You are on page 1of 213

อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ดร.ธานี สุวรรณประทีป
ป.ธ.๙, ศน.ม. พระพุทธศาสนาและปรัชญา
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
สาขาบาลีพุทธศาสตร์

คณะพุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒๕๖๓
[ ๒ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี
ผู้เขียน ดร.ธานี สุวรรณประทีป
ป.ธ.๙, ศน.ม. (พุทธศาสนาและปรัชญา)
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คณะกรรมการกลั่นกรองผลงานวิชาการ (Peer Review)
พระราชปริยัติมุนี, ผศ.ดร.
ศ.รท.ดร.บรรจบ บรรณรุจิ
ผศ.ดร.วุฒินันท์ กันทะเตียน
ผศ.ดร.สมบัติ มั่งมีสุขศิริ
รศ.ดร.เวทย์ บรรณากรกุล
ศิลปะและรูปเล่ม นายสมควร ถ้วนนอก/ ดร.ธานี สุวรรณประทีป
ตรวจทาน ผศ.ดร.วิโรจน์ คุ้มครอง/ดร.ชัยชาญ ศรีหานู
พิสูจน์อักษร พระประเทือง ขนฺติโก/ นายสังข์วาล เสริมแก้ว
ISBN xxxxxxxxx
พิมพ์เมื่อ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓
จำนวนพิมพ์ ๕๐๐ เล่ม
พิมพ์ที่ อักขระการพิมพ์
๘๙/๑๔๓๘ ตำบลบางแม่นาง อำเภอบางใหญ่
จังหวัดนนทบุรี
มือถือ ๐๙-๖๔๘๒-๓๕๙๕
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [๓]

บทนำ
พระพุทธเจ้าทรงอธิบ ายหลักธรรมซึ่ง รวบรวมไว้เป็น พระไตรปิฎ ก
เนื่องจากในสมัยพุทธกาลพระสาวกมีความเข้าใจดี จึงไม่มีการอธิบายขยาย
ความ แต่ในกาลต่อมาเกิดความสังสัยและเข้าใจได้ยาก พระสาวกที่ทรงความรู้
วางหลักการอธิบายไว้ การอธิบายจึงอยู่ในรูปแบบคัมภีร์อรรถกถาในปัจจุบัน
เมื่อเวลาผ่านไปนานเกิดความเข้าใจได้ยาก จึงได้มีการอธิบายอรรถกถาขึ้นมา
อีก ลำดั บ หนึ่ ง ผู้ ที่ อ ธิบ ายอรรถกถาเรี ย กว่า พระฎี กาจารย์ คั ม ภี ร์ที่ บั น ทึ ก
คำอธิบ ายเรียกว่า คัมภีร์ฎีกา การศึกษาพระไตรปิฎ กให้ เข้าใจอย่างถูกต้อง
จำเป็นต้องศึกษาอรรถกถา ฎีกา และใช้หลักไวยากรณ์ที่เรียนมากับไวยากรณ์
อื่นอีกประกอบการศึกษาจึงจะเข้าใจ
ในสั งคมไทย การตี ค วามหลั ก คำสอนแบ่ งเป็ น ๒ ฝ่ า ย ทำให้
ผู้สนใจศึกษาคัมภีร์พระพุทธศาสนาเกิดความสังสัยว่า ฝ่ายไหนมีความเห็นที่
ถู ก ต้ อ ง การจะเชื่ อ ถื อ ฝ่ า ยไหนนั้ น ต้ อ งใช้ ห ลั ก การตั ด สิ น ซึ่ งก็ ต้ อ งศึ ก ษา
หลักการพระพุทธศาสนาเถรวาทให้เข้าใจจนมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ ก่อน จึงจะ
ตัดสินใจเชื่อถือความเห็นในแต่ละฝ่ายได้ ซึ่งเมื่อเกิดปัญหาความเห็นไม่ตรงกัน
ทางพระธรรมวินัย พระพุทธเจ้ารับสั่งไม่ให้เชื่อและไม่ให้คัดค้าน แต่ให้จดจำคำ
ที่เขากล่าวนั้นให้ดีแล้วนำไปสอบดูในพระสูตรเทียบดูในพระวินัย ถ้าไม่ลงกัน
ไม่สมกันในพระสูตรและในพระวินัย พึงเข้าใจว่า คำที่ท่านกล่าวนั้นมิใช่คำสอน
ของพระพุทธเจ้า พึงทิ้งความเห็นนั้นเสีย ถ้าลงกันสมกันในพระสูตรและพระ
วินัย พึงเข้าใจว่า คำที่ท่านกล่าวนั้นเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า
การตีความไม่เกิดในสมัยพระพุทธเจ้าเพราะพระองค์ได้ทรงอธิบาย
เนื้ อ หาของคำสอนที่ ป รากฏในพระวิ นั ย พระสู ต ร และพระอภิ ธ รรมด้ ว ย
[ ๔ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

พระองค์เองเพื่อให้สาวกบรรลุธรรม หลังสมัยพุทธกาลจึงพบว่าพระอรรถกถา
จารย์ ได้ เริ่ ม เขี ย นอรรถถาอธิบ ายธรรมสำคั ญ และในทำนองเดี ย วกัน การ
อธิบายในอรรถกถาฎีกา ทั้งนี้เพื่อจำกัดความคลาดเคลื่อนและสงสัยที่เกิดขึ้น
และหลักการตีค วามหลักคำสอนยังมีอิทธิพลและทำกันอยู่ สังคมไทยปัจจุบัน
การตีความต้องอ้างอิงได้และสามารถตรวจสอบความถูกต้องกับพระธรรมวินัย
แล้วจึงสั่งสอนเผยแผ่ การตีความยังเป็นเครื่องมือตรวจสอบความสอดคล้องกับ
หลักคำสอนในสังคมไทย โดยแบ่งเป็น การตีความครั้งพุทธกาล การตีความ
หลั ง พุ ท ธกาล การตี ค วามตามพระธรรมวิ นั ย การตี ค วามตามห ลั ก
พระพุทธศาสนาเถรวาท ด้านภาษาซึ่งเป็นวจีวิญญัติ ภาษาที่พระพุทธเจ้าทรง
ใช้ และการตั ด สิ น การตี ค วามโดยใช้ เกณฑ์ สุ ต ตะ สุ ต ตานุ โลม อาจริย วาท
และอัตโนมติ

ดร.ธานี สุวรรณประทีป
๒๐ มกราคม ๒๕๖๓
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [๕]

อักษรย่อชื่อคัมภีร์
อั ก ษรย่ อ และเลขที่ น ำมาใช้ ในการเขี ย นที่ น ำมาใช้ ใ นคั ม ภี ร์ จ ตุ ร ารั ก ข
กัมมัฏฐานนี้ ประกอบด้วยพระไตรปิฎก อรรถถา ฎีกา และคัมภีร์ไวยากรณ์อื่นๆ ภาษา
บาลี จะแจ้งเล่ม ข้ อหน้ า เช่ น เช่ น วิ.มหา. (บาลี ) ๒/๓๗๓/๒๘๘, วิ .มหา. (ไทย) ๒/
๓๗๓/๔๙๔. หมายถึง วิ .มหา. วินยปิฏก มหาวิภงฺคปาลิ เล่ม ๒ ข้อ ๓๗๓ หน้า ๒๘๘
ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ และวินัยปิฏก มหาวิภังค์ เล่ม ๒ ข้อ ๓๗๓ หน้า ๔๙๔ ฉบับมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระวินัยปิฎก
วิ.มหา. (บาลี) = วินยปิฏก มหาวิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.มหา. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวิภังค์ (ภาษาไทย)
วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) = วินยปิฏก ภิกฺขุนวี ิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.ภิกฺขุนี. (ไทย) = วินยปิฏก ภิกขุนวี ิภังค์ (ภาษาไทย)
วิ.ม. (บาลี) = วินยปิฏก มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.ม. (ไทย) = วินัยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)
วิ.จู. (บาลี) = วินยปิฏก จูฬวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.จู. (ไทย) = วินัยปิฎก จูฬวรรค (ภาษาไทย)
วิ.ป. (บาลี) = วินยปิฏก ปริวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
วิ.ป. (ไทย) = วินัยปิฎก ปริวารวรรค (ภาษาไทย)
พระสุตตันตปิฎก
ที.สี. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)
ที.ม. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)
ที.ปา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
ม.มู. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มูลปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
ม.มู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
ม.ม. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มชฺฌิมปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
[ ๖ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ม.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ (ภาษาไทย)


ม.อุ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
ม.อุ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
สํ.ส. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.ส. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
สํ.นิ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย นิทานวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.นิ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ข. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย ขนฺธวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.ข. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค (ภาษาไทย)
สํ.สฬา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.สฬา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ม. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก สํยุตฺตนิกาย มหาวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
สํ.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค (ภาษาไทย)
องฺ.เอกก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย เอกกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.เอกก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ทุก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ทุก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ติก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ติก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.จตุกฺก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.จตุกฺก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ปญฺจก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ปญฺจกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ปญฺจก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ฉกฺก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ฉกฺกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.สตฺตก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.สตฺตก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.อฏฺฐก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺ กนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.นวก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย นวกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.นวก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย นวกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ.ทสก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย ทสกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
องฺ.ทสก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต (ภาษาไทย)
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [๗]

องฺ.เอกาทสก. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก องฺคุตฺตรนิกาย เอกาทสกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)


องฺ.เอกาทสก. (ไทย) = สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกาทสกนิบาต (ภาษาไทย)
ขุ.ขุ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุททกนิกาย ขุทฺทกปา ปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ขุ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ (ภาษาไทย)
ขุ.ธ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุททกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย)
ขุ.อุ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุททกนิกาย อุทาน (ภาษาบาลี)
ขุ.อุ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อุทาน (ภาษาไทย)
ขุ.อิติ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย อิติวุตฺตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.อิติ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ (ภาษาไทย)
ขุ.สุ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย สุตฺตนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.สุ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต (ภาษาไทย)
ขุ.วิ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย วิมานวตฺถปุ าลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.วิ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ (ภาษาไทย)
ขุ.เปต. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย เปตวตฺถุปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.เปต. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เปตวัตถุ (ภาษาไทย)
ขุ.เถร. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย เถรคาถาปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.เถร. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา (ภาษาไทย)
ขุ.เถรี. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย เถรีคาถาปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.เถรี. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรีคาถา (ภาษาไทย)
ขุ.ชา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ม. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส (ภาษาไทย)
ขุ.จู. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย จูฬนิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.จู. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส (ภาษาไทย)
ขุ.ป. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย ปฏิสมฺภิทามคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.ป. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ภาษาไทย)
ขุ.อป. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย อปทานปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.อป. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน (ภาษาไทย)
[ ๘ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ขุ.พุทฺธ. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย พุทฺธวํสปาลิ (ภาษาบาลี)


ขุ.พุทฺธ. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ (ภาษาไทย)
ขุ.จริยา. (บาลี) = สุตฺตนฺตปิฏก ขุทฺทกนิกาย จริยาวปิฎกปาลิ (ภาษาบาลี)
ขุ.จริยา. (ไทย) = สุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จริยาปิฎก (ภาษาไทย)
พระอภิธรรมปิฎก
อภิ.สงฺ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ธมฺมสงฺคณีปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.สงฺ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี (ภาษาไทย)
อภิ.วิ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก วิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.วิ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก วิภังค์ (ภาษาไทย)
อภิ.ธา. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ธาตุกถาปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.ธา. (ไทย) = อภิธัมมปิฏก ธาตุกถา (ภาษาไทย)
อภิ.ปุ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปุคคลปญฺ ตฺติปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.ปุ. (ไทย) = อภิธัมมปิฎก ปุคคลปัญญัตติ (ภาษาไทย)
อภิ.ก. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก กถาวตฺถุปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.ก. (ไทย) = อภิธัมมปิฎก กถาวัตถุ (ภาษาไทย)
อภิ.ย. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ยมกปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.ย. (ไทย) = อภิธัมมปิฏก ยกม (ภาษาไทย)
อภิ.ป. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปฏฺ านปาลิ (ภาษาบาลี)
อภิ.ป. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน (ภาษาไทย)
อรรถกถาพระวินัยปิฎก
วิ.อ. (บาลี) = วินยปิฎก สมนฺตปาสาทิกาอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
วิ.อ. (ไทย) = วินยปิฎก สมันตปาสาทิกาอรรถกถา (ภาษาไทย)
กงฺขา.อ. (บาลี) = กงฺขาวิตรณีอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี)
วิ.สงฺคห. (บาลี) = วินยสงฺคหอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี)
วิ.นิจฺฉย. (บาลี) = วินยวินจิ ฺฉยอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี)
อุตฺตรวิ. (บาลี) = อุตฺตรวินิจฺฉยอฏฺฐกถา (ภาษาบาลี)
ขุทฺทสิกฺขา (บาลี) = ขุทฺทสิกฺขา (ภาษาบาลี)
มูลสิกฺขา (บาลี) = มูลสิกฺขา (ภาษาบาลี)
อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก
ที.สี.อ. (บาลี) = ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี สีลกฺขนฺธวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ที.สี.อ. (ไทย) = ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี สีลขันธวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
ที.ม.อ. (บาลี) = ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี มหาวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ที.ม.อ. (ไทย) = ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี มหาวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [๙]

ที.ปา.อ. (บาลี) = ทีฆนิกาย สุมงฺคลวิลาสินี ปาฏิกวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)


ที.ปา.อ. (ไทย) = ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี ปาฏิกวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
ม.มู.อ. (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ปปญฺจสูทนี มูลปณฺณาสกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ม.มู.อ. (ไทย) = มัชฌิมนิกาย ปปัญจสูทนี มูลปัณณาสก์อรรถกถา (ภาษาไทย)
ม.ม.อ. (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ปปญฺจสูทนี มชฺฌิมปณฺณาสกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ม.ม.อ. (ไทย) = มัชฌิมนิกาย ปปัญจสูทนี มัชฌิมปัณณาสก์อรรถกถา (ภาษาไทย)
ม.อุ.อ. (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ปปญฺจสูทนี อุปริปณฺณาสกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ม.อุ.อ. (ไทย) = มัชฌิมนิกาย ปปัญจสูทนี อุปริปัณณาสก์อรรถกถา (ภาษาไทย)
สํ.ส.อ. (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี สคาถวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
สํ.ส.อ. (ไทย) = สังยุตตนิกาย สารัตถปกาสินี สคาถวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
สํ.นิ.อ. (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี นิทานวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
สํ.นิ.อ. (ไทย) = สังยุตตนิกาย สารัตถปกาสินี นิทานวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
สํ.ข.อ. (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี ขนฺธวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
สํ.ข.อ. (ไทย) = สังยุตตนิกาย สารัตถปกาสินี ขันธวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
สํ.สฬา.อ. (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี สฬายตนวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
สํ.สฬา.อ. (ไทย) = สังยุตตนิกาย สารัตถปกาสินี สฬายตนวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
สํ.ม.อ. (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย สารตฺถปฺปกาสินี มหาวคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
สํ.ม.อ. (ไทย) = สังยุตตนิกาย สารัตถปกาสินี มหาวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.เอกก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี เอกกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.เอกก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี เอกกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.ทุก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.ทุก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทุกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.ติก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ติกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.ติก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ติกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี จตุกฺกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.จตุกฺก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี จตุกกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.ปญฺจก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ปญฺจกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.ปญฺจก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ปัญจกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.ฉกฺก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ปญฺจกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.ฉกฺก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ฉักกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
[ ๑๐ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

องฺ.สตฺตก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี สตฺตกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)


องฺ.สตฺตก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี สัตตกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.อฏฺฐก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี อฏฺ กนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.อฏฺฐก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี อัฏฐกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.นวก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี นวกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.นวก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี นวกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.ทสก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี ทสกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.ทสก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี ทสกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
องฺ.เอกาทสก.อ. (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย มโนรถปูรณี เอกาทสกนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
องฺ.เอกาทสก.อ. (ไทย) = อังคุตตรนิกาย มโนรถปูรณี เอกาทสกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.ขุ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถโชติกา ขุทฺทกปา อฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ขุ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถโชติกา ขุทฺทกปาฐอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.ธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.อุ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี อุทานอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.อุ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถทีปนี อุทานอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.อิติ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี อิตวิ ุตฺตกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.อิติ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถทีปนี อิตวิ ุตตกอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.สุ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถโชติกา สุตฺตนิปาตอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.สุ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถโชติกา สุตตนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.วิ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี วิมานวตฺถอุ ฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.วิ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถทีปนี วิมานวัตถุอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.เปต.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถโชตกา เปตวตฺถุอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.เปต.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถโชตกา เปตวัตถุอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.เถร.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี เถรคาถาอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.เถร.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถทีปนี เถรคาถาอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.เถรี.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี เถรีคาถาอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.เถรี.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถทีปนี เถรีคาถาอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.ชา.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ชาตกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ชา.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ชาดกอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.ม.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย สทฺธมฺมปฺปชฺโชติกา มหานิทฺเทสอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ม.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย สัทธัมมปัชโชติกา มหานิเทสอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.จู.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย สทฺธมฺมปฺปชฺโชติกา จูฬนิทฺเทสอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [ ๑๑ ]

ขุ.จู.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย สัทธัมมปัชโชติกา จูฬนิเทสอรรถกถา (ภาษาไทย)


ขุ.ป.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย สทฺธมฺมปฺปกาสินี ปฏิสมฺภทิ ามคฺคอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.ป.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย สัทธรรมปกาสินี ปฏิสัมภิทามรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.อป.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย วิสุทฺธชนวิลาสินี อปทานอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.อป.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย วิสุทธชนวิลาสินี อปทานอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.พุทฺธ.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย มธุรตฺถวิลาสินี พุทธฺ วํสอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย มธุรัตถวิลาสินี พุทธวังสอรรถกถา (ภาษาไทย)
ขุ.จริยา.อ. (บาลี) = ขุทฺทกนิกาย ปรมตฺถทีปนี จริยาปิฏกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
ขุ.จริยา.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ปรมัตถทีปนี จริยาปิฎกอรรถกถา (ภาษาไทย)
อรรถกถาพระอภิธรรมปิฎก
อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ธมฺมสงฺคณี อฏฺ สาลินีอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อภิ.สงฺ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี อัฏฐสาลินีอรรถกถา (ภาษาไทย)
อภิ.วิ.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก วิภงฺค สมฺโมหวิโนทนีอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อภิ.วิ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก วิภังค์ สัมโมหวิโนทนีอรรถกถา (ภาษาไทย)
อภิ.ธา.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปญฺจปกรณ ธาตุกถาอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อภิ.ธา.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ปัญจปกรณ์ธาตุกถาอรรถกถา (ภาษาไทย)
อภิ.ปุ.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปญฺจปกรณ ปุคฺคลปญฺ ตฺติอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อภิ.ปุ.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ปัญจปกรณ์ ปุคคลบัญญัติอรรถกถา (ภาษาไทย)
อภิ.ย.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปญฺจปกรณ ยมกอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อภิ.ย.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ปัญจปกรณ์ ยมกอรรถกถา (ภาษาไทย)
อภิ.ป.อ. (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปญฺจปกรณ ปฏฺ านอฏฺ กถา (ภาษาบาลี)
อภิ.ป.อ. (ไทย) = อภิธรรมปิฎก ปัญจปกรณ์ ปัฏฐานอรรถกถา (ภาษาไทย)
ฎีกาพระวินัยปิฎก
วชิร.ฏีกา (บาลี) = วชิรพุทฺธฏิ ีกา (ภาษาบาลี)
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) = สารตฺถทีปนีฏีกา (ภาษาบาลี)
สารตฺถ.ฏีกา (ไทย) = สารัตถทีปนีฎีกา (ภาษาไทย)
วิมติ.ฏีกา (บาลี) = วิมติวิโนทนีฏีกา (ภาษาบาลี)
กงฺขา.ฏีกา (บาลี) = กงฺขาวิตรณีปุราณฏีกา (ภาษาบาลี)
กงฺขา.อภินวฏีกา (บาลี) = วินยตฺถมญฺชูสา กงฺขาวิตรณี อภินวฏีกา (ภาษาบาลี)
วินย.ฏีกา (บาลี) = วินยาลงฺการฏีกา (ภาษาบาลี)
[ ๑๒ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

วิ.ฏีกา (บาลี) = วินยวินจิ ฺฉยฏีกา (ภาษาบาลี)


อุตฺตร.ฏีกา (บาลี) = อุตฺตรวินิจฺฉยฏีกา (ภาษาบาลี)
ขุทฺท.ฏีกา (บาลี) = ขุทฺทสิกฺขาปุราณฏีกา (ภาษาบาลี)
ขุทฺท.อภินวฏีกา (บาลี) = ขุทฺทสิกฺขาอภินวฏีกา (ภาษาบาลี)
มูล.ฏีกา (บาลี) = มูลสิกฺขาฏีกา (ภาษาบาลี)
ฎีกาพระสุตตันปิฎก
ที.สี.ฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี สีลกฺขนฺธวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
ที.สี.อภินวฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกาย สาธุวิลาสินีสีลกฺขนฺธวคฺคอภินวฏีกา (ภาษาบาลี)
ที.ม.ฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี มหาวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
ที.ปา.ฏีกา (บาลี) = ทีฆนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสินี ปาฏิกวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
ม.มู.ฏีกา (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี มูลปณฺณาสกฏีกา (ภาษาบาลี)
ม.ม.ฏีกา (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี มชฺฌิมปณฺณาสกฏีกา (ภาษาบาลี)
ม.อุ.ฏีกา (บาลี) = มชฺฌิมนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี อุปริปณฺณาสกฏีกา (ภาษาบาลี)
สํ.ส.ฏีกา (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี สคาถวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
สํ.นิ.ฏีกา (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี นิทานวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
สํ.ข.ฏีกา (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี ขนฺธวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
สํ.สฬา.ฏีกา (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี สฬายตนวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
สํ.ม.ฏีกา (บาลี) = สํยุตฺตนิกาย ลีนตฺถปฺปกาสนี มหาวคฺคฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.เอกก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย เอกกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.ทุก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.ติก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.จตุกฺก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.ปญฺจก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย ปญฺจกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.ฉกฺก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย ฉกฺกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.สตฺตก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.อฏ ก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺ กนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.นวก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย นวกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.ทสก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย ทสกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
องฺ.เอกาทสก.ฏีกา (บาลี) = องฺคุตฺตรนิกาย เอกาทสกนิปาตฏีกา (ภาษาบาลี)
ขุ.ธ.ฏีกา (บาลี) = ธมฺมปทมหาฏีกา (ภาษาบาลี)
ฎีกาพระอภิธรรมปิฎก
อภิ.สงฺ.มูลฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ธมฺมสงฺคณีมูลฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.วิ.มูลฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก วิภงฺคมูลฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.วิ.อนุฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก วิภงฺคอนุฏีกา (ภาษาบาลี)
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [ ๑๓ ]

อภิ.วิ.มูลฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก วิภงฺคมูลฏีกา (ภาษาบาลี)


อภิ.ปญฺจ.มูลฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปญฺจปกรณมูลฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.สงฺ.อนุฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ธมฺมสงฺคณีอนุฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.วิ.อนุฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก วิภงฺคอนุฏีกา (ภาษาบาลี)
อภิ.ปญฺจ.อนุฏกี า (บาลี) = อภิธมฺมปิฏก ปญฺจปกรณอนุฏีกา (ภาษาบาลี)
ม.ฏีกา (บาลี) = มณิทีปฏีกา (ภาษาบาลี)
มธุ.ฏีกา (บาลี) = มธุสารตฺถทีปนีฏกี า (ภาษาบาลี)
ฎีกาปกรณวิเสส
มิลินฺท.ฏีกา (บาลี) = มธุรตฺถปฺปกาสินี มิลินฺทปญฺหฏีกา (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธิ.มหาฏีกา (บาลี) = ปรมตฺถมญฺชุสา วิสุทฺธิมคฺคมหาฏีกา (ภาษาบาลี)
วิสุทฺธิ.มหาฏีกา (ไทย) = ปรมัตถมัญชุสา วิสุทธิมรรคมหาฎีกา (ภาษาไทย)
สงฺคหฏีกา (บาลี) = อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา (ภาษาบาลี)
วิภาวินี. (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินฏี ีกา (ภาษาบาลี)
วิภาวินี. (ไทย) = อภิธัมมัตถวิภาวินฎี ีกา (ภาษาไทย)
สงฺเขป.ฏีกา (บาลี) = สงฺเขปวณฺณนาฏีกา (ภาษาบาลี)
มณิสาร.ฏีกา (บาลี) = มณิสารมญฺชูสาฏีกา (ภาษาบาลี)
สงฺคหทีปนี. (บาลี) = อภิธมฺมมตฺถสงฺคหทีปนีฏีกา (ภาษาบาลี)
วิภาวินี.โยชนา (บาลี) = อภิธมฺมตฺถวิภาวินฏี ีกา อตฺถโยชนา (ภาษาบาลี)
ปรมตฺถ.ฏีกา (บาลี) = ปรมตฺถทีปนี อภิธมฺมตฺถสงฺคหมหาฏีกา (ภาษาบาลี)
ปริ.ฏีกา (บาลี) = ปริตฺตฏีกา (ภาษาบาลี)
นม.ฏีกา (บาลี) = นมกฺการฏีกา (ภาษาบาลี)
ปรมตฺถ.ฏีกา (ไทย) = ปรมัตถทีปนี อภิธัมมัตถสังคหมหาฎีกา (ภาษาไทย)
[ ๑๔ ] อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สารบัญ
คำนำ [๓]
อักษรย่อชื่อคัมภีร์ [๕]
สารบัญ [๑๔]
๑. ความสำคัญของอรรถกถาวิธี ๑
๒. นิยามของอรรถกถาวิธี ๒๐
๓. อรรถกถาวิธีในสมัยพุทธกาล ๒๓
๓.๑ อรรถกาในพระวินัยปิฎก ๒๔
๓.๒ อรรถกถาในพระสุตตันตปิฎก ๓๖
๓.๓ อรรถกถาในพระอภิธรรมปิฎก ๔๖
๔. รูปแบบอรรถกถาวิธีสมัยพุทธกาล ๖๖
๔.๑ รูปแบบอรรถกถาวิธีของพระพุทธเจ้า ๘๓
๔.๒ รูปแบบอรรถกถาวิธีของพระพุทธสาวก ๘๙
๕. หลักการวิจัยทางภาษาบาลี ๙๑
๕.๑ ความหมายและความสำคัญ ๙๑
๕.๒ หลักการวิจัยในคัมีร์พระไตรปิฎก ๙๕
๕.๓ ความหมายการวิจัยภาษาบาลี ๙๖
๕.๔ วิจัยตามความหมายทีป่ รากฏในอรรถกถา-ฎีกา ๙๘
๕.๕ วิจัย ตามความหมายทีป่ รากฏในไวยากรณ์ ๙๙
๕.๖ หลักการวิจัยในพระวินัยปิฎก ๑๐๐
๕.๗ หลักการวิจัยในพระสุตตันตปิฎก ๑๑๖
๖. หลักการวิจัยในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๑๒๕
๗. การตีความและการตรวจสอบงานวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓๐
๗.๑ หลักการตีความตามหลักพระพุทธศาสนา ๑๓๐
๗.๒ การตีความหลักคำสอนภาษาบาลีเป็นภาษาไทย ๑๔๐
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี [ ๑๕ ]

๗.๓ การตีความพระธรรมวินัยสำหรับตำราเรียน ๑๔๒


๗.๔ หลักการตีความภาษาบาลีตามความเห็น ๑๔๘
๗.๕ อิทธิพลของการตีความต่อสังคมไทย ๑๕๒
๗.๖ เรื่องปรับอาบัติทา่ นพระอานนท์ ๕ กรณี ๑๖๔
๘. การตีความต่อพระไตรปิฎกในแง่ลบ ๑๘๒
๙. การตีความต่อพระไตรปิฎกในแง่บวก ๑๘๗
บรรณานุกรม ๑๙๑
ประวัติผู้เขียน ๑๙๕
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

๑. ความสาคัญของอรรถกถาวิธี
พระธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงและทรงบัญญัติไว้นั้น โดยเนื้อหา
มี ๒ ประการ คือมีเนื้ อหาที่ ทรงแสดงไว้ชัดเจนแล้ ว และมีเนื้ อหาที่ต้องท า
ความเข้าใจ๑ ในพระวินัยปิฎก พระพุทธองค์ทรงบัญญัติพระวินัยบางตอนทรง
ใช้ถ้อยคาที่ต้องทาความเข้าใจ เช่น ข้อความที่ทรงบัญญัติพอสรุปได้ว่า “ภิกษุ
คิดขโมยถือเอาทรัพย์ ที่เจ้าของมิได้ให้มีมูลค่าเท่ากับทรัพย์ที่พวกขโมยลักไป
ซึ่งมีโทษถึงถูกประหาร ย่อมเป็นปาราชิก ”๒ จากข้อความนี้ย่อมมีการตีความ
ภิกษุลักทรัพย์มีราคาเท่ากับทรั พย์ที่พวกขโมยลักไปแล้วมีโทษถึงถูกประหาร
ชีวิต ต้องอาบัติปาราชิก แต่จากถ้อยคาที่ทรงอธิบายขยายความมิได้หมายถึง
การประหารชีวิต และข้อความที่ท รงบั ญ ญั ติพอสรุปได้ว่า “ภิกษุกล่ าวอวด
อุตตริมนุสสธรรมว่า ข้าพเจ้ารู้เห็นอย่างนี้ ครั้นสมัยต่อจากนั้น ผู้ใดผู้หนึ่งโจทก็
ตามไม่โจทก็ตาม เธอผู้ต้องอาบัติแล้วหวังความบริสุทธิ์ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า
ท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้าไม่รู้ไม่เห็น ได้กล่าวว่ารู้เห็น ข้าพเจ้ากล่าวคาเท็จเป็น


พระธรรมวินัยมีเนื้อหาที่ทรงแสดงไว้ชัดเจน คือ สุตตันตะมีการขยายความแล้ว
พระธรรมวินัยมีเนื้อหาที่ต้องทาความเข้าใจ คือ สุตตันตะที่ควรขยายความ องฺ.ทุก. (บาลี)
๒๐/๒๕/๕๙, องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๒๕/๗๔.

โย ปน ภิกฺขุ คามา วา อร ฺ า วา อทินฺน เถยฺยสงฺขาต อาทิเยยฺย, ยถา
รูเป อทินฺนทาเน ราชาโน โจร คเหตฺวา หเนยฺยุ วา พนฺเธยฺยุ วา ปพฺพาเชยฺยุ วา
โจโรสิ พาโลสิ มูโฬฺหสิ เถโนสีติ ตถารูป ภิกฺขุ อทินฺน อาทิยมาโน อยมฺปิ ปาราชิโก
โหติ อสวาโส. วิ.มหา. (บาลี) ๑/๙๑/๖๐, วิ.มหา. (ไทย) ๑/๙๑/๘๐.
๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ปาราชิก”๓ จากข้อความนี้ ทาให้มีการตีความว่า ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม


แล้วไม่ต้องอาบัติปาราชิกทันที เพราะมี คาว่า ครั้นสมัยต่อจากนั้น คือต้องมีผู้
ท้วง เช่นเดียวกับมีโจทก์ฟ้องร้องแบบคดีความทางบ้านเมือง แต่จากถ้อยคาที่
ทรงอธิบายขยายความ หมายถึงต้องอาบัติปาราชิกในขณะที่กล่าวอวด ยังมี
ข้อความที่พระพุทธองค์ทรงใช้ถ้อยคาซึ่งต้องทาความเข้าใจ เช่น เรื่องที่ทรง
กาหนดระเบียบปฏิบัติอนุญาตให้ภิกษุแต่งตั้งตนเองเป็นผู้วิสัชนาพระวินัยด้วย
ตนเองก็ได้ ภิกษุรูปหนึ่งแต่งตั้งภิกษุอีกรูปหนึ่งเป็นผู้วิสัชนาพระวินัยก็ได้ ๔ จาก
ข้อความนี้อาจจะเกิดการตีความว่า ภิกษุออกประกาศเป็นหนังสือแต่งตั้งแบบ
ในปัจจุบัน ได้ การเข้าใจอย่างนี้น่าจะผิดเพราะในสมั ยพุทธกาลยังไม่นิยมใช้
เอกสาร ข้ อ ความนี้ เป็ น ถ้ อ ยค าที่ ต้ อ งท าความเข้ าใจ พระพุ ท ธองค์ จึ งทรง
อธิบายขยายความในตอนต่อมา พระพุทธเจ้าทรงแสดงข้อกาหนดการที่สงฆ์
จตุวรรคพึงทาสังฆกรรมไว้ว่า “สงฆ์จตุวรรคพร้อมเพรียงกันโดยธรรมเข้ากรรม
ได้ทุกอย่าง ยกเว้น กรรม ๓ อย่าง คือ อุปสมบท ปวารณา อัพภาน”๕
จากถ้อยคาที่พระพุทธองค์ทรงอธิบายขยายความในตอนท้าย จึงทาให้เข้าใจ
เรื่องนี้ได้ชัดเจน ในพระสุตตันตปิฎก พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเรื่องตระกูล
ที่มีบุตรบู ชามารดาบิดา ถือว่าเป็ นตระกูลมีพรหม มีบุรพาจารย์ มีบุรพเทพ


โย ปน ภิกฺขุ อนภิชาน อุตฺตริมนุสฺสธมฺม อตฺตูปนายิก อลมริย าณทสฺสน
สมุทาจเรยฺย อิติ ชานามิ อิติ ปสฺ สามีติ ตโต อปเรน สมเยน สมนุคฺคาหิยมาโน วา
อสมนุคฺคาหิยมาโน วา อาปนฺโน วิสุทฺธาเปกฺโข เอว วเทยฺย อชานเมว อาวุโส อวจ
ชานามิ อปสฺส ปสฺสามิ ตุจฺฉ มุสา วิลปินฺติ อ ฺ ตฺร อธิมานา อยมฺปิ ปาราชิโกโหติ
อสวาโส. วิ.มหา. (บาลี) ๑/๑๙๖/๑๒๗, วิ.มหา. (ไทย) ๑/๑๙๖/๑๘๒.

วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๕๒/๑๖๐, วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๕๒/๒๓๒.

วิ.ม. (บาลี) ๕/๓๘๘/๑๘๙–๑๙๐, วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๘๘/๒๗๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๓

มีอาหุไนยบุคคล๖ จากข้อความนี้อาจทาให้ผู้ฟังตีความเป็นอย่างอื่น เนื่องจาก


ถ้อยคาที่ทรงใช้มีความหมายอย่างอื่นตามลัทธิพราหมณ์ พระพุทธองค์จึงทรง
อธิบายขยายความในตอนต่อมา ในพระอภิธรรมปิฎกปรากฏข้อความที่ต้องทา
ความเข้ าใจซึ่งเป็ น บทอุ ท เทส เช่ น บุ ค คลผู้ เป็ น อุ ค ฆฏิ ตั ญ ญู บุ ค คลผู้ เป็ น
วิปจิตัญญู บุคคลผู้เป็นเนยยะ บุคคลผู้เป็นปทปรมะ ๗ จากข้อความที่เป็นบท
มาติกานี้ ได้มีการอธิบายขยายความในบทนิทเทส ๘ ถือว่า พระพุทธองค์ทรง
อธิบายขยายความ
ข้อ ความที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงแสดงไว้ ซึ่ งปรากฏอยู่ใน พระไตรปิ ฎ ก
หลายแห่ง มีเนื้อหาที่ปัจฉิมาชนตาชนต้องทาความเข้าใจ ซึ่งในสมัยพุทธกาล
พระสาวกทั้ ง หลาย คงมี ค วามเข้ า ใจดี จึ ง ไม่ มี ก ารอธิ บ ายขยายความ แต่
เนื่องจากในกาลต่อมาภิกษุทั้งหลายศึกษาเข้าใจได้ยาก พระสาวกทั้งหลายที่
ทรงความรู้จึ งได้อธิบ ายให้ ฟัง การอธิบ ายนั้ น ได้มาอยู่ในรูป แบบแห่ งคัมภี ร์
อรรถกถาในปัจจุบั น การอธิบ ายในคัมภีร์อรรถกถานั้ น เมื่อกาลเวลาล่วงไป
นาน ก็ศึกษาเข้าใจได้ยาก จึงได้มีการอธิบายอรรถกถาขึ้นมา ผู้ที่อธิบายอรรถ-
กถาเรี ย กว่ า พระฎี ก าจารย์ คั ม ภี ร์ ที่ บั น ทึ ก ค าอธิ บ ายเรี ย กว่ า คั ม ภี ร์ฎี ก า
การศึกษาพระไตรปิฎก จาเป็นที่จะต้องศึกษาอรรถกถาฎีกา และใช้ไวยากรณ์
ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมากับไวยากรณ์ อื่น อีกประกอบการศึกษา จึงจะสามารถ


องฺ.ติ ก. (บาลี) ๒๐/๓๑/๑๒๗, องฺ.ติ ก. (ไทย) ๒๐/๓๑/๑๘๓, องฺ.จตุกฺก .
(บาลี) ๒๑/๖๓/๘๐, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๖๓/๑๐๗.

อภิ.ปุ. (บาลี) ๓๖/๑๐/๑๑๑, อภิ.ปุ. (ไทย) ๓๖/๑๐/๑๔๒.

อภิ.ปุ. (บาลี) ๓๖/๑๕๑/๑๕๒, อภิ.ปุ. (ไทย) ๓๖/๑๕๑/๑๘๗.
๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

เข้าใจได้ เช่น การศึกษาพระไตรปิฎกที่แปลสู่ภาคภาษาไทย ที่ผู้แปลตีความ


จากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย บางแห่งอ่านแล้วไม่ค่อยเข้าใจ เช่นเรื่องที่นาย
บ้านอสิพันธกบุตรกราบทูลเล่าเรื่องพวกพราหมณ์ชาวปัจฉาภูมิให้พระพุทธเจ้า
ทรงทราบ ก าหนดใจความจากภาษาไทยแล้ ว พวกพราหมณ์ ปั จ ฉาภู มิ มี
ความสามารถมากกว่าพระพุทธเจ้า เพราะพวกเขาสามารถชุบชีวิตคนที่ตาย
แล้วให้ฟื้น ขึ้น มาแล้ว สอนให้ รู้ช อบ และสามารถส่งไปเกิดในสวรรค์ได้ด้ว ย ๙
พอศึกษาคาอธิบายในอรรถกถาแล้ว ที่แปลว่าทาคนที่ตายให้ฟื้นนั้นแปลผิด
พวกเขาส่งคนที่ตายไปสวรรค์ไม่ใช่ทาให้ฟื้ นที่ แปลว่า ให้รู้ชอบนั้น แปลผิ ด
พวกเขาให้คนที่ตายไปที่ชอบ ไม่ใช้สอนให้รู้ชอบ ๑๐ พอศึกษาความหมายราก
ศั พ ท์ ในไวยากรณ์ ได้ ท ราบว่ า สญฺ าเปนฺ ติ ที่ อ รรถกถาอธิ บ ายว่ า สมฺ ม า
ยาเปนฺ ติ นั้ น มาจาก ยป ธาตุ ในความเป็ น ไป, เป็ น อยู่ คาว่า อุ ยฺย าเปนฺ ติ
หมายความว่า ส่งคนที่ตายให้ขึ้นไปสู่สวรรคชั้นบน ๑๑ สญฺ าเปนฺติ ประกอบ
ขึ้น จาก ส บทหน้ า ยป ธาตุ ในความเป็ น ไป เณ ปัจ จัยในเหตุกั ตตา อนฺ ติ
วัตตมานาวิภัตติ แปลงนิคหิตที่ ส เป็น แล้วซ้อน เป็น ญฺ สาเร็จรูปเป็น
สญฺ าเปนฺติ เช่น สโยโค แปลงเป็น สญฺโ โค สโยชน แปลงเป็น สญฺโ ชน๑๒
พระอรรถกถาจารย์ท่านจึงอธิบายว่า สมฺมา ยาเปนฺติ ส่งไปที่ชอบๆ ให้เห็น


ดูรายละเอียดใน ส.สฬา. (บาลี) ๑๘/๓๕๘/๒๘๑, ส.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๕๘/
๔๐๑.
๑๐
ดูรายละเอียดใน ส.สฬา.อ. (บาลี) ๓/๓๕๘/๑๖๕, เนตฺติ.อ. (บาลี) ๑๑๘.
๑๑
ดู ร ายละเอี ย ดใน สั ท ทนี ติ ธ าตุ ม าลา คั ม ภี ร์ ห ลั ก บาลี ม หาไวยากรณ์ ,
(กรุงเทพมหานคร : ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๔๖), หน้า ๘๔๒.
๑๒
ดูรายละเอียดใน ปทรูปสิทธิมัญ ชรี คัมภีร์อธิบายปทรูปสิทธิปกรณ์ , พระ
คันธสาราภิวงศ์ แปลอธิบาย, (กรุงเทพมหานคร : ไทรรายวันการพิมพ์, ๒๕๔๗), หน้า
๒๖๗.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๕

ธาตุเดิม คือ ยป ธาตุ ไวยากรณ์นั้นสาคัญต่อการตีความภาษาบาลี การศึกษา


หลั ก ค าสอนในพระพุ ท ธศาสนา ต้ อ งศึ ก ษาทั้ ง บาลี อ รรถกถาฎี ก าและ
ไวยากรณ์ จึงจะได้ความหมายที่สมบูรณ์
ช่วงระยะเวลาที่พระสาวกทั้งหลายศึกษาทรงจาพระธรรมวินัยด้วยวิธี
มุ ข ปาฐะ ได้ มี ก ารแบ่ ง ภาระกั น ทรงจ า ซึ่ ง ได้ มี ก ารมอบหมายหน้ า ที่ ใ น
การศึกษาทรงจาตั้งแต่เมื่อคราวที่ทาสังคายนาครั้งที่ ๑ เสร็จเรียบร้อย โดย
สายพระอุบาลีรับหน้าที่ทรงจาสืบต่อพระวินัย สายพระอานนท์รับหน้าที่ทรง
จาสืบ ต่ อทีฆนิ กาย สายนิ สิตของพระสารีบุ ตรรับหน้าที่ทรงจาสืบต่อมัช ฌิ ม
นิ กาย สายพระมหากั ส สปะรั บ หน้ าที่ ท รงจ าสื บ ต่ อ สั งยุ ต ตนิ กาย สายพระ
อนุรุทธะรับหน้าที่ทรงจาสืบต่ออังคุตตรนิกาย ๑๓ พระสาวกทั้งหลายที่ทรงจา
พระธรรมวินัยนั้นจะทรงจาคาอธิบายด้วย
อรรถกถาที่อธิบ ายพระไตรปิ ฎ กนั้ น มีก ารอธิบายต่ างกัน เนื่องจาก
พระสาวกทั้งหลาย แบ่งหน้าที่กันทรงจาสั่งสอนพระธรรมวินัย เมื่อมีการแบ่ ง
หน้าที่กันทรงจาพระธรรมวินัย เริ่มมีการอธิบายหลักธรรมต่างกัน เช่น อธิบาย
หลักการปฏิบัติอานาปานสติ สายพระวินัยธรอธิบายลมอัสสาสะเป็นลมหายใจ
ออก ปั ส สาสะเป็ น ลมหายใจเข้ า๑๔ พระมั ช ฌิ มภาณกาจารย์ ส ายพระสู ต ร

๑๓
ดูรายละเอียดใน ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๑๔-๑๕, สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๗๕-๗๘.
๑๔
อสฺสาโสติ พหินิกฺขมนวาโต. ปสฺสาโสติ อนฺโตปวิสนวาโต วิ.มหา.อ. (บาลี)
๑/๑๖๕/๔๔๖.
๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อธิบายลมอัสสาสะเป็นลมหายใจเข้า ปัสสาสะเป็นลมหายใจออก ๑๕ จากการ


อธิบายของพระอรรถกถาจารย์สายพระวินัยกับสายพระสูตรนี้ ทาให้เกิดความ
สงสัยว่า ของฝ่ายไหนถูกต้อง การอธิบายที่ไม่ตรงกันมีหลายแห่ง เป็นปัญหาที่
รอการศึกษาค้นคว้า
ในประเทศไทย คั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ ถู ก น าเข้ า มาในสมั ย ที่
พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์เข้ามาเผยแพร่ ได้จารจารึกลงบนใบลานสืบต่อ
กันจนได้รับการจัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ ต่อมา ได้มีการแปลคัมภีร์ภาษาบาลี
เป็นภาษาไทย มีคาแปลบางแห่งทาให้เกิดการกล่าวจ้วงจาบพระสาวกที่ทาปฐม
สั ง คายนา เช่ น แปลเรื่ อ งที่ พ ระเถระทั้ งหลายต าหนิ พ ระอานนท์ ว่ า ท าไม่
เหมาะสม เป็ น ปรั บ อาบั ติ ทุ ก กฏพระอานนท์ ๑๖ มี ค าแปลพระวิ นั ย ปิ ฎ ก
ที่คณะกรรมการแปลถอดความจากภาษาบาลี ตามความเข้าใจ ทาให้มีผู้ถือว่า

๑๕
อสฺ ส าโสติ อนฺ โตปวิ ส นนาสิ ก วาโต. ปสฺ ส าโสติ พหิ นิ กฺ ข มนนาสิ ก วาโต
ม.มู.อ. (บาลี) ๒/๓๐๕/๑๓๖.
๑๖
ดู รายละเอีย ดใน วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๔๓/๓๘๔-๓๘๕, วิ.จุ . (ไทย) ๑๑/๖๒๒/
๒๖๑–๒๖๓, ฉบับ ๒๕๐๐, (พระนคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๐๐), ข้อ ๖๒๒ หน้า
๒๖๑-๒๖๓, วิ.จุ. (ไทย) ๗/๖๒๒/๓๑๐-๓๑๒ ฉบับ ๒๕๑๔, วิ.จุ. (ไทย) ๗/๖๒๒/๓๑๐-
๓๑๒ ฉบับ ๒๕๒๑), วิ.จุ. (ไทย) ๗/๖๒๒/๒๕๒-๒๕๔ ฉบับ ๒๕๒๕, วิ.จุ. (ไทย) ๗/๒๐๐/
๓๔๖–๓๔๘ ฉบับ ๒๕๓๐, วิ.จุ. (ไทย) ๗/๒/๕๑๘-๕๒๐ ฉบับมหามกุฏฯ, เมตฺตานนฺโท
ภิกฺขุ, เหตุเกิด พ.ศ. ๑ (B.E. 0001) เล่ม ๑ : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนาและภิกษุณี
สงฆ์, (กรุงเทพมหานคร : S.P.K. Paper f Form, ๒๕๔๕), หน้ า ๗๔-๗๕,๓๒๑-๓๒๒,
รังษี สุทนต์, วิพากษ์หนังสือเหตุเกิด พ.ศ.๑ ใน วารสารบัณฑิตศึกษาปริทัศน์ปีที่ ๒ ฉบับ
ที่ ๓ กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๙, หน้า ๒๖-๓๙.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๗

นิพพานเป็นอัตตา๑๗ มีการแปลข้อความบาลี “มา ปิฏกสมฺปทาเนน”๑๘ ซึ่งตาม


ศัพท์หมายถึงอย่าถือตามการเรียนที่อาจารย์สอนมาว่า “อย่าปลงใจเชื่อด้วย
การอ้างตาราหรือคัมภีร์” ตั้งแต่ฉบับพิมพ์ที่ตีพิมพ์ครั้งแรก และฉบับที่จัดพิมพ์
ต่อมา ยังคงสานวนเดิมไว้๑๙ พระสุตตันตปิฎกฉบับเอกชนแปลว่า “อย่าถือตาม
หนั ง สื อ ” ๒๐ มี ผ ลกระทบท าให้ มี ผู้ ชั ก น าในทางไม่ ใ ห้ เชื่ อ พระไตรปิ ฎก๒๑

๑๗
ดูรายละเอียดใน วิ.ป. (ไทย) ๑๒/๘๒๖/๓๕๓ ฉบับ ๒๕๐๐, วิ.ป. (ไทย) ๘/
๘๒๖/๒๗๑ ฉบับ ๒๕๑๔,วิ.ป. (ไทย) ๘/๘๒๖/๒๗๑ ฉบับ ๒๕๒๑, วิ.ป. (ไทย) ๘/๘๒๖/
๒๒๔ ฉบับ ๒๕๒๕, วิ.ป. (ไทย) ๑/๑๔๕ ฉบับมหาวิตถารนัย.
๑๘
องฺ.ติก. (บาลี) ๒๐/๕๐๕/๒๔๓ สฺยา., องฺ.ติก. (บาลี) ๒๐/๖๖/๑๘๔ มจร.
๑๙
ดูรายละเอียดใน องฺ.ติก. (ไทย) ๓๑/๕๐๕/๓๐๒ ฉบับ ๒๕๐๐, องฺ.ติก. (ไทย)
๒๐/๕๐๕/๒๑๓ ฉบั บ ๒๕๑๔, องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๕๐๕/๒๒๖ ฉบับ ๒๕๒๑, องฺ.ติก.
(ไทย) ๒๐/๕๐๕/๑๘๐ ฉบับ ๒๕๒๕, องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๖๖/๒๕๖ ฉบับ ๒๕๓๐, องฺ.ติก.
(ไทย) ๒๐/๖๖/๒๕๗ ฉบับ มจร. ๒๕๓๙.
๒๐
พระไตรปิฎกฉบับมหาวิตถารนัย ๕๐๐๐ กัณฑ์ ฉบับ ส.ธรรมภักดี เล่ม ๓๖
คัมภีร์ที่ ๔ อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต หน้า ๒๒๑.
๒๑
ดู ร าย ล ะ เอี ย ด ใน พุ ท ธท า ส ภิ ก ขุ , ธ รรม ะ น าล้ างธ รรม ะ โค ล น ,
(กรุงเทพมหานคร : รุ่งแสงการพิมพ์, ปทม), หน้า ๑๕๔, เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา เล่ม ๓,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๒๙), หน้า ๔๔๘-๔๗๖, อภิธรรมคือ
อะไร, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาจัดพิมพ์ , ๒๕๔๔), หน้า ๔-๑๐๙, คาชี แจงเรื่อ ง
การศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท ใน ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์, (คณะธรรมทานไชยา
จัดพิ ม พ์ : ปมท, ๒๕๒๒), หน้ า [๓๓], [๓๕], [๑๑๐], พระเมธา ชาตเมโธ, พุ ท ธไม่ ใช่
พราหมณ์, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรสมัย ๑๙๙๙, ๒๕๔๓), หน้า ๓๐.
๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ในคัมภีร์อรรถกถามีการแปล อตฺตภูตโต ธมฺมกายโต ๒๒ ว่า “ธรรมกายอันเป็น


อั ต ตา” ๒๓ ซึ่ งตามศั พ ท์ ห มายถึ ง หมู่ ธ รรมที่ มี ในตน ๒๔ คื อ ในพระโพธิ สั ต ว์ ผู้
บาเพ็ญบารมี มีผลกระทบทาให้มีผู้อ้างอิงคาแปลนี้ไปใช้สนับสนุนแนวคิด และ
ใช้ในงานวิจัย ๒๕ จากข้อความที่กล่าวมานี้ ถือว่า การแปลพระไตรปิฎกภาษา
บาลีเป็นภาษาไทยเป็นการตีความภาษาบาลีเป็นภาษาไทย
เมื่ อ คั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธศาสนาทั้ ง ภาษาบาลี แ ละภาษาไทย ได้ รั บ การ
จัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือเผยแพร่ ชาวไทยศึกษามีความรู้แล้วได้มีการตีความ
หลักธรรมคาสอนพระพุทธศาสนา ทั้งที่เป็ นภาษาบาลีและภาษาไทย มีการ
แสดงความคิดเห็น ต่อคัมภีร์พระไตรปิฎ กและอรรถกถา กันอย่างกว้างขวาง
เช่น จากข้อความเรื่องข้อกาหนดการที่สงฆ์จตุวรรคทาสังฆกรรม เนื่องจากไม่มี
การยกเว้นกฐิน จึงเกิดมีการตีความปรากฏในหนังสือกฐินและแนวทางในการ
ปฏิบัติพอสรุปได้ว่า “ข้อกาหนดเกี่ยวกับจานวนพระสงฆ์ในวัดที่จะทอดกฐินได้
ถ้ากล่าวตามหลักฐานในพระไตรปิฎก ซึ่งเป็นพระพุทธภาษิตกล่าวว่า สงฆ์ ๔
รูป ทากรรมได้ทุกอย่าง เว้นการปวารณา คือการอนุญาตให้ว่ากล่าวตักเตือน
ได้ การอุ ป สมบท และการสวดถอนจากอาบั ติ บ างประการ (อั พ ภาน) จึ ง
หมายถึงว่าจานวนพระสงฆ์ในวัดที่จะทอดกฐินได้จะต้องมีตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป

๒๒
ขุ.จริยา.อ. (บาลี) ๓๒๔-๓๒๕.
๒๓
ขุ.จริยา.อ. (ไทย) ๙/๓/๕๗๐-๕๗๒.
๒๔
สัททนีติธาตุมาลา คัม ภีร์หลักบาลีมหาไวยากรณ์ , กรุงเทพมหานคร : ไทย
รายวันการพิมพ์, ๒๕๔๖), หน้า ๙๓๙.
๒๕
ดูรายละเอียดใน สรกานต์ ศรีตองอ่อน, “คาสอนเรื่องการสร้างบารมีของวัด
พระธรรมกาย”, วิ ท ยานิ พ นธ์ ศิ ล ปศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าพุ ท ธศาสน์ ศึ ก ษา
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗, (กรุงเทพมหานคร : บริ ษั ทกราฟฟิ คอาร์ต พริ้ นติ้ ง
จากัด, ๒๕๔๘), หน้า ๒๔๔-๒๔๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๙

แต่อรรถกถากล่าวว่าต้อง ๕ รูป ขึ้นไป เมื่อหนังสืออธิบายชั้นหลังขัดแย้งกับ


พระไตรปิฎก จึงต้องถือพระไตรปิฎกเป็นสาคัญ ”๒๖ จากข้อความนี้แสดงว่า
พระอรรถกถาจารย์อธิบายผิด แต่ตามหลักการ เมื่อมีผู้แสดงความเห็นทางพระ
ธรรมวิ นั ย ในพระพุ ท ธศาสนา ผู้ รั บ ทราบยั ง ไม่ ค วรเชื่ อ หรื อ คั ด ค้ า น ต้ อ ง
ตรวจสอบก่ อ น จากข้ อ ความเรื่ อ งบุ ค คล ๔ ในพระอภิ ธ รรมปิ ฎ กที่ ก ล่ า ว
ข้างต้น เฉพาะคาว่า ปทปรมะ ในวงการศึกษาของประเทศไทยตีความว่า เป็น
ผู้มีบทเป็นอย่างยิ่ง ได้แก่บุคคล ผู้สักว่าฟัง ไม่ยังประโยชน์ให้สาเร็จเพราะการ
ฟัง”๒๗ การตีความนี้ตรงกับความหมายในพระไตรปิฎกหรือไม่เป็นเรื่องที่ต้อง
ศึกษา
นอกจากนี้ ยั งมี พ ระพุ ท ธพจน์ ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ าทรงแสดงไว้ในลั ก ษณะ
ชัดเจนแล้ว เช่นที่ทรงแสดงว่า บัณฑิตผู้ไม่ประมาทแล้วย่อมยึดถือประโยชน์ทั้ง
สองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ ผู้มีปัญญา
ท่ า นเรี ย กว่ า บั ณ ฑิ ต เพราะบรรลุ ถึ ง ประโยชน์ ทั้ ง สองนั้ น ๒๘ มี ก ารแสดง

๒๖
มนตรี เทียมสิงห์ และ เฉลิมลักษณ์ เอกมณี รวบรวม, กฐินและแนวทางใน
การปฏิ บั ติ , (สานั ก งานคณะกรรมการวัฒ นธรรมแห่ งชาติ จัด พิ ม พ์ : โรงพิ ม พ์ คุ รุสภา
ลาดพร้าว, ๒๕๓๗), หน้า ๕.
๒๗
ธรรมวิภาคปริเฉทที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๓๕), หน้า ๕๐.
๒๘
อปฺปมตฺโต อุโภ อตฺเถ อธิคณฺหาติ ปณฺฑิโต
ทิฏฺเ ธมฺเม จ โย อตฺโถ โย จตฺโถ สมฺปรายิโก
อตฺถาภิสมยา ธีโร ปณฺฑิโตติ ปวุจฺจติ
องฺ.ปญฺจก. (บาลี) ๒๒/๔๓/๕๓, องฺ.ปญฺจก. (ไทย) ๒๒/๔๓/๖๙.
๑๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ความเห็ น ในลั ก ษณะที่ พุ ท ธพจน์ นี้ ค วรขยายความว่า “ผู้ เป็ น บั ณ ฑิ ต ย่ อ ม


ถือเอาอรรถได้ทั้ง ๒ ด้าน เป็ น คนฉลาด รู้พร้อมซึ่งอรรถทั้งหลายแล้ว เขา
เรียกว่าเป็นบัณฑิต โดยท่านอธิบายว่า รู้ทั้ง ๒ ด้าน คือรู้ภาษาคนและภาษา
ธรรม๒๙ มีการแสดงความเห็นในลักษณะตีความหลักคาสอน เช่น พระไตรปิฎก
มีส่วนที่เติมเข้าไปใหม่เปลี่ยนแปลงใหม่มีของใหม่เจือปนอยู่ ตามอานาจของผู้
ที่มีสิทธิมีอานาจที่จะแก้ไขพระไตรปิฎก ๓๐ พระวินัยปิฎก บาลีวิภังค์กล่าวถึง
เจดีย์บ่งชัดว่ารจนาภายหลัง๓๑ ครุธรรม ๘ ประการเป็นข้อปฏิบัติที่มีผู้บัญญัติ
ขึ้นภายหลัง๓๒ ครุธรรมเกิดขึ้นภายหลังแต่ภิกษุผู้จดบันทึกนามาใส่ไว้ตอนต้น
เปิ ดโอกาสให้ภิกษุเป็ น ใหญ่ เหนื อภิกษุณี สงฆ์ ๓๓ เรื่องเมื่อมีภิกษุณี แล้วพุทธ-
ศาสนาจะมีอายุเพียง ๕๐๐ ไม่มีในพระไตรปิฎก มีแต่ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา ๓๔

๒๙
ท่านยกความมาเท่าที่ต้องการ ดังนี้
อปฺปมตฺโต อุโภ อตฺเถ อธิคณฺหาติ ปณฺฑิโต
อตฺถาภิสมยา ธีโร ปณฺฑิโตติ ปวุจฺจติ
ศึกษารายละเอียดได้ใน ภาษาคน-ภาษาธรรม, (พระนคร : โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์
, ๒๕๑๐), และจากฉบับที่จัดพิมพ์ใหม่เผยแพร่อยู่ในตลาดหนังสือทั่วไป.
๓๐
พุทธทาสภิ กขุ, ธรรมะนาล้างธรรมะโคลน, (กรุงเทพมหานคร : รุ่งแสงการ
พิมพ์, ปทม), หน้า ๑๕๔.
๓๑
วินัยมุข (เล่ม ๑) หลักสูตรนักธรรมชันตรี, พิมพ์ครั้งที่ ๓๙, (กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), (คานา) หน้า ค-ฆ.
๓๒
ดู ร ายละเอี ย ดใน บรรณจบ บรรณรุ จิ , ภิ ก ษุ ณี พุ ท ธสาวิก าครั งพุ ท ธกาล,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๙), หน้า ๒๗๖.
๓๓
ดูรายละเอียดใน ธัมมนันนา (รศ. ดร. ฉัตรสุมาล์ กบิลสิงห์), ภิกษุณีบวชไม่ได้
วาทกรรมที่กาลังจะเป็นโมฆะ, (กรุงเทพมหานคร : หจก. เอมี่ เทรดดิ้ง,๒๕๔๖).
๓๔
พระเมธา ชาตเมโธ, พุทธไม่ใช่พราหมณ์, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษร
สมัย ๑๙๙๙, ๒๕๔๓), ๓๐, ๔๖-๔๗.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๑

พระสูตรบางสูตรมีลักษณะเป็นสัสสตทิฏฐิ ควรนับเนื่องอยู่ในสัทธรรมปฏิรูป๓๕
ชาดกนั้น เดิมทีหมายถึงเรื่องของพระโพธิสัตว์ก่อนจะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าใน
ชาตินี้ นับจากจุติลงมาจากชั้นดุสิตปฏิสนธิเกิดเป็นเจ้าชายสิทธัตถะแล้วออก
บวชบาเพ็ญทุกกรกิริยาตรัสรู้แล้ว ภาวะพระโพธิสัตว์หมดไป ภายหลังหมายถึง
ชาติก่อนของพระพุท ธเจ้ าที่ บ าเพ็ญ บารมี ก่อนที่ จะบรรลุเป็นพระพุ ทธเจ้า
หลายร้อยชาติหลายพันชาติ เป็นพัฒนาการที่เพิ่มเติมทีหลัง ๓๖ ชาดกเป็นเรื่อง
เท็จนิทานโกหก๓๗ เป็นเรื่องที่แต่งเพิ่มเติม เช่นสุวัณณหังสชาดก ท่านได้แต่ง
เรื่ องพระโพธิสั ตว์เสวยพระชาติเป็ น พราหมณ์ ตายไปเกิด เป็นพญาหงส์ ทอง
ได้มาสลัดขนทองคาให้อดีตภรรยากับธิดาวันละขน แต่ภรรยาโลภจับพญาหงส์
ถอนขนจนหมดตัว ๓๘ สุ วัณณหังสชาดก คล้ายกับเรื่องห่ านไข่เป็นทองคาใน
นิทานอีสป๓๙ อภิธรรมนักโบราณคดีไม่ยอมรับ ไม่จาเป็นต้องศึกษา ๔๐ เรื่อง
พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงอภิธรรมโปรดพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้ นดาวดึงส์นั้น

๓๕
ดูรายละเอียดใน พุท ธทาสภิกขุ, เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา เล่ม ๓, หน้า ๔๔๘-
๔๗๖.
๓๖
เสฐีย รพงษ์ วรรณปก, พระไตรปิ ฎ กวิเคราะห์ , (กรุงเทพมหานคร : หจก.
ซันต้าการพิมพ์, ๒๕๔๖),หน้า ๒๑-๒๒.
๓๗
พระเมธา ชาตเมโธ, พุทธไม่ใช่พราหมณ์, หน้า ๓๐.
๓๘
พิสิฐ เจริญสุข, เกร็ดความรู้ในนิทานชาดก, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การ
ศาสนา, ๒๕๓๙), หน้า ๒๑.
๓๙
เวสสันตรวินิจฉัย, (พระนคร : พุทธอุปถัมภ์การพิมพ์, ๒๕๑๔), หน้า ๓.
๔๐
ดูรายละเอียดใน พุท ธทาสภิกขุ, เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา เล่ม ๓, หน้า ๔๔๘-
๔๗๖.
๑๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ไม่ มี ในพระไตรปิ ฎ ก มี แ ต่ ในชั้น อรรถกถา ซึ่งเกิ ด ขึ้น หลั งจากพระพุ ท ธเจ้ า


ปรินิพพานประมาณ ๑๐๐๐ ปี๔๑ ในสมัยพระพุทธเจ้า ยังไม่มีอภิธรรมปิฎก ๗
คัมภีร์ ในพระวินัยปิฎกกล่าวถึงการทาสังคายนา ๒ ครั้ง พูดถึงแต่ธรรมวินัย
ไม่พูดถึงอภิธ รรม อภิ ธรรมปิ ฎ กเกิดหลั งวิ นั ยปิ ฎ กและสุ ตตันตปิฎ ก ผู้ร้อย
กรองนาคาในสุตตันตปิฎกที่ยากมาอธิบายใหม่ จัดรูปในแง่ของปรัชญาหรือใน
แง่ของจิตวิทยา ตัวหนังสือที่บรรยายอภิธรรมไม่ได้อยู่ในรูปของพุทธพจน์ เป็น
คาเรียบเรียงร้อยกรองใหม่ เนื้อหาของอภิธรรมปิฎกสรุปรวมอยู่ในอภิธัมมัตถ
สังคหะ ที่พระอนุรุทธาจารย์แต่ง อภิธัมมัตถสังคหะย่ออภิธรรมปิฎกใหญ่ลงมา
ในพระไตรปิ ฎกไม่มีบอกว่า ตรัสแก่พุทธมารดา มีแต่ในหนังสือที่คนชั้นหลัง
แต่ง เหตุการณ์สาคัญที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปบนเทวโลก ไม่มีในพระไตรปิฎก
ส่วนเรื่องที่สาคัญ น้ อยกว่ากลับ มี ถ้าไปหลงติดอภิธรรม ยึดมั่นอภิธ รรม จะ
เสียเวลาในชีวิตไปเปล่า ถ้าไปเสียเวลากับอภิธรรม ประเทศชาติพลอยเสียเวลา
ไปด้วย๔๒ พระอภิธรรมปิฎกนั้น เขียนขึ้นโดยพระอรรถกถาจารย์ในสมัยหลัง๔๓
ตามหลักฐานหนังสือเก่าที่สุด ซึ่งบันทึกเหตุการณ์การสังคายนาครั้งที่ ๒ ระบุ
ว่า มีการเปลี่ ยนแปลงแก้ไขคัมภีร์ป ริวาร อภิธรรม ๖ ปกรณ์ คัมภีร์นิทเทส
คัมภีร์ชาดก๔๔ เรื่องปรมัตถธรรมเพื่อทาลายสัสสตทิฏฐิ ครั้นตกมาถึงยุคอรรถ

๔๑
พระเมธา ชาตเมโธ, พุทธไม่ใช่พราหมณ์, หน้า ๓๐,๔๖-๔๗.
๔๒
ดู รายละเอี ย ดใน พุ ท ธทาสภิ ก ขุ , อภิ ธรรมคื อ อะไร, (กรุงเทพมหานคร :
ธรรมสภาจัดพิมพ์, ๒๕๔๔), หน้า ๔-๑๐๙.
๔๓
ดูรายละเอียดใน ธัมมนันนา (รศ. ดร. ฉัตรสุมาล์ กบิลสิงห์), ภิกษุณีบวชไม่ได้
วาทกรรมที่กาลังจะเป็นโมฆะ, (กรุงเทพมหานคร : หจก. เอมี่ เทรดดิ้ง,๒๕๔๖), หน้า
๖๙.
๔๔
ดร.บุณย์ นิลเกษ, อุดมการณ์และชีวิตแบบโพธิสัตว์เล่มที่หนึ่ง , (เชียงใหม่ :
วัฒนาการพิมพ์, ๒๕๒๙), หน้า ๓๔-๓๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓

กถาเกิ ด การน้ อ มเอี ย ง อธิ บ ายปรมั ต ถธรรมไปในรู ป ของสั ส สตทิ ฏ ฐิ เช่ น


ปฏิจจสมุปบาท อธิบายไปในรูปมีตัวตน ปฏิสนธิวิญญาณชนิดที่เป็นตัวตน ไม่มี
ในภาษาปฏิจจสมุป บาท ปฏิจจสมุป บาททั้งสายไม่มีก ารแยกเป็น ๓ ภพ ๓
ชาติ หรือคร่อมภพคร่อมชาติ๔๕ อรรถกถาที่อธิบายพระไตรปิฎกที่สิงหล พระ
พุทธโฆสาจารย์ขอดูแล้วหาว่า คาอธิบายนั้นผิดไม่ถูก จึงเขียนอธิบายใหม่ที่ถือ
ว่าถูกต้อง ให้เผาอรรถกถาเดิมที่ถือว่าผิดเสีย๔๖ โดยท่านตรวจสอบคัมภีร์อรรถ
กถาทั้งหมด รวบรวม ตัดตอน แปลแต่ งเสริมเติมต่อ๔๗ พระพุทธโฆสาจารย์
อธิบายพระพุทธศาสนาเป็ น พราหมณ์ ห ลายเรื่อง เช่นอธิบายเรื่องโลกอย่าง
พราหมณ์ ไม่อธิบายโลกอย่างที่พระพุทธเจ้าทรงอธิบาย ๔๘ อรรถกถาธรรมบท
เป็ น เรื่ อ งที่ แ ต่ ง ที่ ห ลั ง พู ด ถึ ง พระไตรปิ ฎ กในสมั ย ที่ ยั ง ไม่ มี พ ระไตรปิ ฎ ก
พระพุ ท ธเจ้ าบอกให้ พ ระจั ก ขุ บ าลเรี ย นพระไตรปิ ฎ ก นี้ ไม่ ค วรเชื่ อ เพราะ

๔๕
ดูรายละเอียดใน พุทธทาสภิกขุ, คาชีแจงเรื่องการศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท
ใน ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์, (คณะธรรมทานไชยาจัดพิมพ์ : ปมท, ๒๕๒๒), หน้า
[๓๓], [๓๕], [๑๑๐].
๔๖
ดู ราย ล ะเอี ย ด ใน พุ ท ธท าส ภิ กขุ , เล่ าไว้ เ มื่ อ วั ย ส น ธ ยา เล่ ม ๓ ,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๒๙), หน้า ๔๔๘-๔๗๖.
๔๗
เสฐียรพงษ์ วรรณปก,ไปสืบพระพุทธศาสนาที่ศรีลังกา, (กรุงเทพมหานคร :
สานักพิมพ์น้าฝนไอเดีย, ๒๕๔๙), หน้า ๘๙.
๔๘
ดูรายละเอียดใน พุทธทาสภิกขุ, คาชีแจงเรื่องการศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท
ใน ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์, หน้า [๘๘]- [๘๙].
๑๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

พระไตรปิ ฎ กยั งไม่ เกิ ด ๔๙ คั ม ภี ร์ วิ สุ ท ธิ ม รรคมี แ ต่ เรื่ อ งเวี ย นว่ ายตายเกิ ด ๕๐


การตีความพระไตรปิฎกนั้น ถ้าพระไตรปิฎกขัดแย้งกันเองตรงไหน ก็แสวงหา
วิธีก ารอื่ น ที่ จ ะตี ค วามได้ ชั ด เจนมากยิ่ งขึ้ น พระสงฆ์ ไทยน าเอาวิธีก ารของ
พราหมณ์มาใช้ ไม่รู้ว่าเป็นของพราหมณ์ ไม่ว่าจะเป็นอรรถกถาฎีกา ที่มีการ
เรียนเป็นชั้นๆ วิธีการนี้พราหมณ์ใช้มาก่อน๕๑
ความเห็นในลักษณะตีความหลักคาสอนในพระพุทธศาสนาในด้านลบ
ฝ่ายหนึ่งซึ่งมีจานวนมาก อีกฝ่ายหนึ่งเห็นตรงกันข้ามเป็นการตีความหลักคา
สอนในคัมภีร์พระพุทธศาสนาด้านบวก คือเห็นว่า พระสาวกทั้งหลายท่องจา
พระไตรปิฎกแล้วบอกต่อให้ศิษยานุศิษย์ท่องจาสืบๆ กันมา ตั้งแต่พระพุทธเจ้า
ปรินิพพานแล้วเรื่อยมาถึง พ.ศ. ๔๕๐ จึงได้จารึกลงใบลาน เป็นจุดเปลี่ยนที่
สาคัญ ถ้าหากไม่มีการจารึกพระไตรปิฎกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร พระไตรปิฎก
อาจจะเสื่อมหายไป แต่เพราะได้มีการจารึกพระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษร
จึงรักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้เป็ นอย่างดี ๕๒ ถ้าไม่มีพระไตรปิฎ ก พระธรรม
วิ นั ย อยู่ ม าถึ ง ปั จ จุ บั น ไม่ ไ ด้ ชาวพุ ท ธจะรู้ เ ข้ า ใจพระธรรมวิ นั ย ได้ จ าก
พระไตรปิฎก พุทธพจน์อยู่ในพระไตรปิฎก ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก พุทธพจน์ไม่

๔๙
ดูรายละเอียดใน พุทธทาสภิกขุ, เพชรในพระไตรปิฎก, (กรุงเทพมหานคร :
กองทุ น วุ ฒิ ธรรมจั ด พิ ม พ์ , ๒๕๒๘), หน้ า ๔, อภิ ธ รรมคื อ อะไร, (กรุ งเทพมหานคร :
ธรรมสภาจัดพิมพ์, ๒๕๔๙), หน้า ๕๕,๕๗,๕๙,๖๒.
๕๐
พระเมธา ชาตเมโธ, พุทธไม่ใช่พราหมณ์, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษร
สมัย ๑๙๙๙, ๒๕๔๓), ๓๐, ๔๖.-๔๗.
๕๑
สุ ท ธิ คุ ณ กองทอง สั ม ภาษณ์ เมตฺ ต านนฺ โท ภิ กฺ ขุ , พระเครื่ อ ง คม-ชั ด -ลึ ก ,
หนังสือพิพม์รายวัน คม-ชัด-ลึก ฉบับวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖.
๕๒
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยู ร ธมฺ มจิ ต โต), เยือ นสยามนิ ก ายในศรีลั งกา,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๐), หน้า ๓๙-๔๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๕

สามารถมาถึงเราได้ พระไตรปิฎกเป็นที่สถิตของพระพุทธเจ้า ทาหน้าที่ของ


พระธรรม เป็ นที่รองรับ พระสงฆ์ พระรัตนตรัย ต้องอาศัยพระไตรปิฎก จึง
ปรากฏตั ว แก่ ช าวโลก ไม่ มี พ ระไตรปิ ฎ กเสี ย อย่ า งเดี ย ว เป็ น อั น หมดสิ้ น
พระพุทธศาสนา พระไตรปิฎก เป็นของส่วนรวมที่พระสงฆ์ทั้งหมดที่รับผิดชอบ
การพระศาสนา ต่างคอยจับตาคอยระแวดระวัง ใครจะใส่เติมอะไรลงไปไม่ได้
จะต้ อ งเป็ น ที่ ย อมรั บ กัน อย่ างแน่ น อน พระเถระผู้ ใหญ่ ที่ เป็ น นั ก ปราชญ์ มี
หน้าที่อธิบายพระไตรปิฎก ถ่ายทอดคาอธิบายกันมา ตั้งแต่สมัยพุทธกาลไม่
ขาดสาย คาอธิบายเหล่านั้นมารวบรวมเป็นคัมภีร์อรรถกถา ถ้ามีข้อสงสั ยใน
พระไตรปิ ฎ ก ดู ค าวิ นิ จ ฉั ย ในอรรถกถา ถ้ า หมดพระไตรปิ ฎ ก ก็ ห มด
พระพุทธศาสนา หมดคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า หมดพระธรรมวินัย หมด
พระศาสดาของชาวพุทธ ๕๓ พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์ที่บันทึกชีวิตและงานของ
พระพุทธเจ้า จะรู้ชีวิตและงานของพระพุทธเจ้า ต้องเรียนรู้จากพระไตรปิฎก๕๔
ชาดก คื อ เรื่ อ งราวหรื อ ชี ว ประวั ติ ในชาติ ก่ อ นๆ ของพระพุ ท ธเจ้ า สมั ย ที่
พระองค์ทรงเป็นพระโพธิสัตว์บาเพ็ญบารมี เพื่อตรัสรู้ พระพุทธเจ้าทรงนามา
เล่าให้พระสงฆ์ฟังในโอกาสต่างๆ ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นๆ ชาดกนี้
ท่านรวบรวมไว้ในพระไตรปิฎกเฉพาะคาถา ส่วนเนื้อหารายละเอีย ดของเรื่อง

๕๓
พระธรรมปิ ฎ ก (ป.อ. ปยุ ตฺโต), รู้จักพระไตรปิ ฎ กเพื่ อ เป็น ชาวพุ ท ธที่ แ ท้ ,
(กรุงเทพมหานคร : เอดิสัน เพรส โพรดักส์, ๒๕๔๓), หน้า ๘-๕๖.
๕๔
ผลงานที่มีคุณค่ายิ่งใหญ่ต่อประเทศชาติประชาชน, ใน สมเด็จพระสังฆราช
องค์ที่ ๑๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ , (กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ
จากัด, ๒๕๓๒), หน้า ๑๔๐.
๑๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

มีปรากฏอยู่ในอรรถกถาชาดก ๕๕ ชาดกเป็นเรื่องที่มีมาแต่เดิม คือเป็นเรื่องที่


พระพุทธเจ้าทรงแสดงสมัยพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ เป็นพระจริยาวัตรของ
พระพุทธเจ้า ครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีต ซึ่งพระองค์ทรงใช้
ปุพเพนิวาสานุสติญาณ และอตีตังสญาณ ระลึกถึงเรื่องราวต่างๆ อย่างแม่นยา
แล้ ว น ามาเล่ าให้ พุ ท ธบริษั ท ฟั ง ตามเหตุ การณ์ ที่ เกิ ดขึ้ น แต่ เรื่อ งราวที่ เป็ น
นิ ท านซึ่ งตกมาถึ งปั จ จุ บั น นั้ น คงได้ มี ก ารต่ อ เติ ม เสริ ม เนื้ อ หาบ้ า ง ๕๖ พระ
อภิธรรมเป็นปรมัตถเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงตามสภาวะ มีมาแต่เริ่ม
สมัยต้นพุทธกาล ๕๗ เป็นพุ ทธพจน์โดยตรง เรื่องจิต เจตสิก รูป และนิพพาน
เป็นวิสัยของพระพุทธเจ้า ๕๘ นักวิชาการชาวไทย ไม่เชื่อพระพุทธโฆสาจารย์
แต่เชื่อชาวตะวันตก๕๙
ในส่ ว นที่มี ความเห็ น ในด้านลบต่ อคัม ภีร์พ ระพุ ท ธศาสนา ความเห็ น
เกี่ยวกับการอธิบายพระพุทธพจน์ของพระอรรถกถาจารย์ ที่ทาให้เกิดความ
กังขาค้างใจผู้ศึกษา เป็นเรื่องที่น่าสงสัย เช่นเรื่องที่พระอรรถกถาจารย์อธิบาย

๕๕
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), ขุมปัญญาจากชาดก, (กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์ฟองทอง, ๒๕๔๑), หน้า ๕.
๕๖
อรรถกถาและอรรถกถาจารย์, ใน อบรมบาลีก่อนสอบ ปีที่ ๔, พระครูปลัด
สุวัฒนจริยคุณ (ประสิทธิพฺรหฺมรสี) บรรณาธิการ, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๕), หน้า ๑๒๘.
๕๗
ธนิต อยู่โพธิ์, พระอภิธรรมเทศนาบนดาวดึงส์ , (กรุงเทพมหานคร : ห้าวหุ่น
ส่วนจากัดศิวพร, ๒๕๒๖), หน้า ๓-๑๘.
๕๘
พระมหาแสวง โชติปาโล, พุทธวิทยาน่ารู้ เล่ม ๓, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท
สหธรรมิก จากัด, ๒๕๓๘), หน้า ๙-๑๓.
๕๙
พระธัมมานันทมหาเถระ, นานาวินิจฉัย, (ลาปาง : กิจเสรีการพิมพ์, ๒๕๔๒),
หน้า ๑๓๐-๑๓๑.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๗

ลมหายใจเข้ า ออกต่ า งกั น และจากความเห็ น ในสั งคมไทยที่ ว่ า “ปฏิ ส นธิ


วิญ ญาณ ชนิ ด ที่เป็ น ตั วตน ไม่มีในภาษาปฏิ จ จสมุปบาท” จากความเห็ น นี้
แสดงว่า ปฏิสนธิวิญญาณในปฏิจจสมุปบาทไม่ปรากฏในพระไตรปิฎก ซึ่ งเป็น
อย่างที่ท่านกล่าว เพราะพระพุทธองค์ทรงขยายความวิญญาณในปฏิจจสมุป
บาทไว้ ว่ า วิญ ญาณ คื อ จั ก ขุ วิ ญ ญาณ โสตวิ ญ ญาณ ฆานวิญ ญาณ ชิ ว หา
วิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ ๖๐ ในคัมภีร์สังยุตตนิกาย นิทานวรรค ที่
ประมวลเรื่องปฏิจจสมุปบาท ในส่วนที่อธิบายวิญญาณไม่มีปฏิสนธิวิญญาณ ๖๑
เมื่อถือตามความเห็นที่ว่าปฏิสนธิวิญญาณไม่มีในปฏิจจสมุปบาทแล้ว ทาให้เกิด
ความสงสั ย ว่ า พระสาวกน าข้ อ ความเรื่ อ งปฏิ ส นธิ วิญ ญาณมาเพิ่ ม ในเรื่อ ง
ปฏิจจสมุปบาทในพระไตรปิฎกบางแห่งหรืออย่างไร ถ้าการอธิบายในคัมภีร์
อรรถกถาใช้ ไม่ ได้ ค าอธิบ ายในคั ม ภี ร์ ฎี ก าไม่ ต้ อ งกล่ าวถึ ง จากการศึ ก ษา
ค้นคว้าในเบื้องต้น ผู้วิจัยได้พบข้อความที่พระอรรถกถาจารย์เองกล่าวถึงการ
เพิ่มข้อความในพระไตรปิฎก๖๒
ความเห็ น ที่ว่า ชาดกเป็ น เรื่องเท็จ นิ ทานโกหก แสดงว่า คัมภีร์ช าดก
แสดงเรื่องเท็จ ถ้าชาดกเป็นเรื่องโกหก ชาดกในส่วนที่ปรากฏในพระวินัยปิฎก
กับ พระสุ ตตัน ตปิ ฎ ก เป็ น เรื่ องโกหก แสดงว่า พระสาวกรุ่น หลั งเพิ่ มเข้ามา

๖๐
ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๒/๔, ส.นิ. (ไทย) ๑๖/๒/๗.
๖๑
ดูรายละเอียดใน ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๒/๔, ส.นิ. (ไทย) ๑๖/๒/๖ เป็นต้น.
๖๒
ดู ร ายละเอี ย ดใน วิ.ป.อ. (บาลี ) ๓/๓/๔๒๐, ขุ .วิ .อ. (บาลี ) ๑๒๘๑/๔๑๓,
ขุ.เปต.อ. (บาลี) ๑๕๔,๒๗๔,ขุ.เถร.อ. (บาลี) ๒/๙๘-๙๙.
๑๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ความเห็นที่ว่า เรื่องที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปแสดงพระอภิธรรมแก่เทวดาไม่มีใน
พระไตรปิฎก แสดงว่า พระอภิธรรมปิฎก แต่งขึ้นมาภายหลัง
ในเรื่องที่พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายปฏิจจสมุปบาทผิดพุทธประสงค์
อรรถกถาที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นอันผิดจากหลักคาสอนพระพุทธศาสนา ผู้ศึกษา
คาอธิบายปฏิจจสมุปบาทในคัมภีร์วิสุทธิมรรคและคัมภีร์สังยุตตนิกายนิทาน
วรรคอรรถกถา กลายเป็นผู้ศึกษาลัทธิพราหมณ์ไป เป็นเรื่องที่น่าสงสัย คัมภีร์
วิสุทธิมรรค ที่ใช้เป็นแบบเรียนภาษาบาลีชั้นเปรียญธรรม ๘ ประโยคของคณะ
สงฆ์ เป็ น คั ม ภี ร์ ที่ อ ธิ บ ายพระพุ ท ธศาสนาเป็ น พราหมณ์ คณะสงฆ์ ค งต้ อ ง
พิจารณาหาคัมภีร์อื่นมาเป็นแบบเรียนแทนคัมภีร์วิสุทธิมรรค ความเห็นที่ว่า
ผู้ที่เรียนอภิธัมมัตถสังคหะ หลงติดอภิธรรม ยึดมั่นอภิธรรม จะเสียเวลาในชีวิต
ไปเปล่า ถ้าไปเสียเวลากับอภิธรรม ประเทศชาติพลอยเสียเวลาไปด้วย แสดง
ว่ า การศึ ก ษาคั ม ภี ร์ อ ภิ ธั ม มั ต ถสั ง คหะกั บ คั ม ภี ร์ อ ภิ ธั ม มั ต ถวิ ภ าวนี ในชั้ น
เปรี ย ญธรรม ๙ ประโยคท าให้ เสี ย เวลาไปเปล่ า การศึ ก ษาพระอภิ ธ รรมที่
อภิ ธ รรมโชติ ก ะวิ ท ยาลั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย
พลอยทาให้ประชาชนของประเทศเสียเวลาไปด้วย ทางผู้จัดการศึก ษาคงต้อง
พิจารณาหาแบบเรียนใหม่ จัดการศึกษาใหม่
ส่วนความเห็นในด้านบวกต่อคัมภีร์พระพุทธศาสนา เช่น ความเห็นที่ว่า
ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก พระธรรมวินัยที่เป็นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า อยู่มาถึง
ปัจจุบั น ไม่ได้ จากความเห็น นี้ ชาวพุทธต้องรักษาสืบต่อพระไตรปิฎ กด้วยดี
เพื่อให้พระพุทธศาสนาคงอยู่ ต่อไป ความเห็น ที่ว่า พระไตรปิฎ กบันทึกชีวิต
และงานของพระพุ ท ธเจ้ า ชาวพุ ท ธต้ อ งรั ก ษาพระไตรปิ ฎ กไว้ ด้ ว ยชี วิ ต
ความเห็นที่ว่า ชาดกเป็นเรื่องจริง พระพุทธเจ้าทรงใช้ญาณระลึกรู้นามาเล่า
ตามเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น ชาวพุทธควรศึกษาชาดกเพื่อดาเนินชีวิตตามอย่ าง
พระโพธิ สั ต ว์ ความเห็ น ที่ ว่ า พระอภิ ธ รรมเป็ น เทศนาที่ เ ป็ น วิ สั ย ของ
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๙

พระพุทธเจ้า เป็นพุทธพจน์โดยตรง ชาวพุทธควรศึกษาพระอภิธรรมกัน เพื่อ


จะได้ทราบและเข้าใจสภาวธรรม
การตีความหลักคาสอนในประเทศไทยแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย ตามที่กล่าวมา
จากข้ อ ความที่ ก ล่ า วมานี้ ท าให้ ผู้ ส นใจศึ ก ษาคั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธศาสนาเกิ ด
ความสังสัยว่า ฝ่ายไหนมีความเห็นที่ถูกต้อง การจะเชื่อถือฝ่ายไหนนั้น ต้องใช้
หลักการตัดสิน ซึ่งต้องศึกษาหลักการพระพุทธศาสนาเถรวาทให้เข้าใจจนมี
ความรู้ในเรื่องนั้นๆ ก่อน จึงจะตัดสินใจเชื่อถือความเห็นในแต่ละฝ่ายได้ เช่นที่
แปลเรื่องไม่ให้ถือตามการเรียนที่อาจารย์สอนเป็นเรื่องไม่ให้ปลงใจเชื่อด้วยการ
อ้างคัมภีร์ การแปลอย่างนี้กลายเป็นเรื่องที่มิได้อยู่ในสมัยพุทธกาล เป็นการ
แปลเหตุ ก ารณ์ ปั จ จุ บั น ของเรื่ อ งในครั้ ง พุ ท ธกาลเป็ น เรื่ อ งในอนาคต
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นสถาบันที่ได้รับการสถาปนาให้
เป็นสถานที่ศึกษาพระไตรปิฎก จัดพิมพ์พระไตรปิฎกทั้งภาษาบาลีภาษาไทย
รวมทั้งอรรถกถาฎีกาเผยแพร่ จาเป็นต้องทาการตัดสินปัญหาที่กล่าวมานี้
เมื่อเกิดปัญ หาความเห็นไม่ตรงกัน ทางพระธรรมวินัย ๖๓ พระพุทธเจ้า
รับสั่งไม่ให้ เชื่อและไม่ให้ คัดค้าน แต่ให้จดจาคาที่เขากล่าวนั้นให้ ดีแล้วนาไป
สอบดูในพระสูตรเทียบดูในพระวินัย ถ้าไม่ลงกันไม่สมกันในพระสูตรและใน
พระวินั ย พึงเข้าใจว่า คาที่ท่านกล่าวนั้นมิใช่คาสอนของพระพุทธเจ้า พึงทิ้ง
ความเห็น นั้น เสีย ถ้าลงกันสมกันในพระสูตรและพระวินัย พึงเข้าใจว่า คาที่
ท่านกล่าวนั้นเป็นคาสอนของพระพุทธเจ้า ท่านที่กล่าวนั้นศึกษาทรงจามาดี

๖๓
ที .ม. (บาลี ) ๑๐/๑๘๘/๑๐๙–๑๑๑, ที .ม. (ไทย) ๑๐/๑๘๘/๑๓๔–๑๓๖,
องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๘๐/๑๙๑–๑๙๔, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๘๐/๒๕๓–๒๕๖.
๒๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

การอธิบายความในคัมภีร์พระพุทธศาสนา หมายถึง การอธิบาย


ความถ้อยคาที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ซึ่งอธิบายโดยพระพุทธเจ้าและ
พระสาวกทั้ ง หลาย ก่ อ นจะกล่ า วถึ ง การอธิ บ ายความขอกล่ า วถึ ง
ความหมายแห่งคาว่าอธิบายก่อน

๒. นิยามของอรรถกถาวิธี
ในเบื้องต้นนี้ ขอทาความเข้าใจคาว่าอธิบาย ซึ่งเป็นการอธิบายใน
คัมภีร์พระพุทธศาสนา และเป็นการอธิบายโดยพระพุทธเจ้า การอธิบาย
นั้นเป็นคาในภาษาไทย เมื่อทราบความหมายในภาษาไทยแล้วจาเป็นต้อง
หาความหมายจากศัพท์ภาษาบาลีในคัมภีร์ภาษาบาลี และต้องเป็นคัมภีร์
ที่มีการอธิบายความด้วย การอธิบายความโดยพระพุทธเจ้า เมื่อสารวจใน
คัมภีร์ที่มีการอธิบายได้พบศัพท์ที่หมายถึงการอธิบายในข้อความที่มีการ
อธิบาย ดังต่อไปนี้
สิ ก ขาปทวิ ภั ง ค์ หมายถึ ง การจ าแนกอธิ บ ายสิ ก ขาบท เป็ น
คาอธิบาย ที่พระพุทธเจ้าทรงอธิบายไว้ในส่วนพระวินัยปิฎก ส่วนชื่อเรียก
ที่เรียกว่า สิก ขาปทวิภังค์ นั้ น เป็นถ้อยคาที่พระอรรถกถาจารย์ใช้เรียก
ข้อความที่อธิบายสิกขาบทที่มาในพระไตรปิฎก (อิทานิ สิกฺขาปทวิภงฺคสฺส
อตฺถ วณฺณยิสฺสาม. ย วุตฺต “โย ปนาติ โย ยาทิโส”ติอาทิ)
ปทภาชนีย์ หมายถึง การจาแนกอธิบายสิกขาบท เป็นคาอธิบาย ที่
พระพุทธเจ้าทรงอธิบายไว้ในส่วนพระวินัยปิฎก เช่นกัน และชื่อเรียกที่
เรียกว่า ปทภาชนีย์ นั้น เป็นถ้อยคาที่พระอรรถกถาจารย์ใช้เรียกข้อความ
ที่อธิบายสิกขาบทที่มาในพระไตรปิฎก เช่น กัน เป็นคาที่ใช้แทนกันกับ
สิ ก ขาบทวิ ภั งค์ (วิ น เย อตฺ ถิ วตฺ ถุ , อตฺ ถิ มาติ ก า, อตฺ ถิ ปทภาชนี ย ...
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๒๑

วตฺถุ โอโลเกตพฺพ, มาติกา โอโลเกตพฺพา, ปทภาชนีย โอโลเกตพฺพ, เป็น


ข้อความในอรรถกถา)
เวยยากรณะ หมายถึง การที่พระพุทธเจ้าทรงขยายความข้อความ
ที่ทรงยกขึ้นแสดงในตอนต้นให้ชัดเจนในตอนต่อมา เช่น ข้อความในธัมม-
จักกัปปวัตตนสูตรว่า เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺ มาเน๖๔ เมื่อพระผู้มีพระภาค
ตรัส เวยยารณ์ นี้ มี ค าอธิ บ ายเรื่อ งอื่ น แต่ พ อจะน ามาประกอบได้ คื อ
เวยยากรณะมี บ ท ๔ บท ท่ านกล่ า วหมายถึ งการอธิ บ ายอริย สั จ ๔๖๕
พระอรรถกถาจารย์ได้อธิบายเวยยากรณะว่า พระอธิธรรมปิฎกทั้งหมด
พระสูตรที่ไม่มีคาถา และพุทธพจน์ แม้อื่น ใดที่มิได้จัด เข้าในองค์ ๘ นั้น
จัดเป็นเวยยากรณะ๖๖
นิทเทส หมายถึง การที่พระพุทธเจ้าทรงชี้แจงความข้อความที่ทรง
อุทเทส คือ ที่ทรงยกขึ้นแสดงในตอนต้นให้ชดั เจนในท่ามกลางแล้วทรงปฏิ
นิทเทสในตอนท้ายสุด
วิภังค์ หมายถึง การที่พระพุทธเจ้าทรงจาแนกแจกแจงข้อความใน

๖๔
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๖/๑๕, ส.ม. (บาลี) ๑๙/๑๐๘๑/,ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๓๐/๓๕๓,
เวยฺยากรณสฺสาติ วิตฺถาเรตฺ วา อตฺถทีปกสฺส. ภควตา หิ อพฺยากต นาม ตนฺติปท นตฺถิ,
สพฺเพสเยว อตฺโถ กถิโต. ม.ม.อ. (บาลี) ๓/๗๓.
๖๕
จตุ ปฺป ท เวยฺยากรณนฺ ติ จตุสจฺจพฺ ยากรณ สนฺ ธาย วุตฺ ต . ม.ม.อ. (บาลี ) ๓/
๑๔๓.
๖๖
สกล อภิธมฺมปิฏก, นิคฺคาถก สุตฺต, ยญฺจ อญฺญปิ อฏฺ หิ องฺเคหิ อสงฺคหิต
พุทธฺ วจน, ต เวยฺยากรณนฺติ เวทิตพฺพ. วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๗, ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๒๔.
๒๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

เรื่องนั้นๆ
อตฺโถ คือ อรรถ หมายถึง ข้อความที่เป็ นคาอธิบาย ซึ่งอธิบายโดย
พระพุทธเจ้า และหมายถึงข้อความที่พระสาวกทั้งหลายอธิบายปรากฏใน
ที่นั้นๆ อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาฎีกา ได้อธิบายอตฺถศัพท์ที่
หมายถึงคาอธิบายไว้ในคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาฎีกาข้อ ๗๘๕ ว่า อตฺโถ
สทฺทาภิเธยฺเย อตฺถศัพท์ใช้ในความหมายว่าเนื้อความที่ศัพท์กล่าวถึง เช่น
สาตฺถ สพฺยญฺชน๖๗
อตฺถวณฺณนา คือ อรรถวรรณนา หมายถึง การพรรณนา คือ การ
อธิบายพระสูตรนั้นๆ ที่ปรากฏในคัมภีร์อรรถกถาทั้งหลาย
อฏฺ กถา คือ อรรถกถา หมายถึงถ้อยคาที่พระพุทธเจ้าตรัสอธิบาย
ไว้ปรากฏอยู่ในข้อความนั้นๆ และพระสาวกทั้ง หลายกล่าวอธิบายปรากฏ
อยู่ ในข้ อ ความนั้ น ๆ ๖๘ และข้ อ ความอธิ บ ายพระไตรปิ ฎ กที่ พ ระสาวก
ทั้งหลายรุ่น ต่อมาทรงจาสืบต่อแล้วพระสาวกทั้งหลาย เช่น พระพุทธ-

๖๗
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๑/๑ อ้างในคัมภีร์อภิธานวรรณนา, พระมหาสมปอง มุทิโต
แปลเรียบเรียง, (กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ธรรมสภา, ๒๕๔๒), หน้า ๙๔๖.
๖๘
อตฺโถ กถิยติ เอตายาติ อตฺถกถา, สาเยว อฏฺ กถา ตฺถการสฺส ฏฺ การ กตฺวา
“ทุกฺ ขสฺส ปีฬ นฏฺ โ ”ติอ าที สุ๖๘ วิย . สารตฺ ถ.ฏีก า (บาลี) ๑/๒๕ แปลว่า เนื้ อ ความ คื อ
คาอธิบาย อันท่าน(พระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลาย) ย่อมกล่าวด้วยวาจานั่น เหตุนั้น
วาจานั้น ชื่อว่า อัตถกถา คือ วาจาที่ท่านกล่าวอธิบาย ที่อัตถกถา เป็นอัฏฐกถา ก็เพราะ
แปลงตฺถเป็นฏฺ ดุจในคาเป็นต้นว่า ทุกฺขสฺส ปีฬนฏฺโ ทุกข์มีความหมายว่าเบียดเบียน,
ตถาน ฏฺ ยุค. อฏฺ กถา, อตฺถกถา วา. ทุกฺขสฺส ปีฬนฏฺโ สงฺขตฏฺโ นีติ.สุตฺต. (บาลี) ๓๐,
พระมหาประนอม ธมฺ ม าลั งฺก าโร ปริว รรต, วัด จากแดง อ าเภอพระประแดง จั งหวั ด
สมุทรปราการ จัดพิมพ์, ๒๕๔๙.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๒๓

โฆสาจารย์ได้รวบรวมแต่งเป็นอรรถกถาอธิบายพระไตรปิฎก ซึ่งสืบทอด
กันมาปรากฏเป็นเล่มหนังสือในปัจจุบัน
อธิปฺปาย คือ อธิบาย หมายถึงการอธิบายของพระพุทธเจ้าและการ
อธิบายของพระสาวกทั้งหลาย
ปกิณฺณกเทสนา คือ ปกิณกเทศนา หมายถึง พระธรรเทศนาที่เป็น
คาสนทนาทั่วไประหว่างพระพุทธเจ้าพุทธบริษัท เช่น คาสนทนาระหว่าง
พระพุทธเจ้ากับพระประยูรญาติที่กรุงกบิลพัสดุ์๖๙

๓. อรรถกถาวิธีในสมัยพุทธกาล
พระฎี ก าจารย์ ผู้ ร จนาคั ม ภี ร์ ฎี ก าอธิ บ ายข้ อ ความในคั ม ภี ร์
พระไตรปิฎกและข้อความในคัมภีร์อรรถกถาได้กล่าวถึงการอธิบายความ
ของพระพุ ท ธเจ้ าว่ า “สมฺ ม าสมฺ พุ ทฺ เธเนว หิ ติ ณฺ ณ มฺ ปิ ปิ ฏ กาน อตฺ ถ -
วณฺณนากฺกโม ภาสิโต, ยา ปกิณฺณกเทสนาติ วุจฺจติ ”๗๐ แปลว่า “ก็พระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าเอง ได้ ตรัสอธิบายความพระไตรปิฎกไว้เป็นลาดับ ซึ่ง
เรียกกันว่า ปกิณกเทศนา” จากข้อความที่พระฎีกาจารย์กล่าวนี้ แสดงให้
เห็ น ว่า ในพระไตรปิฎก คือ พระวินัยปิฎก พระสุต ตันตปิฎก และพระ

๖๙
ตตฺถ ตตฺถ ภควตา ปวตฺติตา ปกิณฺ ณ กเทสนาเยว หิ อฏฺ กถา. สารตฺถ.ฏี กา
(บาลี) ๑/... แปลว่า ก็ปกิณกเทศนาที่พระผู้มีพระภาคทรงให้เป็นไปในสถานที่นั้นๆ ก็เป็น
อรรถกถา คือ ถ้อยคาอธิบาย.
๗๐
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๒๖,ที .สี.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๘,ม.มู.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๕,
ส.ส.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๖, องฺ.เอกก.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๘.
๒๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

อภิธรรมปิฎก ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงนั้น พระองค์ได้ทรงอธิบายถ้อยคา


ที่ พ ระองค์ แ สดงไว้ ด้ว ย และจากคาว่า ปกิ ณ กเทศนา แสดงให้ เ ห็ น ว่ า
ถ้อยคาปกิณกะ ที่เป็นคาสนทนาเป็นเรื่องเล่าเหตุการณ์ เช่น เรื่องเล่าใน
ชาดก ซึ่งปรากฏในคัมภีร์อรรถกถา เป็นถ้อยคาที่พระพุทธเจ้าทรงเล่าไว้
พระสารีบุตร ชาวศรีลังผู้รจนาคัมภีร์สารัตถทีปนี วินัยฎีกา กล่าว
รับรองอรรถกถาที่เป็นเรื่องปกิ ณกะไว้ว่า “ตตฺถ ตตฺถ ภควตา ปวตฺติตา
ปกิณฺณกเทสนาเยว หิ อฏฺ กถา. ตเถว าโตติ ยเถว พุทฺเธน วุตฺโต ตเถว
เอกปทมฺปิ เอกกฺข รมฺปิ อวิน าเสตฺ ว า อธิปฺ ป ายญฺ จ อวิโกเปตฺวา าโต
วิทิโตติ อตฺโถ”๗๑ แปลว่า “ปกิณกเทศนาที่พระผู้มีพระภาคทรงให้เป็นไป
(สนทนากับ บริษั ท )ในสถานที่ นั้ น ๆ เป็ น อรรถกถา พระสาวกทั้ งหลาย
รู้แ ล้วทราบแล้วบทหนึ่ งอักษรหนึ่งไม่มีต กหล่น อธิบายไม่ผิด เพี้ยนตรง
ตามที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้”
ท่ า นกล่ า วยื น ยั น การที่ พ ระอรรถกถาจารย์ ทั้ ง หลายสื บ ทอด
คาอธิบายกันต่อมาว่า “เตส มติมจฺจชนฺตาติ เตส พุทฺธปุตฺตาน อธิปฺปาย
อปริจฺจชนฺตา. อฏฺ กถา อกสูติ อฏฺ กถาโย อกสุ”๗๒ แปลว่า “พระอรรถ
กถาจารย์ทั้งหลาย ไม่ละทิ้งมติของพุทธบุตรทั้งหลาย ได้แต่งอรรถกถา
ทั้งหลายไว้”

๗๑
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๒๖.
๗๒
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๒๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๒๕

๓.๑ อรรถกาในพระวินัยปิฎก
พระอรรถกถาจารย์และพระฎีกาจารย์ ผู้อธิบายขยายความได้กล่าว
ไว้ในคัมภีร์อรรถกถาและฎีกาว่า พระพุทธเจ้ าเองทรงอธิบายความหมาย
แห่ งเทศนาของพระองค์ ไ ว้ทั้ ง ๓ ปิ ฎ ก ๗๓ ในข้ อ นี้ ต้ อ งท าความเข้ าใจ
มิฉะนั้น อาจจะคิดว่า ท่านกล่าวสับสน ในส่วนพระวินัยปิฎก พระพุทธ
องค์ได้ทรงอธิบายสิกขาบทที่ทรงบัญญัติ แต่ได้มีการแสดงความเห็นว่า
คาอธิบ ายนั้ น เป็ น ข้อ ความที่ เพิ่ ม เข้ ามา ข้ อความที่ เป็ น สิ ก ขาบทและ
คาอธิบายของพระพุทธเจ้าที่กล่าวถึงนี้ คือ ข้อความสิกขาบทและวิภังค์
บางตอนแห่งปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ ดังต่อไปนี้
โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขูน สิกฺขาสาชีวสมาปนฺโน สิกฺข อปฺปจฺจกฺขาย
ทุ พฺ พ ลฺ ย อนาวิก ตฺ ว า เมถุ น ธมฺ ม ปฏิ เสเวยฺ ย อนฺ ต มโส ติ รจฺ ฉาน -
คตายปิ, ปาราชิโก โหติ อสวาโส๗๔
อนึ่ ง ภิกษุใดถึงพร้อมด้วยสิกขาและสาชีพของภิกษุทั้งหลาย ไม่
บอกคืน สิกขา ไม่เปิ ดเผยความท้อแท้ เสพเมถุนธรรมโดยที่สุด กับสัต ว์
ดิรัจฉาน ภิกษุนั้นย่อมเป็นปาราชิก หาสังวาสมิได้๗๕
สิกขาบทวิภังค์

๗๓
สมฺ ม าสมฺ พุ ทฺ เธเนว หิ ติ ณฺ ณ มฺ ปิ ปิ ฏ กาน อตฺ ถ วณฺ ณ นากฺ ก โม ภาสิ โ ต, ยา
ปกิณฺณกเทสนาติ วุจฺจติ สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๒๖, ที.สี.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๘, ม.มู.ฏีกา
(บาลี) ๑/๑๕, ส.ส.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๖, องฺ.เอกก.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๘.
๗๔
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๔/๓๐.
๗๕
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๔๔/๓๒.
๒๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

โย ปนาติ โย ยาทิโส ยถายุตฺโต ยถาชจฺโจ ยถานาโม ยถาโคตฺโต


ยถาสีโล ยถาวิหารี ยถาโคจโร เถโร วา นโว วา มชฺฌิโม วา , เอโส
วุจฺจติ “โย ปนา”ติ๗๖
คาว่า อนึ่ง ... ใด คือ ผู้ใด ผู้เช่นใด มีการงานอย่างใด มีชาติกาเกิด
อย่างใด มีชื่ออย่างใด มีวงศ์ตระกูลอย่างใด มีลักษณะนิสัยอย่างใด มี
คุณธรรมอย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระ เป็นผู้ใหม่ หรือเป็นผู้ปาน
กลาง นี้เราตถาคตเรียกว่า “อนึ่ง ... ใด” ๗๗
ภิ กฺ ขู ติ ภิ กฺ ข โกติ ภิ กฺ ขุ , ภิ กฺ ข าจริ ย อชฺ ฌู ป คโตติ ภิ กฺ ขุ ,
ภินฺนปฏธโรติ ภิกฺขุ , สมญฺญาย ภิกฺขุ, ปฏิญฺญาย ภิกฺขุ , เอหิภิกฺขูติ
ภิกฺขุ, ตีหิ สรณคมเนหิ อุปสมฺปนฺโนติ ภิกฺขุ, ภโทฺรติ ภิกฺขุ, สาโรติ
ภิกฺขุ, เสโขติ ภิกฺขุ , อเสโขติ ภิกฺขุ , สมคฺเคน สเฆน ญตฺติจตุตฺเถน
กมฺเมน อกุปฺเปน ฐานารเหน อุปสมฺปนฺโนติ ภิกฺขุ. ตตฺร ยฺวาย ภิกฺขุ
สมคฺ เ คน ส เฆน ญตฺ ติ จ ตุ ตฺ เ ถน กมฺ เมน อกุ ปฺ เปน ฐานารเหน
อุปสมฺปนฺโน, อย อิมสฺมึ อตฺเถ อธิปฺเปโต “ภิกฺขู”ติ.๗๘
คาว่า ภิกษุ มีอธิบายว่า ชื่อว่า ภิกษุ เพราะเป็นผู้ขอ ชื่อว่า ภิกษุ
เพราะอาศัยการเที่ยวขอ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะใช้ผืนผ้าที่ถูกทาให้เสียราคา
ชื่อว่า ภิกษุ เพราะเรียกกันโดยโวหาร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะการปฏิญาญาตน
ชื่อ ว่ า ภิ ก ษุ เพราะพระพุ ท ธเจ้ าทรงบวชให้ ชื่ อ ว่า ภิ ก ษุ เพราะเป็ น ผู้
อุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะเป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ

๗๖
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๕/๓๐.
๗๗
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๔๕/๓๓.
๗๘
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๕/๓๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๒๗

เพราะเป็น ผู้มีสาระ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะเป็น ผู้ยังต้องศึกษา ชื่อว่า ภิกษุ


เพราะเป็นผู้ไม่ต้องศึกษา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะเป็นผู้ที่สงฆ์พร้อมเพรียงกัน
อุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรมที่ถูกต้อง สมควรแก่เหตุ ในบรรดาภิกษุ
ที่กล่าวมานั้น ภิกษุผู้ที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถ-
กรรมที่ถู กต้อ ง สมควรแก่ เหตุนี้ ที่เราตถาคตประสงค์เอาว่า ภิ กษุ ใน
ความหมายนี้๗๙
สิกฺขาติ ติสฺโส สิกฺขา อธิสี ลสิกฺขา อธิจิตฺต สิกฺ ขา อธิป ญฺ ญ า-
สิกฺขา. ตตฺร ยาย อธิสีลสิกฺขา, อย อิมสฺมึ อตฺเถ อธิปฺเปตา “สิกฺขา”
ติ.๘๐ คาว่า สิกขา ได้แก่ สิกขา ๓ อย่าง คือ อธิสีลสิกขา อธิจิตตสิกขา
อธิปัญ ญาสิ กขา ในสิ กขา ๓ นั้ น อธิสี ลสิกขานี้ ที่ พ ระผู้มี พ ระภาคทรง
ประสงค์เอาในความหมายนี้๘๑
สาชีว นาม ย ภควตา ปญฺญตฺต สิกฺขาปท , เอต สาชีว นาม.
ตสฺมึ สิกฺขติ, เตน วุจฺจติ “สาชีวสมาปนฺโน”ติ.๘๒
ที่ชื่อว่า สาชีพ หมายถึงสิกขาบทที่เราตถาคตบัญญัติไว้ ภิกษุศึกษา
สาชีพนั้น เหตุนั้น เราตถาคตจึงกล่าวว่า ผู้ถึงพร้อมด้วยสาชีพ๘๓

๗๙
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๔๕/๓๓.
๘๐
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๕/๓๐.
๘๑
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๔๕/๓๓.
๘๒
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๕/๓๐.
๘๓
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๔๕/๓๓.
๒๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

สิ กฺ ข อปฺ ป จฺ จ กฺ ข าย ทุ พฺ พ ลฺ ย อนาวิ ก ตฺ ว าติ อตฺ ถิ ภิ กฺ ข เว


ทุพฺพลฺยาวิกมฺมญฺ เจว โหติ สิกฺขา จ อปฺปจฺจกฺขาตา. อตฺถิ ภิกฺขเว
ทุพฺพลฺยาวิกมฺมญฺเจว โหติ สิกฺขา จ ปจฺจกฺขาตา.๘๔
คาว่า ไม่บอกคืนสิกขา ไม่เ ปิดเผยความท้อแท้ มีอธิบายว่า ภิกษุ
ทั้ งหลาย การเปิ ด เผยความท้ อ แท้ แต่ ไม่ เป็ นการบอกคื น สิก ขามี การ
เปิดเผยความท้อแท้ และเป็นการบอกคืนสิกขามี๘๕
เมถุนธมฺโม นาม โย โส อสทฺธมฺโม คามธมฺโม วสลธมฺโม ทุฏฺฐุลฺล
โอกฺกนฺติก รหสฺส ทฺวยทฺวยสมาปตฺติ, เอโส เมถุนธมฺโม นาม.๘๖
ที่ ชื่ อ ว่ า เมถุ น ได้ แ ก่ อสั ท ธรรม ซึ่ ง เป็ น ประเวณี ข องชาวบ้ า น
มารยาทของคน ชั้นต่า กิริยาชั่วหยาบ สุดท้ายต้องใช้น้า เป็นเรื่องที่ต้อง
ทากันในที่ลับ ต้องทากันเป็นคู่ๆ นี้ชื่อว่า เมถุนธรรม๘๗
ปฏิ เสวติ นาม โย นิ มิ ตฺ เตน นิ มิ ตฺ ต องฺ ค ชาเตน องฺ ค ชาต
อนฺตมโส ติลผลมตฺตปิ ปเวเสติ, เอโส ปฏิเสวติ นาม.๘๘
ที่ ชื่ อ ว่ า เสพ ได้ แ ก่ ภิ ก ษุ ใ ด สอดเครื่ อ งหมายเพศเข้ า ทาง
เครื่องหมายเพศ คือ สอดอวัยวะเพศเข้าทางอวัยวะเพศ อย่างน้อยที่สุด
เข้าไปชั่วเพียงเมล็ดงา ภิกษุนี้ ชื่อว่า เสพ๘๙

๘๔
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๔๕/๓๐.
๘๕
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๔๕/๓๓.
๘๖
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๖.
๘๗
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๕๕/๔๒.
๘๘
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๖.
๘๙
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๕๕/๔๒.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๒๙

อนฺ ต มโส ติ ร จฺ ฉ านคตายปี ติ ติ ร จฺ ฉ านคติ ตฺ ถิ ย าปิ เมถุ น ธมฺ ม


ปฏิเสวิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย , ปเคว มนุสฺสิตฺถิยา , เตน
วุจฺจติ “อนฺตมโส ติรจฺฉานคตายปี”ติ.๙๐
คาว่า โดยที่สุดแม้กับสัตว์ดิรัจฉาน ความว่า ภิกษุเสพเมถุนธรรมแม้
กับสัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ย่อมไม่เป็นสมณะไม่เป็นเชื้อสายพระศากยบุตร
ไม่จาต้องกล่าวถึงการเสพเมถุนธรรมกับหญิงมนุษย์ ดังนั้น เราตถาคตจึง
กล่าวว่า โดยที่สุดแม้กับสัตว์ดิรัจฉาน๙๑
ปาราชิโก โหตีติ เสยฺยถาปิ นาม ปุริโส สีสจฺฉินฺโน อภพฺโพ เตน
สรีรพนฺธเนน ชีวิตุ, เอวเมว ภิกฺขุ เมถุน ธมฺม ปฏิเสวิตฺวา อสฺสมโณ โหติ
อสกฺยปุตฺติโย, เตน วุจฺจติ “ปาราชิโก โหตี”ติ.๙๒
คาว่า ปาราชิโก โหติ : ย่อมเป็นปาราชิก อธิบายว่า ภิกษุเสพเมถุน
ธรรม ย่อมไม่เป็นสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร เปรียบเหมือนบุรุษศีรษะ
ขาดแล้ว ไม่อาจมีชีวิตอยู่ได้โดยการต่อศีรษะเข้ากับร่างกายนั้น ด้วยเหตุ
นั้น เราตถาคตจึงกล่าวว่า เป็นปาราชิก๙๓
อส วาโสติ ส วาโส นาม เอกกมฺ ม เอกุทฺ เทโส สมสิกฺ ข ตา , เอโส
สวาโส นาม. โส เตน สทฺธึ นตฺถิ, เตน วุจฺจติ “อสวาโส”ติ.๙๔

๙๐
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๖.
๙๑
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๕๕/๔๒-๔๓.
๙๒
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๖.
๙๓
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๕๕/๔๓.
๙๔
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๗.
๓๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ค าว่ า หาสั งวาสมิ ไ ด้ อธิ บ ายว่ า ที่ ชื่ อ ว่ า สั ง วาส ได้ แ ก่ กรรมที่
กระทาร่วมกัน อุทเทสที่สวดร่วมกัน ความมีสิกขาเสมอกัน นี้ชื่อว่าสังวาส
สังวาสนั้ น ไม่ มี ร่ ว มกับ ภิ กษุ นั้ น ด้ ว ยเหตุ นั้ น เราตถาคตจึงกล่าวว่า หา
สังวาสมิได้๙๕
บาลีลักษณะนี้ รูปประโยคเหมือนสานวนอรรถกถา ข้อความที่เป็น
สิกขาบทวิภังค์ เช่น ข้อความว่า
อนฺ ต มโส ติ ร จฺ ฉ านคตายปี ติ ติ ร จฺ ฉ านคติ ตฺ ถิ ย าปิ เมถุ น ธมฺ ม
ปฏิเสวิตวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย, ปเคว มนุสฺสิตฺถิยา ...
ข้อความนี้มีบทตั้งมีอิติศัพท์อยู่ท้าย บทตั้งคือ อนฺตมโส ติรจฺฉาน-
คตายปีติ และมีคาอธิบาย คือ ติรจฺฉานคติตฺถิยาปิ เมถุน ธมฺม ปฏิเสวิตฺวา
อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย, ปเคว มนุสฺสิตฺติยา ... เหมือนอรรถกถา เป็น
ข้อความชวนให้ คิด ว่า ไม่น่ าจะเป็ น พุ ทธพจน์ เพราะรูปประโยคคล้าย
อรรถกถามากกว่า แต่เมื่อศึกษาข้อความสนับสนุนเรื่องนี้ กาหนดได้ว่า
เป็นข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงอธิบายเอง คือ ข้อความที่เป็นสิกขาบท
วิภังค์นี้ ตรงกับข้อความอกรณียกิจ ที่พระองค์ทรงรับสั่งให้พระอุปัชฌาย์
บอกแก่ภิกษุบวชใหม่ มีเรื่องเล่าพอสรุปได้ว่า
ครั้งหนึ่ ง ภิกษุทั้งหลาย ได้ทาการอุปสมบทภิกษุรูปหนึ่ง แล้วทิ้ง
ท่านให้อยู่ตามลาพัง ภิกษุบวชใหม่ เดินตามมาภายหลังพอดีพบกับภรรยา
นางถามว่า “นี่พี่ไปบวชมาหรือ” ท่านตอบอดีตภรรยาว่า “ใช่พี่บวชแล้ว”
นางจึงกล่าวกับพระบวชใหม่อดีต สามีว่า “พวกที่บวชหาการเสพเมถุน
ธรรมได้ยาก มาเสพเมถุนธรรมกันเถิด”

๙๕
วิ.มหา. (ไทย) ๑/๕๕/๔๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๓๑

พระบวชใหม่จึงเสพเมถุนธรรมกับอดีตภรรยา เสร็จแล้วจึงตามพระ
อุปัชฌาย์อาจารย์ไปอย่างชักช้า พระอุปัชฌาย์อาจารย์ถามว่า “ทาไมจึง
มาล่าช้า” พระบวชใหม่จึงบอกเรื่องที่ตนมัวเสพเมถุนธรรมกับอดีตภรรยา
ให้ทราบ
ภิกษุเหล่านั้ น จึง น าเรื่องนี้ ไปกราบทู ลให้พ ระพุ ทธองค์ท รงทราบ
พระผู้มีพระภาค จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์ เมื่อทาการอุปสมบทให้ภิกษุ
ใหม่แล้ว ให้มีภิกษุอยู่เป็นเพื่อนและให้บอกอกรณียกิจ ๔ อย่างด้วย๙๖
ข้อความนี้เป็นเหตุการณ์ต้นเหตุที่ทาให้พระพุทธเจ้า มี รับสั่งให้พระ
อุปั ชฌาย์ห ลังจากทาการอุป สมบทให้ กุลบุต รแล้วต้องบอกสิ่งที่ไม่ควร
กระทา ซึ่งถ้าภิกษุผู้บวชใหม่ไปกระทาเข้าแม้จะไม่ทราบมาก่อน มีโทษถึง
ขาดจากความเป็นภิกษุ ข้อความที่เป็นคาบอกอกรณียกิจ คือสิ่งที่ไม่ควร
กระทา ดังนี้ :-
อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา เมถุโน ธมฺโม น ปฏิเสวิตพฺโพ อนฺตมโส
ติรจฺ ฉ านคตายปิ . โย ภิ กฺขุ เมถุ น ธมฺ ม ปฏิ เสวติ , อสฺส มโณ โหติ
อสกฺ ย ปุ ตฺ ติ โ ย. เสยฺ ย ถาปิ นาม ปุ ริ โ ส สี ส จฺ ฉิ นฺ โน อภพฺ โ พ เตน
สรีรพนฺธเนน ชีวิตุ, เอวเมว ภิกฺขุ เมถุน ธมฺม ปฏิเสวิตฺวา อสฺสมโณ
โหติ อสกฺยปุตฺติโย. ตนฺเต ยาวชีว อกรณีย.๙๗

๙๖
สรุปความจาก วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๒๙/๑๓๙-๑๔๑, วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๒๙/๑๙๗-
๑๙๘.
๙๗
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๒๙/๑๔๐.
๓๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ข้อความที่เป็น ภาษาบาลีข้างต้น นี้ ปัจจุบันพระอุปัชฌาย์จะสวด


ภาษาบาลีและสรุปเป็นภาษาไทยบอกพระบวชใหม่หลังจากอุปสมบทเป็น
พระภิกษุ แปลว่า ภิกษุผู้อุปสมบทแล้ว ไม่พึงเสพเมถุนธรรม โดยที่สุดกับ
สัตว์ดิรัจฉานตัวเมีย ภิกษุที่เสพเมถุ นธรรม ย่อมไม่เป็นสมณะเชื้อสาย
พระศากยบุตร
ภิ ก ษุ เสพเมถุ น ธรรม ย่ อ มไม่ เป็ น สมณะเชื้ อ สายพระศากยบุ ต ร
เปรียบเหมือนบุรุษศีรษะขาดแล้ว ไม่อาจมีชีวิตอยู่ได้โดยการต่อศีรษะเข้า
กับร่างกายนั้น การเสพเมถุนธรรมนั้น อันเธอไม่พึงกระทาจนตลอดชีวิต๙๘
การอธิบายในส่วนสิกขาบทวิภังค์ของพระพุทธเจ้านั้น ช่วยให้เข้าใจ
ความหมายแห่ งศัพท์ ที่เป็ น เนยยัต ถะ ซึ่งถ้าตีความตามศัพท์ แล้ว อาจ
เข้าใจความหมายเป็นอย่างอื่นไป เช่นที่พระองค์ทรงบัญญัติสิกขาบทเรื่อง
การอยู่จาพรรษาในฝ่ายภิกษุณี ดังนี้
“ยา ปน ภิ กฺ ขุ นี อภิ กฺ ขุ เก อาวาเส วสฺ ส วเสยฺ ย , ปาจิ ตฺ ติ ย ”๙๙
แปลว่า “ก็ภิ กษุ ณี ใด พึ งอยู่ จาพรรษาในอาวาสที่ ไม่ มีภิ กษุ ต้องอาบั ติ
ปาจิตตีย์” จากข้อความแห่งสิกขาบทนี้ อาจทาให้เข้าใจว่า ภิกษุณีต้องอยู่
จาพรรษาในวัดเดียวกันกับภิกษุ แต่เมื่อศึกษาคาอธิบายในสิกขาบทวิภังค์
ท าให้ ต้ อ งศึ ก ษาเรื่อ งการจ าพรรษาของภิ ก ษุ ณี คื อ พระพุ ท ธเจ้ าทรง
อธิบายในสิกขาบทวิภังค์ว่า

๙๘
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๒๙/๑๙๗.
๙๙
วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) ๓/๑๐๔๗/๑๖๒.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๓๓

“อภิกฺขุโก นาม อาวาโส น สกฺกา โหติ โอวาทาย วา สวาสาย วา


คนฺ ตุ๑๐๐ แปลว่า “อาวาสที่ชื่อว่า ไม่มีภิกษุ ได้แก่ อาวาสที่ภิกษุณี ไม่
สามารถไปรับโอวาทหรือธรรมอันเป็นเหตุอยู่ร่วมกันได้ ๑๐๑ ซึ่งเมื่อศึกษา
ข้อความในสิกขาบทอื่นสนับสนุน ทาให้ทราบว่า ภิกษุกับภิกษุณีอยู่ แยก
วัดกัน ดังข้อความสรุปว่า “ภิกษุหลายรูปมีจีวรผืนเดียว (นุ่งสบงผืนเดียว)
กาลังตัดเย็บจีวรอยู่ในอาวาสใกล้หมู่บ้าน ภิกษุณีทั้งหลายเข้าไปสู่อาราม
โดยไม่บอกเข้าไปหาภิกษุเหล่านั้นถึงที่อยู่ ภิกษุทั้งหลายจึงตาหนิภิกษุณี
เหล่ านั้ น พระพุ ท ธเจ้ าทรงทราบจึ งประชุ ม สงฆ์ บั ญ ญั ติ สิ ก ขาบทห้ า ม
ภิกษุณีเข้าไปสู่อารามโดยไม่บอก ”๑๐๒ และคาอธิบายจากสิกขาบทวิภังค์
ดังนี้ “อารามที่ชื่อว่า มีภิกษุ คือ สถานที่มีภิกษุอาศัยอยู่แม้ที่โคนต้นไม้ คา
ว่า เข้าไปสู่อารามโดยไม่บอก คือ ไม่บอกกล่าวภิกษุ สามเณร หรือคนวัด
เมื่อล่วงเขตอารามที่มีรั้วล้อม ต้ องอาบัติปาจิตตีย์ เมื่อล่วงสู่อุปจารแห่ง
อารามที่มีรั้วล้อม ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ”๑๐๓ และคาอธิบายในอรรถกถาที่
สนับสนุนเรื่องนี้ ดังนี้ “อาวาสที่ไม่มีภิกษุ หมายถึงสานักภิกษุณีที่ไม่มีภิกษุ
ผู้จะให้ โอวาทอยู่ภายในระยะ ๑ โยชน์ หรือ เส้นทางที่จะไปยังสานัก
ภิกษุณีนั้น ไม่ปลอดภัย ไม่สะดวก ภิกษุไม่สามารถเดินทางไปให้โอวาท

๑๐๐
วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) ๓/๑๐๔๘/๑๖๒.
๑๐๑
วิ.ภิกฺขุนี. (ไทย) ๓/๑๐๔๘/๒๘๐.
๑๐๒
วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) ๓/๑๐๒๑/๒๖๓-๒๖๔.
๑๐๓
วิ.ภิกฺขุนี. (ไทย) ๓/๑๐๒๕/๑๕๓.
๓๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ได้ ”๑๐๔ จากคาอธิบายนี้ ทาให้ทราบว่า อาวาสนี้ มิได้หมายถึงอาวาสที่


ภิกษุณีอยู่ร่วมกันกับภิกษุทั้งหลาย คือ ไม่ได้อยู่วัดเดียวกัน
ในพระวิ นั ย ปิ ฎ ก ได้ มี ก ารอธิ บ ายตั ว สิ ก ขาบทที่ ถ้ อ ยค าเข้ า ใจ
ลักษณะนี้ตลอด จนสิกขาบทหมวดสุดท้าย ดังข้อความแห่งสิกขาบทที่
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติว่า
“น โอคุ ณฺ ิต สี ส สฺ ส อคิ ล านสฺ ส ธมฺ ม เทเสสฺ ส ามี ’ติ สิ กฺ ข า กรณี
ยา”๑๐๕ แปลว่า “พึงทาความสาเหนียกว่า เราจักไม่แสดงธรรมแก่คนที่ไม่
เป็นไข้ผู้คลุมศีรษะ” ๑๐๖ คาว่า โอคุณฺ ิตสีสสฺส อาจจะเข้าใจว่า โพกศีรษะ
จึงมีสิกขาบทวิภังค์อธิบายว่า “โอคุณฺ ิตสีโส นาม สสีส ปารุโต วุจฺจติ”๑๐๗
แปลว่ า “ที่ ชื่ อ ว่ า คลุ ม ศี ร ษะ คื อ ท่ า นกล่ า วถึ ง ผู้ ห่ ม ผ้ า คลุ ม ตลอด
ศีรษะ”๑๐๘
ส่วนสิกขาบทที่บทพยัญชนะเป็นนีตัตถะ ไม่มีการอธิบาย มีแต่การ
ขยายความให้ เห็ น วิธีการปฏิบั ติ ดังข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงบั ญ ญั ติ
สิกขาบทมิให้ภิกษุถ่ายอุจจาระปัสสาวะบ้วนน้าลายลงในน้าว่า
“น อุ ท เก อคิ ล าโน อุ จฺ จ าร วา ปสฺ ส าว วา เขฬ วา กริ สฺ ส ามี ’ติ
สิกฺขา กรณียา” ๑๐๙ แปลว่า “ภิกษุพึงทาความสาเหนียกว่า เราไม่เป็นไข้
จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้าลายลงในน้า” ๑๑๐

๑๐๔
วิ.ภิกฺขุนี.อ. (บาลี) ๒/๑๔๙/๓๒๑, กงฺขา.อ. (บาลี) ๓๙๑.
๑๐๕
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๖๔๔/๔๑๘.
๑๐๖
วิ.มหา. (ไทย) ๒/๖๔๔/๗๒๓.
๑๐๗
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๖๔๔/๔๑๘.
๑๐๘
วิ.มหา. (ไทย) ๒/๖๔๔/๗๒๓.
๑๐๙
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๖๕๔/๔๒๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๓๕

สิกขาบทนี้บทพยัญชนะชัดเจนแล้ว แต่อาจจะมีการไม่เข้าใจแนว
ทางการปฏิ บั ติ พระพุ ท ธองค์ จึ ง ทรงอธิ บ ายว่ า “น อุ ท เก อคิ ล าเนน
อุจฺจาโร วา ปสฺสาโว วา เขโฬ วา กาตพฺโพ . โย อนาทริย ปฏิจฺจ อุทเก
อคิลาโน อุจฺจาร วา ปสฺสาว วา เขฬ วา กโรติ, อาปตฺติ ทุกฺ กฏสฺส”๑๑๑
แปลว่า “ภิกษุไม่เป็นไข้ ไม่พึงถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้าลาย
ลงในน้า ภิกษุใดไม่เอื้อเฟื้อ ไม่เป็นไข้ ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วน
น้าลายลงในน้ า ต้ องอาบั ติ ทุ กกฏ ”๑๑๒ ไม่ เอื้ อเฟื้ อ คือ ไม่ส นใจว่ามี ข้ อ
สิกขาบทห้าม และเนื่องจากในตัวสิกขาบทไม่มีถ้อยคาที่ระบุถึงการปรับ
อาบัติ จึงมีการขยายความให้ทราบว่า ถ้าไม่สนใจที่จะปฏิบัติทาการล่วง
ละเมิดไปต้องอาบัติ
ในวินัยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์ในฝ่ายภิกษุณี มีการอธิบายในหลักษณะ
คาอธิบายตัวสิกขาบทที่เรียกว่า “สิกขาบทวิภังค์ ” นั้น คาที่เป็น
ภาษาบาลีในพระวินัยปิฎกไม่ปรากฏ ในพระไตรปิฎกภาษาไทย ได้นาคา
เรียกที่พระอรรถกถาจารย์ใช้ในอรรถกถามาตั้งเป็นหัวข้อ คือ นาคาที่ท่าน
กล่าวไว้ในวินัยอรรถกถา ดังนี้
อิทานิ สิกฺขาปทวิภงฺคสฺส อตฺถ วณฺณยิสฺสาม. ย วุตฺต “โย ปนาติ โย
ยาทิ โส ”ติอ าทิ . เอตฺ ถ โย ปนาติ วิภ ชิต พฺ พ ปท, “โย ยาทิโส ”ติอาที นิ

๑๑๐
วิ.มหา. (ไทย) ๒/๖๕๔/๗๓๔.
๑๑๑
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๖๕๔/๔๒๕.
๑๑๒
วิ.มหา. (ไทย) ๒/๖๕๔/๗๓๔.
๓๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ตสฺส วิภชนปทานิ.๑๑๓
แปลว่า “บัดนี้ ข้าพเจ้า(หมายถึงพระพุทธโฆสาจารย์) จักพรรณนา
เนื้อความแห่งสิกขาบทวิภังค์ ที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า โย ปนาติ โย
ยาทิโส เป็นต้น ในข้อความนี้ คาว่า โย ปน เป็นบทที่พึงจาแนกอธิบาย
คาว่า โย ยาทิโส เป็นต้น เป็นบทจาแนกอธิบายบทว่า โย ปน นั้น”
คาอธิบายตัวสิกขาบทที่เรียกว่า ปทภาชนีย์ นั้น คาที่เป็นภาษาบาลี
ไม่ปรากฏในพระวินัยปิฎก เช่นกัน พระไตรปิฎกภาษาไทยนาคาที่ท่านใช้
ในอรรถกถามาตั้งเป็นหัวข้อ คาที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถา คือ ข้อความ
ว่า
ปทภาชนี ย โอโลเกนฺ โตปิ “อกฺขยิเต สรีเร เมถุน ธมฺม ปฏิเสวติ,
อาปตฺติ ปาราชิกสฺส. เยภุยฺเยน ขยิเต สรีเร เมถุน ธมฺม ปฏิเสวติ, อาปตฺติ
ถุลฺลจฺจยสฺสา”ติอาทินา๑๑๔ นเยน สตฺตนฺน อาปตฺตีน อญฺ ตร อาปตฺตึ
ปสฺสติ, โส ปทภาชนียโต สุตฺต อาเนตฺวา ต อธิกรณ วูปสเมสฺสติ.๑๑๕
แปลว่า “พระวินัยธรแม้เมือ่ ตรวจดูปทภาชนีย์ ย่อมพบเห็นอาบัติ ๗
อย่างใดอย่างหนึ่ง ตามนัยเป็นต้นว่า ภิกษุเสพเมถุนในซากศพที่ยังไม่ถูก
สัตว์กัด ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุเสพเมถุนในซากศพที่ถูกสัตว์กัด โดยมาก
ต้องอาบัติถุลลัจจัย พระวินัยธรนั้น จักนาสูตร(หลักการ)จากปทภาชนีย์มา
ระงับอธิกรณ์ได้”

๑๑๓
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๘๑.
๑๑๔
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๙/๓๘.
๑๑๕
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๗๘.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๓๗

๓.๒ อรรถกถาในพระสุตตันตปิฎก
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโดยวิธีอุทเทส นิทเทส ปฏินิทเทส คือ
ทรงยกหั ว ข้ อ ทรงอธิ บ ายแล้ ว ทรงสรุ ป นิ ท เทสนั้ น คื อ อธิ บ าย เมื่ อ
พระองค์แสดงจบแล้ว รูปแบบการแสดงธรรมวิธีนี้ เช่น พระธรรมเทศนาที่
พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ภิกษุทั้งหลาย ดังนี้
ทุ กฺ ข สฺ ส ภิ กฺ ข เว สมุ ท ยญฺ จ อตฺ ถ งฺค มญฺ จ เทเสสฺ ส ามิ , ต สุ ณ าถ,
สาธุ ก มนสิ ก โรถ, ภาสิ สฺ ส ามี ติ . “เอว ภนฺ เต”ติ โข เต ภิ กฺ ขู ภควโต
ปจฺจสฺโสสุ ภควา เอตทโวจ : กตโม จ ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส สมุทโย. จกฺขุญฺจ
ปฏิจฺจ รูเป จ อุปฺปชฺชติ จกฺขุวิญฺ าณ, ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส, ผสฺสปจฺจยา
เวทนา, เวทนาปจฺจยา ตณฺหา. อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส สมุทโย. โสตญฺจ
ปฏิจฺจ สทฺเท จ อุปฺปชฺชติ โสตวิญฺ าณ ฯเปฯ ฆานญฺจ ปฏิจฺจ คนฺเธ จ...
ชิวฺห ญฺ จ ปฏิ จฺจ รเส จ... กายญฺ จ ปฏิจฺจ โผฏฺ พฺ เพ จ... มนญฺ จ ปฏิจฺ จ
ธมฺเม จ อุปฺปชฺชติ มโนวิญฺ าณ, ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส, ผสฺสปจฺจยา เวทนา,
เวทนาปจฺจยา ตณฺหา. อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส สมุทโย.
กตโม จ ภิ กฺ ข เว ทุ กฺ ข สฺ ส อตฺ ถ งฺ ค โม. จกฺ ขุ ญฺ จ ปฏิ จฺ จ รู เ ป จ
อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ จกฺ ขุ วิ ญฺ าณ , ติ ณฺ ณ สงฺ ค ติ ผสฺ โ ส, ผสฺ ส ปจฺ จ ยา เวทนา,
เวทนาปจฺจยา ตณฺห า. ตสฺสาเยว ตณฺ หาย อเสสวิราคนิโรธา อุปาทาน-
นิโรโธ, อุปาทานนิโรธา ภวนิโรโธ, ภวนิโรธา ชาตินิโรโธ, ชาตินิโรธา ชรา
มรณ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา นิ รุชฺฌนฺติ ; เอวเมตสฺส เกวลสฺส
ทุกฺขกฺขนฺ ธสฺส นิ โรโธ โหติ. อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส อตฺถงฺคโม. โสตญฺ จ
ปฏิจฺจ สทฺเท จ อุปฺปชฺชติ โสตวิญฺ าณ ฯเปฯ ฆานญฺจ ปฏิจฺจ คนฺเธ จ ...
๓๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ชิวฺห ญฺ จ ปฏิจฺจ รเส จ ... กายญฺ จ ปฏิจฺจ โผฏฺ พฺเพ จ... มนญฺ จ ปฏิจฺจ
ธมฺเม จ อุปฺปชฺชติ มโนวิญฺ าณ, ติณฺณ สงฺคติ ผสฺโส, ผสฺสปจฺจยา เวทนา,
เวทนาปจฺจยา ตณฺห า. ตสฺสาเยว ตณฺ หาย อเสสวิราคนิโรธา อุปาทาน-
นิ โรโธ, อุ ป าทานนิ โ รธา ภวนิ โรโธ, ภวนิ โรธา ชาติ นิ โรโธ, ชาติ นิ โรธา
ชรามรณ โสกปริ เ ทวทุ กฺ ข โทมนสฺ สุ ป ายาสา นิ รุ ชฺ ฌ นฺ ติ : เอวเมตสฺ ส
เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหติ. อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส อตฺถงฺคโม๑๑๖
แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงความเกิดแห่งทุกข์ และ
ความดั บ แห่ งทุ ก ข์ เธอทั้ งหลายจงฟั ง จงใส่ ใจให้ ดี เราจั ก กล่ าว ภิ ก ษุ
เหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเรื่องนี้ว่า
ภิกษุทั้งหลาย ความเกิด แห่ งทุกข์ เป็น ไฉน คือ เพราะอาศัยตาและรูป
จักขุวิญญาณจึงเกิด ความประจวบแห่งธรรม ๓ ประการเป็นผัสสะ เพราะ
ผัสสะเป็ น ปั จจัย เวทนาจึ งเกิด เพราะเวทนาเป็ น ปั จ จัย ตั ณ หาจึงเกิ ด
ความเกิดแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้แล เพราะอาศัยหูและเสียง โสตวิญญาณ
จึงเกิด ฯลฯ เพราะอาศัยจมูกและกลิ่น ... เพราะอาศัยลิ้นและรส ...
เพราะอาศัยกายและสิ่งที่มาถูกต้อง ... เพราะอาศัยใจและธรรมารมณ์
มโนวิ ญ ญาณจึ งเกิ ด ความประจวบแห่ งธรรม ๓ ประการ เป็ น ผั ส สะ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงเกิด เพราะเวทนาเป็นปัจจัยตัณหาจึงเกิด
ความเกิดแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้แล
ความดั บ แห่ ง ทุ ก ข์ เป็ น ไฉน คื อ เพราะอาศั ย ตาและรู ป จั ก ขุ
วิญ ญาณจึงเกิด ความประจวบแห่งธรรม ๓ ประการเป็นผัสสะ เพราะ
ผัสสะเป็ น ปั จจัย เวทนาจึ งเกิด เพราะเวทนาเป็ น ปั จ จัย ตั ณ หาจึงเกิ ด

๑๑๖
ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๘๗.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๓๙

เพราะตัณหานั้นดับไปไม่เหลือด้วยวิราคะ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทาน


ดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้
มีได้ด้วยประการฉะนี้ ความดับ แห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้แล เพราะอาศัย หู
และเสียง โสตวิญญาณจึงเกิด ฯลฯ เพราะอาศัยจมูกและกลิ่น ... เพราะ
อาศัยลิ้นและรส ... เพราะอาศัยกายและสิ่งที่มาถูกต้อง ... เพราะอาศัย
มโนและธรรมารมณ์ มโนวิญ ญาณจึงเกิด ความประจวบแห่ งธรรม ๓
ประการเป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงเกิด เพราะเวทนาเป็น
ปัจจัย ตัณหาจึงเกิด เพราะตัณหานั้นดับไปไม่เหลือด้วยวิราคะ อุปาทาน
จึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะ
ชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงดับ ความ
ดับ แห่ งกองทุ กข์ ทั้ งมวลนี้ มี ได้ด้ ว ยประการฉะนี้ ดูก่ อนภิ กษุ ทั้ งหลาย
ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้แล”๑๑๗
อุทเทส คือ หัวข้อที่ทรงยกขึ้นแสดง
ทุ กฺ ข สฺ ส ภิ กฺ ข เว สมุ ท ยญฺ จ อตฺ ถ งฺค มญฺ จ เทเสสฺ ส ามิ , ต สุ ณ าถ,
สาธุก มนสิก โรถ, ภาสิ สฺสามิ ๑๑๘ แปลว่า “ดูก่ อนภิ กษุ ทั้งหลาย เราจั ก
แสดงความเกิดแห่งทุกข์ และความดับ แห่งทุกข์ เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่
ใจให้ดี เราจักกล่าว”

๑๑๗
ส.นิ. (ไทย) ๑๖/๔๓/๘๘-๘๙.
๑๑๘
ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๘๖.
๔๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

นิทเทส พระพุทธองค์ทรงนิทเทส คือ อธิบายแล้วทรงปฏินิทเทส


คือ ทรงสรุปเป็นช่วงๆ ดังนี้
กตโม จ ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส สมุทโย. จกฺขุญฺจ ปฏิจฺจ รูเป จ อุปฺปชฺชติ
จกฺขุวิญฺ าณ , ติณฺ ณ สงฺคติ ผสฺโส, ผสฺสปจฺจยา เวทนา, เวทนาปจฺจยา
ตณฺหา.๑๑๙ แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเกิดแห่งทุกข์ เป็นไฉน คือ
เพราะอาศัยตาและรูป จักขุวิญญาณจึงเกิด ความประจวบแห่งธรรม ๓
ประการเป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงเกิด เพราะเวทนาเป็น
ปัจจัย ตัณหาจึงเกิด”
ปฏินิทเทส เมื่อทรงขยายความแล้วทรงปฏินิทเทส คือ สรุปโดยทรง
นาถ้อยคาที่ทรงตั้งประเด็นข้างต้นมาเป็นบทสรุป ดังนี้
อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส สมุทโย๑๒๐ แปลว่า ความเกิดแห่งทุกข์ เป็น
อย่างนี้แล
เนื่ อ งจากความเกิ ด ขึ้ น แห่ ง ทุ ก ข์ เพราะอาศั ย อายตนะภายกั บ
อายตนะภายนอก ดังนั้ น เมื่อพระพุทธองค์ทรงนิทเทสและปฏินิท เทส
อายตนะภายในคือตากับอายตนะภายนอก คือรูปแล้วพระองค์ทรงนิทเทส
และปฏิ นิ ท เทสอายตนะอื่ น จนจบ แต่ท่ านแสดงข้ อความเป็น ประโยค
เปยยาล ดังนี้
โสตญฺ จ ปฏิ จฺจ สทฺ เท จ อุ ปฺ ป ชฺช ติ โสตวิญฺ าณ ฯเปฯ ฆานญฺ จ
ปฏิจฺจ คนฺเธ จ ... ชิวฺหญฺจ ปฏิจฺจ รเส จ ... กายญฺจ ปฏิจฺจ โผฏฺ พฺเพ จ ...
มนญฺ จ ปฏิ จฺ จ ธมฺ เม จ อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ มโนวิ ญฺ าณ , ติ ณฺ ณ สงฺค ติ ผสฺ โส,

๑๑๙
ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๘๖.
๑๒๐
ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๘๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๔๑

ผสฺ ส ปจฺ จ ยา เวทนา, เวทนาปจฺ จ ยา ตณฺ ห า. อย โข ภิ กฺ ข เว ทุ กฺ ข สฺ ส


สมุทโย๑๒๑
แปลว่า “เพราะอาศัยหูและเสียง โสตวิญญาณจึงเกิด ฯลฯ เพราะ
อาศัยจมูกและกลิ่น ... เพราะอาศัยลิ้นและรส ... เพราะอาศัยกายและ
สิ่งที่ มาถูกต้อง ... เพราะอาศั ยใจและธรรมารมณ์ มโนวิญ ญาณจึงเกิด
ความประจวบแห่งธรรม ๓ ประการ เป็นผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนาจึงเกิด เพราะเวทนาเป็นปัจจัยตัณหาจึงเกิด ความเกิดแห่งทุกข์
เป็นอย่างนี้แล”
เนื่องจากพระพุทธองค์ทรงอุทเทสทั้งความเกิดแห่งทุ กข์และความ
ดับแห่งทุกข์ ดังนั้น เมื่อพระองค์ทรงนิทเทสและปฏินิทเทสความเกิดแห่ง
ทุกข์แล้ว พระองค์จึงทรงนิทเทสและปฏินิทเทสความดับแห่งทุกข์ ดังนี้
นิทเทส
กตโม จ ภิ กฺ ข เว ทุ กฺ ข สฺ ส อตฺ ถ งฺ ค โม. จกฺ ขุ ญฺ จ ปฏิ จฺ จ รู เป จ
อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ จกฺ ขุ วิ ญฺ าณ , ติ ณฺ ณ สงฺ ค ติ ผสฺ โ ส, ผสฺ ส ปจฺ จ ยา เวทนา,
เวทนาปจฺจยา ตณฺห า. ตสฺสาเยว ตณฺ หาย อเสสวิราคนิโรธา อุปาทาน-
นิ โรโธ, อุ ป าทานนิ โ รธา ภวนิ โรโธ, ภวนิ โรธา ชาติ นิ โรโธ, ชาติ นิ โรธา
ชรามรณ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา นิรุชฺฌนฺติ; เอวเมตสฺส เกวลสฺส
ทุกฺขกฺขนฺธสฺส นิโรโธ โหติ.
แปลว่า “ความดับแห่ งทุกข์ เป็นไฉน คือ เพราะอาศัยตาและรู ป

๑๒๑
ส.นิ. (บาลี) ๑๖/๔๓/๘๖.
๔๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

จักขุวิญญาณจึงเกิด ความประจวบแห่งธรรม ๓ ประการเป็นผัสสะ เพราะ


ผัสสะเป็ น ปั จจัย เวทนาจึ งเกิด เพราะเวทนาเป็ น ปั จ จัย ตั ณ หาจึงเกิ ด
เพราะตัณหานั้นดับไปไม่เหลือด้วยวิราคะ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทาน
ดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจึ งดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ
ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้
มีได้ด้วยประการฉะนี้”
ปฏินิทเทส
อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส อตฺถงฺคโม แปลว่า “ความดับแห่งทุกข์ เป็น
อย่างนี้แล”
เมื่อพระพุ ทธองค์ทรงนิ ทเทสและปฏินิทเทสความดับทุ กข์ กรณี
อายตนะภายใน คื อ ตากั บ อายตนะภายนอก คื อ รูป แล้ ว พระองค์ ท รง
นิทเทสและปฏินิทเทสความดับทุกข์กรณีอายตนะอื่นจนจบ แต่ท่านแสดง
ข้อความเป็นประโยคเปยยาล ดังนี้
โสตญฺ จ ปฏิ จฺจ สทฺ เท จ อุ ปฺ ป ชฺช ติ โสตวิญฺ าณ ฯเปฯ ฆานญฺ จ
ปฏิจฺจ คนฺเธ จ... ชิวฺหญฺจ ปฏิจฺจ รเส จ... กายญฺจ ปฏิจฺจ โผฏฺ พฺเพ จ...
มนญฺ จ ปฏิ จฺ จ ธมฺ เม จ อุ ปฺ ป ชฺ ช ติ มโนวิ ญฺ าณ , ติ ณฺ ณ สงฺค ติ ผสฺ โส,
ผสฺสปจฺจยา เวทนา, เวทนาปจฺจยา ตณฺหา. ตสฺสาเยว ตณฺหาย อเสสวิราค
นิโรธา อุปาทานนิโรโธ, อุปาทานนิโรธา ภวนิโรโธ, ภวนิโรธา ชาตินิโรโธ,
ชาติ นิ โ รธา ชรามรณ โสกปริ เทวทุ กฺ ข โทมนสฺ สุ ป ายาสา นิ รุ ชฺ ฌ นฺ ติ :
เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺ ธสฺส นิโรโธ โหติ. อย โข ภิกฺขเว ทุกฺขสฺส
อตฺถงฺคโม
แปลว่า “เพราะอาศัยหูและเสียง โสตวิญญาณจึงเกิด ฯลฯ เพราะ
อาศัยจมูกและกลิ่น ... เพราะอาศัยลิ้นและรส ... เพราะอาศัยกายและสิ่ง
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๔๓

ที่มาถูกต้อง ... เพราะอาศั ยมโนและธรรมารมณ์ มโนวิญญาณจึงเกิด


ความประจวบแห่ งธรรม ๓ ประการเป็น ผัสสะ เพราะผัสสะเป็นปัจจัย
เวทนาจึงเกิด เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงเกิด เพราะตัณหานั้นดับ
ไปไม่เหลือด้วยวิราคะ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ
เพราะภพดับ ชาติจึงดับ เพราะชาติดับ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกข์
โทมนั ส และอุป ายาสจึ งดั บ ความดั บ แห่ งกองทุ ก ข์ทั้ งมวลนี้ มี ได้ ด้ วย
ประการฉะนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความดับแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้แล”๑๒๒
พระธรรมเทศนา ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโดยเวยยากรณะนั้น จะ
เป็น ลักษณะนี้ ตั้งแต่ป ฐมเทศนา คือ ธัม มจักกัป ปวตตนสูต ร คือ ทรง
อุทเทส นิทเทส และปฏินิทเทส
พระสังคีติกาจารย์ จะใช้คาว่า เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน เมื่อพระผู้
มี พ ระภาคตรั ส เวยยากรณ์ นี้ คื อ พระองค์ ท รงอธิ บ ายเนื้ อ ความให้
พิสดาร๑๒๓ พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า ไม่มีข้อความที่พระพุทธเจ้ามิได้
ทรงอธิบายไว้ พระองค์ตรัสอธิบายความไว้ทั้งหมด๑๒๔
การอธิบายหลักคาสอนที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎกนั้น พระพุทธ
องค์ทรงอธิบายเรื่องทั่วไปที่เป็นวิถีชีวิตของชาวบ้าน เช่น เรื่องที่พระองค์

๑๒๒
ส.นิ. (ไทย) ๑๖/๔๓/๘๘-๘๙.
๑๒๓
เวยฺยากรณสฺสาติ วิตถฺ าเรตฺวา อตฺถทีปกสฺส. ม.ม.อ. (บาลี) ๓/๗๓.
๑๒๔
ภควตา หิ อพฺยากต นาม ตนฺ ติปท นตฺ ถิ, สพฺเพสเยว อตฺโถ กถิโต. ม.ม.อ.
(บาลี) ๓/๗๓.
๔๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ทรงอธิบายความสุข ๔ ประการของคฤหั สถ์ให้อนาถบิณ ฑิ กเศรษฐีฟั ง


ดังนี้
อถ โข อนาถปิ ณฺ ฑิ โ ก คหปติ เยน ภควา เตนุ ป สงฺ ก มิ ,
อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺต อภิวาเทตฺวา เอกมนฺต นิสีทิ, เอกมนฺต นิสินฺน
โข อนาถปิณฺฑิก คหปตึ ภควา เอตทโวจ :
“จตฺ ต าริม านิ คหปติ สุข านิ อธิค มนี ยานิ คิ หิ น า กามโภคิ น า
กาเลน กาล สมเยน สมย อุ ป าทาย . กตมานิ จตฺ ต าริ. อตฺ ถิ สุ ข
โภคสุข อานณฺยสุข อนวชฺชสุข.
พระพุทธองค์ได้ทรงอธิบายความสุขของคฤหัสถ์ ๔ ประการ แต่ละ
ประการ ดังนี้
กตมญฺจ คหปติ อตฺถิสุข. อิธ คหปติ กุลปุตฺตสฺส โภคา โหนฺติ
อุฏฺฐานวีริยาธิคตา พาหาพลปริจิตา เสทาวกฺขิตฺตา ธมฺมิกา ธมฺมลทฺธา
โส “โภคา เม อตฺถิ อุฏฐฺ านวีริยาธิคตา พาหาพลปริจิตา เสทาวกฺขิตฺตา
ธมฺมิกา ธมฺมลทฺธา”ติ อธิคจฺฉติ สุข, อธิคจฺฉติ โสมนสฺส. อิท วุจฺจติ
คหปติ อตฺถิสุข.
พระพุทธเจ้าทรงอธิบายถ้อยคาของพระองค์เรื่องสุขของคฤหัสถ์
(ตอน ๓)
กตมญฺจ คหปติ โภคสุข. อิธ คหปติ กุลปุตฺโต อุฏฺฐานวีริยาธิคเตหิ
โภเคหิ พาหาพลปริจิเตหิ เสทาวกฺขิตฺเตหิ ธมฺมิเกหิ ธมฺมลทฺเธหิ โภเค
จ ปริภุญฺ ชติ, ปุญฺ ญ านิ จ กโรติ, โส “อุฏฺฐ านวีริยาธิคเตหิ โภเคหิ
พาหาพลปริจิ เตหิ เสทาวกฺ ขิ ตฺ เตหิ ธมฺ มิ เกหิ ธมฺ ม ลทฺ เธหิ โภเค จ
ภุญฺชามิ, ปุญฺญานิ จ กโรมี”ติ อธิคจฺฉติ สุข, อธิคจฺฉติ โสมนสฺส. อิท
วุจฺจติ คหปติ โภคสุข.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๔๕

แปลว่า
โภคสุ ข เป็ น อย่ างไร คื อ กุ ล บุ ต รในโลกนี้ ใช้ ส อยโภคทรัพ ย์ แ ละ
ทาบุญ ด้วยโภคทรัพย์ที่ห ามาได้ด้ว ยความหมั่นเพียร เก็บรวบรวมด้วย
น้าพักน้ าแรง อาบเหงื่อต่างน้า ประกอบด้วยธรรม ได้มาโดยธรรม เขา
ได้รับสุขโสมนัสว่า “เราใช้สอยโภคทรัพย์และทาบุญด้วยโภคทรัพย์ที่หามา
ได้ด้วยความขยันหมั่นเพียร เก็บรวบรวมด้วยน้าพักน้าแรง อาบเหงื่อต่าง
น้า ประกอบด้วยธรรม ได้มาโดยธรรม” นี้เรียกว่า โภคสุข
พระพุทธเจ้าทรงอธิบายถ้อยคาของพระองค์เรื่องสุขของคฤหัสถ์
(ตอน ๔)
กตมญฺ จ คหปติ อานณฺ ยสุข. อิธ คหปติ กุลปุตฺโต น กสฺสจิ
กิญฺจิ ธาเรติ อปฺปํ วา พหุ วา, โส “น กสฺสจิ กิญฺจิ ธาเรมิ อปฺปํ
วา พหุ วา”ติ อธิคจฺฉติ สุข, อธิคจฺฉติ โสมนสฺส. อิท วุจฺจติ คหปติ
อานณฺยสุข.
แปลว่า “อานัณยสุข เป็นอย่างไร คือ กุลบุตรในโลกนี้ไม่เป็นหนี้ใคร
ไม่ว่าจะน้อยหรือมากก็ตาม เขาได้รับสุข โสมนัสว่า “เราไม่เป็นหนี้ใคร ไม่
ว่าจะน้อยหรือมาก” นี้เรียกว่า อานัณยสุข”
กตมญฺจ คหปติ อนวชฺชสุข. อิธ คหปติ อริยสาวโก อนวชฺเชน
กายกมฺเมน สมนฺนา คโต โหติ, อนวชฺเชน วจีกมฺเมน สมนฺนาคโต โหติ,
อนวชฺเชน มโนกมฺเมน สมนฺนาคโต โหติ. โส “อนวชฺเชนมฺหิ กายกมฺเมน
สมนฺนาคโต อนวชฺเชน วจีกมฺเมน สมนฺนาคโต อนวชฺเชน มโนกมฺเมน
๔๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

สมนฺนาคโต”ติ อธิคจฺฉติ สุข, อธิคจฺฉติ โสมนสฺส. อิท วุจฺจติ คหปติ


อนวชฺชสุข.
แปลว่ า “อนวั ช ชสุ ข เป็ น อย่ า งไร คื อ อริย สาวกในธรรมวิ นั ย นี้
ประกอบด้วยกายกรรมที่ไม่มีโทษ วจีกรรมที่ไม่มีโทษ และมโนกรรมที่ไม่มี
โทษ เขาได้ รั บ สุ ข โสมนั ส ว่ า “เราประกอบด้ ว ยกายกรรม ที่ ไม่ มี โทษ
วจีกรรมที่ไม่มีโทษ มโนกรรมที่ไม่มีโทษ” นี้เรียกว่า อนวัชชสุข”
อิมานิ โข คหปติ จตฺตาริ สุขานิ อธิคมนียานิ คิหินา กามโภคินา
กาเลน กาล สมเยน สมย อุปาทายา”ติ.

๓.๓ อรรถกถาในพระอภิธรรมปิฎก
บทอุททเทสในพระสูตรกับบทนิทเทสในพระอภิธรรม
บทอุทเทส คือ หัวข้อที่ยกขึ้นแสดง ในพระสูตรนั้น ที่พระพุทธเจ้า
ทรงยกขึ้น แสดงแล้วพระสาวกรวบรวมไว้ บางแห่งท่านรวบรวมเฉพาะ
หัวข้อธรรมไม่มีคานิทเทส เช่น ข้อความเรื่องบุคคล ๔ ในอังคุตตร นิกาย
จตุกกนิบาต ดังนี้
จตฺ ต าโรเม ภิ กฺ ข เว ปุ คฺ ค ลา สนฺ โ ต ส วิ ชฺ ช มานา โลกสฺ มึ . กตเม
จตฺตาโร. อุคฺฆฏิตญฺญู วิปจิตญฺญูเนยฺโย ปทปรโม. อิเม โข ภิกฺขเว จตฺตาโร
ปุคฺคลา สนฺโต สวิชฺชมานา โลกสฺมึ.๑๒๕
แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๔ นี้มีปรากฏอยู่ในโลก บุคคล
๔ คือ (๑) อุคฆฏิตัญญูบุคคล (๒) วิปจิตัญญูบุคคล (๓) เนยยบุคคล (๔)
ปทปรมบุคคล ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๔ นี้แล มีปรากฏอยู่ในโลก”

๑๒๕
องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๘๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๔๗

ข้ อ ความอย่ า งนี้ เมื่ อ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาถื อ ว่ า ได้ ศึ ก ษาสุ ต ตะ ไม่ พึ ง


อธิบายด้วยอัตโนมัติ คื อ ความเห็นส่วนตน พึงค้นคว้าหาสุตตานุโลม คือ
ข้อความในพระไตรปิฎก เมื่อค้นคว้าก็จะได้พบข้อความในคัมภีร์อภิธรรม
ปิฎก ดังนี้
อุคฺฆฏิตญฺญู, วิปญฺจิตญฺญู, เนยฺโย, ปทปรโม.๑๒๖ แปลว่า “บุคคล ๔
ประเภท คือ (๑) อุคฆฏิตัญฺญูบุคคล (๒) วิปัญจิตัญญู (วิปจิตัญญู) บุคคล
(๓) เนยยบุคคล (๔) ปทปรมบุคคล”
ข้อความนี้เป็นบทอุทเทส (คือหัวข้อ) ในอภิธรรมปิฎกนั้น เมื่อแสดง
บทอุ ท เทสในตอนต้ น แล้ ว ต้ อ งมี บ ทนิ ท เทสนิ ท เทส คื อ อธิ บ าย ไว้ ใ น
ตอนท้าย เมื่อตรวจสอบก็พบข้อความ ซึ่งท่านได้อธิบายไว้ในตอนท้ายห่าง
กันถึง ๕๓ หน้ากระดาษ ดังนี้
กตโม จ ปุคฺคโล อุคฺฆฏิ ตญฺญู. ยสฺส ปุคฺคลสฺส สห อุทาหฏเวลาย
ธมฺมาภิสมโย โหติ. อย วุจฺจติ ปุคฺคโล อุคฺฆฏิตญฺญู.
กตโม จ ปุคฺคโล วิปญฺจิตญฺญู. ยสฺส ปุคฺคลสฺส สงฺขิตฺเตน ภาสิตสฺส
วิ ตฺ ถ าเรน อตฺ เถ วิ ภ ชิ ย มาเน ธมฺ ม าภิ ส มโย โหติ . อย วุ จฺ จ ติ ปุ คฺ ค โล
วิปญฺจิตญฺญู.
กตโม จ ปุ คฺ ค โล เนยฺ โ ย. ยสฺ ส ปุ คฺ ค ลสฺ ส อุ ทฺ เทสโต ปริ ปุ จฺ ฉ โต
โยนิ โ ส มนสิ ก โรโต กลฺ ย าณมิ ตฺ เ ต เสวโต ภชโต ปยิ รุ ป าสโต เอว
อนุปุพฺเพน ธมฺมาภิสมโย โหติ. อย วุจฺจติ ปุคฺคโล เนยฺโย.

๑๒๖
อภิ.ปุ. (บาลี) ๓๖/๑๓๔.
๔๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

กตโม จ ปุคฺคโล ปทปรโม. ยสฺส ปุคฺคลสฺส พหุมฺปิ สุณโต พหุมฺปิ


ภณโต พหุมฺปิ ธารยโต พหุมฺปิ วาจยโต น ตาย ชาติยา ธมฺมาภิสมโย โหติ.
อย วุจฺจติ ปุคฺคโล ปทปรโม.๑๒๗
แปลว่า “บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า อุคฆฏิตัญญู คือ บุคคลใด พอท่าน
ยกหัวข้อขึ้นแสดงก็ย่อมบรรลุธรรมได้ บุคคลนี้ เรียกว่า อุคฆฏิตัญญู
บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า วิปัญจิตัญญู คือ บุคคลใด พอท่านอธิบาย
เนื้อความที่ท่านแสดงไว้โดยย่อให้พิสดาร บุคคลนี้ เรียกว่า วิปัญจิตัญญู
บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า เนยยะ คือ บุคคลใด เมื่อทบทวนหัวข้อ หรือ
ให้ท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงสอบถามข้ออธิบาย ทบทวนในใจโดยแยบคาย
คบหาอยู่ใกล้ชิดกัลยาณมิตร จึงจะบรรลุธรรมได้ ดังที่กล่าวมาตามลาดับ
บุคคลนี้ เรียกว่า เนยยะ
บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า ปทปรมะ คือ บุคคลใด แม้เล่าเรียนมาก พูด
มากทรงจาได้มาก สอนคนอื่นได้มาก แต่ไม่บรรลุธรรมในชาตินั้น บุคคลนี้
เรียกว่า ปทปรมะ”
การแสดงธรรมโดยยกบทอุ ท เทสแล้ ว นิ ท เทส คื อ อธิ บ ายนั้ น
พระพุทธเจ้าทรงยกหัวข้อแล้วทรงอธิบายพอสังเขป ทั้งบทอุทเทสและบท
นิทเทส พิจารณาแล้วสามารถจัดเป็นสุตตะ คือ หัวข้อ ซึ่งต้องนาข้อความ
ที่เป็นสุตตานุโลมมาขยายความเพิ่ม คือ สุตตะนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดง
ธรรมสั ง เขปตามอั ธ ยาศั ย ของผู้ ฟั ง ส่ ว นสุ ต ตานุ โลมที่ ส ามารถน ามา
ประกอบการอธิบ ายนั้ น พระพุ ท ธเจ้ าทรงแสดงธรรมโดยพิ สดารตาม

๑๒๗
อภิ.ปุ. (บาลี) ๓๖/๑๘๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๔๙

อัธยาศัยของผู้ฟังเช่นกัน ข้อความที่เป็นสุตตะ เช่น ข้อความในธัมมจักกป


ปวัตตนสูตร คือ ข้อความว่า
“อิ ท โข ปน ภิ กฺ ข เว ทุ กฺ ข อริ ย สจฺ จ . ชาติ ปิ ทุ กฺ ข า, ชราปิ
ทุ กฺ ข า, พฺ ย าธิ ปิ ทุ กฺ โ ข, มรณมฺ ปิ ทุ กฺ ข , อปฺ ปิ เยหิ สมฺ ป โยโค ทุ กฺ โ ข,
ปิ เ ยหิ วิ ปฺ ป โยโค ทุ กฺ โ ข, ยมฺ ปิ จฺ ฉ น ลภติ ต ปิ ทุ กฺ ข , สงฺ ขิ ตฺ เ ตน -
ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา”๑๒๘
แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นทุกขอริยสัจ คือ แม้ความ
เกิดก็เป็นทุกข์ แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์ แม้ความเจ็บก็เป็นทุกข์ แม้ความ
ตายก็เป็นทุกข์ ความประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รั กก็เป็นทุกข์ ความพลัด
พรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความไม่ได้สิ่งที่ปรารถนาก็เป็นทุกข์
โดยย่นย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ ก็เป็นทุกข์” ๑๒๙
ข้อความภาษาบาลีและภาษาไทย จัดเป็นสุตตะ ซึ่งเป็นข้อความใน
พระไตรปิฎก ถือว่า เป็นหัวข้อ ดังเช่น หัวข้องานวิจัย เมื่อตั้งหัวข้ อแล้ว
ต้องแสวงหาเอกสารสนับสนุน ภาษาในคัมภีร์เรียกว่า สุตตานุโลม ซึ่งใน
ที่นี้ คือ ข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงอธิบายเรื่องทุกข์ ซึ่งปรากฏในที่อื่น
ได้แก่ ข้อความที่พระพุทธองค์ทรงอธิบายขยายความธัมมานุปัสสนาใน
มหาสติปัฏฐานสูตร ซึ่งพระองค์ทรงยกอริยสัจขึ้นเป็นบทนิทเทสก่อนดังนี้

๑๒๘
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๓๐/๔๕๙.
๑๒๙
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๐, ส.ม.(ไทย) ๑๙/๑๐๘๑.
๕๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

“ปุน จปร ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ จตูสุ อริยสจฺเจ


สุ. กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ จตูสุ อริยสจฺเจสุ. อิธ
ภิกฺขเว ภิกฺขุ อิท ทุกฺขนฺติ ยถาภูต ปชานาติ , อย ทุกฺขสมุทโยติ ยถาภูต
ปชานาติ , อย ทุ กฺ ข นิ โ รโธติ ยถาภู ต ปชานาติ , อย ทุ กฺ ข นิ โรธคามิ นี
ปฏิปทาติ ยถาภูต ปชานาติ”
แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็น
ธรรมในธรรมทั้งหลาย คือ อริยสัจ ๔ อยู่ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรม
ทั้งหลาย คือ อริยสัจ ๔ อยู่ อย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้ชัด ตาม
ความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขสมุทัย ชัดตาม
ความเป็นจริงว่า นี้ทุกขนิโรธ รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกขนิโรธคามินี
ปฏิปทา”๑๓๐
ข้อ ความนี้ เป็ น บทอุ ท เทส ที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงยกขึ้น แสดงเป็ น
หัวข้อแล้วทรงอธิบายขยายความในตอนต่อไป
ศึกษาคาอธิบ ายอริยสัจในธัมมจักกัปปวัต ตนสูต รแบบสุต ตะกั บ
สุตตานุโลม (ตอน ๑๐)
ศึ ก ษาหลั ก การสุ ต ตะกั บ สุ ต ตานุ โ ลม คื อ หั ว ข้ อ กั บ ข้ อ ความ
สนับสนุน ข้อความที่เป็นสุตตะ ในธัมมจักกปปวัตตนสูตร คือ ข้อความว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นทุกขอริยสัจ คือ ชาติปิ ทกฺขา : แม้
ความเกิดก็เป็นทุกข์ แม้ความแก่ก็เป็นทุกข์ แม้ ความเจ็บก็เป็นทุกข์ แม้
ความตายก็เป็นทุกข์ ความประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความ

๑๓๐
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๘๖/๓๒๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๕๑

พลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ความไม่ได้สิ่งที่ปรารถนาก็เป็น
ทุกข์ โดยย่นย่ออุปาทานขันธ์ ๕ ก็เป็นทุกข์”๑๓๑
ข้อความที่เป็ น สุตตานุโลม ช่วยขยายความสุต ตะ คือ ข้อความที่
พระพุทธองค์ทรงอธิบายขยายความธัมมานุปัสสนาในมหาสติปัฏฐานสูตร
ซึ่งพระองค์ทรงขยายความเหมือนที่ทรงขยายความในธัมมจักกัปปวัตตน
สูตรก่อนแล้วทรงขยายความอีกทอดหนึ่ง ตั้งแต่ทุกขอริยสัจไป ดังนี้
“ทุ ก ขอริ ย สั จ เป็ น อย่ างไร คื อ ชาติ (ความเกิ ด ) เป็ น ทุ ก ข์ ชรา
(ความแก่) เป็ น ทุ ก ข์ มรณะ (ความตาย) เป็ น ทุ กข์ โสกะ (ความโศก)
ปริเทวะ (ความคร่าครวญ) ทุกข์ (ความทุกข์กาย) โทมนัส (ความทุกข์ใจ)
อุปายาส (ความคับแค้นใจ) เป็นทุกข์ การประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่
รักเป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากอารมณ์อันเป็นที่รักเป็นทุกข์ การไม่ได้
สิ่งที่ต้องการเป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ การไม่ได้สิ่งที่
ต้องการเป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์”
ข้อความข้างต้นทรงอธิบายเหมือนในธัมมจักกัปปวัต ตนสูตร ต่อ
จากนี้ พระองค์ทรงอธิบายขยายความต่อทุกขอริยสัจแต่ละข้อ ดังนี้
“ชาติ เป็ น อย่างไร คื อ ความเกิ ด ความเกิด พร้ อม ความหยั่งลง
ความบังเกิด ความบังเกิดเฉพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะ
ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ ภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ชาติ”๑๓๒

๑๓๑
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๐.
๑๓๒
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๗-๓๘๘/๓๒๕.
๕๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ในมหาสติปัฏฐานสูตร พระพุทธองค์ ทรงขยายความอย่างละเอียด


คือ ถ้อยคาที่ปรากฏในอริยสัจ ๔ ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แต่ละบท ทรง
อธิบายขยายความทุกบท
ศึ ก ษาหลั ก การสุ ต ตะกั บ สุ ต ตานุ โ ลม คื อ หั ว ข้ อ กั บ ข้ อ ความ
สนับสนุน ข้อความที่เป็นสุตตะ ในธัมมจักกปปวัตตนสูตร คือ ข้อความว่า
“ชราปิ ทุกฺขา : แม้ความแก่ ก็เป็ นทุกข์ พฺยาธีปิ ทุกฺขา : แม้ความเจ็บก็
เป็นทุกข์ มรณมฺปิ ทุกฺข แม้ความตายก็เป็นทุกข์”
ข้อความที่เป็นสุตตานุโลม ขยายความสุตตะ คือ ข้อความที่พระ
พุทธองค์ทรงอธิบายขยายความทุกขอริยสัจในธัมมานุปัสสนาแห่งมหาสติ
ปัฏฐานสูตร ต่อ ดังนี้
“ชรา เป็ น อย่ างไร คื อ ความแก่ ความคร่ าคร่ า ความมี ฟั น หลุ ด
ความมีผมหงอก ความมีหนังเหี่ยวย่น ความเสื่อมอายุ ความแก่หง่อมแห่ง
อิ น ทรี ย์ ในหมู่ สั ต ว์นั้ น ๆ ของเหล่ าสั ต ว์ นั้ น ๆ ดู ก่ อ นภิ ก ษุ ทั้ งหลาย นี้
เรียกว่า ชรา
มรณะ เป็นอย่างไร คือ ความจุติ ความเคลื่อนไป ความทาลายไป
ความหายไป ความตาย กล่าวคือมฤตยู การทากาละ ความแตกแห่งขันธ์
ความทอดทิ้งร่างกาย ความ ขาดสูญแห่งชีวิตินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของ
เหล่าสัตว์นั้นๆ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า มรณะ
โสกะ เป็นอย่างไร คือ ความเศร้าโศก กิริยาที่เศร้าโศก ภาวะที่เศร้า
โศก ความแห้ งผากภายใน ความแห้งกรอบภายใน ของผู้ประกอบด้วย
ความเสื่อมอย่างใดอย่างหนึ่ง (หรือ) ผู้ที่ถูกเหตุแห่งทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่ง
กระทบ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า โสกะ
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๕๓

ปริเทวะ เป็ น อย่างไร คื อ ความร้องไห้ ความคร่าครวญ กิริยาที่


ร้ อ งไห้ กิ ริ ย าที่ ค ร่ าครวญ ภาวะที่ ร้ อ งไห้ ภาวะที่ ค ร่ าครวญ ของผู้
ประกอบด้ว ยความเสื่อมอย่างใดอย่างหนึ่ ง (หรือ ) ผู้ที่ ถูกเหตุแห่งทุ กข์
อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ปริเทวะ
ทุกข์ เป็นอย่างไร คือ ความทุกข์ทางกาย ความไม่สาราญทางกาย
ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ สาราญ เป็นทุกข์ อันเกิดจากกายสั มผัส ดูก่อน
ภิกษุทงั้ หลาย นี้เรียกว่า ทุกข์
โทมนัส เป็นอย่างไร คือ ความทุกข์ทางใจ ความไม่สาราญทางใจ
ความเสวยอารมณ์ที่ไม่สาราญเป็นทุกข์อันเกิดจากมโนสัมผัส ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย นี้เรียกว่า โทมนัส
อุปายาส เป็นอย่างไร คือ ความแค้น ความคับแค้น ภาวะที่แค้น
ภาวะที่คบั แค้น ของผู้ประกอบ ด้วยความเสื่อมอย่างใดอย่างหนึ่ง(หรือ)ผู้ที่
ถูกเหตุแห่งทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า
อุปายาส
การประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักเป็นทุกข์ เป็นอย่างไร คือ การ
ไปร่วม การมาร่วม การประชุมร่วม การอยู่ร่วมกับอารมณ์ อันไม่ เป็นที่
ปรารถนา ไม่เป็นที่รักใคร่ ไม่เป็นที่ชอบใจของเขาในโลกนี้ เช่น รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ หรือจากบุคคลผู้ปรารถนาแต่สิ่งที่ไม่ใช่
ประโยชน์ ปรารถนาแต่ สิ่ ง ที่ ไ ม่ เ กื้ อ กู ล ปรารถนาแต่ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ผ าสุ ก
ปรารถนาแต่สิ่งที่ไม่มีความเกษม จากโยคะของเขา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้
เรียกว่า การประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักเป็นทุก
๕๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

การพลัดพรากจากอารมณ์ อันเป็น ที่รักเป็นทุกข์ เป็นอย่างไร คือ


การไม่ไปร่วม การไม่มาร่วม การไม่ประชุมร่วม การไม่อยู่ร่วมกับอารมณ์
อันเป็นที่ปรารถนา เป็นที่รักใคร่ เป็นที่ชอบใจของเขาในโลกนี้ เช่น รูป
เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ หรือกับบุคคลผู้ปรารถนาประโยชน์
ปรารถนาความ เกื้อกูล ปรารถนาความผาสุก ปรารถนาความเกษมจาก
โยคะของเขา เช่ น มารดา บิ ด า พี่ ช าย น้ อ งชาย พี่ สาว น้ อ งสาว มิ ต ร
อามาตย์หรือญาติสาโลหิต ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า การพลัดพราก
จากอารมณ์อันเป็นที่รักเป็นทุกข์
การไม่ได้สิ่งที่ต้องการเป็นทุกข์ เป็นอย่างไร คือ เหล่าสัตว์ผู้มีความ
เกิดเป็นธรรมดา เกิดความปรารถนาขึน้ อย่างนี้วา่ “ไฉนหนอ ขอเราอย่าได้
มีความเกิดเป็นธรรมดา หรือขอความเกิดอย่าได้มาถึง เราเลย” ข้อนี้ไม่พึง
สาเร็จได้ตามความปรารถนา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า การไม่ได้สิ่งที่
ต้องการเป็นทุกข์
เหล่าสัตว์ผู้มีความแก่เป็นธรรมดา ฯลฯ เหล่าสัตว์ผู้มีความเจ็บเป็น
ธรรมดา ฯลฯ เหล่าสัตว์ผู้มีความตายเป็นธรรมดา ฯลฯ เหล่าสัตว์ผู้มีความ
โศก ความคร่าครวญ ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจและความคั บแค้นใจ
เป็น ธรรมดา ต่างก็เกิด ความปรารถนาขึ้น อย่างนี้ว่า “ไฉนหนอ ขอเรา
อย่าได้เป็น ผู้มีความโศก ความคร่าครวญ ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ
และความคับแค้นใจเป็นธรรมดาเลย และขอความโศก ความคร่าครวญ
ความ ทุกข์กาย ความทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อย่าได้มาถึงเราเลย ”
ข้อนี้ไม่พึง สาเร็จได้ตามความปรารถนา ดูก่อนภิ กษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า
การไม่ได้สิ่งที่ต้องการเป็นทุกข์
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๕๕

โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นอย่างไร คือ รูปูปาทานขันธ์


(อุปาทานขันธ์คือรูป ) เวทนูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือเวทนา ) สัญ ญู
ปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือสัญญา) สังขารูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์
คือสังขาร) วิญญาณูปาทานขันธ์ (อุปาทานขันธ์คือวิญญาณ )ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย เหล่านี้เรียกว่า โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย นี้เรียกว่า ทุกขอริยสัจ” ๑๓๓
ในมหาสติปัฏฐานสูต ร พระพุทธองค์ทรงขยายความทุกขอริยสัจ
อย่างละเอียด คือ ถ้อยคาที่ปรากฏในอริยสัจ ๔ ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
แต่ละบท ทรงอธิบายขยายความในธัมมานุ ปัสสนาแห่งมหาสติปัฏฐาน
สูตรทุกบท
ศึ ก ษาหลั ก การสุ ต ตะกั บ สุ ต ตานุ โ ลม คื อ หั ว ข้ อ กั บ ข้ อ ความ
สนั บ สนุ น ข้อ ความที่ เป็ น สุ ต ตะในธัม มจั กกปปวัต ตนสูต ร ทุ กขสมุท ย
อริยสัจ คือ ข้อความว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นทุกขสมุทยอริยสัจ คือ ตัณหาอันทา
ให้ เกิด อี ก ประกอบด้ ว ยความเพลิด เพลิ น และความก าหนั ด มีป กติ ให้
เพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา” ๑๓๔

๑๓๓
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๙-๓๙๙/๓๒๕-๓๒๘.
๑๓๔
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๐.
๕๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ข้อความที่เป็นสุตตานุโลม ขยายความสุตตะ คือ ข้อความที่พระ


พุทธองค์ทรงอธิบายขยายความทุกขสมุทัยอริยสัจในธัมมานุปัส สนาแห่ง
มหาสติปัฏฐานสูตร ดังนี้
ทุกขสมุทยอริยสัจ เป็นอย่างไร คือ ตัณหานี้เป็นเหตุเกิดขึ้นในภพ
ใหม่ สหรคตด้วยความกาหนัดยินดี เป็นเหตุ เพลิดเพลินในอารมณ์นั้น ๆ
คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา
ก็ตัณหานี้แหละเมื่อเกิดขึ้น เกิดที่ไหน เมื่อตั้งอยู่ ตั้งอยู่ที่ไหน คือ
ปิยรูปสาตรูปใดมีอยู่ในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่ปิยรูปสาตรูปนี้ เมื่อ
ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่ปิยรูปสาตรูปนี้
อะไรเป็น ปิ ยรูป สาตรูป ในโลก คื อ จั กขุเป็ น ปิ ยรูปสาตรูป ในโลก
ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่จักขุนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่จักขุนี้ โสตะเป็นปิยรูป
สาตรูปในโลก ฯลฯ ฆานะเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ชิวหาเป็นปิยรูป
สาตรูปในโลก ฯลฯ กายเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ มโนเป็นปิยรูปสาต
รูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่มโนนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่มโนนี้
รูปเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่รูปนี้ เมื่อตั้งอยู่
ก็ตั้งอยู่ ที่รูปนี้ เสียงเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ กลิ่นเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ฯลฯ รสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพะเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ฯลฯ ธรรมารมณ์เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่
ธรรมารมณ์นี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ ที่ธรรมารมณ์นี้
จักขุวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่จักขุ
วิญญาณนี้ เมื่อตั้งอยู่ก็ตั้งอยู่ที่จักขุวิญญาณนี้ โสตวิญญาณเป็นปิยรูปสาต
รูปในโลก ฯลฯ ฆานวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ชิวหาวิญญาณ
เป็นปิยรูปสาตรูป ในโลก ฯลฯ กายวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๕๗

มโนวิ ญ ญาณเป็ น ปิ ย รู ป สาตรู ป ในโลก ตั ณ หานี้ เมื่ อ เกิ ด ก็ เกิ ด ที่ ม โน


วิญญาณนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ ที่มโนวิญญาณนี้
จักขุสัมผัสเป็น ปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณ หานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่จัก ขุ
สัมผัสนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่จักขุสัมผัสนี้ โสตสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ฯลฯ ฆานสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ชิวหาสัมผัสเป็นปิยรูป
สาตรูปในโลก ฯลฯ กายสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ มโนสัมผัส
เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่มโนสัมผัสนี้ เมื่อตั้งอยู่
ก็ตั้งอยู่ที่มโนสัมผัสนี้
เวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อ
เกิด ก็เกิดที่ เวทนาซึ่งเกิดจากจักขุสัมผัสนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่เวทนาซึ่ง
เกิดจากจักขุสัมผัสนี้ เวทนาที่เกิดจากโสตสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก
ฯลฯ เวทนาที่เกิดจากฆานสัมผัสเป็น ปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ เวทนาที่
เกิดจากชิวหาสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูป ในโลก ฯลฯ เวทนาที่เกิดจากกาย
สัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ เวทนาที่เกิดจากมโนสัมผัสเป็นปิยรูป
สาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่เวทนาซึ่งเกิดจากมโนสัมผัสนี้ เมื่อ
ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่เวทนาซึ่งเกิดจากมโนสัมผัสนี้
รู ป สั ญ ญา (ความก าหนดหมายรู้ รู ป ) เป็ น ปิ ย รู ป สาตรู ป ในโลก
ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่รูปสัญญานี้ เมื่อตั้งอยู่ก็ตั้งอยู่ที่รูปสัญญานี้ สัทท
สัญญาเป็นปิยรูปสาตรูป ในโลก ฯลฯ คันธสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก
ฯลฯ รสสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพสัญญาเป็นปิยรูป
๕๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

สาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด


ก็เกิดที่ธัมมสัญญานี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่ธัมมสัญญานี้
รูปสัญเจตนา (ความจานงในรูป) เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้
เมื่อเกิด ก็เกิดที่รูปสัญเจตนานี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่รูปสัญเจตนานี้ สัทท
สัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ คันธสัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ฯลฯ รสสั ญ เจตนา เป็ น ปิ ย รู ป สาตรู ป ในโลก ฯลฯ โผฏฐั พ พ
สัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมสัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่ธัมมสัญเจตนานี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่ธัมม-
สัญเจตนานี้
รูปตัณหา(ความอยากได้รูป)เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อ
เกิด ก็เกิด ที่รูปตัณหานี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่รูปตัณหานี้ สัททตัณหาเป็น
ปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ คันธตัณหาเป็น ปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รส
ตัณหาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพตัณหาเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ฯลฯ ธัมมตัณ หาเป็น ปิยรูปสาตรูป ในโลก ตัณ หานี้เมื่อเกิด ก็เกิด
ที่ธัมมตัณหานี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่ธัมมตัณหานี้
รูปวิตก(ความตรึกถึงรูป)เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิดก็
เกิดที่ รูปวิตกนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่รูปวิตกนี้ สัททวิตกเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ฯลฯ คันธวิตกเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รสวิตกเป็นปิยรูปสาต
รูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพวิตกเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมวิตกเป็น
ปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อเกิด ก็เกิดที่ธัมมวิตกนี้ เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่
ที่ธัมมวิตกนี้
รูปวิจาร (ความตรองถึงรูป ) เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อ
เกิดก็เกิดที่ รูปวิจารนี้ เมื่อตั้งอยู่ก็ตั้งอยู่ที่รูปวิจารนี้ สัททวิจารเป็นปิยรูป
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๕๙

สาตรูปในโลก ฯลฯ คันธวิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รสวิจารเป็น


ปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพวิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ
ธัมมวิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้ เมื่อเกิด ก็เกิดที่ธัมมวิจารนี้
เมื่อตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ที่ธัมมวิจารนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ทุกขสมุทย
อริยสัจ” ๑๓๕
ในมหาสติปัฏฐานสูตร พระพุทธองค์ทรงขยายความอริยสัจอย่าง
ละเอียด คือ ถ้อยคาที่ปรากฏในอริยสัจ ๔ ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แต่
ละบท ทรงอธิบายขยายความในธัมมานุปัสสนาแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร
ทุกบท
ศึ ก ษาหลั ก การสุ ต ตะกั บ สุ ต ตานุ โ ลม คื อ หั ว ข้ อ กั บ ข้ อ ความ
สนั บ สนุ น ข้ อ ความที่ เป็ น สุ ต ตะในธั ม มจั ก กปปวั ต ตนสู ต ร ทุ ก ขนิ โรธ
อริยสัจ คือ ข้อความว่า
“ดูก่ อนภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย ข้ อ นี้ เป็ น ทุ ก ขนิ โรธอริย สัจ คื อ ความดั บ
ตัณ หาไม่เหลือด้วยวิราคะ ความสละ ความสละทิ้ง ความพ้น ความไม่
อาลัยในตัณหา” ๑๓๖
ข้อความที่เป็นสุตตานุโลม ขยายความสุตตะ คือ ข้อความที่พระ
พุทธองค์ทรงอธิบายขยายความทุกขนิโรธอริยสัจในธัมมานุปัสสนาแห่ง
มหาสติปัฏฐานสูตร ดังนี้

๑๓๕
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๘๗-๓๘๘/๓๒๙-๓๒๑.
๑๓๖
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๒.
๖๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

“ทุ กขนิ โรธอริ ย สัจ เป็ น อย่างไร คื อ ความดับ กิ เลสไม่ เหลือ ด้ ว ย


วิราคะ ความปล่อยวาง ความสละคืน ความพ้น ความไม่ติด
ก็ตัณหานี้เมื่อละ ละที่ไหน เมื่อดับ ดับที่ไหน คือ ปิยรูปสาตรูปใดมี
อยู่ในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่ปิยรูปสาตรูปนี้ เมื่อดับ ก็ดับที่ปิยรูปสาต
รูปนี้
อะไรเป็น ปิ ยรูป สาตรูป ในโลก คื อ จั กขุเป็ น ปิ ยรูปสาตรูป ในโลก
ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่จักขุนี้ เมื่อดับก็ดับที่จักขุนี้ โสตะเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ฯลฯ ฆานะเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ชิวหาเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ฯลฯ กายเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ มโนเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่มโนนี้ เมื่อดับก็ดับที่มโนนี้
รูปเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่รูปนี้ เมื่อดับ ก็
ดับที่รูปนี้ เสียงเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ กลิ่นเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ฯลฯ รสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพะเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ฯลฯ ธรรมารมณ์ เป็น ปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณ หานี้ เมื่อละ ก็ละที่
ธรรมารมณ์นี้ เมื่อดับก็ดับที่ธรรมารมณ์นี้
จักขุวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่จักขุ
วิญญาณนี้ เมื่อดับ ก็ดับที่จักขุวิญญาณนี้ โสตวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ฯลฯ ฆานวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ชิวหาวิญญาณเป็น
ปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ กายวิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ มโน
วิญญาณเป็นปิยรูปสาตรูป ในโลก ตัณหานี้ เมื่อละ ก็ละที่มโนวิญญาณนี้
เมื่อดับ ก็ดับที่มโนวิญญาณนี้
จัก ขุ สั ม ผั ส เป็ น ปิ ย รูป สาตรูป ในโลก ตั ณ หานี้ เมื่ อ ละ ก็ ล ะที่ จั ก ขุ
สัมผัสนี้ เมื่อดับ ก็ดับที่จักขุสัมผัสนี้ โสตสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๖๑

ฯลฯ ฆานสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ชิวหาสัมผัสเป็นปิยรูปสาต


รูปในโลก ฯลฯ กายสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ มโนสัมผัสเป็นปิย
รูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้ เมื่อละก็ละที่มโนสั มผัสนี้ เมื่อดับ ก็ดับที่มโน
สัมผัสนี้
เวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัส เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อ
ละ ก็ละที่ เวทนาอันเกิดจากจักขุสัมผัสนี้ เมื่อดับ ก็ดับที่เวทนาอันเกิดจาก
จักขุสัมผัสนี้ เวทนาที่เกิด จากโสตสัมผัส เป็ นปิ ยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ
เวทนาที่เกิดจากฆานสัมผัส เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ เวทนาที่เกิด
จากชิวหาสัมผัสเป็นปิยรูปสาตรูป ในโลก ฯลฯ เวทนาที่เกิดจากกายสัมผัส
เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ เวทนาที่ เกิดจากมโนสัมผัสเป็นปิยรูปสาต
รูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่เวทนาอันเกิดจาก มโนสัมผัสนี้ เมื่อดับ ก็
ดับที่เวทนาอันเกิดจากมโนสัมผัสนี้
รูปสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่รูปสัญญา
นี้ เมื่อดับ ก็ดับที่รูปสัญญานี้ สัททสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ
คันธสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รสสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ฯลฯ โผฏฐัพพสัญญาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมสัญญาเป็น
ปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณ หานี้ เมื่อละ ก็ละที่ธัมมสัญ ญานี้ เมื่อดับ ก็ดับ
ที่ธัมมสัญญานี้
รูปสัญ เจตนาเป็น ปิ ยรูปสาตรูปในโลก ตัณ หานี้ เมื่อละ ก็ละที่รูป
สัญเจตนานี้ เมื่อดับ ก็ดับที่รูปสัญเจตนานี้ สัททสัญเจตนาเป็นปิยรูปสาต
รูปในโลก ฯลฯ คันธสัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รสสัญเจตนา
๖๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ โผฏฐัพพสัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก


ฯลฯ ธัมมสัญเจตนาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่ธัมม
สัญเจตนานี้ เมื่อดับ ก็ดับที่ ธัมมสัญเจตนานี้
รูปตัณหาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่รูปตัณหานี้
เมื่อดับ ก็ดับที่รูปตัณหานี้ สัททตัณหาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ คันธ
ตัณหาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รสตัณหาเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก
ฯลฯ โผฏฐัพพตัณหา เป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมตัณหาเป็นปิยรูป
สาตรูป ในโลก ตัณ หานี้ เมื่อละ ก็ละที่ธัมมตัณ หานี้ เมื่ อดับ ก็ดับ ที่ธัม ม
ตัณหานี้
รูปวิตกเป็น ปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณ หานี้เมื่อละ ก็ละที่รูปวิต กนี้
เมื่อดับ ก็ดับที่รูปวิตกนี้ สัททวิตกเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ คันธวิตก
เป็ น ปิ ย รูป สาตรู ป ในโลก ฯลฯ รสวิ ต กเป็ น ปิ ย รู ป สาตรูป ในโลก ฯลฯ
โผฏฐัพพวิตกเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมวิตกเป็นปิยรูปสาตรูปใน
โลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่ธัมมวิตกนี้ เมื่อดับ ก็ดับที่ธัมมวิตกนี้
รูปวิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่รูปวิจารนี้
เมื่อดับ ก็ดับที่รูปวิจารนี้ สัททวิจารเป็นปิยรูปสาตรู ปในโลก ฯลฯ คันธ
วิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ รสวิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ
โผฏฐัพพวิจารเป็นปิยรูปสาตรูปในโลก ฯลฯ ธัมมวิจารเป็นปิยรูปสาตรูป
ในโลก ตัณหานี้เมื่อละ ก็ละที่ธัมมวิจารนี้ เมื่อดับก็ดับที่ธัมมวิจารนี้ ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ”๑๓๗

๑๓๗
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๔๐๑/๓๓๒-๓๓๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๖๓

ในมหาสติ ปั ฏ ฐานสู ต ร พระพุ ท ธองค์ ท รงขยายความทุ ก ขนิ โรธ


อริยสัจอย่างละเอียด คือ ถ้อยคาที่ปรากฏในอริยสัจ ๔ ในธัมมจักกัปปวัต
ตนสูตร แต่ละบท ทรงอธิบายขยายความในธัมมานุปัสสนาแห่งมหาสติปัฏ
ฐานสูตรทุกบท
ศึ ก ษาหลั ก การสุ ต ตะกั บ สุ ต ตานุ โ ลม คื อ หั ว ข้ อ กั บ ข้ อ ความ
สนับสนุน ข้อความที่เป็นสุตตะในธัมมจักกปปวัตตนสูตร ทุกขนิโรธคามินี
ปฏิปทาอริยสัจ คือ ข้อความว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อนี้เป็นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ
อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้แหละ ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา
สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ” ๑๓๘
ข้อความที่เป็นสุตตานุโลม ขยายความสุตตะ คือ ข้อความที่พระ
พุทธองค์ทรงอธิบายขยายความทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจในธัมมา
นุปัสสนาแห่งมหาสติปัฏฐานสูตร ดังนี้
“ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ เป็นอย่างไร คือ อริยมรรคมีองค์
๘ นี้นั่นแล ได้แก่
๑. สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) ๒. สัมมาสังกัปปะ (ดาริชอบ)
๓. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) ๔. สัมมากัมมันตะ (กระทาชอบ)
๕. สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ) ๖. สัมมาวายามะ (พยายาม
ชอบ)

๑๓๘
วิ.ม. (ไทย) ๔/๑๔/๒๒.
๖๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

๗. สัมมาสติ (ระลึกชอบ) ๘. สัมมาสมาธิ (ตั้งจิตมั่นชอบ)


สัมมาทิฏฐิ เป็นอย่างไร คือ ความรู้ในทุกข์ (ความทุกข์) ความรู้ใน
ทุกขสมุทัย (เหตุเกิดแห่งทุกข์ ) ความรู้ในทุกขนิโรธ (ความดับแห่งทุกข์ )
ความรู้ในทุ กขนิ โรธคามินี ปฏิปทา (ข้อปฏิบัติ ให้ถึงความดับแห่งทุกข์ )
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ
สั ม มาสั งกั ป ปะ เป็ น อย่า งไร คื อ ความด าริในการออกจากกาม
ความดาริในการไม่พยาบาท ความดาริในการไม่เบียดเบียน ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย นี้เรียกว่า สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา เป็นอย่างไร คือ เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการพูดเท็จ
เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการพูด ส่อเสียด เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการ
พู ด ค าหยาบ เจตนาเป็ น เหตุ ง ดเว้ น จากการพู ด เพ้ อ เจ้ อ ดู ก่ อ นภิ ก ษุ
ทั้งหลาย นี้เรียกว่า สัมมาวาจา
สัมมากัมมันตะ เป็นอย่างไร คือ เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการฆ่า
สัต ว์ เจตนาเป็น เหตุงดเว้น จากการถือเอาสิ่งของที่ เจ้าของเขาไม่ได้ให้
เจตนาเป็นเหตุงดเว้นจากการประพฤติผิ ดในกาม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้
เรียกว่า สัมมากัมมันตะ
สัม มาอาชีว ะ เป็ น อย่ างไรคือ อริยสาวกในธรรมวินั ย นี้ ล ะมิ จ ฉา
อาชีวะแล้ว สาเร็จการเลี้ยงชีพด้วยสัมมาอาชีวะ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้
เรียกว่า สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
๑. สร้างฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุ่งมั่น เพื่อ
ป้องกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิดมิให้เกิดขึ้น
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๖๕

๒. สร้างฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุ่งมั่น เพื่อ


ละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
๓. สร้างฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุ่งมั่น เพื่อ
ทากุศลธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น
๔. สร้างฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุ่งมั่น เพื่อ
ความดารงอยู่ ไม่เลือนหาย ภิญ โญภาพ ไพบูลย์ เจริญ เต็มที่ แห่งกุศล
ธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า สัมมาวายามะ
สัมมาสติ เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
๑. พิ จารณาเห็ น กายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ
กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได้
๒. พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่ ฯลฯ
๓. พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ฯลฯ
๔ . พิ จ ารณาเห็ น ธรรมในธรรมทั้ ง หลายอยู่ มี ค วามเพี ย ร มี
สัมปชัญญะ มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
นี้เรียกว่า สัมมาสติ
สัมมาสมาธิ เป็นอย่างไร คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
๑. สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลาย บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก มี
วิจาร มีปีติ และสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่
๒. เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป บรรลุทุติยฌานที่มีความผ่องใส
ภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึน้ ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติ และสุขอัน
เกิดจากสมาธิอยู่
๖๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

๓. เพราะปีติจางคลายไป มีจิตเป็นอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะอยู่


และเสวยสุ ขด้ วยกาย (นามกาย ) บรรลุต ติ ยฌานที่ พ ระอริยะทั้ งหลาย
กล่าวสรรเสริญว่า “ผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข”
๔. เพราะละสุขและทุกข์ได้ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อน
แล้ว บรรลุจตุตถฌานที่ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่
ภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เรียกว่า
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ๑๓๙
ในมหาสติปัฏฐานสูตร พระพุทธองค์ทรงขยายความทุกขนิโรธคา
มินิปฏิปาอริยสัจอย่างละเอียด คือ ถ้อยคาที่ปรากฏในอริยสัจ ๔ ในธัมม
จักกัปปวัตตนสูตร แต่ละบท ทรงอธิบายขยายความในธัมมานุปัสสนาแห่ง
มหาสติปัฏฐานสูตรทุกบท
ข้ อ ความทั้ ง หมดที่ ข้ า พเจ้ า น ามาเผยแพร่ นี้ เพื่ อ ให้ เห็ น ว่ า การ
อธิบายข้อธรรมนั้น พระพุทธองค์ก็ท รงอธิบายไว้ และคาอธิบาย เช่น ที่
ทรงอธิบายอริยสัจ ๔ ในมหาสติปัฏฐานสูตรนี้แหละ ที่พระอรรถกถาจารย์
ทั้งหลายนาไปเป็นคาอธิบาย เช่น เมื่อท่านจะอธิบายอริสสัจ ๔ ดังนั้น ผู้ที่
ปฏิเสธคาอธิบายของพระอรรถกถาจารย์ ก็จัดว่า เป็นผู้ปฏิบัติเสธคาสอน
ของพระพุทธเจ้าไปด้วย

๔. รูปแบบอรรถกถาวิธีสมัยพุทธกาล
การอธิบายที่ปรากฏในคัมภีร์อรรถกถานั้น ในส่วนที่อธิบายข้อธรรม
มีทั้งที่อธิบายสภาวธรรมและอธิบายกลุ่มบุคคล ส่วนที่อธิบายบุคคล ซึ่งจัด

๑๓๙
ที.ม. (ไทย) ๑๐/๔๐๒/๓๓๔-๓๓๗.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๖๗

หมวดไว้ เช่ น บุ ค คล ๔ คื อ อุ ค ฆฏิ ตั ญฺ ญู บุ ค คล วิ ปั ญ จิ ตั ญ ญู บุ ค คล


เนยยบุคคล ปทปรมบุคคล ที่ปรากฏในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงยกขึ้นแสดงแต่เพียงหัวข้อ พระอรรถกถาจารย์ท่าน
อธิ บ ายโดยน าข้ อ ความที่ เป็ น สุ ต ตานุ โ ลมจากพระไตรปิ ฎ ก มาเป็ น
คาอธิบาย ดังนี้
จตุนฺนมฺปิ ปุคฺคลาน อิมินา สุตฺเตน วิเสโส เวทิตพฺโพ :- “กตโม จ
ปุคฺค โล อุคฺฆ ฏิต ญฺ ญู , ยสฺส ปุคฺ ค ลสฺส สห อุท าหฏเวลาย ธมฺมาภิส มโย
โหติ, อย วุจฺจติ ปุคฺคโล อุคฺฆฏิตญฺญู. กตโม จ ปุคฺคโล วิปจิตญฺญู , ยสฺส
ปุ คฺ ค ลสฺ ส วิตฺ ถ าเรน อตฺ เถ วิภ ชิ ย มาเน ธมฺ ม าภิ ส มโย โหติ . อย วุ จฺ จ ติ
ปุคฺคโล วิป จิต ญฺ ญู . กตโม จ ปุคฺคโล เนยฺโย , ยสฺส ปุคฺคลสฺส อุทฺเทสโต
ปริปุ จฺฉ โต โยนิ โสมนสิ กโรโต กลฺย าณมิ ตฺเต เสวโต ภชโต ปยิรุป าสโต
อนุปุพฺเพน ธมฺมาภิสมโย โหติ, อย วุจฺจติ ปุคฺคโล เนยฺโย. กตโม จ ปุคฺคโล
ปทปรโม, ยสฺส ปุคฺคลสฺส พหุ มฺปิ สุณโต พหุมฺปิ ภณโต พหุมฺปิ ธารยโต
พหุ มฺปิ วาจยโต น ตาย ชาติยา ธมฺม าภิสมโย โหติ , อย วุจฺจติ ปุ คฺคโล
ปทปรโม”ติ๑๔๐
ข้ อ ความนี้ พระอรรถกถาจารย์ น ามาจากอภิ ธ รรมปิ ฎ ก ปุ ค คล
บั ญ ญั ติ แปลว่ า “บั ณ ฑิ ต พึ งทราบความแตกต่ า งกั น แห่ งบุ ค คลทั้ ง ๔
ประเภท โดยสูตรนี้ บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า อุคฆฏิตัญญู คือ บุคคลใด พอ
ท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงก็ย่อมบรรลุธรรมได้ บุคคลนี้ เรียกว่า อุคฆฏิตัญญู

๑๔๐
องฺ.จตุกฺก.อ. (บาลี) ๒/๓๘๐
๖๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

บุ คคลชนิ ด ไหน ชื่ อ ว่า วิป จิตั ญ ญู คือ บุ คคลใด พอท่ านอธิ บ าย
เนื้อความที่ท่านแสดงไว้โดยย่อให้พิศดาร บุคคลนี้ เรียกว่า วิปจิตัญญู
บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า เนยยะ คือ บุคคลใด เมื่อทบทวนหัวข้อ หรือ
ให้ท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง สอบถามข้ออธิบาย ทบทวนในใจโดยแยบคาย
คบหาอยู่ใกล้ชิดกัลยาณมิตร จึงจะบรรลุธรรมได้ ดังที่กล่าวมาตามลาดับ
บุคคลนี้ เรียกว่า เนยยะ
บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า ปทปรมะ คือ บุคคลใด แม้เล่าเรียนมาก พูด
มาก ทรงจาได้มาก สอนคนอื่นได้มาก แต่ไม่บรรลุธรรมในชาตินนั้ บุคคลนี้
เรียกว่า ปทปรมะ”
ข้อความนี้ในคัมภีร์ทีฆนิกายอรรถกถา เล่ม ๒ มัชฌิมนิกายอรรถ
กถา เล่ม ๒ สังยุตตนิกาย เล่ม ๑-๒ และคัมภีร์สารัตถทีปนีฏีกา ที่อธิบาย
อรรถกถาพระวินยั คัมภีรอ์ รรถกถาและฎีกาเหล่านี้ อธิบายพระไตรปิฎก ที่
กล่าวถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงตรวจดูสัตวโลกแล้วทรงเห็นว่ามีบุคคล ๓
ประเภทที่จะรู้ตามธรรมที่ทรงแสดงได้เปรียบด้ วยดอกบัว ๓ เหล่า แล้ว
พระอรรถกถาจารย์เอาเรื่องบุคคล ๔ ประเภทและเพิ่มดอกบัวประเภทที่
๔ ไปสงเคราะห์ เ ข้ า ด้ ว ยกั น ท่ า นยกบทนิ ท เทส คื อ อธิ บ ายจาก
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๖ ไปเป็นอธิบายของท่าน ดังนี้
ยเถว หิ ตานิ จตุพฺพิธานิ ปุปฺผานิ , เอวเมว อุคฺฆฏิตญฺญู วิปจิตญฺญู
เนยฺโย ปทปรโมติ จตฺตาโร ปุคฺคลา.
ตตฺ ถ ยสฺส ปุ คฺค ลสฺส สห อุท าหฏเวลาย ธมฺ มาภิ ส มโย โหติ , อย
วุจฺจติ ปุคฺคโล อุคฺฆฏิตญฺญู. ยสฺส ปุคฺคลสฺส สงฺขิตฺเตน ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน
อตฺเถ วิภชิยมาเน ธมฺมาภิสมโย โหติ , อย วุจุจติ ปุคฺคโล วิปจิตญฺญู. ยสฺส
ปุคฺคลสฺส อุทฺเทสโต ปริปุจฺฉโต โยนิโส มนสิกโรโต กลฺยาณมิตฺเต เสวโต
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๖๙

ภชโต ปยิ รุ ป าสโต อนุ ปุ พฺ เพน ธมฺ ม าภิ ส มโย โหติ , อย วุ จฺ จ ติ ปุ คฺ ค โล


เนยฺ โย. ยสฺส ปุ คฺ ค ลสฺ ส พหุ มฺ ปิ สุ ณ โต พหุ มฺ ปิ ภณโต พหุ มฺ ปิ คณฺ ห โต
พหุ มฺ ปิ ธารยโต พหุ มฺ ปิ วาจยโต น ตาย ชาติ ย า ธมฺ ม าภิ ส มโย โหติ ,
อย วุจฺจติ ปุคฺคโล ปทปรโม.๑๔๑
แปลว่า “เป็นความจริง ดอกบัวทั้ง ๔ ประเภทนั้น เป็นฉันใด บุคคล
๔ ประเภท คือ อุคฆฏิตัญฺญู วิปจิตัญญู เนยยะ ปทปรมะ ก็เป็นฉันนั้น
บรรดาบุคคล ๔ ประเภทนั้น บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า อุคฆฏิตัญญู
คื อ บุ ค คลใด พอท่ านยกหั ว ข้ อ ขึ้ น แสดงก็ ย่อ มบรรลุ ธ รรมได้ บุ ค คลนี้
เรียกว่า อุคฆฏิตัญญู
บุ คคลชนิ ด ไหน ชื่อ ว่า วิป จิ ตั ญ ญู คือ บุ คคลใด พอท่ านอธิบ าย
เนื้อความที่ท่านแสดงไว้โดยย่อให้พิศดาร บุคคลนี้ เรียกว่า วิปจิตัญญู
บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า เนยยะ คือ บุคคลใด เมื่อทบทวนหัวข้อ หรือ
ให้ท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง สอบถามข้ออธิบาย ทบทวนในใจโดยแยบคาย
คบหาอยู่ใกล้ชิดกัลยาณมิตร จึงจะบรรลุธรรมได้ ดังที่กล่าวมาตามลาดับ
บุคคลนี้ เรียกว่า เนยยะ

๑๔๑
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๖๕, ม. อ. (บาลี) ๒/๘๘, ส.ส.อ. (บาลี) ๑/๑๙๑, ส.อ. (บาลี)
๒/๔-๕ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๖๕, ม. อ. (บาลี) ๒/๘๘, ส.ส.อ. (บาลี) ๑/๑๙๑, ส.อ. (บาลี) ๒/
๔-๕
๗๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

บุคคลชนิดไหน ชื่อว่า ปทปรมะ คือ บุคคลใด แม้เล่าเรียนมาก พูด


มาก ทรงจาได้มาก สอนคนอื่นได้มาก แต่ไม่บรรลุธรรมในชาตินนั้ บุคคลนี้
เรียกว่า ปทปรมะ”
ในคัมภีร์ฎีกาท่านได้ยกข้อความในพระไตรปิฎกและอรรถกถามา
อธิบายไว้ดังนี้ :-
อุคฺฆฏิตญฺญูติ อุคฺฆฏน นาม ญฺาณุคฺฆฏน, ญฺาเณ อุคฺฆฏิตมตฺเต เอว
ชานาตี ติ อตฺ โ ถ. วิ ป ญฺ จิ ต วิ ตฺ ถ ารเมว อตฺ ถ ชานาตี ติ วิ ป ญฺ จิ ต ญฺ ญู .
อุทฺเทสาทีหิ เนตพฺโพติ เนยฺโย. สห อุทาหฏเวลายาติ อุทาหาเร ธมฺม สฺส
อุทฺเทเส อุทาหฏมตฺเต เอว. ธมฺมาภิสมโยติ จตุสจฺ จธมฺมสฺส ญฺาเณน สทฺธึ
อภิ ส มโย. อย วุ จฺ จ ตี ติ อย “จตฺ ต าโร สติ ป ฏฺ ฐ านา ”ติ อ าทิ น า นเยน
สงฺขิตฺเตน มาติกาย ทีปิยมานาย เทสนานุสาเรน ญฺาณ เปเสตฺวา อรหตฺต
คณฺหิตุ สมตฺโถ “ปุคฺคโล อุคฺฆฏิตญฺญู”ติ วุจฺจติ. อย วุจฺจตีติ อย สงฺขิตฺเตน
มาติก ฐเปตฺ วา วิตฺถาเรน อตฺ เถ วิภชิยมาเน อรหตฺ ต ปาปุ ณิ ตุ สมตฺโถ
“ปุคฺคโล วิปญฺ จิตญฺ ญู ”ติ วุจฺจติ. อุทฺเทสโตติ อุทฺเทสเหต , อุทฺทิสนฺตสฺส ,
อุทฺทิสาเปนฺตสฺส วาติ อตฺโถ. ปริปุจฺฉโตติ อตฺถ ปริปุจฺฉนฺตสฺส. อนุปุพฺเพน
ธมฺมาภิสมโย โหตีติ อนุกฺกเมน อรหตฺตปฺปตฺโต โหติ. น ตาย ชาติยา ธมฺมา
ภิสมโย โหตีติ เตน อตฺตภาเวน มคฺค วา ผล วา อนฺตมโส ฌาน วา วิปสฺสน
วา นิ พฺ พ ตฺ เตตุ น สกฺ โ กติ . อย วุ จฺ จ ติ ปุ คฺ ค โล ปทปรโมติ อย ปุ คฺ ค โล
พฺยญฺชนปทเมว ปรม อสฺสาติ “ปทปรโม”ติ วุจฺจติ.๑๔๒
แปลว่า :-

๑๔๒
ที.ม.ฎีกา ๒/๗๘-๗๙, ม.ฏีกา ๒/๑๖๙-๑๗๐, ส.ฏีกา ๒/๑๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๗๑

“ค าว่า อุ ค ฆฏิ ต ญฺ ญู มี อ ธิบ ายดั งนี้ การเปิ ด เผยญาณรั บ รู้ ชื่ อ ว่า
อุคฆฏนะ คื อพอยกขึ้น แสดงก็รู้ หมายความว่า เพี ยงเผยญาณเท่านั้ น
ก็รู้ทันที ผู้ที่รู้เนื้อความต่อเมื่อท่านอธิบายอย่างพิศดาร ชื่อว่า วิปัญจิตัญญู
ผู้ที่ท่านต้องแนะนาพร่าสอนด้วยหัวข้อธรรมเป็นต้น ชื่อว่า เนยยะ
ค าว่า สห อุ ท าหฏเวลาย มี อ ธิบ ายว่ า พอท่ านยกอุ ท าหรณ์ คื อ
หัวข้อธรรมขึ้น เท่านั้ น ธัมมาภิสมัย คือการบรรลุสัจธรรม ๔ พร้อมกับ
ญาณ
คาว่า อย วุจฺจติ มีอธิบายว่า บุคคลนี้ พอท่านแสดงหัวข้อแต่โดยย่อ
ว่า จัตตาโร สติปัฏฐานา การตั้งสติไว้ ๔ ประการ เป็นต้น ก็ส่งญาณไป
ตามแนวที่ ท่ า นแสดงแล้ ว สามารถบรรลุ พ ระอรหั ต ตผลได้ เรี ย กว่ า
อุคฆฏิตัญญูบุคคล
คาว่า อย วุจฺจติ มีอธิบายว่า บุคคลนี้ เมื่อท่านอธิบายเนื้อความ
หัวข้อที่ท่านยกมาโดยย่อ ให้พิศดาร จึงสามารถบรรลุพระอรหัตตผลได้
เรียกว่า วิปัญจิตัญญูบุคคล
คาว่า อุทฺ เทสโต คื อ มี การยกขึ้ น แสดงเป็ น เหตุ คื อยกหั วข้ อขึ้ น
ทบทวนหรือให้ท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงใหม่
คาว่า ปริปุจฺฉโต คือ สอบถามถึงคาอธิบาย
คาว่า อนุปุพฺเพน ธมฺมาภิสมโย โหติ คือการบรรลุพระอรหัตตผล
ย่อมมีได้ โดยการปฏิบัติตามลาดับ
คาว่า น ตาย ชาติ ธมฺมาภิสมโย โหติ มีอธิบายว่า ไม่สามารถจะทา
มรรคผลนิพพาน หรืออย่างต่าสมาธิวิปัสสนาให้บังเกิดขึ้นได้
๗๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

คาว่า อย วุ จฺจติ ปุ คฺ คโล ปทปรโม มี วิเคราะห์ ว่า บุ คคลนี้ ท่ าน


เรียกว่า ปทปรมะ เพราะมีพยัญชนบทนั่นเทียวเป็นอย่างยิ่ง”
เฉพาะข้ อ ความว่ า “อย ปุ คฺ ค โล พฺ ย ญฺ ช นปทเมว ปรม อสฺ ส าติ
“ปทปรโม”ติ วุจฺจติ ซึ่งแปลว่า “บุคคลนี้ ท่านเรียกว่า “ปทปรมะ” เพราะ
มีพยัญชนบทนั่นเทียวเป็นอย่างยิ่ง” นี้มิใช่คาอธิบาย แต่เป็นรูปวิเคราะห์
คือท่านแยกส่วนของคาให้ดู ในอรรถกถาข้อความนี้มีเฉพาะในอรรถกถา
อภิธรรมเพียงเล่มเดียว ส่วนมากอยู่ในคัมภีร์ฎีกา และคาว่า พฺยญฺชนปท
ก็มิได้หมายความว่า บุ คคลนี้มีพยัญชนะ คืออักษรเพียงอักษรเดียวหรือมี
บทเพียงบทเดียว คือรู้ได้เพียงอักษรหรือเพียงบทเดียวเท่านั้น เพราะท่าน
พระฎีกาจารย์ผู้วิเคราะห์คาว่า ปทปรม ได้อธิบายคาวิเคราะห์ของท่านไว้
ดังนี้ :-
(๑) อย วุจฺจติ ปุคฺคโล ปทปรโม (ข้อความจากพระไตรปิฎก-อรรถ
กถา) ติ อย ปุคฺคโล พฺยญฺชนปทเมว ปรม อสฺสาติ ปทปรโมติ วุจฺจติ๑๔๓
(๒) อย วุ จฺ จ ตี (จากพระไตรปิ ฎ ก-อรรถกถา)ติ อย ปุ คฺ ค โล
พฺยญฺชนปทเมว ปรม กตฺวา ฐิตตฺตา “ปทปรโม”ติ วุจฺจติ๑๔๔
ต่อไปเป็นการวิเคราะห์ขยายความ คาว่า ปทปรโม โดยเฉพาะของ
พระฎีกาจารย์ ดังนี้ :-
(๓) ปชฺชติ อตฺโถ เอเตนาติ ปท, ปชฺชเต ญฺายเตติ วา ปท , ตทตฺโถ.
ปท ปรม เอตสฺส, น สจฺจาภิสมฺโพโธติ ปทปรโม

๑๔๓
ที.ฏีกา ๒/๗๙, ม.ฏีกา ๒/๑๗๐, ส.ฏีกา ๒/๑๐.
๑๔๔
ที.ฏีกา ๒/๗๙, ม.ฏีกา ๒/๑๗๐, ส.ฏีกา ๒/๑๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๗๓

(๔) อย วุจฺจติ ปทปรโม (ข้อความจากพระไตรปิฎก)ติ อย ปุคฺคโล


ฉพฺพิธ พฺยญฺชนปท ฉพฺพิธ อตฺถปทนฺติ อิท ปทเมว ปรม อสฺสาติ ปทปรโม
ติ วุจฺจตีติ อตฺโถ๑๔๕
พระฎี ก าจารย์ ท่ า นวิ เคราะห์ ศั พ ท์ ว่ า ปทปรโม ให้ ดู ตั้ ง แต่ ต้ น
แปลว่า :-
(๑)“คาว่า อย วุจฺจติ ปุคฺคโล ปทปรโม บุคคลนี้เรียกว่า ปทปรมะ
ตั้งวิเคราะห์ว่า บุคคลนี้ ท่านเรียกว่า ปทปรมะ เพราะมีพยัญชนบทนั่น
เทียวเป็นอย่างยิ่ง”
(๒)“ค าว่ า อย วุ จฺ จ ติ นี้ เรี ย กว่ า ตั้ ง วิ เคราะห์ ว่ า บุ ค คลนี้ ท่ า น
เรียกว่า ปทปรมะ เพราะดารงอยู่โดยกระทาพยัญชนบทนั่นเทียวให้เป็น
สิ่งอย่างยิ่ง”
(๓)“เนื้อความ คือความหมายนั้น ๆ ย่อมสาเร็จ คือบุคคลย่อมรู้ได้
ด้ว ยพยัญ ชนะนั้ น ดังนั้ น พยัญ ชนะจึงชื่อว่า ปท คือ สิ่งให้รู้เนื้อความ ,
พยัญชนะเป็นสิ่งให้รู้เนื้อความ เป็นอย่างยิ่ง แก่บุคคลนั้น คือไม่มีการตรัส
รู้สัจจะ ดังนั้น จึงชื่อว่า ปทปรมะ ผู้มีสิ่งให้รู้เนื้อความเป็นยิ่ง”
(๔)“คาว่า อย วุจฺจติ ปทปรโม ผู้นี้เรียกว่า ปทปรมะ ตั้งวิเคราะห์ว่า
บุคคลนี้ ท่านเรียกว่า ปทปรมะ เพราะมีบท คือมีพยัญชนบทหกประการ
(อั ก ษรบท พยั ญ ชนะ นิ รุ ต ติ นิ ท เทส และอาการ) ได้ แ ก่ อ รรถบทหก

๑๔๕
ที.ฏีกา ๒/๗๙, ม.ฏีกา ๒/๑๗๐, ส.ฏีกา ๒/๑๐.
๗๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ประการ (สังกาสนะ ปกาสนะ วิวรณะ วิภชนะ อุตตานีกรณะ บัญญัติ) นี้


นั่นเทียวเป็นอย่างยิ่ง”
(พยัญชนบท ๖ ประการ และอรรถบท ๖ ประการ จะมีอธิบายใน
ตอนท้ายบทความนี้)
ค าอธิ บ ายหลั ก ค าสอนโดยพระสาวกครั้ ง พุ ท ธกาลที่ ป รากฏใน
พระไตรปิฎก พระมหาสาวกรูปแรก คือ พระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระ
ซึ่งยกเว้น พระพุ ท ธเจ้าผู้เป็ น ติโลกาจารย์ เพี ยงพระองค์เดียว ไม่ มีใคร
เทียบเท่า พระสารีบุตร ท่านเป็นบุรุษผู้เลิศในหมื่นโลกธาตุ ท่านได้สั่งสม
กุศลมูลมาหลาย อสงไขยกัปนั บไม่ถ้ว น ในชาติสุด ท้ายท่านสละทรัพ ย์
สมบั ติ อ อกบวช ฝึ ก ฝนกายวาจา และจิ ต ด้ ว ยธุ ด งค์ คุ ณ ทั้ ง ๑๓ เป็ น ผู้
สมบู ร ณ์ ด้ ว ยคุ ณ หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ เป็ น ผู้ ที่ ส ามารถ ประกาศธรรมจั ก รได้
เทียบเท่าพระพุทธองค์ ๑๔๖ พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นเทวดาเหนือ เทวดาได้
ตรัสยกย่องท่านพระสารีบุตรไว้ว่า
“นาห ภิ กฺ ข เว อญฺ ญ เอกปุ คฺ ค ลมฺ ปิ สมนุ ป สฺ ส ามิ , โย เอว
ตถาคเตน อนุตฺตร ธมฺมจกฺก ปวตฺติต สมฺมเทว อนุปฺปวตฺเตติ, ยถยิท
ภิกฺขเว สาริปุตฺโต , สาริปุตฺโต ภิกฺขเว ตถาคเตน อนุตฺต ร ธมฺมจกฺก
ปวตฺติต สมฺมเทว อนุปฺปวตฺเตติ”๑๔๗
แปลว่ า “ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย เรายั ง มองไม่ เห็ น ใครอื่ น สั ก คน ที่ จ ะ
ประกาศธรรมจักร อัน ยอดเยี่ยมที่ ต ถาคตประกาศไว้ได้ดีเยี่ยมเหมือ น

๑๔๖
มิลินฺท. (บาลี) ๓๖๘.
๑๔๗
องฺ.เอกก. (บาลี) ๒๐/๑๘๗/๒๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๗๕

สารีบุ ต ร ภิ ก ษุ ทั้ งหลาย สารีบุ ต รประกาศธรรม จัก รอั น ยอดเยี่ ยมที่


ตถาคตประกาศไว้ได้ดีเยี่ยม”๑๔๘
นอกจากนี้ พระพุทธเจ้ายังทรงยกย่องท่านพระสารีบุตรว่า “เป็น
บัณฑิตมีปัญญามาก”๑๔๙ พระสูตรที่ท่านพระสารีบุตรแสดงแก่ภิกษุสงฆ์
แล้วได้รับการยกขึ้น สู่การสังคายนามีจานวนหลายสูต ร แต่คาสอนของ
ท่านที่จัดเป็นอรรถกถาและเป็นต้นแบบอรรถกถาของอรรถกถาจารย์ใน
รุ่นต่อมา ก็คือคัมภีร์มหานิทเทส (พระไตรเล่มที่ ๒๙) คัมภีร์จูฬนิทเทส
(พระไตรเล่ มที่ ๓๐) และคั มภี ร์ป ฏิ สั ม ภิ ท ามรรค (พระไตรเล่ม ที่ ๓๑)
คัมภีร์มหานิทเทสนั้น ท่านพระสารีบุตรเถระ ได้นาขอความในอัฏฐกวรรค
จานวน ๑๕ สูตรในคัมภีร์สุตตนิบาตซึ่งเป็นคาถาล้วนไปอธิบาย ท่านยก
คาถาตั้งเป็นบทอุทเทส(หัวข้อ)ที่ละคาถาแล้วอธิบาย ซึ่งน่าจะป็นต้นแบบ
แนวเขียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรมของการศึกษานักธรรมในประเทศ
ไทย ดังข้อความคาถาบท ดังนี้
กาม กามยมานสฺส ตสฺส เจ ต สมิชฺฌติ
อทฺธา ปีติมโน โหติ ลทฺธา มจฺโจ ยทิจฺฉติ.๑๕๐
กาม กามยมานสฺ ส าติ กามาติ : อุ ทฺ ท านโต เทฺ ว กามา :
วตฺถุกามา จ กิเลสกามา จ. ฯเปฯ

๑๔๘
องฺ.เอกก. (ไทย) ๒๐/๑๘๗/๒๕.
๑๔๙
ส.ม. (บาลี) ๑๙/๑๐๒๒/๓๓๔.
๑๕๐
ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๗๗๓-๗๗๘/๔๘๖, ขุ.ม. (บาลี) ๑๙/๑/๑.
๗๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

(พระผู้มีพระภาคตรัสว่า)
ถ้ากามนั้นสาเร็จด้วยดีแก่สัตว์นั้น ผู้อยากได้กามอยู่
สัตว์นั้นได้กามตามที่ต้องการแล้ว ย่อมเป็นผู้อิ่มใจแน่แท้
คาว่า ผู้อยากได้กามอยู่ อธิบายว่า คาว่า กาม ได้แก่ กาม ๒ อย่าง
แบ่งตามหมวด คือ (๑) วัตถุกาม (๒) กิเลสกาม วัตถุกาม คืออะไร คือ รูป
เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่น่าพอใจ เครื่องปูลาดเครื่องนุ่งห่ม ทาสหญิง
ชาย แพะ แกะ ไก่ สุกร ช้าง โค ม้า ลา ที่นา ที่สวน เงิน ทอง หมู่บ้าน
นิคม ราชธานี แคว้น ชนบท กองพลรบ คลังหลวง และวัต ถุที่น่ายิน ดี
อย่างใด อย่างหนึ่ง (เหล่านี้) ชื่อว่าวัตถุกาม
อีกนัยหนึ่ง กามที่เป็นอดีต ที่เป็นอนาคต ที่เป็นปัจจุบัน กามที่ เป็น
ภายใน ที่เป็น ภายนอก ที่เป็น ทั้งภายในและภายนอก กามอย่างหยาบ
อย่างกลาง อย่างประณีต กามที่เป็นของสัตว์ในอบาย ที่เป็นของมนุษย์ ที่
เป็นของทิพย์ กามที่ปรากฏเฉพาะหน้าที่เนรมิตขึ้นเอง ที่ไม่ได้เนรมิตขึ้น
เอง ที่ผู้อื่นเนรมิตให้ กามที่มีผู้ครอบครอง ที่ไม่มีผู้ ครอบครอง ที่ยึดถือว่า
เป็นของเรา ที่ไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา สภาวธรรมที่เป็นกามาวจร ที่เป็นรู
ปาวจร ที่ เป็น อรูป าวจร แม้ทั้งปวง กามที่ เป็นเหตุเกิด แห่ งตัณ หา เป็ น
อารมณ์ แ ห่ งตั ณ หา ที่ ชื่ อ ว่ากาม เพราะมี ค วามหมายว่า น่ าปรารถนา
น่ายินดี น่าลุ่มหลง เหล่านี้เรียกว่า วัตถุกามกิเลสกาม คืออะไร คือ ความ
พอใจ ความกาหนัด ความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ความดาริ ความ
กาหนัด ความกาหนัดด้วยอานาจความดาริชื่อว่ากาม ได้แก่ ความพอใจ
ด้วยอานาจความใคร่ ความกาหนัดด้วยอานาจความใคร่ ความเพลิดเพลิน
ด้วยอานาจความใคร่ ความทะยานอยากด้วยอานาจความใคร่ ความเยื่อ
ใยด้วยอานาจความใคร่ ความเร่าร้อนด้วยอานาจความใคร่ ความสยบด้วย
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๗๗

อานาจความใคร่ ความติด ใจด้วยอานาจความใคร่ ห้วงน้าคือความใคร่


กิเลสเครื่องประกอบคือความใคร่ กิเลสเครื่องยึดมั่นคือความใคร่ กิเลส
เครื่องกั้นจิตคือความพอใจด้วยอานาจความใคร่ในกามทั้งหลาย สมจริ ง
ดังที่พระเจ้าอัฑฒมาสกเปล่งอุทานว่า
“อทฺทส กาม เต มูล สงฺกปฺปา กาม ชายสิ
น ต สงฺกปฺปยิสฺสามิ เอว กาม น เหหิติ๑๕๑
เจ้ากามเอ๋ย เราเห็นรากเหง้าของเจ้าแล้ว เจ้าเกิดเพราะความดาริ
เราจักไม่ดาริถึงเจ้าอีก
เจ้าจักไม่เกิดมาเป็นอย่างนี้ได้อีกละเจ้ากามเอ๋ย”
เหล่านี้เรียกว่า กิเลสกาม
คาว่า ผู้อยากได้ กามอยู่ได้แก่ ผู้อยากได้กาม คือ ผู้ต้องการ ยินดี
ปรารถนา มุ่งหมาย มุ่งหวังกามอยู่รวมความว่า ผู้อยากได้กามอยู่
คาว่า ถ้า ... แก่สัตว์นั้น ในคาว่า ถ้ากามนั้นสาเร็จด้วยดีแก่สัตว์นั้น
อธิบายว่า
สัตว์นั้น คือ ผู้เป็นกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร คฤหัสถ์ บรรพชิต
เทวดา หรือมนุษย์
ค าว่า กามนั้ น ได้ แ ก่ รูป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ ที่ น่ าพอใจ
เรียกว่า วัตถุกาม

๑๕๑
ขุ.ชา. (บาลี) ๒๗/๓๙/๑๘๘, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๘/๓๙.
๗๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

คาว่า สาเร็จด้วยดี ได้แก่ สาเร็จผล สาเร็จด้วยดี ได้ ได้รับ สมหวัง


ประสบ รวมความว่า ถ้ากามนั้นสาเร็จด้วยดีแก่สัตว์นั้น
คาว่า แน่แท้ ในคาว่า ย่อมเป็นผู้อิ่มใจแน่ แท้ เป็นคากล่าวโดยนัย
เดียว เป็นคากล่าวโดยไม่สงสัย เป็นคากล่าวโดยไม่เคลือบแคลง เป็นคา
กล่าวโดยไม่เป็น ๒ นัย เป็นคากล่าวโดยไม่เป็น ๒ อย่าง เป็นคากล่าวโดย
รัดกุม เป็นคากล่าวโดยไม่ผิด
คาว่า แน่แท้ นี้ เป็นคากล่าวที่กาหนดไว้แน่แล้ว
คาว่า อิ่ม ได้แก่ ความอิ่มเอิ บ ความปราโมทย์ ความบันเทิง ความ
เบิกบาน ความร่าเริง ความรื่นเริง ความปลื้มใจ ความยินดี ความมีใจสูง
ความมีใจแช่มชื่น ความเต็มใจ ที่ประกอบด้วยกามคุณ ๕
คาว่า ใจ ได้แก่ จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มนะ มนายตนะ มนิ
นทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญญาณธาตุ ที่เกิดจากผัสสะเป็นต้น
นั้ น นี้ เรี ย กว่ า ใจ ใจนี้ ไปพร้ อ มกั น คื อ เกิ ด ร่ ว มกั น ระคนกั น เกี่ ย ว
เนื่องกัน เกิดพร้อมกัน ดับพร้อมกัน มีวัตถุอย่างเดียวกัน มีอารมณ์อย่าง
เดียวกันกับความอิ่มเอิบนี้
คาว่า ย่อมเป็นผู้อิ่ม ใจ ได้แก่ เป็นผู้อิ่มใจ คือ เป็ นผู้มีใจยินดี มีใจ
ร่าเริง มี ใจเบิ กบาน มีใจแช่ม ชื่น มี ใจสูง บัน เทิ งใจ ปลาบปลื้ม ใจ รวม
ความว่า ย่อมเป็นผู้อิ่มใจแน่แท้
คาว่า ได้ ในคาว่า สัตว์นั้นได้กามตามที่ต้องการแล้ว ได้แก่ ได้ คือ
ได้แล้ว ได้รับแล้ว สมหวังแล้ว ประสบแล้ว
คาว่า สัตว์ ได้แก่ สัตว์ (ผู้ข้องอยู่) นรชน มานพ บุรุษ บุคคล ผู้มี
ชีวิต ผู้เกิด สัตว์เกิด ผู้เป็นไปตามกรรม มนุษย์
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๗๙

ค าว่ า กามตามที่ ต้ อ งการ ได้ แ ก่ รู ป เสี ย ง กลิ่ น รส โผฏฐั พ พะ


ตามที่ต้องการ ยินดี ปรารถนา มุ่งหมาย มุ่งหวัง รวมความว่า สัตว์นั้นได้
กามตามที่ต้องการแล้ว ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสว่า
กาม กามยมานสฺส ตสฺส เจ ต สมิชฺฌติ
อทฺธา ปีติมโน โหติ ลทฺธา มจฺโจ ยทิจฺฉติ
ถ้ากามนั้นสาเร็จด้วยดีแก่สัตว์นั้น ผู้อยากได้กามอยู่สัตว์
นั้นได้กามตาม ที่ต้องการแล้ว ย่อมเป็นผู้อิ่มใจแน่แท้๑๕๒
การอธิ บ ายพระสู ต รของพระสารี บุ ต รในคั ม ภี ร์ ม หานิ ท เทสนี้
เหมือนกับคัมภีร์อรรถกถาอื่น ๆ โดยเฉพาะธรรมบทอรรถกถา คือ นา
พระพุทธพจน์มาเป็นบทตั้ง เป็น
รูปคาถาแต่ละคาถาแล้ว ยกข้อความในคาถานั้นอธิบายเป็นบท ๆ
ไป เช่นข้อความว่า
กาม กามยมานสฺ ส าติ กามาติ : อุ ทฺ ท านโต เทฺ ว กามา :
วตฺถุกามา จ กิเลสกามา
จ ฯเปฯ นี้ ยกคาว่า กาม กามยมานสฺส ในคาถามาตั้งต่างหากแล้ว
อธิบายว่า กามาติ : อุทฺทานโต เทฺว กามา : วตฺถุกามา จ กิเลสกามา
จ นี้ถือว่าเป็นต้นแบบการอธิบายพระพุทธพจน์ ที่พระสาวกทั้งหลายได้
อธิบายสืบต่อกัน มาจนกระทั่งมาถึงลังกา แล้วได้รับการแปลเป็นภาษา

๑๕๒
ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑/๑-๓, ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑/๑-๓.
๘๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

สิงหล จนประมาณ พ.ศ. ๙๐๐ พระพุทธโฆสาจารย์ได้มาแปลอรรถกถา


คาอธิบายพระไตรปิฎกกลับเป็นภาษาบาลี
แนวการอธิบายของท่านพระสารีบุต รนี้ คงเป็นต้นแบบแห่งวิชา
เรียงความแก้กระทู้ธรรมของพระปริยัติธรรมแผนกธรรมสนามหลวง คือ
ทางกองธรรม สนามหลวงจะออกข้อสอบเป็นคาถาภาษาบาลี ให้นักเรียน
แต่งเรียงความอ้างพระพุทธพจน์มารับแบบที่ท่านพระสารีบุตรอ้างคาถา
ของพระเจ้าอัฑฒมาสก มาประกอบ การอธิบายแล้วสรุปจบโดยยกคาถา
ที่ตั้งเป็นบทอุทเทสมากล่าวอีกครั้งหนึ่ง
การอธิ บ ายอี ก แบบหนึ่ ง คื อ ท่ า นอธิ บ ายแบบอุ ท เทส นิ ท เทส
และปฏินิ ทเทส คื อ ยกคาถาขึ้นเป็นบทอุทเทสแล้วนิทเทส คือ อธิบาย
แล้วสรุปด้วยคาถาที่ยกขึ้นเป็นบทอุทเทส เช่น ที่ท่านอธิบายสารีปุตตสูตร
เป็ น พระสู ต รที่ ท่ า นเข้ า เฝ้ า พระพุ ท ธเจ้ า ซึ่ ง เสด็ จ ลงจากเทวโลกที่
สังกัสสนครแล้วกล่าวคาถาสรรเสริญพระพุทธเจ้า ดังตัวอย่างเพียงคาถา
ดังนี้
น เม ทิฏฺโ อิโต ปุพฺเพ (อิจฺจายสฺมา สารีปุตฺโต)
น สุโต อุท กสฺสจิ
เอว วคฺคุวโท สตฺถา
ตุสิตา คณิมาคโต.๑๕๓
น เม ทิฏฺโ อิโต ปุพฺเพติ : อิโต ปุพฺเพ เม มยา น ทิฏฺ ปุพฺ โพ โส
ภควา อิ มิ น า จกฺ ขุ น า อิ มิ น า อตฺ ต ภาเวน, ยทา ภควา ตาวตึ ส ภวเน
ปาริ จฺ ฉ ตฺ ต กมู เล ปณฺ ฑุ ก มฺ พ ลสิ ล าย วสฺ ส วุ ฏฺ โ เทวคณปริ วุ โต มชฺ เฌ

๑๕๓
ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๒๓/๕๒๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๘๑

มณิมเยน โสปาเณน สงฺกสฺสนคร โอติณฺโณ อิม ทสฺสน ปุพฺเพ น ทิฏฺโ ติ น


เม ทิฏฺโ อิโต ปุพฺเพ.๑๕๔
แปลว่า “(ท่านพระสารีบุตรกล่าวดังนี้)
พระศาสดา ผู้มีพระสุรเสียงไพเราะอย่างนี้
ได้เสด็จจากภพดุสิตมาเป็นพระคณาจารย์
ก่อนหน้านี้ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็น
ทั้งไม่เคยได้ยินจากใครๆ มาเลย
คาว่า ก่อนหน้านี้ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็น อธิบายว่า ก่อนหน้า
นี้ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นด้วยตานี้ ด้วยอัตภาพนี้
เลย คือ ในกาลใดพระผู้มีพ ระภาคเสด็จออกพรรษาที่บัณ ฑุกัมพลศิลา
อาสน์ ณ โคนไม้ปาริฉัตตกะในภพดาวดึงส์ อันหมู่เทวดาแวดล้อมเสด็จลง
สู่สังกัสสนครทางบันไดแก้วมณีต รงกลาง ในกาลนั้น เว้นการเห็นครั้งนี้
ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นในกาลก่อนเลย รวมความว่า ก่อนหน้านี้ ข้าพเจ้าไม่เคย
เห็น” ๑๕๕
พระสารีบุตรอธิบายคาถานี้ทุกบท ตั้งแต่บาทแรกว่า “น เม ทิฏฺโ
อิ โ ต ปุ พฺ เพ ” จนถึ ง บาทสุ ด ท้ า ย คื อ อาคโต ในบาทคาถาว่ า “ตุ สิ ต า
คณิมาคโต” ดังนี้

๑๕๔
ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๙๐/๕๔๑.
๑๕๕
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๙๐/๕๓๕.
๘๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

อาคโตติ : อุ ป คโต สมุ ป คโต สมฺ ป ตฺ โ ต สงฺ ก สฺ ส นครนฺ ติ ตุ สิ ต า


คณิมาคโต. เตนาห เถโรสาริปุตฺโต
“น เม ทิฏฺโ อิโต ปุพฺเพ (อิจฺจายสฺมา สารีปตุ โฺ ต)
น สุโต อุท กสฺสจิ
เอว วคฺคุวโท สตฺถา
ตุสิตา คณิมาคโต”ติ.๑๕๖
แปลว่า “คาว่า เสด็จมาแล้ว ได้แ ก่ ทรงเข้าไป ทรงเข้าไปถึง
ทรงถึงพร้อมซึ่งสังกัสสนครแล้ว รวมความว่า เสด็จจากภพดุสิตมาเป็น
พระคณาจารย์ ด้วยเหตุนั้นพระสารีบุตรเถระจึงกล่าวว่า
พระศาสดา ผูม้ ีพระสุรเสียงไพเราะอย่างนี้
ได้เสด็จจากภพดุสิตมาเป็นพระคณาจารย์
ก่อนหน้านี้ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็น
ทั้งไม่เคยได้ยินจากใครๆ มาเลย” ๑๕๗
ข้อความที่พระสารีบุตรอธิบายคาถานี้ ถือว่า เป็นหลักฐานเรื่องที่
พระพุทธเจ้าเสด็จมาจากเทวโลกลงที่เมืองสังกัสสนคร หลังจากพระองค์
ทรงแสดงพระอภิธรรมแล้ว
สาหรับพระสูตร ๑๕ สูตรในอัฏฐกวรรค คัมภีร์สุ ตตนิบาตนี้ เป็น
คาถาล้วน เป็นพระสูตรที่พระสาวกทั้งหลายทรงจาสาธยาย ทรงจากัน
ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ดังมีเรื่องปรากฏในคัมภีร์พระวินัยปิฎกมหาวรรคว่า
ครั้งหนึ่ง ท่านพระโสณเถระไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าที่ วัดพระเชตวัน กรุง

๑๕๖
ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๙๐/...
๑๕๗
ขุ.ม. (ไทย) ๒๙/๑๙๐/๕๓๘.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๘๓

สาวัตถี พระพุทธเจ้าโปรดให้พระอานนท์จัดที่พักให้ในพระคันธกุฎีหลัง
เดี ย วกั บ พระองค์ ในช่ ว งเวลาใกล้ รุ่งพระพุ ท ธเจ้ าทรงเชื้อ เชิ ญ ให้ ท่ า น
พระโสณะ กล่าวธรรมตามที่ท่านทรงจามา ท่านพระโสณะได้สวดพระสูตร
๑๕ สูตร ในอัฏฐกวรรค โดยทานองสรภัญญะ เมื่อจบลง พระพุทธเจ้าทรง
ชื่นชมได้ประทาน สาธุการ๑๕๘ พระสูตร ๑๕ สูตรนี้ คงเป็นเทศนาที่ พระ
สาวกทั้งหลายนิยมศึกษากันมาก เมื่อมีการศึกษาทรงจากันมาก ท่านพระ
สารีบุตรเถระ จึงได้อธิบายไว้ และได้รับการสืบต่อมา พระสังคีติกาจารย์
ทั้งหลายได้ยกขึ้นสู่สังคายนาจัดเป็นพระไตรปิฎก เรียกว่า คั มภีร์นิทเทส
คาว่า นิ ทเทส หมายถึงการอธิบ ายขยายความ คือคั มภี ร์อ ธิบ ายขยาย
ความพระพุทธพจน์นั่นเอง

๔.๑ รูปแบบอรรถกถาวิธีของพระพุทธเจ้า
การอธิบายของพระพุทธเจ้านั้น คาอธิบายปรากฏติดต่อกับข้อความที่
พระองค์ทรงยกขึ้น เป็ น บทอุทเทส คือ หั วข้อ พระองค์ทรงแสดงธรรม โดย
พระองค์ ท รงยกหั ว ข้ อ ขึ้ น แสดงแล้ ว ทรงอธิ บ ายในตอนต่ อ มา ข้ อ ความที่
พระองค์ทรงอธิบ าย ก็เป็ นข้อความคาอธิบาย การอธิบายนั้น พระองค์ตรัส
อธิบ ายด้วยพระวาจา เมื่อกาหนดความหมายแห่ งคาว่า อรรถกถา ก็พบว่า
คาอธิบายของพระพุทธเจ้านั้นเป็นอรรถกถา คือ เป็นถ้อยคาที่พระองค์ทรงใช้
พระวาจาตรัสอธิบายออกมา คาว่า อตฺถกถา คือ อรรถกถา ในภาคภาษาไทย

๑๕๘
วิ.ม. (บาลี) ๕/๒๕๗-๒๕๙/๒๐-๒๕, วิ.ม. (ไทย) ๕/๒๕๗-๒๕๙/๓๒-๓๙.
๘๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

มีการวิเคราะห์ คือ แยกแยะศัพท์ ดังนี้


“อตฺโถ กถิยติ เอตายาติ อฏฺ กถา, สาเยว อตฺถกถา ๑๕๙ : อธิบาย อัน
ท่านย่ อ มกล่ าวด้ว ยวาจานั้ น ดั งนั้ น วาจาที่ กล่ าวอธิบาย จึงชื่อว่าอั ฏ ฐกถา
อัฏฐกถานั้นแหละเป็นอัตถกถา” ๑๖๐ คาว่า เตน เติมเข้ามา แปลว่า “อันท่าน”
กถิยติ : ย่อมกล่าว คือ ผู้กล่าวอธิบาย เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสอธิบาย ก็เติมคาว่า
พุทฺเธน เข้ามาอีกเป็น เตน พุทฺเธน แปลว่า “อันพระพุทธเจ้า” คาว่า เอตาย
หมายถึงสิ่ งที่ใช้เป็ น อุป กรณ์ การอธิบ าย คือ ใช้ลิ้ นใช้เสียงกล่าวออกมาทาง
วาจาย คือ วาจา ก็คือ ถ้อยคาที่กล่าวออกมา คาว่า อิติ เป็นเหตุเป็นผล ตาม
หลักการแปลต้องเพิ่มคาว่า สา วาจา เข้ามา แปลว่า “วาจาที่กล่าวนั้น” ก็คือ
อตฺถกถา คือ วาจาที่กล่าวอธิบายนั่นแหละ รูปประโยคที่เป็นการแปลแบบยก
ศัพท์ ดังนี้
อตฺโถ : อธิบาย (เตน อันท่าน พุทฺเธน คือ อันพระพุทธเจ้า) กถิยติ ย่อม
ตรัส เอตาย(วาจาย) ด้วย(วาจา)นั้น อิติ ดังนั้น วาจาที่กล่าวอธิบาย จึงชื่อว่า
อรรถกถา เตน เป็น สรรพนาม คือคาแทนชื่อ ใครกล่าวอธิบาย ก็แทนชื่อคน
นั้ น กถิ ย ติ เป็ น กิ ริ ย า เอตาย วาจาย เป็ น ถ้อ ยคาที่ ใช้ก ล่ าว ใครกล่ าวถ้ อ ย
คาอธิบาย ถ้อยคาที่ผู้นั้นกล่าวอธิบาย ก็เป็นอรรถกถา การกาหนดคาอธิบาย
ของพระพุทธเจ้าเป็นอรรถกถานั้น พระอรรถกถาจารย์ก็อธิบายไว้ ดังข้อความ
ว่า “สมฺมาสมฺพุทฺเธเนวหิ ติณฺณมฺปิ ปิ ฏกาน อตฺถวณฺณ นากฺกโม ภาสิโต, ยา

๑๕๙
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๒๕.
๑๖๐
อตฺ โถ = อตฺ ถ กถิ ย ติ = กถา อตฺ ถ+กถา=อตฺ ถ กถา คื อ อตฺ โถ ปฐมาวิภั ติ
บทประธาน สาเร็จเป็นอตฺถในคาว่า อตฺถกถา กถิยติ กิริยากัมมวจากของบทประธาน
สาเร็จเป็นกถาในคาว่าอตฺถกถา บทสาเร็จแห่งกัมมสาธนะนี้ คือ อตฺถกถา.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๘๕

ปกิ ณฺ ณ กเทสนาติ วุจฺ จ ติ ”๑๖๑ แปลว่า “พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ตรัส อธิบ าย
พระไตรปิฎกไว้ตามลาดับ ซึ่งเรียกว่า ปกิณณกเทศนา” ปกิณณกเทศนา ก็คือ
ค าอธิ บ ายปลี ก ย่ อ ยนอกจากที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงอธิ บ ายขยายความไว้ ใน
พระไตรปิฎก รวมไปถึงคาสนทนาและเรื่องเล่าบางเรื่องที่พระพุทธองค์ทรงเล่า
พระสาวกทั้งหลายผู้ทาสังคายนาได้รวบรวมไว้ทรงจาสืบต่อเป็นอรรถกถา
คาอธิบายของพระพุทธเจ้านั้น ได้มาเป็นคาอธิบายของพระอรรถกถา
จารย์ยุคต่อมา เช่น ที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า “มาตร ปิตร หนฺตฺวา ... นิทฺทุกฺโข :
บุคคลฆ่ามารดาบิ ดาแล้ ว ... ย่ อมเป็ น ผู้ ป ราศจากทุ กข์ ” เมื่อพระอรรถกถา
จารย์อธิบายข้อความนี้ ท่านได้นาข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้อีกแห่ง
หนึ่ งมาเป็ น คาอธิบ าย คือ ท่ านอธิบ ายว่า “ตณฺ ห า ชเนติ ปุริส นฺ ติ วจนโต
ตณฺหามาตา นาม”๑๖๒ แปลว่า “ตัณหาชื่อว่ามารดา ตามคาว่า ตณฺหา ชเนติ
ปุริส : ตัณหาย่อมทาให้คนเกิด” คาว่า “ตณฺหา ชเนติ ปุริส : ตัณหาย่อมทาให้
คนเกิด” นี้ พระพุทธโฆสาจารย์ได้นาข้ อความที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ใน
คัมภีร์สังยุตตนิกาย สคาถวรรค๑๖๓ มาเป็นคาอธิบาย
การอธิบายพระวินัยปิฎก ในส่วนสิกขาบทวิภังค์นั้น เป็นคาอธิบายของ
พระพุทธเจ้า ก็ด้วยการกาหนดจากคาอธิบายในสิกขาบทวิภังค์แห่งพระวินัย

๑๖๑
สารตฺถ. ฏีกา (บาลี) ๑/๒๖, ที.สี.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๘, ม.มู.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๕,
ส.ส.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๖, องฺ.เอกก.ฏีกา (บาลี) ๑/๑๘.
๑๖๒
ขุ.ธ.อ. (บาลี) ๗/๑๐๒ มมร.
๑๖๓
ส.ส. (บาลี) ๑๕/๕๕/...
๘๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

ปิฎกนั้น ซึ่งมีบทพยัญชนะตรงกับบทพยัญชนะ ที่พระพุทธเจ้ ารับสั่งให้ภิกษุผู้


เป็นพระอุปัชฌาย์บอกอกรณียกิจแก่ภิกษุบวชใหม่ คือ ข้อความว่า
ปาราชิ โ ก โหตี ติ เสยฺ ย ถาปิ นาม ปุ ริ โ ส สี ส จฺ ฉิ นฺ โ น อภพฺ โ พ เตน
สรี ร พนฺ ธ เนน ชี วิ ตุ เอวเมว ภิ กฺ ขุ เมถุ น ธมฺ ม ปฏิ เสวิ ตฺ ว า อสฺ ส มโณ โหติ
อสกฺยปุตฺติโย, เตน วุจฺจติ “ปาราชิโก โหตี”ติ.๑๖๔ ข้อความนี้เป็นคาอธิบายใน
สิกขาบทวิภังค์ ซึ่งตรงกับคาบอกอกรณียกิจ ดังนี้
อุป สมฺป นฺ เนน ภิกฺขุน า เมถุโน ธมฺโม น ปฏิเสวิตพฺ โพ อนฺ ตมโส
ติรจฺฉานคตายปิ. โย ภิกฺขุ เมถุน ธมฺม ปฏิเสวติ, อสฺสมโณ โหติ อสกฺย -
ปุตฺติโย. เสยฺยถาปิ นาม ปุริโส สีสจฺ ฉินฺโน อภพฺโพ เตน สรีรพนฺธเนน ชีวิตุ
เอวเมว ภิ กฺขุ เมถุน ธมฺม ปฏิ เสวิตฺวา อสฺ ส มโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย. ตนฺเต
ยาวชีว อกรณีย.๑๖๕
เมื่อใช้หลักการมหาปเทสฝ่ายพระสูตร ที่พระพุทธเจ้าทรงประทานไว้
คือ เมื่อเกิดความสงสัยไม่แน่ใจ ก็ต้องตรวจสอบ ดังข้อความสรุป ดังนี้
ตสฺส ภาสิต เนว อภินนฺทิตพฺพ, นปฺปฏิกฺโกสิตพฺพ ๑๖๖ แปลว่า “ผู้รับฟัง
ไม่ พึ งชื่น ชมเชื่ อถือ ไม่พึ งคัด ค้านคาที่ท่ านผู้ นั้ น กล่ าว” หมายความว่า เมื่ อ
นามาใช้กับความสงสัยในสิกขาบทวิภังค์ ก็ยังไม่พึงยอมรับสิกขาบทวิภังค์ว่า
เป็ น ค าอธิ บ ายของพระพุ ท ธเจ้ า และไม่ พึ ง ปฏิ เสธสิ ก ขาบทวิ ภั งค์ ว่ า ไม่ ใช่
คาอธิบ ายของพระพุ ท ธเจ้ า ตานิ ปทพฺ ย ญฺ ช นานิ สาธุก อุคฺ ค เหตฺ ว า สุ ตฺ เต

๑๖๔
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๖.
๑๖๕
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๒๙/๑๔๐.
๑๖๖
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๘๗–๑๘๘/๑๐๘–๑๑๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๘๗–๑๘๘/
๑๓๔–๑๓๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๘๗

โอสาริตพฺพานิ, วินเย สนฺทสฺเสตพฺพานิ ๑๖๗ แปลว่า “พึงจาบทพยัญชนะนั้นให้


แล้ ว ตรวจสอบเที ย บเคี ย งทั้ งพระสู ต รและพระวิ นั ย ” หมายความว่ า เมื่ อ
นามาใช้กับความสงสัยในสิกขาบทวิภั งค์ ก็พึงจดจาข้อความสิกขาบทวิภังค์ให้
แม่นยานาไปตรวจสอบเทียบเคยงทั้งในพระสูตรและในพระวินัย ปัจจุบัน เรา
สามารถใช้เครื่องมือค้นข้อความภาษาบาลีที่บทพยัญชนะเหมือน เมื่อสืบค้นจน
พบแล้ว ก็ดาเนินการเทียบเคียง
ตานิ เจ สุ ตฺ เต โอสาริ ย มานานิ วิน เย สนฺ ท สฺ สิ ย มานานิ : หากเมื่ อ
ตรวจสอบเทีย บเคียงทั้งพระสู ตรและพระวินั ย น เจว สุ ตฺเต โอสรนฺติ , น จ
วิน เย สนฺ ทิ สฺ ส นฺ ติ : บทพยั ญ ชนะไม่ ล งกั น สมกั น ในพระสู ต รและพระวิ นั ย
นิฏฺ เมตฺถ คนฺ ตพฺพ ‘อทฺธา อิท น เจว ตสฺส ภควโต วจน, อิมสฺส จ ภิกฺขุโน
ทุคฺคหิตนฺ’ติ; อิติ เหต ภิกฺขเว ฉฑฺเฑยฺยาถ : พึงตัดสินใจได้เลยว่า เรื่องนี้มิใช่คา
สอนของพระผู้มีพระภาค ท่านนี้จามาผิด ดังนั้น พึงทิ้งเรื่องนั้นไป
การประยุกต์มาใช้ในเรื่องสิกขาบทวิภังค์ ก็คือ ถ้านาข้อความคาอธิบาย
ในสิกขาบทวิภังค์นั้นไปตรวจสอบแล้วหาข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงและ
บัญญัติคล้ายกันไม่พบ ก็พงึ ปรับความเห็นจากการที่เข้าใจว่าเป็นคาอธิบายของ
พระพุทธเจ้าเป็นมิใช่คาอธิบายของพระพุทธเจ้า
ตานิ เจ สุ ตฺ เต โอสาริ ย มานานิ วิ น เย สนฺ ท สฺ สิ ย มานานิ สุ ตฺ เต เจว
โอสรนฺติ, วินเย จสนฺทิสฺสนฺติ : หากเมื่อตรวจสอบเทียบเคียงทั้งพระสูตรและ

๑๖๗
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๘๗–๑๘๘/๑๐๘–๑๑๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๘๗–๑๘๘/
๑๓๔–๑๓๖.
๘๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

พระวินั ย บทพยั ญชนะลงกัน สมกัน ทั้งในพระสูตรและพระวินัย นิฏฺ เมตฺถ


คนฺ ตพฺ พ ‘อทฺธ า อิท ตสฺ ส ภควโต วจน , อิมสฺส จ ภิกฺขุโนสุ คฺคหิ ตนฺ ’ติ : พึ ง
ตัดสินใจได้เลยว่า เรื่องเป็นคาสอนของพระพุทธเจ้า ท่านเหล่านั้นศึกษาจามาดี
การประยุกต์มาใช้ในเรื่องสิกขาบทวิภังค์ ก็คือ ถ้านาข้อความคาอธิบาย
ในสิกขาบทวิภังค์นั้นไปตรวจสอบแล้วหาข้อความที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงและ
บัญญัติคล้ายกันพบ และเทียบเคียงลงกัน ก็พึงลงความเห็นการที่เข้าใจว่าเป็น
คาอธิบายของพระพุทธเจ้าว่า เป็นคาอธิบายของพระพุทธเจ้า
ดังตัวอย่างไว้ข้างต้นนั้น มีข้อความในสิกขาบทวิภังค์ว่า เสยฺยถาปิ นาม
ปุริโส สีสจฺฉินฺโน อภพฺโพ เตน สรีรพนฺธเนน ชีวิตุ เอวเมว ภิกฺขุ เมถุน ธมฺม
ปฏิเสวิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย, เตน วุจฺจติ “ปาราชิโก โหติ๑๖๘ และ
ข้อความที่พระพุทธองค์รับสั่งให้ภิกษุอุปัชฌาย์บอกภิกษุบวชใหม่ข้อความตอน
หนึ่ ง คือเสยฺ ย ถาปิ นาม ปุ ริโส สี ส จฺฉิ นฺ โน อภพฺ โพ เตน สรีรพนฺธเนน ชีวิตุ
เอวเมว ภิ กฺขุ เมถุน ธมฺม ปฏิ เสวิตฺวา อสฺ ส มโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย. ตนฺเต
ยาวชีว อกรณีย.๑๖๙
ข้อความต่างกันเฉพาะตรงที่ในสิกขาบทวิภังค์เป็นเรื่องที่ตัดสินว่า ต้อง
อาบั ติป าราชิก พระพุทธเจ้าจึ งทรงใช้คาว่า “เตน วุจฺจติ “ปาราชิ โก โหติ :
ดังนั้น เราตถาคตจึงกล่าวว่า เป็นปาราชิก ” และในคาบอกอกรณียกิจ ซึ่งเป็น
การกาชับไม่ให้ล่วงละเมิดว่า “ตนฺเต ยาวชีว อกรณีย : ข้อห้ามนั้น เธอไม่พึง
กระทาจนตลอดชีวิต”

๑๖๘
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๕๕/๓๖.
๑๖๙
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๒๙/๑๔๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๘๙

หลักมหาปเทสนี้ เป็นหลักการอ้างอิงที่สาคัญ สาหรับอ้างอิงใช้ในการ


ตรวจสอบการตีความพระธรรมวินัยแล้วสั่งสอนเผยแผ่แตกต่างกัน ซึ่งจะได้
นามาเป็นเครื่องมือตรวจสอบการตีความหลักคาสอนในสังคมไทยในบทที่ ๔ นี้
๔.๒ รูปแบบอรรถกถาวิธีของพระพุทธสาวก
การอธิบ ายของพระพุ ท ธสาวก เช่ น การอธิบ ายลมอัส สาสะและลม
ปัสสาสะของฝ่ายพระวินัยธรถูกต้อง หรือฝ่ายของมัชฌิ มภาณกาจารย์ถูกต้อง
ต้องศึกษาคาอธิบายอานาปานสติกถาของพระสารีบุตรธรรมเสนาบดี จึงจะ
ทราบ หมายความว่า การอธิบายของพระพุทธสาวก คือ พระสารีบุตรนั้น ใช้
เป็นเครื่องมือตัดสินวิธีการปฏิบัติอานาปานสติกัมมัฏฐานได้ คือ อานาปานสติ
ภาวนา ที่มีการกาหนดลมอัสสาสะกับ ลมปั สสาสะนั้น พระพุ ทธโฆสาจารย์
รวบรวมคาอธิบายที่มีอยู่ในลังกาแต่งอรรถกถาได้คงคาอธิบายตามที่ท่านได้
จากคัมภีร์ วินั ย ปิ ฎ กอรรถกถาเดิม ซึ่งฝ่ ายพระวินัยธรอธิบายว่า อสฺสาโสติ
พหิ นิ กฺขมนวาโต. ปสฺส าโสติ อนฺ โตปวิส นวาโต. สุ ตฺตนฺตฏฺ กถาสุ ปน
อุ ปฺ ป ฏิ ป าฏิ ย า อาคต . ๑๗๐ แปลว่ า “ที่ ชื่ อ ว่ า อั ส สาสะ ได้ แ ก่ ลมที่ อ อกไป
ภายนอก ที่ชื่อว่าปัสสาสะ ได้แ ก่ ลมที่เข้าไปภายใน ส่วนคาในอรรถกถาแห่ง
พระสูตรทั้งหลาย มาย้อนลาดับกัน ”๑๗๑ ที่พระพุทธโฆสาจารย์กล่าวว่า ย้อน
ลาดับนั้น ก็เพราะในพระสุตตันตปิฎกอรรถกถา ท่านได้รวบรวมคาอธิบายที่มี
อยู่ เดิมมาว่า “อสฺ สาโสติ อนฺ โตปวิส นนาสิ กวาโต. ปสฺสาโสติ พหิ นิ กฺขมน-

๑๗๐
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๑๖๕/๔๔๖.
๑๗๑
คาว่า อสฺสาสปสฺสาส ในอรรถกถาพระวินัย หมายถึง ลมหายใจออกหายใจ
เข้า ส่วนในพระสูตร หมายถึง ลมหายใจเข้าหายใจออก.
๙๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

นาสิกวาโต”๑๗๒ แปลว่า “ที่ชื่อว่าอัสสาสะ ได้แก่ ลมทางจมูกที่เข้าไปภายใน


ที่ชื่อว่าปัสสาสะ ได้แก่ ลมทางจมูกที่ออกไปภายนอก”
พระพุทธโฆสาจารย์ท่านก็มิได้ตัดสิ น ว่า ฝ่ ายพระวินัยอธิบายถูกต้อง
หรือฝ่ายพระสูตรอธิบายถู กต้อง ก็ต้องตรวจสอบคาอธิบายของพระสารีบุตร
ว่าทาให้ทราบว่าแบบไหนถูก ต้อง คือ พระสารีบุตรอธิบายลมอัสสาสะกับลม
ปัสสาสะตอนหนึ่ง ดังนี้
อสฺ ส าสาทิ ม ชฺ ฌ ปริ โ ยสาน สติ ย า อนุ ค จฺ ฉ โต อชฺ ฌ ตฺ ต วิ กฺ เ ขป -
คเตน จิ ตฺ เตน กาโยปิ จิ ตฺ ต มฺ ปิ สารทฺ ธ า จ โหนฺ ติ อิ ญฺ ชิ ต า จ ผนฺ ทิ ต า จ,
ปสฺ ส าสาทิ ม ชฺ ฌ ปริ โยสาน สติ ย า อนุ ค จฺ ฉ โตพหิ ทฺ ธ า วิ กฺ เขปคเตน จิ ตฺ เตน
กาโยปิ จิตฺตมฺปิ สารทฺธา จ โหนฺติ อิญฺชิตา จ ผนฺทิตา จ๑๗๓
แปลว่า “เมื่อพระโยคาวจรใช้สติตามลมหายใจเข้าไปถึงฐานเบื้องต้น
ท่ ามกลาง และที่ สุ ดกายและจิ ต ย่ อ มกระสั บ กระส่ าย หวั่นไหว และดิ้ น รน
เพราะจิ ตถึ งความฟุ้ งซ่าน ในภายใน เมื่อพระโยคาวจรใช้ส ติตามลมหายใจ
ออกไปถึงฐานเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด กายและจิตย่อมกระสับกระส่าย
หวั่นไหว และดิ้นรน เพราะจิตถึงความฟุ้งซ่านในภายนอก”
จากถ้อยคาที่พระสารีบุตรอธิบ ายว่า “อสฺสาส ... อนุคจฺฉโต อชฺฌตฺต
วิกฺเขปคเตน จิตฺเตน : เพราะเมื่อตามลมอัสสาสะจิตฟุ่งซ่านในภายใน” แสดง
ว่า อสฺสาส หมายถึงลมหายใจเข้า และจากถ้อยคาที่พระสารีบุตรอธิบายว่า
“ปสฺ ส าส... อนุ ค จฺ ฉ โต พหิ ทฺ ธ า วิ กฺ เขปคเตน จิ ตฺ เตน : เพราะเมื่ อ ตามลม
ปัสสาสะจิตฟุ่งซ่านในภายนอก” แสดงว่า ปสฺสาส หมายถึงลมหายใจออก

๑๗๒
ม.มู.อ. (บาลี) ๒/๓๐๕/๑๓๖.
๑๗๓
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๕๗/๑๗๘.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๙๑

๕. หลักการวิจัยทางภาษาบาลี
๕.๑ ความหมายและความสาคัญ
ค าว่ า “วิ จ ย” ที่ ห มายถึ งการ ค้ น หา, แสวงหา ได้ ต รวจสอบค้ น หา
ความหมายแห่งคาว่า วิจัย จากคัมภีร์พระไตรปิฎกอรรถกถาฎีกาปกรณวิเสส
และไวยากรณ์ ก็ได้ข้อสรุปว่า
วิจ ยศั พ ท์ ที่ น ามาใช้ ในภาษาไทยว่ า “การวิ จัย ” ซึ่ งปรากฏในคั ม ภี ร์
พระไตรปิ ฎ ก หมายถึ งการใช้ปั ญ ญาความรู้เลื อกเฟ้นค้นหา ๑๗๔ คือ ค้นคว้า
แสวงข้อมูล เพื่อตอบโจทย์ การวิจั ยที่ตั้งไว้ หมายถึงการเลือกเฟ้นแล้ว ลงมือ
กระท าสิ่ งที่ พึ งท า ๑๗๕ คื อ ด าเนิ น การวิ จั ย นั่ น เอง หมายถึ งการที่ บุ ค คลผู้ มี
ความรู้ใช้ความรู้ค้นคว้า ๑๗๖ คือ การจะทาวิจัยได้ ผู้ทาวิจัยก็ต้องมีค วามรู้ใน
ระเบียบวิธีวิจัย และมีความรู้ในเรื่องที่จะทาวิจัยด้วย หมายถึ งความรู้ เลือก

๑๗๔
โยนิโส วิจิเน ธมม : บุคคลพึงเลือกเฟ้นธรรมโดยแยบคาย องฺ.สตฺตก. (บาลี)
๒๓/๓/๒.
๑๗๕
วิเจยฺ ยทาน สุ คตปฺ ป สตฺถ การเลื อ กเฟ้ น แล้ วให้ เป็ น สิ่ งที่ พ ระสุ คตเจ้าทรง
สรรเสริญ ส.ส. (บาลี) ๑๕/๓๓/๒๔.
๑๗๖
ปญฺ า ปชานนา วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๐/๑๖, ขุ.จู.
(บาลี) ๓๐/๕/๓๔ แปลเอาความว่า “ความรอบรู้ กิริยาที่รอบรู้ การวิจัย การเลือกเฟ้น
การเลือกเฟ้นข้อธรรม.
๙๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

เฟ้ น ค้น คว้าหลั กธรรม ที่ เกิดขึ้น ปรารภสิ่งนั้ น ๆ ๑๗๗ คืองานวิจัยที่ตั้งเรื่องไว้


ปรารภอะไร ก็เลือกเฟ้น ค้นหาเรื่องนั้นๆ
วิจ ยศั พ ท์ ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ อ รรถกถาและคัม ภี ร์ฎี ก า หมายถึ ง การ
ค้นคว้าข้อธรรม เมื่อนามาใช้ในวิจัยเชิงสังคม ก็คือ การค้นคว้าเรื่องนั้นๆ ซึ่งใน
คัมภีร์ท่านใช้คาว่าธรรม หมายถึงการค้นคว้าสัจจธรรม ๔๑๗๘ หมายถึงความ
ฉลาดในการใช้ความรู้ ๑๗๙ หมายถึงความรอบรู้และการวิจารณ์ ๑๘๐ หมายถึง
การค้ น คว้ า ข้ อ ธรรมทั้ ง หลาย ๑๘๑ หมายถึ ง วิ ธี วิ จั ย หรื อ ระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย

๑๗๗
ทุกฺข ทุกฺขสมุทย ทุกฺขนิโรธ ทุกฺขนิโรธคามินึ ปฏิปท อารพฺภ ยา อุปฺปชฺชติ,
ปญฺ า ปชานนา วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๐๙/๑๒๒-๑๒๓, แปลเอา
ความว่า “ความรอบรู้ ความรู้ชัดเจน การเลือกเฟ้น การค้นคว้า การวิจัยธรรม ที่เกิดขึ้น
ปรารภทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”.
๑๗๘
จตุสจฺจธมฺเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย” ม.ม.อ. (บาลี) ๑/๑๔๒ มมร., แปลว่า
“ธรรมวิจัย หมายถึงการค้นคว้าสัจจธรรม ๔ อย่าง”.
๑๗๙
ปญฺ าปเภทกุ ส ลนฺ ติ ยา ปญฺ า ปชานนา วิ จ โย ปวิ จ โยติ อ าทิ น า นเยน
ปญฺ าย ปเภทชานเน เฉก -ขุ.จู.อ. (บาลี) ๓๘๖ มมร., แปลว่า “ความฉลาดในประเภท
แห่งความรอบรู้ ก็คือ ความเฉลียวฉลาดในความรอบรู้ในวิธีการใช้ความรอบรู้ เช่น ความ
รอบรู้ที่เป็นการวิจัย การค้นคว้า”.
๑๘๐
ธมฺเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ปญฺ าเยต นาม. ปวิจยฏฺโ ติ วิจารฏฺโ ขุ.ป.อ.
(บาลี) ๑/๑๖๓ มมร. แปลว่า “การค้นคว้าข้อธรรมนั้น หมายถึงความรอบรู้ การค้นคว้า
เชิงลึก หมายถึงการวิจารณ์”.
๑๘๑
อนิจฺจาทีนิ วิจินาตีติ วิจโย. ปวิจโยติ อุปสคฺเคน ปท วฑฺฒิต ปกาเรน วิจโยติ
อตฺโถ. ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๖๑๖,อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) ๑/๓๐๘ มมร., แปลว่า “การวิจัย คือ การ
ค้นคว้าข้อธรรม เช่น ความไม่เที่ยง บทอุปสัคที่เพิ่มเข้ามาเป็น ปวิจย หมายถึงการค้นคว้า
โดยประการต่างๆ”.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๙๓

เช่นเดียวกับการวิจัยในเชิงสังคมศาสตร์ ๑๘๒ ในข้อความที่กล่าวนี้ท่านใช้คาว่า


วิจยนวิธิ ตามรูปศัพท์เท่ากับวิจยวิธิ๑๘๓ ซึ่งท่านอธิบายหมายถึงการค้นหาการ
ปฏิบัติอานาปานสติที่เกิดอาการกายและจิตเบา ผู้ที่ทางานวิจัยสามารถนาคานี้
มาใช้ในการค้นคว้าข้อมูลเขียนงานวิจยั ในเรื่องอื่นได้
วิจยศัพท์ที่ปรากฏในคัมภีร์ไวยากรณ์ ซึ่งเป็ นคัมภีร์ที่อธิบายหลักภาษา
บาลี ผู้จะทาวิจัยทางพระพุทธศาสนา จาเป็นต้องศึกษา เพื่อนาความรู้ในหลัก
ไวยากรณ์ มาใช้ ในการศึกษาความหมายศัพ ท์ แต่ล ะศัพ ท์ ที่ ปรากฏในคัม ภี ร์
พระไตรปิฎกอรรถกถาและฎีกา จากนั้นจึงเขียนคาจากัดความหรือความหมาย
แห่ งศัพ ท์ ที่ใช้ในการวิจั ย ทางพระพุ ทธศาสนา วิจยศั พท์ ในไวยากรณ์ ที่ เป็ น
ค านามกิ ริ ย าอาการ หมายถึ งการพิ จ ารณา การไตร่ ต รอง การค้ น คว้ า ๑๘๔

๑๘๒
โอฬาริ เก อสฺ ส าสปสฺ ส าเส นิ รุ ทฺ เธติ อ าทิ เหฏฺ า วุ ตฺ ต นยมฺ หิ วิ เจตพฺ พ า
การปฺปตฺตสฺส กายสงฺขารสฺส วิจยนวิธึ ทสฺเสตุ อานีต. สารตฺถ.ฏีกา ๒/๒๖๔, วิมติ.ฏีกา
๑/๒๘๐,วิสุทฺธิ.มหาฏีกา ๑/๓๙๙, แปลว่า “คาว่า กาโยปิ จิตฺตมฺปิ ลหุก โหติ : กายก็ดีจิต
ก็ดี ย่อมเบา ท่านนามาเพื่อแสดงวิธีจัย คือ ค้ากายสังขารที่ถึงการพึงวิจัยในนัยที่กล่าวไว้
ตอนต้นว่า เมื่อลมอัสสาสและปัสสาสะหยาบดับลงแล้ว”.
๑๘๓
วิจยน ลงยุปัจจัย แปลงยุเป็น อน วิจย+อน เท่ากับ วิจยน วิจย ลงอปัจจัย
วิจย+อ เท่ากับวิจย.
๑๘๔
อิท ปน ปญฺ าย ปริยายวจน พระอัคควังสเถระ, สัททนีติปทมาลา คัมภีร์
หลักบาลีมหาไวยากรณ์ เล่ม ๑. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๔๖),
หน้า ๒๘๖-๒๘๗.
๙๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

หมายถึงปั ญญา๑๘๕ หมายถึงความรู้ ๑๘๖ หมายถึง การคัดเลือกค้นคว้า ๑๘๗ ที่


เป็นคานามชื่อบุคคลผู้วิจัย หมายถึงผู้ เลือกเฟ้น คือ ผู้วิจัย๑๘๘ จากความหมาย
ในคัมภีร์ไวยากรณ์ การคัดเลื อก ก็คื อเลื อกท าวิจัย ตั้งหั วข้อวิจัย พิจารณา
ไตร่ตรอง ก็คือ พิจารณาที่จะดาเนินการวิจัย การใช้ปัญญาความรู้ค้นคว้า ก็คือ
ศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นนามาเรียบเรียงเป็นงานวิจัย วิจัยในไวยากรณ์จึง
หมายถึ ง ทั้ ง การด าเนิ น การวิ จั ย เรื่ อ งนั้ น ๆ และผู้ วิ จั ย คื อ หมายถึ ง บุ ค คล
ผู้ดาเนินการวิจัยเรื่องนั้นๆ
ในคั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธศาสนามี ก ารอธิ บ ายธรรมของพระพุ ท ธเจ้ า เช่ น
พระองค์ท รงอธิบ ายพระวินั ย ๑๘๙ ทรงอธิบ ายพระสู ต ร ๑๙๐ ทรงอธิบ ายพระ
อภิธรรม๑๙๑ การอธิบายธรรมของพระสาวกทั้งหลาย ๑๙๒ การอธิบายในอรรถ

๑๘๕
วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจยเมว แปลว่า “การพิจารณา การไตร่ตรอง การค้นคว้า”
พระอั ค ควั ง สเถระ, สั ท ทนี ติ ป ทมาลา คั ม ภี ร์ ห ลั ก บาลี ม หาไวยากรณ์ เล่ ม ๑.
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๔๖), หน้า ๒๘๖-๒๘๗.
๑๘๖
วิจโย พุทฺธินาม อภิธาน.ฏีกา ๑๕๔, แปลว่า “วิจัย คือการคัดเลือก เป็นชื่อ
แห่งความรู้”.
๑๘๗
วิ จิ ย เตติ วิ จ โย การวิ จั ย ชื่ อ ว่ า วิ จ ยะ” (ลบ ณฺ วุ ท ธิ อิ เป็ น เอ อาเทศ
เอ เป็น อย, ลบสระหน้า อนิจฺจาทีนิ วิจินาตีติ วิจโย การวิจัยซึ่งธรรมที่ไม่เที่ยงเป็นต้น ชื่อ
ว่าวิจัย คัมภีร์อภิธานวรรณนา. หน้า ๙๓๗-๙๓๘.
๑๘๘
วิเคราะห์ว่า วิจินาตีติ วิจโย แปลว่า บุคคลใด ย่อมค้นคว้า เหตุนั้น บุคคลนั้น
ชื่อว่า วิจโย คือผู้ค้นคว้าวิจัย พระอัคควังสเถระ, สัททนีติธาตุมาลา คัมภีร์หลักบาลีมหา
ไวยากรณ์ เล่ม ๒. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๔๖), หน้า ๙๒๔.
๑๘๙
ดูรายละเอียดในบทที่ ๒ หน้า ๑๘-๒๕.
๑๙๐
ดูรายละเอียดในบทที่ ๒ หน้า ๒๕-๓๔.
๑๙๑
ดูรายละเอียดในบทที่ ๒ หน้า ๓๔-๓๕.
๑๙๒
ดูรายละเอียดในบทที่ ๒ หน้า ๓๖-๗๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๙๕

กถาฎีกา๑๙๓ โดยใช้ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าอ่านตาราทางพระพุทธศาสนา
และหนั งสื อของผู้ ท รงคุ ณ วุฒิ ทั้ งหลาย ค้ น คว้าประเด็น การตีค วามหลั กค า
สอน๑๙๔
หลักการอธิบายความในคัมภีร์พระพุทธศาสนา คือคาอธิบายที่พระพุทธ
องค์กับพระสาวกทั้งหลายอธิบายไว้ ปรากฏอยู่ในคัมภีร์พระไตรปิ ฎกส่วนหนึ่ง
ปรากฏอยู่ในอรรถกถาส่วนหนึ่ง และคาอธิบายที่พระอรรถกถาจารย์ และพระ
ฎีกาจารย์ทั้งหลายอธิบายในยุคต่อมาปรากฏอยู่ในคัมภีร์อรรถกถา และคัมภีร์
ฎีกา
๕.๒ หลักการวิจัยในคัมีร์พระไตรปิฎก
จากการก าหนดวิ ธี ก ารตั ด สิ น ทางธรรมวิ นั ย ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์
พระพุ ท ธศาสนา มี ทั้งตามแนวพระวินั ย และตามแนวพระสู ต ร ซึ่งเรียกว่า
มหาปเทส คือ หลักการสาหรับใช้อ้างอิงที่สาคัญ เพื่อนาเสนอหลักคาสอนทาง
พระพุทธศาสนาในรูปแบบองค์ความรู้ในเรื่องนั้นๆ เช่น ที่พระโบราณาจารย์
วิจัย คือ เลือกเฟ้นรวบรวมหลักคาสอนแล้วเรียนเรียงเป็นคัมภีร์ เช่น คัมภีร์
วิสุท ธมรรค คัมภีร์ วินั ยสั งคหะ คัมภีร์สุ ตตสั งคหะ คัมภีร์อภิธัมมัตถสั ง คหะ
จนกระทั่งพระสิริมังคลาจารย์ชาวพิงครัฐ เลือกเฟ้นรวบรวมเรื่องมงคลเรียบ
เรียงคัมภีร์มังคลัตถทีปนีและเป็นหลักการใช้สอบสวนเทียบเคียงความเห็นทาง
ธรรมวินั ย ที่ แตกต่ างกั น มี ทั้ งฝ่ ายพระวินั ย ส าหรับ ใช้ ตรวจสอบเที ยบเคี ย ง

๑๙๓
ดูรายละเอียดในบทที่ ๒ หน้า ๗๐-๘๕.
๑๙๔
ดูรายละเอียดในบทที่ ๒ หน้า ๘๕-๑๐๖.
๙๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

เกี่ยวกับพระวินัย ๑๙๕ และฝ่ายพระสูตร ซึ่งปรากฏอยู่ในมหาปรินิพพานสูตร


สาหรับใช้ตรวจสอบเทียบเคียงพระธรรม
๕.๓ ความหมายการวิจัยภาษาบาลี
ค าว่ า วิ จ ย วิ อุ ป สั ค แปลว่ า “วิ เ ศษ, แจ้ ง , ต่ า ง, และใช้ ก ลั บ
ความหมาย” เป็นบทหน้า จิธาตุในอรรถะว่า สั่งสม,ก่อ เมื่อ วิอุปสัคนาหน้า
จิธาตุ ทาให้ความหมาย เปลี่ยน คือ เปลี่ยนความหมายจิธาตุ เป็นเลือกเฟ้น,
ค้นหา,แสวงหา วิจัยนั้ น พอจะกาหนดความหมายตามที่ปรากฏในคัมภีร์ได้
ดังนี้
วิจัยตามความหมายที่ปรากฏในพระไตรปิฎก คือ
๑. วิจัย หมายถึงการเลือกเฟ้นค้นหาความรู้ด้วยปัญญา ดังข้ อความว่า
โยนิโส วิจิเน ธมม บุคคลพึงเลือกเฟ้นธรรมโดยแยบคาย๑๙๖
๒. วิจัย หมายถึงการเลือกเฟ้นแล้วลงมือกระทากิจกรรม ดังข้อความว่า
วิเจยฺยทาน สุคตปฺปสตฺถ๑๙๗ การเลือกเฟ้นแล้วให้ เป็นสิ่งที่พระสุคตเจ้าทรง
สรรเสริญ
๓. วิจั ย หมายถึงการเลื อกเฟ้ น ด้ ว ยปั ญ ญา ดั งข้อ ความว่า ปญฺ าย
ปวิจินาติ บุคคลย่อมเลือกเฟ้นด้วยปัญญา๑๙๘
๔. วิ จั ย หมายถึ ง การที่ บุ ค คลผู้ มี ค วามรู้ ใ ช้ ค วามรู้ วิ จั ย ค้ น คว้ า

๑๙๕
ดูรายละเอียดใน วิ.ม. (บาลี) ๕/๓๐๕/๙๐, วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๐๕/๑๓๙–๑๔๐.
๑๙๖
องฺ.สตฺตก. (บาลี) ๒๓/๓/๒.
๑๙๗
ส.ส. (บาลี) ๑๕/๓๓/๒๔.
๑๙๘
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๒๕/๓๔๖,๒๗/๓๕๑.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๙๗

ดั งข้ อ ความที่ พ ระสารี บุ ต รอธิ บ ายสรุ ป ความว่า “ปญฺ า ปชานนา วิจ โย


ปวิจโย ธมฺมวิจโย”๑๙๙ แปลเอาความว่า “ความรอบรู้ กิริยาที่รอบรู้ การวิจัย
การเลือกเฟ้น การเลือกเฟ้นข้อธรรม”
๕. วิจัย หมายถึงความรู้ที่เกิดขึ้นปรารภสิ่ งนั้นๆ ดังข้อความว่า “ทุกฺข
ทุกฺขสมุทย ทุกฺขนิโรธ ทุกฺขนิโรธคามินึ ปฏิปท อารพฺภ ยา อุปฺปชฺชติ, ปญฺ า
ปชานนา วิจโย ปวิจโย ธมฺมวิจโย ๒๐๐ แปลเอาความว่า “ความรอบรู้ชัดเจน
เลื อ กเฟ้ น ค้ น คว้า วิจั ย ธรรม ที่ เกิ ด ขึ้น ปรารภทุ ก ข์ ทุ ก ขสมุ ทั ย ทุ ก ขนิ โรธ
ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา”
๖. ธรรมวิจัยในโพชฌงค์ หมายถึงการวิจัยเลือกเฟ้นค้นคว้าอย่างทั่วถึง
ดังที่พระสารีบุตรอธิบายว่า ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคสฺส ปวิจยฏฺโ สัมโพชฌงค์ข้อ
ธรรมวิจยะ หมายถึงการค้นคว้าอย่างทั่วถึง๒๐๑
๖. พระพุ ท ธองค์ ท รงเป็ น ผู้ ท าวิ จั ย มาก ดั ง ข้ อ ความที่ พ ระสารี บุ ต ร
อธิบายว่า “โคตโม วิจยพหุโล พระโคดมทรงเป็นผู้มากด้วยการเลือกเฟ้น ”๒๐๒
การวิจั ย เลื อกเฟ้ น ค้น หาหลั กธรรมในพระพุ ท ธศาสนา ก็คือ วิจัยเลื อกเฟ้ น
ค้นหาหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้โดยการวิจัย ดังข้อความว่า “วิจยโส
เทสิ โต ภิ กฺขเว มยา ธมฺโม, วิจ ยโส เทสิ ต า จตฺ ตาโร สติ ป ฏฺ านา, วิจยโส
เทสิตา จตฺตาโร สมฺมปฺปธานา, วิจยโส เทสิตา จตฺตาโร อิทฺธิปาทา, วิจยโส

๑๙๙
ขุ.ม. (บาลี) ๒๙/๑๐/๑๖, ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๕/๓๔.
๒๐๐
ขุ.ป. (บาลี) ๓๑/๑๐๙/๑๒๒-๑๒๓.
๒๐๑
ขุ.ป. (บาลี) ๓/๑๒/๑๘.
๒๐๒
ขุ.จู. (บาลี) ๓๐/๑๐๗/๒๒๒.
๙๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจยั ทางภาษาบาลี

เทสิตานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ, วิจยโส เทสิตานิ ปญฺจ พลานิ, วิจยโส เทสิตา


สตฺต โพชฺฌงฺคา, วิจยโส เทสิโต อริโย อฏฺ งฺคิโก มคฺโค”๒๐๓ “ดูก่อนภิกษุ
ทั้ ง หลาย เราได้ แ สดงธรรมโดยการวิ จั ย (การเลื อ กเฟ้ น ) คื อ เราแสดง
สติปัฏฐาน ๔ ประการโดยการวิจัย แสดงสัมมัปปธาน ๔ ประการโดยการวิจัย
แสดงอิทธิบาท ๔ ประการโดยการวิจัย แสดงอินทรีย์ ๕ ประการโดยการวิจัย
แสดงพละ ๕ ประการโดยการวิจัย แสดงโพชฌงค์ ๗ ประการโดยการวิจัย
แสดงอริยมรรคมีองค์ ๘ โดยการวิจัย”

๕.๔ วิจัยตามความหมายที่ปรากฏในอรรถกถา-ฎีกา
ความแห่ ง วิ จั ย ตามที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ อ รรถกถา-ฎี ก านี้ ได้ สื บ ค้ น
ตรวจสอบข้ อ ความในคั ม ภี ร์ อ รรถกถา-ฎี ก า ที่ อ ธิ บ ายวิ จ ยศั พ ท์ ที่ ม าใน
พระไตรปิฎก และวิจยศัพท์ที่ปรากฏในอรรถกถาโดยตรง พร้อมทั้งคาอธิบาย
วิจยศัพท์ทฎี่ ีกาอธิบาย ดังต่อไปนี้
๑. ธรรมวิจั ย คือ การค้น คว้าข้อธรรม หมายถึงการค้น สั จจธรรม ๔
ดังข้อความว่า “จตุสจฺจธมฺเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย”๒๐๔ แปลว่า “ธรรมวิจัย
หมายถึงการค้นคว้าสัจจธรรม ๔ อย่าง”
๒. ธรรมวิ จั ย ในโพชฌงค์ หมายถึ ง การค้ น คว้ า วิ จั ย สั จ จธรรม ๔
ดั ง ข้ อ ความว่ า “ธมฺ ม วิ จ ยสมฺ โพชฺ ฌ งฺค นฺ ติ อ าที สุ ปิ จตุ ส จฺ จ ธมฺ เม วิ จิ น ตี ติ
ธมฺมวิจโย”๒๐๕ แปลว่า “ในธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์เป็นต้น ธรรมวิจัย หมายถึง
การค้นคว้าสัจจธรรม ๔ อย่าง”

๒๐๓
ส.ข. (บาลี) ๑๗/๘๑/๗๗–๗๘.
๒๐๔
ม.ม.อ. (บาลี) ๑/๑๔๒ มมร.
๒๐๕
องฺ.เอกก.อ. (บาลี) ๑/๖๗๘ มมร.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๙๙

๓. การวิ จั ย หมายถึ ง ความฉลาดในการใช้ ค วามรู้ ดั ง ข้ อ ความว่ า


“ปญฺ ญ าปเภทกุส ลนฺ ติ ยา ปญฺ า ปชานนา วิจ โย ปวิ จ โยติ อาทิ น า นเยน
ปญฺ าย ปเภทชานเน เฉก”๒๐๖ แปลว่า “ความฉลาดในประเภทแห่งความ
รอบรู้ ก็คือ ความเฉลียวฉลาดในความรอบรู้ในวิธีการใช้ความรอบรู้ เช่น ความ
รอบรู้ที่เป็นการวิจัยการค้นคว้า”
๔. การวิ จั ย หมายถึ งความรอบรู้ แ ละการใช้ วิ จ ารณ์ ดั งข้ อ ความว่ า
“ธมฺ เม วิจิ น าตีติ ธมฺม วิจ โย. ปญฺ าเยต นาม . ปวิจ ยฏฺ โ ติ วิจารฏฺ โ ”๒๐๗
แปลว่า “การค้ น คว้ าข้ อ ธรรมนั้ น หมายถึ งความรอบรู้ การค้ น คว้าเชิ งลึ ก
หมายถึงการวิจารณ์”
๕. การวิ จั ย หมายถึ ง การค้ น คว้ า ข้ อ ธรรมทั้ ง หลาย ดั ง ข้ อ ความว่ า
“อนิจฺจาทีนิ วิจินาตีติ วิจโย. ปวิจโยติ อุปสคฺเคน ปท วฑฺฒิต ปกาเรน วิจโยติ
อตฺโถ”๒๐๘ แปลว่า “การวิจัย คือ การค้น ความข้อธรรม เช่น ความไม่เที่ยง
บทอุปสัคที่เพิ่มเข้ามาเป็น ปวิจย หมายถึงการค้นคว้าโดยประการต่างๆ ”
๕.๕ วิจัย ตามความหมายที่ปรากฏในไวยากรณ์
คัมภีร์ไวยากรณ์ ที่ใช้ในงานวิจั ยนี้ ได้สื บค้นจากคัมภีร์ที่ มีการตีพิมพ์
เผยแพร่อย่างกว้างขวาง คือ คัมภีร์รูปสิทธิไวยากรณ์ คัมภีร์สัททนีติไวยากรณ์
คัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาฎีกา

๒๐๖
ขุ.จู.อ. (บาลี) ๓๘๖ มมร.
๒๐๗
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๑๖๓ มมร.
๒๐๘
ขุ.ป.อ. (บาลี) ๑/๖๑๖,อภิ.สงฺ.อ. (บาลี) ๑/๓๐๘ มมร.
๑๐๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

๑. วิจัยหมายถึงความรู้ ดังข้อความว่า “วีมสา วิจโย สมุเปกฺขา อุปลทฺธิ


ปฏิปตฺติ อุตฺติเจตนาทีนิปิ พุทฺธินามานิ” ๒๐๙ แปลว่า “วิมังสา : วิจัย : สมุเปก
ขา : อุปลัทธิ : ปฏิปัตติ : อุตติเจตนา : เป็นชื่อแห่งความรู้”
๕.๖ หลักการวิจัยในพระวินัยปิฎก
การวิจัยหลักธรรมวินัยในพระพุทธศาสนา จัดอยู่ในกลุ่มการวิจัยบริสุทธิ์
เป็นการวิจัยเอกสาร เพื่อให้ความรู้แนวคิดเชิงทฤษฎีทางพระพุทธศาสนา เป็น
ฐานความรู้สาหรับการวิ จัยประยุกต์ สาหรับการวิจัยทางพระพุทธศาสนานั้น
ได้กาหนดหลักการวิจัยในปัจจุบันแล้วสืบค้นหลักการคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา
ซึ่งหลักการที่พระพุทธเจ้ากับพระสาวกทั้งหลายไดวิจัยกันมาแล้วก่อนทฤษฎี
การวิจัยในปัจจุบัน ในคัมภีร์มีหลักการที่พระพุทธเจ้าตรัสโดยทรงใช้ถ้อยคาที่
เกี่ยวข้องกับการวิจัย คือ พระองค์ตรัสว่า “โยนิโส วิจิเน ธมม ปญฺ ายตฺถ
วิป สฺ ส ติ ” แปลว่ า “พึ งวิ จั ย ธรรมโดยแยบคาย จึ งจะเห็ น อรรถแจ้งชั ด ด้ ว ย
ปั ญ ญา”๒๑๐ พระเทพเวที (ประยุ ท ธ์ ปยุ ตฺ โ ต)๒๑๑ ให้ ค วามเห็ น ข้ อ ความ
พุทธพจน์นี้ สรุปว่า “เป็นนการวิจัย ที่โยงถึงรากเหง้า เข้าให้ถึงต้นเดิม”๒๑๒
ลักษณะการวิจัยทางพระพุทธศาสนา จาเป็นที่จะต้องสารวจดูข้อความ
จากคัมภีร์พระพุทธศาสนา ซึ่งความจริงคาว่า วิจัย ก็เป็นคาที่นามาจากคัมภีร์
พระพุทธศาสนา และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนานั้ นพระพุทธเจ้าทรงทา
วิจั ย ก่ อ นจึ งน ามาแสดงแก่ พุ ท ธบริ ษั ท คื อ หลั ก ธรรมค าสั่ งสอน ดั งที่ ท่ า น

๒๐๙
อภิธาน.ฏีกา ๑๕๒-๑๕๔.
๒๑๐
องฺ.สตฺตก. (บาลี) ๒๓/๓/๒.
๒๑๑
ปัจจุบันได้รับเลื่อนสมณศักดิ์เป็นที่ พระพรหมคุณาภรณ์ ๒๕๔๘.
๒๑๒
พระเทพ เวที (ประยุ ท ธ์ ป ยุ ตฺ โ ต ). มหาวิ ท ยาลั ย กั บ งาน วิ จั ย ทาง
พระพุทธศาสนา, (กรุงเทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ์, ๒๕๓๔), หน้า ๘๕–๘๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๐๑

อธิบ ายว่า ธมฺโมติ สาสนธมฺโม ธรรม หมายถึงพระธรรมคาสอน ๒๑๓ ที่แสดง


ศี ล ขั น ธ์ เ ป็ น ต้ น ที่ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นกั น ดั ง ที่ ท่ า นอธิ บ ายว่ า สาสนธมฺ โ มติ
สีลกฺขนฺธาทิปริทีปโน ปริยตฺติธมฺโม พระธรรมคาสอน หมายถึงการศึกษาธรรม
ที่ ข ยายความสี ล ขั น ธ์ เป็ น ต้ น ๒๑๔ คื อ โพธิ ปั ก ขิ ย ธรรม ๓๗ ประการ ดั ง ที่
ท่านอธิบายว่า โพธิปกฺขิยธมฺมาติ โพธิยา มคฺค าณสฺส ปกฺเข ภวา สตฺตตึส
ธมฺมา โพธิปักขิยธรรม หมายถึงธรรม ๓๗ ประการที่อยู่ในฝ่ายความรู้ในการ
ปฏิบัติเพื่อบรรลุ ๒๑๕ อัน เป็น ธรรมที่มีในฝ่ายแห่งมรรคญาณในการตรัส รู้๒๑๖
พระพุ ท ธเจ้ าทรงแสดงโดยการวิจั ย ๒๑๗ โดยทรงก าหนดรู้ด้ ว ยพระญาณที่
สามารถค้นคว้าสภาวะแห่งธรรมเหล่านั้น ดังที่ท่านอธิบายว่า วิจยโสติ วิจเยน,
เตส เตส ธมฺมาน สภาววิจินนสมตฺเถน าเณน ปริจฺฉินฺทิตฺวา แปลเอาความว่า
การวิ จั ย นั้ น หมายถึ ง การใช้ ค วามรู้ ที่ ส ามารถวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ ความหลั ก ธรรม
นั้ น ๆ ๒๑๘ หมายความว่ า ธรรมที่ พ ระพุ ท ธองค์ ท รงน ามาแสดงสั่ งสอนพุ ท ธ
บริษัท เป็นสิ่งที่พระองค์ทรงค้นคว้ามาด้วยพระญาณ

๒๑๓
ส.ข.อ. (บาลี) ๒/๘๑/๓๓๔.
๒๑๔
ส.ข.ฏีกา (บาลี) ๒/๘๑/๒๘๗.
๒๑๕
โพธิปักขิยธรรม ๓๗ คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕
พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ -ส.ข. (บาลี) ๑๗/๘๑/๗๗–๗๘, ส.ข. (ไทย) ๑๗/
๘๑/๑๓๐.
๒๑๖
ปาจิตฺยาโยชนา ฉบับอักษรพม่า.
๒๑๗
ส.ข. (บาลี) ๑๗/๘๑/๗๗–๗๘, ส.ข. (ไทย) ๑๗/๘๑/๑๓๐.
๒๑๘
ส.ข.อ. (บาลี) ๒/๘๑/๓๓๔.
๑๐๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

การค้น คว้าวิจั ยทางพระพุทธศาสนา กาหนดตามข้อความว่า โยนิโส


วิจิเน ธมฺม ปญฺ ายตฺถ วิปสฺสติ คือ ต้องค้นคว้าด้วยอุบายวิธีอย่างแยบคาย
จึงจะเห็ น เนื้ อแท้ด้ว ยปั ญ ญา ๒๑๙ ข้อความที่น ามาเสนอนี้เป็น ธรรมเทศนาที่
พระพุทธเจ้าทรงแสดงเพื่อให้ภิกษุทั้งหลายค้นหาวิธีดับทุกข์ แต่นักวิจัย คือ
ผู้เขียนงานที่เป็นองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้
หลั กธรรมต่ างๆ ที่ พ ระพุ ท ธองค์ท รงแสดงโดยการวิจั ยนั้ น และหลั ก
ปฏิ บั ติ ที่ เรี ย กว่าวินั ย รวมแล้ ว มี ๘๔,๐๐๐ข้อ ได้ รับ การบั น ทึ กไว้ ในคัม ภี ร์
พระไตรปิฎก มีคาอธิบายที่พระสาวกทั้งหลายได้อธิบายไว้บันทึกอยู่ในคัมภีร์
อรรถกถาและฎีกา นอกจากนี้ยังมีเอกสารวิชาการที่ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้เรียบเรียง
ไว้เป็นจานวนมาก การที่จะทาวิจัยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จะต้องทา
ความรู้จักเอกสารที่ท่านให้ความสาคัญเป็นลาดับลดลั่นกันลงมา ซึ่งพระสาวกผู้
อธิบายคาสั่งสอนที่บันทึกอยู่ในพระไตรปิฎก ได้วางเป็นหลักการไว้ ๔ อันดับ
คือ
สุตตะ หมายถึง พระไตรปิฎก
สุตตานุโลม หมายถึงมหาปเทสอันเป็นพระไตรปิ ฎกที่เป็นข้อมูลสนับสนุน
สุตตะ
อาจริยวาท หมายถึงอรรถกถาที่พระอรหันต์ผู้ ทาปฐมสั งคายนาวาง
เป็นแบบฉบับไว้
อัตโนมัติ หมายถึงคาอธิบายตามอาการที่ปรากฏโดยการคาดคะเน ด้วย
การอนุมาน ตามความรู้ของตน

๒๑๙
องฺ.สตฺตก. (บาลี) ๒๓/๓/๒.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๐๓

การจะทาวิจัยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ก็ต้องตั้งหัว ข้อแล้วค้นคว้า


ข้อมูล จากคัม ภีร์ ที่บั น ทึ กหลั กธรรมต่างๆ ในเรื่องนี้ มีคั ม ภีร์มังคลั ตถที ป นี
ที่พระสิริมังคลาจารย์ ชาวเชียงใหม่ ได้แต่งไว้ ซึ่งถือเป็นแบบอย่างได้ ท่านแต่ง
อธิ บ ายเรื่ อ งมงคล ๓๘ ประการ ท่ า นใช้ ห ลั ก การ ๔ ที่ ก ล่ า วนี้ คื อ สุ ต ตะ
สุตตานุ โลม อาจริยวาท อั ต โนมัติ เขียนอธิบ ายมงคลทั้ง ๓๘ ประการ เช่น
ท่านอธิบายมงคล ๒ ข้อแรก ท่านได้นาข้อความที่เป็นมงคลขึ้นเป็นหัวข้อว่า
อเสวนา จ พาลานนฺ ตฺย าทิกา ๒๒๐ เป็ น ข้อความที่ ท่ านตั้งเป็ นหั ว ข้อ แปลว่า
“การไม่คบคนพาล (และการคบบั ณ ฑิ ต )” จั ดเป็นสุ ตตะ จากนั้นท่านได้น า
ข้อความที่เป็นสุตตานุโลมมาเป็นคาอธิบายลักษณะคนพาลและบัณฑิต ซึ่งเป็น
ข้อความจากพระไตรปิฎกด้วยกัน คือพาลปัณฑิตสูตร ๒๒๑ ซึ่งแสดงลักษณะคน
พาลว่า เป็นคนที่คิดชั่ว พูดชั่ว ทาชั่ว ส่วนลักษณะของบัณฑิตเป็นคนที่คิดดี
พูดดี ทาดี จากนั้นท่านได้ใช้หลักการอาจริยวาท คือนาคาอธิบายในอรรถกถา
และฎี ก ามาประกอบการอธิ บ าย แล้ ว ท่ า นได้ แ สดงความเห็ น ส่ ว นตั ว ตาม
เหมาะสม
หลักการนี้ สามารถประยุกต์ใช้ในการเขียนงานวิจัยแบบสังคมศาสตร์ก็
ได้ สุตตะ คือหัวข้องานวิจัย ที่กาหนดขึ้น สุตตานุโลม คือเอกสารที่เป็นตารา
เป็ น หนั งสื อ ต่ างๆ ส าหรั บ ใช้ เป็ น ข้ อ มู ล สนั บ สนุ น ในการเขี ย นงานวิ จั ย นั้ น
อาจริยวาท คือวิทยานิพนธ์และงานวิจัยที่มีผู้เขียนไว้แล้วสามารถนามาเป็น

๒๒๐
มงฺคล. (บาลี) ๑/๑๓.
๒๒๑
ม.อุ . (บาลี ) ๑๔ /๒๔๖ /๒๑๔ ,๒๕๓ /๒๒๑ , ม.อุ . (ไทย) ๑๔/๒ ๔๖ /
๒๙๑,๒๕๓/๒๙๙.
๑๐๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

เอกสารที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยนั้น อัตโนมัติ คือเมื่อเขียนจบในแต่บทแต่ละตอน


มีความเห็นอย่างไรก็เขียนนาเสนอในงานวิจัยของตน
หลักการที่พระสาวกทั้งหลาย วางเป็นมาตรฐานในเรื่องข้อมูล ที่พึงใช้ใน
การศึกษาอันถือเป็นสิ่งที่พึงเชื่อถือนี้ สาหรับใช้วิจัยค้นคว้าข้อมูลแก้ปัญหาปรัป
วาท คื อเรื่องที่ มีผู้ อื่น กล่ าวร้ายจ้ วงจาบพระธรรมวินัยได้ด้ว ย ซึ่งเป็ นความ
ประสงค์ของพระสาวกทั้งหลายที่วางหลักการนี้ไว้ และหลักการนี้ก็สอดคล้อง
กับ พุทธปณิธานของพระพุทธองค์ที่ทรงแสดงไว้ก่อนดับขันธปรินิพพาน พอ
สรุปความได้ว่า
พระองค์จ ะยังไม่ป รินิพพาน เมื่อสาวกสาวิกาของพระองค์ คือ ภิกษุ
ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ยังไม่เฉียบแหลม ไม่ได้รับการแนะนา ไม่แกล้วกล้า
ไม่ เป็ น พหู สู ต ไม่ ท รงธรรม ไม่ ป ฏิบั ติธ รรมสมควรแก่ธ รรม ไม่ป ฏิ บั ติช อบ
ไม่ป ฏิบั ติตามธรรม เรีย นกับอาจารย์ของตนแล้ว แต่ยังบอก แสดง บัญญั ติ
กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่ายไม่ได้ ยังแสดงธรรมมีปาฏิหาริย์ปราบปรัป
วาทที่เกิดขึ้นให้เรียบร้อยโดยชอบธรรมไม่ได้ ๒๒๒
เมื่อสาวกสาวิกาของพระองค์ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เป็นผู้
เฉียบแหลม ได้รับการแนะนา แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรงธรรม ปฏิบัติธรรม
สมควรแก่ธรรม ปฏิบัติช อบ ปฏิบัติตามธรรม เรียนกับอาจารย์ของตนแล้ ว
ก็บ อก แสดง บั ญ ญั ติ กาหนด เปิ ดเผย จ าแนก ท าให้ ง่ายได้ แสดงธรรมมี

๒๒๒
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๗๕/๑๐๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๗๕/๑๒๓–๑๒๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๐๕

ปาฏิหาริย์ปราบปรัปวาทที่เกิดขึ้นให้เรียบร้อยโดยชอบธรรมได้ พระพุทธองค์
จึงตัดสินพระทัยที่จะปรินิพพานตามคาทูลขอของมาร๒๒๓
หน้าที่การปราบปรัปวาทที่เกิดขึ้น ถือว่าเรื่องที่ผู้ศึกษาวิจัยในฐานะเป็น
พุทธบริษัทต้องศึกษาค้นคว้าหลักพระธรรมวินัยที่ที่พระพุทธองค์ทรงตั้งไว้เป็น
องค์แทนพระองค์แล้วชี้แจงให้สังคมเข้าโดยเรียบร้อยตามหลักธรรม
ทฤษฎีการวิจัยทางพระวินัยนั้น สาหรับใช้เป็นเครื่องชี้วัด คือหลักการ
ทางพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงให้เป็นหลักปฏิบัติสาหรับภิกษุสงฆ์ ซึ่ง
เกิดความสงสัยว่า สิ่งใดพระพุทธเจ้าทรงอนุญาต สิ่งใดไม่ทรงอนุญาต โดยนา
เรื่องเข้ากราบทูลถามพระองค์แล้วพระองค์ได้ทรงแสดงหลักการไว้ ๔ ประการ
คือ
๑. สิ่งใดที่เราไม่ได้ห้ามว่า สิ่งนี้ไม่ควร ถ้าสิ่งนั้นอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ไม่ควร
ขัดกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควร
๒. สิ่งใดที่เราไม่ได้ห้ามว่า สิ่งนี้ไม่ควร ถ้าสิ่งนั้นอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ควร
ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร จัดเป็นสิ่งที่ควร
๓. สิ่งใดที่เราไม่ได้อนุญาตว่า สิ่งนี้ควร ถ้าสิ่งนั้นอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ไ ม่
ควร ขัดกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควร
๔. สิ่งใดที่เราไม่ได้อนุญาตว่า สิ่งนี้ควร ถ้าสิ่งนั้นอนุโลมเข้ากับสิ่งที่ควร

๒๒๓
ที .ม. (บาลี ) ๑๐/๑๗๖–๑๗๗/๑๐๒, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๗๖–๑๗๗/๑๒๔–
๑๒๕.
๑๐๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควร
การที่จะเข้าใจในเรื่องนี้ ต้องศึกษาหลั กการที่ปรากฏในคัมภีร์วินัยปิฎก
ปริวารด้วย ซึ่งปรากฏหลักการที่สนับสนุนหลักมหาปเทส ๔ ประการนี้
พระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส กั บ พระอุ บ าลี ว่ า “วตฺํถุ ชานาติ , นิ ท าน ชานาติ ;
ปญฺ ตฺตึ ชานาติ, ปทปจฺจาภฏฺ ชานาติ, อนุสนฺธิวจนปถ ชานาติ, อิเมหิ โข
อุปาลิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา สเฆ โวหริตพฺพ”
แปลว่ า “ภิ ก ษุ รู้ วั ต ถุ รู้ นิ ท าน รู้ บั ญ ญั ติ รู้ บ ทที่ ต กหล่ น ในภายหลั ง
รู้ถ้อ ยคาอัน เกี่ย วเนื่ องกั น อุบ าลี ภิ กษุ ผู้ ป ระกอบด้ วยองค์ ๕ นี้ พึ งกล่ าวใน
สงฆ์”๒๒๔
จากข้อความนี้ พอที่จะประยุกต์มาใช้ในการตัดสินการตีความหลักคา
สอนได้ คือ การที่จะตัดสินการตีความเรื่องนั้นๆ ก็ต้องทราบเรื่อง ทราบสาเหตุ
ทราบข้อกาหนด ทราบข้อความที่ตกหล่น ทราบข้อความที่เกี่ยวเนื่องกัน คือ
ข้อความบริบทเป็นอย่างไร (ข้อความบริบทแห่งคาว่า อตฺตภูตโต ธมฺมกายโต)
พระพุทธเจ้าตรัสว่า “สุตฺต ชานาติ, สุตฺตานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ,
วิน ยานุ โลม ชานาติ, านา านกุส โล จ โหติ; อิเมหิ โข อุป าลิ ปญฺ จหงฺเคหิ
สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา สเฆ โวหริตพฺพ”
แปลว่า “ภิก ษุรู้พ ระสูตร รู้ข้อ อนุโลมพระสูตร รู้พ ระวินัย รู้ข้ อ
อนุโลมพระวินัย ฉลาดในฐานะอั น ควรและฐานะอั น ไม่ค วร อุ บ าลี
ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงกล่าวในสงฆ์”

๒๒๔
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๒๔/๓๘๒, วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๒๔/๖๐๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๐๗

พระพุทธเจ้าตรัสว่า “ธมฺม ชานาติ, ธมฺมานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ,


วิน ยานุ โลม ชานาติ, ปุ พฺพ าปรกุส โล จ โหติ. อิเมหิ โข อุปาลิ ปญฺ จหงฺเคหิ
สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา สเฆ โวหริตพฺพ”๒๒๕
แปลว่า “ภิกษุรู้ธรรม รู้ธรรมานุโลม รู้วินัย รู้วินยานุโลม ฉลาดใน
เบื้องต้นและเบื้องปลาย อุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงกล่าว
ในสงฆ์”
สุตฺต ชานาติ, สุตฺตานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ, วินยานุโลม ชานาติ,
านา านกุสโล จ โหติ; อิเมหิ โข อุปาลิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา
อนุยุญฺชิตพฺพ.๒๒๖ แปลว่า “ภิกษุรู้สุตตะ รู้สุตตานุโลม รู้วินัย รู้วินยานุโลม
ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะ อุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึง
กล่าวในสงฆ์”
ธมฺม ชานาติ, ธมฺมานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ, วินยานุโลม ชานาติ,
ปุพฺพาปรกุสโล จ โหติ; อิเมหิ โข อุปาลิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา
อนุยุญฺชิตพฺพ๒๒๗
แปลว่า “ภิกษุรู้ธรรม รู้ธรรมานุโลม รู้วินัย รู้วินยานุโลม ฉลาดใน
เบื้องต้นและเบื้องปลาย อุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงกล่าว
ในสงฆ์”

๒๒๕
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๒๔/๓๘๓, วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๒๔/.
๒๒๖
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๔๒/๓๙๔.
๒๒๗
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๔๒/๓๙๔.
๑๐๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

วตฺถุ ชานาติ, นิทาน ชานาติ, ปญฺ ตฺตึ ชานาติ, ปทปจฺจาภฏฺ ชานาติ


, อนุสนฺธิวจนปถ ชานาติ; อิเมหิ โข อุปาลิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา
อนุ ยุญฺ ชิตพฺ พ.๒๒๘ แปลว่า “ภิ กษุ รู้วัตถุ รู้นิ ทาน รู้บั ญ ญั ติ รู้บทที่ ตกหล่ นใน
ภายหลัง รู้ถ้อยคาอันเกี่ยวเนื่องกัน อุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้พึง
กล่าวในสงฆ์”
สุตฺต ชานาติ, สุตฺตานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ, วินยานุโลม ชานาติ,
านา านกุ ส โล จ โหติ , อิ เมหิ โข อุ ป าลิ ปญฺ จ หงฺ เคหิ สมนฺ น าคโต ภิ กฺ ขุ
ปณฺฑิโตเตฺวว สงฺข คจฺฉติ.
แปลว่า “ภิกษุรู้สุตตะ รู้สุตตานุโลม รู้วินัย รู้วินยานุโลม ฉลาดในฐานะ
อัน ควรและฐานะอัน ไม่ควร อุบ าลี ภิกษุผู้ ป ระกอบด้ว ยองค์ ๕ นี้ แล นับว่า
ฉลาดโดยแท้”
ธมฺม ชานาติ, ธมฺมานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ, วินยานุโลม ชานาติ,
ปุ พฺ พ าปรกุ ส โล จ โหติ ; อิ เมหิ โข อุ ป าลิ ปญฺ จ หงฺเคหิ สมนฺ น าคโต ภิ กฺ ขุ
ปณฺ ฑิ โตเตฺ ว ว สงฺข คจฺ ฉ ติ . วิ .ป. (บาลี ) ๘/๔๕๖/๔๐๕. แปลว่า “ภิ ก ษุ รู้
พระธรรม รู้ธรรมานุโลม รู้พระวินัย รู้วินยานุโลม ฉลาดในคาต้นและคาหลัง
อุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล นับว่าฉลาดโดยแท้
หลั ก การมหาปเทสนี้ เป็ น ข้ อ หนึ่ ง ใน ๔ ข้ อ ที่ ท่ า นวางไว้ ส าหรั บ
ตรวจสอบการน าเสนอหลั ก ค าสั่ งสอนทางพระพุ ท ธศาสนาว่ า ตรงตามที่
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนและพระอรหันต์ทั้ง หลาย ทรงจาสั่งสอนสืบต่อกันมา
หรือไม่ หลักการตรวจสอบที่เรียกว่ามหาปเทสนี้เป็นข้อหนึ่งใน ๔ ประการ ซึ่ง
อธิบ ายเป็ น ตัวอย่ างไว้ในอรรถกถา เรี ย กว่า หลั กการวินั ย ๔ ประการ คือ

๒๒๘
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๔๒/๓๙๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๐๙

สุตตะ สุตตานุโลม อาจริยวาท อัตโนมัติ หลักการวินัย ๔ อย่าง ปรากฏอยู่ใน


คัมภีร์ มิลิ น ทปั ญ หา ๒๒๙ ซึ่งเป็ น คั ม ภีร์ ที่ได้ รับ การรวบรวมเป็น คัมภี ร์ก่อ น
คัมภีร์สมันตปาสาทิกา ในคัมภีร์สมันตปาสาทิกาได้อธิบายหลักการ ๔ ประการ
นี้ไว้ว่า
สุตตะ หมายถึง พระบาลีวินัยปิฎกทั้งหมด
สุตตานุโลม หมายถึง มหาปเทส
อาจริยวาท หมายถึ ง อรรถกถาที่ พ้ น จากพระบาลี ผ่ านการ
อธิ บ ายและการวิ นิ จ ฉั ย โดยนั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง พระอรหั น ต์ ๕๐๐ รู ป ผู้ ก ระท า
สังคายนา วางเป็นแบบฉบับไว้
อัตโนมัติ หมายถึง คาอธิบายตามอาการที่ปรากฏโดยการคาดคะเน
ด้ ว ยการอนุ ม าน คื อ ตามความรู้ ข องตน พ้ น จากสู ต ร สุ ต ตานุ โ ลม และ
อาจริยวาท
อีกนัยหนึ่ง เถรวาท (คาสอนของพระเถระ) ทั้งหมดที่ปรากฏในอรรถ
กถา พระสูตร พระอภิธรรม และพระวินัย จัดเป็นอัตโนมัติ๒๓๐
หลั กธรรมต่ างๆ ที่ พ ระพุ ท ธองค์ท รงแสดงโดยการวิจั ยนั้ น และหลั ก
ปฏิบั ติที่เรี ย กว่าวินั ย รวมแล้ ว มี ๘๔,๐๐๐ ข้อ ได้รับการบัน ทึกไว้ในคัมภี ร์
พระไตรปิฎก มีคาอธิบายที่พระสาวกทั้งหลายได้อธิบายไว้บันทึกอยู่ในคัมภีร์

๒๒๙
มิลินฺท. (บาลี) ๑๖๐, วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๔๓.
๒๓๐
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๔๓.
๑๑๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อรรถกถาและฎีกา นอกจากนี้ยังมีเอกสารวิชาการที่ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้เรียบเรียง


ไว้เป็นจานวนมาก การที่จะทาวิจัยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จะต้องทา
ความรู้จักเอกสารที่ท่านให้ความสาคัญเป็นลาดับลดลั่นกันลงมา ซึ่งพระสาวกผู้
อธิบายคาสั่งสอนที่บันทึกอยู่ในพระไตรปิฎก ได้วางเป็ นหลักการไว้ ๔ อันดับ
คือ
สุตตะ หมายถึง พระไตรปิฎก
สุ ต ตานุ โ ลม หมายถึ ง มหาปเทสอั น เป็ น พระไตรปิ ฎ กที่ เป็ น ข้ อ มู ล
สนับสนุนสุตตะ
อาจริยวาท หมายถึงอรรถกถาที่พระอรหันต์ผู้ ทาปฐมสั งคายนาวาง
เป็นแบบฉบับไว้
อัตโนมัติ หมายถึงคาอธิบายตามอาการที่ปรากฏโดยการคาดคะเน ด้วย
การอนุมาน ตามความรู้ของตน
ท่านได้ อธิบ ายความส าคัญ และความเป็ น หลั กฐานที่ ควรเชื่ อถือแห่ ง
หลักการทั้ง ๔ ระดับไว้ว่า ผู้ที่ถือหลักทางอัตโนมัติ ไม่ควรจะยืนยันอย่างหนัก
แน่น ต้องกาหนดเหตุการณ์ เทียบเคียงพระบาลี(พระไตรปิฎก)กับอรรถกถา
และอรรถกถากับพระบาลีแล้วยืนยัน อัตโนมั ติต้องตรวจสอบกับอาจริยวาท
(อรรถกถา) ถ้าลงกันสมกันจึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้า งอิงได้ ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน
ไม่ พึ ง ถื อ เป็ น ฐานข้ อ มู ล อ้ า งอิ ง อั ต โนมั ติ จั ด เป็ น หลั ก ฐานอ้ า งอิ ง ที่ อ่ อ น
อาจริยวาทจัดเป็นหลักฐานข้อมูลที่หนักแน่น
อาจริยวาทก็ต้องตรวจสอบกับสุตตานุโลม ถ้าลงกัน สมกันจึงถือเป็น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ ถ้าไม่ลงกันไม่สมกัน ไม่พึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้างอิง เพราะ
สุตตานุโลมจัดเป็นหลักฐานข้อมูลที่หนักแน่นกว่าอาจริยวาท ถ้าลงกัน สมกัน
จึงถือเป็ น ฐานข้อมูล อ้างอิงได้ ถ้าไม่ล งกัน ไม่ส มกันไม่พึ งถือเป็ นฐานข้อมู ล
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๑๑

อ้างอิง สุตตะจัดเป็นหลักฐานข้อมูลที่หนักแน่นกว่าสุตตานุโลม เพราะสุตตะ


ใครคัดค้านไม่ได้ เป็นเช่นกับการกสงฆ์(คือสงฆ์ผู้สังคายนา) เป็นประดุจกาลที่
พระพุทธเจ้ายังทรงดารงอยู่ ๒๓๑ เพราะสุตตะนั้นพระพุทธองค์ทรงแสดงไว้ ๒๓๒
ผู้ที่คัดค้านสุตตะจัดเป็นผู้คัดค้านพระพุทธเจ้า๒๓๓
สุ ต ตานุ โ ลมก็ ต้ อ งตรวจสอบกั บ สุ ต ตะ ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ ง ถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน ไม่พึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืน
หยัดอยู่ในสุตตะเท่านั้น
อาจริ ย วาท ก็ ต้ อ งตรวจสอบกั บ สุ ต ตะ ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ ง ถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน ทั้งเป็นข้อมูลที่น่าตาหนิ ไม่พึ งถือ
เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในสุตตะเท่านั้น
สุตตะก็ต้องตรวจสอบกับสุตตานุโลม๒๓๔ ถ้าลงกัน สมกัน ผ่านสังคายนา
๓ ครั้ง ปรากฏอยู่ในพระบาลี จึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้างอิงได้ ถ้าไม่ปรากฏอย่าง
นั้น ไม่ลงกันไม่สมกัน เป็นสูตรภายนอก เป็นโศลก หรือเป็นสุตตะที่น่าตาหนิ

๒๓๑
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๔๔.
๒๓๒
สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๕๖.
๒๓๓
สุตฺเต หิ ปฏิพาหิเต พุทฺโธว ปฏิพาหิโต โหติ. สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๑/๕๖.
๒๓๔
สุ ตฺ ต านุ โลมโต หิ สุ ตฺ ต เมว พลวตร . วิ .มหา.อ. (บาลี ) ๑/๒๔๔ ที่ ว่ า สู ต ร
น่าเชื่ อถือกว่า สุตตานุ โลมนั้ น หมายเอาสู ตรในมติของตน(ฝ่ายเถรวาท) ในข้อนี้ที่ ต้อ ง
ตรวจสอบสูต รกั บสุ ตตานุ โลม เพราะผู้ที่ เสนอความเห็น อ้างในนิ กายอื่น สารตฺถ .ฏีก า
(บาลี) ๑/๕๗.
๑๑๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อื่นๆ เช่น คูฬหเวสสันตรสูตร คูฬหวินยสูตร คูฬหเวทัลลสูตร ไม่พึงถือเป็ น


ฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในสุตตานุโลมเท่านั้น
อาจริ ย วาทต้องตรวจสอบกับ สุ ตตานุ โลม ถ้าลงกัน สมกั นจึงถือ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน ไม่พึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้างอิง พึ งยืน
หยัดอยู่ในสุตตานุโลมเท่านั้น
อั ต โนมั ติ พึ ง ตรวจสอบกั บ สุ ต ตานุ โ ลม ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ ง ถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน ไม่พึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืน
หยัดอยู่ในสุตตานุโลมเท่านั้น
สุตตะพึงตรวจสอบกับอาจริยวาท ถ้าลงกัน สมกันจึงถือเป็นฐานข้อมู ล
อ้ า งอิ ง ได้ ถ้ า ไม่ ล งกั น ไม่ ส มกั น สุ ต ตะที่ น่ า ต าหนิ น อกนี้ ไม่ พึ ง ถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในอาจริยวาทเท่านั้น
สุ ต ตานุ โลมพึ งตรวจสอบกั บ อาจริ ย วาท ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ งถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน สูตรที่น่าตาหนินอกนี้ ไม่พึงถือเป็น
ฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในอาจริยวาทเท่านั้น
อั ต โนมั ติ พึ ง ตรวจสอบกั บ อาจริ ย วาท ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ ง ถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน ไม่พึงถือเป็นฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืน
หยัดอยู่ในอาจริยวาทเท่านั้น
สุ ตตะพึ งตรวจสอบกับ อัตโนมัติ ถ้าลงกันสมกันจึงถื อเป็ นฐานข้อมู ล
อ้างอิงได้ ถ้าไม่ลงกัน ไม่สมกัน สุตตะที่น่าตาหนินอกนี้ ไม่พึงถือเป็นฐานข้อมูล
อ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในอัตโนมัติเท่านั้น
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๑๓

สุ ต ตานุ โ ลมพึ ง ตรวจสอบกั บ อั ต โนมั ติ ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ ง ถื อ เป็ น


ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ถ้าไม่ลงกันไม่สมกัน สุตตะที่น่าตาหนินอกนี้ ไม่พึ งถือเป็น
ฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในอัตโนมัติเท่านั้น
อาจริ ย วาทพึ ง ตรวจสอบกั บ อั ต โนมั ติ ถ้ า ลงกั น สมกั น จึ ง ถื อ เป็ น
ฐานข้อมูลอ้างอิงได้ถ้าไม่ลงกันไม่สมกัน อาจริยวาทที่น่าตาหนินอกนี้ ไม่พึงถือ
เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง พึงยืนหยัดอยู่ในอัตโนมัติเท่านั้น การอ้างอิง มติของตน
ต้องอ้างอย่างมีหลักฐานหนักแน่น ไม่พึงนินทาหรือติเตียนทั่วไปทั้งหมด๒๓๕
ท่านได้แนะวิธีที่พึงถือเป็นหลักฐานอ้างอิง โดยกล่าวรวมๆ ถึงสิ่งของที่
ควรและไม่ควร เป็นตัวอย่างไว้สาหรับนาไปใช้ ดังนี้
ฝ่ายหนึ่งกล่าวอ้างว่า สิ่งของนี้ควร อีกฝ่ายหนึ่งกล่าวอ้างว่า สิ่งนี้ไม่ควร
พึงตรวจสอบสิ่งของนั้นดูในสุตตะและในสุตตานุโลม ถ้าสิ่งของนั้นเป็นสิ่งของที่
ควร ก็พึงยืนหยัดในฝ่ายเป็นสิ่งของที่ควร ถ้าเป็นสิ่งของที่ไม่ควร ก็พึงยืนหยัด
ในฝ่ายเป็นสิ่งของที่ไม่ควร
การที่จะพึงยืนหยัดอยู่ในฝ่ายไหนนั้น ขึ้นอยู่กับข้อมูลอ้างอิงจากสุ ตตะ
ทางฝ่ายที่ไม่มีข้อมูลอ้างอิง ไม่พึงถือรั้นความเห็นส่วนตัว เช่น ฝ่ายที่ถือว่าเป็น
สิ่งของที่ไม่ควร ถ้าอีกฝ่ายอ้างเหตุและข้อวินิจฉัยจานวนมากจากสุตตะแสดง
ให้เห็นว่าเป็นสิ่งของที่ควร ก็ต้องยอมรับว่าเป็นสิ่งของที่ควร ตรงกันข้าม ฝ่ายที่
ถือว่าเป็นสิ่งของที่ควร ถ้าอีกฝ่ายอ้างเหตุและข้อวินิจฉัยจานวนมากจากสุตตะ
แสดงให้เห็นว่าเป็นสิ่งของที่ไม่ควร ก็ต้องยอมรับว่าเป็นสิ่งของที่ไม่ควร

๒๓๕
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๔๔-๒๔๖.
๑๑๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ทั้ง ๒ ฝ่าย ถ้าเหตุปรากฏเค้าที่จะอ้างอิง การที่จะคัดค้านถกเถียงกัน


นั้น เป็นเรื่องที่ดี ต้องยอมรับว่าเป็นสิ่งของที่ไม่ควร ครั้นสอบสวนพระวินัยจน
แน่ใจว่าสิ่งไหนเป็นของควรสิ่งไหนเป็นของไม่ควร พึงป้องกันการล่วงละเมิด
เพราะเข้าใจในสิ่งที่ไม่ควรเป็นสิ่งของที่ควร พึงถือว่าเป็นสิ่งของที่ไม่ควรอย่าง
หนั ก แน่ น พึ งตั ด กระแสการยึ ด ถื อว่ าเป็ น สิ่ งที่ ค วรซึ่งจะเป็ น ไปในกาลภาย
หน้า๒๓๖
วิ ธี ก ารตรวจสอบที่ พ ระอรรถกถาจารย์ อ ธิ บ ายพอเป็ น แนวทางนั้ น
ขอยกตัวอย่ างในปั จ จุ บั น การที่ มีผู้ ศึกษาพระไตรปิ ฎ กอรรถกถาแล้ วแสดง
ความเห็นในลักษณะตีความต่างจากหลักการพระพุทธศาสนา ความเห็นนั้น
จั ด เป็ น อั ต โนมั ติ ต้ อ งน าความเห็ น นั้ น ไปตรวจสอบกั บ สุ ต ตะ สุ ต ตานุ โลม
อาจริยวาท ถ้าแม้ความเห็นนั้น เราไม่เคยได้ ยินได้ฟังมา เมื่อตรวจสอบแล้วลง
กันสมกัน ก็พึงเชื่อถือได้ เช่น เราได้ศึกษากันมาว่า พระมหากัสสปะถือธุดงค์ ๓
ข้อ คือ ถืออยู่ ป่ าถือผ้ าบั งสุ กุ ล ถือผ้ า ๓ ผื น มีผู้ เสนอความเห็ น ว่า ท่ านถือ
ธุดงค์ทั้ง ๑๓ ข้อ เราก็มักคัดค้านกันเพราะสมัยที่เรียนนักธรรมเราทราบกันมา
ว่า ท่านถือธุดงค์ ๓ ข้อดังกล่าว แต่เมื่อตรวจในคัมภีร์พระไตรปิฎกอรรถกถา
แล้วพบนัยในพระไตรปิ ฎกว่าถือได้ทั้ง ๑๓ ข้อ พบคาอธิบายในอรรถกถาว่า
ในขณะอธิษฐานสมาทานได้ทั้ง ๑๓ ข้อ เราก็ต้องถือตามสุตตะ สุตตานุโลม
อาจริยวาท
ที่ แ สดงมานี้ เป็ น หลั ก การทางพระวิ นั ย ก็ ใช้ ห ลั ก การทางพระวิ นั ย
ถ้าเป็นหลักการทางพระสูตร ก็ใช้หลักการทางพระสูตร เพราะมหาปเทสมี ๒
ฝ่ าย ดังที่ ท่ านอธิบ ายว่า เต ทุ วิธ า วิน ยมหาปเทสา สุ ตฺ ตนฺ ติ กมหาปเทสา
จาติ. วิน ยมหาปเทสา วินเย ปโยค คจฺฉนฺติ, อิตเร อุภ ยตฺถาปิ แปลว่า

๒๓๖
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๔๖, สารตฺถ.ฏีกา (บาลี) ๕๗-๕๘.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๑๕

“มหาปเทสนั้ น มี ๒ ฝ่ า ย คื อ มหาปเทสฝ่ า ยพระวิ นั ย และมหาปเทสฝ่ า ย


พระสู ต ร มหาปเทสฝ่ ายวิ นั ย ก็ ใช้ ในพระวินั ย ส่ ว นมหาปเทสฝ่ ายพระสู ต ร
ใช้ ทั้ งพระวิ นั ย และพระสู ต ร”๒๓๗ ตามที่ แ สดงไว้ ในคั ม ภี ร์ป ริ ว ารว่ า ธรรม
ธรรมานุโลม๒๓๘ ธรรมนั้น หมายเอาพระสุตตันตปิฏกกับอภิธรรมปิฏก ยกเว้น
วินัยปิฎก ธรรมานุโลมนั้น หมายเอามหาปเทสทั้ง ๔ ในสุตตันตปิฎก๒๓๙
ผู้ที่จะสอบสวนตรวจสอบคาสอนที่มีผู้เผยแพร่อ้างอิง จะต้องมีความรู้
มหาปเทสทั้ งในส่ ว นพระวินั ย และในส่ ว นพระสู ตร มิฉะนั้ น ถ้าคิ ดจะรักษา
หลักการทางธรรม ก็จะทาให้เสียทางพระวินัย คิดจะรักษาหลักการทางวินัย
ก็จะทาให้เสียทางพระสูตร ผู้ที่รู้ทั้ง ๒ ด้าน ก็จะทาให้สาเร็จประโยชน์ทั้ง ๒
ด้าน ดังข้อความที่ท่านอธิบายว่า “โย ธมฺม ธมฺมานุโลมญฺเจว ชานาติ, น วินย
วิน ยานุ โลมญฺ จ , โส “ธมฺม รกฺขามี ”ติ วิน ย อุพฺ พิ น ย กโรติ, อิตโร “วิน ย
รกฺขามี ”ติ ธมฺม อุทฺธมฺม กโรติ, อุภ ย ชานนฺโต อุภยมฺปิ สมฺปาเทติ ”๒๔๐
แปลว่า “ผู้ใดย่อมรู้ธรรมและธรรมานุโลม ไม่รู้วินัยและวินยานุโลม ผู้นั้นคิดจะ
รักษาธรรม ก็ทาวินัยให้เสียหลักการทางวินัยได้ อีกฝ่ายหนึ่ง คือ ผู้รู้วินัยและ
วิน ยานุ โลม ไม่ รู้ ธ รรมและธรรมานุ โลม คิ ด จะรัก ษาวินั ย ก็ ท าธรรมให้ เสี ย
หลักการทางธรรมได้ ผู้รู้หลักการทั้ง ๒ ฝ่ายย่อมทาให้หลักการทั้ง ๒ สมบูรณ์
ได้”

๒๓๗
วชิร.ฏีกา (บาลี) ๑๐๘.
๒๓๘
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๔๒/๓๙๔.
๒๓๙
วชิร.ฏีกา (บาลี) ๑๐๘-๑๐๙.
๒๔๐
วชิร.ฏีกา ๑๐๙.
๑๑๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

๕.๗ หลักการวิจัยในพระสุตตันตปิฎก
วิธีนาหลักการที่กล่าวนั้นมาใช้ตรวจสอบ เช่น สุตตะพึงตรวจสอบกับ
อาจริย วาท ถ้าลงกัน สมกัน จึ งถือเป็ น ฐานข้อมูล อ้างอิงได้ ขอยกตัวอย่างที่
ปรากฏในคัมภีร์ชั้นสุตตะ สุตตะ คือ พระไตรปิฎก ที่ได้ รับการจารจารึกสืบต่อ
กัน มา ปรากฏข้ อ ความที่ ไม่ ล งกั น คื อ พระวินั ยปิ ฎ ก ปริว าร ของศรีลั งกา
ของพม่า และฉบับของสมาคมบาลีปกรณ์ ปาฐะที่ปรากฏต่างกัน ฉบับของไทย
เอง ก็ส่ อว่า ได้มีการปรับ แก้ แต่เมื่อได้อาศัยอาจริยวาท คือ คาอธิบายจาก
อรรถกถาฎีกาตรวจสอบแล้ว จึงได้ข้อความที่ยุติ ในคัมภีร์วินัยปิฎก ปริวาร
ปรากฏข้อความว่า
“ปรมฺ ป รโภชเน ปาจิ ตฺ ติ ย กตฺ ถ ปญฺ ตฺ ต นฺ ติ . เวสาลิ ย า ปญฺ ตฺ ต .
ก อารพฺ ภ าติ . สมฺ พ หุ เล ภิ กฺ ขู อารพฺ ภ . กิ สฺ มึ วตฺ ถุ สฺ มิ นฺ ติ . สมฺ พ หุ ล า ภิ กฺ ขู
อญฺ ตฺ ร นิ ม นฺ ติ ต า อญฺ ตฺ ร ภุ ญฺ ชึสุ ตสฺ มึ วตฺถุ สฺ มึ . เอกา ปญฺ ตฺติ ติ สฺ โ ส
อนุ ปฺ ป ญฺ ตฺ ติ โย”๒๔๑ แปลว่ า “ถามว่ า พระพุ ท ธเจ้ า ทรงบั ญ ญั ติ ป าจิ ต ตี ย์
เพราะฉันปรัมปรโภชนะ ณ ที่ไหน ตอบว่า ทรงบัญญัติ ณ กรุงเวสาลี ถามว่า
ทรงปรารภใคร ตอบว่า ทรงปรารภภิกษุหลายรูป ถามว่า ทรงบัญญัติ เพราะ
เรื่องอะไร ตอบว่า ทรงบัญญัติเพราะเรื่องที่ภิกษุหลายรูป รับนิมนต์ไว้ในที่หนึ่ง
แล้วไปฉันในที่อีกแห่งหนึ่ง ในปรัมปรโภชนสิกขาบทนั้น มี ๑ พระบัญญัติ ๓
พระอนุบัญญัติ”
เฉพาะคาว่า ติสฺโส มีการทาเชิงอรรถว่า โป. ม. จตสฺโส. หมายความว่า
ในพระไตรปิฎกฉบับโบราณ คือ ฉบับเก่าของไทย และฉบับมรัมมรัฐ คือ ฉบับ
ของพม่า เป็น จตสฺโส อนุปฺปญฺ ตฺติโย เมื่อสุตตะ คือ พระไตรปิฎกปรากฏ

๒๔๑
วิ.ป. (บาลี) ๘/๙๕/๔๑ สฺยา.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๑๗

ข้อความต่างกัน ก็ต้องดาเนินการตามหลักการ คือ นาสุตตะ ข้อความที่ปรากฏ


นี้ไปตรวจสอบกับสุตตานุโลม คือ ข้อความในพระไตรปิฎกที่เป็นเรื่องเดียวกัน
ซึ่งปรากฏอยู่ในที่อื่น คือ เรื่องปรัมปรโภชนะ ปรากฏในวินัยปิฎก มหาวิภังค์
เล่ม ๒ ด้วย
คาว่า อนุปญฺ ตฺติ คือ ข้อพระบัญญัติ ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติเพิ่มใน
ภายหลัง ถ้ามีเหตุที่ทาให้ พระพุทธเจ้าทรงบัญญั ติเพิ่มอีก ๓ ครั้ง ก็แสดงว่า
มีอนุ บั ญ ญั ติ ๓ แต่ ถ้ามีเหตุ ที่ ท าให้ พ ระพุ ท ธเจ้าทรงบั ญ ญั ติเพิ่ มอี ก ๔ ครั้ง
ก็แสดงว่า มีอนุบัญญัติ ๔ ก็ต้องตรวจสอบข้อความที่เป็นเหตุให้พระพุทธเจ้า
ทรงบั ญ ญั ติสิ กขาบทข้อปรั มปรโภชนะ ในพระวินั ยปิ ฎ ก มหาวิภังค์เล่ ม ๒
ปรากฏข้อความที่เป็นบัญญัติและอนุบัญญัติ ดังนี้
เอวญฺ จ ปน ภิ กฺ ข เว อิ ม สิ กฺ ข าปท อุ ทฺ ทิ เสยฺ ย าถ “ปรมฺ ป รโภชเน
ปาจิตฺติยนฺ”ติ. เอวญฺจิท ภควตา ภิกฺขูน สิกฺขาปท ปญฺ ตฺต โหติ.๒๔๒ แปลว่า
“พระผู้มีพระภาคจึงรับสั่งให้ภิกษุทั้งหลายยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงดังนี้ ภิกษุ
ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันปรัมปรโภชนะ สิกขาบทนี้พระผู้มีพระภาคทรง
บัญญัติไว้แก่ภิกษุทั้งหลายอย่างนี้”
ต่อมา มีภิกษุอาพาธ เพื่อนภิกษุรูปหนึ่งนาบิณฑบาตไปถวายนิมนต์ให้
ท่านฉัน ท่านปฏิเสธเพราะท่านมีที่หวังที่รับนิมนต์ไว้ แต่เมื่อท่านไปฉันที่รับ
นิ ม นต์ ส ายจึ งฉั น ไม่ ได้ ดั งใจ เรื่ อ งทราบไปถึ งพระพุ ท ธเจ้ า พระองค์ จึ งทรง

๒๔๒
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๒๒๑/๒๒๒.
๑๑๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อนุญาตให้ภิกษุอาพาธฉันปรัมปรโภชนะได้ แล้วพระองค์ทรงบัญญัติเพิ่มครั้งที่
๑ ดังนี้
เอวญฺ จ ปน ภิ กฺ ข เว อิ ม สิ กฺ ข าปท อุ ทฺ ทิ เสยฺ ย าถ “ปรมฺ ป รโภชเน
อญฺ ตร สมยา ปาจิ ตฺ ติ ย . ตตฺ ถาย สมโย: คิ ล านสมโย; อย ตตฺ ถ สมโย”ติ .
เอวญฺจิท ภควตา ภิกฺขูน สิกฺขาปท ปญฺ ตฺต โหติ.๒๔๓
แปลว่า “พระผู้ มีพระภาคจึ งรับ สั่ งให้ ภิกษุทั้งหลายยกสิกขาบทนี้ขึ้น
แสดงดังนี้ ภิกษุต้องอาบัติปาจิ ตตีย์ เพราะฉันปรัมปรโภชนะนอกสมัย สมัยใน
ข้อนั้น คือ สมัยที่เป็นไข้ นี้เป็นสมัยในข้อนั้น สิกขาบทนี้พระผู้มีพระภาคทรง
บัญญัติไว้แก่ภิกษุทั้งหลายอย่างนี้”
เต น โข ป น ส ม เย น ม นุ สฺ ส า จี ว ร ท า น ส ม เย ส จี ว ร ภ ตฺ ต
ปฏิ ย าเทตฺวา ภิ กฺขู นิ มนฺ เตนฺ ติ “โภเชตฺว า จี ว เรน อจฺฉาเทสฺ ส ามา”ติ . ภิกฺ ขู
กุกฺกุจฺจายนฺตา นาธิวาเสนฺติ “ปฏิกฺขิตฺต ภควตา ปรมฺปรโภชนนฺ”ติ. จีวร ปริตฺต
อุปฺ ป ชฺ ช ติ . ภควโต เอตมตฺถ อาโรเจสุ ฯเปฯ อนุ ช านามิ ภิ กฺข เว จี ว รทาน-
สมเย ปรมฺปรโภชน ภุญฺชิตุ. เอวญฺจ ปน ภิกฺขเว อิม สิกฺขาปท อุทฺทิเสยฺยาถ
“ปรมฺ ป รโภชเน อญฺ ตร สมยา ปาจิ ตฺ ติ ย . ตตฺ ถ าย สมโย: คิ ล านสมโย
จีวรทานสมโย; อย ตตฺถ สมโย”ติ. เอวญฺจิท ภควตา ภิกฺขูน สิกฺขาปท ปญฺ ตฺต
โหติ.๒๔๔
แปลว่า “พระผู้ มีพระภาคจึ งรับ สั่ งให้ ภิกษุทั้งหลายยกสิกขาบทนี้ขึ้น
แสดงดังนี้ ภิกษุต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันปรัมปรโภชนะนอกสมัย สมัย

๒๔๓
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๒๒๒/๒๒๒.
๒๔๔
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๒๒๓/๒๒๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๑๙

ในข้อนั้น คือ สมัยที่เป็นไข้ สมัยที่ถวายจีวร นี้เป็นสมัยในข้อนั้น สิกขาบท


นี้พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้แก่ภิกษุทั้งหลายอย่างนี้”
เตน โข ปน สมเยน มนุ สฺ ส า จี ว รการเก ภิ กฺ ขู ภตฺ เตน นิ ม นฺ เตนฺ ติ .
ภิ กฺ ขู กุ กฺ กุ จฺ จ ายนฺ ต า นาธิ ว าเสนฺ ติ ปฏิ กฺ ขิ ตฺ ต ภควตา ปรมฺ ป รโภชนนฺ ”ติ .
ภควโต เอตมตฺ ถ อาโรเจสุ ฯเปฯ “อนุ ช านามิ ภิ กฺ ข เว จี ว รการสมเย
ปรมฺ ป รโภชน ภุ ญฺ ชิ ตุ . เอวญฺ จ ปน ภิ กฺ ข เว อิ ม สิ กฺ ข าปท อุ ทฺ ทิ เสยฺ ย าถ
“ปรมฺ ป รโภชเน อญฺ ตร สมยา ปาจิ ตฺ ติ ย . ตตฺ ถ าย สมโย: คิ ล านสมโย
จีว รทานสมโย จี ว รการสมโย; อย ตตฺ ถ สมโย”ติ .เอวญฺ จิท ภควตา ภิ กฺ ขู น
สิกฺขาปท ปญฺ ตฺต โหติ.๒๔๕
แปลว่า “พระผู้ มีพระภาคจึ งรับ สั่ งให้ ภิกษุทั้งหลายยกสิกขาบทนี้ขึ้น
แสดงดังนี้ ภิกษุต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันปรัมปรโภชนะนอกสมัย สมัย
ในข้อนั้น คือ สมัยที่เป็นไข้ สมัยที่ถวายจีวร สมัยที่ทาจีวร นี้เป็นสมัยในข้อ
นั้น”
อถ โข ภควา ปุ พฺ พณฺ ห สมย นิ ว าเสตฺวา ปตฺตจีว รมาทาย อายสฺ มตา
อานนฺ เทน ปจฺ ฉ าสมเณน, เยน อญฺ ตร กุ ล , เตนุ ป สงฺ ก มิ ; อุ ป สงฺ ก มิ ตฺ ว า
ปญฺ ตฺเต อาสเน นิสีทิ. อถ โข เต มนุสฺสา ภควโต จ อายสฺมโต จ อานนฺทสฺส
โภชน อทสุ . อายสฺ มา อานนฺ โท กุกฺกุจฺจ ายนฺ โต น ปฏิ คฺคณฺ ห าติ . “คณฺ ห าหิ
อานนฺทา”ติ

๒๔๕
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๒๒๔-๒๒๕/๒๒๓.
๑๒๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

“อล ภควา, อตฺ ถิ เม ภตฺ ต ปจฺ จ าสา”ติ . “เตนหานนฺ ท วิ ก ปฺ เปตฺ ว า


คณฺหาหี”ติ. อถ โข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน เอตสฺมึ ปกรเณ ธมฺมึ กถ กตฺวา ภิกฺขู
อามนฺเตสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ภตฺตปจฺจาส วิกปฺเปตฺวา ปรมฺปรโภชน ภุญฺชิตุ.
เอวญฺ จ ปน ภิ กฺ ข เว วิ ก ปฺ เ ปตพฺ พ ” “มยฺ ห ภตฺ ต ปจฺ จ าส อิ ตฺ ถ นฺ น ามสฺ ส
ทมฺม”ี ติ.๒๔๖
แปลว่า “ครั้งนั้น ในเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกถือ
บาตรและจี ว ร มีท่ านพระอานนท์เป็ น ปั จ ฉาสมณะเสด็ จเข้าไปตระกูล หนึ่ ง
ครั้นถึงแล้วได้ประทับนั่งบนอาสนะที่เขาจัดถวาย
ลาดับนั้น พวกชาวบ้านได้ถวายโภชนาหารแด่พระผู้มีพระภาคและท่าน
พระอานนท์ ท่านพระอานนท์มีความยาเกรงอยู่จึงไม่รับประเคน
พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “รับเถิด อานนท์ ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า
“อย่าเลย พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้ามีภัตตาหารที่หวังว่าจะได้”
พระผู้มีพระภาครับสั่งว่า “อานนท์ ถ้าเช่นนั้น เธอจงวิกัปไว้แล้วรับ”
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมีกถาเพราะเรื่องนี้เป็นต้นเหตุ
แล้ว
รับสั่งกับภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้วิกัปภัตตาหาร
ที่หวังว่าจะ
ได้แล้วฉันปรัมปรโภชนะ” แล้วจึงรับสั่งให้ภิกษุทั้งหลายวิกัปภัตตาหาร
ที่หวังว่าจะได้
อย่างนี้ กระผมถวายภัตตาหารที่กระผมหวังว่าจะได้แก่ภิกษุชื่อนี้”

๒๔๖
วิ.มหา. (บาลี) ๒/๒๒๖/๒๒๓-๒๒๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๒๑

๑ บาลี เป็ น ๓ พระอนุ บั ญ ญั ติ ในที่ นี้ แ ปลตามบาลี เก่ า ว่ า “๔ พระ


อนุบัญญัติ” ๒๔๗
๕.๖ การวิจัยทางพระสูตร
วิจั ย ทางพระสู ต รนั้ น หลั ก มหาปเทส ๔ ฝ่ ายพระสู ต ร น ามาใช้ เป็ น
เครื่องมือชี้วัดตัดสินปัญหาทางธรรมวินัยที่เกิดขึ้นในพระพุทธศาสนาได้ ซึ่งขอ
นาเสนอวิธีการมหาปเทสตามที่ปรากฏในคัมภีร์แล้วจะนามาที่ใช้เป็นเครื่องชี้
วัดการตีความพระธรรมวินัยในสังคมไทย
มหาปเทสฝ่ ายพระสู ต ร พระพุ ท ธเจ้ า ทรงแสดงแก่ ภิ ก ษุ ทั้ ง หลายที่
อานันทเจดีย์โภคนคร มีเนื้อหาโดยสรุป ดังนี้
ภิกษุเป็นพึงกล่าวอย่างนี้ว่า
๑. ข้าพเจ้าได้สดับ รับ มาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า นี้เป็น
ธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นสัตถุศาสน์
๒. ในอาวาสชื่อโน้นมีสงฆ์อยู่พร้อมด้วยพระเถระ พร้อมด้วยปาโมกข์
ข้าพเจ้ าได้สดับ มาเฉพาะหน้ าสงฆ์นั้ น ว่า นี้ เป็ น ธรรม นี้เป็น วินัย นี้เป็นสั ตถุ
ศาสน์

๒๔๗
วิ.มหา. (แปล) ๒/๒๒๖/๓๘๔ และดู สารตฺถ.ฏีกา ๓/๒๒๖/๗๐, วิมติ.ฏีกา
๒/๒๒๑/๓๘, กงฺขา.ฏีกา ๔๐๔
๑๒๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

๓. ในอาวาสชื่อโน้นมีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่จานวนมาก เป็นพหูสูตเรียน
คั ม ภี ร์ ทรงธรรม ทรงวิ นั ย ทรงมาติ ก า ข้ า พเจ้ า ได้ ส ดั บ รั บ มาเฉพาะหน้ า
พระเถระเหล่านั้นว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นสัตถุศาสน์
๔. ในอาวาสชื่อโน้นมีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่รูปหนึ่ง เป็นพหูสูต เรียนคัมภีร์
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับรับมาเฉพาะพระเถระรูปนั้นว่า
นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นสัตถุศาสน์
ยังไม่พึงชื่นชมเชื่อถือ ยังไม่พึงคัดค้านคากล่าวของภิกษุนั้น พึงเรียนบท
และพยัญชนะเหล่านั้นให้ดีแล้วตรวจสอบดูในพระสูตรเทียบเคียงดูในพระวินัย
ถ้าสอบลงในสู ตรก็ไม่ได้ เทีย บดู ในพระวินั ย ก็ไม่ได้ พึ งแน่ใจได้เลยว่านี้มิใช่
คาสอนของพระผู้มีพระภาคแน่นอน ท่านเหล่านั้นศึกษาจามาผิด ถ้าสอบลงใน
สู ต รได้ เที ย บดู ในพระวินั ย ได้ พึ งแน่ ใจได้เลยว่า นี้ เป็ น ค าสอนของพระผู้ มี
พระภาคแน่นอน ท่านเหล่านั้นศึกษาจามาดี๒๔๘
หลักมหาปเทสนี้ เป็นหลักการอ้างอิงที่สาคัญ สาหรับอ้างอิงใช้ในการ
ตรวจสอบธรรมวินัยที่มีการสั่งสอนเผยแผ่แตกต่างกัน ได้นามาเป็นเครื่องมือ
ตรวจสอบการตีความหลักคาสอนในสังคมไทย
พระมหากัจ จายนเถระได้แสดงมหาปเทส ๔ ไว้ในคัมภีร์เนตติปกรณ์
ดังนี้ จตฺตาโร มหาปเทสา พุทฺธาปเทโส สฆาปเทโส สมฺพหุล ตฺเถราปเทโส
เอกตฺ เถราปเทโส. อิ เม จตฺ ต าโร มหาปเทสา, ตานิ ปทพฺ ย ญฺ ช นานิ สุ ตฺ เต
โอตารยิ ตพฺพ านิ , วิน เย สนฺ ทสฺ ส ยิตพฺ พานิ , ธมฺมตาย อุปนิ กฺขิปิ ตพฺ พานิ๒๔๙

๒๔๘
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๘๗–๑๘๘/๑๐๘–๑๑๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๘๗–๑๘๘/
๑๓๔–๑๓๖.
๒๔๙
เนตฺติ. (บาลี) ๑๘/๒๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๒๓

มหาปเทส คือการอ้างอิงมี ๔ ประการ ได้แก่ การอ้างอิงพระพุท ธเจ้า การ


อ้างอิงพระสงฆ์ การอ้างอิงพระเถระหลายรูป การอ้างอิงพระเถระรูปเดียว ๔
ประการนี้เรียกว่า มหาปเทส พึงตรวจสอบบทพยัญชนะเหล่านั้นในพระสูตร
พึงเทียบเคียงในพระวินัย พึงสงเคราะห์เข้าในธรรมดา
มหาปเทสฝ่ า ยพระสู ต ร ๔ น าข้ อ มู ล ที่ มี ผู้ อ้ า ง ๑) อ้ างพระพุ ท ธเจ้ า
๒) อ้างคณะสงฆ์ ๓) อ้างพระเถระหลายรูป ๔) อ้างพระเถระรูปเดียว๒๕๐ โดย
ความหมาย คื อ น าข้ อ มู ล ที่ เป็ น ประเด็ น ปั ญ หาไปตรวจสอบดู ในพระสู ต ร
เทียบเคียงดูในพระวินัย เพื่อหาข้อยุติ ในคัมภีร์เนตติปกรณ์ท่านสรุปมหาปเทส
ไว้ ว่ า พุ ทฺ ธ าปเทโส การอ้ า งพระพุ ท ธเจ้ า ส ฆาปเทโส การอ้ า งพระสงฆ์
สมฺพหุลตฺเถราปเทโส การอ้างพระเถระหลายรูป เอกตฺเถราปเทโส การอ้าง
พระเถระรูปเดียว๒๕๑
สุตตะ นาข้อมูลที่เป็นปัญหาอันเป็นส่วนอัตโนมัติของนักวิชาการเป็น
ความเห็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล หมายเอาข้อมูลที่ผู้ทรงคุณวุฒิศึกษาค้นคว้า
เรียบเรียงไว้ เอกสารการวิจัยที่เกี่ยวข้อ ง และจากหนังสือที่ท่านผู้ทรงคุณวุฒิ
เรียบเรียงไว้ ไปตรวจสอบกับข้อมูลที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ที่แสดงเรื่องนั้น
โดยตรง ถ้ า ยั ง ไม่ ชั ด เจน ก็ ต้ อ งหาข้ อ มู ล รองรั บ โดยน าไปตรวจสอบกั บ
สุตตานุ โลม คือข้อมูล ในพระไตรปิ ฎ กเช่น กัน ซึ่งใช้เป็นข้ออ้างอิงสนับ สนุ น

๒๕๐
ดูรายละเอียดใน ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๘๘/๑๐๙–๑๑๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๘๘/
๑๓๔-๑๓๖.
๒๕๑
เนตฺติ. (บาลี) ๑๘/๒๓.
๑๒๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สุตตะ ศึกษาคาอธิบายในอาจริยวาท คือคาอธิบายในอรรถกถาและฎีกาที่


ช่วยเสริมสุตตะกับสุตตานุโลมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อหาข้อยุติ
สุตตะนั้น เฉพาะที่มาในสังคีติ ๓ คือ ปัญจสติกสังคีติ (สังคายนาครั้ งที่
๑) สัตตสติกสังคีติ (สังคายนาครั้งที่ ๒) สหัสสิกสังคีติ (สังคายนาครั้งที่ ๓) นั้น
ควรถือเอาเป็นประมาณ นอกนั้นเป็นสุตตะที่ท่านตาหนิ ไม่ควรถือเอา จริงอยู่
บทพยัญชนะแม้ที่ลงกันได้ในสุตตะนั้น พึงทราบว่า ลงกันไม่ได้ในพระสูตรและ
เทียบกันไม่ได้ในพระวินัย๒๕๒
ขั้น ที่ ๑ รวบรวมข้อมูล เรื่อ งความเป็ น มาแห่ งภิ กษุ สงฆ์ที่เป็นเจ้าของ
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ของสงฆ์ รวบรวมข้อมูลทรัพย์สินของสงฆ์ ปัญหาเกี่ยวกับ
ทรั พ ย์ สิ น ของสงฆ์ ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร์ พ ระไตรปิ ฎ ก โดยใช้ ห ลั ก การสุ ต ตะ
คือ รวบรวมข้ อมู ล ที่ เป็ น หั ว ข้ อ เกี่ ย วกับ ทรั พ ย์ สิ น จากพระไตรปิ ฎ ก ใช้ห ลั ก
สุตตานุโลม คือ รวบรวมข้อมูลที่สนับสนุนสุตตะจากคัมภีร์พระไตรปิฎกศึกษา
อาจริยวาท คือคาอธิบายจากอรรถกถา ทั้งพระไตรปิฎกและอรรถกถา จัดเป็น
คาสอนที่เป็นหลักฐาน ซึ่งผ่านสังคีติ ๓ คือผ่านการสังคายนามา ๓ ครั้ง ศึกษา
ความหมายที่พระฎีกาจารย์อธิบายไว้ในคัมภีร์ฎีก า ซึ่งพระสาวกทั้งหลายแต่ ง
เมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๐๐
ขั้น ที่ ๒ สร้ างแนวทางการวิจั ย ทางพระพุ ท ธศาสนาขึ้ น มา เพื่ อ เป็ น
รูปแบบการวิจัยเอกสารทางพระพุทธศาสนา สาหรับใช้เป็นเครื่องมือเขียนงาน
ทางพระพุท ธศาสนา คื อ ต้องน าเสนอความรู้จากพระไตรปิฎ กก่อน ขยาย
ความโดยใช้ ค าอธิ บ ายจากอรรถกถาฎี ก าและไวยากรณ์ ความเห็ น ของ
นั ก วิช าการพระพุ ท ธศาสนาที่ เผยแพร่ อ ยู่ ในสั งคมไทย น าเสนอเพี ย งเป็ น

๒๕๒
ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๑๖๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๒๕

ความเห็นที่เป็นไปในสังคมไทย การเขียนงานที่ปรากฏ มีบางเรื่องนาเสนอหรือ


อ้ า งความเห็ น ของพระภิ ก ษุ นั ก ปราชญ์ ห รื อ คฤหั ส ถ์ ผู้ ท รงความรู้ ท าง
พระพุทธศาสนาแล้วกล่าวทับถมพระไตรปิ ฎกและอรรถกถา ยกย่องความเห็น
นักการศาสนาในสังคมไทยว่าถูกต้อง พระไตรปิฎกกับอรรถกถาผิด การเขี ยน
งานในลั ก ษณะนี้ ยั ง ไม่ ถู ก ต้ อ งนั ก ไม่ ว่ า จะเป็ น ใครที่ ไหน ที่ เสนอความรู้
ความเห็นทางพระพุทธศาสนา ล้วนได้ศึกษามาจากพระไตรปิฎกและอรรถกถา
ที่สอนกันต่อๆ มาทั้งนั้น
ขั้ น ที่ ๓ น าข้ อ มู ล จากข้ อ ที่ ๑ มาตรวจสอบเที ย บเคี ย งกั บ ข้ อ ความ
สนับ สนุน จากพระไตรปิ ฎกและอรรกถา ศึกษาความหมายของเรื่องนั้นจาก
อรรถกถาฎี ก าและไวยากรณ์ น าข้ อ มู ล ส่ ว นอั ต โนมั ติ ม าตรวจสอบกั บ
พระไตรปิ ฎ กอรรถกถาฎีกาและไวยากรณ์ เพื่อหาความหมายที่ถูกต้องตาม
หลั ก การแห่ งพระพุ ท ธศาสนาเถรวาท วิ เคราะห์ ข้ อมู ล ในข้ อ ๑-๒ นั้ น แล้ ว
จัดลาดับ เรื่อง ตามที่กาหนดไว้ในวัตถุป ระสงค์และในสารบัญ จั ด พิมพ์เป็ น
รายงานการวิจั ย ตรวจสอบความถูกต้องด้านการอ้างอิง ตรวจแก้ข้อความ
ปรับสานวนให้ กลมกลืน จนเห็ นว่า เหมาะสมจึงนาเสนอสถานบันวิจัยพุทธ
ศาสตร์ เพื่อเสนอกรรมการผู้ทรงคุณ วุฒิ ตรวจพิจารณางานวิจัยแล้วปรับแก้
ตามมติกรรม

๖. หลักการวิจัยในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
จากการส ารวจวรรณกรรมพระพุ ท ธศาสนา โดยใช้ ห ลั ก การสุ ต ตะ
สุ ต ตานุ โ ลม อาจริ ย วาทอั ต โนมั ติ เป็ น เครื่ อ งชี้ วั ด ได้ พ บว่ า มี ก ารเขี ย น
งานน าเสนอหลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา เช่ น คั ม ภี ร์มั ง คลั ต ถที ป นี ที่
๑๒๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

พระสิริมังคลาจารย์ ชาวเชียงใหม่ ได้แต่งไว้ ซึ่งถือเป็นแบบอย่างได้ ท่านแต่ง


อธิ บ ายเรื่ อ งมงคล ๓๘ ประการ ท่ า นใช้ ห ลั ก การ ๔ ที่ ก ล่ า วนี้ คื อ สุ ต ตะ
สุตตานุ โลม อาจริยวาท อัตโนมัติ เขียนอธิบ ายมงคลทั้ง ๓๘ ประการ เช่น
ท่านอธิบายมงคล ๒ ข้อแรก ท่านได้นาข้อความที่เป็นมงคลขึ้นเป็นหั วข้อว่า
อเสวนา จ พาลานนฺ ตฺย าทิกา ๒๕๓ เป็ น ข้อความที่ ท่ านตั้งเป็ นหั ว ข้อ แปลว่า
“การไม่ค บคนพาล(และการคบบั ณ ฑิ ต )” จั ดเป็ น สุ ต ตะ จากนั้ น ท่านได้ น า
ข้อความที่เป็นสุตตานุโลมมาเป็นคาอธิบายลักษณะคนพาลและบัณฑิต ซึ่งเป็น
ข้อความจากพระไตรปิฎกด้วยกัน คือพาลปัณฑิตสูตร๒๕๔ ซึ่งแสดงลักษณะคน
พาลว่า เป็นคนที่คิดชั่ว พูดชั่ว ทาชั่ว ส่วนลักษณะของบั ณฑิตเป็นคนที่คิดดี
พูดดี ทาดี จากนั้นท่านได้ใช้หลักการอาจริยวาท คือนาคาอธิบายในอรรถกถา
และฎี ก ามาประกอบการอธิ บ าย แล้ ว ท่ า นได้ แ สดงความเห็ น ส่ ว นตั ว ตาม
เหมาะสม
หลักการนี้ สามารถประยุกต์ใช้ในการเขียนงานวิจัยแบบสังคมศาสตร์ก็
ได้ สุตตะ คือหัวข้องานวิจัย ที่กาหนดขึ้น สุตตานุโลม คือเอกสารที่เป็นตารา
เป็ น หนั งสื อ ต่ างๆ ส าหรั บ ใช้ เป็ น ข้ อ มู ล สนั บ สนุ น ในการเขี ย นงานวิ จั ย นั้ น
อาจริย วาท คือวิทยานิ พนธ์และงานวิจั ย ที่มีผู้วิจัยไว้แล้ วสามารถนามาเป็ น
เอกสารที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยนั้น อัตโนมัติ คือเมื่อเขียนจบในแต่บทแต่ละตอน
มี ค วามเห็ น อย่ า งไรก็ เขี ย นน าเสนอในงานวิ จั ย ของตน ซึ่ ง เป็ น หลั ก การที่
พระสาวกทั้งหลาย วางเป็นมาตรฐานในเรื่องข้อมูลที่พึงใช้ในการศึกษาอันถือ
เป็นสิ่งที่พึงเชื่อถือนี้ สาหรับใช้วิจัยค้นคว้าข้อมูลแก้ปัญหาปรัปวาท คือเรื่องที่มี

๒๕๓
มงฺคล. (บาลี) ๑/๑๓.
๒๕๔
ม.อุ. (บาลี ) ๑๔/๒๔๖/๒๑๔,๒๕๓/๒๒๑, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๔๖/๒๙๑,
๒๕๓/๒๙๙.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๒๗

ผู้ อื่ น กล่ า วร้ า ยจ้ ว งจาบพระธรรมวิ นั ย ได้ ด้ ว ย ซึ่ ง เป็ น ความประสงค์ ข อง
พระสาวกทั้ ง หลายที่ ว างหลั ก การนี้ ไ ว้ และหลั ก การนี้ ก็ ส อดคล้ อ งกั บ
พุทธปณิธานของพระพุทธองค์ที่ทรงแสดงไว้ก่อนดับขันธปรินิพพาน พอสรุป
ความได้ว่า
พระองค์จะยังไม่ป รินิ พ พาน เมื่อสาวกสาวิกาของพระองค์ คือ ภิกษุ
ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ยังไม่เฉียบแหลม ไม่ไ ด้รับการแนะนา ไม่แกล้วกล้า
ไม่เป็นพหูสูต ไม่ทรงธรรม ไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ไม่ปฏิบัติชอบ ไม่
ปฏิ บั ติ ต ามธรรม เรี ย นกั บ อาจารย์ ข องตนแล้ ว แต่ ยั งบอก แสดง บั ญ ญั ติ
กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่ายไม่ได้ ยังแสดงธรรมมีปาฏิหาริย์ปราบปรัป
วาทที่เกิดขึ้นให้เรียบร้อยโดยชอบธรรมไม่ได้ ๒๕๕
เมื่อสาวกสาวิกาของพระองค์ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา เป็นผู้
เฉียบแหลม ได้รับการแนะนา แกล้วกล้า เป็นพหูสูต ทรงธรรม ปฏิบัติธรรม
สมควรแก่ธรรม ปฏิบัติ ชอบ ปฏิบั ติตามธรรม เรียนกับอาจารย์ของตนแล้ ว
ก็บอก แสดง บัญญัติ กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่ายได้ แสดงธรรมมี
ปาฏิหาริย์ปราบปรัปวาทที่เกิดขึ้นให้เรียบร้อยโดยชอบธรรมได้ พระพุทธองค์
จึงตัดสินพระทัยที่จะปรินิพพานตามคาทูลขอของมาร๒๕๖
ที่นาเสนอนี้เป็นหลักการทางพระวินัย ก็ให้หลักการทางพระวินัยเพราะ
มีอธิบายเฉพาะในพระวินัย ถ้าเป็นหลักการทางพระสูตรก็ใช้ หลักฐานทางพระ

๒๕๕
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๗๕/๑๐๑, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๗๕/๑๒๓–๑๒๔.
๒๕๖
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๑๗๖–๑๗๗/๑๐๒, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๗๖–๑๗๗/๑๒๔–
๑๒๕.
๑๒๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สูตร เพราะมหาปเทสมี ๒ ฝ่ าย ๒๕๗ ตามที่แสดงไว้ในคัมภีร์ปริว ารว่า ธรรม


ธรรามานุโลม๒๕๘ ธรรมนั้น หมายเอาพระสัตตันตปิฏกกับอภิธรรมปิฏก ยกเว้น
วินัยปิฎก ธรรมานุโลมนั้น หมายเอามหาปเทศทั้ง ๔ ในสัตตันตปิฎก๒๕๙
ผู้ที่จะสอบสวนตรวจสอบคาสอนที่มีผู้เผยแพร่อ้างอิง จะต้องมีความรู้
มหาปเทสทั้ งในส่ ว นพระวินั ย และในส่ ว นพระสู ต ร มิ ฉ ะนั้ น ถ้ าคิ ด จะรัก ษา
หลักการทางธรรม ก็จะทาให้เสียทางพระวินัย คิดจะรักษาหลักการทางวินัย ก็
จะทาให้ เสี ย ทางพระสู ตร ผู้ ที่ รู้ทั้ง ๒ ด้าน ก็จ ะทาให้ ส าเร็จประโยชน์ทั้ง ๒
ด้าน๒๖๐
หลักการนี้ ในพระวินัย ท่านยกมหาปเทสฝ่ายพระวินัย ถ้านาไปใช้ใน
ส่วนพระสุตตัน ตปิ ฎ ก ก็ต้องอนุวัตรตามข้อมูลในพระไตรปิฎ ก ที่กล่าวมานี้
เป็นหลักการทางพระวินัย ซึ่งนามาใช้เป็นเครื่องชี้วัดปัญหาที่เกิดจากทรัพย์สิน
ของสงฆ์
สาหรับคาอธิบายนอกจากนี้ และการใช้หลักการมหาปเทสฝ่ายพระสูตร
เป็นเกณฑ์ตัดสินเรื่องที่มีผู้นาเสนอเป็นที่ปรากฏ

๒๕๗
เต ทุวิธา วินยมหาปเทสา สุตฺตนฺติกมหาปเทสา จาติ. วินยมหาปเทสา
วินเย ปโยค คจฺฉนฺติ, อิตเร อุภยตฺถาปิ –วชิร.ฏีกา (บาลี) ๑๐๘.
๒๕๘
สุ ตฺ ต ชานาติ , สุ ตฺ ต านุ โ ลม ชานาติ , วิ น ย ชานาติ , วิ น ยานุ โลม ชานาติ ,
ฐานาฐานกุสโล จ โหติ … สเฆ โวหริตพพ -วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๒๔/๓๘๓, ๔๔๒/๓๙๔,
วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๒๔/๖๐๖–๖๐๗,๔๔๒/๖๒๓–๖๒๔.
๒๕๙
วชิร.ฏีกา (บาลี) ๑๐๘-๑๐๙.
๒๖๐
โย ธมฺม ธมฺมานุโลมญฺ เจว ชานาติ, น วินย วิน ยานุ โลมญฺ จ, โส “ธมฺ ม
รกฺขามี”ติ วินย อุพฺพินย กโรติ อิตโร “ วินย รกฺขามี”ติ ธมฺม อุทฺธมฺม กโรติ, อุภย
ชานนฺโต อุภยมฺปิ สมฺปาเทติ –วชิร.ฏีกา ๑๐๙.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๒๙

การใช้วิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา ใช้ในการเขียนงานวิจัยบ้าง ใช้


ในการเขียนงานวิจัยแก้ปรัปวาทที่เกิดขึ้น บ้าง แก้ปัญ หาข้อสงสัยที่มีผู้
สอบถามบ้าง ที่ต้องนาเสนอนั้น ก็เพราะต้องการสร้างเป็นระเบียบวิธีการ
วิจัย คือ วิธีค้นคว้าศึกษาแล้วเขี ยนงานทางพระพุทธศาสนา เพื่อใช้เป็น
มาตรฐานในการนาเสนองานทางพระพุทธศาสนา
การวิจัยตามแนวพระสู ตร เป็น แนวทางการเขียนวิจัยสาหรับ ใช้
เขียนงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาทางพระธรรมวินัย ที่มีการแสดงความคิดเห็น
ที่ที่เป็นลักษณะปรัปวาท คือ มีการกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัย หรือมี
การแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างไปจากที่ทราบกัน เป็นวิธีค้นคว้าเขียน
งานเพื่ อ หาข้ อ ยุ ติ ในทางพระธรรมวินั ย ว่า เป็ น อย่ า งที่ มี ผู้ แ สดงความ
คิดเห็นนั้น หรือไม่เป็นอย่างที่มีผู้แสดงความคิดเห็น
การวิจั ย ทางพระวินั ย ที่ พ ระอรรถกถาจารย์ อ ธิบ ายขยายความ
มหาปเทส คื อ หลั ก การที่ ใช้ อ้ า งอิ งส าหรับ ตัด สิ น ผิ ดถู ก แล้ วท่ านวาง
หลักการ สุตตะ สุตตานุโลม อาจริยวาท อัตโนมัตินั้น เป็นวิธีการเขียน
งานที่เป็นองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา สุตตะ เมื่อจะเขียนงานทาง
พระพุทธศาสนา ก็ใช้ข้อมูลจากพระไตรปิ ฎกเป็นบทอุทเทส คือตั้งเป็น
หัวข้อในแต่ละเรื่อง แต่ละบท แต่ละข้ อ สุตตานุโลม เมื่อนาข้อมูลจาก
พระไตรปิฎกมาตั้งแล้วก็นาข้อมูลจากพระไตรปิฎกด้วยกันมาเป็นเอกสาร
สนับสนุน อาจริยวาท คือวาทะของอาจารย์ ได้แก่ การนาคาอธิบายจาก
คัมภีร์อรรถกถาฎีกา ปกรณวิเสส และไวยากรณ์ มาประกอบการเขียน
อธิบายขยายความ เมื่อนาข้อมูลดังกล่าวมาเขียนเรียบเรียงอย่างนี้แล้ว ก็
เขียนแสดงความเห็น ที่นิยมเรียกว่า การวิเคราะห์
๑๓๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

๗. การตีความและการตรวจสอบงานวิจัยทางภาษาบาลี
ในการการตี ค วามหลั ก ค าสอนพระพุ ท ธศาสนาในสั ง คมไทยนี้
จะดาเนินการวิจัยโดยศึกษาข้อมูล ที่เป็นหลักฐานจากพระไตรปิฎกอรรถ
กถาฎีกาอนุฎีกาปกรณวิเสสเป็นลาดั บ และจากเอกสารที่ผู้ทรงคุณวุฒิได้
ศึกษาค้นคว้าแล้วเผยแพร่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ในเบื้องต้น และสารวจ
เอกสารและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง เท่าที่แสวงหาได้ ดังต่อไปน็

๗.๑ หลักการตีความตามหลักพระพุทธศาสนา
การที่จะวินิจฉัยเรื่องการที่นักวิชาการตีความหลักคาสอนนี้ ต้องศึกษา
รายละเอียดในเรื่องนั้น โดยดาเนินการตามหลักการที่นาเสนอไว้ คือ หลักการ
ที่ปรากฏในคัมภีร์วินัยปิฎก ปริวารด้วย ซึ่งเป็นหลักการที่สามารถนามาใช้เป็น
เครื่องมือตัดสินความเห็นแย้งทางธรรมวินัย คื อ ข้อความที่พระพุทธเจ้าตรัส
กับพระอุบาลีว่า
“วตฺถุ ชานาติ, นิทาน ชานาติ; ปญฺ ตฺตึ ชานาติ, ปทปจฺจาภฏฺ ชานาติ
, อนุสนฺธิวจนปถ ชานาติ, อิเมหิ โข อุปาลิ ปญฺจหงฺเคหิ สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา
สเฆ โวหริตพฺพ” แปลว่า “ภิกษุรู้วัตถุรู้นิทาน รู้บัญญัติ รู้บทที่ตกหล่น รู้ถ้อยคา
อันเกี่ยวเนื่องกัน อุบาลี ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้พึงกล่าวในสงฆ์”๒๖๑
จากข้อความนี้ พอที่จะประยุกต์มาใช้ในการตัดสินการตีความหลักคา
สอนได้ คือ การที่จะตัดสินการตีความเรื่องนั้นๆ ก็ต้องทราบเรื่อง ทราบสาเหตุ
ทราบข้อ ก าหนด ทราบข้ อ ความที่ ต กหล่ น คื อ ที่ ผู้ ตี ค วามแสดงความเห็ น
คลาดเคลื่อนจากหลักการ ทราบข้อความที่เกี่ย วเนื่องกัน คือ ข้อความบริบท
เป็นอย่างไร เช่น ข้อความบริบทแห่งคาว่า อตฺตภูตโต ธมฺมกายโต ซึ่งได้มีการ

๒๖๑
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๒๔/๓๘๒, วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๒๔/๖๐๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓๑

แปลเผยแพร่ว่า จากธรรมกายอันเป็นอัตตา ทาให้สงสัย ธรรมกายในที่นี้ คือ


อะไร เป็นอัตตาอย่างไร มีความหมายอะไรที่ตกหล่นไปหรือไม่ พระอรรถกถา
จารย์อธิบ ายประเด็นที่ตรงกั น ข้าม คือ ไม่รู้เมื่อปรับตามข้อความข้างต้นนั้น
ขอปรับข้อความไม่รู้เป็นรู้ ดังนี้
วตฺถุ ชานาตีติ สตฺตนฺน อาปตฺติกฺขนฺธาน วตฺถุ ชานาติ. นิทาน ชานาตีติ
อิ ท สิ กฺ ข าปท “อิ ม สฺ มึ นคเร ปญฺ ตฺ ต , อิ ท อิ ม สฺ มิ นฺ ” ติ ชานาติ .๒๖๒
แปลว่า “ภิกษุรู้วัตถุ คือ รู้วัตถุอาบัติ ๗ กอง ภิกษุรู้นิทาน คือ รู้ว่า สิกขาบทนี้
พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติในเมืองนี้ สิกขาบทนี้ พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติ
ในเมืองนี”้
ปญฺ ตฺตึ ชานาตีติ ปญฺ ตฺติอนุปญฺ ตฺติอนุปฺปนฺนปญฺ ตฺติวเสน ติวิธ
ปญฺ ตฺตึ ชานาติ. ปทปจฺจ าภฏฺ ชานาตี ติ สมฺมุขา กาตพฺ พ ปท ชานาติ.
“พุทฺโธ ภควา”ติ วตฺตพฺเพ “ภควา พุทฺโธ”ติ เหฏฺฐุปริย กตฺวา ปท โยเชติ.๒๖๓
แปลว่ า “ภิ ก ษุ รู้ บั ญ ญั ติ คื อ รู้ บั ญ ญั ติ ๓ คื อ บั ญ ญั ติ อนุ บั ญ ญั ติ แ ละ
อนุปปันนบัญญัติ ภิกษุรู้บทที่ตกหล่น คือรู้บทที่พึงดาเนินการพร้อมหน้า คือ
เมื่อควรจะสวดว่า พุทฺโธ ภควา ก็ประกอบบทสลับกันเป็น ภควา พุทฺโธ”
การรู้ บั ญ ญั ติกับ อนุ บั ญ ญั ตินั้ น พอจะเข้าใจกัน ในสั งคมไทย คือ รู้ว่า
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยสาหรับเป็นข้อปฏิบัติของพระสาวกทั้งหลาย
เมื่อพระองค์ทรงบัญญัติไปแล้ วไม่รัดกุมหรือหละหลวมไป พระองค์ก็จะทรง
บัญ ญั ติ เพิ่ ม เรี ย กว่าอนุ ญ ญั ติ สรุ ป คือ ทรงบั ญ ญั ติต ามเหตุที่ เกิดขึ้ น แต่ ใน

๒๖๒
วิ.ป.อ. (บาลี) ๓/๑๒๔/๕๑๖.
๒๖๓
วิ.ป.อ. (บาลี) ๓/๑๒๔/๕๑๗.
๑๓๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สังคมไทยไม่ค่อยเข้าใจอนุปปันนบัญญัติ เพราะไม่ค่อยได้ศึกษา บางกลุ่มกลับ


พากันปฏิเสธ คือ พากันปฏิเสธครุธรรม ๘ ประการที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ
เป็นข้อปฏิบัติสาหรับภิกษุณีทั้งหลาย ซึ่งเรียกว่า อนุปปันนบัญญัติ คือ ทรง
บัญญัติในเมื่อยังไม่มีเรื่องเกิดขึ้น ที่บางกลุ่มปฏิเสธนั้น ก็ด้วยอ้างว่า เป็นเรื่องที่
บัญญัติก่อนเกิดเรื่อง น่าจะเป็นเรื่องที่มีการเพิ่มเข้ามา
คาว่า “ปทปจฺจาภฏฺ ชานาติ : ภิกษุรู้บทที่ตกหล่น ” ซึ่งท่านอธิบาย
เป็นข้อความสลับกันว่า เช่น ปกติจะเรียงเป็น พุ ทฺโธ ภควา แต่สวดเรียงเป็น
ภควา พุทฺโธ เมื่อจะประยุกต์มาใช้ก็สามารถนามาใช้ตรวจสอบข้อความที่บท
พยัญชนะคลาดเคลื่อนได้ เช่น ข้อความว่า
“พฺ ร าหฺ ม ณ า ภนฺ เ ต ปจฺ ฉ าภู ม กา กามณฺ ฑลุ ก า เสวาลมาลิ ก า
อุทโกโรหกา อคฺคิปริจารกา, เต มต กาลงฺกต อุยฺยาเปนฺติ นาม, สญฺ าเปนฺติ
นาม, สคฺค นาม โอกฺกาเมนฺ ติ ”๒๖๔ เกือบทุกฉบับแปลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้
เจริญ พวกพราหมณ์ชาวปัจฉาภูมิมีคณโฑน้าติดตัว ประดับพวงมาลัยสาหร่าย
อาบน้าทุกเช้าเย็น บาเรอไฟ พราหมณ์เหล่า นั้นชื่อว่าทาสัตว์ที่ตายแล้วให้ฟื้น
ให้รู้ชอบให้ขึ้นสวรรค์” ๒๖๕
อ่านคาแปลแบบไม่พิจ ารณาอะไร ก็เหมือนไม่มีอะไร แต่เมื่อกาหนด
พิจารณา ก็จะเกิดความสงสัยว่า ครั้งพุทธกาล มีพวกพราหมณ์สามารถชุบชีวิ ต
สัตว์ที่ตายแล้วให้ฟื้นและให้รู้ชอบด้วยหรือ ก็ดูจะเก่งกว่าพระพุทธเจ้า คาว่า
“ชุบชีวิสัตว์ที่ ตายแล้วให้ฟื้นและให้รู้ชอบ” แปลมาจากคาว่า “มต กาลงฺกต
อุยฺยาเปนฺติ นาม, สญฺ าเปนฺติ นาม” เมื่อคิดทบทวนตามที่ศึกษามา ก็ไม่เคย
ทราบมาก่อน เป็นไปได้หรือ มต ผู้ที่ตายแล้ว กาลงฺกต ผู้กระทากาละ ก็คนคน
ที่ตายแล้ว เป็นคาขยายความมต อุยฺยาเปนฺติ เป็นกิริยาของประธาน อุ เป็น

๒๖๔
ส.สฬา. (บาลี) ๑๘/๓๕๘/๒๘๑.
๒๖๕
ส.สฬา. (ไทย) ๑๘/๓๕๘/๔๐๑.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓๓

นิบาตแปลว่า ขึ้น,นอก ยาเปนฺติ คือ ยปธาตุ ในความหมายว่า ดาเนินไป เณ


ปัจจัย อนฺติวิภัติ เมื่อพิจารณาศัพท์ที่ประกอบกันเป็นบทกิริยา ก็พอจะแปลว่า
“ให้ ฟื้ น ขึ้ น ” ได้ เพราะตามตั ว อั ก ษรแปลว่า “ให้ ลุ ก ขึ้ น ” แต่ เมื่ อ พิ จ ารณา
ประเด็ น การชุ บ ชี วิต คนที่ ต ายแล้ ว ไม่ น่ า จะเป็ น ไปได้ ค าว่า สญฺ าเปนฺ ติ
ที่แปลว่า “ให้รู้ชอบ” ก็เช่นกัน ส บทหน้า แปลว่า พร้อม ญาธาตุ แปลว่า รู้
ประเด็นปัญหาอยู่ที่คาว่า “มต กาลงฺกต อุยฺยาเปนฺติ : ชุบชีวิสัตว์ที่ตายแล้วให้
ฟื้น”
เมื่อเกิดความสงสัยบทพยัญชนะอย่างนี้ อาจนึกถึงเรื่อง “ปทปจฺจาภฏฺ
ชานาติ : ภิกษุรู้บทที่ตกหล่น” และนาหลักการนี้มาตรวจสอบได้ เมื่ อต้องการ
ตรวจสอบ ก็ต้องดาเนินการสอบค้นการใช้ถ้อยคาที่แปลแล้วทาให้เกิดความ
สงสั ย ก็ ต้องตรวจสอบคาอธิบ าย ดาเนิ น การตรวจสอบหลายแห่ ง ก็ได้ พ บ
คาอธิบาย ดังนี้
อุยฺยาเปนฺตีติ อุปริ ยาเปนฺติ. สญฺ าเปนฺตีติ สมฺมา ยาเปนฺติ๒๖๖ คาว่า
อุยฺยาเปนฺติ ได้แก่ให้ไปในเบื้องบน คาว่ า สญฺ าเปนฺติ ได้แก่ ให้ ไปโดยชอบ
เมื่อศึกษาคาอธิบายนี้แล้ว ก็พอกาหนดความได้ คือ ข้อความว่า “มต กาลงฺกต
อุยฺยาเปนฺติ นาม, สญฺ าเปนฺติ นาม,” ควรจะแปลว่า “ชื่อว่าทาสัตว์ที่ตายแล้ว
ให้ ไปเบื้ องบน ให้ ไปโดยชอบ และก็รับ กับ คาว่า “สคฺค นาม โอกฺกาเมนฺ ติ :
ให้ขึ้นสวรรค์” ดังคาที่นิยมกล่าวกันว่า “ขอให้ไปสู่สุคติ” มีถ้อยคาในข้อความ
นี้ที่เข้ากับ หลักการที่ว่า “ปทปจฺจาภฏฺ ชานาติ : ภิกษุรู้บทที่ตกหล่น ” คือ
สวดยอักษรเป็นญอักษรไป ทาให้ตีความคาว่าให้ไปดีเป็นให้รู้ดี แต่ความจริง

๒๖๖
เนตฺติ.อ. (บาลี) ๑๑๘.
๑๓๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ก็แปลงยอักษรเป็น ญอักษรได้ คือ เมื่อมีสอุปสั คเป็นบทหน้าก็แปล ย อักษร


เป็น ญ อักษรได้ เช่น สโยช แปลงเป็น สญฺโ ชน แปลง สโยค เป็น สญฺโ ค
นอกจากนี้ หลั ก การ “ปทปจฺ จ าภฏฺ ชานาติ : ภิ ก ษุ รู้ บ ทที่ ต กหล่ น ”
ยังสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบการตีความหลักคาสอนในสังคมไทย
ได้อีกหลายเรื่อง
พระพุทธเจ้าตรัสว่า “สุตฺต ชานาติ, สุตฺตานุโลม ชานาติ, วินย ชานาติ,
วิน ยานุ โลม ชานาติ , านา านกุ ส โล จ โหติ ; อิเมหิ โข อุป าลิ ปญฺ จหงฺเคหิ
สมนฺนาคเตน ภิกฺขุนา สเฆโวหริตพฺพ” แปลว่า “ภิกษุรู้สุตตะ รู้สุตตานุโลม
รู้วินัย รู้วินยานุโลม ฉลาดในฐานะอั นควรและฐานะอัน ไม่ควร อุบ าลี
ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงกล่าวในสงฆ์”๒๖๗
จากข้อความนี้ สามารถนามาใช้ในการดาเนินการวิจัยได้เป็นอย่าง
ดี คื อ ข้ อ ความว่า “สุ ตฺต ชานาติ, สุ ตฺต านุ โลม ชานาติ : ภิ ก ษุ รู้สุ ต ตะ รู้
สุ ต ตานุ โลม” สามารถน ามาใช้ ทั้ งในการเขี ย นงานแบบตั้ งสุ ต ตะ คื อ
หัวข้อ แล้วค้นหาสุตตานุโลม คือ เอกสารสนับสนุนประกอบการเขียน
และใช้ในการกาหนดประเด็น สุตตะ คือ ปัญ หาการตีความแล้วค้น หา
สุตตานุโลม คือ เอกสารรับรองการตัดสินปัญหาการตีความ การตั้งสุตตะ
คือ หั วข้อ แล้ ว ค้น หาสุ ตตานุโลม คือ เอกสารสนับ สนุน ประกอบการ
เขียน เช่น พระสิริมังคลาจารย์ได้ เขียนเป็นตัวอย่าง ปรากฏอยู่ในคัมภีร์
มังคลัตถทีปนี คือ พระสิริมังคลาจารย์ ตั้งหัวข้อสุตตะ ดังนี้
“อเสวนา จ พาลาน ปณฺฑิตานญฺจ เสวนา”๒๖๘ แปลว่า “การไม่คบคน
พาล การคบแต่บัณฑิต ”๒๖๙ จากนั้น พระสิริมังคลาจารย์ได้นาสุ ตตานุโลม คือ

๒๖๗
วิ.ป. (บาลี) ๘/๔๒๔/๓๘๓, วิ.ป. (ไทย) ๘/๔๒๔/๖๐๖.
๒๖๘
ขุ.ขุ. (บาลี) ๒๕/๓/๕, ขุ.สุ. (บาลี) ๒๕/๒๖๒/๕๐๘.
๒๖๙
ขุ.ขุ. (ไทย) ๒๕/๓/๗, ขุ.สุ. (ไทย) ๒๕/๒๖๒/๕๖๒.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓๕

เอกสารสนับสนุนมาประกอบการเขียนชี้ให้เห็นลักษณะคนพาลว่า “คนพาลใน
โลกนี้ (๑) ชอบคิดแต่เรื่องชั่ว (๒) ชอบพูดแต่เรื่องชั่ว (๓) ชอบทาแต่กรรม
ชั่ว”๒๗๐ และเขียนชี้ให้เห็นลักษณะบัณฑิตว่า “บัณฑิตในโลกนี้ (๑) ชอบคิด
แต่เรื่องดี (๒) ชอบพูดแต่เรื่องดี (๓) ชอบทาแต่กรรมดี ”๒๗๑ ส่วนใช้ ในการ
กาหนดประเด็นสุตตะ คือ ปัญ หาการตีความนั้น จะได้ดาเนินการเขียนใน
ตอนที่ว่าด้วยการตีความหลักคาสอน
หลักการ “วินย ชานาติ, วินยานุโลม ชานาติ : รู้วินัย รู้วินยานุโลม”
คือ รู้หัวข้อทางพระวินัย หรือประเด็นปัญหาแล้ วค้นหาวินยานุโลม คือ
เอกสารที่เป็นข้อความสนับสนุนจากพระวินัยปิฎกนามาใช้เป็ นเครื่องมือ
ตัดสินปัญหาทางพระวินัย เช่น มีผู้เสนอความเห็นสรุปว่า
“วิธีการตรวจสอบพระธรรมวินัยทั้งในอรรถและพยัญชนะ พุทธบริษัท
ทั้งหมด ได้แก่ภิกษุภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ประชุมพร้อมเพรีย งกัน จัดการ
สังคายนา เหตุใดพระมหากัสสปะจึงไม่ดาเนินการสังคายนา ตรวจทานอรรถ
และพยั ญชนะจากทุกฝ่าย คือจากภิกษุบ ริษัท ภิกษุณี บริษัท อุบาสกบริษัท
และอุ บ าสิ ก าบริ ษั ท เนื่ อ งจากพระอริ ย บุ ค คลนั้ น มี อ ยู่ ในบริษั ท ทั้ ง ๔ และ
อัครสาวกผู้เชี่ยวชาญในพระธรรมนั้นมีทั้งในฝ่ายภิกษุและภิกษุณี”๒๗๒

๒๗๐
ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๔๖/๒๑๔, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๔๖/๒๙๑.
๒๗๑
ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๒๕๓/๒๒๑, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๒๕๓/๒๙๙.
๒๗๒
เมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ, เหตุเกิด พ.ศ. ๑ (B.E. ๐๐๐๑) เล่ม ๒ : วิเคราะห์กรณี
ปฐมสั งคายนาและภิ ก ษุ ณี ส งฆ์ , (กรุ งเทพมหานคร : พิ ม พ์ ที่ SPK Paper f Form,
๒๕๔๕), หน้า ๘๖-๘๗.
๑๓๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ข้อความนี้ เป็ น ประเด็น หัวข้อปั ญ หาทางวินัยซึ่งเรื่องที่ปรากฏในพระ


วินัยปิฎก จูฬวรรค เป็นประเด็นปัญหาที่กระทบพระสาวกผู้ทาปฐมสังคายนา
ซึ่งจาเป็นที่จะต้องตรวจสอบค้นหาวินยานุโลมมาประกอบการพิจารณาทั้งฝ่าย
พระมหากัสสปะที่มิได้นิมนต์ภิกษุณีสงฆ์ร่วมสังคายนา และมาตรวจความเห็น
เรื่องนี้ ก็ต้องตรวจสอบเรื่องสังคายนาในพระวินัยปิฎก จูฬวรรค เมื่อตรวจสอบ
ก็พบว่า
พระมหากัสสปเถระ นิมนต์เฉพาะพระภิกษุอรหันต์ ๕๐๐ รูปเท่านั้นเข้า
ร่วมสังคายนาที่ถ้าสัตตบรรณคูหา แต่มีข้อสังเกต คือ การทาสังคายนานั้น เป็น
สังฆกรรมที่มีการสวดประกาศ สุณาตุ เม ภนฺเต สโฆ ... ดังนั้น การสังคายนา
ต้องทาในเขตสีมา เมื่อเป็ นสังฆกรรม ก็ต้องตรวจสอบค้นหาวินยานุโลมที่เป็น
เรื่ อ งการร่ ว มท าสั ง ฆกรรม เมื่ อ ด าเนิ น การตรวจสอบก็ ได้ พ บว่ า การท า
สังฆกรรมนั้ นเป็ นสังฆกรรมที่ภิกษุ ๔ ทาก็มี เป็นสั งฆกรรมที่ภิกษุ ๕ ทาก็มี
เป็ น สั ง ฆกรรมที่ ภิ ก ษุ ๑๐ ท าก็ มี เป็ น สั ง ฆกรรมที่ ภิ ก ษุ ๒๐ ท าก็ มี เป็ น
สังฆกรรมที่ภิกษุเกิน ๒๐ ทาก็มี และพบเรื่องที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติการ
ร่วมกันทาสังฆกรรม และสังฆกรรมนั้น ถ้ามีภิกษุณีเข้าร่วมทา ก็เป็นสังฆกรรม
ที่ถือว่า ไม่เป็นอันทา ดังข้อความว่า
สงฆ์มี ๕ ประเภท คือ (๑) สงฆ์จตุวรรค กาหนดจานวน ๔ รูป (๒) สงฆ์
ปัญ จวรรคกาหนดจานวน ๕ รูป (๓) สงฆ์ทสวรรค กาหนดจานวน ๑๐ รูป
(๔) สงฆ์วีสติวรรค กาหนดจานวน ๒๐ รูป (๕) สงฆ์อติเรกวีสติวรรค กาหนด
จานวนเกิน ๒๐ รูป๒๗๓ และมีข้อกาหนดว่า “ภิกษุทั้งหลาย ถ้ากรรมที่สงฆ์
จตุวรรคพึงทา สงฆ์ มีภิกษุณี เป็ น ที่ ๔ ทากรรม ไม่จัดเป็นกรรมและไม่ควร
ทา๒๗๔และมีข้อกาหนดอีกว่า “ภิกษุทั้งหลาย ไม่พึงยกปาติโมกข์ขึ้นแสดงใน

๒๗๓
วิ.ม. (บาลี) ๕/๓๘๘/๒๑๕, วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๘๘/๒๗๖.
๒๗๔
วิ.ม. (บาลี) ๕/๓๘๙/๒๑๖, วิ.ม. (ไทย) ๕/๓๘๙/๒๗๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓๗

บริษัทที่มีภิกษุณี นั่ งอยู่ ด้วยรูป ใดยกขึ้น แสดง ต้องอาบัติทุกกฏ”๒๗๕ การทา


สังคายนาก็เป็นสังฆกรรม การสวดปาติโมกข์ก็เป็นสังฆกรรมที่ต้องทาในเขต
สี ม า ก็ เ ป็ น อั น ว่ า ภิ ก ษุ ณี สงฆ์ เ ข้ า ร่ ว มสั ง ฆกรรมไม่ ไ ด้ ความเห็ น ที่ ว่ า
“พระมหากัสสปะควรนิมนต์ภิกษุณีเข้าร่วมทาสังคายนา” ก็เป็นความเห็นผิด
จากหลักการทางพระวินัย
เมื่อสงเคราะหเข้าในวินัยกับเรื่องวินยานุโลม เรื่องการสังคายนาเป็น
สั งฆกรรมเป็ น วินั ย คื อ ประเด็ น ที่ เป็ น หั ว ข้ อ เรื่องภิ กษุ ส งฆ์ ท าสั งฆกรรมมี
ภิกษุณีเข้าร่วมไม่ได้ เรื่องภิกษุสงฆ์ไม่พึงสวดปาติโมกข์ในชุมนุมสงฆ์ที่มีภิกษุณี
นั่งอยู่ด้วย จัดเป็นวินายนุโลม คือ เรื่องสนับสนุนให้เห็นว่า ภิกษุณีไม่มีสิทธิ์เข้า
ทาสังฆกรรมกับภิกษุสงฆ์
หลักการตรวจสอบมหาปเทส ๔ ประการ ซึ่งอธิบายเป็นตัวอย่างไว้ใน
อรรถกถา เรียกว่า หลักการวินั ย ๔ ประการ คือ สุตตะ สุตตานุ โลม อาจริ
ยวาท อัตโนมัติ พระพุทธโฆสาจารย์อธิบายหลักการวินัย ๔ อย่าง ไว้ในคัมภีร์
สมันตปาสาทิกาว่า
สุตตะ หมายถึง พระบาลีวินัยปิฎกทั้งหมด
สุตตานุโลม หมายถึง มหาปเทส
อาจริยวาท หมายถึ ง อรรถกถาที่ พ้ น จากพระบาลี ผ่ านการ
อธิ บ ายและการวิ นิ จ ฉั ย โดยนั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง พระอรหั น ต์ ๕๐๐ รู ป ผู้ ก ระท า
สังคายนา วางเป็นแบบฉบับไว้

๒๗๕
วิ.ม. (บาลี) ๔/๑๘๓/๒๐๑, วิ.ม. (ไทย) ๕/๑๘๔/๒๘๗.
๑๓๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อัตโนมัติ หมายถึง คาอธิบายตามอาการที่ปรากฏโดยการคาดคะเน


ด้ ว ยการอนุ ม าน คื อ ตามความรู้ ข องตน พ้ น จากสู ต ร สุ ต ตานุ โ ลม และ
อาจริยวาท
อีกนัยหนึ่ง เถรวาท (คาสอนของพระเถระ) ทั้งหมดที่ปรากฏในอรรถ
กถา พระสูตร พระอภิธรรม และพระวินัย จัดเป็นอัตโนมัติ๒๗๖
หลักการวินัย ๔ ประการ สามารถประยุกต์มาใช้ในการเขียนงานวิจัย
ทางสังคมได้ คือ สุตตะ เท่ากับหัวข้อโครงการวิจัย สุตตานุโลม เท่ากับเอกสาร
ที่ใช้ป ระกอบการเขีย น เช่น ตาราต่างๆ หนังสือต่ างๆ อาจริยวาท ก็เท่ากับ
เอกสารงานวิจัยต่างๆ วิทยานิพนธ์ต่างๆ ที่มีผู้ทาไว้ อัตโนมัติ คือ เมื่อเรียบ
เรียงตามแนวสุตตะ สุ ตตานุ โลก อสจริ ยวาทแล้ ว ก็แสดงความคิดเห็ นของ
ผู้วิจัยหรือผู้วิจัยออกมา
การนาทฤษฎีการวิจัยในคัมภีร์เนตติปกรณ์มาใช้ในงานวิจัยเรื่องนี้ ผู้วิจัย
ถือว่า การเขียนงานวิจัยเรื่องนี้ หรืองานวิจัยอื่ น แม้จะไม่เคยศึกษาวิจยหารใน
คัมภีร์เนตติปกรณ์ ก็ได้ใช้หลักการบางอย่างแล้ว ผู้วิจัยถือว่า ได้ใช้หลักการ
จากคั ม ภี ร์ เนตติ ป กรณ์ ผู้ วิ จั ย ขอน าหลั ก การมาเผยแพร่ เพื่ อ ได้ ท ราบว่ า
หลั กการวิจั ย มี ป รากฏในคั ม ภี ร์ พ ระพุ ท ธศาสนามานานนั บ พั น ปี ผู้ วิจัย ขอ
ยกตัวอย่างประเด็นที่ได้ใช้หลักการวิจัยจากคัมภีร์เนตติ เช่น
พระมหากัจจายนเถระ ได้แสดงวิธีวิจั ย คือ การค้นคว้าสรุปว่า “ปท
วิจินติ, ปญฺห วิจินติ, วิสชฺชน วิจินติ, ปุพฺพาปร วิจินติ, อสฺสาท วิจินติ,
อาที น ว วิจิ น ติ , นิ สฺ ส รณ วิจิ น ติ , ผล วิจิ น ติ , อุ ป าย วิจิน ติ , อาณตฺ ตึ
วิจินติ, อนุคีตึ วิจินติ, สพฺเพ นว สุตฺตนฺเต วิจินติ”๒๗๗ แปลว่า “ผู้วิจัยย่อม
ค้ น คว้า บท ย่ อ มค้ น คว้าค าถาม ย่ อ มค้ น คว้า ค าตอบ ย่ อ มค้ น คว้าข้ อ ความ

๒๗๖
วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๔๓.
๒๗๗
เนตฺติ. (บาลี) ๑๑/๑๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๓๙

ก่ อ นหลั ง ย่ อ มค้ น คว้ า อั ส สาทะ ย่ อ มค้ น คว้ า โทษ ย่ อ มค้ น คว้ า นิ ส สรณะ
(ทางออก) ย่อมค้นคว้าผล(จุดมุ่งหมาย) ย่อมค้นคว้าอุบาย ย่อมค้นคว้าอาณัติ
(การชั ก ชวน) ย่ อ มค้ น คว้ า อนุ คี ติ (การอ้ า งพุ ท ธพจน์ ) ย่ อ มค้ น คว้ า นว
สุตตันตะทั้งปวง (นวังคสัตถุสาสน์ทั้งปวง)”๒๗๘
คาว่า ปท วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้าบท หมายถึงผู้วิจัยค้นคว้าศัพท์ที่
ส าหรั บ น ามาเขีย นความหมาย เช่ น ที่ ผู้ วิจั ย ได้ เขี ยนความหมายแห่ งค าว่ า
อธิบายไว้ในบทที่ ๒ ข้อ ๒.๑.๑ ความหมายแห่งคาว่าอธิบาย ๒๗๙ คาว่า ปญฺห
วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้าคาถาม หมายถึงคาถามที่เป็นประเด็นปัญหาการวิจัย
เช่น ในวิจัยเรื่องนี้ ได้ตั้งประเด็นปัญหา คือ การอธิบายความของพระพุทธเจ้า
เป็นอย่างไร คาว่า วิสชฺชน วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้าคาตอบ หมายถึงคาตอบ
ปัญหาการวิจัยที่ตั้งไว้ คือ ผู้วิจัยได้ค้นหาถ้อยคาที่พระพุทธเจ้าทรงใช้ในการ
อธิ บ าย เช่ น ทรงอธิ บ ายพระวิ นั ย ทรงอธิ บ ายพระสู ต ร ทรงอธิ บ ายพระ
อภิ ธ รรม ค าว่ า ปุ พฺ พ าปร วิ จิ น ติ : ผู้ วิ จั ย ย่ อ มค้ น คว้ า ข้ อ ความก่ อ นหลั ง
หมายถึ งได้ดาเนิ น การส ารวจเอกสารแล้ วก าหนดเอกสารที่ พึงเรียบเรียงไว้
ก่ อ นหลั ง ค าว่ า อสฺ ส าท วิ จิ น ติ : ผู้ วิ จั ย ย่ อ มค้ น คว้ าอั ส สาทะ คื อ เรื่อ งที่
น่ายินดี หมายถึงการค้นข้อมูลมาเขียนวิจัยให้ด้านการพัฒ นาสร้างความเจริญ
ให้สังคม คาว่า อาทีนว วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้าโทษ หมายถึงการค้นคว้า
หาประเด็นปัญหาการตีความหลักคาสอนที่ไม่สร้างสรรค์รวบรวมมาวิเคราะห์
หาทางออก คาว่า นิ สฺ สรณ วิจิ นติ : ผู้ วิจัย ย่อมค้นคว้านิส สรณะ(ทางออก)

๒๗๘
เนตฺติ. (บาลี) ๑๑/๑๓.
๒๗๙
ดูรายละเอียดบทที่หน้า ๑๖-๒๕.
๑๔๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

หมายถึงการค้นคว้าหาหลักการนามาเพื่อแสดงทางออกแห่งปัญหาที่เกิดขึ้น
คาว่า ผล วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้าผล(จุดมุ่งหมาย) หมายถึงการค้นคว้าผล
คือ จุดมุ่งหมายของแต่ละเรื่อง เช่น จุดมุ่งหมายที่พระพุทธองค์ทรงยกบทอุท
เทส จุ ด มุ่ งหมายที่ พ ระองค์ ท รงนิ ท เทส ค าว่า อุ ป าย วิ จิ น ติ : ผู้ วิจั ย ย่ อ ม
ค้ น คว้าอุบ าย หมายถึงการค้ น คว้าหาวิธีการต่างๆ เช่น วิธีวิจัย จากคัม ภี ร์
พระพุทธศาสนา คาว่า อาณตฺตึ วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้าอาณัติ(การชักชวน)
หมายถึงการค้นคว้าหาถ้อยคาที่ชักนาให้ผู้ศึกษางานวิจัยน้อมใจยอมรับ คาว่า
อนุ คีตึ วิจิ น ติ : ผู้ วิจัย ย่ อมค้น คว้าอนุ คี ติ (การอ้างพุทธพจน์) หมายถึงการ
ค้นคว้าตรวจสอบข้อความจากคัมภีร์นามาประกอบเขียนงานวิจัย คาว่า สพฺเพ
นว สุตฺตนฺเต วิจินติ : ผู้วิจัยย่อมค้นคว้านวสุตตันตะทั้งปวง (นวังคสัตถุสาสน์
ทั้งปวง) หมายถึงการค้น คว้ารวบรวมทั้งสุ ตตะสุ ตตานุโลมอาจริยวาทนามา
ประกอบในงานวิจัยนี้

๗.๒ การตีความหลักคาสอนภาษาบาลีเป็นภาษาไทย
การตีความภาษาบาลีเป็นภาษาไทย หมายถึงการแปลคัมภีร์ภาษาบาลี
เป็นภาษาไทย ซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากความหมายตามความเป็นจริง ทั้งในส่วน
พระไตรปิฎ กและอรรถกถา การแปลความคลาดเคลื่อนนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อ
ความเสื่ อ มแห่ ง พระสั ท ธรรม คื อ พระปริ ยั ติ สั ท ธรรม ในสั ง คมวิ ช าการ
พระพุ ท ธศาสนาในประเทศไทย อาจมองเห็ น เป็ น เรื่อ งเล็ ก น้ อ ย แต่ ต ามที่
พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักการไว้ มิใช่เรื่องเล็กน้อยเลย เพราะเมื่อถอดความสู่
ภาคภาษาไทยคลาดเคลื่อนไปก็ทาให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน และอาจทา
ให้ปฏิบัติผิดไปด้วย ในเรื่องนี้ พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงหลักการไว้ว่า
เทฺวเม ภิกฺขเว ธมฺมา สทฺ ธมฺมสฺ ส สมฺโมสาย อนฺตรธานาย สวตฺตนฺ ติ.
กตเม เทฺว,ทุนฺนิกฺขิตฺตญฺจ ปทพฺยญฺชน อตฺโถ จ ทุนฺนีโต. ทุนฺนิกฺขิตฺตสฺส ภิกฺขเว
ปทพฺยญฺชนสฺส อตฺโถปิ ทุนฺนโย โหติ. อิเม โข ภิกฺขเว เทฺว ธมฺมา สทฺธมฺมสฺส
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๔๑

สมฺโมสาย อนฺตรธานาย สวตฺตนฺตีติ.๒๘๐


แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ ประการนี้ย่อมเป็นไปเพื่อความ
เสื่ อ มสู ญ หายไปแห่ ง สั ท ธรรม ธรรม ๒ ประการ อะไรบ้ า ง คื อ (๑) บท
พยัญ ชนะที่สืบทอดกัน มาไม่ดี (๒) อรรถที่สืบ ทอดขยายความไม่ดี แม้อรรถ
แห่ งบทพยัญ ชนะที่ตั้งไว้ไม่ดีก็ชื่อว่าเป็ น การสื บทอดขยายความไม่ดี ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ ประการนี้แลย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อมสูญหายไปแห่ง
สัทธรรม” ๒๘๑
พระอรรถกถาจารย์ อ ธิ บ ายว่ า บทพยั ญ ชนะที่ สื บ ทอดกั น มาไม่ ดี
หมายถึงบทบาลี ที่ สื บ ทอดกั น ผิ ด ระเบี ย บ อรรถที่ สื บ ทอดขยายความไม่ ดี
หมายถึงอรรถกถาที่สวดสืบทอดกันมาผิดระเบียบ๒๘๒
พระอรรถกถาจารย์ท่านอธิบายตามบริบทแห่งยุ คสมัย คือ สมัยที่ทรง
จาด้วยใจสาธยายด้วยปาก สวดสาธยายบทพยัญชนะผิดไป ก็ทาให้ความหมาย
แห่งบทพยัญชนะผิดไปด้วย ข้อความนี้ เมื่อประยุกต์มาใช้กับการแปลภาษา
บาลีเป็นภาษาไทย เมื่อผู้แปลถอดความเข้าใจผิดแปลออกมาความหมายที่เป็น
คาแปลในภาคภาษาไทยก็ผิดไปด้วย เมื่อผู้แปลตีความภาษาบาลีถูกต้องแล้ว
แปลออกมา ก็ถือว่าความหมายแห่งบทพยัญชนะถูกต้อง ความหมายในภาค
ภาษาไทยก็ถูกต้องไปด้วย เป็นเหตุให้พระสัทธรรม ในส่วนปริยัติสัทธรรมดารง
มั่นไม่เลือยนหายไป ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า
เทฺ ว เม ภิ กฺข เว ธมฺ ม า สทฺ ธ มฺ ม สฺ ส ิติ ย า อสมฺ โมสาย อนนฺ ตรธานาย

๒๘๐
องฺ.ทุก. (บาลี) ๒๐/๒๐/๕๙.
๒๘๑
องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๒๐/๗๒.
๒๘๒
องฺ.ทุก.อ. (บาลี) ๒/๒๐/๒๘.
๑๔๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สวตฺตนฺติ. กตเม เทฺว, สุนิกฺขิตฺตญฺจ ปทพฺยญฺชน อตฺโถ จ สุนีโต. สุนิกฺขิตฺตสฺส


ภิ กฺ ขเว ป ท พฺ ยญฺ ช น สฺ ส อตฺ โถปิ สุ น โย โห ติ . อิ เ ม โข ภิ กฺ ข เว เทฺ ว
ธมฺมา สทฺธมฺมสฺส ิติยา อสมฺโมสาย อนนฺตรธานาย สวตฺตนฺตีติ๒๘๓
แปลว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๒ ประการนี้ย่อมเป็นไปเพื่อความ
ดารงมั่น ไม่เสื่อมสูญ ไม่หายไปแห่งสัทธรรม ธรรม ๒ ประการ อะไรบ้าง คือ
(๑) บทพยัญชนะที่สืบทอดกันมาดี(๒) อรรถที่สืบทอดขยายความดี แม้อรรถ
แห่ งบทพยั ญ ชนะที่ตั้งไว้ดีก็ชื่อว่าเป็ น การสื บ ทอดขยายความดี ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ธรรม ๒ ประการนี้แลย่อมเป็นไปเพื่อความดารงมั่น ไม่เสื่อมสูญ
ไม่หายไปแห่งสัทธรรม๒๘๔
เมื่อได้ทราบหลักการที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้แล้ว ผู้วิจัยก็ขอนาเสนอ
ข้อความคาแปลพระไตรปิฎกที่ถือว่า ได้มีการแปลภาษาบาลีสู่ภาคภาษาไทย
คลาดเคลื่อน ทาให้ผู้ศึกษาเข้าใจผิด เป็น เหตุให้การศึกษา อันเป็นส่วนพระ
ปริยัติสัทธรรมคลาดเคลื่อนไปด้วย

๗.๓ การตีความพระธรรมวินัยสาหรับตาราเรียน
สมเด็จ พระมหาสมณเจ้ ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเสนอพระ
วินิจ ฉัย พระธรรมวินั ยไว้ พอสรุปความได้ว่า ในบาลี วิภังค์ ๒๘๕ แก้อรรถแห่ ง
สิกขาบทมาในปาติโมกข์๒๘๖ กล่าวถึงของเจดีย์ นี้บ่งชัดว่า รจนาเมื่อภายหลัง
ครั้งเมื่อมีเจดีย์อันศักดิ์สิทธิ์แล้ว จึงมีผู้ถวายสิ่งของ กิริยาที่รจนาไม่ปรากฏว่า

๒๘๓
องฺ.ทุก. (บาลี) ๒๐/๒๑/๕๙.
๒๘๔
องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๒๑/๗๓.
๒๘๕
หมายถึงข้อที่อธิบายตัวสิกขาบทที่เรียงไว้ต่อจากสิกขาบท ซึ่งมาในพระวินัย
ปิฎก.
๒๘๖
หมายถึงศีลของภิกษุที่ถูกยกขึ้นสวดในวันปาติโมกข์.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๔๓

เป็นของท่านผู้บริสุทธิ์มีสติไพบูลย์ เพราะแลเห็นความสะเพร่าปรากฏอยู่ ท่าน


ผู้รจนาไม่แน่แก่ใจว่า จะเรียงเป็นพุ ทธภาษิตหรือเป็นคาของตนเอง เรียงกวัด
แกว่งไม่สมต้น สมปลาย ข้อความที่เป็น สิ กขาบทวิภังค์ เรียงคล้ายอรรถกถา
ดูจะเป็นพุทธภาษิตก็ไม่ใช่ จะเป็นอรรถกถาก็ไม่เชิง๒๘๗
จากเอกสารเรื่องนี้ ผู้วิจัยถือตามที่พระองค์ได้ทรงเปิดช่องไว้ให้วินิจฉัย
เช่น ที่พระองค์ทรงฝากให้พิจารณาเรื่องที่ภิกษุปักเขตรุกที่ดินต้องอาบัติโดยที่
เจ้ าของที่ ดิน ไม่ รู้ ๒๘๘ ทรงฝากความเรื่ องที่ ภิ กษุ เข้าไปในเรือนที่ ส ามี ภ รรยา
รับ ประทานอาหารกัน อยู่ไว้เพื่อพระวินั ยธรสอดส่ องต่อไป ๒๘๙ จึงใช้เอกสาร
ต าราเรี ย นเป็ น ข้ อ มู ล วิ เคราะห์ เนื่ อ งด้ ว ยเจดี ย์ ที่ ป รากฏในพระไตรปิ ฎ กมี
ความหมายเท่ากับคาว่าปูชนีย์ เช่น รุกขเจดีย์๒๙๐ และในชมพูทวีปมีการใช้อิฐ
ก่อสร้างสถานที่เคารพบูชาซึ่งมีรูปทรงคล้ายเจดีย์ก่อนพุทธกาลนับ ๑,๐๐๐ ปี
จากประเด็นนี้ ผู้วิจัยจะได้ดาเนินการนาพระมตินี้ไปตรวจสอบเทียบเคียงใน
พระสูตรและพระวินัยตามหลักมหาปเทสฝ่ายพระสูตร

๒๘๗
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม ๑, พิมพ์
ครั้งที่ ๓๙, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิท ยาลัย, ๒๕๔๑), (คานา) หน้า
ค-ฆ.
๒๘๘
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม ๑, หน้า
๓๓.
๒๘๙
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม ๑, หน้า
๑๕๕.
๒๙๐
ดูรายละเอียดใน วิ.มหา. (บาลี) ๑/๓๖๕/๒๗๗, วิ.มหา. (ไทย) ๑/๓๖๕/
๔๐๒, วิ.มหา.อ. (บาลี) ๒/๗๐.
๑๔๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ในหนังสือวินัยมุข เล่ม ๑ หน้า ๒๔ ตาเรียนพระวินัยในชั้นนักธรรมชั้น


ตรี ของคณะสงฆ์ซึ่งใช้เป็นตารามาประมาณ ๑๐๐ ปี สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงแสดงพระมติว่า
บาลีในพระสูตรหนึ่ง ซึ่งแปลเอาแต่ใจความตามที่ต้องการ ดังนี้ “ภิกษุ
ทั้งหลาย สิกขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้ ย่อมมาสู่อุทเทส [คือความสวดในท่ามกลาง
สงฆ์]ทุกกึ่งเดือน ที่กุลบุตรทั้งหลายผู้ ปรารถนาประโยชน์ศึกษากันอยู่ ภิกษุ
ทั้งหลาย สิกขานี้มี ๓ ที่สิกขาบททั้งปวงนั้นย่อมรวมกันอยู่ สิกขา ๓ นั้น คือ
อะไรบ้างสิกขา ๓ นั้น คือ อธิสี ลสิกขา อธิจิตตสิ กขา อธิปัญญาสิกขา ภิกษุ
ทั้งหลาย นี้แล สิกขา ๓ ที่สิกขาบททั้งปวงนั้นรวมกันอยู่ ภิกษุทั้งหลาย...”๒๙๑
บาลีพระสูตรซึ่งแปลมาไว้ในที่นี้แสดงว่า สิกขาบทมาในพระปาติโมกข์มี ๑๕๐
ถ้วน นั บ ให้ ครบจ านวนได้ดังต่อไปนี้ ปาราชิก ๔สั งฆาทิเสส ๑๓ นิส สัคคิย
ปาจิตตีย์ ๓๐ สุทธิกปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ อธิกรณสมถะ ๗ รวมเป็น
๑๕๐ ถ้วน แต่ในพระปาติโมกข์ที่สวดกันอยู่ และในคัมภีร์วิภังค์แห่งสิกขาบท
แสดงว่ า มี ๒๒๗ สิ ก ขาบท คื อ เติ ม อนิ ย ต ๒ เสขิ ย วั ต ร ๗๕ ตามนั ย นี้
สันนิษฐานเห็นว่า ชะรอยเดิมจะมีเพียง ๑๕๐ ถ้วน ตามที่กล่าวไว้ในพระสูตร
ก่อนแต่ทาสังคายนาครั้งใดครั้งหนึ่ง ที่แจกอรรถแห่งสิกขาบท ซึ่ งเรียกว่าบท
ภาชนะ และสงเคราะห์เข้าเป็ นส่วนอันหนึ่งแห่งคัมภีร์วิภังค์นั้น หรือในครั้ง
นั้นเองจะได้เติมอนิยต ๒ และเสขิยวัตร ๗๕ เข้าด้วย ความข้อนี้ ก็น่าเห็นจริง
อย่างนั้น อนิยตสิกขาบทไม่ได้ปรับอาบัติลงเฉพาะเหมือนสิกขาบทอื่น เป็น
สิกขาบทที่แฝงอยู๒๙๒

๒๙๑
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม ๑, พิมพ์
ครั้งที่ ๓๙, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หน้า ๒๒.
๒๙๒
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม ๑, หน้า
๒๓-๒๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๔๕

จากพระมติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
ในเรื่องสิกขาบท ๑๕๐ สิกขาบทนี้ ได้มีผู้ถือตาม คือ ท่านพุทธทาสภิกขุ ได้
แสดงความเห็นไว้ในหนังสือ “ตามรอยพระอรหันต์ ” ซึ่งท่านเขียนเมื่อ พ.ศ.
๒๔๗๕ สรุปว่า
ในสู ต รมี พุ ท ธภาษิ ต ว่า “ภิ ก ษุ ท.! สิ ก ขาบท ๑๕๐ ถ้ว นนี้ ย่ อ มมาสู่
อุทเทส (คือการนาขึ้นแสดงในท่ามกลางสงฆ์) ทุกกึ่ง เดือน ...” แสดงให้เห็นว่า
ครั้งพุทธกาลมีการแสดงปกติโมกข์เพียง ๑๕๐ สิกขาบท เท่านั้น ที่กล่าวถึง
๒๒๗ สิกขาบทมีในคัมภีร์วิภังค์แห่งวินัยปิฎก ซึ่งเรียงคาพูดของผู้รวบรวมวินัย
ปิฎ กไม่ใช่พุ ท ธภาษิ ต นั บ ได้ ๒๒๗ สิ กขาบท ทาให้ เห็ น ว่ามีก ารเพิ่ มเข้าอี ก
ภายหลังแต่พุทธปรินิพพาน เมื่อร้อยกรองพระไตรปิฎกครั้งทาสังคายนาครั้งใด
ครั้ งหนึ่ ง ท่ า นเหล่ า นั้ น ได้ น าเอาสิ ก ขาบทอื่ น ๆ ที่ ได้ ท รงบั ญ ญั ติ ไว้ อี ก ๗๗
สิกขาบท สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ ทรงสันนิษฐานไว้ว่า
ได้แก่เสขิยวัตร ๗๕ สิกขาบทและอนิยตอีก ๒ สิกขาบทนั่นเอง ต่อมาได้สวด
ปาติโมกข์ด้วยสิกขาบท ๒๒๗ สิกาขาบทมาจนถึงทุกวันนี้๒๙๓
จากพระมติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
และความเห็นของท่านพุทธทาสภิกขุ เป็นตราประทับ หรือรอยจารึกบนแผ่น
ศิลา จนมาถึงปัจจุบัน กลายเป็นเป็นหลักการหรือหลักปฏิบัติที่คณะสงฆ์กลุ่ม
หนึ่งถือปฏิบัติ คือ คณะสงฆ์วัดนาป่าพง(สาขาที่ ๑๔๙ ของวัดหนองป่าพง) ซึ่ง
มีพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล เป็นประธานสงฆ์

๒๙๓
พุทธทาสภิกขุ. ตามรอยพระอรหันต์,พิม พ์ครั้งที่ ๘, (กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์ บริษัท ตถาตา พับลิเคชั่น จากัด,พ.ศ.๒๕๔๘), หน้า ๑๖๖.
๑๔๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ปัจจุบัน คณะสงฆ์วัดนาป่าพง (สาขาที่ ๑๔๙ ของวัดหนองป่าพง) ซึ่งมี


พระอธิก ารคึ ก ฤทธิ์ โสตฺ ถิ ผ โล เป็ น ประธานสงฆ์ เกิ ด ความเห็ น ว่ า “การที่
พระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทในประเทศไทยและต่างประเทศทั้งหลายสวดปาฏิโมกข์
๒๒๗ ข้อนั้น ยังไม่ถูกต่อพุทธะวัจนะ”
พระสงฆ์กลุ่มนี้ มีความเชื่อมั่นในความเห็นของพวกท่าน จนได้มีการนา
คณะสงฆ์ส วดปาฏิโมกข์แค่ ๑๕๐ ข้อ ซึ่งนับ เป็นเวลาประมาณ ๘ ปีมาแล้ ว
และได้ประกาศเผยแพร่ค วามเห็นนี้ในวงศ์คณะสงฆ์และญาติโยม รวมทั้งทาง
สื่อต่างๆ ทั้งหลาย
พระสงฆ์กลุ่มนี้สวดปาฏิโมกข์เพียงแค่ ๑๕๐ ข้อ ได้มีการตัดสิกขาบทข้อ
ใดออกไปบ้าง จาก ๒๒๗ ข้อ ท่านได้ให้คาตอบดังนี้ว่า ได้ตัดส่วนของอนิยต ๒
สิกขาบท และเสยขิยวัตร ๗๕ สิกขาบท ออกไป เพื่อลดเลขให้เหลือแค่ ๑๕๐
ตามที่ท่านตีความตามพุทธวัจนะ ฉบับสยามรั ฐที่ท่านอ้างอิงความเห็นส่วนตัว
ของพระสงฆ์กลุ่มนี้ต่อการสวดปาฏิโมกข์แค่ ๑๕๐ ข้อ
เมื่อได้มีการซักถามถึงความเห็นว่า ด้วยเหตุใดจึงตัดสินใจในการสวด
ปาฏิโมกข์จานวน ๑๕๐ ข้อเท่านั้น ท่านจึงได้ให้ค วามเห็นว่า เมื่อเราต้องยึ ด
หลั ก พุ ท ธวั จ นะ เหนื อ สิ่ ง ใดทั้ ง ปวง ซึ่ ง ท่ า นได้ ใช้ พ ระไตรปิ ฎ กแปลเป็ น
ภาษาไทย ฉบับสยามรัฐอย่างเดียวในการตัดสิน เพราะเป็นที่ยอมรับของมหา
เถรสมาคม ซึ่งในพระสูตรอังคุตตรนิ กาย ของสยามรัฐ ส่ วนที่ ๓ วรรคที่ ๘
ปฐมสิ กขาสู ต ร ว่าด้ ว ยไตรสิ ก ขา สู ต รที่ ๑ และ ทุ ก ติ ยสิ ก ขา-สู ต ร ว่ าด้ ว ย
ไตรสิกขาสูตร ๒ รวมทั้ง ตติยสิกขาสูตร ว่าด้วยการบาเพ็ญไตรสิขา สูตรที่ ๓
โดยกล่ าวไว้ว่า “ ภิ กษุ ทั้งหลาย สิ กขาบท ๑๕๐ ถ้วนที่ กุล บุต รผู้ ป รารถนา
ประโยชน์ศึกษาอยู่ มาถึงวาระที่จะยกขึ้นแสดงเป็นข้อๆ ตามลาดับทุกกึ่งเดือน
สิ ก ขา ๓ ประการนี้ เป็ น ที่ ร วมของสิ ก ขาบท ๑๕๐ นั้ น ทั้ ง หมด สิ ก ขา ๓
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๔๗

ประการ อะไรบ้าง คือ ๑. อธิสีลสิกขา ๒. อธิจิตตสิกขา ๓. อธิปัญญาสิกขา


สิกขา ๓ ประการนี้แลเป็นที่รวมของสิกขาบท ๑๕๐ นั้นทั้งหมด”๒๙๔
ถ้าไม่ได้ศึกษาพระมติของสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิร -
ญาณวโรรส ในหนังสือวินัยมุข เล่ม ๑ และความเห็นของท่านพุทธทาสภิกขุใน
หนังสือตามรอยพระอรหัน ต์ ก็อาจเข้าใจว่า เป็นความเห็นส่วนตัวของคณะ
สงฆ์วัดนาป่ าพง แต่ เมื่อพิ จ ารณาเทีย บเคีย งแล้ ว ก็เป็ นเพี ยงถือปฏิบั ติตาม
ความเห็นของครูอาจารย์ จัดเป็นการถือปฏิบัติตามแนวคิดอาจริยวาท เมื่อมี
การแสดงความเห็นจากผู้ถือปฏิบัติตามหลักการเถรวาท ผู้สนับสนุนการปฏิบัติ
ของคณะสงฆ์วัดนาป่าพง ซึ่งใช้ชื่อว่า Ritti Jonson ก็ได้ออกประกาศรณรงค์
พุทธศาสนิกชนทั้งแผ่นดิน ข้อความตอนหนึ่ง ดังนี้
เมื่อพระพุทธองค์ตรัสแสดงธรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ย่อมต้องมีความ
แจ่มแจ้งชัดเจน ดุจหงายของที่คว่า เปิดของที่ปิด จึงเป็นไปมิได้เช่นกันที่พระ
พุทธองค์จะตรัสถึงพระปาฏิโมกข์ ซึ่งเป็นหลักอันสาคัญยิ่งในทางพระวินัยของ
คณะสงฆ์ด้วยถ้อยคาที่กากวมว่า “สิกขาบทเกินกว่า ๑๕๐ นี้” ซึ่งข้อความใน
ลักษณะนี้ ย่อมมิอาจรับได้เลยว่าเป็นพุทธพจน์ เนื่องจากเมื่อได้ฟังแล้ว กลับไม่
สามารถเข้าใจได้เลยว่า หมายถึงสิกขาบทจานวนเท่าใดกันแน่ หมายความว่า
การแปลพุทธพจน์โดยยึดหลักทางไวยากรณ์บาลีอย่างเคร่งครัดตามแนวมติ

๒๙๔
http://www.dhammahome.com/front/webboard/show. php?id=
16809, ๓๐ กย.๕๕.
๑๔๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อรรถกถาจารย์ แต่ปราศจากวิจารณญาณอันลึกซึ้งรอบคอบเช่นนี้ก็คือ จุดอ่อน


ของนักไวยากรณ์บาลี ที่ปราศจากการเจริญไตรสิกขาอย่างสมบูรณ์พร้อม๒๙๕
ผู้ ที่ ใช้ ชื่ อ ว่ า Ritti Jonson ออกประกาศรณรงค์ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทั้ ง
แผ่นดิน อ้างคาสรรเสริญพระธรรมเทศนามาใช้กับการบัญญัติสิกขาบทของ
พระพุทธเจ้า ก็เป็นทานองเดียวกับพระคึกฤทธ์ ที่ยึดข้อความในพระสูตรเป็น
หลั ก ปฏิ บั ติ ในการสวดปาติ โมกข์ แทนที่ จ ะถื อ ปฏิ บั ติ พ ระวิ นั ย กรรม ตาม
หลั กการในพระวิ นั ย นาย Ritti Jonson เข้าใจว่า พระพุ ทธเจ้าทรงบั ญ ญั ติ
สิกขาบทคราวเดียวจานวน ๑๕๐ สิกขาบท ความจริงทั้งพระสูตรและพระวินัย
พระพุทธเจ้ามิได้ทรงแสดงและทรงบัญญัติคราวเดียวพร้อมกันทุกสูตรและทุก
สิกขาบท

๗.๔ หลักการตีความภาษาบาลีตามความเห็น
การตั้งหัวข้อภาษาไทยในพระไตรปิฎกแปลนั้น เข้าใจว่า กรรมการแปล
พระไตรปิฎกได้กาหนดจากข้อความที่แปลนั้นแล้วตั้งเป็นหัวข้อ ซึ่งเมื่อจัดพิมพ์
หลายครั้งนานไป ก็เป็น ข้อกาหนดความหมายที่แปล ซึ่งข้อความที่แปลนั้น
คลาดเคลื่อนจากความหมายเดิม ก็ทาให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่ อนต่อกัน
ไปยาวนาน ดังข้ อความที่แปลเรื่องพระอานนท์ทาไม่เหมาะเป็นพระอานนท์
ต้องอาบั ติทุกกฏ ที่ปรากฏในพระวินั ยปิ ฎ ก จูฬวรรค ทุติยภาค ดังตัวอย่าง
ดังนี้
อถ โข เถรา ภิ กฺ ขู อายสฺ ม นฺ ต อานนฺ ท เอตทโวจุ “อิ ท นฺ เต อาวุ โ ส
อานนฺ ท ทุ กฺ ก ฏ . ย ตฺ ว ภควนฺ ต น ปุ จฺ ฉิ ‘กตมานิ ปน ภนฺ เ ต ขุ ทฺ ท านุ -

๒๙๕
http://www.oknation.net/blog/SiamBhikhunis/2011/08/09/entry-
1, ๓๐ กย.๕๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๔๙

ขุทฺ ท กานิ สิ กฺ ขาปทานี ’ติ , เทเสหิ ต ทุ กฺ กฏนฺ ติ . อห โข ภนฺ เต อสติ ย า


ภควนฺต น ปุจฺฉึ “กตมานิ ปน ภนฺเต ขุทฺทานุขุทฺทกานิ สิกฺขาปทานี ”ติ.
นาห ต ทุกฺกฏ ปสฺสามิ, อปิจายสฺมนฺตาน สทฺธาย เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺติ. ๒๙๖
ในข้อความภาษาบาลี้ ไม่มีข้อเรื่องที่เป็นภาษาบาลี แต่พระไตรปิฎกภาษา
ได้ตั้งข้อเรื่องรับกับคาแปล ดังนี้
เรื่องปรับอาบัติท่านพระอานนท์ ๕ กรณี
ครั้งนั้น ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวกับท่านพระอานนท์ดังนี้วา่ “ท่าน
อานนท์การที่ท่านไม่ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ‘พระพุทธเจ้าข้าสิกขาบท
ข้อไหนจัดเป็นสิกขาบทเล็กน้อย’ เรื่องนี้ปรับอาบัติทุกกฎแก่ท่าน ท่านจง
แสดงอาบัตินั้น
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมไม่ได้กราบทูลถาม
พระผู้มีพระภาคว่า ‘พระพุทธเจ้าข้า สิกขาบทข้อไหนที่จัดเป็นสิกขาบท
เล็กน้อย’ เพราะระลึกไม่ได้กระผมไม่เห็นอาบัติทุกกฏนั้น แต่เพราะเชื่อฟัง
ท่านทั้งหลาย กระผมจะแสดงอาบัติทุกกฏ” ๒๙๗
พระอรรถกถาจารย์อธิบายเรื่ องนี้ไว้ เหมือนท่านจะรู้ว่า ในอนาคต
จะมีการเข้าใจเรื่องการกระทาที่ไม่สมควรเป็นอาบัติ ดังข้อความว่า
อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏนฺติ “อิท ตยา ทุฏฺฐุ กตนฺ”ติ
เกวล ครหนฺเตหิ เถเรหิ วุตฺต, น อาปตฺ ตึ สนฺธาย วุตฺต . น หิ เต

๒๙๖
วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๔๓/๒๘๐.
๒๙๗
วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๔๓/๓๘๔.
๑๕๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อาปตฺ ต านาปตฺ ตึ น ชานนฺ ติ . อิ ท าเนว เหต อนุ สฺ ส าวิ ต “ส โฆ


อปญฺ ตฺ ต น ปญฺ เปติ ปญฺ ตฺ ต น สมุ จฺ ฉิ นฺ ท ตี ”ติ . เทเสหิ ต
ทุ กฺ ก ฏนฺ ติ อิ ท มฺ ปิ จ “อาม ภนฺ เ ต, ทุ ฏฺ ฐุ มยา กตนฺ ”ติ เอว
ปฏิชานาหิ ต ทุกฺกฏนฺติ อิท สนฺธาย วุตฺต, น อาปตฺติเทสน. เถโร ปน
ยสฺมา อสติยา น ปุจฺฉิ, น อนาทเรน, ตสฺมา ตตฺถ ทุฏฺฐุกตภาวมฺปิ
อสลฺ ล กฺ เขนฺ โ ต “นาห ต ทุ กฺ ก ฏ ปสฺ ส ามี ”ติ วตฺ ว า เถเรสุ คารว
ทสฺเสนฺโต “อปิจายสฺมนฺตาน สนฺธาย เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺ”ติ อาห.๒๙๘
ผู้แปลอรรถกถาก็แปลบทตั้งตามคาแปลในพระไตรปิฎก แต่เหมือน
จะไปต่างเรื่องกัน ดังนี้
“คาว่า ท่านอานนท์ เรื่องนีปรับอาบัติทุกกฏแก่ท่าน (อิทมฺปิ เต
อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ) นี้ พระเถระทั้งหลายเมื่อจะตาหนิอย่างเดียวจึง
กล่าวว่า ท่านทาผิดแล้ว หาได้กล่าวหมายถึงอาบัติไม่ ความจริง พระเถระ
เหล่ า นั้ น จะไม่ รู้ อ าบั ติ แ ละอนาบั ติ ก็ ห าไม่ สมดั งที่ พ ระเถระทั้ งหลาย
ประกาศไว้ในบัดนี้ทีเดียวว่า สงฆ์จะไม่บัญญัติสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาค
ไม่ทรงบัญญัติไว้ จะไม่ถอนสิกขาบทที่พระผู้มี พระภาคทรงบัญญัติไว้แล้ว
ส่วนแม้คาว่า ท่านจงแสดงอาบัติทุก กฏนัน (เทเสหิ ต ทุกฺกฏ) นี้
พระเถระทั้งหลายกล่าวหมายเอาความประสงค์นี้ว่า ท่านจงปฏิญญาอย่าง
นี้ว่า ใช่ ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าทาผิด แต่หาได้กล่าวหมายถึงการแสดงอาบัติ
ไม่ แต่พระ(อานนท์)เถระมิได้กราบทูลถามเพราะไม่มีสติ ไม่ใช่เพราะไม่
เอื้อเฟื้อ เพราะฉะนั้น ท่านเมื่อกาหนด ไม่ได้แม้ความที่ตนเป็นผู้ทาผิดใน
เหตุนั้น จึงกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่เห็นการทาผิดนั้น เมื่อจะแสดงความเคารพ

๒๙๘
วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๕๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๕๑

ในพระเถระทั้งหลาย จึงกล่าวว่า ข้าพเจ้าเชื่อต่อท่านทั้งหลาย ขอแสดง


การทาผิดนั้น มีคาอธิบายที่ท่านกล่าวไว้ว่า ท่านทั้งหลาย กล่าวอย่างใด
ข้าพเจ้าปฏิญญาอย่างนั้น แม้ในฐานะ ๔ อย่างที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน”
บทตั้งที่มาในพระไตรปิฎก คือ “อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ”
พระไตรปิฎกภาษาไทยแปลว่า “ท่านอานนท์ เรื่องนี้ปรับอาบัติทุกกฎแก่
ท่าน ” พระอรรถกถาจารย์อธิบายว่า “อิท ตยา ทุฏฺฐุ กตนฺ ”ติ เกวล
ครหนฺเตหิ เถเรหิ วุตฺต, น อาปตฺตึ สนฺธาย วุตฺต. น หิ เต อาปตฺตานา-
ปตฺตึ น ชานนฺติ. อิทาเนว เหต อนุสฺสาวิต สโฆ อปญฺ ตฺต น ปญฺ เปติ
ปญฺ ตฺต น สมุจฺฉินฺทตีติ” ๒๙๙
สมันตปาสาทิกา วินัยอรรถกถา ฉบับมหาจุฬาแปลว่า
“พระเถระทั้งหลายเมื่อจะตาหนิอย่างเดียวจึงกล่าวว่า ท่านทาผิด
แล้ว หาได้กล่าวหมายถึงอาบั ติไม่ ความจริง พระเถระเหล่านั้นจะไม่รู้
อาบัติและอนาบัติก็หาไม่ สมดังที่พระเถระทั้งหลายประกาศไว้ในบัด นี้
ทีเดียวว่า สงฆ์จะไม่บัญญัติสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคไม่ทรงบัญญัติไว้
จะไม่ถอนสิกขาบทที่พระผู้มี พระภาคทรงบัญญัติไว้แล้ว”
เมื่อกาหนดพิจารณาทั้งภาษาบาลีและคาแปลก็ได้ใจความว่า ที่พระ
เถระทั้ ง หลายกล่ า วว่ า “อิ ท มฺ ปิ เต อาวุ โ ส อานนฺ ท ทุ กฺ ก ฏ ” นั้ น มิ ไ ด้
หมายถึ งพระอานนท์ ต้ อ งอาบั ติ ทุ ก กฎ แต่ ห มายถึ งพระอานนท์ ท าไม่
สมควร ที่พระเถระทั้งกล่าวว่า ทุกฺกฏ นั้นมิได้หมายถึงอาบัติทุกกฎ ท่าน

๒๙๙
วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๕๕.
๑๕๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

เหล่านั้น ก็มิใช่จะไม่ทราบว่าทาอย่างไรต้องอาบัติและไม่ต้องอาบัติ และ


พระมหากั ส สปะ ก็ ส วดประกาศไปก่ อ นหน้ า นี้ ว่ า “ส โฆ อปญฺ ตฺ ต
น ปญฺ เปติ ปญฺ ตฺ ต น สมุ จฺ ฉิ นฺ ท ติ ” คื อ สงฆ์ จ ะไม่ บั ญ ญั ติ ข้ อ ที่
พระพุทธเจ้ามิได้ทรงบัญ ญัติไว้ จะไม่ถอนข้อปฏิบัติที่พระพุ ทธเจ้าทรง
บัญญัติไว้ ถ้าคาว่า ทุกฺกฏ ที่ท่านเหล่านั้นกล่าวมุ่งปรับอาบัติ ก็กลายเป็น
ท่ า นเหล่ า นั้ น บั ญ ญั ติ ข้ อ ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า มิ ไ ด้ ท รงบั ญ ญั ติ ไ ว้ การแปล
พระไตรปิ ฎกบาลีเป็น ไทยอย่างนี้ จัด ว่าเป็นการตีความตามความเห็ น
ของตน

๗.๕ อิทธิพลของการตีความต่อสังคมไทย
วิเคราะห์ การตีความหลักคาสอนในสังคมไทยในหัวข้อนี้ ผู้ วิจัยขอนา
เอกสารที่น าเสนอไว้ในบทที่ ๒ มาตั้งเป็ น ประเด็น ปัญ หาแล้ วนาหลั กการที่
นาเสนอไว้ในบทที่ ๓ มาเป็นเครื่องวิเคราะห์หาความถูกตามหลักการที่ปรากฏ
ในคัมภีร์
เรื่ อ งการแปลพระวิ นั ย ปิ ฎ กโดยตี ค วามภาษาบาลี ต ามความเห็ น
ซึ่งผู้วิจัยได้นาคาแปลพระวินัยปิฎก จูฬวรรคเรื่องปรับอาบัติอานนท์ ๕ กรณี
ซึ่งผู้วิจัยยกตัวอย่างไว้กรณีหนึ่งว่า
ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวกับท่านพระอานนท์ดังนี้ว่า “ท่านอานนท์การ
ที่ท่านไม่ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ‘พระพุทธเจ้าข้าสิกขาบทข้อไหนจั ดเป็น
สิกขาบทเล็กน้อย’ เรื่องนี้ปรับอาบัติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดงอาบัตนิ ั้น
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมไม่ได้กราบทูลถามพระผู้
มีพระภาคว่า ‘พระพุทธเจ้าข้า สิกขาบทข้อไหนที่จัดเป็นสิกขาบทเล็กน้อย’
เพราะระลึกไม่ได้กระผมไม่เห็นอาบัติทุกกฏนั้น แต่เ พราะเชื่อฟังท่านทั้งหลาย
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๕๓

กระผมจะแสดงอาบัติทุกกฏ” ๓๐๐
พระอรรถกถาจารย์อธิบายไว้เมื่อพิจารณาคาอธิบายดูเหมือนจะเป็นคน
ละเรื่อง ดังข้อความว่า
อิท มฺ ปิ เต อาวุ โส อานนฺ ท ทุ กฺก ฏนฺ ติ อิท ตยา ทุ ฏฺ ฐุ กตนฺ ติ
เกวล ครหนฺ เตหิ เถเรหิ วุ ตฺ ต , น อาปตฺ ตึ สนฺ ธ าย วุ ตฺ ต . น หิ เต
อาปตฺตานาปตฺตึ น ชานนฺติ. อิทาเนว เหต อนุสฺสาวิต สโฆ อปญฺ ตฺต น
ปญฺ เปติ ปญฺ ตฺต น สมุจฺฉินฺทตีติ.๓๐๑ ข้อความนี้ ผู้วิจัยขอแปลตามที่ตน
พอจะเข้าใจ โดยไม่อนุวัตรคาแปลในพระไตรปิฎก ดังนี้
“คาว่า ท่านอานนท์ แม้เรื่องนี ท่านก็ทาไม่ดี นี้ พระเถระทั้งหลายเมื่อ
จะตาหนิอย่างเดียวจึงกล่าวว่า เรื่องนี้ท่านทาผิดแล้ว มิได้กล่าวหมายถึงอาบัติ
ความจริง พระเถระเหล่านั้นจะไม่รู้อาบัติและอนาบัติก็หาไม่ ดังที่พระมหากัสส
ปะสวดประกาศเรื่องนี้ในบัดนี้ทีเดียวว่า สงฆ์จะไม่บัญญัติสิกขาบทที่พระผู้มี
พระภาคไม่ทรงบัญญัติไว้ จะไม่ถอนสิกขาบทที่พระผู้มี พระภาคทรงบัญญัติไว้
แล้ว” ๓๐๒
พระอรรถกถาจารย์อธิบายสรุปความว่า พระเถระทั้งหลายตาหนิพระ
อานนท์ว่าทาไม่ดี ไม่ได้ปรับอาบัติ เพราะได้ประกาศไปแล้วว่า จะไม่บัญญัติสิ่ง
ที่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงบัญญัติ คือ จะไม่บัญญัติการปรับอาบัตินอกเหนือจากที่
พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ แต่พระไตรปิฎกเป็นปรั บอาบัติทุกกฎพระอานนท์
ก็เป็นทานองว่า พระไตรปิฎกเป็นเรื่องหนึ่ง อรรถกถาอธิบายเป็นอีกเรื่องหนึ่ง

๓๐๐
วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๔๓/๓๘๔.
๓๐๑
วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๑๓.
๓๐๒
วิ.จู.อ. (ไทย) ๓/๔๑๓.
๑๕๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

พระไตรปิฎกแปลถูกต้อง แต่อรรถกถาอธิบายผิดหรืออย่างไร เป็นเรื่องที่พึง


วินิจฉัยเพื่อหาข้อยุติ แต่ พระไตรปิฎกแปลเป็นพระเถระทั้งหลายปรับอาบัติ
พระอานนท์ จากคาแปลการตาหนิเป็นปรับอาบัตินี้ ได้มีผลกระทบเป็นเหตุให้
มีการถือเอาแล้วแสดงความเห็นคลาดเคลื่อน จนมีบางท่านกล่าวจ้วงจาบพระ
สาวกผู้ทาสังคายนาไปในทางเสียหายก็มี
อาจารย์เสถียร โพธินันทะ เขียนหนังสือประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
หลังจากที่มีพระไตรปิฎกแปลภาษาไทยแล้ว ท่านก็ถือเอาตามที่แปลกันไว้ว่า
“ที่ประชุมได้ลงมติปรับอาบัติทุกกฎแก่พระอานนท์ ... แต่พระอานนท์ท่านเป็น
นักประชาธิปไตย เมื่อที่ประชุมลงมติปรับอาบัติตัวท่านไม่เห็นว่าเป็นอาบัติ แต่
เพราะเชื่อท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอแสดงอาบัติทุกกฎนั้น ณ บัดนี้”๓๐๓
อาจารย์ สุ ชีพ ปุ ญ ญานุ ภ าพ เขี ย นหนั งสื อ พระไตรปิ ฎ กฉบั บ ส าหรับ
ประชาชน ท่านก็ว่าตามพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยว่า “พระเถระทั้งหลายได้
ปรับอาบัติทุกกฎแก่พระอานนท์หลายข้อ ... พระอานนท์มีข้อชี้แจงทุกข้อ แต่
ยอมแสดงอาบัติด้วยศรัทธาในพระเถระเหล่านั้น”๓๐๔
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคา) เขียนหนังสือประวัติ ศาสตร์พุทธ
ศาสนาในอินเดีย จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๐๗ ตอนเล่าเรื่องปฐมสังคายนา ก็
กล่าวถึงเรื่องที่พระอานนท์ถูกปรับอาบัติทุกกฏ โดยอ้างหนังสืออาจารย์เสถียร

๓๐๓
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา, (กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๑๙), หน้า ๖๒-๖๓, ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา,
(นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หน้า ๕๙-๖๐.
๓๐๔
สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, (กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หน้า ๒๘๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๕๕

โพธินันทะ๓๐๕
หลวงจี น พระครู ส มุ ห์ อ ภิ ชั ย (เย็ น เหี่ ย ง) โพธิป ระสิ ท ธิ์ เขีย นหนั งสื อ
พระพุทธศาสนามหายาน ได้เรื่องปฐมสังคายนา กล่าวถึงเรื่องที่พระอานนท์ถูก
ปรับอาบัติทุกกฏ โดยอ้างหนังสืออาจารย์เสถียร โพธินันทะ เช่นกัน๓๐๖
อาจารย์ แ สวง อุ ด มศรี เขีย นหนั งสื อ พระวิ นั ยปิ ฎ ก ๒ ท่ านก็ ว่าตาม
พระไตรปิ ฎ กภาษาไทย เพราะฉบั บ มหาจุฬาฯ ก็แปลตามส านวนเดิม ท่ าน
แสดงความเห็น ว่า “ข้อสงสัยทั้ง ๕ ที่พระอรหันต์ทั้งหลายยกขึ้นมาเป็นเหตุ
ปรับ อาบั ติทุกกฏพระอานนท์นั้ น คงมิใช่ป ระเด็นสาคัญ อะไรนัก แต่น่าจะมี
เป้ าหมายที่ลึ กซึ้งอย่ างอื่น ซ้อนเร้น อยู่เบื้ องหลั ง เพราะพระเถระแต่ล ะรูป ที่
ได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้ร่วมประชุมทาสังคายนาในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็น
พระอรหันต์เหมือนกันทุกรูป ภิกษุที่ได้บรรลุธรรมในขั้นนี้ ย่อมไม่เคลือบแคลง
สงสัยในพระธรรมวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงและบัญญัติไว้ และย่อมเข้าใจ
สภาวธรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงทุกประการ”๓๐๗
ความเห็ น เรื่ อ งการปรั บ อาบั ติ พ ระอานนท์ นั้ น เกิ ด จากค าแปล
พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๐,พ.ศ.๒๕๑๔,พ.ศ.๒๕๒๑,พ.ศ.๒๕๒๕,
พ.ศ.๒๕๓๐ จนกระทั่ ง ฉบั บ พิ ม พ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ฉบั บ มหาจุ ฬ าฯ ก็ แ ปล

๓๐๕
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคา), ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในอินเดีย,
(กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หน้า ๑๙๒-๑๙๕.
๓๐๖
อภิชัย โพธิประสิทธิ์ศาสต์, พระพุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หน้า ๗-๙.
๓๐๗
แสวง อุ ด มศรี , พระวิ นั ย ปิ ฎ ก ๒, (กรุ งเทพมหานคร : โครงการช าระ
พระไตรปิฎก, ๒๕๔๒), หน้า ๔๑๗.
๑๕๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

เหมื อ นกั น เป็ น การถื อ ตามกั น เป็ น อนุ สฺ ส ว ซึ่ งพระพุ ท ธเจ้ าตรั ส ห้ า มไว้ ว่ า
มา อนุสฺสเวน อย่าปลงใจเชื่อด้วยการฟังตามกันมา (แปลตามกันมา) เรื่องการ
ปรั บ อาบั ติอ านนท์ ได้ ถือตามกัน เผยต่อๆ กัน มา จนหนังสื อเล่ มล่ าที่ผู้ วิจั ย
สารวจพบ คือ หนังสือประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย เรียบเรียงโดย
พระมหาดาวสยาม วชิ ร ปั ญ โญ ซึ่ ง เนื้ อ หาคล้ า ยกั บ ความเห็ น ในหนั ง สื อ
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอน ๒ ของอาจารย์เสถียร โพธินันทะ และชวิ
นทร์ สระค า น าไปอ้ างไว้ในหนั งสื อ ประวัติ ศ าสตร์ พุ ท ธศาสนาในอิ น เดี ย
ข้อความดังนี้
ในการประชุมสังคายนาครั้งที่ ๑ นั้น พระมหาเถระเจ้าทั้งหลายได้มีมติ
เป็นเอกฉันท์ปรับอาบัติพระอานนท์ แม้ว่าท่านจะบรรลุพระอรหันต์แล้วก็ ตาม
เพราะเหตุว่า
๑. ไม่ได้ทูลถามว่าสิกขาบทเล็กน้อยที่ให้ถอนได้หมายเอาสิกขาบทใด
๒. ข้อที่เหยียบผ้าวัสสิกสาฏกของพระพุทธองค์
๓. ปล่ อยให้ ส ตรีถวายบั งคมพระพุท ธสรีระก่อน และนางร้องไห้ จน
น้าตาเปียกพระสรีระ
๔. ไม่อ้อนวอนพระศาสดาให้ทรงอยู่ตลอดกัปแม้ทรงจะมีนิมิตโอภาส
๕. ช่วยเหลือให้สตรีบวชในพุทธศาสนา
พระอานนท์กล่าวแก้ข้อกล่าวหาทั้ง ๕ ข้อดังต่อไปนี้
๑. ไม่ทูลถามสิกขาบท เพราะไม่ได้ระลึกถึง
๒. ที่เหยียบเพราะพลั้งเผลอ ไม่ใช่เพราะไม่คารวะ
๓. ให้สตรีถวายบังคมก่อน เพราะค่ามืดเป็นเวลาวิกาล
๔. ไม่ทรงอ้อนวอนพระศาสดา เพราะถูกมารดลใจจึงไม่ได้อ้อนวอน
๕. เพราะเห็นว่าพระนางประชาปดีโคตมีนี้ เป็นพระมารดาเลี้ยงถวายขี
โรทก (น้านม) แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าในวัยเยาว์ จึงขวนขวายให้สตรีบวช
แม้พ ระอานนท์ จ ะทราบว่าตั วเองไม่ผิ ด แต่เมื่ อสงฆ์พิ จ ารณาลงโทษ
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๕๗

ปรั บ อาบั ติ ท่ า นก็ ย อมรั บ ไม่ ไ ด้ ขั ด ขื น แต่ อ ย่ า งใด เพราะความเป็ น นั ก


ประชาธิปไตยของท่าน๓๐๘
ผู้ที่ไม่ถือตามคาแปลพระไตรปิฎกภาษาและแสดงความตามนัยที่อรรถ
กถาอธิบาย เท่าที่พบ ก็มีนาวาเอก ทองย้อย แสงสินชัย เขียนหนังสือเหตุเกิด
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕ แสดงความเห็นเขียนชี้แจงกรณีปรับอาบัติทุกกฏพระอานนท์
ว่า ในข้อความที่ป รั บ อาบั ติทุกกฏ ไม่มีคาว่า อาปตฺติ มีแต่คาว่า ทุกฺกฏ ซึ่ง
แปลว่า ทาไม่ดี ก็ได้ ท่านได้แปลอรรถกถาชัดเจน๓๐๙
จากคาแปลพระไตรปิ ฎ กที่คลาดเคลื่อน ท าให้ เกิดผลกระทบต่อการ
ตีความแล้วเผยแพร่เป็นเอกสารจานวนมาก พระมโน เมตฺ ตานนฺโท วิเคราะห์
เรื่องการปรับอาบัติพระอานนท์ ในคราวที่ทาปฐมสังคายนา ได้แสดงความเห็น
ไว้ ดังนี้
กรณีของพระอานนท์ที่ถูกโจทก์ในท่ามกลางที่ประชุมการสังคายนา ไม่
มีข้อใดที่เกี่ยวข้องกับพระวินัยเลยแม้แต่ข้อเดียว เป็นการโจทก์ความบกพร่อง
ของพฤติกรรมของพระอานนท์ตามความเห็นของพระเถระทั้ง ๔๙๙ รูปเท่านั้น
เป็ น ที่ น่ า สั ง เกตอย่ า งยิ่ ง ว่ า นอกจากอาบั ติ เหล่ า นี้ มิ ได้ มี อ ยู่ ใ นพระ
ปาติโมกข์แล้ว การโจทก์อาบัติพระอานนท์ในครั้งนี้เกิดขึ้นภายหลังจากที่คณะ
พระเถระอรหันต์ทั้ง ๕๐๐ รูปเพิ่งลงมติไปหยกๆ ว่าสงฆ์จะไม่บัญญัติหรือเพิก
ถอนพุทธบัญญัติ และสมาทานเฉพาะตามสิกขาบทที่พระพุทธองค์บัญญัติไว้

๓๐๘
พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย.
หน้า ๖๖.
๓๐๙
นาวาเอก ทองย้อย แสงสินชัย, เหตุเกิดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕, (กรุงเทพมหานคร
: บริษัท พิมพ์สวย จากัด, ๒๕๔๖), หน้า ๑๕-๕๒.
๑๕๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

เท่ า นั้ น การโจทก์ อ าบั ติ ที่ มิ ไ ด้ อ ยู่ ใ นพระปาติ โ มกข์ กั บ ภิ ก ษุ รู ป ใดๆ จึ ง


มิเท่ากับ เป็ น การขัดแย้งกับ ญั ตติที่ตนเพิ่งตกลงยอมรับโดยเอกฉันท์กระนั้น
หรือ?๓๑๐
พระมโนแสดงความเห็ นอีกว่า “อรรถกถา อธิบายว่า การปรับอาบัติ
ครั้งนี้ มิใช่เป็นการปรับอาบัติตามพระวินัยโดยมิได้ให้เหตุ ผล แต่ตามที่ปรากฏ
ในการสั งคายนาครั้งนี้ รูปแบบของการปรับอาบัติไม่มีค วามแตกต่างจากการ
ปรับอาบัติตามพระวินัยแต่อย่างใดเลย หากนาทฤษฎีสัมพัทธภาพมาเป็นกรอบ
ในการพิจารณา อาจตีความว่า อรรถกถาจารย์ผู้มีสานึกว่าสงฆ์ไม่พึงบัญญัติสิ่ง
ใดใหม่ เห็น ข้อความที่ขัดแย้งที่จะไม่ บั ญญัติสิกขาบทใหม่ ซึ่งขั ดการกระทา
ของพระเถระทั้งหลายที่ปรับอาบัติพระอานนท์ในการประชุมครั้งนี้”๓๑๑
ดูเหมือ นพระมโน เมตฺ ต านนฺ โท ก็เข้าใจเรื่อ งที่ เกิด ขึ้น แต่ ท่ านไปให้
ความสาคัญกับคาแปลพระไตรปิฎกภาษาไทย เข้าใจว่าคาแปลนั้นถูกต้อง ท่าน
ไม่เข้าใจว่า คาแปลนั้น เป็นเพี ยงแนวให้ศึกษาเท่านั้น จะเข้าใจเรื่องที่เกิดขึ้น
อย่างถูกต้องได้ ต้องศึกษาจากความหมายศัพท์จากภาษาบาลีในเรื่องนั้นและ
ภาษาบาลีที่เป็นข้อมูลสนับสนุน
การที่มีผู้ถือว่าพระสาวกทั้งหลายผู้ทาปฐมสังคายนาปรับอาบัติทุกกฏ
พระอานนท์ ตามคาแปลพระไตรปิฎกแล้วเผยแพร่ต่อๆ กันมานั้น ก่อให้เกิด
ความเสื่อมแห่งพระปริยัติสัทธรรม สร้างความเข้าใจที่ไม่ ถูกต้องต่อพระสาวก
ทั้งหลายผู้ทาปฐมสังคายนา ในประเด็นที่ท่านเหล่านั้นแสดงความเห็นตอนต้น

๓๑๐
เมตฺตานนฺโท ภิกฺข,ุ เหตุเกิด พ.ศ. ๑ เล่ม ๒ : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนา
และภิกษุณีสงฆ์, (กรุงเทพมหานคร : S.P.K. Paper and f Form, ๒๕๔๕), หน้า ๗๔–
๗๕.
๓๑๑
เมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ, เหตุเกิด พ.ศ. ๑ เล่ม ๒ : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนา
และภิกษุณีสงฆ์, หน้า ๓๒๑–๓๒๒.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๕๙

อย่ างหนึ่ งแล้ว กลั บ กระท าไปอีกหนึ่ งในตอนท้าย คือ พระมหากัส สปะสวด
ประกาศมีมติไม่เปลี่ยนแปลงแก้ไขพระวินัย พระสาวกทั้งหลายผู้ร่วมสังคายนา
ก็เห็นชอบไม่คัดค้าน ผู้วิจัยขอยกคาสวดประกาศมาประกอบทั้งหมด เพื่อให้
เห็นภาพที่พระสาวกทั้งหลายผู้ทาปฐมสังคายนาได้วางหลักการ ซึ่งพระสาวก
ทั้งหลายในยุคต่อมาได้กาหนดเป็นหลักการแห่งพระพุทธศาสนาเถร ข้อคาสวด
ประกาศภาษาบาลี ดังนี้
อถ โข อายสฺ ม า มหากสฺ ส โป ส ฆ าเปสิ “สุ ณ าตุ เม อาวุ โ ส ส โฆ,
สนฺ ต มฺ ห าก สิ กฺ ข าปทานิ คิ หิ ค ตานิ คิ หิ โ นปิ ชานนฺ ติ ‘อิ ท โว สมณ าน
สกฺ ย ปุ ตฺ ติ ย าน กปฺ ป ติ , อิ ท โว นกปฺ ป ตี ’ติ สเจ มย ขุ ทฺ ท านุ ขุ ทฺ ท กานิ
สิ กฺ ข าปทานิ สมู ห นิ สฺ ส าม, ภวิ สฺ ส นฺ ติ วตฺ ต าโร ‘ธู ม กาลิ ก สมเณน โคตเมน
สาวกาน สิกฺขาปท ปญฺ ตฺต, ยาวิเมส สตฺถา อฏฺ าสิ, ตาวิเม สิกฺขาปเทสุสิกฺขึสุ
, ยโต อิเมส สตฺถา ปรินิพฺพุโต, นทานิ เม สิกฺขาปเทสุ สิกฺขนฺตี ’ติ. ยทิ สฆสฺส
ปตฺ ต กลฺ ล , ส โฆ อปฺ ป ญฺ ตฺ ต น ปญฺ าเปยฺ ย , ปญฺ ตฺ ต น สมุ จฺ ฉิ นฺ เทยฺ ย ,
ยถาปญฺ ตฺเตสุ สิกฺขาปเทสุ สมาทาย วตฺเตยฺย เอสา ตฺต.ิ ๓๑๒
แปลว่า “ครั้งนั้นแล ท่านพระมหากัสสปะประกาศให้สงฆ์ทราบว่า ท่าน
ทั้งหลาย ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สิกขาบทของพวกเราที่รู้กันในหมู่คฤหัสถ์ ๓๑๓
มีอยู่ แม้พวกคฤหัสถ์ก็รู้อยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่พวกพระสมณะเชื้อสายศากยบุตร
สิ่งนี้ไม่ควร ถ้าพวกเราจักถอนสิ กขาบทเล็กน้อย ก็จะมีผู้กล่าวว่า พระสมณโค
ดมบั ญ ญั ติ สิ ก ขาบทแก่ พ วกสาวกชั่ ว กาลแห่ ง ควั น ไฟ สาวกพวกนี้ ศึ ก ษา

๓๑๒
วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๔๒/๒๗๙-๒๘๐.
๓๑๓
คือสิกขาบทที่เกี่ยวข้องกับพวกคฤหัสถ์ , พวกคฤหัสถ์รู้กันอยู่ ที.ม.อ. (บาลี)
๒/๑๓๖/๑๕๕.
๑๖๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สิกขาบทอยู่เพียงเวลาที่พระศาสดาของตนยังมีชีวิตอยู่ พอพระศาสดาของพวก
เธอปรินิพพานไปแล้ว บัดนี้ พวกเธอก็ไม่ศึกษาสิกขาบท ถ้าสงฆ์พร้อมแล้วก็ไม่
พึ ง บั ญ ญั ติ สิ่ ง ที่ ไ ม่ ได้ ท รงบั ญ ญั ติ ไม่ พึ ง ถอนพระบั ญ ญั ติ ที่ ท รงบั ญ ญั ติ ไ ว้
พึงสมาทานประพฤติตามสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้แล้ว นี่เป็นญัตติ”
สุ ณ าตุ เม อาวุ โส ส โฆ, สนฺ ต มฺ ห าก สิ กฺ ข าปทานิ คิ หิ ค ตานิ คิ หิ โนปิ
ชานนฺติ‘อิท โว สมณาน สกฺยปุตฺติยาน กปฺป ติ, อิท โว น กปฺปตี ’ติ, สเจ มย
ขุทฺท านุ ขุทฺ ทกานิ สิ กฺขาปทานิ สมู ห นิ สฺ ส าม, ภวิสฺ ส นฺ ติ วตฺ ตาโร ‘ธูมกาลิ ก
สมเณน โคตเมน สาวกาน สิกฺขาปท ปญฺ ตฺต,ยาวิเมส สตฺถา อฏฺ าสิ, ตาวิเม
สิ กฺ ข าปเทสุ สิ กฺ ขึ สุ , ยโต อิ เมส สตฺ ถ า ปริ นิ พฺ พุ โ ต, นทานิ เมสิ กฺ ข าปเทสุ
สิ กฺ ข นฺ ตี ’ ติ . ส โฆ อปฺ ป ญฺ ตฺ ต น ปญฺ าเปติ , ปญฺ ตฺ ต น สมุ จฺ ฉิ นฺ ท ติ ,
ยถาปญฺ ตฺเตสุสิกฺขาปเทสุ สมาทาย วตฺตติ, ยสฺสายสฺมโต ขมติ อปฺปญฺ ตฺตสฺส
อปฺปญฺ าปนา, ปญฺ ตฺตสฺสอสมุจฺเฉโท, ยถาปญฺ ตฺเตสุ สิกฺขาปเทสุ สมาทาย
วตฺ ต นา, โส ตุ ณฺ ห สฺ ส , ยสฺ ส นกฺ ข มติ , โส ภาเสยฺ ย .ส โฆ อปฺ ป ญฺ ตฺ ต น
ปญฺ าเปติ, ปญฺ ตฺต น สมุจฺฉินฺ ทติ, ยถาปญฺ ตฺเตสุ สิ กฺขาปเทสุ สมาทาย
วตฺตติ, ขมติ สฆสฺส, ตสฺมา ตุณฺหี. เอวเมต ธารยามี”ติ.๓๑๔
แปลว่า “ท่านทั้งหลาย ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สิกขาบทของพวกเราที่รู้
กันในหมู่คฤหัสถ์มีอยู่ แม้พวกคฤหัสถ์ก็รู้อยู่ว่า สิ่งนี้ควรแก่พวกพระสมณะเชื้อ
สายศากยบุตร สิ่งนี้ ไม่ควร ถ้าพวกเราจักถอนสิกขาบทเล็กน้อย ก็จะมีผู้กล่าว
ว่า พระสมณโคดมบัญญัติสิกขาบทแก่พวกสาวกชั่วกาลแห่งควันไฟ สาวกพวก
นี้ศึกษาสิกขาบทอยู่เพียงเวลาที่พระศาสดาของตนยังมีชีวิตอยู่ พอพระศาสดา
ของพวกเธอปรินิพพานไปแล้ว บัดนี้พวกเธอก็ไม่ศึกษาสิกขาบท ถ้าสงฆ์พร้อม
กันแล้วก็ไม่พึงบัญญัติสิ่งที่ไม่ได้ทรงบัญญัติ ไม่พึงถอนพระบัญญัติที่ทรงบัญญัติ

๓๑๔
วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๔๒/๒๗๙-๒๘๐.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๖๑

ไว้ พึงสมาทานประพฤติตามสิกขาบทที่ทรงบัญญัติไว้แล้ว ท่านรูปใดเห็นด้วย


กับ การไม่บัญญัติสิ่งที่ไม่ทรงบั ญญัติ ไม่ถอนพระบัญญัติตามที่ทรงบัญญัติไว้
สมาทานประพฤติตามสิกขาบทที่ทรงบัญ ญัติไว้แล้ว ท่านรูปนั้นพึงนิ่ง ท่านรูป
ใดไม่เห็นด้วย ท่านรูปนั้นพึงทักท้วง
สงฆ์ไม่บัญญัติสิ่งที่ไม่ทรงบัญญัติ ไม่ถอนพระบัญญัติตามที่ทรงบัญญัติ
ไว้ ส มาทานประพฤติ สิ ก ขาบทตามที่ ท รงบั ญ ญั ติ ไ ว้ แ ล้ ว สงฆ์ เห็ น ด้ ว ย
เพราะฉะนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าขอถือความนิ่งนั้นเป็นมติอย่างนี้”
ข้อภาษาบาลีความที่เป็นคาสวดประกาศนี้เรียกว่า ญัตติทุติยกรรม คือ
ญัตติ หมายถึงการสวดปรึกษาหารือ ทุติยกรรม หมายถึง มีการสวดประกาศ
เป็ น ที่ ๒ ค าว่า “ส โฆ อปฺ ป ญฺ ตฺ ต น ปญฺ าเปติ, ปญฺ ตฺ ต น สมุ จฺฉิ นฺ ท ติ ,
ยถาปญฺ ตฺเตสุ สิกฺขาปเทสุ สมาทาย วตฺตติ : สงฆ์จะไม่บั ญญัติสิ่งที่พระผู้มี
พระภาคไม่ได้ทรงบัญญัติไว้ สงฆ์จะไม่ถอนพระบั ญญัติที่พระผู้มีรพะภาคทรง
บัญญัติไว้ จะสมาทานประพฤติตามสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้
แล้ว” นี้เป็นการยืนยันว่าจะไม่บัญญัติสิ่งที่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงบัญญัติไว้ การ
ปรั บ อาบั ติ ทุ ก กฏพระอานนท์ ถื อ ว่ าบั ญ ญั ติ อ าบั ติ ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า มิ ได้ ท รง
บั ญ ญั ติ ขึ้ น มาป รั บ เมื่ อถื อ เอาความตามค าแป ลป รั บ อาบั ติ ทุ กกฎ
พระอานนท์ ก็กลายเป็นว่า พระสาวกทั้งหลายผู้ทาปฐมสังคายนาไม่ทาตามที่
พวกท่านปฏิญญา
พระพุทธโฆสาจารย์ ก็ได้อ้างข้อความคาสวดประกาศสรุปใจความว่า
“อิทาเนว เหต อนุ สฺ สาวิต ส โฆ อปญฺ ตฺต น ปญฺ เปติ ปญฺ ตฺต น
๑๖๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

สมุจฺ ฉิ นฺ ท ตี ติ ”๓๑๕ แปลว่า “บั ดนี้ เที ย ว ท่านก็ได้ป ระกาศแล้ ว ว่า สงฆ์ จะไม่
บัญญัติสิ่งที่พระผู้มีพระภาคไม่ได้ทรงบัญญัติไว้ จะไม่ถอนพระบัญญัติที่พระผู้
มีรพะภาคทรงบัญญัติไว้”
เมื่อผู้วิจัยได้เทียบเคียงบทพยัญชนะแล้ว ก็ได้ข้อยุติว่า การแสดงโทษ
ของพระอานนท์ ไม่ใช่การแสดงอาบัติ เป็นการยอมรับเรื่องที่ท่านประพฤติผิด
ผู้วิจัยใช้การสอบทานเทียบเคียงบทพยัญชนะ คือความรู้ในภาษาบาลี อรรถ
กถา ฎีกา ไวยากรณ์ เป็นเครื่องมือตรวจสอบหาความถูกต้อง
จากข้อความเรื่องปรับโทษพระอานนท์ที่นาเสนอไปนั้นมี ๒ ฝ่าย คือ
เห็ น ว่าเป็ น การต าหนิ พ ระอานนท์ ฝ่ ายหนึ่ ง เห็ น ว่าเป็ น การปรับ อาบั ติพ ระ
อานนท์ฝ่ายหนึ่ ง ซึ่งความเห็นว่าปรับอาบัติพระอานนท์นั้น เกิดจากคาแปล
พระไตรปิฎกภาษาไทย ซึ่งทุกฉบับก็ยังแปลตามๆ กัน มิได้ศึกษาคาอธิบายใน
อรรถกถาแล้วปรับแก้คาแปล
เพื่อเป็นการรับรองความเห็นของพระอรรถกถาจารย์ เรื่องการที่พระ
สาวกทั้งหลายผู้ ทาปฐมสังคายนา มิได้ป รับ อาบัติพระอานนท์ ท่านเพียงแต่
ตาหนิ พระอานนท์ว่าทาไม่ดี และการที่พระอานนท์ยอมรับโทษที่ตนทาไม่ดี
ยอมรับเรื่องที่ท่านประพฤติผิด ไม่ใช่เป็นการแสดงอาบัติ ผู้วิจัย ขอนาเรื่องที่ได้
ดาเนินการสอบทานเทียบเคียงบทพยัญชนะจากเรื่องกรณีพระอานนท์กับบท
พยัญชนะในพระสูตรและในพระวินัย ตามเอกสารที่ผู้วิจัยได้ศึกษาแล้วสรุปมา
ดังต่อไปนี้
เบื้ องต้น พึ งศึกษารายละเอีย ดเรื่ องที่ พ ระไตรปิ ฎ กทุ กฉบั บ แปลการ
ตาหนิพระอานนท์เป็นการปรับอาบัติพระอานนท์ เนื้อหาภาษาไทย ดังนี้
ภาษาบาลีที่กรรมการแปลพระไตรปิฎกแปลเป็นปรับอาบัติทุ กกฎพระ

๓๑๕
วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๑๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๖๓

อานนท์ ภาษาบาลีไม่มีหัวข้อที่ตั้งในภาษาไทยว่า “ปรับอาบัติพระอานนท์ ๕


กรณี” ผู้วิจัยขอยกภาษาบาลีนั้นมาทั้งหมดเฉพาะเรื่องนี้เพื่อให้เห็นภาพการ
สอบทานเทียบเคียงบทพยัญชนะ ดังนี้
อถ โข เถรา ภิกฺขู อายสฺมนฺต อานนฺท เอตทโวจุ อิท เต อาวุโส
อานนฺ ท ทุกฺกฏ,ย ตฺว ภควนฺ ต น ปุจฺฉิ ‘กตมานิ ปน ภนฺเต ขุทฺทานุ -
ขุทฺทกานิ สิกฺขาปทานี’ติ. เทเสหิ ตทุกฺกฏนฺ”ติ.
อห โข ภนฺ เต อสติย า ภควนฺ ต น ปุ จฺ ฉึ “กตมานิ ปน ภนฺ เต
ขุทฺทานุขุทฺทกานิสิกฺขาปทานี”ติ. นาห ต ทุกฺกฏ ปสฺสามิ, อปิจายสฺมนฺตาน
สทฺธาย เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺติ.
อิท มฺปิ เต อาวุโส อานนฺ ท ทุกฺกฏ , ย ตฺว ภควโต วสฺ สิ กสาฏิ ก
อกฺกมิตฺวา สิพฺเพสิ.เทเสหิ ต ทุกฺกฏนฺติ.
อห โข ภนฺ เต น อคารเวน ภควโต วสฺ สิ ก สาฏิ ก อกฺ ก มิ ตฺ ว า
สิพฺเพสึ . นาห ต ทุกฺกฏ ปสฺส ามิ , อปิ จายสฺ มนฺตาน สทฺธาย เทเสมิ ต
ทุกฺกฏนฺติ.
อิท มฺปิ เต อาวุโส อานนฺ ท ทุ กฺก ฏ , ย ตฺ ว มาตุค าเมหิ ภควโต
สรี ร ปฐม วนฺ ท าเปสิ , ตาส โรทนฺ ตี น ภควโต สรีร อสฺ สุ เกน มกฺ ขิ ต .
เทเสหิ ต ทุกฺกฏนฺติ.
อห โข ภนฺ เต “มายิ มา วิกาเล อเหสุ นฺ ”ติ มาตุ คาเมหิ ภควโต
สรีร ปฐม วนฺทาเปสึ. นาห ต ทุกฺกฏ ปสฺสามิ, อปิจายสฺมนฺตาน สทฺธาย
เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺติ.
อิ ท มฺ ปิ เต อาวุ โ ส อานนฺ ท ทุ กฺ ก ฏ , ย ตฺ ว ภควตา โอฬาริ เก
นิมิตฺเต กยิรมาเน,โอฬาริเก โอภาเส กยิรมาเน, น ภควนฺต ยาจิ “ติฏฺฐตุ
๑๖๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ภควา กปฺปํ ติฏฺฐตุ สุคโต กปฺปํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย


อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานนฺ”ติ. เทเสหิ ต ทุกฺกฏนฺติ.
อห โข ภนฺ เต มาเรน ปริยุ ฏฺฐิต จิ ตฺโต น ภควนฺต ยาจึ “ติฏฺฐ ตุ
ภควา กปฺปํ ติฏฺฐตุ สุคโต กปฺปํ พหุชนหิตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย
อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานนฺ ”ติ. นาห ต ทุกฺกฏ ปสฺสามิ , อปิ
จายสฺมนฺตาน สทฺธาย เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺติ.
อิ ท มฺ ปิ เต อาวุ โ ส อานนฺ ท ทุ กฺ ก ฏ , ย ตฺ ว มาตุ ค ามสฺ ส
ตถาคตปฺ ป เวทิ เต ธมฺ ม วิ น เย ปพฺ พชฺ ช อุ สฺ สุ กฺ ก อกาสิ . เทเสหิ ต
ทุกฺกฏนฺติ.
อห โข ภนฺเต “อย มหาปชาปติ โคตมี ภควโต มาตุจฺฉา อาปาทิ
กา โปสิกา ขีรสฺส ทายิกา ภควนฺต ชเนตฺติยา กาลงฺกตาย ถญฺญ ปาเยสี ”ติ
มาตุคามสฺส ตถาคตปฺปเวทิเตธมฺมวินเย ปพฺพชฺช อุสฺสุกฺก อกาสึ . นาห ต
ทุ กฺ ก ฏ ปสฺ ส ามิ , อปิ จ ายสฺ ม นฺ ต าน สทฺ ธ าย เทเสมิ ต ทุ กฺ ก ฏนฺ ติ .๓๑๖
พระไตรปิฎกภาษาไทยแปล ดังนี้

๗.๖ เรื่องปรับอาบัติท่านพระอานนท์ ๕ กรณี


๑. ครั้งนั้น ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวกับท่านพระอานนท์ดังนี้ว่า “ท่าน
อานนท์การที่ท่านไม่ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า “พระพุทธเจ้าข้าสิกขาบทข้อ
ไหนจัดเป็น สิกขาบทเล็กน้อย เรื่องนี้ปรับอาบั ติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดง
อาบัตินั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมไม่ได้กราบทูลถามพระผู้
มีพระภาคว่า “พระพุทธเจ้าข้า สิ กขาบทข้อไหนที่จัดเป็นสิ กขาบทเล็กน้อย

๓๑๖
วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๔๓/๒๘๐-๒๘๑ มหาจุฬาเตปิฏก.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๖๕

เพราะระลึกไม่ได้ กระผมไม่เห็นอาบัติทุกกฏนั้น แต่เพราะเชื่อฟังท่านทั้งหลาย


กระผมจะแสดงอาบัติ ทุกกฏ”
๒. ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่ท่านเหยียบ
ผ้าวัสสิกสาฎกของพระผู้มีพระภาคแล้วปะชุน เรื่องนี้ปรับอาบัติทุกกฏ แก่ท่าน
ท่านจงแสดงอาบัติทุกกฏนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมเหยียบผ้าวัสสิกสาฎก
ของพระผู้มีพระภาคไม่ใช่เพราะความไม่เคารพ กระผมไม่เห็นอาบัติทุกกฏนั้น
แต่เพราะเชื่อฟัง ท่านทั้งหลาย กระผมจะแสดงอาบัติทุกกฏ”
๓. ภิ ก ษุ ผู้ เถระทั้ งหลายกล่ าวต่ อ ไปว่า “ท่ านอานนท์ การที่ ท่ า นให้
มาตุคาม ถวายอภิวาทพระสรีระของพระผู้มีพระภาคก่อน พระสรีระจึงเปียก
เปื้อนน้าตาของมาตุคามเหล่านั้นผู้ร้องไห้ เรื่องนี้ปรับอาบัติทุกกฏแก่ท่าน ท่าน
จงแสดงอาบัติทุกกฏนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมตระหนักว่า มาตุคาม
เหล่านี้อย่ารออยู่จนถึงเวลาวิกาล จึงให้ พวกเธอถวายอภิวาทพระสรีระของ
พระผู้ มีพ ระภาคก่อน กระผมไม่เห็ น อาบั ติทุ กกฏนั้ น แต่เพราะเชื่อฟั งท่ าน
ทั้งหลาย กระผมจะแสดง อาบัติทุกกฏ”
๔. ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่พระผู้มีพระ
ภาคทรงทานิมิตโอภาสอย่างหยาบ ๆ ท่านกลับไม่กราบทูลอ้อน วอนพระองค์
ว่า “ขอพระผู้มีพระภาคโปรดดารงพระชนม์ชีพอยู่ตลอด กัป ขอพระสุคตโปรด
ดารงพระชนม์ชีพอยู่ตลอดกัป เพื่อเกื้อกูลแก่ พหูชน เพื่อความสุขแก่พหูชน
เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและ
มนุษย์ทั้งหลาย เรื่องนี้ปรับ อาบัติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดงอาบัติทุกกฏนั้น”
๑๖๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ท่านพระอานนท์ ชี้แจงว่า “ท่านผู้ เจริ ญ กระผมถูกมารดลใจจึงไม่ได้


กราบทูลอ้อนวอนพระผู้มีพระภาคไว้ว่า “ขอพระผู้มีพระภาคโปรดดารงพระ
ชนม์ชีพ อยู่ ตลอดกัป ขอพระสุ คตโปรดด ารงพระชนม์ชีพ อยู่ตลอดกัป เพื่ อ
เกื้ อ กู ล แก่ พ หู ช น เพื่ อ ความ สุ ข แก่ พ หู ช น เพื่ อ อนุ เคราะห์ ช าวโลก เพื่ อ
ประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระผมไม่
เห็นอาบัติทุกกฏนั้น แต่เพราะเชื่อฟังท่านทั้งหลาย กระผมจะแสดงอาบัติทุก
กฏนั้น”
๕. ภิกษุผู้ เถระทั้งหลายกล่ าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่ท่านขวน
ขวายให้มาตุคามบวชในพระธรรมวิ นัยอันพระตถาคตประกาศไว้แล้ว เรื่องนี้
ปรับอาบัติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดงอาบัติทุกกฏนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ กระผมขวนขวายให้มาตุคาม
บวชใน พระธรรมวินัยอันพระตถาคตประกาศไว้แล้ว เพราะคิดว่า “พระนาง
มห าปช าบดี โคตมี ผู้ นี้ เ ป็ น พ ระมาตุ จ ฉาของพ ระผู้ มี พ ร ะภ าค เคย
ประคับประคองดูแล ถวายเกษียรธาร เมื่อพระชนนีสวรรคต กระผมไม่เห็ น
อาบัติทุกกฏนั้น แต่เพราะเชื่อฟังท่านทั้งหลาย กระผมจะแสดงอาบัติทุกกฏ
นั้น” ๓๑๗
พระไตรปิฎกภาษาไทยทุกฉบับแปลอย่างนี้ คือ พระไตรปิ ฎกภาษาไทย
เล่ม ๑๑ พระวินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๓ อนุสรณ์งานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ
พุทธศักราช ๒๕๐๐, พระนคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๐๐, ข้อ ๖๒๒ หน้า
๒๖๑-๒๖๓, พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่ม ๗
จุลวรรค ภาค ๒ พิมพ์ในปีฉลองรัชดาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว
รัชกาลที่ ๙ พุทธศักราช ๒๕๑๔, พระนคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๑๕, ข้อ

๓๑๗
วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๔๓/๓๘๔-๓๘๕ ฉบับมหาจุฬา.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๖๗

๖๒๒ หน้า ๓๑๐-๓๑๒, พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง เล่มที่ ๗ พระวินัย


ปิฎก เล่ม ๗ จุลวรรค ภาค ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๓ พุทธศักราช ๒๕๒๑, พระนคร :
โรงพิ ม พ์ ก ารศาสนา, ๒๕๒๑, ข้ อ ๖๒๒ หน้ า ๓๑๐-๓๑๒, พระไตรปิ ฎ ก
ภาษาไทยฉบับหลวง เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี เล่มที่ ๗
พระวินั ย ปิ ฎ ก เล่ ม ๗ จุล วรรค ภาค ๒ พิมพ์ครั้งที่ ๔ พุ ทธศักราช ๒๕๒๕,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๒๕, ข้อ ๖๒๒ หน้า ๒๕๒-๒๕๔,
พระไตรปิ ฎ กภาษาไทยฉบั บ สั งคายนา ในพระบรมราชูป ถัมภ์ พุท ธศักราช
๒๕๓๐ พระบาลี วิ นั ย ปิ ฎ ก จุ ล ลวรรค ทุ ติ ย ภาค, กรุ ง เทพมหานคร :
โรงพิ ม พ์ ก ารศาสนา, ๒๕๓๐, ข้ อ ๒๐๐ หน้ า ๓๔๖-๓๔๘, พระวิ นั ย ปิ ฎ ก
จุ ล วรรค เล่ ม ๗ ภาค ๒ ฉบั บ มหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย หน้ า ๕๑๘-๕๒๐.
พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติ
สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี นาถ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๙ ,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย , ๒๕๓๙, ข้อ ๔๔๓
หน้า ๓๘๔-๓๘๕.
คาแปลปรับอาบัติทุกกฏพระอานนท์นั้น ภาษาบาลีใช้คาว่า “อิทนฺเต
อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ , ย ตฺว ... เทเสหิ ต ทุกฺกฏ ๓๑๘ : ท่านอานนท์การที่ท่าน
... เรื่องนี้ป รับอาบั ติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดงอาบัติทุกกฏนั้ น” ข้อความ
ภาษาบาลี ทั้งหมดนั้ น เมื่อจะแปลให้ รับ กับ การที่พระสาวกทั้งหลายมีมติไม่
บัญญัติเรื่องที่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงบัญญัติไว้ ไม่เพิกถอนเรื่องที่พระพุทธเจ้า
ทรงบัญญัติไว้ และสอดคล้องกับคาอธิบายในอรรถกถา และลงกันสมกันกับบท

๓๑๘
วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๔๓/๒๘๐-๒๘๑. มหาจุฬาเตปิฏก.
๑๖๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

พยัญชนะที่มีการใช้ในหลายคัมภีร์ ควรแปลตามที่ผู้วิจัยเสนอคาแปล ดังนี้


ครั้งนั้น ภิกษุผู้ เถระทั้งหลายกล่าวกับท่านพระอานนท์ดังนี้ว่า “ท่าน
อานนท์การที่ท่านไม่ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า สิกขาบทข้อ
ไหนจัดเป็นสิกขาบทเล็กน้อย’ นี้ท่านทาไม่ดี ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่องที่
ท่านทาไม่ดีนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่ได้กราบทูลถามพระ
ผู้มีพระภาคว่า ‘พระพุทธเจ้าข้า สิกขาบทข้อไหนที่จัดเป็นสิกขาบทเล็กน้อย’
เพราะระลึกไม่ได้ข้าพเจ้าไม่เห็นเรื่องที่ไม่ได้กราบทูลถามนั้นว่าเป็นสิ่งที่ทาไม่ดี
แต่เพราะเชื่อฟังท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยอมแสดงสิ่งที่ทาไม่ดีนั้น”
ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่ท่านเหยียบ
ผ้าวัสสิกสาฏกของพระผู้มีพระภาคแล้วปะชุนนี้ท่านทาไม่ดี ท่านจงแสดง
(ยอมรับ)เรื่องที่ท่านทาไม่ดีนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าเหยียบผ้ าวัสสิกสาฏ
กของพระผู้มีพระภาคไม่ใช่เพราะความไม่เคารพ ข้าพเจ้าไม่เห็นเรื่องที่เหยียบ
ผ้ า วั ส สิ ก สาฏกเย็ บ นั้ น ว่ า เป็ น สิ่ ง ที่ ท าไม่ ดี แต่ เพราะเชื่ อ ฟั ง ท่ า นทั้ ง หลาย
ข้าพเจ้าขอยอมแสดงสิ่งที่ทาไม่ดีนั้น”
ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่ท่านให้มาตุคาม
ถวายอภิวาทพระสรีระของพระผู้มีพระภาคก่อน พระสรีระจึงเปียกเปื้อนน้าตา
ของมาตุคามเหล่านั้นผู้ร้องไห้นี้ท่านทาไม่ดี ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่องที่ท่าน
ทาไม่ดีนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าตระหนักว่า มาตุคาม
เหล่านี้อย่ารออยู่จนถึงเวลาวิกาล จึงให้ พวกเธอถวายอภิวาทพระสรีระของ
พระผู้มีพระภาคก่อน ข้าพเจ้าไม่เห็นเรื่องที่ให้มาตุคามถวายอภิวาทพระสรีระ
ของพระผู้มีพระภาคก่อนนั้นว่าเป็นสิ่งที่ทาไม่ดี แต่เพราะเชื่อฟังท่านทั้งหลาย
ข้าพเจ้าขอยอมแสดงสิ่งที่ทาไม่ดีนั้น”
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๖๙

ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่พระผู้มีพระภาค


ทรงทานิ มิตโอภาสอย่ างหยาบๆ ท่านกลั บ ไม่กราบทู ลอ้อนวอนพระองค์ว่า
‘ขอพระผู้ มีพ ระภาคโปรดดารงพระชนม์ชีพอยู่ตลอดกัป ขอพระสุ คตโปรด
ดารงพระชนม์ชี พอยู่ตลอดกัป เพื่อเกื้อกู ลแก่พหู ชน เพื่อความสุขแก่พหูช น
เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและ
มนุษย์ทั้งหลาย’ นี้ท่านทาไม่ดี ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่องที่ท่านทาไม่ดีนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าถูกมารดลใจจึงไม่ได้
กราบทูลอ้อนวอนพระผู้มีพระภาคว่า ‘ขอพระผู้มีพระภาคโปรดดารงพระชนม์
ชีพอยู่ตลอดกัป ขอพระสุคตโปรดดารงพระชนม์ชีพอยู่ตลอดกัป เพื่อเกื้อกูลแก่
พหู ช น เพื่ อความสุ ขแก่พหู ชน เพื่ออนุ เคราะห์ ช าวโลก เพื่อประโยชน์ เพื่ อ
เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย’ ข้าพเจ้าไม่เห็นเรื่องที่พระผู้
มีพ ระภาคทรงท านิ มิตโอภาสแล้ ว ข้าพเจ้ ากลั บ ไม่ก ราบทู ล อ้อนวอนขอให้
พระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่ตลอดกัปนั้นว่า เป็นสิ่งที่ทาไม่ดี แต่เพราะเชื่อฟัง
ท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยอมแสดงสิ่งที่ทาไม่ดีนั้น”
ภิกษุผู้เถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า “ท่านอานนท์ การที่ท่านขวนขวาย
ให้มาตุคามบวชในพระธรรมวินัยอันพระตถาคตประกาศไว้แล้วนี้ท่านทาไม่ดี
ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่องที่ท่านทาไม่ดีนั้น”
ท่านพระอานนท์ชี้แจงว่า “ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขวนขวายให้มาตุคาม
บวชในพระธรรมวินัยอัน พระตถาคตประกาศไว้แล้ว เพราะคิดว่า ‘พระนาง
มหาปชาบดีโคตมีผู้นี้เป็นพระมาตุฉาของพระผู้มีพระภาค เคยประคับประคอง
ดูแล ถวายเกษียรธารเมื่อพระชนนีสวรรคต’ ข้าพเจ้าไม่เห็นเรื่องการขวนขวาย
ให้มาตุคามบวชในพระธรรมวินัยอันพระตถาคตประกาศไว้แล้วนั้นว่าเป็นสิ่งที่
๑๗๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ทาไม่ดี แต่เพราะเชื่อฟังท่านทั้ งหลาย ข้าพเจ้าขอยอมแสดงสิ่งที่ทาไม่ดี


นั้น”
ข้อความในพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ไม่มีหัวข้อเรื่องการปรับอาบัติ
พระอานนท์ ในฉบับภาษาไทยคณะกรรมแปลตั้งหัวข้อขึ้นมาเอง เมื่อปรากฏ
นานเข้าก็ทาให้เป็นเหมือนรอยจารึกบนแผ่นศิลา ทาให้ผู้ศึกษาเกิดความเชื่อว่า
เป็นเรื่องการปรับอาบัติพระอานนท์จริง
เมื่อยกข้อความภาษาบาลี และคาแปลเก่ากับคาแปลที่ผู้วิจัยนาเสนอ
ใหม่ จัดเป็นจดจานามาเพื่อสอบทานเทียบเคียงแล้ว ต่อไป พึงศึกษาคาอธิบาย
เอกสารชั้ น รองลงมา คื อ ค าอธิ บ ายในอรรถกถา คื อ ค าอธิ บ ายในคั ม ภี ร์
สมันตปาสาทิกา วินัยอรรถกถา ที่พระพุทธโฆสาจารย์รวบรวมคาอธิบายเรื่อง
นี้ซึ่งเป็นภาษาสิงหลแล้วแต่งแปลเป็นภาษาบาลีเมื่อประมาณ พ.ศ. ๙๐๐ มี
ฉบับเป็นภาษาไทย เมื่ออ่านแล้วก็พอจะกาหนดความได้ ดังนี้
อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏนฺติ “อิท ตยา ทุฏฺฐุ กตนฺ”ติ
เกวล ครหนฺ เตหิ เถเรหิ วุ ตฺ ต , น อาปตฺ ตึ สนฺ ธ าย วุ ตฺ ต . น หิ เต
อาปตฺตานาปตฺตึ น ชานนฺติ. อิทาเนว เหตอนุสฺสาวิต “สโฆ อปญฺ ตฺต น
ปญฺ เปติ ปญฺ ตฺต น สมุจฺฉินฺ ทตี ”ติ. เทเสหิ ต ทุกฺกฏนฺ ติ อิทมฺปิ จ
“อาม ภนฺ เต, ทุ ฏฺ ฐุ มยา กตนฺ ”ติ เอว ปฏิ ช านาหิ ต ทุ กฺ กฏนฺ ติ อิ ท
สนฺ ธ าย วุตฺ ต , นอาปตฺ ติเทสน . เถโร ปน ยสฺ มา อสติ ยา น ปุ จฺฉิ, น
อนาทเรน, ตสฺมา ตตฺถ ทุฏฺฐุกตภาวมฺปิ อสลฺลกฺเขนฺโต “นาห ต ทุกฺกฏ
ปสฺ ส ามี ”ติ วตฺ ว า เถเรสุ คารว ทสฺ เสนฺ โต “อปิ จ ายสฺ ม นฺ ต าน สทฺ ธ าย
เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺ ”ติ อาห. ยถา ตุเมฺห วทถ, ตถา ปฏิชานามีติ วุตฺต
โหติ.๓๑๙

๓๑๙
วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๑๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๗๑

คาว่า อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ : ท่านอานนท์ เรื่องแม้นี


ท่านทาไม่ดี๓๒๐ พระเถระทั้งหลาย เมื่อจะตาหนิอย่างเดียวจึงกล่าวว่า “เรื่อง
นี้ท่านทาไม่ดี ” มิได้กล่าวหมายถึงอาบั ติ พระเถระเหล่านั้น ไม่ใช่จ ะไม่รู้จัก
อาบัติและมิใช้อาบัติ
จริ งอยู่ บั ด นี้ เอง พระมหากั ส สปะได้ ป ระกาศค านี้ ว่ า “สงฆ์ จ ะไม่
บัญญัติสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคไม่ได้ทรงบัญญัติไว้ จะไม่ถอนสิกขาบทที่
พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้ว”
อนึ่ ง แม้คานี้ ว่า เทเสหิ ต ทุกฺกฏ : ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่องที่
ท่ า นท าไม่ ดี นั น ๓๒๑ พระเถระทั้ งหลายกล่ าวหมายถึ งค าพู ดนี้ ว่ า “ท่ านจง
ยอมรั บ การท าไม่ ดี นั้ น อย่ า งนี้ ว่า อย่ างนั้ น ท่ านผู้ เจริญ ข้ าพเจ้าท าชั่ ว ช้ า ”
ไม่ได้กล่าวหมายถึงให้แสดงอาบัติ
ฝ่ายพระเถระไม่ได้ทูลถาม(ถึงสิกขาบทเล็กน้อย)แล้ว เพราะระลึกไม่ได้
มิใช่ไม่เอื้อเฟื้อ ดังนั้น ท่านเมื่อกาหนดไม่ได้แม้ซึ่งความเป็นการทาเสีย เพราะ
ไม่ได้ทูลถามนั้นๆ จึงกล่าวว่า “ข้าพเจ้าไม่เห็นความทาเสียนั้น” เมื่อจะแสดง
ความเคารพในพระเถระทั้งหลาย จึงกล่าวว่า “แต่ข้าพเจ้าเชื่อท่านทั้งหลาย
จึงขอแสดงความท าเสี ย นั้ น มี ค าอธิ บ ายว่ า ข้ าพเจ้ าขอยอมรั บ ตามที่ ท่ า น
ทัง้ หลายกล่าว”๓๒๒

๓๒๐
อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ สานวนเดิมแปลกันว่า “เรื่องนี้ปรับ
อาบัติทุกกฎแก่ทา่ น”.
๓๒๑
เทเสหิ ต อาวุโส ทุกฺกฏ สานวนเดิมแปลกันว่า “ท่านจงแสดงอาบัตินั้น”.
๓๒๒
ดูสานวนคาแปลฉบับพิมพ์เผยแพร่ใน จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระ
วินัย จุลวรรควรรณา, หน้า ๖๗๑-๖๗๓.
๑๗๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

เมื่อพิจารณาคาอธิบายแล้วดูจะไปต่างเรื่องกัน พระไตรปิฎกแปลเป็น
ปรับอาบัติทุกกฏ อรรถกถาอธิบายเป็นทาไม่เหมาะสม พระพุทธโฆสาจารย์
อธิบายไม่ตรงประเด็น หรือผู้รู้ชาวไทย แปลไปเป็นคนละเรื่อง ผู้วิจัยเข้าใจตาม
ค าอธิ บ ายของพระอรรถกถาจารย์ คื อ การที่ พ ระอานนท์ แ สดงโทษ หรื อ
ยอมรับผิดนั้น มิใช่เป็นการแสดงอาบัติ ตามเรื่องที่ปรากฏ มีพ ระภิกษุที่แสดง
โทษหรือยอมรับผิดในทานองนี้ เช่นกัน ดังเรื่องที่ภิกษุทั้งหลาย ช่วยกันเย็บ
จีวรถวายพระพุทธเจ้า สาหรับทรงใช้เสด็จเที่ยวจาริก แต่ท่านพระภัททาลิ มิได้
ช่ ว ยจึ ง ถู ก ภิ ก ษุ เ หล่ า นั้ น ต าหนิ ตั ก เตื อ นให้ รู้ ว่ า ท่ า นผิ ด ท่ า นจึ ง เข้ า เฝ้ า
พระพุทธเจ้ากราบทูลขอรับผิด ข้อความภาษาบาลี ดังนี้
อายสฺ ม า ภทฺ ท าลิ ... เยน ภควา เตนุ ป สงฺก มิ ; อุ ป สงฺก มิ ตฺ ว า
ภควนฺ ต อภิ ว าเทตฺ ว าเอกมนฺ ต นิ สี ทิ . เอกมนฺ ต นิ สิ นฺ โ น โข อายสฺ ม า
ภทฺ ท าลิ ภควนฺ ต เอตทโวจ “อจฺ จ โย ม ภนฺ เต อจฺ จ คมา ยถาพาล
ยถามูฬฺห ยถาอกุสล , โยห ภควตา สิกฺขาปเท ปญฺญาปิยมาเน ภิกฺขุสเฆ
สิ กฺข สมาทิ ย มาเน อนุ สฺ ส าห ปเวเทสึ . ตสฺ ส เม ภนฺ เต ภควา อจฺจ ย
อจฺจยโต ปฏิคฺคณฺหาตุอายตึ สวรายา”ติ.๓๒๓
ท่านภั ท ทาลิ ได้เข้าเฝ้ าพระผู้ มี พ ระภาคถวายอภิ วาทแล้ ว นั่ง ณ ที่
สมควรด้านหนึ่ง ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค ดังนี้ว่า “พระองค์ผู้เจริญ โทษได้
ครอบงาข้าพระองค์ ผู้ เป็ น คนโง่ เป็ น คนหลง ไม่ ฉลาด ผู้ ป ระกาศความไม่
สามารถใน(การรักษา)สิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ (และ)ให้ภิกษุ
สงฆ์สมาทานศึกษาอยู่ ขอพระผู้มีพระภาคทรงรับรู้โทษของข้าพระองค์นั้นโดย
ความเป็นโทษ เพื่อความสารวมระวังต่อไปเถิด”
เมื่อ มีผู้ ชี้ โทษแล้ ว ต้องยอมรับ ผู้ ไม่ ย อมรับถื อว่าเป็น คนพาล ดังที่

๓๒๓
ม.ม. (บาลี) ๑๓/๑๓๕/๑๑๑.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๗๓

พระพุทธเจ้าตรัสว่า
เทฺ ว เม ภิ กฺข เว พาลา. กตเม เทฺ ว . โย จ อจฺ จย อจฺ จยโต น
ปสฺ ส ติ , โย จ อจฺ จ ย เทเสนฺ ตสฺ ส ยถาธมฺม นปฺ ปฏิ คฺคณฺ ห าติ . ... ‘เทฺ วเม
ภิ กฺ ข เว ปณฺ ฑิ ต า. กตเม เทฺ ว . โย จ อจฺ จ ย อจฺ จ ยโต ปสฺ ส ติ , โย จ
อจฺ จ ย เทเสนฺ ต สฺ ส ยถาธมฺ ม ปฏิ คฺ ค ณฺ ห าติ . อิ เม โข ภิ กฺ ข เว เทฺ ว
ปณฺ ฑิตา.๓๒๔ แปลว่า “ภิกษุทั้งหลาย คนพาล ๒ จาพวกนี้ คือ (๑) คนที่ไม่
เห็นโทษโดยความเป็นโทษ (๒) คนที่ไม่ยอมรับตามความเป็นจริงเมื่อบุคคลอื่น
แสดงโทษ … ภิกษุทั้งหลาย บั ณ ฑิต ๒ จาพวกนี้ คือ (๑) คนที่เห็ นโทษโดย
ความเป็นโทษ (๒) คนที่ยอมรับตามความเป็นจริงเมื่อบุคคลอื่นแสดงโทษ”
พระอานนท์ท่านเป็นบัณ ฑิต ท่านไม่เห็นว่าตนผิด แต่เพราะเชื่อพระ
เถระทั้งหลาย ท่านจึงยอมรับ ผิ ด การปรับ อาบัติทุกกฏ เท่าที่ ค้นคว้าศึกษา
พระพุทธองค์ทรงใช้คาว่า “อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส ” แปลว่า “ต้องอาบัติทุกกฏ”
เช่น “น จ ภิกฺข เว สพฺ พมตฺติกามยา กุ ฏิกา กาตพฺพ า, โย กเรยฺย , อาปตฺติ -
ทุกฺกฏสฺส๓๒๕ แปลว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงทากุฎีดินล้วน ภิกษุใดทา ต้อง
อาบัติทุกกฏ”
น ภิกฺขเว นหายมาเนน ภิกฺขุนา รุกฺเข กาโย อุคฺฆเสตพฺโพ, โย
อุคฺฆเสยฺย, อาปตฺติทุกฺกฏสฺส ๓๒๖ ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเมื่อจะสรงน้า ไม่พึงขัดสี
กายกับต้นไม้ รูปใดขัดสี ต้องอาบัติทุกกฏ
น ภิ กฺ ข เว ภิ กฺ ขุ นิ ย า อตฺ ต โน ปริ โ ภคตฺ ถ าย ทิ นฺ น อญฺ เ ญส

๓๒๔
องฺ.ทุก. (บาลี) ๒๐/๒๒/๕๘-๕๙.
๓๒๕
วิ.มหา. (บาลี) ๑/๘๕/๕๖.
๓๒๖
วิ.จู. (บาลี) ๗/๒๔๓/๑.
๑๗๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ทาตพฺพ, ยา ทเทยฺย, อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส๓๒๗ แปลว่า ภิกษุทั้งหลาย อาหารที่


ทายกถวายให้ตนฉัน ภิกษุณีไม่พึงให้แก่ผู้อื่น รูปใดให้ ต้องอาบัติทุกกฏ
เมื่อนาข้อความมาเทียบกันจะเห็นว่า เกณฑ์การปรับอาบัติ ที่เป็นพระ
บัญญัตินั้นซึ่งผู้วิจัยยกมาเป็นอุทาหรณ์ ทรงใช้ถ้อยคาที่เป็นแบบตรงกันหมด
สิกขาบทที่ทรงบัญญัติปรับอาบัติทุกกฏในคัมภีร์มหาวรรคกับจูฬวรรค จานวน
๖๐๔ ข้ อ แบ่ ง เป็ น ของฝ่ า ยภิ ก ษุ ๕๑๔ ข้ อ ของฝ่ า ยภิ ก ษุ ณี ๙๐ ข้ อ
ตรงข้ อ ความว่า “ต้ อ งอาบั ติ ทุ ก กฏ” จะทรงใช้ค าว่า “อาปตฺ ติ ทุ กฺ ก ฏสฺ ส ”
ทุกแห่ง๓๒๘
การปรั บ อาบั ติ พ ระอานนท์ นี้ เป็ น เรื่ อ งของกรรมการผู้ แ ปล
พระไตรปิฎก ท่านแปลเรื่องที่พระเถระทั้งหลายกล่าวตาหนิพระอานนท์เป็น
เรื่องปรับอาบัติพระอานนท์ ซึ่งแปลตรงกันทุกฉบับ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๐๐ ถึงฉบับ
พ.ศ. ๒๕๔๙ แม้แต่ฉบับมหาจุฬาฯ ก็แปลเหมือนกัน เพราะเห็นคาว่า “อิทนฺเต
อาวุ โ ส อานนฺ ท ทุ กฺ ก ฏ , ย ตฺ ว ... เทเสหิ ต ทุ กฺ ก ฏ ” ซึ่ งมี ค าว่ า “ทุ กฺ ก ฏ ”
ข้อความนี้ถ้าแปลว่า “ท่านอานนท์ การที่ท่าน ... นี้ท่านทาไม่ดี ท่านจงแสดง
(ยอมรั บ )เรื่ อ งที่ ท่ านท าไม่ ดี นั้ น ” ก็ จ ะไม่ มี ปั ญ หาข้ อ สงสั ย ว่ า “ท าไมพระ
อรหันต์ทั้งหลายจึงปรับอาบัติพระอานนท์” ทั้งที่พระมหากัสสปเถระก็ได้สวด
ประกาศไปแล้วว่าจะไม่บัญญัติสิ่งที่พระพุทธเจ้ามิได้ทรงบัญญัติ จะไม่เพิกถอน
สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญยัติไว้
เพื่ อ จะหาข้ อ ยุ ติ ใ นเรื่ อ งนี้ จ าเป็ น ต้ อ งศึ ก ษาสอบสวนดู ใ นส่ ว น
สุ ต ตานุ โ ลมและอาจริ ย วาท สุ ต ตานุ โ ลม ก็ คื อ ข้ อ ความสนั บ สนุ น จาก

๓๒๗
วิ.จู. (บาลี) ๗/๒๔๓/๑.
๓๒๘
ดูรายละเอียดใน วินยักกมจันทิกา : สิกขาปทักกมะ บาลี -แปล, รังษี สุทนต์
แปลและเรียบเรียง,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๔๗), หน้า [๒๖] (บทนา),
๒-๑๘๖.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๗๕

พระไตรปิฎกด้วยกัน เพื่อสนับสนุนคาว่า “ทุกฺกฏ” ที่มิได้หมายถึงอาบัติทุกกฏ


จากการค้นคว้าศึกษาข้อมูลที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ได้พบว่า มีการใช้คาว่า
ทุกฺกฏ ที่มิได้หมายถึงอาบัติทุกกฏ ผู้วิจัยขอนามาเป็นอุทาหรณ์ ดังต่อไปนี้
ในคัมภีร์ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค มีเรื่ องที่มหาพรหมตาหนิภิกษุมาถาม
ปัญหาตนแทนที่จ ะกราบทูลถามพระพุทธองค์ ข้ อความที่มหาพรหมตาหนิ
ภิกษุ ดังนี้
อถโข โส มหาพฺรหฺมา ต ภิกฺขุ พาหาย คเหตฺวา เอกมนฺต อปเนตฺวา ต
ภิกฺขุ เอตทโวจ“... อหปิ โข ภิกฺขุ น ชานามิ, ยตฺถิเม จตฺตาโร มหาภูตา
อปริเสสา นิ รุ ชฺฌ นฺ ติ , เสยฺ ยถีทปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วโยธาตูติ ,
ตสฺ ม าติ ห ภิ กฺ ขุ ตุ ยฺ เหเวต ทุ กฺ ก ฏ ตุ ยฺ เหเวต อปรทฺ ธ ,ย ตฺ ว ภควนฺ ต
อภิมุญฺจิตฺวา พหิทฺธา ปริเยฏฺฐึ อาปชฺชสิ อิมสฺส ปญฺหสฺส เวยฺยากรณาย,
คจฺฉ ภิกฺขุ ตเมว ภควนฺต อุปสงฺกมิตฺวา อิม ปญฺห ปุจฺฉ, ยถา เต ภควา
พฺยากโรติ, ตถา น ธาเรยฺยาสีติ.๓๒๙
ทันใดนั้น ท้าวมหาพรหมนั้น ได้จับแขนภิกษุนั้นพาไปยังสถานที่ด้าน
หนึ่งแล้วกล่าวกับภิกษุนั้นว่า ... แม้เราก็ไม่ทราบที่มหาภูตรูป ๔ คือ ปฐวีธาตุ
อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ดับสนิทเหมือนกัน เพราะฉะนั้น ภิกษุ ใน
เรื่ องนี้ การที่ท่านละเลยพระผู้ มี พระภาคแล้ ว มาหาคาตอบเรื่องนี้ ภ ายนอก
นับว่าท่านทาผิด (ตุยฺเหเวต ทุกฺกฏ) นับว่าท่านทาพลาด ไปเถิด ภิกษุ ท่านจง
ไปเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคกราบทูล ถามปั ญหาข้อนี้ และท่านพึงจาไว้ตามที่
พระผู้มีพระภาคตรัสตอบ

๓๒๙
ที.สี. (บาลี) ๙/๔๙๕/๒๒๒.
๑๗๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ข้ อ ความว่ า “ตุ ยฺ เหเวต ทุ กฺ ก ฏ : ข้ อ นั้ น ท่ า นท าผิ ด ” คื อ ที่ ไ ม่ ถ าม


พระพุทธเจ้าแต่มาเที่ยวถามผู้อื่นก็ตรงกับความเป็นจริงกับเรื่องราวต่างๆ ที่
ปรากฏในพระไตรปิฎก ไม่มีการปรับอาบัติทุกกฎภิกษุที่ไม่ทูลถามพระพุทธเจ้า
ถึงปัญหาที่ตนสงสัย
ในคัมภีร์สังยุตตนิ กาย สฬายตนวรรค ได้เล่ าเรื่องที่พระพุทธเจ้าตอบ
ปัญหาของอดีตนักรบซึ่งมาทูลถามว่า เขาได้ฟังอาจารย์ที่สอนการศึกสงคราม
สอนกันต่อๆ มาว่า นักรบที่อุตสาห์พยายามต่อสู้ในสงคราม ถ้าถูกฆ่าตาย เขา
จะได้ไปเกิดอยู่กับพวกเทวดาสรชิต ข้อความที่พระพุ ทธองค์ตรัสตอบเขาตอน
หนึ่ง ดังนี้
อปิ จ ตฺ ย าห พฺ ย ากริ สฺ ส ามิ . โย โส คามณิ โยธาชี โ ว สงฺ ค าเม
อุสฺสหติ วายมติ, ตสฺส ต จิตฺต ปุ พฺเพ คหิต ทุกฺกฏ ทุปฺปณิหิ ต “อิเม
สตฺตา หญฺญนฺตุ วา พชฺฌนฺตุ วา อุจฺฉชฺชนฺตุ วา วิ นสฺสนฺตุ ว มา วา
อเหสุ อิติ วา”ติ, ตเมน อุสฺสหนฺต วายมนฺต ปเร หนนฺติ ปริยาปาเทนฺติ ,
โส กายสฺส เภทา ปร มรณา สรชิโต นาม นิรโย, ตตฺถ อุปปชฺชตี”ติ.๓๓๐
เอาละ เราจะตอบท่ า น ท่ า นนายบ้ า น นั ก รบอาชี พ คนใดอุ ต สาห์
พยายามในการสงคราม เขายึดจิตไว้ ทาจิ ตไว้ ผิด (ทุกฺกฏ) ตั้งจิตไว้ไม่ดี ใน
เบื้องตนว่า สัตว์เหล่านี้จงถูกฆ่า จงถูกแทง จงขาดสูญ จงพินาศ หรืออย่าได้มี
ชีวิตอยู่เลย พวกนั กรบฝ่ ายข้าศึก สั งหารเขาผู้อุตสาห์ พยายามนั้นจนถึงแก่
ความตาย หลังจากเขาตายไป เขาจะไปเกิดในนรกสรชิต
ข้อความว่า ตสฺส ต จิตฺต ปุพฺเพ คหิต ทุกฺกฏ ทุปฺปณิหิต : นักรบ
นั้นยึดจิต คือ ความคิดนั้นในเบื้องต้น นับว่าทาจิตไม่ดี (ทุกฺกฏ) นับว่าตั้งจิตไว้
ผิ ด ตรงนี้ แปลเป็ น อาบั ติทุ กกฏ ไม่ได้ แน่ น อน เพราะชาวบ้ านไม่มี การต้อ ง

๓๓๐
ส.สฬา. (บาลี) ๑๘/๓๕๕/๒๗๙.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๗๗

อาบัติทุกกฏ และอรรถกถาที่ อธิบายข้อความแห่งคาว่า ทุกฺกฏ ได้อธิบายว่า


ทุกฺกฏนฺติ ทุฏฺฐุ กต.๓๓๑ แปลว่า คาว่า ทุกฺกฏ ได้แก่นักรบนั้นทาไม่ดี
ในคัมภีร์ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ ได้เล่าเรื่องที่ พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดง
เรื่ อ งภิ ก ษุ ที่ มี ศี ล มี ธ รรมมี ปั ญ ญางาม ทรงถื อ ว่ า เป็ น พระอรหั น ต์ จ ริ ง แล้ ว
พระองค์ได้ทรงอธิบายขยายความการที่ภิกษุมีศีลมีธรรมมีปัญญางาม ทรงสรุป
ความเป็นพระคาถา ใจความว่า ภิกษุที่มีศีลมีธรรมมีปัญญางาม จะไม่มีการทา
ชั่วทางกาย วาจาและใจ ข้อความภาษาบาลี ดังนี้
ยสฺส กาเยน วาจา มนสา นตฺถิ ทุกฺกฏ ต เว “กลฺยาณสีโล”ติ อาหุ
ภิกฺขุ หิรีมน๓๓๒
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ ตรัสเรียกภิกษุที่ไม่ทาชั่วทางกาย
วาจา ใจ มีหิริครองใจนั้นว่า เป็นผู้มีศีลงาม
คาว่า ทุกฺกฏ ในคาถานี้ แม้จะเป็นการกระทาของภิกษุ ก็ไม่ใช่อาบัติทุก
กฏ เพราะอาบัติทางใจไม่ มี ซึ่งอรรถกถา คือคาอธิบายที่จัดเป็นหลักการอาจริ
ยวาท ได้อธิบายว่า ทุกฺกฏนฺติ ทุฏฺฐุ กต , ทุจฺจริตนฺติ อตฺโถ (ขุ.อิติ.อ. (บาลี)
๙๗/๓๕๑) “คาว่า ทุกฺกฏ ได้แก่ที่เขากระทาไม่ดี อธิบายว่า ที่เขาประพฤติผิด”
ก็พอจะเห็นแล้วว่า ทุกฺกฏ ถ้าปรากฏโดดๆ ไม่มีคาว่า อาปตฺติ จะไม่หมายถึง
อาบัติ แต่หมายถึงการกระทาที่ไม่ดี ซึ่งคัมภีร์ที่อธิบายกรณีพระอานนท์ ท่าน
ก็ได้อธิบ ายลงกัน สมกันกับ สุตตานุ โลมและอาจริยวาทในคัมภีร์อื่นๆ คือ ใน

๓๓๑
ส.สฬา.อ. (บาลี) ๓/๓๕๕/๑๖๕
๓๓๒
ขุ.อิต.ิ (บาลี) ๒๕/๙๗/๓๑๕
๑๗๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

คัมภีร์อรรถกถาที่อธิบายข้อความตอนที่แปลกันเป็นพระอานนท์ถูกปรับอาบัติ
นี้ ท่านเข้าใจดี ท่านไม่ได้หมายถึงการปรับอาบัติ ซึ่งท่านอธิบายไว้ว่า
อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏนฺ ติ อิท “ตยา ทุฏฺฐุ กตนฺ ”ติ
เกวล ครหนฺ เตหิ เถเรหิ วุ ตฺ ต , น อาปตฺ ตึ สนฺ ธ าย วุ ตฺ ต . น หิ เต
อาปตฺตานาปตฺตึ น ชานนฺติ . อิทาเนว เหต อนุสฺสาวิต “สโฆ อปญฺญตฺต
น ปญฺญเปติ ปญฺญตฺต น สมุจฺฉนฺทตี”ติ. เทเสหิ ต ทุกฺกฏนฺติ อิทมฺปิ จ
“อาม ภนฺ เต, ทุ ฏฺ ฐุ มยา กตนฺ ”ติ เอว ปฏิ ช านาหิ ต ทุ กฺก ฏนฺ ติ อิ ท
สนฺธาย วุตฺต, น อาปตฺตเทสน.๓๓๓
คาว่า อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ : ท่านอานนท์เรื่องนี้ท่านทาไม่
ดี อันพระเถระทั้งหลาย เพียงแต่จะกล่าวตาหนิว่า เรื่องนี้ท่านทาไม่ดี มิได้
กล่าวหมายถึงอาบัติ พระเถระเหล่านั้นไม่ใช่จะไม่ทราบว่าอะไรเป็นอาบัติ
อะไรไม่เป็นอาบัติ และพระมหากัสสปะก็ได้สวดประกาศให้ทราบแล้วในบัดนี้
เองว่า สงฆ์จะไม่บัญญัติสิกขาบทที่พระผู้ มีพระภาคไม่บัญญัติไว้ จะไม่เพิก
ถอนสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้
คาว่า เทเสหิ ต ทุกฺกฏ : ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่องที่ท่านทาไม่ดีนั้น นี้
พระเถระทั้งหลายกล่าวหมายเอาความนี้ว่า ท่านจงยอมรับการทาไม่ดีนั้นอย่าง
นี้ว่า ใช่แล้วท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้าทาไม่ดี มิได้กล่าวหมายถึงการแสดงอาบัติ
นอกจากคาอธิบายในอรรถกถา ที่จัดอยู่ในลาดับอาจริยวาทนี้แล้ว ยังมี
อรรถกถาที่มิได้อธิบายคาว่า ทุกฺกฏ แต่ได้ใช้ศัพท์ว่า ทุกฺกฏ ที่ห มายถึงการ
กระท าไม่ ดี เช่ น ในคั ม ภี ร์ สุ มั งคลวิ ล าสิ นี ที่ เล่ าประวั ติ ข องปู ร ณกั ส สปะ มี
ข้อความที่ใช้คาว่า ทุกฺกฏ ดังนี้

๓๓๓
วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๑๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๗๙

ปู ร โณติ ตสฺ ส สตฺ ถุ ป ฏิ ญฺ ญ สฺ ส นาม . กสฺ ส โปติ โคตฺ ต . โส กิ ร


อญฺ ญ ตรสฺ ส กุ ล สฺ ส เอกู น ทาสสต ปู รยมาโน ชาโต, เตนสฺ ส “ปู รโณ”ติ
นาม อกสุ. มงฺคลทาสตฺตา จสฺส“ทุกฺกฏนฺ”ติ วตฺตา นตฺถิ.๓๓๔
คาว่า ปู รโณ เป็ น ชื่อของเขาที่ป ฏิญ าณตนเป็นศาสดา คาว่า กสฺ สโป
เป็นโคตร (วงศ์ตระกูล) เล่ากันมาว่า กัสสปะนั้น เป็นทาสที่เต็มจานวน ๑๐๐
คนของตระกูลหนึ่ง ดังนั้น เขาจึงได้รับการตั้งชื่อว่า ปูรณะ ไม่มีใครพูดถึงเขาว่า
ทาไม่ดี (ทุกฺกฏ) เพราะเขาเป็นทาสที่เป็นมงคล
ข้อความจากคัมภีร์สุมังคลวิลาสินีที่ผู้วิจัยยกมาเป็นอุทาหรณ์สุดท้ายนี้
เป็นหลักฐานชั้นอาจริยวาท ทุกฺกฏ แปลเป็นอาบัติทุกกฏไม่ได้เด็ดขาด เพราะ
ปูรณกัสสปะมิได้เป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา นักภาษาบาลีเห็นคาว่า ทุกฺกฏ
เพราะความคุ้นกับอาบัติทุกกฏ จึงเข้าใจว่า เป็นเรื่องของอาบัติไปหมด เรื่องนี้
ในด้านคัมภีร์ที่แสดงความหมายแห่งศัพท์ได้ให้ความหมายแห่งทุกฺกฏศัพท์ไว้
ว่า
ทุกฺกฏ, ทุกฺกต เป็น ทุ บทหน้า กรธาต ในความกระทา หมายถึง บาป
อกุ ศ ล กรรมชั่ ว อโสภณ กต ทุ กฺ ก ฏ กรรมที่ บุ ค คลท าไม่ ดี ชื่ อ ว่ าทุ ก กฏะ
ทุ นินฺทิต กรณมสฺส ทุกฺกฏ กรรมอันน่ าติ เตียน ชื่อว่าทุกกฏะ ซ้อน กฺ ลบ รฺ
ที่สุดธาตุ แปลง ต เป็น ฏ ได้รูปเป็น ทุกฺกฏ (คัมภีร์อภิธานวรรณนา, พระมหา
สมปอง มุทิโต แปลเรียบเรียง, หน้า ๑๓๓.)

๓๓๔
ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๑๕๑/๑๓๐.
๑๘๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ก็ต้องยอมรับกัน ในวงการแปลพระไตรปิฎก คาแปลพระไตรปิฎ กนั้น


เป็นเพียงแนวศึกษา ดังนั้น ในประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาเถรวาทจึงต้อง
ศึกษาภาษาบาลี จะศึกษาพระไตรปิฎกต้องมีความรู้ภาษาบาลี และต้องรู้ใน
ระดับที่สามารถศึกษาเชื่อมโยงกันได้ทั้งบาลี อรรถกถาฏีกา และไวยากรณ์
เมื่อข้าพเจ้าไปอินเดียครั้งแรกปี ๒๕๔๔ ข้าพเจ้าได้ไปที่ถ้าสัตตบรรณ
คูหาสถานที่ทาสังคายนาครั้ งที่ ๑ ด้วย ศึกษาเรื่องการปรับอาบัติพระอานนท์
ต่อข้อความว่า
อิท เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏ , ... ย ... เทเสหิ ต ทุกฺกฏ จาก
ฉบั บ บาลี ในพระไตรปิ ฎ กภาษาไทยแปลกัน ว่า “ท่านอานนท์การที่ท่าน ...
เรื่ อ งนี้ ป รั บ อาบั ติ ทุ ก กฎ แก่ ท่ า น ท่ า นจงแสดงอาบั ติ นั้ น (พระไตรปิ ฎ ก
ภาษาไทยทุกฉบับแปลกันอย่างนี้)
ข้าพเจ้านายรังษี สุทนต์ ขอเสนอคาแปลใหม่ ดังนี้
“ท่านอานนท์การที่ท่าน.... นี้ท่านทาไม่ดี ท่านจงแสดง(ยอมรับ)เรื่อง
ที่ท่านทาไม่ดีนั้น ” ที่แปลอย่างนี้เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริง คือ พระ
สาวกทั้งหลายบัญญัติอาบัติไม่ได้ การบัญญัติ หรือกาหนดอาบัติ เป็นพุทธวิสัย
และเพื่อให้ลงกันสมกันกับคาอธิบายในคัมภีร์อรรถกถา ซึ่งท่านเข้าใจเรื่องนี้
ดีกว่ากรรมการแปลพระไตรปิฎก
อรรถกถาอธิบายว่า
อิทมฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏนฺติ “อิท ตยา ทุฏฺฐุ กตนฺ”ติ
เกวล ครหนฺเตหิ เถเรหิ วุตฺต, น อาปตฺตึ สนฺธาย วุตฺต. น หิ เต อาปตฺ
ตานาปตฺตึ น ชานนฺ ติ . อิทาเนว เหต อนุ สฺ สาวิต “สโฆ อปญฺ ตฺต น
ปญฺ เปติ ปญฺ ตฺต น สมุจฺฉินฺทตี”ติ.
เทเสหิ ต ทุกฺกฏนฺติ อิทมฺปิ จ “อาม ภนฺเต, ทุฏฺฐุ มยา กตนฺ”ติ
เอว ปฏิชานาหิ ต ทุกฺกฏนฺติ อิท สนฺธาย วุตฺต, น อาปตฺติเทสน. เถโร
ปน ยสฺมา อสติยา น ปุจฺฉิ, น อนาทเรน, ตสฺมา ตตฺถ ทุฏฺฐุกตภาวมฺปิ
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๘๑

อสลฺลกฺเขนฺโต “นาห ต ทุกฺกฏ ปสฺสามี”ติ วตฺวา เถเรสุ คารว ทสฺเสนฺโต


“อปิจายสฺมนฺตาน สนฺธาย เทเสมิ ต ทุกฺกฏนฺ”ติ อาห. ยถา ตุเมฺห วทถ,
ตถา ปฏิชานามีติ วุตฺต โหติ.
อิทฺปิ เต อาวุโส อานนฺท ทุกฺกฏนฺ ติ (ซึ่งแปลกันว่า เรื่องนี้ปรับ
อาบัติทุกกฏแก่ท่าน) นี้ อันพระเถระทั้งหลาย เพียงแต่จะติว่า "กรรมนี้อัน
ท่านทาไม่ดีแล้ ว " จึ งกล่ าวแล้ ว หาได้กล่ า วหมายถึงอาบั ติไม่ อันพระเถระ
เหล่านั้น จะไม่รู้จักอาบัติและมิใช้อาบัติ หามิได้
จริงอยู่ ในบัดนี้เอง ท่านพระมหากัสสปะได้ประกาศคานี้ว่า "สงฆ์ไม่
บัญญัติสิกขาบทที่พระผู้มีพระภาคไม่ทรงบัญญัติไว้ ไม่เลิกถอนสิกขาบทที่พระ
ผู้มีพระภาคทรงบัญญัติแล้ว"
อนึ่ง แม้คาว่า เทเสหิ ต อาวุโส ทุกฺกฏ (ซึ่งแปลกันว่า ท่านจงแสดง
อาบัตินั้น) นี้ อันพระเถระทั้งหลาย กล่าวหมายถึงความประสงค์นี้ว่า "ท่าน
จงปฏิ ญ ญาการไม่ถูกถามนั้ น ว่า เป็ น การทาเสี ย อย่างนี้ว่า 'ท่านผู้ เจริญ
ข้าพเจ้าทาไม่ดีจริง" จงกล่าวหมายถึงการแสดงอาบัติ หามิได้
ฝ่ายพระเถระไม่ทูลถามแล้ว เพราะระลึกไม่ได้ หาใช่เพราะไม่เอื้อเฟื้อ
ไม่ เพราะฉะนั้น ท่านเมื่อกาหนดไม่ได้ แม้ซึ่งความเป็นการทาเสีย เพราะ
ไม่ทูลถามนั้นๆ จึงกล่าวว่า "ข้าพเจ้าไม่เห็นความทาเสียนั้น" เมื่อจะแสดง
ความเคารพในพระเถระทั้งหลาย จึงกล่ าวว่า "แต่ข้าพเจ้าเชื่อท่านทั้งหลาย
ขอแสดงความทาเสียนั้น"
๑๘๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

๘. การตีความต่อพระไตรปิฎกในแง่ลบ
การแสดงความต่ อ พระไตรปิ ฎ กในแง่ล บในที่ หมายถึ งการตี ค วาม
พระไตรปิฎกไปในทางที่มีการแก้ไขหรือเพิ่มเนื้อหาแห่งพระไตรปิฎก
ท่านพุทธทาสภิกขุ๓๓๕ แสดงความเห็นต่อคัมภีร์พระไตรปิฎกพอสรุปได้
ว่า พระไตรปิฎ ก ทีแรกจากัน มาด้วยปากฟังด้วยหู บอกกันด้วยปาก ๔๐๐-
๕๐๐ ปีจึงได้เขียนเป็นตัวหนังสือ พระพุทธเจ้ารับสั่งว่า มา ปิฏกสมฺปทาเนน
อย่าเชื่อเพราะมีในพระไตรปิฎก อย่ารับถือเอาด้วยเหตุว่ามีอ้างในปิฎก ปิฎก
คือสิ่งที่เรียกกันว่าตารา สาหรับพระพุทธศาสนาก็คือบันทึกคาสอนที่เขียนไว้ใน
ใบลาน เอามารวมกันเป็นชุดๆ เรียกว่าปิฎก อย่าเชื่อสักว่าเพราะเหตุที่สมณะนี้
เป็นครูของพวกเรา สมณะนี้คือพระพุทธเจ้าท่านเป็นครูของพวกเรา ก็อย่าเชื่อ
จากข้อความนี้ ท่านพุทธทาสภิกขุแสดงความเห็นต่อคัมภีร์ที่ บันทึกหลัก
คาสอนตามคาแปลว่ า อย่าเชื่อด้วยการอ้างตาราหรือคัมภีร์ ความจริงคาว่า
ปิฏก หมายถึงปริยัติและภาชนะ๓๓๖ สมฺปทาน ไม่ได้มีความหมายว่าอ้าง แต่มี

๓๓๕
ดูรายละเอียดใน พุทธทาสภิกขุ, เพชรในพระไตรปิฎก, (กรุงเทพมหานคร :
กองทุ น วุ ฒิ ธรรมจั ด พิ ม พ์ , ๒๕๒๘), หน้ า ๔, อภิ ธ รรมคื อ อะไร, (กรุ งเทพมหานคร :
ธรรมสภาจัดพิมพ์, ๒๕๔๙), หน้า ๕๕,๕๗,๕๙,๖๒.
๓๓๖
ดูรายละเอียดใน วิ.มหา.อ. (บาลี) ๑/๒๐, ที.สี.อ. (บาลี) ๑/๑๙, อภิ.สงฺ.อ.
(บาลี) ๑/๒๑.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๘๓

ความหมายว่า เป็น ที่มอบให้ ๓๓๗ความเห็นของท่านพุทธทาสน่าจะไม่ถูกต้อง


รวมทั้งคาแปลในพระไตรปิฎกภาษาไทยด้วย
เมตฺ ต านนฺ โ ท ภิ กฺ ขุ (มโน เลาหวณิ ชย์ ) ได้ แสดงความเห็ น ต่ อ
พระไตรปิ ฎ กที่ บั น ทึ กค าสอนไว้ พอสรุป ได้ ว่า กรณี ที่ พ ระอานนท์ ถูก โจทก์
อาบัติในที่ประชุมการสังคายนา อาบัตินี้มิได้มีอยู่ในพระปาติโมกข์ การโจทก์
อาบัติพระอานนท์เกิดขึ้นหลังจากที่พระอรหันต์ ๕๐๐ รูปลงมติไปว่า สงฆ์จะ
ไม่บัญญัติหรือเพิกถอนพุทธบัญญัติ การโจทก์อาบัติที่มิได้อยู่ในพระปาติโมกข์
กับภิกษุรูปใดๆ จึงมิเท่ากับเป็นการขัดแย้งกับญัตติที่ตนเพิ่งตกลงยอมรับโดย
เอกฉัน ท์กระนั้น หรือ อรรถกถาอธิบายว่า การปรับอาบัติ มิใช่เป็นการปรับ
อาบัติตามพระวินัยโดยมิได้ให้เหตุผล แต่ตามที่ปรากฏในการสังคายนาครั้งนี้
รูปแบบของการปรับอาบัติไม่มีความแตกต่างจากการปรับอาบัติตามพระวินัย
แต่อย่างใด๓๓๘
จากความเห็ นนี้ ท่านแสดงความเห็น ตามคาแปลพระไตรปิฎกที่แปล
การต าหนิ พ ระอานนท์ เป็ น ปรั บ อาบั ติ และท่ านศึ ก ษาอรรถกถาไม่ เข้ าใจ
เพราะอรรถกถาก็อธิบายไว้ชัดเจนว่า พระเถระทั้งหลายตาหนิพระอานนท์มิได้

๓๓๗
พระพุทธัปปิยมหาเถระ, รูปสิทฺธิ, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ธรรมสภา,
๒๕๔๓), หน้า ๑๘๔, ปทรูปสิทธิมัญชรี คัมภีร์อธิบายปทรูปสิทธิปกรณ์ เล่ม ๑, พระ
คันธสาราภิวงศ์ แปลและอธิบาย. (กรุงเทพมหานคร : ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๔๗), หน้า
๑๐๐๘, บาลีไวยากรณ์วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาตและกิตก์, (กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗), หน้า ๑๘๙.
๓๓๘
เมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ, เหตุเกิด พ.ศ. ๑ เล่ม ๒ : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนา
และภิกษุณีสงฆ์, หน้า ๗๔–๗๕,๓๒๑–๓๒๒.
๑๘๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ปรับอาบัติ และพระมหากัสสปเถระก็ได้สวดประกาศว่า สงฆ์จะไม่บัญญัติสิ่งที่


พระพุทธเจ้ามิได้บัญญัติ จะไม่ถอนสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้๓๓๙ ท่านมิได้
ใช้ความรู้ ทางภาษาบาลี ที่ตนศึกษามาจากต่างประเทศวินิจฉัยเรื่องนี้ ท่าน
แสดงความเห็นตามที่ตนสันนิษฐาน ในเรื่องนี้ ผู้วิจัยเห็นว่า การวิเคราะห์หลัก
ค าสอนในพระพุ ท ธศาสนา จ าเป็ น ต้ อ งใช้ ค วามรู้ ท างภาษาบาลี ต าม
ความสามารถและกาลัง
ดร.บุณย์ นิลเกษ ได้ศึกษาความเห็นของนักวิชาการชาวตะวันตกสรุป
เสนอไว้ พอสรุปได้ว่า ตามหลักฐานหนังสือที่เก่าแก่ที่สุดของลังกา คือคัมภี ร์
ที ป วงศ์ ได้ บั น ทึ ก เหตุ ก ารณ์ ก ารท าสั งคายนาครั้ ง ที่ ๒ ที่ น ครเวสาลี ไว้ ว่ า
คณ ะกรรมการช าระพ ระไตรปิ ฎ กครั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ (สมั ย ที่ ๒ ) ได้ ป ฏิ รู ป
พระพุทธศาสนาให้ลดต่าลงไป ได้ทาลายบทบัญญัติดั้งเดิมทิ้งหมดแล้วแต่งเติม
ขึ้นใหม่ ได้ทาการเปลี่ยนแปลงแก้ไขคัมภีร์ปริวาร คัมภีร์อภิ ธรรม ๖ ปกรณ์
คัมภีร์นิทเทส คัมภีร์ชาดกบางส่วน๓๔๐
จากความเห็ น นี้ เมื่ อ อ่ านข้ อ ความนี้ ก็ ท าให้ ผู้ อ่ า นที่ มี พื้ น ฐานทาง
ประวัติศาสตร์สังคายนาเข้าใจว่าการสังคายนาครั้งที่ ๒ ที่พระยสกากัณ ฑก
บุตรเป็ น ประธานจัดทาซึ่งบั น ทึกอยู่ในพระวินัยปิฎ กจูฬวรรค ๓๔๑ ได้ทาการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงพระธรรมวินัย ในเบื้องต้น ผู้วิจัยได้ตรวจสอบดูคัมภีร์ทีป

๓๓๙
ดูรายละเอียดใน วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๑๓.
๓๔๐
ดร.บุณย์ นิลเกษ, อุดมการณ์และชีวิตแบบโพธิสัตว์เล่มที่หนึ่ง , (เชียงใหม่ :
วัฒนาการพิมพ์, ๒๕๒๙), หน้า ๓๔-๓๕.
๓๔๑
ดูรายละเอียดใน วิ.จู. (บาลี) ๗/๔๖๖-๔๕๘/๒๘๖-๓๐๔, วิ.จู. (ไทย) ๗/๔๖๖-
๔๕๘๓๙๓-๔๑๙.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๘๕

วังสะที่อ้างนั้น พบว่า พวกภิกษุวัชชีบุตรที่ก่อเรื่องทาให้มีการสังคายนาแยก


พวกไปทาสังคายนาต่างหาก เป็นพวกที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงพระธรรมวินัย๓๔๒
เสฐียรพงษ์ วรรณปก ได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับพระไตรปิฎกที่บันทึ ก
คาสอนไว้ พอสรุปได้ว่า พระวินัยปิ ฎ กส่วนที่เป็นสิกขาบทในพระปาติโมกข์
น่ า จะมี ๑๕๐ สิ ก ขาบท ดั ง พุ ท ธวจนะที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส ไว้ ใ นอั ง คุ ต ตร
นิกาย๓๔๓ มาเพิ่มเป็น ๒๒๗ สิกขาบทในตอนหลัง พระสุตตันตปิฎกมีเพียง ๔
นิกาย ขุททกนิ กายที่ ๕ นั้ น เพิ่ ม เติม ทีห ลั ง เรื่ องการบ าเพ็ ญ บารมี ของพระ
โพธิสัตว์มีภายหลัง อภิธรรมปิฎกเพิ่มเติมภายหลัง เป็นภาษาเขียนที่แต่งขึ้น
ประวัติอภิธรรมไม่มีกล่าวถึงในพระไตรปิฎก๓๔๔
จากความเห็ น นี้ ท่านลืมไปว่า พระพุทธเจ้ามิได้ทรงบัญญั ติสิ กขาบท
คราวเดี ย วพร้ อ มกั น แต่ พ ระองค์ ท รงบั ญ ญั ติ ต ามที่ มี เ หตุ เกิ ด ขึ้ น ที่ ใ น
พระไตรปิ ฎ กปรากฏข้ อ ความว่ า มี สิ ก ขาบท ๑๕๐ ข้ อ นั้ น ก็ เพราะช่ ว ง
ระยะเวลาที่ภิกษุวัชชีบุตรกราบทูลว่า ท่านไม่สามารถปฏิบัติสิกขาบท ๑๕๐
ข้อได้นั้น พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทได้เพียง ๑๕๐ ข้อ๓๔๕ ผู้วิจัยเห็นว่า
การแสดงความเห็นต้องอยู่บนฐานแห่งหลักฐานทางคัมภีร์พระพุทธศาสนา

๓๔๒
ดูรายระเอียดใน ทีปวส ปริเฉทที่ ๔ คาถาที่ ๖๘-๗๖, วิญญาณ ฉบับที่ ๑-๕
มกราคม – พฤษภาคม ๒๕๔๕, หน้า ๓๙-๔๒.
๓๔๓
องฺ.ติก. (บาลี) ๒๐/๘๕/๒๒๔,๘๗/๒๒๕, ๘๘/๒๒๖, องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๘๕/
๓๑๑,๘๗/๓๑๒, ๘๘/๓๑๔.
๓๔๔
เส ฐี ย รพ งษ์ วรรณ ป ก, พ ระไต รปิ ฎ ก วิ เ ค ราะห์ , พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ ๔ ,
(กรุงเทพมหานคร : ซันต้าการพิมพ์, ๒๕๔๖).
๓๔๕
ดูรายระเอียดใน องฺ.ติก.อ. (บาลี) ๒/๘๕/๒๔๐.
๑๘๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

ดร. ฉั ต รสุ มาลย์ กบิ ล สิ งห์ ซึ่งได้ ไปบวชเป็น ภิกษุณี ที่พุ ทธคยากับศรี
ลังกา ได้แสดงความเห็นต่อคัมภีร์ที่บันทึกคาสอนในพระพุทธศาสนา พอสรุป
ได้ ว่า พระไตรปิ ฎ กเป็ น งานที่ จ ดบั น ทึ ก โดยพระภิ ก ษุ ท่ านย่อ มเลื อ กที่ จ ะ
บันทึกเนื้อหาสาระตามที่ตนสนใจและเห็นว่าสาคัญ ขบวนการบันทึกคาสอน
และสาระทางประวั ติ ศ าสตร์ พ ระพุ ท ธศาสนา จึ ง มี ค วามเป็ น อั ต วิ สั ย อยู่
พระไตรปิฎกนั้นมีความเก่าใหม่ไม่เท่ากัน ส่วนที่เก่าที่สุดในพระไตรปิฎก คือ
พระวินัย และในพระวินัยนั้น ส่วนที่เก่าที่สุด คือพระปาติโมกข์ ในความเก่า
ใหม่ไม่เท่ากันนี้ ในส่วนที่ระบุว่า สตรีเป็นพระพุทธเจ้าไม่ได้นั้น เป็นส่วนที่เขียน
ขึ้น เมื่อ ประมาณ ๕๐๐ ปี ห ลั งพุ ท ธกาล ครุ ธ รรมข้ อที่ ๖ ในพระวินั ยปิ ฎ ก
ภิกขุนีวิภังค์ว่า สิกขมานาเมื่อบวชมาครบ ๒ ปีให้ขออุปสมบทเป็นภิกษุณี นั้น
เป็นเงื่อนไขที่เกิดขึ้นในสมัยหลัง ครุธรรมเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลัง แต่ภิกษุผู้จด
บันทึกเหตุการณ์นามาใส่ไว้ตอนต้น เพื่ อทาให้เห็นว่าครุธรรมเป็นเรื่องสาคัญ
เพราะเป็นมาตรการที่เปิดโอกาสให้ภิกษุเป็นใหญ่เหนือภิกษุณีสงฆ์๓๔๖
จากความเห็นนี้ ทาให้เข้าใจว่า มีการบันทึกเขียนหลักคาสอนในสมัยที่
ทรงจาแบบมุขปาฐะ ดร. ฉัตรสุมาลย์ ไม่เข้าใจระบบการสืบต่อทรงจาหลักคา
สอนจนกระทั่ ง บั น ทึ ก ลงบนใบลาน ความจริ ง การทรงจ านั้ น พระสาวก
ทั้งหลายจะทรงจาเฉพาะเรื่องที่ท่านยินได้ฟังเท่านั้น ที่ดร. ฉัตรสุมาลย์กล่าวว่า
ไม่ ค่ อ ยบั น ทึ ก เรื่ อ งของภิ ก ษุ ณี ก็ ไ ม่ จ ริ ง เรื่ อ งของภิ ก ษุ ณี ที่ ป รากฏใน
พระไตรปิฎกมี มาก เช่น สิกขาบทของฝ่ายภิกษุณีมีมากกว่าของฝ่ ายภิกษุ ที่
ท่านกล่าวว่า “ส่วนที่เก่าที่สุด คือพระปาติโมกข์” กับที่กล่าวว่า “ครุธรรมข้อที่
๖ ว่ า สิ ก ขมานาเมื่ อ บวชมาครบ ๒ ปี ให้ ข ออุ ป สมบทเป็ น ภิ ก ษุ ณี นั้ น เป็ น
เงื่อนไขที่เกิดขึ้นในสมัยหลัง” ท่านกล่าวออกมาเหมือนมิได้ศึกษา เพราะพระ

๓๔๖
ดูรายละเอียดใน ธัมมนันนา (รศ. ดร. ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์), ภิกษุณี … บวช
ไม่ได้ วาทกรรมที่กาลังจะเป็นโมฆะ, (กรุงเทพมหานคร : หจก. เอมี่ เทรดดิ้ง,๒๕๔๖).
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๘๗

ปาติโมกข์ของภิกษุณีที่ท่านว่าเก่ าก็ห้ามภิกษุณีบวชให้สิกขมานาที่ไม่ได้รักษา
ศีล ๖ ข้อเป็นเวลา ๒ ปี๓๔๗ แม้ไม่มีครุธรรมก็มีสิกขาบทห้ามอยู่ ซึ่งมีสิกขาบท
ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติตรงกับครุธรรมถึง ๕ ข้อ และมีสิกขาบทที่ตรงกับครุ
ธรรมข้อที่ ๖ จานวน ๑๒ สิกขาบท แต่สิกขาบทนั้นพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ
หลังบัญญัติครุธรรม เพราะภิกษุณี ไม่ปฏิบัติตามครุธรรม ในเรื่องนี้ต้องศึกษา
ตามหลักการ มิฉะนั้นจะเข้าใจว่า พระพุทธองค์ทรงบัญญัติข้อปฏิบัติซ้าซ้อน
อย่างที่นักวิชาการตะวันตกเข้าใจกัน

๙. การตีความต่อพระไตรปิฎกในแง่บวก
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. (บาลี) ปยุตฺโต) ได้กล่าวถึงการตีความไว้ พอ
สรุป ได้ว่า การตีความอาจเป็ น ปั ญ หา ถ้าเลยขอบเขตของการตีความอย่าง
อิสระ แม้พระพุทธศาสนาจะให้อิสรภาพในการตีความมาก การตีความอย่าง
อิสระไม่ใช่การตีความตามใจชอบ การตีความที่เป็นอิสระก็ต้องมีหลัก คืออยู่ใน
ขอบเขตของหลั ก ส าคัญ ผู้ ตีค วามเข้าใจถ้อยคาถูกต้ อง รู้ว่าตนกาลั งพู ดถึ ง
ข้อความไหน พูดถึงเรื่องอะไร ตรงกับความหมายของถ้อยคาที่ผู้พูดเดิมกล่าว
ไว้ การตี ค วามจะต้ อ งไม่ ขั ด กั บ หลั ก การพื้ น ฐานของพระธรรมวิ นั ย การ
ตีความทางศาสนามีหลักประกันกากับอยู่ คือความซื่อตรงต่อความจริง๓๔๘

๓๔๗
ดูรายระเอียดใน วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) ๓/๑๐๗๗-๑๐๘๐/๑๗๐-๑๗๒.
๓๔๘
ดูรายละเอียดใน พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต), เพื่อความเข้าใจปัญหา
โพธิรักษ์, (กรุงเทพมหานคร : มาสเตอร์เพรส, ๒๕๓๓), หน้า ๔๘-๕๒.
๑๘๘ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

จากความเห็นของพระพรหมคุณาภรณ์ ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาเถร
วาทในประเทศไทย ผู้วิจัยจะได้ใช้เป็นแนววิธีการตีความตามที่ปรากฏในคัมภีร์
พระพุทธศาสนา
พระเทพดิ ล ก (ระแบบ ฐิ ต ญาโณ) ได้ แสดงความเห็ น เกี่ ย วกั บ การที่
พระเถระผู้ทาปฐมสังคายนามีมติตาหนิพระอานนท์ว่า ที่ประชุมสงฆ์(ผู้ทาปฐม
สังคายนา)ยังได้มีมติตาหนิการกระทาของพระอานนท์เถระ ๕ อย่างว่า เป็น
การกระท าไม่ ดี ซึ่งใช้ ค าบาลี ว่า ทุ กฺ ก ฏ ที่ แ ปลกั น ว่า อาบั ติ ทุ ก กฏ แต่ ก าร
กาหนดอาบัติเป็นพุทธอาณา คนอื่นไม่อาจที่จะบัญญัติอาบัติได้ ความหมาย
ของค านี้ จึ งควรเป็ น เพี ย งการต าหนิ ว่า ท าไม่ ดี เท่ านั้ น ข้อ ที่ ส งฆ์ ตาหนิ พ ระ
อานนท์เถระ ๕ ประการนั้น ท่านไม่เห็นว่าเป็นความผิด แต่เมื่อสงฆ์เห็นว่า ไม่
ดี ท่านยินดียอมรับและถ่ายถอนความผิด๓๔๙
จากความเห็นของพระเทพดิลกนี้ ท่านมิได้อ้างคาอธิบายในอรรถกถา
ซึ่งความจริงพระอรรถกถาจารย์ก็ได้อธิบายว่า พระเถระทั้งหลายตาหนิพระ
อานนท์มิได้ปรับอาบัติ และพระมหากัสสปเถระก็ได้สวดประกาศว่า สงฆ์จะไม่
บัญญัติสิ่งที่พระพุทธเจ้ามิได้บัญญัติ จะไม่ถอนสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ
ไว้๓๕๐ ผู้วิจัยจะทาการวิเคราะห์บนฐานแห่งคาอธิบายของพระอรรถกถาจารย์
พระฎีกาจารย์ ก่อนที่จะแสดงความเห็นส่วนตน
พระธัมมานันทมหาเถระ อัครมหาบัณฑิต ชาวพม่า ได้แสดงความเห็น
ต่อนักวิชาการชาวไทยที่แสดงความเห็นต่อคัมภีร์พระไตรปิฎกที่บันทึกหลักคา
สอนไว้ พอสรุปได้ว่า อาจารย์ท่านหนึ่งวิจารณ์ว่า “ไม่มีหลักฐานที่จะบอกว่า

๓๔๙
พระเทพดิ ล ก (ระแบบ ฐิ ต ญาโณ), ประวั ติ ศ าสตร์ พ ระพุ ท ธศาสนา,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙), หน้า ๑๒๘-๑๒๙.
๓๕๐
ดูรายละเอียดใน วิ.จู.อ. (บาลี) ๓/๔๑๓.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๘๙

พระอภิธรรมเกิดขึ้นในสมัยพุทธกาล เป็นงานที่แต่งในภายหลัง ” นั้นคงจะขอ


ยืมค าวิจ ารณ์ ของชาวตะวัน ตกมาอีก ที ห นึ่ ง และที่ก ล่ าวว่า “พระอภิธ รรม
รวมอยู่ ในขุท ทนิ กายนั้ น ควรเข้าใจว่า ขุ ท ทนิ ก ายและพระอภิ ธรรม ก็เป็ น
คัมภีร์ชั้น หลั ง” นั้ นท่านไม่เชื่อพระพุทธโฆสะที่เป็นพระอรรถกถาจารย์ แต่
กลับไปเชื่อชาวตะวันตกที่เพียงแต่ศึกษาค้นคว้าแล้ววิจารณ์ไปตามความเห็น
มิได้แตกฉานในพุทธพจน์๓๕๑
จากความเห็ น นี้ ผู้วิจั ยจะทาการวิ เคราะห์ บนฐานแห่ งคาอธิบายของ
พระอรรถกถาจารย์พระฎีกาจารย์ เช่นกัน ไม่ถือตามอัตโนมัติของนักวิชาการ
พระคันธสาราภิวงศ์ (สมลักษณ์ คนฺธสาโร) ได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับ
พระไตรปิฎกที่บันทึกหลักคาสอนไว้ว่า “ปัจจุบันมีนักการศาสนาบางท่านกล่าว
ว่า การเชื่อพระไตรปิฎกแล้วอ้างอิงเป็นแบบแผนนั้นไม่ถูกต้อง พระพุทธองค์
ต้องการให้ผู้ฟังมีเสรีภาพทางความคิด เขายอมรับข้อความในพระไตรปิฎกที่
ตรงกับความเห็นของตนเท่านั้น แต่ปฏิเสธข้อความที่ตนไม่เห็นด้วย โดยอ้างว่า
พระพุทธเจ้าตรัสสอนไม่ให้เชื่อตาราไว้ในกาลามสูตร การตี ความอย่าเชื่อด้วย
การอ้างตารา ว่าหมายถึงปฏิเสธความเชื่อในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป็น
เพียงสมมติฐาน คาสอนของพระพุทธเจ้าในครั้งพุทธกาลอยู่ในรูปแบบคาสอน
ทั่ ว ไปไม่ จั ด เป็ น ต ารา เมื่ อ มี ก ารสั งคายนาจั ด ค าสอน จึ งเข้ าใจความหมาย
พระไตรปิฎกในรูปแบบของตารา อรรถกถากาลามสูตรที่ อธิบายว่าหมายถึง
ต าราของพวกชาวกาลามะ คื อ พระเวท ไม่ ไ ด้ ห มายถึ ง ค าสั่ ง สอนใน

๓๕๑
พระธัมมานันทมหาเถระ, นานาวินิจฉัย, (ลาปาง : กิจเสรีการพิมพ์, ๒๕๔๒),
หน้า ๑๓๐-๑๓๑.
๑๙๐ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

พระพุทธศาสนา”๓๕๒
จากความเห็ น นี้ ก็ต้องศึกษาวิเคราะห์ ข้อความที่ไม่ให้ เชื่อคัมภีร์ห รือ
ตารานั้นหมายถึงอะไร เป็นเรื่องที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาวิเคราะห์
ธนิต อยู่โพธิ์ ได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับ พระอภิธรรมปิฎกไว้ พอสรุปได้
ว่า พระอภิธรรม พระผู้มีพระภาคผู้ทรงจาแนกธรรม ทรงตั้งเป็นเป็นแม่บทไว้
แล้วทรงจาแนกแจกแจงกระจายขยายความออกไป พระอภิธรรมเป็นปรมัตถ
เทศนาที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไปตามสภาวะ พระสารีบุตรได้ฟังพระอภิธรรม
ตลอด ๓ เดือน ท่านทรงจ าช่าชองขึ้น ใจ จึ งน าวิธี การจาแนกแจกแจงแบบ
อภิธ รรมมาแสดงไว้ในนิ ท เทสและปฎิสั มภิ ทามรรค ถ้ายอมรับ นิท เทสและ
ปฏิสัมภิทามรรคของพระสารีบุตรว่าท่านนาแบบอย่างมาจากพระอภิธรรม ก็
ต้องยอมรับว่า พระอภิธรรมมีมาแต่เริ่มต้นพุทธกาล๓๕๓

๓๕๒
ดูรายละเอียดใน พระคันธสาราภิวงศ์, คาอธิบายขยายความคาถา ใน เต
ลกฏาหคาถา, (กรุงเทพมหานคร : บริษัทแสควร์ปริ้นซ์ 93, ๒๕๔๕), หน้า ๑๖๓-๑๖๕.
๓๕๓
ธนิต อยู่โพธิ์, พระอภิธรรมเทศนาบนดาวดึงส์, (กรุงเทพมหานคร : ห้าวหุ่น
ส่วนจากัดศิวพร, ๒๕๒๖), หน้า ๓-๑๘.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๙๑

บรรณานุกรม
ธนิต อยู่โพธิ์, พระอภิธรรมเทศนาบนดาวดึงส์, กรุงเทพมหานคร : ห้าวหุ่นส่วนจากัดศิว
พร, ๒๕๒๖.
ธนิต อยู่โพธิ์, พระอภิธรรมเทศนาบนดาวดึงส์ , กรุงเทพมหานคร : ห้าวหุ่นส่วนจากัด
ศิวพร, ๒๕๒๖.
ธัมมนันนา (รศ. ดร. ฉัตรสุมาล์ กบิลสิงห์), ภิกษุณีบวชไม่ได้ วาทกรรมที่กาลังจะเป็น
โมฆะ, (กรุงเทพมหานคร : หจก. เอมี่ เทรดดิ้ง,๒๕๔๖.
นาวาเอก ทองย้อย แสงสิน ชัย, เหตุเกิดเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๕, กรุงเทพมหานคร : บริษั ท
พิมพ์สวย จากัด, ๒๕๔๖.
บุณย์ นิลเกษ, อุดมการณ์และชีวิตแบบโพธิสัตว์เล่มที่หนึ่ง, เชียงใหม่ : วัฒนาการพิมพ์,
๒๕๒๙.
ผลงานที่มีคุณค่ายิ่งใหญ่ต่อประเทศชาติประชาชน, ใน สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๔
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์, กรุงเทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง กรุ๊พ จากัด ,
๒๕๓๒.
พระคันธสาราภิวงศ์, คาอธิบายขยายความคาถา ใน เตลกฏาหคาถา, กรุงเทพมหานคร
: บริษัทแสควร์ปริ้นซ์ 93, ๒๕๔๕.
พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ), ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา, กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต), เพื่อความเข้าใจปัญหาโพธิรักษ์ , กรุงเทพมหานคร :
มาสเตอร์เพรส, ๒๕๓๓.
พระเทพเวที (ประยุ ท ธ์ ปยุ ตฺ โต). มหาวิ ท ยาลั ย กั บ งานวิ จั ย ทางพระพุ ท ธศาสนา,
กรุงเทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ์, ๒๕๓๔.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), ขุมปัญญาจากชาดก, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
ฟองทอง, ๒๕๔๑.
๑๙๒ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตโต), เยือนสยามนิกายในศรีลังกา, กรุงเทพมหานคร


: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๐.
พระธรรมปิ ฎ ก (ป .อ. ป ยุ ตฺ โ ต), รู้ จั ก พ ระไตรปิ ฎ กเพื่ อเป็ น ช าวพุ ทธที่ แ ท้ ,
กรุงเทพมหานคร : เอดิสัน เพรส โพรดักส์, ๒๕๔๓.
พระธัมมานันทมหาเถระ, นานาวินิจฉัย, ลาปาง : กิจเสรีการพิมพ์, ๒๕๔๒.
พระพุทธัปปิยมหาเถระ, รูปสิทฺธิ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ธรรมสภา, ๒๕๔๓.
พระมหาสมปอง มุทิโต แปลเรียบเรียง, กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ธรรมสภา, ๒๕๔๒.
พระมหาแสวง โชติปาโล, พุทธวิทยาน่ารู้ เล่ม ๓, กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก
จากัด, ๒๕๓๘.
พระเมธา ชาตเมโธ, พุทธไม่ใช่พราหมณ์, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรสมัย ๑๙๙๙,
๒๕๔๓.
พระเมธา ชาตเมโธ, พุทธไม่ใช่พราหมณ์, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์อักษรสมัย ๑๙๙๙,
๒๕๔๓.
พระอั ค ควั ง สเถระ, สั ท ทนี ติ ป ทมาลา คั ม ภี ร์ ห ลั ก บาลี ม หาไวยากรณ์ เล่ ม ๑.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ๒๕๔๖.
พระอุ ด รคณ าธิ ก าร (ชวิ น ทร์ สระค า), ประวั ติ ศ าสตร์ พุ ท ธศาสนาในอิ น เดี ย ,
กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
พิสิฐ เจริญ สุข, เกร็ดความรู้ในนิ ทานชาดก, กรุงเทพมหานคร : โรงพิ มพ์การศาสนา,
๒๕๓๙.
พุทธทาสภิกขุ, คาชีแจงเรื่องการศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท ใน ปฏิจจสมุปบาทจาก
พระโอษฐ์, คณะธรรมทานไชยาจัดพิมพ์ : ปมท, ๒๕๒๒.
พุทธทาสภิกขุ, ธรรมะนาล้างธรรมะโคลน, กรุงเทพมหานคร : รุ่งแสงการพิมพ์, ปทม.
พุท ธทาสภิ ก ขุ, เพชรในพระไตรปิ ฎก, (กรุงเทพมหานคร : กองทุ นวุฒิ ธรรมจัด พิม พ์ ,
๒๕๒๘.
พุทธทาสภิกขุ, เล่าไว้เมื่อวัยสนธยา เล่ม ๓, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เรือนแก้วการ
พิมพ์, ๒๕๒๙.
พุทธทาสภิกขุ, อภิธรรมคืออะไร, กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาจัดพิมพ์, ๒๕๔๔.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๙๓

พุทธทาสภิกขุ. ตามรอยพระอรหันต์,พิมพ์ครั้งที่ ๘, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษัท


ตถาตา พับลิเคชั่น จากัด, ๒๕๔๘.
มนตรี เทียมสิงห์ และ เฉลิมลักษณ์ เอกมณี รวบรวม, กฐินและแนวทางในการปฏิบัติ ,
สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติจัดพิมพ์ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,
๒๕๓๗.
เมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ, เหตุเกิด พ.ศ. ๑ (B.E. ๐๐๐๑) เล่ม ๒ : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนา
และภิกษุณีสงฆ์, กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ที่ SPK Paper f Form, ๒๕๔๕.
เมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ, เหตุเกิด พ.ศ. ๑ เล่ม ๒ : วิเคราะห์กรณีปฐมสังคายนาและภิกษุณี
สงฆ์, กรุงเทพมหานคร : S.P.K. Paper and f Form, ๒๕๔๕.
วิ น ยั ก กมจั น ทิ ก า : สิ ก ขาปทั ก กมะ บาลี -แปล, รั ง ษี สุ ท นต์ แปลและเรี ย บเรี ย ง,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๔๗.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๓๙,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
สุทธิคุณ กองทอง สัมภาษณ์เมตฺตานนฺโท ภิกฺขุ, พระเครื่อง คม-ชัด-ลึก, หนังสือพิพม์
รายวัน คม-ชัด-ลึก ฉบับวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๖.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พระไตรปิฎกวิเคราะห์, กรุงเทพมหานคร : หจก. ซันต้าการพิมพ์,
๒๕๔๖.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก, พระไตรปิฎกวิเคราะห์ , พิมพ์ครั้งที่ ๔, กรุงเทพมหานคร : ซันต้า
การพิมพ์, ๒๕๔๖.
เสฐียรพงษ์ วรรณปก,ไปสืบพระพุทธศาสนาที่ศรีลังกา, กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์
น้าฝนไอเดีย, ๒๕๔๙.
เสถียร โพธินันทะ, ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาม
กุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๑๙.
แสวง อุดมศรี, พระวินัยปิฎก ๒, กรุงเทพมหานคร : โครงการชาระพระไตรปิฎก, ๒๕๔๒.
๑๙๔ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

อภิชัย โพธิประสิทธิ์ศาสต์, พระพุทธศาสนามหายาน, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาม


กุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
อรรถกถาและอรรถกถาจารย์, ใน อบรมบาลีก่อนสอบ ปีที่ ๔, พระครูปลัดสุวัฒนจริย
คุณ (ประสิทธิพฺรหฺมรสี) บรรณาธิการ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๕.
อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี ๑๙๕

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : ดร.ธานี สุวรรณประทีป


วัน/เดือน/ปี เกิด : วันเสาร์ที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๑
สถานทีเ่ กิด : บ้านเลขที่ ๑๒๕ หมู่ที่ ๑ ตาบลดอนปรู อาเภอ
ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี ๗๒๑๔๐
การศึกษา : พ.ศ. ๒๕๓๙ สอบได้ ป.ธ.๙ สานักเรียนวัดชนะสงคราม
: พ.ศ. ๒๕๔๘ จบศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต (ศน.ม. สาขา
พุทธศาสนาและปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย
: พ.ศ. ๒๕๕๙ จบพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พธ.ด. สาขา
พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย
ประสบการณ์ทางาน
: กองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์สยามรัฐ (หน้าศาสนา)
กรุงเทพมหานคร
: เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป โครงการหลักสูตรนานาชาติ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
: กองบรรณาธิการ คณะกรรมการตรวจชาระคัมภีร์
๑๙๖ อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี

มูลนิธิพร รัตนสุวรรณ โรงพิมพ์วิญญาณ


กรุงเทพมหานคร
: นักวิชาการศึกษา กลุ่มงานคัมภีร์พุทธศาสน์ กอง
วิชาการมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
: คณะกรรมจัดทาพจนานุกรมศัพท์พระไตรปิฎก
สานักงานราชบัณฑิตยสภา สนามเสือป่า เขตดุสิต
กรุงเทพมหานคร
: เลขานุการ คณะกรรมบรรณาธิการจัดทาพจนานุกรม
พระไตรปิฎก
ที่อยู่ปัจจุบัน : ๒๔๙/๒๔๑ หมู่ ๖ ตาบลพิมลราช อาเภอบางบัวทอง
จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๑๐
โทรศัพท์ : มือถือ ๐๘๑-๔๕๐๑๘๒๔
E-mail : thanee_305@hotmail.com

You might also like