You are on page 1of 18

§ ลิมติ และความต่ อเนื่อง (Limit and Continuity)

1. ลิมิตทีม่ ีขอบเขต (Finite Limits)


พิจารณาลิมิตของฟังก์ชนั f ( x)  x  2 ขณะที่ x มีค่าเข้าใกล้ 2 ทางด้านซ้ายและขวาของ 2
ตารางที่ 1 ตารางที่ 2
x f ( x)  x  2 x f ( x)  x  2
1.9 3.9 2.1 4.1
1.99 3.99 2.01 4.01
1.999 3.999 2.001 4.001
   

นิยาม ฟั งก์ ชัน f นิยามสาหรั บค่ า x บนช่ วงเปิ ดที่มี a แต่ f (x) ไม่ จาเป็ นต้ องนิยามที่ x  a ถ้ าค่ าของ f (x) ที่
สมนัยกับค่ า x บนช่ วงเปิ ดนั้นๆ มีค่าเข้ าใกล้ จานวน L ขณะที่ x เข้ าใกล้ a แล้ วจะกล่ าวได้ ว่า “ ลิมิต
(limit) ของ f (x) ขณะที่ x เข้ าใกล้ a มีค่าเท่ ากับ L ” ซึ่ งเขียนแทนด้ วย lim
x a
f ( x)  L

จากตารางที่ 1 จะได้วา่ ขณะที่ x มีคา่ เข้าใกล้ 2 ทางด้านซ้าย ค่าของ f (x) จะเป็ น


เช่นเดียวกับเมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 2 ทางด้านขวา ค่าของ f (x) จะเป็ น เช่นกัน

นิยาม ให้ เป็ นฟั งก์ ชันนิยามบนบางช่ วงเปิ ด (c, a) ลิมิตของ


f (x) f (x) ขณะที่ x มีค่าเข้ าใกล้ a ทางซ้ าย
( x  a) (left-hand limit of f at a ) มีค่าเท่ ากับ lim f ( x)  L

x a

นิยาม ให้ เป็ นฟั งก์ ชันนิยามบนบางช่ วงเปิ ด (a, c) ลิมิตของ f (x) ขณะที่
f (x) x มีค่าเข้ าใกล้ a ทางขวา
( x  a) (right-hand limit of f at a ) มีค่าเท่ ากับ lim f ( x)  L
x a

ในที่น้ ีลิมิตทางซ้ายและทางขวาของ f (x) ที่ xa สัญลักษณ์คือ lim f ( x)  L


x a 
และ lim f ( x)  L
x a 

ตามลาดับ จะเรี ยกว่าเป็ น “ลิมิตทางเดียว (one-sided limits)”

นิยาม ให้ เป็ นฟั งก์ ชันนิยามบนบางช่ วงเปิ ดที่มี a แต่ f (x) ไม่ จาเป็ นต้ องนิยามที่ x  a แล้ ว
f (x)
lim f ( x)  L มีค่า (exist) ก็ต่อเมื่อ ลิมิตทางซ้ ายของ f (x) และลิมิตทางขวาของ f (x) มีค่า และ
x a

lim f ( x)  lim f ( x)
x a  x a
นั่นคือ lim f ( x)  lim f ( x)  lim f ( x)  L
x a x a x a

ในที่น้ ี lim
x a
f ( x) เรี ยกว่า “ลิมิตสองทาง (two-sided limit)” ของ f (x) ที่ xa
ทฤษฎีบทที่ 1 กาหนดสัญลักษณ์ lim แทนลิมิตใดลิมิตหนึ่งต่ อไปนี ้ lim, lim , lim f ( x)
x a x a x a
ถ้ า lim f ( x)  L และ
lim g ( x)  M แล้ ว
1. lim c  c เมื่อ c เป็ นค่ าคงตัว
2. lim cf ( x)  c lim f ( x)  cL เมื่อ c เป็ นค่ าคงตัว
3. lim f ( x)  g ( x)  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M
4. lim f ( x)  g ( x)  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M
5. lim f ( x)  g ( x)  lim f ( x)  lim g ( x)  L  M
f ( x) lim f ( x) L
6. lim   เมื่อ M 0
g ( x) lim g ( x) M
7. lim n f ( x)  n lim f ( x)  n L ; L  0 และเมื่อ n เป็ นจานวนเต็มบวกคู่

ทฤษฎีบทที่ 2 ลิมิตของฟั งก์ ชันพหุนามและฟั งก์ ชันตรรกยะ


ถ้ า P( x)  c0  c1 x  c2 x 2    cn x n และ Q( x)  d 0  d1 x  d 2 x 2    d m x m เป็ นฟั งก์ ชันพหุ
P( x) P(a )
นาม แล้ ว lim
x a
P( x)  P(a) และ lim
x a
 โดยที่ Q(a)  0
Q( x) Q(a)

 x2  5 ; x  3
Ex กาหนด f ( x)   จงหาค่าของ lim f ( x)
 x  13 ; x  3 x3

2x  8
Ex จงหาค่าของ xlim 4 x  x  12
2

2 t 4
Ex จงหาค่าของ lim
t 0 t
x 1
Ex จงหาค่าของ xlim 1
x  2x  3
2

Ex กาหนดให้ f ( x)  x  3 จงหาค่าของ lim f ( x)


x3 x3

2. ลิมิตทีไ่ ม่ มีขอบเขต (Infinite Limits)


1
พิจารณาค่าของ lim
x 0 x2
1 1
x f ( x)  x f ( x) 
x2 x2
0.5 4 -0.5 4
y

0.1 100 40
-0.1 100
0.01 10,000 30
-0.01 10,000
0.001 1,000,000 20
-0.001 1,000,000
  10  

x
5 0 5
ในที่น้ ีลิมิตของ f (x) หาค่า เนื่องจาก f (x) ขณะที่ x เข้าใกล้
ศูนย์ท้ งั 2 ด้าน

นิยาม กาหนด f (x) เป็ นฟั งก์ ชันที่นิยามสาหรั บค่ า x ที่เข้ าใกล้ จานวน a แต่ ไม่ จาเป็ นต้ องนิยามที่ xa
ก) ถ้ าค่ าของ f (x) มีค่ามากขึน้ เรื่ อยๆ โดยไม่ มขี อบเขต ขณะที่ x เข้ าใกล้ a ทั้ง 2 ด้ าน
แล้ ว lim
x a
f ( x)  

ข) ถ้ าค่ าของ f (x) มีค่าน้ อยลงเรื่ อยๆ โดยไม่ มขี อบเขต ขณะที่ x เข้ าใกล้ a ทั้ง 2 ด้ าน
แล้ ว limx a
f ( x)  

2x
Ex กาหนดให้ f ( x)  จงหาค่าของ
( x  4)( x  2)
1) lim f ( x)
x 4
2) lim f ( x)
x 4
3) lim
x 4
f ( x)

การศึกษาหัวข้อลิมิตที่ไม่มีขอบเขตเป็ นการดูแนวโน้มของ f (x) เมื่อค่าของ x  a ในเชิงเรขาคณิ ตจะ


เรี ยก “เส้นในแนวตั้ง (vertical line) x  a ” ว่า “เส้นกากับ (asymtote) ของกราฟ f ” ถ้าเป็ นไปตามกรณี ใดกรณี
หนึ่งดังนี้
ก) xlim
a
f ( x)  

ค) xlim
a
f ( x)   

ข) lim f ( x)  
x a 
ง) lim f ( x)  
x a 
2x
จากตัวอย่างที่แล้ว สังเกตแนวโน้มของ f (x) เมื่อ x4 จากกราฟของ f ( x) 
( x  4)( x  2)
y

10

3 4 5 6
x

-5

-10

x4

จะได้วา่ เส้นในแนวตั้ง x4 เรี ยกว่า “เส้นกากับในแนวตั้ง (ดิ่ง) ของกราฟ f (vertical asymptote)”

3. ลิมิตทีอ่ นันต์ (Limit at Infinity)


สมมุติให้ f เป็ นฟังก์ชนั ที่นิยามสาหรับ x ค่าบวก (หรื อค่าลบ) ที่มีค่ามาก ถ้า f (x) มีค่าเข้าใกล้จานวน
b ขณะที่ x มีค่าเพิม ่ ขึ้นไม่มีขอบเขต (หรื อมีค่าลดลงไม่มีขอบเขต) แล้วเขียนแทนด้วย
lim f ( x)  b (หรื อ lim f ( x)  b )
x   x  
1
พิจารณาลิมิตของ f ( x)  ขณะที่ x มีค่าเพิม่ ขึ้นโดยไม่มีขอบเขต และมีค่าลดลงโดยไม่มีขอบเขตดังตาราง
x
ข้างล่าง
1 1
x f ( x)  x f ( x) 
x x
104 0.0001 -104 -0.0001
106 0.000001 -106 -0.000001
1010 0.0000000001 - 1010 -0.0000000001
   

ลิมิตทีอ่ นันต์ ของฟังก์ ชันพหุนาม


y y=x
2

lim x  
x  
1

-2 -1 1 2
x lim x  
x  
-1

-2

y y = x2
15

lim x 2  
12.5

10
x  

lim x 2  
7.5

5
x  
2.5

-4 -2 2 4
x

y y = x3
0.15

0.1

0.05
lim x 3  
x  
x
-2 -1
-0.05
1 2
lim x 3  
x  
-0.1

-0.15

y y = x3
1.75

1.5
lim x 4  
1.25 x  
1
lim x 4  
0.75 x  
0.5

0.25

-2 -1 1 2
x
สรุ ปผลฟังก์ชนั พหุ นาม xn ในรู ปทัว่ ไปได้ดงั นี้
  ; n  2, 4, 6, 
lim x n   ; n  1, 2, 3,  และ lim x n  
x   x  
   ; n  1, 3, 5, 
ลิมิตที่อนันต์ของฟังก์ชนั พหุ นามในรู ปแบบ c0  c1 x  c2 x 2    cn x n นั้น ค่าของลิมิตจะเหมือนกับเทอมที่มี
กาลังสู งที่สุดขณะที่ x   หรื อ x   นัน่ คือ ถ้า cn  0 แล้ว
lim (c0  c1 x  c2 x 2    cn x n )  lim cn x n
x   x  

และ lim (c0  c1 x  c2 x    cn x )  lim cn x n


x  
2 n
x  

c c 
เพราะว่า c0  c1 x  c2 x 2    cn x n  x n  0n  n11    cn 
x x 

Ex จงหาค่าของ 1) lim (7 x 5  4 x 3  2 x  9)
x  
2) lim (7 x 5  4 x 3  2 x  9)
x  

ลิมิตทีอ่ นันต์ ของฟังก์ ชันตรรกยะ


2x  1
พิจารณา xlim f ( x) 
2x  1
  x 1 x x 1
1 -
10 2.333333
100 2.030303
1000 2.003003
10000 2.000300
100000 2.000030 2x  1
 lim 
  x   x 1

2x  1
กราฟของ f ( x)  y
x 1
3

2 y=2
1

x
-100 -50 50 100

ขณะที่ x มีค่าเพิ่มขึ้นโดยมีขอบเขต กราฟจะลู่เข้าสู่ เส้นตรง y  2 ซึ่ งในที่น้ ี เส้นตรง y  2 จะเรี ยกว่า


“เส้นกากับในแนวนอน (ราบ) (horizontal asymptote) ”
การศึกษาในหัวข้อลิมิตที่อนันต์น้ นั เราจะเรี ยกเส้นตรงในแนวนอน y  b เป็ นเส้นกากับของฟังก์ชนั f
ถ้ามีอย่างน้อย 1 ค่าเป็ นจริ ง คือ xlim
 
f ( x)  b หรื อ lim f ( x)  b
x  
( x  1) 2 ( x  3)
Ex จงหาค่าของ lim
x   2 x 3  3 x  2

5 x3  2 x 2  1
Ex จงหาค่าของ lim
x   3x  5
x2
Ex จงหาค่าของ lim 2
x   x  2 x  1

สรุ ปการหาลิมิตของฟังก์ชนั ตรรกยะขณะที่ x   หรื อ x  


c0  c1 x    cn x n cn x n
ถ้า cn  0 และ d m  0 แล้ว lim  lim
x   d 0  d1 x    d m x m x   d m x m
c0  c1 x    cn x n cn x n
และ lim  lim
x   d 0  d1 x    d m x m x   d m x m

Ex จงหาค่าของลิมิตโดยใช้สูตรของตัวอย่างก่อนหน้านี้
( x  1) 2 ( x  3) 5 x3  2 x 2  1 x2
1) lim 2) lim 3) lim
x   2 x3  3x  2 x   3x  5 x   x  2x  1
2

ฟังก์ชนั ผลหารอื่นๆ ก็สามารถหาลิมิตที่อนันต์ได้เช่นกัน


3x  5
Ex จงหาค่าของ lim 3
x   6x  8
5x2  2 5x2  2
Ex จงหาค่า 1) xlim 2) lim
  x3 x   x3
x 3 x 4 x
Ex จงหาค่าของ lim
x   2x  1

4. ความต่ อเนื่องของฟังก์ชัน (Continuity of Function)


นิยาม ฟั งก์ ชัน y  f (x) มีความต่ อเนื่องที่จุด x  c ก็ต่อเมื่อ
1. f (c) หาค่ าได้ (define)
2. lim
x c
f ( x) มีค่า (exist)

3. lim
x c
f ( x )  f (c )

 x2  1
x2  1 
Ex กาหนดให้ f และ g เป็ นดังนี้ f ( x)  และ g ( x)   x  1 ; x  1 จงพิจารณาว่า f และ g ไม่มี
x 1 3; x 1
ความต่อเนื่ องที่จุดใดบ้าง (ถ้ามี)
x
 2  2; x2

Ex กาหนดให้ f ( x)  2 x  1; 1  x  2 จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั f มีความต่อเนื่ องที่จุดใดบ้าง
  x  1; x 1

ทฤษฎีบทที่ 3 ฟั งก์ ชันพหุนาม (polynomials function) เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องทุกจุด
ทฤษฎีบทที่ 4 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่จุด x  c แล้ ว
1) f  g เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่ x  c
2) f  g เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่ x  c
3) f  g เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่ x  c
f
4) เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่ xc ถ้ า g (c )  0
g
5) kf (เมื่อ k เป็ นค่ าคงที่) เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่ x  c
ทฤษฎีบทที่ 5 ฟั งก์ ชันตรรกยะ (rationals function) มีความต่ อเนื่องทุกจุดยกเว้ นจุดที่ทาให้ ตัวส่ วนเป็ นศูนย์
x
Ex กาหนดให้ f ( x)  พิจารณาว่าฟั งก์ชนั f มีความต่อเนื่ องที่จุดใดบ้าง
x  16
2

ทฤษฎีบทที่ 6 ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่จุด x  a และ g เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่จุด
x f (a) จะได้ ว่าฟั งก์ ชันประกอบ (composite function) gof จะมีความต่ อเนื่องที่จุด x  a และ

lim g ( f ( x))  g lim f ( x)
xa xa

นิยาม ฟั งก์ ชัน f จะเรี ยกว่ ามี “ความต่ อเนื่องทางซ้ าย” ที่ xc ถ้ า f สอดคล้ องกับ
1. f (c) หาค่ าได้
2. xlim
c 
f ( x ) มีค่า

3. lim f ( x)  f (c)
x c 

นิยาม ฟั งก์ ชัน f จะเรี ยกว่ ามี “ความต่ อเนื่องทางขวา” ที่ xc ถ้ า f สอดคล้ องกับ
1. f (c) หาค่ าได้
2. xlim
c 
f ( x ) มีค่า

3. lim f ( x)  f (c)
xc 

ทฤษฎีบทที่ 7 ทฤษฎีบทค่ าระหว่ างกลาง (Intermediate-Value Theorem)


ถ้ า f เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องบนช่ วงปิ ด [a, b] และ c เป็ นเลขจานวนจริ งใดๆ ที่อยู่ระหว่ างค่ า f (a)
และ f (b) แล้ วจะมีจานวนจริ ง x อย่ างน้ อย 1 ค่ า ในช่ วง [a, b] ที่ทาให้ f ( x)  c
y

f (b)

f (a )

x
a x b

นิยาม ฟั งก์ ชัน f จะเรี ยกว่ า มีความต่ อเนื่องบนช่ วงปิ ด [a, b] ถ้ า f สอดคล้ องกับ
1. f มีความต่ อเนื่องบนช่ วงเปิ ด (a, b)
2. f มีความต่ อเนื่องทางขวาของ a
และ 3. f มีความต่ อเนื่องทางซ้ ายของ b

§ อนุพนั ธ์ (Derivatives)
1. อนุพนั ธ์ ของฟังก์ ชัน
y f ( x  x)  f ( x) f ( x  h)  f ( x )
นิยาม ให้ y  f (x) และถ้ า lim  lim  lim หาค่ าได้ (exists) และ
x
x 0 x  0 x h  0 h
เป็ นจานวนจริ ง จะเรี ยกลิมิตนีว้ ่ าเป็ น “อนุพันธ์ ของฟั งก์ ชัน f ” หรื อ “อนุพันธ์ ของ y เทียบกับตัวแปร
dy
x (derivative with respect to x)” และจะเขียนแทนด้ วย y , f ( x), หรื อ df ( x)
dx dx
f ( x  x)  f ( x)
f ( x)  lim
x 0 x
ถ้าลิมิตนี้หาค่าได้ เราจะเรี ยก f ว่าเป็ นฟังก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ที่จุด x
dy f ( x  x)  f ( x)
นิยาม ให้ y  f (x) เป็ นฟั งก์ ชันที่มอี นุพันธ์ ที่จุด x จะได้  lim คือ “ความชันของ
dx x  0 x
เส้นสัมผัสกราฟของ f ที่จุด x, f ( x)  ”
y
Q
y  f (x)
P

x
0 x x  x
x

นิยาม ให้ y  f (x) เป็ นฟั งก์ ชันที่หาค่ าได้ บน (a, b)


f มีอนุพันธ์ บน ( a, b) ก็ต่อเมื่อ f มีอนุพันธ์ ที่จุด x สาหรั บทุกๆ x  ( a, b )
นิยาม อนุพันธ์ ซ้ายของฟั งก์ ชัน f ที่จุด x ใดๆ จะเขียนแทนด้ วย f _ ( x) นิยามโดย
f ( x  x)  f ( x)
f _ ( x)  lim (ถ้ าลิมิตหาค่ าได้ )
x 0 x
นิยาม อนุพันธ์ ขวาของฟั งก์ ชัน f ที่จุด x ใดๆ จะเขียนแทนด้ วย f  (x) นิยามโดย
f ( x  x)  f ( x)
f  ( x)  lim (ถ้ าลิมิตหาค่ าได้ )
x 0 x
ดังนั้น f (x) จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่อ f _ ( x) = f  (x)

x2 ; x3
Ex กาหนดให้ f ( x)   จงหา f (3)
 2 x  3; x  3
Ex จงหา f (x) และ f (8) ของฟั งก์ชน ั f ( x)  x  4 โดยใช้นิยามของอนุพนั ธ์

ทฤษฎีบทที่ 1 ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่หาอนุพันธ์ ได้ ที่จุด x0 แล้ ว f เป็ นฟั งก์ ชันที่ต่อเนื่องที่จุด x0

ถ้าฟังก์ชนั สามารถหาอนุพนั ธ์ได้ที่จุดใดๆแล้วจุดนั้นย่อมมีความต่อเนื่ อง  ฟังก์ชนั ไม่สามารถหาอนุพนั ธ์


ได้ ณ จุดที่ไม่มีความต่อเนื่อง
ในทางกลับกัน ถ้าฟังก์ชนั f มีความต่อเนื่ องที่จุดใดๆไม่จาเป็ นว่า f ต้องหาอนุพนั ธ์ได้ที่จุดนั้นๆ
Ex กาหนดให้ f ( x)  x จงแสดงว่า f (0) หาค่าไม่ได้

2. สู ตรของอนุพันธ์
dc
ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้ า f เป็ นฟั งก์ ชันคงที่กล่ าวคือ f ( x  c) สาหรั บทุก x แล้ ว f ( x)  0 นั่นคือ 0
dx
d d
ทฤษฎีบทที่ 3 ให้ c เป็ นค่ าคงที่ ถ้ า f เป็ นฟั งก์ ชันที่หาอนุพันธ์ ได้ ที่ x ใดๆ แล้ ว (cf ( x))  c f ( x)
dx dx
d
ทฤษฎีบทที่ 4 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ ได้ แล้ ว ( f ( x)  g ( x))  f ( x)  g ( x)
dx
d
ทฤษฎีบทที่ 5 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ ได้ แล้ ว ( f ( x) g ( x))  f ( x) g ( x)  g ( x) f ( x)
dx
ทฤษฎีบทที่ 6 ถ้ า f และ g เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ ได้ และ g ( x)  0 แล้ ว
d  f ( x)  g ( x) f ( x)  f ( x) g ( x)
 
dx  g ( x)  ( g ( x)) 2
dx n
ทฤษฎีบทที่ 7 ถ้ า n เป็ นจานวนจริ งใดๆ แล้ ว  nx n 1
dx

(5 x 4  6 x)(1  x 3 )
Ex กาหนดให้ y จงหา y
2x2
t2
Ex กาหนดให้ f (t )  (2  t 2 )(4t  1)  จงหาอนุพนั ธ์ของ f (t )
t 3

ทฤษฎีบทที่ 8 กฎลูกโซ่ (Chain Rule)


ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ ได้ ที่ x และ g เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ ได้ ที่ f (x)
แล้ วฟั งก์ ชันประกอบ gof สามารถหาอนุพันธ์ ได้ ที่ x นั่นคือ y  g ( f ( x)) และ u  f (x) แล้ ว y  g (u) และ
dy dy du
 
dx du dx
dy
Ex กาหนดให้ y  u5  u3 และ u  x 4  x 2 จงหา โดยใช้กฎลูกโซ่
dx x 1

ทฤษฎีบทที่ 9 ถ้ า y  u ( x) n ซึ่ ง u สามารถหาอนุพันธ์ เทียบกับตัวแปร x ได้ และ n เป็ นจานวนเต็ม แล้ ว
 nu ( x) n 1  u ( x)
dy dy du d
 
dx du dx dx

dz
Ex จงหา เมื่อ z ( x)  3 x 2 (3 x 2  2) 4
dx
dx n
ข้อสังเกต  ถ้า n เป็ นจานวนจริ งใดๆ แล้ว  nx n 1
dx
 ถ้าให้ u  u (x) ดังนั้น d
u ( x) n  d u ( x) n d u ( x)  nu ( x) n 1  d u ( x)
dx du dx dx
5

Ex กาหนดให้ y  (4  x 2 ) 2
จงหา y
(2 x  3)3
Ex จงหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั f ( x) 
4x  9

3. อนุพนั ธ์ ของฟังก์ ชันปริ ยาย (Implicit Differentiation)


y  f (x)
หรื อ ฟังก์ชนั ชัดแจ้ง (explicit function)
x  g ( y)
: ฟังก์ชนั ปริ ยาย (implicit function) ไม่สามารถจัด y ให้แสดงออกมาชัดเจนในเทอมของ x
F ( x, y)  0
การหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ปริ ยาย ทาได้โดยการหาอนุพนั ธ์เทียบกับ x ทั้งสองข้างของสมการโดยถือว่าตัวแปร y
dy
เป็ นฟังก์ชนั ของตัวแปร x สุ ดท้ายจะได้ ในเทอมของตัวแปรทั้ง x และ y
dx
Ex กาหนดให้ x 2 y  3xy 3  x  3 จงหา dy โดยอนุพนั ธ์ปริ ยาย
dx
Ex จงหาความชันที่จุด (4,0) ซึ่ งอยูบ่ นเส้นโค้ง 7 y 4  x3 y  x  4

4. อนุพนั ธ์ อนั ดับสู ง (Higher Derivatives)


กาหนดให้ y  f (x)
dy d
อนุพนั ธ์อนั ดับที่หนึ่ง f (x) y f (x)
dx dx
d2y d2
อนุพนั ธ์อนั ดับที่สอง f (x) y f ( x)
dx 2 dx 2
d3y d3
อนุพนั ธ์อนั ดับที่สาม f (x) y f ( x)
dx 3 dx 3

dny dn
อนุพนั ธ์อนั ดับที่ n f (n)
( x) y (n )
f (x) เมื่อ n  4, 5, 6, 
dx n dx n

1
Ex กาหนดให้ f ( x)  3 x 4  2 x 3  x 2  4 x  2  จงหาอนุพนั ธ์อนั ดับที่ n
x
Ex จงหาอนุพนั ธ์อนั ดับที่สองของฟังก์ชนั x 2  y 2  a 2 ( a เป็ นค่าคงที่) โดยอนุ พน
ั ธ์ปริ ยาย

- อนุพนั ธ์ที่กล่าวมาแล้วนั้นเป็ นอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั พีชคณิ ต ซึ่ งเป็ นฟังก์ชนั ที่ประกอบด้วยจานวนจริ ง ตัวแปร หรื อ
เครื่ องหมายดาเนินการในทางพีชคณิ ต เช่น บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ฯลฯ
- โดยนิยามแล้ว y จะเป็ นฟังก์ชนั พีชคณิ ตของ x ถ้า y เป็ นฟังก์ชนั ที่คล้องตามสมการพีชคณิ ตซึ่ งลดทอนไม่ได้
ในรู ป P0 ( x) y n  P1 ( x) y n 1    Pn 1 ( x) y  Pn ( x)  0 โดยที่ n เป็ นจานวนเต็มบวกและ
P0 ( x), P1 ( x),  , Pn ( x) เป็ นฟั งก์ชน ั พหุ นามของ x เช่น y  x, x  0 เป็ นฟังก์ชนั พีชคณิ ตซึ่ งจุด ( x, y)
คล้องตามสมการ y 2  x  0
- ฟังก์ชนั อดิศยั (transcendental functions) คือ ฟังก์ชนั ที่ไม่ใช่ฟังก์ชนั พีชคณิ ต (algebraic functions) ได้แก่ ฟังก์ชนั
ตรี โกณมิติ (trigonometric functions) ฟังก์ชนั เลขชี้กาลัง (exponential functions) ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม (logarithmic
functions) และฟังก์ชนั ผกผันของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ เป็ นต้น

การหาอนุพันธ์ ของฟังก์ ชันตรีโกณมิติ (The Differentiation of Trigonometric Functions)


 สู ตรอนุพนั ธ์ ของฟังก์ ชันตรี โกณมิติ
ให้ u เป็ นฟังก์ชนั ของ x จะได้ u  f (x)
d du d du
1. sin u  cos u 2. cos u   sin u
dx dx dx dx
3. d tan u  sec 2 u du 4. d
cot u   csc 2 u
du
dx dx dx dx
d
5. sec u  sec u tan u du 6. d
csc u   csc u cot u
du
dx dx dx dx
Ex จงหาอนุพนั ธ์ของ y  sin( 3x  6 x  1)
2

dy
Ex กาหนดให้ y  tan 4 (2 x  1) จงหา
dx
dy
Ex กาหนดให้ y  x 3 sec 4 (3x) จงหา
dx
sin t
Ex จงหาอนุพนั ธ์ของ y
1  cos t
Ex จงหาอนุพนั ธ์ของ y  t 2 sin 2t
Ex จงหาสมการเส้นสัมผัสเส้นโค้ง y  3(1  sin 2 x) ที่ x
Ex จงหา y  ของฟังก์ชนั y  tan 2 (3x)

การหาอนุพันธ์ ของฟังก์ ชันตรีโกณมิติผกผัน (Derivatives of Inverse Trigonometric Functions)


 สู ตรอนุพนั ธ์ ของฟังก์ ชันตรี โกณมิติผกผัน
ให้ u เป็ นฟังก์ชนั ของ x จะได้
1.
d

sin 1 u  1 du
; 1  u  1 2.
d
 
cos 1 u  
1 du
; 1  u  1
dx 1  u 2 dx dx 1  u 2 dx
3.
d
tan 1 u  
1 du
4.
d
cot 1 u   
1 du
dx 1  u 2 dx dx 1  u 2 dx
5.
d
sec 1 u  
1 du
; u 1 6.
d
csc 1 u   
1 du
; u 1
dx u u 2  1 dx dx u u 2  1 dx
dy
Ex ให้ y  csc 1 (sin 2 x) จงหา
dx
Ex ให้ y  (1  x sin 1 x)10 จงหา dy
dx
dy
Ex จงหา เมื่อกาหนด x 3  x tan 1 y  xy
dx
Ex กาหนดให้ y  (1  3u ) 3 และ u  x sec 1 x 2 จงหา y โดยใช้กฎลูกโซ่

การหาอนุพันธ์ ของฟังก์ ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทมึ (The Differentiation of Exponential and Logarithmic Functions)


ถ้า a เป็ นจานวนจริ งใดๆ ซึ่ง a  0, a  1 และ x เป็ นตัวแปร แล้วจะเรี ยกฟังก์ชนั f ( x)  a x ว่า
“ฟังก์ชนั เลขชี้กาลังที่มีฐาน a ”
ส่ วนใหญ่เรานิยมใช้ฐานของฟังก์ชนั เลขชี้กาลังเป็ นฐานธรรมชาติ (natural base) เขียนแทนด้วย e ซึ่งเป็ น
จานวนอตรรกยะ โดย e  2.718282
เราจะได้วา่ y  a x เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งที่มีโดเมนเป็ นเซต  (, ) และเรนจ์เป็ นเซต   (0, )
log x
พิจารณา ฟังก์ชนั ผกผันของ y  ax คือ x  a y  log x  y log a  y  y  log a x
log a
สรุ ปได้วา่ ฟังก์ชนั ผกผันของฟังก์ชนั เลขชี้กาลังคือ y  log a x ซึ่ งเป็ นฟังก์ชนั ที่มีโดเมนเป็ นเซต  
และเรนจ์คือ  จึงเรี ยกฟังก์ชนั ผกผันนี้วา่ “ฟังก์ชนั ลอการิ ทึม”
ในกรณี ที่ a  e จะได้วา่ ฟังก์ชนั ผกผันของ y  e x คือ x  e y หรื อ y  log e x
ฟังก์ชนั ลอการิ ทึมที่มีฐานเป็ น 10 โดยทัว่ ไปเรี ยกว่า “ลอการิ ทึมสามัญ (common logarithms)” สัญลักษณ์ของ
ลอการิ ทึมฐาน 10 มักนิยมเขียนเป็ น log มากกว่า log 10 และสาหรับลอการิ ทึมฐาน e โดยทัว่ ไปเรี ยกว่า “ลอการิ ทึม
ฐานธรรมชาติ (natural logarithms)” สัญลักษณ์ของลอการิ ทึมฐาน e มักนิยมเขียนเป็ น ln มากกว่า log e
 สู ตรอนุพนั ธ์ ของฟังก์ ชันลอการิทมึ และฟังก์ ชันเลขชี้กาลัง
กาหนดให้ u  u (x)  0 , a   , a  0 และ a  1
d 1 du d 1 du
1. log a u  2. ln u 
dx u ln a dx dx u dx
3. d a u  a u ln a du 4. d u
e  eu
du
dx dx dx dx
Ex กาหนดให้ f ( x)  ln sin x จงหา f (x)
Ex กาหนดให้ f ( x)  x 2 e x จงหา f (x)
2
5
Ex จงหาอนุพนั ธ์ของ f (t )  3t 1
2
Ex จงหาอนุพนั ธ์ของ 
f ( x)  2 x 2 log 3 x 2  1 
 ขั้นตอนการหาอนุพนั ธ์ ของ v( x) u ( x )
กาหนด u และ v เป็ นฟังก์ชนั ของตัวแปร x
1. ให้ y  v u
2. ใส่ ln ทั้ง 2 ข้างของสมการ จะได้ ln y  u ln v
1 dy d du u dv du
3. หาอนุพนั ธ์เทียบกับตัวแปร x ทั้ง 2 ข้างของสมการ จะได้  u ln v  ln v   ln v
y dx dx dx v dx dx
dy d u  u dv du  dv du
4. จัดเทอมหา  v  y  ln v   uv u 1  v u ln v
dx dx  v dx dx  dx dx

Ex จงหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั 
y  x3  2x 
ln x

Ex จงหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั y  ln x 


sin x

§ การประยุกต์ อนุพนั ธ์ (Application of Derivative)


การประยุกต์อนุพนั ธ์ที่จะกล่าวถึงต่อไปคือการใช้ค่าอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั เพื่อตรวจหาคุณสมบัติของ
ฟังก์ชนั (ฟังก์ชนั เพิ่มขึ้น ฟังก์ชนั ลดลง จุดสู งสุ ด จุดต่าสุ ด ความเว้า ฯลฯ) และเมื่อทราบลักษณะของฟังก์ชนั แล้วจึง
นาไปเขียนกราฟของฟังก์ชนั ต่อไป

 ฟังก์ชันเพิม่ ขึน้ ฟังก์ชันลดลง (Increasing and Decreasing Functions)


นิยาม ให้ f (x) เป็ นฟั งก์ ชันที่หาค่ าได้ บนช่ วงใดๆ และให้ x1 และ x 2 เป็ นจุดที่อยู่ในช่ วงนั้นๆ
1) f (x) เป็ น “ฟั งก์ ชันเพิ่มขึน้ ” บนช่ วงนั้นๆ ถ้ า f ( x1 )  f ( x2 ) สาหรั บทุกค่ า x1  x2

2) f (x) เป็ น “ฟั งก์ ชันลดลง” บนช่ วงนั้นๆ ถ้ า f ( x1 )  f ( x 2 ) สาหรั บทุกค่ า x1  x 2

3) f (x) เป็ น “ฟั งก์ ชันคงค่ า” บนช่ วงนั้นๆ ถ้ า f ( x1 )  f ( x 2 ) สาหรั บทุกค่ า x1 และ x2

ทฤษฎีบทที่ 1 ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องบนช่ วงปิ ด [a, b] และสามารถหาอนุพันธ์ ได้ บนช่ วงเปิ ด (a, b)
1) ถ้ า f ( x)  0 สาหรั บทุกค่ า x ในช่ วงเปิ ด (a, b) แล้ ว f เป็ นฟั งก์ ชันเพิ่มขึน้ บนช่ วง [a, b]
2) ถ้ า f ( x)  0 สาหรั บทุกค่ า x ในช่ วงเปิ ด (a, b) แล้ ว f เป็ นฟั งก์ ชันลดลงบนช่ วง [a, b]
3) ถ้ า f ( x)  0 สาหรั บทุกค่ า x ในช่ วงเปิ ด (a, b) แล้ ว f เป็ นฟั งก์ ชันคงค่ าบนช่ วง [a, b]

Ex จงหาว่า f ( x)  x 3  5 x  7 มีค่าเพิ่มขึ้นหรื อลดลงที่จุด x1  0 และ x2  2


ถ้าเราต้องการทราบว่า กราฟของฟังก์ชนั f จะมีคา่ ลดลงหรื อเพิ่มขึ้น เมื่อ x อยูใ่ นช่วงใดช่วงหนึ่ง เรา
สามารถทาได้โดยใช้หลักการต่อไปนี้
1. หาค่า x ที่ทาให้ f ( x)  0 (ที่จุด x เหล่านี้ เส้นสัมผัสจะขนานกับแกน x )
2. ใส่ เครื่ องหมาย + บนช่วงที่ f ( x)  0 ซึ่ งกราฟมีความชันเป็ นบวก หรื อกราฟเพิ่มขึ้น
3. ใส่ เครื่ องหมาย - บนช่วงที่ f ( x)  0 ซึ่งกราฟมีความชันเป็ นลบ หรื อกราฟลดลง

Ex กาหนดให้ f ( x)  x 2  4 x  3 จงหาว่าช่วงใดของฟังก์ชนั เป็ นฟังก์ชนั เพิ่มขึ้นและช่วงใดเป็ นฟังก์ชนั ลดลง


Ex กาหนดให้ f ( x)  x 2 e x จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั f เพิ่มขึ้นหรื อลดลงในช่วงใด

 จุดต่าสุ ดและจุดสู งสุ ด (ค่ าน้ อยสุ ดและมากสุ ดของฟังก์ ชัน)


นิยาม ฟั งก์ ชัน f จะมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (relative maximum) ที่จุด x0 ถ้ า f ( x0 )  f ( x) สาหรั บทุกค่ า x ในบาง
ช่ วงเปิ ดที่มจี ุด x0
นิยาม ฟั งก์ ชัน f จะมีค่าตา่ สุดสัมพัทธ์ (relative minimum) ที่จุด x0 ถ้ า f ( x0 )  f ( x) สาหรั บทุกค่ า x ในบาง
ช่ วงเปิ ดที่มจี ุด x0
นิยาม ฟั งก์ ชัน f จะมีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ (relative extremum) ที่จุด x0 ถ้ าฟั งก์ ชัน f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ หรื อค่ า
ตา่ สุดสัมพัทธ์ ที่จุด x0

ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้ า f มีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ ที่จุด x0 แล้ ว f ( x0 )  0 หรื อ f ( x0 ) หาค่ าไม่ ได้


นิยาม จุดวิกฤต (critical point) สาหรั บฟั งก์ ชัน f นั้นเป็ นค่ าของ x ในโดเมนของ f ที่ f ( x)  0 หรื อที่ f
ไม่ สามารถหาอนุพันธ์ ได้ ซึ่ งจุดวิกฤตที่ f ( x)  0 จะถูกเรี ยกว่ า จุดนิ่ง (stationary point) ของ f
f ( x)  x 2  43
2
Ex จงหาจุดวิกฤต (critical point) ของฟังก์ชนั
ทฤษฎีบทที่ 3 (การทดสอบอนุพันธ์ อันดับหนึ่ง: First Derivative Test)
ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี วามต่ อเนื่องที่ จุดวิกฤต c
1) ถ้ า f ( x)  0 เมื่อ x  c และ f ( x)  0 เมื่อ x  c แล้ ว f (c) จะเป็ นค่ าสูงสุดสัมพัทธ์ ของ f ที่ c
2 ) ถ้ า f ( x)  0 เมื่อ x  c และ f ( x)  0 เมื่อ x  c แล้ ว f (c) จะเป็ นค่ าตา่ สุดสัมพัทธ์ ของ f ที่ c
3) ถ้ า f (x) ไม่ เปลี่ยนเครื่ องหมาย เมื่อ x แปรผ่ านค่ าวิกฤต c แล้ วจะได้ ว่า f ไม่ ให้ ค่าสุดขีดสัมพัทธ์
(ค่ าตา่ สุดสัมพัทธ์ และค่ าสูงสุดสัมพัทธ์ ) ที่ x  c
Ex จงหาจุดต่าสุ ดสัมพัทธ์หรื อจุดสู งสุ ดสัมพัทธ์ของฟังก์ชนั f ( x)  2 x 3  3 x 2  36 x  14
1
Ex กาหนดให้ f ( x)  x 2  จงหาจุดต่าสุ ดสัมพัทธ์หรื อจุดสู งสุ ดสัมพัทธ์
x2
ทฤษฎีบทที่ 4 (การทดสอบอนุพันธ์ อันดับสอง: Second Derivative Test)
ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ อันดับสองได้ ที่จุดนิ่ง c  f (c)  0
1) ถ้ า f (c)  0 แล้ ว f มีค่าตา่ สุดสัมพัทธ์ ที่ c
1) ถ้ า f (c)  0 แล้ ว f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ที่ c
3) ถ้ า f (c) หาค่ าไม่ ได้ หรื อ f (c)  0 แล้ ว การทดสอบอนุพันธ์ อันดับสองไม่ สามารถสรุ ปได้ ใน
กรณี เช่ นนีใ้ ห้ สรุ ปค่ า c ได้ จากการทดสอบอนุพันธ์ อันดับหนึ่งที่กล่ าวมาแล้ ว

Ex กาหนดให้ f ( x)  3x 4  4 x 3 จงหาค่าสุ ดขีดสัมพัทธ์โดยใช้การทดสอบอนุพนั ธ์อนั ดับสอง

 เว้าบน เว้าล่าง (Concave Upward, Concave Downtown)


นิยาม ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่สามารถหาอนุพันธ์ ได้ บนช่ วงที่กาหนดค่ าของ x ในโดเมนของ f ที่ f ( x)  0
1) f มี “เว้ าอยู่บน” (Concave Upward = เว้ าบน, เว้ าขึน้ ) บนช่ วงที่กาหนด ถ้ าแต่ ละจุดในช่ วงนั้น ทาให้
กราฟ f อยู่ด้านบนของเส้ นสัมผัสกราฟที่จุดนั้นเสมอ
2) f มี “เว้ าอยู่ล่าง” (Concave Downward = เว้ าล่ าง, เว้ าลง) บนช่ วงที่กาหนด ถ้ าแต่ ละจุดในช่ วงนั้น ทา
ให้ กราฟ f อยู่ด้านล่ างของเส้ นสัมผัสกราฟที่จุดนั้นเสมอ

ทฤษฎีบทที่ 5
1) ถ้ า f ( x)  0 บนช่ วงเปิ ด (a, b) แล้ ว f มีเว้ าอยู่บน (Concave Upward) บนช่ วง (a, b)
2) ถ้ า f ( x)  0 บนช่ วงเปิ ด (a, b) แล้ ว f มีเว้ าอยู่ล่าง (Concave Downward) บนช่ วง (a, b)

Ex กาหนดให้ f ( x)  x 3  3 x 2  1 จงหาว่ากราฟของ f มีเว้าอยูบ่ นหรื อเว้าอยูล่ ่างบนช่วงเปิ ดใดบ้าง


นิยาม ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่หาอนุพันธ์ อันดับสองได้ ถ้ า f (c)  0 และทางด้ านหนึ่งของ c เป็ นกราฟเว้ าขึน้ และ
อีกทางด้ านหนึ่งเป็ นกราฟเว้ าลง แล้ วจะเรี ยกจุด (c, f (c))  ว่ าเป็ น “จุดเปลี่ยนเว้ า (infection point)” ของ
f

Ex กาหนดให้ f ( x)  x 3  6 x 2  9 x  8 จงหาจุดสู งสุ ดสัมพัทธ์ จุดต่าสุ ดสัมพัทธ์ และจุดเปลี่ยนเว้า พร้อมทั้ง


วาดกราฟของ f มาด้วย

นิยาม ให้ f เป็ นฟั งก์ ชันที่หาค่ าได้ บนช่ วง [a, b] จะเรี ยกว่ า f เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี ่ าสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute
maximum) ที่จุด c ในช่ วง [a, b] ถ้ า f ( x)  f (c) สาหรั บทุกๆ ค่ า x  [a, b] และเรี ยกจุด c, f (c)  ว่ า
เป็ น “จุดสูงสุดสัมบูรณ์ ของ f ในช่ วง [a, b] ”
และจะกล่ าวว่ า f เป็ นฟั งก์ ชันที่มคี ่ าตา่ สุดสัมบูรณ์ (absolute minimum) ที่จุด d ในช่ วง [a, b] ถ้ า
f ( x)  f (d ) สาหรั บทุกๆ ค่ า x  [a, b] และเรี ยกจุด d , f (d )  ว่ าเป็ น “จุดตา่ สุ ดสั มบูรณ์ ของ f
ในช่ วง [a, b] ”

Ex กาหนดให้ f ( x)  x 3  6 x 2  9 x  8 จงหาจุดสู งสุ ดและจุดต่าสุ ดสัมบูรณ์ของ f บนช่วง [-1,5] พร้อมทั้ง


วาดกราฟของ f มาด้วย
Ex กาหนดให้ f ( x)  x 4  2 x 2 จงหาจุดสู งสุ ดและจุดต่าสุ ดสัมบูรณ์ของ f บนช่วง [2, 3 ] พร้อมทั้งวาดกราฟ
2
ของ f มาด้วย

การประยุกต์ ปัญหาค่ าสู งสุ ดและต่าสุ ด (Applications of Maxima and Minima)


1. วาดรู ปประกอบ (ถ้าเป็ นไปได้)
2. กาหนดตัวแปรที่ไม่ทราบค่า
3. สร้างความสัมพันธ์ของปริ มาณที่ตอ้ งการหาค่าสู งสุ ดหรื อค่าต่าสุ ดจากตัวแปรของข้อ 2
4. ลดทอนตัวแปรอิสระของปริ มาณที่สร้างในข้อ 3 ให้เหลือ 1 ตัวเท่านั้น
5. ใช้ข้ นั ตอนการหาค่าสุ ดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชนั f บนช่วง [a, b] หรื อบนช่วงอื่นๆ

Ex จงหาขนาดของสี่ เหลี่ยมผืนผ้าที่มีเส้นรอบรู ป 100 ฟุต และมีพ้นื ที่มากที่สุด


Ex จงหารัศมีและความสู งของทรงกระบอก (กลมตรง) ที่มีปริ มาตรมากที่สุด ซึ่งสามารถบรรจุลงในกรวย (กลม
ตรง) ที่มีรัศมีฐานยาว 6 นิ้ว และสู ง 10 นิ้ว

การหาลิมติ โดยใช้ กฎของโลปิ ตาล (L’Hospital’s rule)


หัวข้อนี้เป็ นการประยุกต์ของนุพนั ธ์อีกทางหนึ่ง ซึ่ งเป็ นการหาลิมิตของฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ปแบบยังไม่
กาหนด (Indeterminate forms)
นิยาม ถ้ า f เป็ นฟั งก์ ชันของ x และเมื่อแทนค่ า x ด้ วย a แล้ ว f (x) อยู่ในรู ปแบบหนึ่งรู ปแบบใดต่ อไปนีค้ ื อ
0 
, ,0  ,   ,0 0 ,  0 หรื อ 1 แล้ วเราจะกล่ าวว่ า lim f ( x) มี “รู ปแบบยังไม่ กาหนด” ที่ xa
0  x a

รู ป 
รวมถึงฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ปแบบ  ,   ,  
   
รู ป    รวมถึงฟั งก์ชน ั ที่อยูใ่ นรู ปแบบ    ()
รู ป  0 รวมถึงฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ปแบบ () 0
รู ป 1 รวมถึงฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ปแบบ 1
เราไม่สามารถหาค่าของฟังก์ชนั ที่มีรูปแบบยังไม่กาหนดที่ xc แต่เราสามารถหาลิมิตของฟังก์ชนั เมื่อ
xc ได้โดยใช้กฎของโลปิ ตาล

ทฤษฎีบทที่ 6 (กฎของโลปิ ตาลในรู ป 0 )


0
f ( x)
สมมุติว่า lim f ( x)  0  lim g ( x) ถ้ า lim L (หรื อ  หรื อ   ) แล้ ว
x a x a xa g ( x)
f ( x) f ( x)
lim  lim L
xa g ( x) xa g ( x)
ยิ่งกว่ านั้น ทฤษฎีบทนีย้ งั เป็ นจริ งเมื่อแทน xa ด้ วย x  a หรื อ x  a หรื อ x หรื อ x  

x 2
4
Ex จงหาค่าของ lim
x2 x2


ทฤษฎีบทที่ 7 (กฎของโลปิ ตาลในรู ป )

f ( x)
สมมุติว่า lim f ( x)   (หรื อ ) และ lim g ( x)   (หรื อ ) ถ้ า lim L (หรื อ 
x a x a xa g ( x)
หรื อ   ) แล้ ว
f ( x) f ( x)
lim  lim L
xa g ( x) x  a g ( x)
ยิ่งกว่ านั้น ทฤษฎีบทนีย้ งั เป็ นจริ ง เมื่อแทน xa ด้ วย x  a หรื อ x  a หรื อ x หรื อ x  

2x
Ex จงหาค่าของ lim
x  x e
ln(cot x)
Ex จงหาค่าของ lim
x 0 csc x

f ( x) 0 
หมายเหตุ ถ้า lim ยังคงอยูใ่ นรู ปแบบยังไม่กาหนด หรื อ แล้วเราสามารถใช้กฎของโลปิ ตาลซ้ าเป็ น
xa g ( x) 0 
ครั้งที่สอง ครั้งที่สาม ครั้งที่สี่ ฯลฯ ต่อไปได้อีก กล่าวคือ
f ( x) f ( x) f ( x) f ( x)
lim  lim  lim  lim 
x a g ( x) xa g ( x) xa g ( x) xa g ( x)
2x  3x  4
2
Ex จงหาค่าของ lim
x   x  x 12

cos 2 (3x)
Ex จงหาค่าของ lim
x
 cos 2 x
2

การหาลิมิตของฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ปแบบ 0 หรื อ  ทาได้โดยเปลี่ยนรู ปแบบดังกล่าวให้อยูใ่ น


 0
รู ปแบบ หรื อ แล้วจึงใช้กฎของโลปิ ตาล
 0

Ex จงหาค่าของ lim (sec x  tan x)


x
2

 2
Ex จงหาค่าของ lim x ln 1  
x 
 x

 การหาลิมิตของฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ปแบบ 00 ,  0 หรื อ 1 นั้น เราถือว่าลิมิตอยูใ่ นรู ปแบบ lim f ( x) g ( x )
xa

ซึ่ งสามารถหาลิมิตได้โดยเริ่ มต้นให้


y  f ( x) g ( x ) จะได้ ln y  g ( x) ln f ( x)
lim ln y  lim g ( x) ln f ( x) ซึ่ งอยูใ่ นรู ปแบบ 0  
x a x a

จากนั้นก็เปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปแบบ  หรื อ 0


ก่อน แล้วจึงใช้กฎของโลปิ ตาลหาค่าลิมิต
 0
ถ้าสมมุติวา่ ค่าลิมิตเท่ากับ k กล่าวคือ x a
 
lim ln y  ln lim y  k ดังนั้น lim y  e k
x a xa

Ex จงหาค่าของ lim x x
x 0 

Ex จงหาค่าของ lim (cot x) sin x


x 0 
1

Ex จงหาค่าของ lim
x 0
(1  x) x

f ( x) 0 
หมายเหตุ ก่อนใช้กฎของโลปิ ตาล เราต้องตรวจสอบทุกครั้งว่า lim อยูใ่ นรู ปแบบ หรื อ แล้วจึงจะใช้
x a g ( x) 0 
กฎของโลปิ ตาลได้

You might also like