z + ∂z = ( ∂f – ∂f ) + (– ∂∂xf + ∂f ) =0 †
= 3 An x + 2v(1 + An y) ∂u ∂v ∂x ∂y ∂y

เมื่อ (x, y) = (1, 1) จะได้ u = 1 และ v = 1


เพราะฉะนั้น ∂∂xt = 3(1 + 1) – 4(1)(1)
x = 1, y = 1
=2
และ ∂t = 3 An 1 + 2(1)(1 + An 1)
∂y x = 1, y = 1

=2 †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
73 บทที่ 5. 74 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

หมายเหตุ สําหรับฟังก์ชันของสามตัวแปร ตัวอย่าง 5.4.7 จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาตรของ


1. ถ้ า w = f(x, y, z), x = x(t), y = y(t) และ z = z(t) กรวยกลม ในขณะที่มีความสูง 30 นิ้ว
แล้ ว w = f(x(t), y(t), z(t)) และ และรัศมีของฐานของกรวยยาว 20 นิ้ว
dw = ∂f dx + ∂f dy + ∂f dz ถ้ าความสูงกําลังเพิ่มขึ้นในอัตรา 2 นิ้วต่อวินาที
dt ∂x dt ∂y dt ∂z dt
และรัศมีของฐานกําลังลดลงในอัตรา 1 นิ้วต่อวินาที
2. ถ้ า w = f(x, y, z), x = x(r, s, t), y = y(r, s, t) วิธีทํา ณ เวลา t ใด ๆ
และ z = z(r, s, t) ให้ r เป็ นรัศมีของฐานของกรวยกลม
แล้ ว w = f(x(r, s, t), y(r, s, t), z(r, s, t)) h เป็ นความสูงของกรวยกลม
และ V เป็ นปริมาตรของกรวยกลม
∂w = ∂f ∂x + ∂f ∂y + ∂f ∂z เราต้ องการหา dV dt
เมื่อ dr
dt
= –1 นิ้วต่อวินาที,
∂r ∂x ∂r ∂y ∂r ∂z ∂r dh = 2 นิ้วต่อวินาที,
∂w = ∂f ∂x + ∂f ∂y + ∂f ∂z dt
∂s ∂x ∂s ∂y ∂s ∂z ∂s r = 20 นิ้ว และ h = 30 นิ้ว ... (1)
∂w ∂f ∂x ∂f ∂y ∂f ∂z
∂t
= ∂x ∂t
+ ∂y ∂t
+ ∂z ∂t จากสูตรเรขาคณิต ม.ต้ น จะได้ ว่า V = 13 π r 2 h
เพราะฉะนั้น V เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร คือ r และ h
เพราะว่า r และ h เปลี่ยนค่าไปตามเวลา t
เพราะฉะนั้น ทั้ง r และ h ต่างก็เป็ นฟังก์ชันของ t
เพราะฉะนั้น V เป็ นฟังก์ชันของ t

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

75 บทที่ 5. 76 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

จากกฎลูกโซ่ จะได้ ว่า ตัวอย่าง 5.4.8 นํา้ รั่วออกจากถังรูปทรงกระบอก


dV = ∂V dr + ∂V dh
dt ∂r dt ∂h dt ด้ วยอัตรา 54 r π ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที
= 23 πrh dr
dt
+ 13 π r 2 dh
dt
ถ้ าถังขยายตัวในลักษณะที่ยังคงรูปเป็ นทรงกระบอกอยู่
เพราะฉะนั้น จาก (1) จะได้ ว่า โดยรัศมีของถังเพิ่มขึ้นด้ วยอัตรา 0.002 ฟุตต่อนาที
dV = 2 π(20)(30)(–1) + 1 π(20) 2 (2) จงหาว่าความสูงของนํา้ ในถังจะเปลี่ยนแปลงไปในอัตราเท่าใด
dt 3 3
ขณะที่รัศมีของถังเป็ น 2 ฟุต
= –400π + 800
3
π
และปริมาตรของนํา้ ในถังเป็ น 20π ลูกบาศก์ฟุต
= – 400
3
π วิธีทํา ณ เวลา t ใด ๆ
เพราะฉะนั้น ให้ r เป็ นรัศมีของถัง
ปริมาตรของกรวยกลมกําลังลดลงด้ วยอัตรา 400 π ลูกบาศก์น้ ิว
3 h เป็ นความสูงของนํา้ ในถัง
ต่อวินาที † V เป็ นปริมาตรของนํา้ ในถัง
การหา dh dt
เมื่อ
dV
dt
= – 54 π ลูกบาศก์ฟุตต่อนาที, dr
dt
= 0.002 ฟุตต่อนาที,
V = 20π ลูกบาศก์ฟุต และ r = 2 ฟุต ... (1)
จากสูตรเรขาคณิต ม.ต้ น จะได้ ว่า V = π r 2 h
จากกฎลูกโซ่ จะได้ ว่า dV
dt
= ∂∂Vr dr
dt
+ ∂∂Vh dh
dt
= 2πrh dr
dt
+ π r 2 dh
dt
... (2)

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


77 บทที่ 5. 78 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

การหา h เมื่อ V = 20π ลูกบาศก์ฟุต และ r = 2 ฟุต ตัวอย่าง 5.4.9 ให้ x และ y เป็ นความยาวของด้ านที่ขนานกัน
จาก V = πr2h ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมูรปู หนึ่ง ซึ่งมีความสูงเป็ น h
จะได้ ว่า 20π = π(2) 2 h ถ้ า x เพิ่มขึ้นในอัตรา 2 นิ้วต่อวินาที
เพราะฉะนั้น h =5 ... (3) y ลดลงในอัตรา 1 นิ้วต่อวินาที
โดยการแทนค่า (1) และ (3) ใน (2) และ h เพิ่มขึ้นในอัตรา 3 นิ้วต่อวินาที
จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมนี้
จะได้ ว่า – 54 π = 2π(2)(5)(0.002) + π(2) 2 dh dt
dh = –0.21
ขณะที่ x = 30 นิ้ว y = 50 นิ้ว และ h = 10 นิ้ว
เพราะฉะนั้น dt วิธีทํา ณ เวลา t ใด ๆ ให้ A เป็ นพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
เพราะฉะนั้น การหา dA dt
เมื่อ dx
dt
= 2 นิ้ว/วินาที, dy
dt
= –1 นิ้ว/วินาที,
ความสูงของนํา้ ในถังกําลังลดลงด้ วยอัตรา 0.21 ฟุตต่อนาที † dh = 3 นิ้ว/วินาที x = 30 นิ้ว, y = 50 นิ้ว, h = 10 นิ้ว ... (1)
dt
จะได้ ว่า A = 12 (x + y)h
เพราะว่า A เป็ นฟังก์ชันของสามตัวแปรคือ x, y และ h
โดยที่ x, y และ h เป็ นฟังก์ชันของ t
เพราะฉะนั้น A ย่อมเป็ นฟังก์ชันของ t จากกฎลูกโซ่ จะได้ ว่า
dA
dt
= ∂∂Ax dx
dt
+ ∂∂Ay dy
dt
+ ∂∂Ah dh
dt
= h2 dx
dt
+ h2 dy
dt
+ ( x +2 y ) dh
dt
เพราะฉะนั้น จาก (1) จะได้ ว่า
dA = 10 (2) + 10 (–1) + ( 30 + 50 )(3) = 125
dt 2 2 2
เพราะฉะนั้น พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมูกาํ ลังเพิ่มขึ้นด้ วยอัตรา
125 ตารางนิ้วต่อวินาที †
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

79 บทที่ 5. 80 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

5.5 อนุ พนั ธ์ย่อยอันดับสูง ตัวอย่าง 5.5.1 จงหาอนุพันธ์ย่อยอันดับที่สองของ


ให้ f เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปรคือ x และ y f(x, y) = y e xy + x 3 y 2
เราจะเรียกอนุพันธ์ย่อย ∂∂xf และ ∂∂yf ว่า วิธีทํา ∂∂xf = y 2 e xy + 3 x 2 y 2 และ ∂∂yf = xy e xy + e xy + 2 x 3 y
อนุ พนั ธ์ย่อยอันดับทีห่ นึง่ ของ f ∂ 2f = ∂ ( ∂f )
∂x 2 ∂x ∂x
เพราะว่าทั้ง ∂∂xf และ ∂∂yf ต่างก็เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปรคือ x ∂ ( y 2 e xy + 3 x 2 y 2 )
= ∂x
และ y เช่นกัน = y3 e xy + 6x y 2
เพราะฉะนั้น เราสามารถพิจารณาอนุพันธ์ย่อยของ ∂f และ ∂f
∂x ∂y ∂ 2f = ∂∂y ( ∂∂xf )
∂y∂x
ต่อไปได้ อกี และเราจะเรียกอนุพันธ์ย่อยของทั้งสองฟังก์ชันว่า
= ∂∂y ( y2 e xy + 3 x 2 y2 )
อนุ พนั ธ์ย่อยอันดับทีส่ องของ f
ซึ่งมีอยู่ 4 แบบ คือ = ( y2 e xy x + e xy 2y) + 6 x 2 y
∂ ( ∂f ), ∂ ( ∂f ), ∂ ( ∂f ) และ ∂ ( ∂f ) = x y2 e xy + 2y e xy + 6 x 2 y
∂x ∂x ∂y ∂x ∂x ∂y ∂y ∂y ∂ 2f
∂x∂y
= ∂∂x ( ∂∂yf )
และเราเขียนแทนอนุพันธ์ย่อยอันดับที่สองเหล่านี้ด้วย
สัญลักษณ์ ดังนี้ = ∂∂x (xy e xy + e xy + 2 x 3 y)
1. ∂ ( ∂f ) เขียนแทนด้ วย ∂ 2 f , f , f หรือ D f = y(x e xy y + e xy ) + e xy y + 6 x 2 y
∂x ∂x xx 11 11
∂x 2 = x y2 e xy + 2y e xy + 6 x 2 y
2
∂ ( ∂∂xf ) เขียนแทนด้ วย ∂ f , f , f หรือ D f
2. ∂y ∂y∂x xy 12 12 ∂ 2f = ∂∂y ( ∂∂yf )
∂y 2
∂ ( ∂f ) ∂ 2f , f , f หรือ D 21f
3. ∂x ∂y
เขียนแทนด้ วย ∂x∂y yx 21 = ∂∂y (xy e xy + e xy + 2 x 3 y)
∂ ( ∂f ) ∂ 2f , f , f
4. ∂y ∂y
เขียนแทนด้ วย yy 22 หรือ D 22 f = x(y e xy x + e xy ) + e xy x + 2 x 3
∂y 2
= x 2 y e xy + 2x e xy + 2 x 3 †

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


81 บทที่ 5. 82 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.5.2 ให้ f(x, y) = x 3 y2 – x 2 sin y จงหา f xxy ⎧ x 3 y − xy3


ตัวอย่าง 5.5.3 f(x, y) = ⎪⎨ x 2 + y2
เมื่อ ( x, y) ≠ (0, 0)
วิธีทํา f x = 3 x 2 y2 - 2x sin y ⎪⎩ 0 เมื่อ ( x, y) = (0, 0)
และ f xx = ∂∂x (3 x 2 y2 - 2x sin y) จงหาค่าของ D12 f(0, 0) และ D21f(0, 0)
= 6x y2 - 2 sin y วิธีทํา การหา D12 f(0, 0)
เพราะฉะนั้น f xxy = ∂∂y (6x y2 - 2 sin y) D12 f(0, 0) = D 2 ( D1 f)(0, 0)

= 12xy – 2 cos y † = lim D1f (0, k ) k− D1f (0, 0) ถ้ าลิมิตมีค่า ... (1)
k →0
จากตัวอย่าง 5.3.5 จะได้ D1f(0, 0) = 0 และ D2 f(0, 0) = 0
การหา D1f(0, k) เมือ่ k ≠ 0 และ D2 f(h, 0) เมือ่ h ≠ 0
เมือ่ (x, y) ≠ (0, 0)
3 3
เพราะว่า D1f(x, y) = ∂ ( x y − xy )
∂x x 2 + y 2
( x 2 + y 2 )(3x 2 y − y 3 ) − ( x 3 y − xy 3 )(2 x )
=
(x 2 + y 2 ) 2
x y + 4x y − y5
4 2 3
=
(x 2 + y2 )2

เพราะฉะนั้น ถ้ า k ≠ 0 แล้ ว D1 f(0, k) = − k5 = –k


k4
เพราะว่า
D1f (0, k ) − D1f (0, 0)
lim
k
= lim − kk− 0 = –1
k →0 k →0
เพราะฉะนั้น จาก (1) จะได้ ว่า D12 f(0, 0) = –1

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

83 บทที่ 5. 84 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

การหา D21f(0, 0) ข้อสังเกต จากตัวอย่าง 5.5.1


2 2
D 21f(0, 0) = D1 ( D 2 f)(0, 0) เราได้ ว่า ∂∂y∂fx = ∂∂x∂fy
= lim D 2f (h, 0) h− D 2f (0, 0) ถ้ าลิมิตมีค่า ... (2) และจากตัวอย่าง 5.5.3 เราได้ ว่า
h →0
จากตัวอย่าง 5.3.5 จะได้ D1f(0, 0) = 0 และ D2 f(0, 0) = 0 D12 f(0, 0) ≠ D 21f(0, 0)
การหา D2 f(h, 0) เมื่อ h ≠ 0 ทําให้ เราทราบว่า
เพราะว่า อนุพันธ์ย่อย f xy และ f yx อาจจะเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้
3 3
D 2 f(x, y) = ∂ ( x y − xy ) ซึ่งการเท่ากันหรือไม่เท่ากันนี้ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ
∂y x 2 + y 2
แต่เป็ นไปตามข้ อความจริงที่กล่าวว่า
( x 2 + y 2 )( x 3 − 3xy 2 ) − ( x 3 y − xy 3 )(2 y)
=
(x 2 + y 2 ) 2
x − 4 x y − xy 4
5 3 2 ถ้ า f เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปรคือ x และ y
= 2 2 2
(x + y ) โดยที่ f x , f y และ f xy
และ ถ้ า h ≠ 0 แล้ ว D2 f(h, 0) = h5 =h มีความต่อเนื่องบนแผ่นกลมเปิ ด B( x 0 , y0 )
h4
เพราะว่า แล้ ว f yx ( x 0 , y0 ) มีค่า และเท่ากับ f xy ( x 0 , y0 )
D 2f (h , 0) − D 2f (0, 0)
lim
h
= lim h h− 0 = 1
h →0 h →0
เพราะฉะนั้น จาก (2) จะได้ ว่า D21f(0, 0) = 1
†

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


85 บทที่ 5. 86 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.5.4 กําหนดให้ z = f(x, y), x = x(r, θ) ∂ 2z = ∂ ( ∂z )


2 2
∂θ∂r ∂θ ∂r
และ y = y(r, θ) จงหา ∂ 2z และ ∂∂θ∂zr = ∂ ( ∂f ∂x + ∂f ∂y )
∂r ∂θ ∂x ∂r ∂y ∂r
วิธีทํา จากกฎลูกโซ่ จะได้ ว่า = ∂ ( ∂f ∂x ) + ∂ ( ∂f ∂y )
∂θ ∂x ∂r ∂θ ∂y ∂r
∂z = ∂f ∂x + ∂f ∂y
∂r ∂x ∂r ∂y ∂r = ∂f ∂ ( ∂x ) + ∂x ∂ ( ∂f ) ∂f ∂ ( ∂y ) + ∂y ∂ ( ∂f )
+
∂x ∂θ ∂r ∂r ∂θ ∂x ∂y ∂θ ∂r ∂r ∂θ ∂y
∂f ∂f
เพราะว่า ∂x และ ∂y เป็ นฟังก์ชันของ x และ y
= ∂f ∂ 2 x + ∂x [ ∂ ( ∂f ) ∂x + ∂ ( ∂f ) ∂y ]
∂x ∂θ∂r ∂r ∂x ∂x ∂θ ∂y ∂x ∂θ
โดยที่ x = x(r, θ) และ y = y(r, θ) 2
2 2 ∂f ∂ y ∂y ∂ ∂f ∂x ∂ ( ∂f ) ∂y ]
เพราะฉะนั้น เราใช้ กฎลูกโซ่ในการหา ∂ 2z และ ∂∂θ∂zr ได้ ดงั นี้ + ∂y ∂θ∂r
+ [ ( )
∂r ∂x ∂y ∂θ
+
∂y ∂y ∂θ
∂r
∂f ∂ 2 x ∂ 2f ∂x ∂x ∂ 2f ∂x ∂y
∂ 2z ∂ ( ∂z ) = ∂x ∂θ∂r
+ ∂r ∂θ
+ ∂y∂x ∂r ∂θ
= ∂r ∂r ∂x 2
∂r 2 2
∂f ∂y ) ∂f ∂ y + ∂ 2f ∂x ∂y ∂ 2f ∂y ∂y †
= ∂∂r ( ∂∂xf ∂∂xr + ∂y ∂r
+ ∂y ∂θ∂r ∂x∂y ∂θ ∂r
+
∂y 2 ∂r ∂θ

= ∂∂r ( ∂∂xf ∂∂xr ) + ∂∂r ( ∂∂yf ∂∂yr )


= ∂f ∂ ( ∂x ) ∂f ∂ ( ∂y ) + ∂y ∂ ( ∂f )
+ ∂∂xr ∂∂r ( ∂∂xf ) +
∂x ∂r ∂r ∂y ∂r ∂r ∂r ∂r ∂y

= ∂f ∂ 2 x + ∂x [ ∂ ( ∂f ) ∂x + ∂ ( ∂f ) ∂y ]
∂x ∂r 2 ∂r ∂x ∂x ∂r ∂y ∂x ∂r
2
+ ∂f ∂ y + ∂y ∂ ∂f ∂x
[ ( ) + ∂ ( ∂f ) ∂y ]
∂y ∂r 2 ∂r ∂x ∂y ∂r ∂y ∂y ∂r

= ∂f ∂ 2 x +∂ 2f ( ∂x ) 2 + ∂ 2f ∂x ∂y
∂x ∂r 2 ∂x 2 ∂r ∂y∂x ∂r ∂r
2 2 2

+ ∂f
∂y ∂r 2
y
+ ∂∂x∂fy ∂∂xr ∂∂yr + ∂ f2 ( ∂∂yr ) 2
∂y

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

87 บทที่ 5. 88 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.5.5 กําหนดให้ w = f(x, y), x = 2u + 3v หมายเหตุ สําหรับอนุพันธ์ย่อยอันดับสูงของฟังก์ชันของสามตัว


2
และ y = uv จงหา ∂∂u∂wv แปร ก็สามารถให้ นิยามและเขียนสัญลักษณ์แทนได้ ในทํานอง
วิธีทํา จากกฎลูกโซ่ ∂∂wv = ∂∂xf ∂∂xv + ∂∂yf ∂∂yv = 3 ∂∂xf + u ∂∂yf เดียวกันกับฟังก์ชันของสองตัวแปร เช่น
ถ้ า f(x, y, z) = x 2 cos y sin z
∂2w = ∂∂u ( ∂∂wv )
∂u∂v แล้ ว f x = 2x cos y sin z
= ∂∂u (3 ∂∂xf + u ∂∂yf ) f xy = –2x sin y sin z

= 3 ∂∂u ( ∂∂xf ) + u ∂∂u ( ∂∂yf ) + ∂f


∂y
f xyz = –2x sin y cos z

= 3[ ∂∂x ( ∂∂xf ) ∂∂xu + ∂∂y ( ∂∂xf ) ∂∂uy ]


+ u[ ∂∂x ( ∂∂yf ) ∂∂xu + ∂∂y ( ∂∂yf ) ∂∂uy ] + ∂f
∂y
2
= 3[2 ∂ f2 + v ∂ 2f ] 2
+ u[2 ∂∂x∂fy + v ∂ f2 ] +
2
∂f
∂x ∂y∂x ∂y ∂y
2 2 2 2
= 6 ∂ f2 + 3v ∂∂y∂fx + 2u ∂∂x∂fy + uv ∂ f2 + ∂f
∂y
†
∂x ∂y

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


89 บทที่ 5. 90 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

5.6 ค่าเชิงอนุ พนั ธ์รวม และเพื่อความสะดวก เราอาจเขียนแทนค่านี้ด้วย


ให้ f เป็ นฟังก์ชันของสองตัวแปร คือ x และ y สัญลักษณ์ df( x 0 , y 0 ; Δx, Δy)
โดยที่ f มีอนุพันธ์ท่จี ุด ( x 0 , y 0 ) จากบทนิยาม 5.4.1 ถ้ า f(x, y) = x
จะได้ ว่า f x ( x 0 , y 0 ) และ f y ( x 0 , y 0 ) มีค่า แล้ ว
และจะมีฟังก์ชัน ε1 และ ε 2 ที่ทาํ ให้ df(x, y ; Δx, Δy) = f x (x, y) Δx + f y (x, y) Δy
f( x 0 + Δx, y 0 + Δy) - f( x 0 , y 0 ) = (1)Δx + (0)Δy
= f x ( x 0 , y 0 ) Δx + f y ( x 0 , y 0 ) Δy = Δx
+ ε1(Δx, Δy) Δx + ε 2 (Δx, Δy) Δy กล่าวคือ df(x, y) เป็ นฟังก์ชันที่มีค่าที่จุด (Δx, Δy) เป็ น Δx
โดยที่ lim ε1(Δx, Δy) = 0 เนื่องจาก f(x, y) = x
( Δx , Δy )→(0, 0)

และ lim ε 2 (Δx, Δy) = 0 ดังนั้น เราอาจเขียนได้ ว่า dx = Δx


( Δx , Δy )→(0, 0)
ในทํานองเดียวกัน
เราจะนิยาม ค่าเชิงอนุ พนั ธ์รวมของ f ทีจ่ ุด ( x 0 , y0 )
ซึ่งเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ df( x 0 , y 0 ) ถ้ า f(x, y) = y แล้ ว dy = Δy
ว่าเป็ นฟังก์ชันที่กาํ หนดโดย ด้ วยเหตุน้ ีเราอาจเขียน
df( x 0 , y 0 )(Δx, Δy) df( x 0 , y 0 )(Δx, Δy)
= f x ( x 0 , y 0 ) Δx + f y ( x 0 , y 0 ) Δy ... (1) = f x ( x 0 , y 0 ) Δx + f y ( x 0 , y 0 ) Δy
ได้ ในรูป
โดยเราจะเรียก df( x 0 , y 0 )(Δx, Δy) ว่า
df( x 0 , y 0 ; dx, dy) = f x ( x 0 , y 0 )dx + f y ( x 0 , y 0 )dy
ค่าเชิงอนุ พนั ธ์รวมของ f ที่จุด ( x 0 , y 0 )
ซึ่งถ้ าพิจารณาที่จุด (x, y) ใด ๆ
ซึ่งคํานวณค่าที่ (Δx, Δy)
เราก็จะเขียนสั้น ๆ ได้ ว่า
df(x, y) = f x dx + f y dy
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

91 บทที่ 5. 92 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.6.1 จงหาค่าเชิงอนุพันธ์รวมของฟังก์ชันต่อไปนี้ การประมาณค่าของฟังก์ชนั ด้วยค่าเชิงอนุ พนั ธ์รวม


1. f(x, y) = 4 x 3 y 2 + 3y เนื่องจาก
2. f(x, y) = x 2 cos(xy) f( x 0 + Δx, y 0 + Δy) – f( x 0 , y 0 )
วิธีทํา = f x ( x 0 , y 0 ) Δx + f y ( x 0 , y 0 ) Δy
1. df(x, y) = f x dx + f y dy
+ ε1(Δx, Δy) Δx + ε2 (Δx, Δy) Δy
= 12 x 2 y 2 dx + (8 x 3 y + 3)dy
= df( x 0 , y 0 ; Δx, Δy)
2. df(x, y)
= f x dx + f y dy + ε1(Δx, Δy) Δx + ε2 (Δx, Δy) Δy
= ( x 2 (–sin(xy)) y + (cos(xy)) 2x) dx โดยที่ lim ε1 (Δx, Δy) = 0
( Δx , Δy ) →(0, 0)
+ ( x 2 (–sin(xy)) x) dy และ lim ε 2 (Δx, Δy) = 0
( Δx , Δy )→(0, 0)
= (2x cos(xy) – x 2 y sin(xy)) dx – x 3 sin(xy) dy †
ดังนั้น df( x 0 , y 0 ; Δx, Δy)
เป็ นค่าประมาณที่ดขี อง f( x 0 + Δx, y 0 + Δy) – f( x 0 , y0 )

เมื่อ || (Δx, Δy) – (0, 0) || มีค่าน้ อย

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559


93 บทที่ 5. 94 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

สูตรของการประมาณค่าของฟังก์ชนั ตัวอย่าง 5.6.2 จงใช้ ค่าเชิงอนุพันธ์รวม


f( x 0 + Δx, y 0 + Δy) – f( x 0 , y 0 ) หาค่าประมาณของ (3.04)2 + (3.98)2
≈ df( x 0 , y 0 ; Δx, Δy) วิธีทํา ให้ f(x, y) = x 2 + y 2
จะได้ ว่า df(x, y) = f x dx + f y dy
y
หรือ = 2x 2 dx + dy
x +y x + y2
2

จาก f(x + dx, y + dy) ≈ f(x, y) + df(x, y)


f( x 0 + Δx, y 0 + Δy) เลือก x = 3, dx = 3.04 – 3 = 0.04
≈ f( x 0 , y 0 ) + df( x 0 , y0 ; Δx, Δy) และ y = 4, dy = 3.98 – 4 = –0.02
(3.04) 2 + (3.98) 2
หรือ = f(3.04, 3.98)
= f(3 + 0.04, 4 + (–0.02)
f( x 0 + dx, y 0 + dy) ≈ f(3, 4) + df(3, 4 ; 0.04, –0.02)
≈ f( x 0 , y0 ) + df( x 0 , y0 ; dx, dy) = 3 2 + 4 2 + 2 3 2 (0.04) + 24 (–0.02)
3 +4 3 + 42
=5+ 3 (0.04) – 4 (0.02)
ซึ่งถ้ าพิจารณาที่จุด (x, y) ใด ๆ จะเขียนสูตรของการประมาณ 5 5

ค่าได้ เป็ น = 5.008 †


f(x + dx, y + dy) ≈ f(x, y) + df(x, y)

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

95 บทที่ 5. 96 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ตัวอย่าง 5.6.3 จงหาปริมาตรโดยประมาณของกล่องรูปทรงสี่ ตัวอย่าง 5.6.4 กรวยกลมใบหนึ่ง


เหลี่ยมมุมฉากที่มีฐานเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส ซึ่งมีด้านยาวด้ านละ วัดรัศมีฐานได้ 12 เซนติเมตร และวัดส่วนสูงได้ 10 เซนติเมตร
8.005 เซนติเมตร และสูง 9.996 เซนติเมตร ถ้ าการวัดรัศมีมีความผิดพลาดไม่เกิน 0.03 เซนติเมตร
วิธีทํา ให้ และการวัดส่วนสูงมีความผิดพลาดไม่เกิน 0.01 เซนติเมตร
V เป็ นปริมาตรของรูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ในการคํานวณปริมาตร จงหาค่าประมาณของ
x เป็ นความยาวของด้ านของฐานซึ่งเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส 1. ขอบเขตของความผิดพลาด
y เป็ นความสูงของกล่อง 2. ขอบเขตของความผิดพลาดสัมพัทธ์
เพราะฉะนั้น V(x, y) = x 2 y 3. ขอบเขตของเปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาด
การประมาณค่า V(8.005, 9.996) วิธีทํา ให้ V เป็ นปริมาตรของกรวยกลม
โดยใช้ค่าเชิงอนุ พนั ธ์รวม r เป็ นรัศมีของกรวยกลม
เพราะว่า V(x + dx, y + dy) ≈ V(x, y) + dV(x, y) h เป็ นความสูงของกรวยกลม
และ dV(x, y) = ∂∂Vx dx + ∂∂Vy dy จากสูตรเรขาคณิต ม.ต้น จะได้ V(r, h) = 13 π r 2 h
= 2xydx + x 2 dy 1. ขอบเขตของความผิดพลาด
เลือก x = 8, dx = 8.005 – 8 = 0.005 = | V(r + dr, h + dh) – V(r, h) |
และ y = 10, dy = 9.996 – 10 = –0.004 ประมาณได้ ด้วย | dV(r, h) |
V(8.005, 9.996) จาก V(r, h) = 13 π r 2 h
= V(8 + 0.005, 10 + (–0.004))
จะได้ dV(r, h) = ∂∂Vr dr + ∂∂Vh dh = 23 πrh dr + 13 π r 2 dh
≈ V(8, 10) + dV(8, 10 ; 0.005, –0.004)
จากโจทย์ r = 12 เซนติเมตร, h = 10 เซนติเมตร,
= ( 82 )(10) + 2(8)(10)(0.005) + 82 (–0.004)
= 640 + 0.8 – 0.256 | dr | ≤ 0.03 เซนติเมตร
= 640.544 ลูกบาศก์เซนติเมตร † และ | dh | ≤ 0.01 เซนติเมตร
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559
97 บทที่ 5. 98 บทที่ 5.
ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

ดังนั้น ความผิดพลาดในการคํานวณปริมาตร ตัวอย่าง 5.6.5 ในการวัดความกว้ างและความยาวของกระดาษ


≈ | dV(r, h) | รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ าแผ่นหนึ่ง พบว่าการวัดความกว้ างมีความผิด
= | 23 πrh dr + 13 π r 2 dh | พลาดไม่เกิน 5% และการวัดความยาวมีความผิดพลาดไม่เกิน
3% จงหาเปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาดในการคํานวณพื้นที่ของ
≤ 23 πrh | dr | + 13 π r 2 | dh |
กระดาษแผ่นนี้
≤ 23 π(12)(10)(0.03) + 13 π(12) 2 (0.01) วิธีทํา ให้ A เป็ นพื้นที่ของกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ า
= 2.88π x เป็ นความกว้ างของกระดาษ
เพราะฉะนั้น y เป็ นความยาวของกระดาษ
ขอบเขตของความผิดพลาดในการคํานวณปริมาตรมีค่า เพราะว่า A(x, y) = xy
เท่ากับ 2.88π ลูกบาศก์เซนติเมตรโดยประมาณ และ dA(x, y) = ∂∂Ax dx + ∂∂Ay dy = y dx + x dy
dA y dx + x dy dx dy
ดังนั้น A
= xy
= x
+ y
2. ความผิดพลาดสัมพัทธ์ในการคํานวณปริมาตร
เพราะว่า การวัดความกว้ างมีความผิดพลาดไม่เกิน 5%
≈ | dV | ≤ 1 2.88π2 = 0.006
V π(12) 10 เพราะฉะนั้น | dxx | ≤ 0.05
3
ดังนั้น ขอบเขตของความผิดพลาดสัมพัทธ์ เพราะว่า การวัดความยาวมีความผิดพลาดไม่เกิน 3%
ในการคํานวณปริมาตรมีค่าเท่ากับ 0.006 โดยประมาณ เพราะฉะนั้น | dyy | ≤ 0.03
3. เปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาดในการคํานวณปริมาตร ดังนั้น | dA
A
| =| dx
x
+ dy
y
|
≈ | dV | × 100 ≤ 0.006 × 100 = 0.6
V ≤| dx
x
|+| dy
y
|
นั่นคือ ขอบเขตของเปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาดในการคํานวณ
ปริมาตรมีค่าเท่ากับ 0.6% โดยประมาณ † ≤ 0.05 + 0.03
= 0.08
ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

99 บทที่ 5. 100 บทที่ 5.


ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร ฟังก์ชนั ของหลายตัวแปร

เพราะฉะนั้น เปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาด หมายเหตุ สําหรับฟังก์ชันของสามตัวแปร


≈ | dA
A
| × 100 ≤ 0.08 × 100 = 8 เราสามารถนิยามค่าเชิงอนุพันธ์รวมได้ ในทํานองเดียวกัน
เปอร์เซ็นต์ของความผิดพลาดในการคํานวณพื้นที่มคี ่าไม่เกิน กล่าวคือ
8% โดยประมาณ † ค่าเชิงอนุพันธ์รวมของ f ที่จุด (x, y, z)
คือฟังก์ชัน df(x, y, z) ซึ่งกําหนดโดย
df(x, y, z ; dx, dy, dz)
= f x (x, y, z)dx + f y (x, y, z)dy + f z (x, y, z)dz
ตัวอย่างเช่น
ค่าเชิงอนุพันธ์รวมของ
f(x, y, z) = y 2 e xz
คือ
df(x, y, z) = f x dx + f y dy + f z dz
= y 2 z e xz dx + 2y e xz dy + x y 2 e xz dz
ในเรื่องของการประมาณค่าของฟังก์ชันของสามตัวแปร
พิจารณาได้ ในทํานองเดียวกันโดยเราจะได้
สูตรของการประมาณค่าเป็ น
f(x + dx, y + dy, z + dz) ≈ f(x, y, z) + df(x, y, z)

ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559 ภาคฤดูรอ้ น ปี การศึกษา 2559

You might also like