You are on page 1of 306

พระมหาธิติพงศ อุตฺตมปฺโ

ÃǺÃÇÁáÅÐàÃÕºàÃÕ§
โครงสร้้างภาษาบาลีี ๒
(ทัักษะการใช้้ภาษาบาลีี ๔)

พระมหาธิิติิพงศ์์ อุุตฺฺตมปญฺฺโ
รวบรวมและเรีียบเรีียง
ชื่อหนังสือ : โครงสร้างภาษาบาลี ๒
(ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๔)

ISBN : 978-616-608-361-3

จัดทำ�โดย : พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปฺโ

รวบรวมและเรียบเรียง : พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปฺโ

คอมพิวเตอร์/จัดรูปเล่ม : พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปฺโ

ตรวจทาน : พระมหาสังคีต สงฺคีตวโร พระพัชรพล ปิยสีโล


คุณวิไล สีสรรพ์ คุณปุณณภา ศุภชวาลพร
พระมหาจรุณ จารุวณฺโณ

ออกแบบปก : ธงชาติ โชติเสน

ผู้ประสานงาน : คุณยศรินทร์ โชติเสน

วัน/เดือน/ปีพิมพ์ : ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖


ศรัทธาสาธุชนทั่วไป เจ้าภาพ

พิมพ์ครั้งที่ ๓ : จำานวน ๓,๐๐๐ เล่ม


พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน ห้ามจำาหน่าย

พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจำากัด ประยูรสาส์นไทย การพิมพ์


๔๔/๑๓๒ หมู่ ๖ ถนนกำา�นันลแม้แม้นน แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง
กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๒๐ ๐๓๗๗, ๐ ๒๘๐๒ ๐๓๗๙
โทรสาร ๐ ๒๘๐๒ ๐๓๗๘ มือถือ 08-1566-2540
(ก)

คำำ�นำำ�
วิิธีกี ารศึึกษาภาษาบาลีี ที่่จ� ะช่่วยให้้ผู้ศึ้� กึ ษาประสบความสำำ�เร็็จได้้รวดเร็็วยิ่่ง� ขึ้้น� นั้้น�
ประสบการณ์์หรือื ความถี่่ใ� นการฝึึกการอ่่าน การแปล การสััมพัันธ์์ และการแต่่งนั้้น� จะช่่วยให้้
ผู้้ศึ� กึ ษาเกิิดทัักษะในการนำำ�ไวยากรณ์์ไปใช้้ได้้ดียิ่่ี ง� ขึ้้น�
หนัังสืือโครงภาษาบาลีีเล่่ม ๒ นี้้� จึงึ มุ่่ง� เน้้นให้้ผู้ศึ้� กึ ษาได้้มีแี บบฝึึกหััด เพื่่�อฝึึกการใช้้
สำำ�นวนภาษาในลัักษณะต่่างๆ ในรููปแบบที่่เ� ป็็ นประโยคบ้้าง วลีีบ้า้ ง ตามที่่ป� รากฏอยู่่�ในคััมภีีร์์
ไวยากรณ์์ปทรููปสิิทธิ ธ ิ รรมบทอรรถกถา และพระบาลีี ซึ่่ง� ประโยค และวลีีเหล่่านี้้� มีลััี กษณะ
เฉพาะที่่น่� ่าสนใจเหมาะจะนำำ�มาใช้้ศึกึ ษา โดยข้้อมููลทั้้ง� หมด ได้้รวบรวมมาจากประสบการณ์์
ในการสอนภาษาบาลีีในช่่วงหลายปีี ที่ผ่�่ า่ นมา ด้้วยเล็็งเห็็นว่่า รููปแบบการใช้้สำ�ำ นวนภาษาใน
ลัักษณะต่่างๆ ที่่ป� รากฏอยู่่�ในหนัังสืือเล่่มนี้้� มีอี ยู่่�จำำ�นวนไม่่น้้อย ที่่เ� คยสร้้างความสัับสนให้้แก่่
บรรดานัักศึึกษา ทั้้ง� ในด้้านที่่เ� กี่่�ยวกัับการใช้้ไวยากรณ์์ หรือื การตีีความหมาย
เดิิมทีีเดีียว ข้้อมููลต่่างๆ ที่่ป� รากฏในหนัังสืือเล่่มนี้้� เป็็ นประเด็็นที่่เ� คยหยิิบยกมาอธิิบาย
สรุุปให้้แก่่คณะนัักศึึกษา ต่่อมาคุุณโยมงามตา บุุษปวณิิช ได้้นิิมนต์์ให้้ช่ว่ ยรวบรวมประเด็็น
ต่่างๆ เหล่่านี้้�ไว้้เป็็ นหนัังสืือ เพราะเห็็นว่่าเป็็ นข้้อสรุุปที่่ดี� ี และมีีประโยชน์์ต่่อการศึึกษาภาษา
บาลีี จึงึ ได้้จััดทำ�หนัั ำ งสืือเล่่มนี้้�ขึ้น�้ ด้้วยหวัังว่่า นัักศึึกษาท่่านอื่่น� ๆ จะได้้รัับประโยชน์์ร่ว่ มด้้วย
บ้้าง
ทั้้ง� นี้้�ทั้ง้ � นั้้น� ต้้องขออนุุโมทนาแก่่ทั้ง้ � ผู้้�นิิมนต์์ คือื คุุณโยมงามตา บุุษปวณิิช คุุณโยมผู้้�
ให้้การสนัับสนุุนปััจจััยในการจััดทำำ�ต้น้ ฉบัับครั้้ง� แรก คืือ คุุณโยมสุุวรรณ ตัันตระเธีียร และสาธุุ
ชนทั่่�วๆ ไป อีีกทั้้ง� ผู้้ช่� ว่ ยหาข้้อมููลเบื้้�องต้้น และตรวจทานต้้นฉบัับ คืือ พระมหาสมร อมโร และ
พระสัังคีีต สงฺฺคีตว ี โร
หวัังเป็็ นอย่่างยิ่่�งว่่า ข้้อมููลต่่างๆ ที่่ไ� ด้้รวบรวมไว้้ จะช่่วยให้้ผู้ศึ้� กึ ษาใช้้เป็็ นข้้อมููลในการ
พััฒนาในการอ่่าน การแปล และทำำ�ความเข้้าใจเรื่่อ� งการสััมพัันธ์์ การแต่่งในภาษาบาลีีได้้ดียิ่่ี ง�
ขึ้้น� เพื่่�อนำำ�ความรู้้ที่� ไ�่ ด้้นั้น้ � ไปศึึกษาพระธรรมวิินััยต่่อไป

พระมหาธิิติพิ งศ์์ อุุตฺฺตมปญฺฺโญ


๑๒ ส.ค. ๒๕๕๗
(ข)

อนุุโมทนากถา
หนัังสืือโครงสร้้างภาษาบาลีีเล่่ม ๒ นี้้� เคยจััดพิิมพ์์มาแล้้ว ๒ ครั้้�ง เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๕๗
และ พ.ศ. ๒๕๖๑ หนัังสืือดัังกล่่าวได้้หมดแล้้ว แต่่ยัังมีีผู้้�สนใจศึึกษาสอบถามอยู่่� จึึงทำำ�การ
ปรัับปรุุงแก้้ไขข้้อผิิดพลาดบกพร่่องต่่างๆ เพื่่�ออนุุเคราะห์์ผู้้�มีีความประสงค์์จะศึึกษาบาลีีให้้
ได้้รัับความสะดวกในการศึึกษา ควบคู่่�กัับการเรีียนไวยากรณ์์ คืือการฝึึกใช้้ไวยากรณ์์ ได้้แก่่
การฝึึกแปลระดัับกลาง เพื่่�อก้้าวไปสู่่�ระดัับที่่�สููงต่่อไป ซึ่่�งนั่่�นเป็็นเจตนารมณ์์ของข้้าพเจ้้าที่่�
ประสงค์์จะจััดทำำ�หนัังสืือที่่�สามารถให้้สาระประโยชน์์แก่่ผู้้�จะนำำ�ไปใช้้ ดัังนั้้�น จึึงได้้จััดพิิมพ์์ขึ้้�น
เป็็นครั้้�งที่่� ๓ และสำำ�เร็็จลุุล่่วงมาด้้วยดีี
ด้้วยเหตุุผลข้้างต้้นนี้้� จึึงใคร่่ขออนุุโมทนาบุุญกุุศลแก่่คุุณธงชาติิ โชติิเสน ผู้้�ออกแบบ
ปกถวาย โดยมีีคุุณยศริินทร์์ โชติิเสน เป็็นผู้้�ประสานงาน รวมทั้้�งญาติิโยมผู้้�ร่่วมบริิจาคปััจจััย
เพื่่�อนำำ�มาเป็็นค่่าจััดพิิมพ์์ และทุุกท่่านที่่�มีีส่่วนร่่วมในการจััดพิิมพ์์ครั้้�งนี้้�
ที่สำ�่ �คัั
ำ ญ คืือ พระอาจารย์์พระภััททัันตธััมมานัันทมหาเถระ สาสนธชสิิริปิ วรธััมมาจริิยะ
อััครมหาบััณฑิิต อดีีตพระอาจารย์์ใหญ่่สำ�นัั ำ กเรีียนวััดท่่ามะโอ จัังหวััดลำำ�ปาง และคณาจารย์์
สำำ�นัักเรีียนวััดท่่ามะโอทุุกรููปทุุกท่่านที่่ป� ระสิิทธิปิ ระสาธน์์วิชิ าความรู้้ใ� ห้้ คุุณโยมพ่่อฟััก คุุณ
โยมแม่่ปุ่่�น เข็็มสัันเทีียะ ผู้้เ� ป็็ นบุุพพการีีชนทั้้ง� สอง คุุณโยมสุุวรรณ ตัันตระเธีียร คุุณนวลมณีี
กาญจนพิิบููลย์ คุุณ ์ เพ็็ญศรีี บุุญญรััตน์์ คุุณวิิไล สีีสรรพ์์ ครอบครััวโอวาทวรััญญูู คุุณไตรรงค์์
มาลาภิิรมย์์ คุุณอุ่่�นเรืือน เทีียมศัักดิ์์� ที่่ทำ� �บุุ
ำ ญช่่วยค่่าใช้้จ่า่ ยในการจััดทำำ�ต้น้ ฉบัับ คุุณณััฐศัักย์์
ตัันตยานุุพนธ์์ ถวายค่่าโปรแกรม Adobe Indesign CC ญาติิโยมชาววััดสุุทธาโภชน์์ และผู้้ที่� มี�่ ี
ส่่วนช่่วยในการทำำ�หนัังสืือโครงสร้้างภาษาบาลีีเล่่ม ๒ นี้้�ให้้สำ�ำ เร็็จทุุกท่่าน
ขออำำ�นาจบุุญกุุศลที่่�ได้้ทำำ�ร่่วมกัันในครั้้�งนี้้� จงเป็็นพลวปััจจััยส่่งผลให้้ทุุกๆ ท่่าน ประสบ
แต่่ความสุุข ความเจริิญ ปราศจากภยัันตราย และได้้บรรลุุมรรค-ผล-นิิพพานด้้วยเถิิด

พระมหาธิิติิพงศ์์ อุุตฺฺตมปญฺฺโญ
๑ ธัันวาคม ๒๕๖๖
สารบััญ
หน้้า
คำำ�นำำ� ........ ........ ........ ........ (ก)
คำำ�อนุุโมทนา ........ ........ ........ ........ (ข)
บทที่่� ๑ วิิธีกี ารแปลเกี่่�ยวกัับ ตปััจจััย ........ ........ ........ ........ ๑
บทที่่� ๒ วิิธีกี ารแปลประโยค สกฺฺกา, ลพฺฺภา, อตฺฺถิิ (นตฺฺถิ)ิ ........ ........ ........ ๔๖
บทที่่� ๓ วิิธีกี ารแปลประโยค กึึ (ปโยชนํํ) และ อลํํศััพท์์........ ........ ........ ........ ๗๙
บทที่่� ๔ วิิธีกี ารแปลประโยคภาววาจก ........ ........ ........ ........ ๙๖
บทที่่� ๕ วิิธีกี ารแปลเกี่่�ยวกัับ ตฺฺวาทิิปััจจััย ........ ........ ........ ........ ๙๙
บทที่่� ๖ วิิธีกี ารแปลศััพท์์ที่แ�่ ปลว่่า “เว้้น” ........ ........ ........ ........ ๑๐๗
บทที่่� ๗ วิิธีกี ารแปลเกี่่�ยวกัับ ปููรธาตุุ ........ ........ ........ ........ ๑๑๑
บทที่่� ๘ วิิธีกี ารแปลเกี่่�ยวกัับการล็็อคข้้อความ ........ ........ ........ ........ ๑๑๔
บทที่่� ๙ วิิธีกี ารแปลรวบข้้อความ ........ ........ ........ ........ ๑๙๕
บทที่่� ๑๐ วิิธีกี ารแปลประโยคที่่มี� อุุท
ี าหุุ หรืือ โนศััพท์์ ........ ........ ........ ........ ๒๖๑
บทที่่� ๑๑ วิิธีกี ารแปลประโยค ย - ต ........ ........ ........ ........ ๒๖๙
ประวััติิผู้้�รวบรวมและเรีียบเรีียง ........ ........ ........ ......... ๒๙๕
-------------------------
บทที่ ๑
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย
๑. ตปัจจัย ลงได้ ๔ สาธนะ
ธาตุที่ลง ตปัจจัย รูปส�ำเร็จเป็นนามก็มี เป็นกิริยาก็มี เช่น พุทฺโธ, วาโต ส�ำหรับ ต
ปัจจัยที่ลงมาแล้ว รูปส�ำเร็จเป็นสาธนะ มี ๔ สาธนะ คือ
(๑) กัตตุสาธนะ เช่น อคจฺฉีติ คโต. (คมุ คติมฺหิ ในการไป + ต) ได้ไปแล้ว เพราะเหตุ
นั้น ชื่อว่าคต. (ผู้ไปแล้ว)
(๒) กัมมสาธนะ เช่น อลภียิตฺถาติ ลทฺโธ. (ลภ ลาเภ ในการได้ + ต) ได้ถูกได้แล้ว
เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าลทฺธ. (ถูกได้แล้ว, อันเขาได้แล้ว, เป็นที่อันเขาได้แล้ว)
(๓) ภาวสาธนะ เช่น คายนํ คีตํ. (เค สทฺเท ในการกระท�ำเสียง + ต) การขับร้อง
ชื่อว่าคีต. (การขับร้อง)
(๔) อธิกรณสาธนะ เช่น อฏฺฐาสิ เอตฺถาติ ฐิตํ, ฐานํ. (ฐา คตินิวตฺติมฺหิ ในการห้าม
การไป + ต) ได้ยืนแล้ว ในที่นี้ เพราะเหตุนั้น ชื่อว่าฐิต. (ที่เป็นที่ยืน,ที่เป็นที่ตั้ง)
ข้อสังเกตของ ตปัจจัยที่ลงมาแล้ว รูปส�ำเร็จเป็นอธิกรณสาธนะ จะมีศัพท์เหล่านี้
คือ ฐาน, กาล, สมย, ทิวส และ มคฺคศัพท์เป็นต้น ปรากฏอยู่ต่อท้ายศัพท์

๒. ตปัจจัย ท�ำหน้าที่ ๓ ประการ


ธาตุที่ลง ตปัจจัย รูปส�ำเร็จเป็นนามก็มี เป็นกิริยาก็มี เช่น พุทฺโธ, วาโต ส�ำหรับ
ตปัจจัยที่ลงมาแล้ว รูปส�ำเร็จเป็นกิริยานั้น จะท�ำหน้าที่อยู่ ๓ ประการ ดังต่อไปนี้
(๑) ท�ำหน้าที่เป็นกิริยาคุมพากย์ได้ ๔ ประโยค คือ ประโยคกัตตุวาจก, ประโยคกัมม-
วาจก, ประโยคเหตุกัมมวาจก และประโยคภาววาจก
๑. ประโยคกัตตุวาจก เช่น ปุริโส คามํ คโต. แปลว่า “อ.บุรุษ ไปแล้ว สู่หมู่บ้าน”
สัมพันธ์ว่า “ปุริโส สุทธกัตตาใน คโต ๆ กิตบทกัตตุวาจก คามํ สัมปาปุณียกัมมะ ใน คโต”
๒. ประโยคกััมมวาจก เช่่น มยา ปุุญฺฺญํํ กตํํ. แปลว่่า “อ.บุุญ อัันข้้าพเจ้้า กระทำำ�
แล้้ว” สััมพัันธ์์ว่่า “ปุุญฺฺญํํ วุุตตกััมมะใน กตํํ ๆ กิิตบทกััมมวาจก มยา อนภิิหิิตกััตตา ใน กตํํ”
2 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. ประโยคเหตุุกััมมวาจก เช่่น อนาถปิิณฺฺฑิิเกน วิิหาโร การิิโต. แปลว่่า


“อ.วิิหาร อัันเศรษฐีีชื่่�อว่่าอนาถบิิณฑิิกะ ให้้สร้้างแล้้ว” สััมพัันธ์์ว่่า “วิิหาโร วุุตตกััมมะใน
การิโต ๆ กิตบทเหตุกัมมวาจก อนาถปิณฺฑิเกน อนภิหิตกัตตา ใน การิโต”
๔. ประโยคภาววาจก เช่น ภวตา ภีตํ. แปลว่า “อันท่าน กลัวแล้ว” สัมพันธ์ว่า
“ภวตา อนภิหิตกัตตาใน ภีตํ ๆ กิตบทภาววาจก”
(๒) ท�ำหน้าที่เป็นวิเสสนะ หรือวิกติกัตตา เป็นต้น มีได้ทุกวิภัตติ ในกรณีที่เป็นกัมมรูป
หรืือเหตุุกััมมรููป เวลาแปลให้้แปลพร้้อมกัับบทกััตตาเสมอ บทกััตตา จะเป็็นตติิยาวิิภััตติิหรืือ
ฉััฏฐีีวิิภััตติิก็็ได้้ ถ้้าไม่่มีีให้้ใส่่เข้้ามาในเวลาแปลและสััมพัันธ์์
(๓) ท�ำหน้าที่เป็นกิริยาคุมพากย์ในประโยคลักขณะ (เครื่องหมายจดจ�ำเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้น) ลงสัตตมีวิภัตติ เรียกว่า “ลักขณกิริยา” เช่น ปฐมมาเส อติกฺกนฺเต, อกฺขิโรโค
อุปฺปชฺชิ. แปลว่า “ครั้นเมื่อเดือนที่หนึ่ง ก้าวล่วงแล้ว, อ.โรคที่นัยน์ตา เกิดขึ้นแล้ว” สัมพันธ์ว่า
“ปฐมมาเส ลักขณะใน อติกฺกนฺเต ๆ ลักขณกิริยา อกฺขิโรโค สุทธกัตตาใน อุปฺปชฺชิ ๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก”

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อยํ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตา. (๑/๑/๓)
อยํํ ธมฺฺมเทสนา (ภควตา) กตฺฺถ (าเน) ภาสิิตา.
พระธรรมเทศนานี้้� พระผู้้มี� พี ระภาคตรััสที่่�ไหน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. ตาต มยา สตฺถุ ธมฺมเทสนา สุตา. (๑/๑/๖)
ตาต มยา สตฺฺถุุ ธมฺฺมเทสนา สุุตา.
แน่่ะพ่่อ เราฟัังพระธรรมเทศนาของพระศาสดาแล้้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 3

๓. สตฺถารา หิ สณฺหสุขุมํ ติลกฺขณํ อาโรเปตฺวา อาทิมชฺฌปริโยสานกลฺยาณธมฺโม


เทสิโต. (๑/๑/๖)
สตฺฺถารา หิิ สณฺฺหสุุขุมํุ ํ ติิลกฺฺขณํํ อาโรเปตฺฺวา อาทิิมชฺฺฌปริิโยสานกลฺฺยาณธมฺฺโม เทสิิโต.
ก็็ ธรรมอัันงามในเบื้้อ� งต้้น ท่่ามกลาง และที่่�สุดุ พระศาสดาทรงยกขึ้้น� สู่่�ไตรลัักษณ์์
ทั้้�งละเอีียดทั้้�งสุุขุมุ แล้้วทรงแสดง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. “ภนฺฺ เต มยา เตลํํ ปจิิตฺฺวา เปสิิตํ,ํ นาสาย โว อาสิิตฺฺตนฺฺ ”ติิ. (๑/๑/๙)
(เวชฺฺโช) “ภนฺฺ เต มยา เตลํํ ปจิิตฺฺวา เปสิิตํ,ํ นาสาย โว (เตลํํ) อาสิิตฺฺตนฺฺ ”ติิ (อาห).
หมอกล่่าวว่่า “ท่่านครัับ กระผมหุุงน้ำำ��มันั ส่่งไปถวายแล้้ว ท่่านหยอดน้ำำ��มันั ทางจมููก
หรืือเปล่่า?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. เวชฺฺโช “มยา เอกวาเรเนว วููปสมนตฺฺถํํ เตลํํ ปหิิตํ,ํ กิินฺฺนุุ โข โรโค น วููปสนฺฺ โต”ติิ
จิินฺฺเตตฺฺวา “ภนฺฺ เต นิิสีทิี ตฺิ ฺวา โว อาสิิตฺฺตํ,ํ นิิปชฺฺชิตฺิ ฺวา”ติิ ปุุจฺฺฉิ.ิ (๑/๑/๙)
เวชฺฺโช “มยา เอกวาเรน เอว (โรคสฺฺส) วููปสมนตฺฺถํํ เตลํํ ปหิิตํ,ํ กิินฺฺนุุ โข โรโค น วููปสนฺฺ โต”ติิ
จิินฺฺเตตฺฺวา “ภนฺฺ เต นิิสีทิี ตฺิ ฺวา โว (เตลํํ) อาสิิตฺฺตํ,ํ (อุุทาหุุ) นิิปชฺฺชิตฺิ ฺวา (โว เตลํํ อาสิิตฺฺตํ)ํ ” อิิติิ
ปุุจฺฺฉิ.ิ
หมอคิิดว่่า “เราส่่งยาไปเพื่่�อระงัับโดยครั้้�งเดีียวเท่่านั้้�น เพราะอะไรหนอ โรคจึึงไม่่
ระงัับ” ถามว่่า “ท่่านครัับ ท่่านนั่่�งหยอดน้ำำ��มันั หรืือนอนหยอด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
4 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๖. โส “วิิหารํํ คนฺฺ ตฺฺวา วสนฏฺฺานํํ โอโลเกสฺฺสามีี”ติิ จิินฺฺเตตฺฺวา “เตนหิิ ภนฺฺ เต


คจฺฺฉถา”ติิ เถรํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา วิิหารํํ คนฺฺ ตฺฺวา เถรสฺฺส วสนฏฺฺานํํ โอโลเกนฺฺ โต
จงฺฺกมนนิิสีที นฏฺฺานเมว ทิิสฺฺวา สยนฏฺฺานํํ อทิิสฺฺวา “ภนฺฺ เต นิิสินฺิ ฺ เนหิิ โว อาสิิตฺฺตํ,ํ
นิิปฺปฺ นฺฺ เนหีี”ติิ ปุุจฺฺฉิ.ิ (๑/๑/๙)
โส (เวชฺฺโช) “(อหํํ) วิิหารํํ คนฺฺ ตฺฺวา (เถรสฺฺส) วสนฏฺฺานํํ โอโลเกสฺฺสามีี”ติิ จิินฺฺเตตฺฺวา “เตนหิิ
ภนฺฺ เต (ตุุมฺฺเห) คจฺฺฉถา”ติิ (วตฺฺวา) เถรํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา วิิหารํํ คนฺฺ ตฺฺวา เถรสฺฺส วสนฏฺฺานํํ
โอโลเกนฺฺ โต จงฺฺกมนนิิสีที นฏฺฺานํํ เอว ทิิสฺฺวา สยนฏฺฺานํํ อทิิสฺฺวา “ภนฺฺ เต (เตลํํ) นิิสินฺิ ฺ เนหิิ โว
อาสิิตฺฺตํ,ํ (อุุทาหุุ เตลํํ) นิิปฺปฺ นฺฺ เนหิิ (โว อาสิิตฺฺตํ)ํ ” อิิติิ ปุุจฺฺฉิ.ิ
คุุณหมอนั้้�นคิิดว่่า “เราไปวััด แล้้วตรวจดููที่่�อยู่่�ของพระเถระ” กล่่าวว่่า “ถ้้าเช่่นนั้้�น
นิิมนต์์ท่า่ นไปเถิิดครัับ” แล้้วผละพระเถระไปวััดตรวจดููที่่�อยู่่�ของพระเถระ เห็็นเฉพาะ
ที่่�จงกรมและที่่�นั่่ �ง ไม่่เห็็นที่่�นอน จึึงถามว่่า “ท่่านครัับ ท่่านนั่่�งหยอดน้ำำ��มันั หรืือนอน
หยอด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. อเนกานิิ ปน พุุทฺฺธสตานิิ พุุทฺฺธสหสฺฺสานิิ อตีีตานิิ; เตสุุ เอกพุุทฺฺโธปิิ น ปริิจฺฺฉินฺิ ฺ โน,
อิิทานิิ ‘อิิมํํ อนฺฺ โตวสฺฺสํํ ตโย มาเส น นิิปชฺฺชิสฺิ ฺสามีี’ ติิ เต มานสํํ พทฺฺธํ.ํ (๑/๑/๑๐)
อเนกานิิ ปน พุุทฺฺธสตานิิ พุุทฺฺธสหสฺฺสานิิ อตีีตานิิ; เตสุุ (พุุทฺฺเธสุุ) เอกพุุทฺฺโธปิิ (ตยา) น
ปริิจฺฺฉินฺิ ฺ โน, อิิทานิิ ‘(อหํํ) อิิมํํ อนฺฺ โตวสฺฺสํํ ตโย มาเส น นิิปชฺฺชิสฺิ ฺสามีี’ ติิ เต มานสํํ พทฺฺธํ.ํ
ก็็ พระพุุทธเจ้้าหลายร้้อย หลายพัันพระองค์์ ล่่วงไปแล้้ว, ในบรรดาพระพุุทธเจ้้าเหล่่า-
นั้้�น พระพุุทธเจ้้าแม้้พระองค์์เดีียว ท่่านก็็ไม่่สามารถกำำ�หนดได้้, บััดนี้้� ท่่านผููกใจไว้้ว่่า
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 5

‘จะไม่่นอนตลอด ๓ เดืือน ภายในพรรษานี้้�’


.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. เวชฺฺโช ตํํ ทิิสฺฺวา “กึึ ภนฺฺ เต นตฺฺถุุกมฺฺมํํ กตนฺฺ ”ติิ ปุุจฺฺฉิ.ิ (๑/๑/๑๑)
เวชฺฺโช ตํํ (เถรํํ) ทิิสฺฺวา “กึึ ภนฺฺ เต (ตยา) นตฺฺถุุกมฺฺมํํ กตนฺฺ ”ติิ ปุุจฺฺฉิ.ิ
หมอเห็็นท่่าน จึึงถามว่่า “ท่่านครัับ ท่่านทำำ�นััตถุุกรรมแล้้วหรืือ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. “นิิสีทิี ตฺิ ฺวา โว ภนฺฺ เต กตํํ, นิิปชฺฺชิตฺิ ฺวา”ติิ. (๑/๑/๑๑)
(เวชฺฺโช) “นิิสีทิี ตฺิ ฺวา โว ภนฺฺ เต (นตฺฺถุุกมฺฺมํ)ํ กตํํ, (อุุทาหุุ) นิิปชฺฺชิตฺิ ฺวา (โว นตฺฺถุุกมฺฺมํํ กตํํ)”
อิิติิ (ปุุจฺฺฉิ)ิ .
หมอถามว่่า “ท่่านนั่่�งทำำ�นััตถุุกรรมหรืือนอนทำำ�ครัับ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
6 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๐. อถ นํํ เวชฺฺโช “ภนฺฺ เต ตุุมฺฺเห สปฺฺปายํํ น กโรถ, อชฺฺช ปฏฺฺาย ‘อสุุเกน เม เตลํํ
ปกฺฺกนฺฺ ’ติิ มา วทิิตฺฺถ, อหํํปิิ ‘มยา โว เตลํํ ปกฺฺกนฺฺ ’ติิ น วกฺฺขามีี”ติิ อาห. (๑/๑/๑๑)
อถ นํํ (เถรํํ) เวชฺฺโช “ภนฺฺ เต ตุุมฺฺเห สปฺฺปายํํ น กโรถ, (ตุุมฺฺเห) อชฺฺช ปฏฺฺาย ‘อสุุเกน
(เวชฺฺเชน) เม เตลํํ ปกฺฺกนฺฺ ’ติิ มา วทิิตฺฺถ, อหํํปิิ ‘มยา โว เตลํํ ปกฺฺกนฺฺ ’ติิ น วกฺฺขามีี”ติิ อาห.
ทีีนั้้น� หมอจึึงกล่่าวกัับท่า่ นว่่า “ท่่านครัับ ท่่านไม่่ทำำ�ความสบาย ตั้้�งแต่่วันั นี้้�ไป ท่่าน
อย่่าพููดว่่า ‘หมอคนโน้้นหุุงน้ำำ��มันั เพื่่�อเรา’ ถึึงผมก็็จะไม่่พููดว่่า ‘ผมหุุงน้ำำ��มันั เพื่่�อท่่าน’
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. “อกฺฺขีนิี ิ เม อาวุุโส ปริิหีนี านีี”ติิ. (๑/๑/๑๑)
(เถโร) “อกฺฺขีนิี ิ เม อาวุุโส ปริิหีนี านีี”ติิ (อาห).
พระเถระกล่่าวว่่า “ท่่านผู้้มี� อี ายุุ นััยน์์ตาทั้้�งสองของเราเสื่่อ� มรอบแล้้ว”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๒. สามเณโร ตตฺฺถ นิิมิตฺิ ฺตํํ คเหตฺฺวา ยฏฺฺิิโกฏึึ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา “ติิฏฺฺถ ตาว ภนฺฺ เต,
กิิจฺฺจํํ เม อตฺฺถี”ี ติิ ตสฺฺสา สนฺฺ ติกํิ ํ คโต. (๑/๑/๑๔)
สามเณโร ตตฺฺถ (สทฺฺเท) นิิมิตฺิ ฺตํํ คเหตฺฺวา ยฏฺฺิิโกฏึึ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา “(ตุุมฺฺเห) ติิฏฺฺถ ตาว
ภนฺฺ เต, กิิจฺฺจํํ เม อตฺฺถี”ี ติิ (วตฺฺวา) ตสฺฺสา (อิิตฺฺถิยิ า) สนฺฺ ติกํิ ํ คโต.
สามเณรถืือเอานิิมิติ ในเสีียงนั้้�น ปล่่อยปลายไม้้เท้้า กล่่าวว่่า “ท่่านครัับ ขอท่่านจงหยุุด
ก่่อน กระผมมีีกิจิ ” ดัังนี้้�แล้้วไปสู่่�สำำ�นัักของหญิิงนั้้�น
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 7

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. ตํํ สุุตฺฺวา อิิตโร สํํเวคชาโต “ภาริิยํํ วต เม สาหสิิกํํ อนนุุจฺฺฉวิกํิ ํ กมฺฺมํํ กตนฺฺ ”ติิ
พาหา ปคฺฺคยฺฺห กนฺฺ ทนฺฺ โต วนสณฺฺฑํํ ปกฺฺขนฺฺ ทิตฺิ ฺวา ตถา ปกฺฺกนฺฺ โต ว อโหสิิ. (๑/๑/๑๖)
ตํํ (วจนํํ) สุุตฺฺวา อิิตโร (ปาลิิโต) สํํเวคชาโต “ภาริิยํํ วต เม สาหสิิกํํ อนนุุจฺฺฉวิกํิ ํ กมฺฺมํํ กตนฺฺ ”ติิ
(จิินฺฺเตตฺฺวา) พาหา ปคฺฺคยฺฺห กนฺฺ ทนฺฺ โต วนสณฺฺฑํํ ปกฺฺขนฺฺ ทิตฺิ ฺวา ตถา ปกฺฺกนฺฺ โต ว อโหสิิ.
นายปาลิิตะนอกนี้้�ฟัังคำำ�นั้้�นแล้้วเกิิดสลดใจ คิิดว่่า “เราทำำ�กรรมหนััก ที่่�เป็็ นไปกัับด้้วย
ความผลุุนผลััน ที่่�ไม่่สมควรแล้้วหนอ” ประคองแขนคร่ำ���ครวญแล่่นเข้้าไปในป่่ารก ได้้
เป็็ นผู้้ห� ลีีกไปแล้้วเหมืือนอย่่างนั้้�นนั่่�นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. “น ชานามิิ, กึึ ปน เถโร อาคโต”ติิ. (๑/๑/๑๗)
(โส กุุฏุุมฺฺพิโิ ก) “(อหํํ) น ชานามิิ, กึึ ปน เถโร อาคโต”ติิ (อาห).
กุุฎุุมพีนั้้ี น� กล่่าวว่่า “ไม่่รู้,้� ก็็พระเถระมาแล้้วหรืือ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
8 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๕. เทโว ปมยาเม วสฺฺสิตฺิ ฺวา มชฺฺฌิมย


ิ าเม วิิคโต. (๑/๑/๑๘)
ฝนตกในปฐมยาม หยุุดตกในมััชฌิมย ิ าม
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๖. “กึึ ปน โส ตุุมฺฺเหหิิ มาเรนฺฺ โต ทิิฏฺฺโ”ติิ. (๑/๑/๑๘)
(สตฺฺถา) “กึึ ปน โส (จกฺฺขุปุ าโล) ตุุมฺฺเหหิิ (ปาเณ) มาเรนฺฺ โต ทิิฏฺฺโ”ติิ (อาห).
พระศาสดาตรััสว่่า “ก็็พระจัักขุุบาลนั้้�นทำำ�สััตว์์ให้้ตาย พวกท่่านพากัันเห็็นหรืือ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๗. “น ทิิฏฺฺโ ภนฺฺ เต”ติิ. (๑/๑/๑๙)
(เต ภิิกฺฺขูู) “(โส จกฺฺขุปุ าลตฺฺเถโร อมฺฺเหหิิ ปาเณ มาเรนฺฺ โต) น ทิิฏฺฺโ ภนฺฺ เต”ติิ (อาหํํสุ)ุ .
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกราบทููลว่่า “ไม่่เห็็น พระเจ้้าข้้า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๘. “ภนฺฺ เต อรหตฺฺตสฺฺส อุุปนิิสฺฺสเย สติิ, กสฺฺมา อนฺฺ โธ ชาโต”ติิ. (๑/๑/๑๙)
(เต ภิิกฺฺขูู) “ภนฺฺ เต อรหตฺฺตสฺฺส อุุปนิิสฺฺสเย สติิ, (โส จกฺฺขุปุ าลตฺฺเถโร) กสฺฺมา อนฺฺ โธ ชาโต”ติิ
(อาหํํสุ)ุ .
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ เมื่่อ� อุุปนิิสัยั แห่่งพระอรหััตมีีอยู่่�
เพราะเหตุุอะไร พระจัักขุุบาลเถระจึึงกลายเป็็ นคนตาบอดเล่่า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 9

๑๙. “กึึ ปน ภนฺฺ เต เตน กตนฺฺ ”ติิ. (๑/๑/๑๙)


(เต ภิิกฺฺขูู) “กึึ ปน (กมฺฺมํ)ํ ภนฺฺ เต เตน (จกฺฺขุปุ าลตฺฺเถเรน) กตนฺฺ ”ติิ (อาหํํสุ)ุ .
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ ก็็กรรมอะไรที่่�พระจัักขุุบาลเถระนั้้�น
กระทำำ�แล้้ว”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๐. เตสุุ อิิมสฺฺมึึ าเน นิิสฺฺสตฺฺตนิิชฺฺชีวี ธมฺฺโม อธิิปฺเฺ ปโต. (๑/๑/๒๑)
(ภควตา) เตสุุ (จตููสุุ ธมฺฺเมสุุ) อิิมสฺฺมึึ าเน นิิสฺฺสตฺฺตนิิชฺฺชีวี ธมฺฺโม อธิิปฺเฺ ปโต.
ในบรรดาธรรมทั้้�ง ๔ อย่่างเหล่่านั้้�น นิิสสััตตนิิชชีวี ธรรม พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้าทรง
ประสงค์์เอาในที่่�นี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๑. “มโนปุุพฺฺพงฺฺคมาติิ ทุุติิยคาถาปิิ สาวตฺฺถิิยํํเยว มฏฺฺฐกุุณฺฺฑลึึ อารพฺฺภ ภาสิิตา.
(๑/๒/๒๓)
“มโนปุุพฺพฺ งฺฺคมาติิ ทุุติยิ คาถาปิิ (ภควตา) สาวตฺฺถิยํิ ํ เอว มฏฺฺกุุณฺฺฑลึึ อารพฺฺภ ภาสิิตา.
แม้้พระคาถาที่่� ๒ ว่่า “มโนปุุพฺพฺ งฺฺคมา” ดัังนี้้�เป็็ นต้้น พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้า ก็็ตรััส
ปรารภมััฏฐกุุณฑลีมี าณพในเมืืองสาวััตถีีนั่่ �นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
10 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๒. อิธ เตภูมิกํปิ กุสลํ อธิปฺเปตํ. (๑/๒/๓๔)


(ภควตา) อิิธ (าเน) เตภููมิิกํปิํ ิ กุุสลํํ อธิิปฺเฺ ปตํํ.
กุุศลแม้้ที่่�เป็็ นไปในภููมิิ ๓ พระผู้้มี� พี ระภาคทรงประสงค์์เอาในที่่�นี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๓. อมฺมตาตา มยา ภิกฺขุสหสฺสํ นิมนฺติตํ. (๑/๗/๗๑)
ดูก่อนแม่และพ่อทั้งหลาย เรานิมนต์ภิกษุ ๑,๐๐๐ รูปไว้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๔. สพฺพํ ตุมฺเหหิ ญาตํ. (๑/๘/๘๒)
สพฺพํ (วตฺถุ) ตุมฺเหหิ ญาตํ.
เรื่องทั้งหมด พวกท่านรู้แล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๕. อิมินา กุมารา นิปาติตา. (๑/๑๒/๑๒๘)
อิิมินิ า (อุุปาลิิกปฺฺปเกน) กุุมารา นิิปาติิตา.
พระกุุมารทั้้�งหลาย ถููกนายภููษามาลาชื่่อ� ว่่าอุุบาลีีนี้้�ทำำ�ให้้ตกไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๖. เทวทตฺฺโต โปถุุชฺฺชนิิกํํ อิิทฺฺธึึ ปตฺฺโต. (๑/๑๒/๑๒๘)
พระเทวทััตบรรลุุฤทธิ์์ �ที่่�เป็็ นของปุุถุุชน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 11

๒๗. นีตา เต ภิกฺขู สารีปุตฺตโมคฺคลฺลาเนหิ. (๑/๑๒/๑๓๓)


พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�น ถููกพระสารีีบุุตรและพระโมคคััลลานะนำำ�ไปแล้้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๘. จตุุราสีีติยิ า ปาณสหสฺฺสานํํ ธมฺฺมาภิิสมโย ชาโต. (๑/๑๒/๑๓๑)
การตรััสรู้้ธ� รรม เกิิดแก่่สัตั ว์์ ๘๔,๐๐๐
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๙. ตทา หิิ มหาชโน “ราชาปิิ เทวทตฺฺเตเนว มาราปิิ โต, วธกาปิิ ปโยชิิตา, สิิลาปิิ
ปวิิทฺฺธา; อิิทานิิ ปน เตน นาฬาคิิริ ิ วิิสฺฺสชฺฺชาปิิ โต, เอวรููปํํ นาม ปาปํํ คเหตฺฺวา
ราชา วิิจรตีีติิ โกลาหลมกาสิิ. (๑/๑๒/๑๓๑)
ตทา หิิ มหาชโน “ราชาปิิ เทวทตฺฺเตเนว มาราปิิ โต, วธกาปิิ (เทวทตฺฺเตน) ปโยชิิตา, สิิลาปิิ
(เทวทตฺฺเตน) ปวิิทฺฺธา; อิิทานิิ ปน เตน (เทวทตฺฺเตน) นาฬาคิิริ ิ วิิสฺฺสชฺฺชาปิิ โต, เอวรููปํํ นาม
ปาปํํ (ปุุคฺฺคลํํ) คเหตฺฺวา ราชา วิิจรตีีติิ โกลาหลํํ อกาสิิ.
ก็็ ในคราวนั้้�น มหาชนได้้ทำำ�ความโกลาหลว่่า “แม้้พระราชา ก็็ถููกพระเทวทััตนั่่�นแหละ
ให้้สวรรคตแล้้ว, แม้้พวกนายขมัังธนูู ก็็ถููกพระเทวทััตประกอบไว้้, แม้้ศิิลา ก็็ถููกพระ
เทวทััตกลิ้้ง� แล้้ว, ก็็ในบััดนี้้� ช้้างนาฬาคีีรี ี ก็็ถููกพระเทวทััตให้้ปล่่อยแล้้ว, พระราชาทรง
พาเอาคนชั่่�วเห็็นปานนี้้�เที่่�ยวไป” ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
12 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๐. ตสฺส อิมินา นิยาเมเนว ชีวิตํ กปฺเปนฺตสฺส, ปญฺจปณฺณาส วสฺสานิ อติกฺกนฺตานิ.


(๑/๑๐/๑๑๗)
ตสฺฺส (จุุนฺฺทสฺฺส) อิิมินิ า นิิยาเมน เอว ชีีวิตํิ ํ กปฺฺเปนฺฺ ตสฺฺส, ปฺฺจปณฺฺณาส วสฺฺสานิิ
อติิกฺฺกนฺฺ ตานิิ.
เมื่่อ� นายจุุนทะนั้้�นสำำ�เร็็จการเลี้้ย� งชีีวิติ โดยทำำ�นองนี้้�นั่่ �นแหละ ๕๕ ปีี ก็็ผ่า่ นไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 13

ตัวอย่าง ตปัจจัยที่ท�ำหน้าที่อื่นๆ นอกจากกิริยาคุมพากย์


๑. อยํ มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคฺคหิโต ภวิสฺสติ. (๑/๑/๓)
อยํํ (รุุกฺฺโข) มเหสกฺฺขาย เทวตาย ปริิคฺฺคหิิโต ภวิิสฺฺสติิ.
ต้้นไม้้นี้้� น่่าจะมีีเทวดาผู้้มี� ศัี กั ดิ์์�ใหญ่่สิงิ สถิิตอยู่่�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. เสฏฺฺฐีี อตฺฺตนา ปาลิิตํํ วนปฺฺปตึึ นิิสฺฺสาย ลทฺฺธตฺฺตา ตสฺฺส “ปาโลติิ (วจนํํ) นามํํ
อกาสิิ. (๑/๑/๓)
เสฏฺฺีี (ตสฺฺส ปุุตฺฺตสฺฺส อตฺฺตนา) อตฺฺตนา ปาลิิตํํ วนปฺฺปตึึ นิิสฺฺสาย ลทฺฺธตฺฺตา ตสฺฺส (ปุุตฺฺตสฺฺส)
“ปาโล”ติิ (วจนํํ) นามํํ อกาสิิ.
เศรษฐีีได้้ตั้้�งชื่่อ� ให้้ลููกชายนั้้�นว่่า “ปาละ” เพราะว่่าตนอาศััยต้้นไม้้เจ้้าป่่าที่่�ตัวั เองรัักษา
ดููแลแล้้วได้้บุุตรมา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. ตสฺฺมึึ สมเย สตฺฺถา ปวตฺฺติิตปวรธมฺฺมจกฺฺโก อนุุปุุพฺฺเพน คนฺฺตฺฺวา อนาถปิิณฺฺฑิิก-
มหาเสฏฺฺฐิินา จตุุปฺฺปญฺฺญาสโกฏิิธนํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา การิิเต เชตวนมหาวิิหาเร วิิหรติิ.
(๑/๑/๔)
ในสมััยนั้้น� พระศาสดาผู้้มี� ธี รรมจัักรอัันประเสริิฐที่่ท� รงให้้เป็็ นไปแล้้ว เสด็็จไปตาม
ลำำ�ดัับ ประทัับอยู่่�ที่่วั� ดั พระเชตวัันมหาวิิหารที่่�ท่า่ นมหาเศรษฐีีชื่่อ� ว่่าอนาถบิิณฑิกิ ะสละ
ทรััพย์์นับั ได้้ ๕๔ โกฏิิให้้สร้้างถวาย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
14 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔. ตถาคโต หิิ “มาติิปกฺฺขโต อสีีติยิ า ปิิ ติปิ กฺฺขโต อสีีติยิ าติิ เทฺฺวอสีีติิ าติิกุุลสหสฺฺเสหิิ
การิิเต นิิโคฺฺรธมหาวิิหาเร เอกเมว วสฺฺสาวาสํํ วสิิ, อนาถปิิ ณฺฺฑิเิ กน การิิเต เชตวน-
มหาวิิหาเร เอกููนวีีสติิ, วิิสาขาย สตฺฺตวีีสติิโกฏิิธนปริิจฺฺจาเคน การิิเต ปุุพฺฺพาราเม
ฉ วสฺฺสาวาเสติิ ทฺฺวินฺิ ฺ นํํ กุุลานํํ คุุณมหนฺฺ ตตํํ ปฏิิจฺฺจ สาวตฺฺถึึ นิิสฺฺสาย ปฺฺจวีสี ติิ
วสฺฺสาวาเส วสิิ. (๑/๑/๔)
ตถาคโต หิิ “มาติิปกฺฺขโต อสีีติยิ า (าติิกุุลสหสฺฺเสหิิ) ปิิ ติปิ กฺฺขโต อสีีติยิ า (าติิกุุลสหสฺฺเสหิิ)” อิิติิ
เทฺฺวอสีีติ
ิ าติิกุุลสหสฺฺเสหิิ การิิเต นิิโคฺฺรธมหาวิิหาเร เอกเมว วสฺฺสาวาสํํ วสิิ, อนาถปิิ ณฺฺฑิเิ กน
การิิเต เชตวนมหาวิิหาเร เอกููนวีีสติิ (วสฺฺสาวาเส วสิิ), วิิสาขาย สตฺฺตวีีสติิโกฏิิธนปริิจฺฺจาเคน
การิิเต ปุุพฺฺพาราเม ฉ วสฺฺสาวาเส (วสิิ) อิิติิ ทฺฺวินฺิ ฺ นํํ กุุลานํํ คุุณมหนฺฺ ตตํํ ปฏิิจฺฺจ สาวตฺฺถึึ
นิิสฺฺสาย ปฺฺจวีสี ติิ วสฺฺสาวาเส วสิิ.
เป็็ นความจริิงที่่�ว่า่ พระตถาคตประทัับอยู่่�จำำ�พรรษาที่่�นิิโครธารามเพีียงพรรษาเดีียว
ที่่�ตระกููลพระญาติิสองฝ่่ายรวมกัันเป็็ น ๑๖๐,๐๐๐ ตระกููล คืือ จากฝ่่ายพระมารดา
๘๐,๐๐๐ ตระกููล และจากฝ่่ายพระบิิดา ๘๐,๐๐๐ ตระกููลให้้สร้้างถวาย ประทัับอยู่่�จำำ�
พรรษา ๑๙ พรรษา ที่่�วัดั พระเชตวัันมหาวิิหารที่่�ท่า่ นอนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีให้้สร้้าง
ถวาย ประทัับอยู่่�จำำ�พรรษา ๖ พรรษา ที่่�บุุพพารามที่่�นางวิิสาขาให้้สร้้างถวายโดย
การบริิจาคทรััพย์์ ๒๗ โกฏิิ ทรงอาศััยเมืืองสาวััตถีีประทัับอยู่่�จำำ�พรรษายาวนานถึึง
๒๕ พรรษา เพราะทรงอาศััยตระกููลทั้้�งสองที่่�มีคุี ณม ุ าก ด้้วยประการฉะนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 15

๕. นิิเวสเนสุุ ปน เตสํํ ทฺฺวิินฺฺนํํ ทฺฺวิินฺฺนํํ ภิิกฺฺขุุสหสฺฺสานํํ นิิจฺฺจํํ ปญฺฺญตฺฺตาเนวาสนานิิ


โหนฺฺติิ. (๑/๑/๔)
อาสนานิิ ปน (ปุุคฺฺคเลน) เตสํํ (ทฺฺวินฺิ ฺ นํํ ชนานํํ) นิิเวสเนสุุ ทฺฺวินฺิ ฺ นํํ ทฺฺวินฺิ ฺ นํํ ภิิกฺฺขุสุ หสฺฺสานํํ
นิิจฺฺจํํ ปฺฺตฺฺตานิิ เอว โหนฺฺ ติ.ิ
อนึ่่�ง ที่่�เรืือนของชนเหล่่านั้้�น มีีการปููลาดอาสนะไว้้เพื่่�อภิิกษุุแห่่งละ ๒,๐๐๐ ที่่� เป็็ น
ประจำำ�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. “กึึ กเถสิิ ภาติิก, ตฺฺวํํ เม มาตริิ มตาย มาตา วิิย, ปิิ ตริิ มเต ปิิ ตา วิิย
ลทฺฺโธ, เคเห โว มหาวิิภโว, สกฺฺกา เคหํํ อชฺฺฌาวสนฺฺ เตเหว ปฺฺุุานิิ กาตุํํ�, มา
เอวมกตฺฺถา”ติิ. (๑/๑/๖)
(กนิิฏฺฺโ) “(ตฺฺวํ)ํ กึึ (วจนํํ) กเถสิิ ภาติิก, ตฺฺวํํ เม มาตริิ มตาย มาตา วิิย (ลทฺฺโธ อสิิ),
(ตฺฺวํํ เม) ปิิ ตริิ มเต ปิิ ตา วิิย ลทฺฺโธ (อสิิ), เคเห โว มหาวิิภโว (อตฺฺถิ)ิ , สกฺฺกา เคหํํ
อชฺฺฌาวสนฺฺ เตหิิ เอว (ตุุมฺฺเหหิิ) ปฺฺุุานิิ กาตุํํ�, (ตุุมฺฺเห) มา เอวํํ อกตฺฺถา”ติิ (อาห).
น้้องชายกล่่าวว่่า “พี่่�พููดอะไร? เมื่่อ� แม่่ตายผมได้้ท่่านเป็็ นเหมืือนแม่่ เมื่่อ� พ่่อตาย ผม
ได้้ท่่านเป็็ นเหมืือนพ่่อ ทรััพย์์มากมายมีีอยู่่�ในเรืือนท่่าน ท่่านอยู่่�ครองเรืือนก็็สามารถ
ทำำ�บุุญทั้้�งหลายได้้ ท่่านอย่่าได้้ทำำ�แบบนี้้�เลย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
16 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๗. “นนุุ ภนฺฺ เต เวชฺฺเชนมฺฺห ปวาริิตา, ตสฺฺส กเถยฺฺยามา”ติิ. (๑/๑/๙)


(เต ภิิกฺฺขูู) “นนุุ ภนฺฺ เต (มยํํ) เวชฺฺเชน อมฺฺห ปวาริิตา, (มยํํ) ตสฺฺส (เวชฺฺชสฺฺส) กเถยฺฺยามา”ติิ
(อาหํํสุ)ุ .
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกล่่าวว่่า “ท่่านครัับ พวกเรา มีีคุณ ุ หมอปวารณาไว้้แล้้วมิิใช่่หรืือ? พวก
เราควรบอกแก่่เขา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. โส เวชฺเชน ปจฺจกฺขาโต วิหารํ คนฺตฺวา “เวชฺเชนาปิ ปจฺจกฺขาโตสิ, อิริยาปถํ มา
วิสฺสชฺชิ สมณาติ
“ปฏิกฺขิตฺโต ติกิจฺฉาย เวชฺเชนาสิ วิวชฺชิโต
นิยโต มจฺจุราชสฺส กึ ปาลิต ปมชฺชสีติ
อิมาย คาถาย อตฺตานํ โอวทิตฺวา สมณธมฺมํ อกาสิ. (๑/๑/๑๑)
โส (เถโร) เวชฺฺเชน ปจฺฺจกฺฺขาโต วิิหารํํ คนฺฺ ตฺฺวา “(ตฺฺวํ)ํ เวชฺฺเชน อปิิ ปจฺฺจกฺฺขาโต อสิิ, (ตฺฺวํ)ํ
อิิริยิ าปถํํ มา วิิสฺฺสชฺฺชิิ สมณาติิ (จิินฺฺเตตฺฺวา)
“(ตฺฺวํ)ํ ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต ติิกิจฺิ ฺฉาย เวชฺฺเชน อสิิ วิิวชฺฺชิโิ ต
นิิยโต มจฺฺจุรุ าชสฺฺส, (ตฺฺวํ)ํ กึึ ปาลิิต ปมชฺฺชสี”ี ติิ
อิิมาย คาถาย อตฺฺตานํํ โอวทิิตฺฺวา สมณธมฺฺมํํ อกาสิิ.
พระเถระนั้้�นถููกคุุณหมอบอกคืืน กลัับไปวััด คิิดว่่า “ท่่าน แม้้หมอก็็บอกคืืนแล้้ว, ท่่าน
อย่่าละอิิริยิ าบถ นะสมณะ” โอวาทตััวเองด้้วยคาถานี้้�ว่า่
“ท่่านถููกหมอปฏิิเสธการเยีียวยา ถููกหมอเว้้นการเยีียวยา เป็็ น
ผู้้เ� ที่่�ยงต่่อพญามััจจุรุ าช ปาลิิตะ ท่่านประมาทอยู่่� เพราะอะไร”
แล้้วได้้ทำำ�สมณธรรม
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 17

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. เถโร ตุุณฺฺหีี อโหสิิ; ปุุนปฺฺปุนํุ ํ ปุุจฺฺฉิโิ ตปิิ น กิิฺฺจิิ กเถสิิ. (๑/๑/๑๑)
เถโร ตุุณฺฺหีี อโหสิิ; (เวชฺฺเชน) ปุุนปฺฺปุนํุ ํ ปุุจฺฺฉิโิ ตปิิ น กิิฺฺจิิ (วจนํํ) กเถสิิ.
พระเถระได้้เป็็ นผู้้นิ่่� �งเฉย แม้้ถููกหมอรบเร้้าถามแล้้ว ก็็ไม่่พููดอะไรๆ เลย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
18 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๐. โส (สกฺโก) เถรสฺเสวตฺถาย กนิฏฺฐกุฏุมฺพิเกน การิตํ ปณฺณสาลํ เนตฺวา ผลเก


นิสีทาเปตฺวา ปิยสหายวณฺเณน ตสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา “สมฺม ปาลาติ ปกฺโกสิ.
(๑/๑/๑๗)
โส (สกฺฺโก) เถรสฺฺส เอว อตฺฺถาย กนิิฏฺฺกุุฏุุมฺฺพิเิ กน การิิตํํ ปณฺฺณสาลํํ เนตฺฺวา (เถรํํ) ผลเก
นิิสีที าเปตฺฺวา ปิิ ยสหายวณฺฺเณน ตสฺฺส (กุุฏุุมฺฺพิกิ สฺฺส) สนฺฺ ติกํิ ํ คนฺฺ ตฺฺวา “สมฺฺม ปาลา”ติิ
ปกฺฺโกสิิ.
ท้้าวสัักกะนั้้�นทรงนำำ�ไปสู่่�บรรณศาลาที่่�กุุฎุุมพีผู้ี เ้� ป็็ นน้้องชายให้้สร้้างไว้้เพื่่�อประโยชน์์
แก่่พระเถระนั่่�นแหละ นิิมนต์์พระเถระให้้นั่่�งบนแผ่่นกระดาน เสด็็จไปยัังสำำ�นัักของ
กุุฎุุมพีนั้้ี น� ด้้วยการแปลงเพศเป็็ นเพื่่�อนรััก ทรงร้้องเรีียกว่่า “แน่่ะปาละผู้้ส� หาย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. สา เวชฺฺเชนาคนฺฺตฺฺวา “กีีทิิสํํ ภทฺฺเทติิ ปุุฏฺฺฐา “ปุุพฺฺเพ เม อกฺฺขีีนิิ โถกํํ รุุชฺฺชึึสุุ,
อิิทานิิ อติิเรกตรํํ รุุชฺฺชนฺฺตีีติิ อาห. (๑/๑/๑๙)
สา (อิิตฺฺถี)ี เวชฺฺเชน อาคนฺฺ ตฺฺวา “(อกฺฺขิยุิ คํุ )ํ กีีทิสํิ ํ (โหติิ) ภทฺฺเท”ติิ ปุุฏฺฺา “(วาเตน) ปุุพฺฺเพ เม
อกฺฺขีนิี ิ โถกํํ รุุชฺฺชึึสุ,ุ อิิทานิิ (วาเตน เม อกฺฺขีนิี ิ) อติิเรกตรํํ รุุชฺฺชนฺฺตี”ี ติิ อาห.
หญิิงนั้้�น ถููกหมอที่่�มาแล้้วถามว่่า “เป็็ นเช่่นไรบ้้าง แม่่นาง” ก็็กล่่าวว่่า “เมื่่อ� ก่่อน ลม
เสีียดแทงนััยน์์ตาทั้้�งหลายของดิิฉันั หน่่อยเดีียว, ตอนนี้้� เสีียดแทงมากกว่่าก่่อน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 19

๑๒. น เม เอตาย ทินฺนภติยา อตฺโถ. (๑/๑/๑๙)


น เม เอตาย (อิิตฺฺถิยิ า) ทิินฺฺนภติิยา อตฺฺโถ (อตฺฺถิ)ิ .
เราไม่่มีคี วามต้้องการด้้วยค่่าจ้้างที่่�หญิิงนี้้�ให้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. ภิกฺขเว ตทา มม ปุตฺเตน กตกมฺมํ ปจฺฉโต ปจฺฉโต อนุพนฺธิ. (๑/๑/๒๐)
ดููก่่อนภิิกษุุทั้้ง� หลาย กรรมที่่�บุุตรของเรากระทำำ�ไว้้แล้้วในคราวนั้้�น ติิดตามมาข้้างหลััง
ติิดๆ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. เตน กสฺฺสจิิ กิิฺฺจิิ น ทิินฺฺนปุุพฺฺพํ,ํ เตน ตํํ “อทิินฺฺนปุุพฺฺพโกเตฺฺวว สฺฺชานึึสุุ. (๑/๒/๒๓)
เตน (พฺฺราหฺฺมเณน) กสฺฺสจิิ กิิฺฺจิิ (วตฺฺถุุ) น ทิินฺฺนปุุพฺฺพํํ (โหติิ), เตน (ชนา) ตํํ (พฺฺราหฺฺมณํํ)
“อทิินฺฺนปุุพฺฺพโก” อิิติิ เอว สฺฺชานึึสุุ.
พราหมณ์์นั้้น� ไม่่เคยให้้วััตถุุอะไรๆ แก่่ใครๆ เลย เพราะฉะนั้้�น ชาวบ้้านจึึงจำำ�เขาว่่า
“อทิินนบุุพพกะ” นั่่�นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๕. สตฺถา...ทฺวีหิ ชเนหิ กถิตํ กถํ ปกาเสนฺโต สพฺพํ มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุํ กเถสิ. (๑/๒/๓๒)
พระศาสดา... เมื่่อ� ทรงประกาศถ้้อยคำำ�ที่่�ชนทั้้�งสองกล่่าวแล้้ว ตรััสเรื่่อ� งมััฏฐกุุณฑลี-ี
มาณพทั้้�งเรื่่อ� ง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
20 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๖. โส สตฺฺถารา ปุุจฺฺฉิิโต “อิิเม มํํ ภนฺฺเต ภิิกฺฺขูู อกฺฺโกสนฺฺตีีติิ อาห. (๑/๓/๓๖)
โส (ติิสฺฺโส) สตฺฺถารา ปุุจฺฺฉิโิ ต “อิิเม มํํ ภนฺฺ เต ภิิกฺฺขูู อกฺฺโกสนฺฺ ตีติี ิ อาห.
พระติิสสะนั้้�น ถููกพระศาสดาตรััสถาม ก็็กราบทููลว่่า “พวกภิิกษุุเหล่่านี้้�พากัันด่่าข้้า-
พระองค์์ พระเจ้้าข้้า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๗. อิมินา การเณนาหํ อิมินา อภิสปิโต. (๑/๓/๓๙)
อิิมินิ า การเณน อหํํ อิิมินิ า (ตาปเสน) อภิิสปิิ โต (อมฺฺหิ)ิ .
อาตมาถููกดาบสนี้้�สาปแช่่งเพราะเหตุุนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๘. อสุุเกนาหํํ อกฺฺกุุฏฺฺโ, อสุุเกน ปหโฏ, อสุุเกน ชิิโต. (๑/๓/๔๑)
อสุุเกน (ปุุคฺฺคเลน) อหํํ อกฺฺกุุฏฺฺโ (อมฺฺหิ)ิ , (อหํํ) อสุุเกน (ปุุคฺฺคเลน) ปหโฏ (อมฺฺหิ)ิ , (อหํํ)
อสุุเกน (ปุุคฺฺคเลน) ชิิโต (อมฺฺหิ)ิ .
ผู้้โ� น้้นด่่าเรา, ผู้้โ� น้้นได้้ฆ่่าเรา, ผู้้โ� น้้นได้้ชนะเรา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๙. ตยาปิิ โกจิิ นิิทฺฺโทโส ปุุริมิ ภเว อกฺฺกุุฏฺฺโ ภวิิสฺฺสติิ ปหโฏ ภวิิสฺฺสติิ, กุุฏสกฺฺขึึ
โอตาเรตฺฺวา ชิิโต ภวิิสฺฺสติิ, กสฺฺสจิิ เต ปสยฺฺห กิิฺฺจิิ อจฺฺฉินฺิ ฺ นํํ ภวิิสฺฺสติิ. (๑/๓/๔๑)
ตยาปิิ โกจิิ นิิทฺฺโทโส ปุุริมิ ภเว อกฺฺกุุฏฺฺโ ภวิิสฺฺสติิ, (ตยา) ปหโฏ ภวิิสฺฺสติิ, (ตยา) กุุฏสกฺฺขึึ
โอตาเรตฺฺวา ชิิโต ภวิิสฺฺสติิ, กสฺฺสจิิ เต ปสยฺฺห กิิฺฺจิิ (วตฺฺถุุ) อจฺฺฉินฺิ ฺ นํํ ภวิิสฺฺสติิ.
ใครๆ ที่่�ไม่่มีคี วามผิิด ถึึงท่่านก็็น่่าจะเคยด่่าเขาไว้้ในภพก่่อน, เคยตีีเขาไว้้, เคยใช้้
พยานโกงชนะคดีี, เคยข่่มเหงแย่่งชิิงวััตถุุสิ่่ง� ของของใครๆ เขามา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 21

๒๐. วฺฺฌิตฺิ ฺถีี ตํํ กถํํ สุุตฺฺวา “ปุุตฺฺตา นาม มาตาปิิ ตููนํํ วจนํํ อติิกฺฺกมิิตุํํ� น สกฺฺโกนฺฺ ติ,ิ
อิิทานิิ อฺฺํํ วิิชายิินึึ อิิตฺฺถึึ อาเนตฺฺวา มํํ ทาสีีโภเคน ภฺฺุุชิสฺิ ฺสติิ, ยนฺฺ นููนาหํํ
สยเมเวกํํ กุุมาริิกํํ อาเนยฺฺยนฺฺติิ จิินฺฺเตตฺฺวา เอกํํ กุุลํํ คนฺฺ ตฺฺวา ตสฺฺสตฺฺถาย กุุมาริิกํํ
วาเรตฺฺวา “กิินฺฺนาเมตํํ อมฺฺม วเทสีีติิ เตหิิ ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺตา “อหํํ วฺฺฌา, อปุุตฺฺตกํํ กุุลํํ
วิินสฺฺสติิ, ตุุมฺฺหากํํ ธีีตา ปุุตฺฺตํํ ปฏิิลภิตฺิ ฺวา กุุฏุุมฺฺพสฺฺส สามิินีี ภวิิสฺฺสติิ, เทถ ตํํ มยฺฺหํํ
สามิิกสฺฺสาติิ ยาจิิตฺฺวา สมฺฺปฏิิจฺฺฉาเปตฺฺวา อาเนตฺฺวา สามิิกสฺฺส ฆเร อกาสิิ. (๑/๔/๔๓)
วฺฺฌิตฺิ ฺถีี ตํํ กถํํ สุุตฺฺวา “ปุุตฺฺตา นาม มาตาปิิ ตููนํํ วจนํํ อติิกฺฺกมิิตุํํ� น สกฺฺโกนฺฺ ติ,ิ อิิทานิิ
(มาตา) อฺฺํํ วิิชายิินึึ อิิตฺฺถึึ อาเนตฺฺวา มํํ ทาสีีโภเคน ภฺฺุุชิสฺิ ฺสติิ, ยนฺฺ นููน อหํํ สยํํ เอว เอกํํ
กุุมาริิกํํ อาเนยฺฺยนฺฺติิ จิินฺฺเตตฺฺวา เอกํํ กุุลํํ คนฺฺ ตฺฺวา ตสฺฺส (สามิิกสฺฺส) อตฺฺถาย กุุมาริิกํํ วาเรตฺฺวา
“กึึ นาม เอตํํ (วจนํํ) อมฺฺม วเทสีีติิ เตหิิ (ชเนหิิ) ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺตา “อหํํ วฺฺฌา (อมฺฺหิ)ิ , อปุุตฺฺตกํํ กุุลํํ
วิินสฺฺสติิ, ตุุมฺฺหากํํ ธีีตา ปุุตฺฺตํํ ปฏิิลภิตฺิ ฺวา กุุฏุุมฺฺพสฺฺส สามิินีี ภวิิสฺฺสติิ, (ตุุมฺฺเห) เทถ ตํํ (กุุมาริิกํ)ํ
มยฺฺหํํ สามิิกสฺฺสาติิ ยาจิิตฺฺวา (เต ชเน) สมฺฺปฏิิจฺฺฉาเปตฺฺวา อาเนตฺฺวา สามิิกสฺฺส ฆเร อกาสิิ.
หญิิงหมัันฟัังคำำ�พููดนั้้�นแล้้วก็็คิดิ ว่่า “ธรรมดาว่่าลููกๆ จะไม่่อาจขััดคำำ�ของพ่่อแม่่ได้้,
บััดนี้้� มารดานำำ�หญิิงอื่่น� ที่่�สามารถคลอดบุุตรได้้ ก็็จะใช้้เราเหมืือนหญิิงรัับใช้้, อย่่า
กระนั้้�นเลย เราควรนำำ�กุุมาริิกาสัักคนมาด้้วยตนเอง” จึึงไปยัังตระกููลหนึ่่�ง แล้้วทาบทาม
กุุมาริิกาเพื่่�อประโยชน์์แก่่สามีีนั้้น� ถููกชนเหล่่านั้้�นปฏิิเสธว่่า “แม่่คุณ ุ เธอพููดอะไรนั่่�น”
จึึงวิิงวอนว่่า “ดิิฉันั เป็็ นหญิิงหมััน, ตระกููลที่่�ไม่่มีลููี กย่่อมจะฉิิบหาย, ลููกสาวของพวก
ท่่านได้้บุุตร ก็็จะเป็็ นเจ้้าของมรดก, ขอพวกท่่านจงให้้ลููกสาวแก่่สามีีของดิิฉันั ด้้วย
เถิิด” ทำำ�ให้้ชนเหล่่านั้้�นเกิิดความยิินยอม จนสามารถนำำ�มาทำำ�ไว้้ในเรืือนของสามีี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
22 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๑. สา ตมตฺฺถํํ อาโรเจตฺฺวา “อนฺฺ ธพาเล กสฺฺมา เอวมกาสิิ ? อยํํ ตว อิิสฺฺสริิยภเยน คพฺฺภ-
ปาตนเภสชฺฺชํํ โยเชตฺฺวา เทติิ, เตน เต คพฺฺโภ ปตติิ, มา ปุุน เอวมกาสีีติิ วุุตฺฺตา
ตติิยวาเร น กเถสิิ. (๑/๔/๔๓-๔)
สา (อิิตฺฺถี)ี ตํํ อตฺฺถํํ อาโรเจตฺฺวา (ปฏิิวิสฺิ ฺสกิิตฺฺถีหิี )ิ “อนฺฺ ธพาเล (ตฺฺวํ)ํ กสฺฺมา เอวํํ อกาสิิ ? อยํํ
(วญฺฺฌิตฺิ ฺถี)ี ตว อิิสฺฺสริิยภเยน คพฺฺภปาตนเภสชฺฺชํํ โยเชตฺฺวา เทติิ, เตน เต คพฺฺโภ ปตติิ, (ตฺฺวํ)ํ
มา ปุุน เอวํํ อกาสีีติิ วุุตฺฺตา ตติิยวาเร น กเถสิิ.
นางจึึงเล่่าเรื่่อ� งนั้้�นให้้เพื่่�อนฟััง พวกเพื่่�อนๆ จึึงพากัันพููดว่่า “นางโง่่เอ๋๋ย เธอทำำ�อย่่างนี้้�
ทำำ�ไม? หญิิงร่่วมสามีีของเธอนี้้�ปรุุงยาทำำ�แท้้งให้้แก่่เธอเพราะกลััวว่่าเธอจะเป็็ นใหญ่่,
ฉะนั้้�น ครรภ์์ของเธอจึึงตกไป, เธออย่่าได้้ทำำ�อย่่างนี้้�อีกี นะ” ในครั้้�งที่่� ๓ จึึงไม่่บอกให้้
หญิิงหมัันทราบ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๒. สา “นาสิิตมฺฺหิ ิ ตยา, ตฺฺวเมว มํํ อาเนตฺฺวา ตโย ทารเก นาเสสิิ; อิิทานิิ สยํํปิิ
นสฺฺสามิิ, อิิโตทานิิ จุุตา ยกฺฺขินีิ ี หุุตฺฺวา ตว ทารเก ขาทิิตุํํ� สมตฺฺถา หุุตฺฺวา
นิิพฺฺพตฺฺเตยฺฺยนฺฺติิ ปตฺฺถนํํ เปตฺฺวา กาลํํ กตฺฺวา ตสฺฺมึึเยว เคเห มชฺฺชารีี หุุตฺฺวา
นิิพฺฺพตฺฺติ.ิ (๑/๔/๔๔)
สา (อิิตฺฺถี)ี “(อหํํ) นาสิิตา อมฺฺหิิ ตยา, ตฺฺวํํ เอว มํํ อาเนตฺฺวา ตโย ทารเก นาเสสิิ; (อหํํ)
อิิทานิิ สยํํปิิ นสฺฺสามิิ, (อหํํ) อิิโต (อตฺฺตภาวโต) อิิทานิิ จุุตา ยกฺฺขินีิ ี หุุตฺฺวา ตว ทารเก ขาทิิตุํํ�
สมตฺฺถา หุุตฺฺวา นิิพฺฺพตฺฺเตยฺฺยนฺฺติิ ปตฺฺถนํํ เปตฺฺวา กาลํํ กตฺฺวา ตสฺฺมึึเยว เคเห มชฺฺชารีี หุุตฺฺวา
นิิพฺฺพตฺฺติ.ิ
นางนั้้�นตั้้�งความปรารถนาไว้้ว่่า “เธอทำำ�ให้้ฉัันฉิิบหายแล้้ว, เธอนั่่�นแหละที่่�พาฉัันมา
แล้้วทำำ�ให้้เด็็กฉิิบหายถึึง ๓ คน, ตอนนี้้� แม้้ตััวฉัันเองก็็จะฉิิบหาย, บััดนี้้� ฉัันจุุติจิ ากภพ
นี้้�แล้้ว พึึงบัังเกิิดเป็็ นนางยัักษิิณีที่่ี ส� ามารถจะเคี้้ย� วกิินพวกลููกๆ ของเธอ” แล้้วได้้เสีีย
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 23

ชีีวิติ ลง บัังเกิิดเป็็ นนางแมวในเรืือนนั้้�นนั่่�นแหละ


.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๓. อานนฺฺ ทตฺฺเถโร อนาถปิิ ณฺฺฑิกิ าทีีหิิ เปสิิตํํ สาสนํํ อาโรเจตฺฺวา “ภนฺฺ เต อนาถปิิ ณฺฺฑิกิ -
ปมุุขา ปฺฺจ อริิยสาวกโกฏิิโย ตุุมฺฺหากํํ อาคมนํํ ปจฺฺจาสึึสนฺฺ ตีติี ิ อาห. (๑/๕/๕๗)
อานนฺฺ ทตฺฺเถโร อนาถปิิ ณฺฺฑิกิ าทีีหิ ิ (ชเนหิิ) เปสิิตํํ สาสนํํ อาโรเจตฺฺวา “ภนฺฺ เต อนาถปิิ ณฺฺฑิกิ -
ปมุุขา ปฺฺจ อริิยสาวกโกฏิิโย ตุุมฺฺหากํํ อาคมนํํ ปจฺฺจาสึึสนฺฺ ตีติี ิ อาห.
พระอานนทเถระกราบทููลข่่าวสาส์์นที่่�พวกชนมีีอนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีเป็็ นต้้นส่่งมา
กราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ อริิยสาวก ๕ โกฏิิมีอี นาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีเป็็ นประมุุข
ย่่อมหวัังการเสด็็จมาของพระองค์์”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
24 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๔. โส โรทมาโน ตตฺฺถ ตฺฺวา, สตฺฺถริิ จกฺฺขุปุ ถํํ วิิชหนฺฺ เต, หทเยน ผลิิเตน กาลํํ
กตฺฺวา สตฺฺถริิ ปสาเทน ตาวตึึสภวเน ตึึสโยชนิิเก กนกวิิมาเน อจฺฺฉราสหสฺฺสมชฺฺเฌ
นิิพฺฺพตฺฺติ.ิ (๑/๕/๕๘)
โส (หตฺฺถี)ี โรทมาโน ตตฺฺถ (าเน) ตฺฺวา, สตฺฺถริิ จกฺฺขุปุ ถํํ วิิชหนฺฺ เต, หทเยน ผลิิเตน กาลํํ
กตฺฺวา สตฺฺถริิ ปสาเทน ตาวตึึสภวเน ตึึสโยชนิิเก กนกวิิมาเน อจฺฺฉราสหสฺฺสมชฺฺเฌ นิิพฺฺพตฺฺติ.ิ
ช้้างนั้้�นยืืนร้้องไห้้อยู่่�ในที่่�นั้้น� , เมื่่อ� พระศาสดาทรงละคลองแห่่งจัักษุุ, มีีหทััยแตกทำำ�
กาละ บัังเกิิดท่่ามกลางนางอััปสร ๑,๐๐๐ นาง ในวิิมานทองประกอบด้้วย ๓๐ โยชน์์
ในภพดาวดึึงส์์ เพราะความเลื่่อ� มใสในพระศาสดา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๕. อนาถปิิณฺฺฑิิโกปิิ “ภนฺฺเต อหํํ เตสํํ วิิหารํํ ปวิิสิิตุํํ� น ทสฺฺสามีีติิ วตฺฺวา ตเถว ภควตา
ปฏิิกฺฺขิิตฺฺโต ตุุณฺฺหีี อโหสิิ. (๑/๕/๕๙)
อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ กปิิ “ภนฺฺ เต อหํํ เตสํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) วิิหารํํ ปวิิสิตุํํ�ิ น ทสฺฺสามีีติิ วตฺฺวา ตถา เอว
ภควตา ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต ตุุณฺฺหีี อโหสิิ.
แม้้ท่่านอนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีก็ก็ ราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ ข้้าพระองค์์ก็จั็ กั ไม่่
ให้้พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นเข้้าไปสู่่�วิิหาร” ดัังนี้้� แล้้วถููกพระผู้้มี� พี ระภาคทรงห้้ามเสีียเหมืือน
อย่่างนั้้�นนั่่�นแหละ จึึงได้้เป็็ นผู้้นิ่่� �งเสีีย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 25

๒๖. เถโร “สาธูติ คนฺตฺวา ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา ปาทตลโต ยาว เกสคฺคา


โอโลเกตฺวา “อติปณีตเมตํ รูปํ สุวณฺณวณฺณํ, อคฺคิมฺหิ นํ ปกฺขิปิตฺวา มหาชาลาหิ
คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา สกฏฺานเมว คนฺตฺวา นิสีทิ. (๑/๖/๖๔)
เถโร “สาธูติ (สมฺปฏิจฺฉิตฺวา) คนฺตฺวา (ตํ กาลึ) ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา ปาทตลโต ยาว
เกสคฺคา โอโลเกตฺวา “อติปณีตํ เอตํ รูปํ สุวณฺณวณฺณํ (โหติ), (ตฺวํ) อคฺคิมฺหิ นํ (รูปํ)
ปกฺขิปิตฺวา (ตสฺส รูปสฺส) มหาชาลาหิ คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา สกฏฺานํ เอว
คนฺตฺวา นิสีทิ.
พระเถระรับค�ำว่า “ดีแล้ว” แล้วไป ให้นางกาลีช่วยน�ำผ้าห่มออก มองดูตั้งแต่ฝ่าเท้า
จนถึงปลายผม กล่าวว่า “รูปนี้ประณีตยิ่งนัก มีสีเหมือนทองค�ำ, เธอใส่รูปนั้นในไฟ
แล้วพึงบอกแก่อาตมาในเวลาที่เปลวไฟใหญ่ทั้งหลายจับแล้ว” ดังนี้ ไปยังที่ของตนนั่น
แหละ นั่งแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๗. ชาลาย ปหฏปหฏฏฺฐาเน กวรคาวี วิย สรีรวณฺณํ อโหสิ. (๑/๖/๖๔)
ทุกๆ ที่ที่เปลวไฟกระทบ สีร่างกาย ได้เป็นดุจแม่โคด่าง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
26 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๘. “อาม ภนฺเต, ตสฺส หิ เทฺว ปชาปติโย, อิมสฺส อฏฺ; อฏฺหิ ปริกฺขิปิตฺวา คหิโต,
กึ กริสฺสติ ภนฺเตติ. (๑/๖/๖๗)
(เต ภิกฺขู) “อาม ภนฺเต (เอวํ), ตสฺส หิ (จุลฺลกาลสฺส) เทฺว ปชาปติโย (สนฺติ), อิมสฺส
(มหากาลสฺส) อฏฺ (ปชาปติโย สนฺติ); (โส มหากาโล) อฏฺหิ (ปชาปตีหิ) ปริกฺขิปิตฺวา
คหิโต, กึ กริสฺสติ ภนฺเตติ (อาหํสุ).
พวกภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า, เพราะว่า พระจุลกาล
มีปชาบดีสองคน พระมหากาลนี้มีภรรยาแปดคน, พระมหากาลนั้นถูกปชาบดีทั้งแปด
คนล้อมจับ จักท�ำอย่างไร พระเจ้าข้า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๙. อเถโก ทิสาวาสิโก ภิกฺขุ ราชคหา สาวตฺถึ คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา กต-
ปฏิสนฺถาโร สตฺถารา ทฺวินฺนํ อคฺคสาวกานํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉิโต อาทิโต ปฏฺาย
สพฺพํ ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสิ. (๑/๗/๗๑-๒)
อถ เอโก ทิสาวาสิโก ภิกฺขุ ราชคหา สาวตฺถึ คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา กตปฏิสนฺถาโร
สตฺถารา ทฺวินฺนํ อคฺคสาวกานํ ผาสุวิหารํ ปุจฺฉิโต อาทิโต ปฏฺาย สพฺพํ ตํ ปวตฺตึ อาโรเจสิ.
ทีนั้น ภิกษุผู้อยู่ต่างทิศรูปหนึ่ง มาจากเมืองราชคฤห์ สู่เมืองสาวัตถี ถวายบังคมพระ-
ศาสดา ท�ำปฏิสันถารแล้ว ผู้ที่พระศาสดาทรงตรัสถามถึงการอยู่ผาสุกของพระอัคร-
สาวกทั้งสองรูป ก็กราบทูลเรื่องราวนั้นทั้งหมดตั้งแต่ต้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 27

๓๐. อถ นํ รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริกฺขิปิตฺวา “คเหตฺวา ภูมิยํ โปเถสฺสามีติ เตน


นีหริตฺวา ทสฺสิตํ กาสาวํ ทิสฺวา “สจาหํ อิมสฺมึ ทุสฺสิสฺสามิ, อเนกสหสฺเสสุ เม
พุทฺธปฺปจฺเจกพุทฺธขีณาสเวสุ ลชฺชา นาม ภินฺนา ภวิสฺสตีติ อธิวาเสตฺวา “ตยา เม
เอตฺตกา ญาตกา นาสิตาติ ปุจฺฉิ. (๑/๗/๗๓)
อถ (มหาปุริโส) นํ (หตฺถิมารกํ) รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริกฺขิปิตฺวา “(อหํ) คเหตฺวา
ภูมิยํ โปเถสฺสามีติ (จินฺเตตฺวา) เตน (หตฺถิมารเกน) นีหริตฺวา ทสฺสิตํ กาสาวํ ทิสฺวา “สเจ อหํ
อิมสฺมึ (ปุริเส) ทุสฺสิสฺสามิ, อเนกสหสฺเสสุ เม พุทฺธปฺปจฺเจกพุทฺธขีณาสเวสุ ลชฺชา นาม ภินฺนา
ภวิสฺสตีติ (จินฺตเนน โกธํ) อธิวาเสตฺวา “ตยา เม เอตฺตกา าตกา นาสิตาติ ปุจฺฉิ.
ครั้งนั้น มหาบุรุษรวบนายพรานช้างเข้ากับต้นไม้ด้วยงวง คิดว่า “เราจับแล้ว จักฟาด
ที่พื้น” ดังนี้ เห็นผ้ากาสาวะที่นายพรานช้างนั้นน�ำออกแสดงแล้ว ก็ยับยั้งความโกรธ
ด้วยความคิดว่า “ถ้าเราจักประทุษร้ายในนายคนนี้ไซร้, ธรรมดาว่าความละอายของ
เรา ในพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระขีณาสพทั้งหลาย หลายพันองค์ จัก
เป็นธรรมชาติแตกสลาย” แล้วถามว่า “ญาติประมาณเท่านี้ของเรา ท่านให้ฉิบหายแล้ว
ใช่ไหม”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
28 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๑. อมฺหากํ หิ สตฺถา..., ตสฺมึ อนิฏฺิเตเยว, อาคตสฺส สตฺถุโน อตฺตานํ เสตุํ กตฺวา
อชินิจมฺมํ กลเล อตฺถริตฺวา “สตฺถา สสาวกสงฺโฆ กลลํ อนกฺกมิตฺวา มํ อกฺกมนฺโต
คจฺฉตูติ นิปนฺโน สตฺถารา ทิสฺวา ว “พุทฺธงฺกุโร เอส อนาคเต กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ
จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ ปริโยสาเน โคตโม นาม พุทฺโธ ภวิสฺสตีติ พฺยากโต ตสฺส
สตฺถุโน อปรภาเค “โกณฺฑฺโ สุมงฺคโล สุมโน เรวโต โสภิโต อโนมทสฺสี
ปทุโม นารโท ปทุมุตฺตโร สุเมโธ สุชาโต ปิยทสฺสี อตฺถทสฺสี ธมฺมทสฺสี สิทฺธตฺโถ
ติสฺโส ปุสฺโส วิปสฺสี สิขี เวสฺสภู กกุสนฺโธ โกนาคมโน กสฺสโป จาติ
โลกํ โอภาเสตฺวา อุปฺปนฺนานํ อิเมสํปิ เตวีสติยา พุทฺธานํ สนฺติเก ลทฺธพฺยากรโณ
“ทส ปารมิโย ทส อุปปารมิโย ทส ปรมตฺถปารมิโยติ สมตึสปารมิโย ปูเรตฺวา
เวสฺสนฺตรตฺตภาเว ิโต...(๑/๘/๗๖)
อมฺหากํ หิ สตฺถา..., ตสฺมึ (มคฺเค) อนิฏฺิเต เอว, อาคตสฺส สตฺถุโน อตฺตานํ เสตุํ กตฺวา
อชินิจมฺมํ กลเล อตฺถริตฺวา “สตฺถา สสาวกสงฺโฆ กลลํ อนกฺกมิตฺวา มํ อกฺกมนฺโต คจฺฉตูติ
(อาสาย) นิปนฺโน สตฺถารา ทิสฺวา ว “พุทฺธงฺกุโร เอโส (ปุริโส) อนาคเต กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ
จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ ปริโยสาเน โคตโม นาม พุทฺโธ ภวิสฺสตีติ พฺยากโต ตสฺส สตฺถุโน
อปรภาเค “โกณฺฑฺโ สุมงฺคโล สุมโน เรวโต โสภิโต อโนมทสฺสี ปทุโม นารโท ปทุมุตฺตโร
สุเมโธ สุชาโต ปิยทสฺสี อตฺถทสฺสี ธมฺมทสฺสี สิทฺธตฺโถ ติสฺโส ปุสฺโส วิปสฺสี สิขี เวสฺสภู
กกุุสนฺฺโธ โกนาคมโน กสฺฺสโป จาติิ โลกํํ โอภาเสตฺฺวา อุุปฺฺปนฺฺนานํํ อิิเมสํํปิิ เตวีีสติิยา พุุทฺฺธานํํ
สนฺฺติิเก ลทฺฺธพฺฺยากรโณ “ทส ปารมิิโย ทส อุุปปารมิิโย ทส ปรมตฺฺถปารมิิโยติิ สมตึึสปารมิิโย
ปููเรตฺฺวา เวสฺฺสนฺฺตรตฺฺตภาเว ิิโต...
ความพิสดารว่า พระศาสดาของพวกเรา, เมื่อหนทางนั้น ยังไม่เสร็จนั่นแหละ, ก็ท�ำ
ตัวเองให้เป็นสะพานเพื่อพระศาสดาผู้เสด็จมาถึงแล้ว ลาดแผ่นหนังเสือเหลือง บน
เปือกตมแล้วนอน ด้วยความประสงค์ว่า “พระศาสดาพร้อมหมู่พระสาวก ไม่ทรงเหยียบ
เปือกตม ทรงเหยียบเราจงไปเถิด” พอพระพุทธเจ้า (พระนามว่าทีปังกร) ทอดพระเนตร
เท่านั้น ก็ทรงพยากรณ์ว่า “บุรุษนั่น ผู้เป็นหน่อเนื้อพระพุทธเจ้า จักเป็นพระพุทธเจ้า
พระนามว่าโคดม ในกาลสิ้นสุดแห่งสี่อสงไขยกับอีกแสนกัปในอนาคตกาล” ในกาล
ต่อมาแห่งพระศาสดานั้น ก็ได้รับพยากรณ์ในส�ำนักของพระพุทธเจ้าอีก ๒๓ พระองค์
เหล่านี้ ผู้ทรงอุบัติขึ้นท�ำให้โลกสว่าง ดังนี้คือ พระพุทธเจ้าพระนามว่าโกณฑัญญะ
พระพุทธเจ้าพระนามว่าสุมังคละ พระพุทธเจ้าพระนามว่าสุมนะ พระพุทธเจ้าพระ
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 29

นามว่าเรวตะ พระพุทธเจ้าพระนามว่าโสภิตะ พระพุทธเจ้าพระนามว่าอโนมทัสสี


พระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมะ พระพุทธเจ้าพระนามว่านารทะ พระพุทธเจ้าพระนาม
ว่าปทุมุตตระ พระพุทธเจ้าพระนามว่าสุเมธะ พระพุทธเจ้าพระนามว่าสุชาตะ
พระพุทธเจ้าพระนามว่าปิยทัสสี พระพุทธเจ้าพระนามว่าอัตถทัสสี พระพุทธเจ้าพระ
นามว่าธัมมทัสสี พระพุทธเจ้าพระนามว่าสิทธัตถะ พระพุทธเจ้าพระนามว่าติสสะ
พระพุทธเจ้าพระนามว่าปุสสะ พระพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสี พระพุทธเจ้าพระนาม
ว่าสิขี พระพุทธเจ้าพระนามว่าเวสสภู พระพุทธเจ้าพระนามว่ากกุสันธะ พระพุทธเจ้า
พระนามว่าโกนาคมนะ พระพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสปะ” ทรงบ�ำเพ็ญบารมี ๓๐ ถ้วน
คือ “บารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐” ทรงด�ำรงอยู่ในอัตภาพของพระ
เวสสันดร...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
30 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๒. เตหิ ปุฏฺปฺหํ อฺเ กเถตุํ น สกฺโกนฺติ, เต ปน เตสํ ปฺหํ วิสฺสชฺเชนฺติ.


(๑/๘/๘๒)
เตหิ (ทฺวีหิ สหายเกหิ) ปุฏฺปฺหํ อฺเ (ชนา) กเถตุํ น สกฺโกนฺติ, เต ปน (เทฺว
สหายกา) เตสํ (ชนานํ) ปฺหํ วิสฺสชฺเชนฺติ.
พวกชนเหล่าอื่น ย่อมไม่อาจเพื่อจะตอบปัญหาที่สองสหายเหล่านั้นถามได้, แต่สอง
สหายเหล่านั้น ย่อมแก้ปัญหาของชนเหล่านั้นได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๓. ตทา “จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตายาติ รตนตฺตยคุณปฺปกาสนตฺถํ อุยฺโยชิตานํ
เอกสฏฺิยา อรหนฺตานํ อนฺตเร ปฺจวคฺคิยานํ อพฺภนฺตเร อสฺสชิตฺเถโร
ปฏินิวตฺติตฺวา ราชคหํ อาคโต ปุนทิวเส ปาโตว ปตฺตจีวรมาทาย ราชคหํ
ปิณฺฑาย ปาวิสิ. (๑/๘/๘๒)
ตทา “(ตุมฺเห) จรถ ภิกฺขเว จาริกํ พหุชนหิตายาติ (วจเนน) รตนตฺตยคุณปฺปกาสนตฺถํ
(สตฺถารา) อุยฺโยชิตานํ เอกสฏฺิยา อรหนฺตานํ อนฺตเร ปฺจวคฺคยิ านํ (ภิกฺขูนํ) อพฺภนฺตเร
อสฺสชิตฺเถโร ปฏินิวตฺติตฺวา ราชคหํ อาคโต ปุนทิวเส ปาโตว ปตฺตจีวรํ อาทาย ราชคหํ
ปิณฺฑาย ปาวิสิ.
ในคราวนั้น พระอัสสชิเถระผู้อยู่ในภายในภิกษุกลุ่มปัญจวัคคีย์ ในระหว่างพระอรหันต์
๖๑ รูป ที่พระศาสดาทรงส่งไปเพื่อประกาศคุณพระรัตนตรัย ด้วยพระด�ำรัสว่า “ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวไปสู่ที่จาริก เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเป็นจ�ำนวน
มาก” ดังนี้เป็นต้น กลับแล้วมาสู่เมืองราชคฤห์ ถือเอาบาตรและจีวรได้เข้าไปสู่เมือง
ราชคฤห์เพื่อบิณฑบาตแต่เช้าตรู่ในวันรุ่งขึ้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 31

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๔. อถสฺส เอตทโหสิ “อกาโล โข อิมํ ภิกฺขุํ ปฺหํ ปุจฺฉิตุํ, อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโ ปิณฺฑาย
จรติ, ยนฺนูนาหํ อิมํ ภิกฺขุํ ปิฏฺิโต ปิฏฺิโต อนุพนฺเธยฺยํ อตฺถิเกหิ อุปาตํ
มคฺคนฺติ. (๑/๘/๘๓)
อถ อสฺส (อุปติสฺสสฺส) เอตํ (จินฺตนํ) อโหสิ “(อยํ กาโล) อกาโล โข (โหติ) อิมํ ภิกฺขุํ ปฺหํ
ปุจฺฉิตุํ, (อยํ ภิกฺขุ) อนฺตรฆรํ ปวิฏฺโ ปิณฺฑาย จรติ, ยนฺนูน อหํ อิมํ ภิกฺขุํ ปิฏฺิโต ปิฏฺิโต
อนุพนฺเธยฺยํ อตฺถิเกหิ (ชเนหิ) อุปาตํ (โมกฺขธมฺมํ) มคฺคนฺติ.
ทีนั้น ได้มีความคิดนี้แก่อุปติสสะปริพาชกนั้นว่า “กาลนี้ มิใช่กาลที่สมควรเพื่อจะถาม
ปัญหากับภิกษุรูปนี้แล, ภิกษุนี้เข้าไประหว่างเรือน ย่อมเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต, ไฉน
หนอ เราผู้ก�ำลังแสวงหาโมกขธรรมที่พวกชนผู้มีความต้องการเข้าไปรู้แล้ว พึงติดตาม
ไปข้างหลังๆ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
32 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๕. ตสฺมา สหายกํ เอวมาห “สมฺม อมฺเหหิ อธิคตํ อมตํ อมฺหากํ อาจริยสฺส สญฺชย-
ปริพฺพาชกสฺสาปิ กเถสฺสามาติ. (๑/๘/๘๕)
ตสฺมา (โส อุปติสฺโส) สหายกํ เอวํ อาห “(มยํ) สมฺม อมฺเหหิ อธิคตํ อมตํ อมฺหากํ
อาจริยสฺส สฺชยปริพฺพาชกสฺสาปิ กเถสฺสามาติ.
เพราะฉะนั้น อุปติสสปริพาชกนั้นจึงกล่าวอย่างนี้กับสหายว่า “แน่ะสหาย พวกเราจัก
บอกอมตธรรมที่พวกเราได้บรรลุแล้ว แม้แก่สัญชัยปริพาชกผู้เป็นอาจารย์ของพวกเรา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๖. อถายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน ปพฺพชิตทิวสโต สตฺตเม ทิวเส มคธรฏฺเ กลฺลวาล-
คามกํ อุปนิสฺสาย วิหรนฺโต, ถีนมิทฺเธ โอกฺกมนฺเต, สตฺถารา สํเวชิโต ถีนมิทฺธํ
วิโนเทตฺวา ตถาคเตน ทินฺนํ ธาตุกมฺมฏฺานํ สุณนฺโต ว อุปริมคฺคตฺตยกิจฺจํ
นิฏฺาเปตฺวา สาวกปารมีาณสฺส มตฺถกํ ปตฺโต. (๑/๘/๘๖-๗)
อถ อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน ปพฺพชิตทิวสโต สตฺตเม ทิวเส มคธรฏฺเ กลฺลวาลคามกํ
อุปนิสฺสาย วิหรนฺโต, ถีนมิทฺเธ โอกฺกมนฺเต, สตฺถารา สํเวชิโต ถีนมิทฺธํ วิโนเทตฺวา ตถาคเตน
ทินฺนํ ธาตุกมฺมฏฺานํ สุณนฺโต ว อุปริมคฺคตฺตยกิจฺจํ นิฏฺาเปตฺวา สาวกปารมีาณสฺส มตฺถกํ
ปตฺโต.
ทีนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะเข้าไปอาศัยหมู่บ้านชื่อว่ากัลลวาละอยู่ในแคว้นมคธ
ในวันที่ ๗ แต่วันที่บวช, เมื่อถีนะและมิทธะก้าวลงอยู่, ถูกพระศาสดาท�ำให้สังเวช
บรรเทาถีนะและมิทธะ ฟังธาตุกัมมัฏฐานที่พระตถาคตทรงประทานนั่นแหละ ท�ำกิจ
แห่งมรรค ๓ ในเบื้องบนให้ส�ำเร็จแล้ว ก็บรรลุถึงที่สุดแห่งสาวกบารมีญาณ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 33

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๗. สารีปุตฺตตฺเถโรปิ ปพฺพชิตทิวสโต อฑฺฒมาสํ อติกฺกมิตฺวา สตฺถารา สทฺธึ ตเมว
ราชคหํ อุปนิสฺสาย สูกรขาตเลเณ วิหรนฺโต, อตฺตโน ภาคิเนยฺยสฺส ทีฆนข-
ปริพฺพาชกสฺส เวทนาปริคฺคหสุตฺตนฺเต เทสิยมาเน, สุตฺตานุสาเรน าณํ เปเสตฺวา
ปรสฺส วฑฺฒิตํ ภตฺตํ ภฺุชนฺโต วิย สาวกปารมีาณสฺส มตฺถกํ ปตฺโต. (๑/๘/๘๗)
สารีปุตฺตตฺเถโรปิ ปพฺพชิตทิวสโต อฑฺฒมาสํ อติกฺกมิตฺวา สตฺถารา สทฺธึ ตํ เอว ราชคหํ
อุปนิสฺสาย สูกรขาตเลเณ วิหรนฺโต, (สตฺถารา) อตฺตโน ภาคิเนยฺยสฺส ทีฆนขปริพฺพาชกสฺส
เวทนาปริคฺคหสุตฺตนฺเต เทสิยมาเน, สุตฺตานุสาเรน าณํ เปเสตฺวา (ปุคฺคโล ปุคฺคเลน) ปรสฺส
(ปุคฺคลสฺส) วฑฺฒิตํ ภตฺตํ ภฺุชนฺโต วิย สาวกปารมีาณสฺส มตฺถกํ ปตฺโต.
แม้พระสารีบุตรเถระผ่านไปครึ่งเดือนแต่วันเป็นที่บวช เข้าไปอาศัยเมืองราชคฤห์นั้น
นั่นเองกับพระศาสดาอยู่ในถ�้ำสุกรขาตา, เมื่อพระศาสดาทรงแสดงเวทนาปริคคหสูตร
แก่ทีฆนขปริพาชกผู้เป็นหลานของตน, ก็ส่งญาณตามแนวพระสูตร เหมือนบุคคลผู้
บริโภคภัตรที่เขาคดไว้เพื่อบุคคลอื่น บรรลุถึงที่สุดแห่งสาวกบารมีญาณ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
34 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๘. สตฺถา “กึ กเถถ ภิกฺขเวติ ปุจฺฉิตฺวา, “อิทํ นามาติ วุตฺเต, “นาหํ ภิกฺขเว มุขํ
โอโลเกตฺวา ภิกฺขูนํ เทมิ, เอเตสํ ปน อตฺตนา อตฺตนา ปตฺถิตปตฺถิตเมว เทมิ,
อฺาโกณฺฑฺโ หิ เอกสฺมึ สสฺเส นว อคฺคสสฺสทานานิ เทนฺโต น อคฺคสาวกฏฺ-
านํ ปตฺเถตฺวา อทาสิ, อคฺคธมฺมํ ปน อรหตฺตํ สพฺพปมํ ปฏิวิชฺฌิตุํ ปตฺเถตฺวา
อทาสีติ. (๑/๘/๘๘)
สตฺถา “(ตุมฺเห) กึ (วจนํ) กเถถ ภิกฺขเวติ ปุจฺฉิตฺวา, “(มยํ) อิทํ นาม (วจนํ กเถม)” อิติ
(วจเน เตหิ ภิกฺขูหิ) วุตฺเต, “น อหํ ภิกฺขเว มุขํ โอโลเกตฺวา ภิกฺขูนํ เทมิ, (อหํ) เอเตสํ
(ชนานํ) ปน อตฺตนา อตฺตนา ปตฺถิตปตฺถิตํ เอว (านํ) เทมิ, อฺาโกณฺฑฺโ หิ เอกสฺมึ
สสฺเส นว อคฺคสสฺสทานานิ เทนฺโต น อคฺคสาวกฏฺานํ ปตฺเถตฺวา อทาสิ, (อฺาโกณฺฑฺโ)
อคฺคธมฺมํ ปน อรหตฺตํ สพฺพปมํ ปฏิวิชฺฌิตุํ ปตฺเถตฺวา อทาสีติ (อาห).
พระศาสดาตรัสถามว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอพูดเรื่องอะไรกัน” เมื่อภิกษุ
เหล่านั้นกราบทูลว่า “ชื่อนี้” ดังนี้ จึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราแลดูหน้าแล้วให้แก่
ภิกษุทั้งหลาย หามิได้, แต่เราให้ต�ำแหน่งตามที่ตนเองแต่ละท่านทั้งปรารถนาแล้วทั้ง
ปรารถนาแล้วนั่นแหละแก่พวกชนเหล่านั่น, จริงอยู่ อัญญาโกณฑัญญะเมื่อจะถวาย
ทานในเพราะข้าวกล้าอันเลิศทั้งหลาย ๙ ครั้ง ในเพราะข้าวกล้าครั้งหนึ่ง มิได้ปรารถนา
ต�ำแหน่งพระอัครสาวกแล้วได้ถวาย, แต่ปรารถนาเพื่อจะบรรลุพระอรหัตซึ่งเป็นธรรม
ที่เลิศก่อนกว่าชนทั้งปวงแล้วได้ถวาย” ดังนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 35

๓๙. อิติ อิมินา ปตฺถิตเมว มยา ทินฺนํ, นาหํ มุขํ โอโลเกตฺวา เทมิ. (๑/๘/๙๐)
อิติ อิมินา (อญฺาโกณฺฑญฺเน) ปตฺถิตํ เอว (ผลํ) มยา ทินฺนํ, น อหํ มุขํ โอโลเกตฺวา
เทมิ.
ผลที่อัญญาโกณฑัญญะนี้ปรารถนาแล้วนั่นแหละ เราให้แล้ว ด้วยประการฉะนี้, เรา
แลดูหน้า ย่อมให้ หามิได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๐. เต “มยมฺปิ ภาติกํ โภเชสฺสามาติ ปิตรํ โอกาสํ ยาจิตฺวา ปุนปฺปุนํ ยาจนฺตาปิ
อลภิตฺวา, ปจฺจนฺเต กุปิเต, ตสฺส วูปสมนตฺถาย เปสิตา ปจฺจนฺตํ วูปสเมตฺวา ปิตุ
สนฺติกํ อาคมึสุ. (๑/๘/๙๑-๒)
เต (ปุตฺตา) “มยมฺปิ ภาติกํ โภเชสฺสามาติ (มนฺเตตฺวา) ปิตรํ โอกาสํ ยาจิตฺวา ปุนปฺปุนํ
ยาจนฺตาปิ อลภิตฺวา, ปจฺจนฺเต กุปิเต, (ปิตรา) ตสฺส (ปจฺจนฺตสฺส) วูปสมนตฺถาย เปสิตา
ปจฺจนฺตํ วูปสเมตฺวา ปิตุ สนฺติกํ อาคมึสุ.
พระโอรสเหล่านั้นปรึกษากันว่า “แม้พวกเราก็จักให้พระพี่ชายเสวย” ดังนี้ จึงทูลขอ
โอกาสกับพระบิดา แม้ทูลขออยู่บ่อยๆ ก็ไม่ได้, เมื่อปัจจันตชนบทก�ำเริบ, ถูกพระบิดา
ส่งไปเพื่อประโยชน์แก่การท�ำให้ปัจจันตชนบทนั้นสงบ ท�ำให้ปัจจันตชนบทสงบแล้ว
ก็เสด็จมายังส�ำนักของพระบิดา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
36 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๑. สตฺถา “มหาราช อิโต เทฺวนวุติกปฺปมตฺถเก ผุสฺสพุทฺธกาเล เอเต ตว าตกา


ภิกขุสงฺฆสฺส ทินฺนํ วฏฺฏํ ขาทิตฺวา เปตโลเก นิพฺพตฺติตฺวา สํสรนฺตา กกุสนฺธาทโย
พุทฺเธ อุปฺปนฺเน ปุจฺฉิตฺวา เตหิ อิทฺจิทฺจ วุตฺตา เอตฺตกํ กาลํ ตว ทานํ
ปจฺจาสึสมานา, หิยฺโย ตยา ทาเน ทินฺเน, ปตฺตึ อลภมานา เอวมกํสูติ. (๑/๘/๙๔)
สตฺถา “มหาราช อิโต (ภทฺทกปฺปโต) เทฺวนวุติกปฺปมตฺถเก ผุสฺสพุทฺธกาเล เอเต (เปตา)
ตว าตกา (หุตฺวา ปุคฺคเลน) ภิกขุสงฺฆสฺส ทินฺนํ วฏฺฏํ ขาทิตฺวา เปตโลเก นิพฺพตฺติตฺวา
สํสรนฺตา กกุสนฺธาทโย พุทฺเธ อุปฺปนฺเน ปุจฺฉิตฺวา เตหิ (พุทฺเธหิ) อิทํ (วตฺถุํ) จ อิทํ
(วตฺถุํ) จ วุตฺตา เอตฺตกํ กาลํ ตว ทานํ ปจฺจาสึสมานา, หิยฺโย ตยา ทาเน ทินฺเน, ปตฺตึ
อลภมานา เอวํ อกํสูติ (อาห).
พระศาสดาตรัสว่า “ดูก่อนมหาบพิตร ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าพระนามว่าผุสสะ ใน
ที่สุดกัป ๙๒ แต่ภัทรกัปนี้ พวกเปรตเหล่านั่นเป็นพวกญาติของพระองค์ พากันเคี้ยว
กินค่าใช้จ่ายที่บุคคลถวายแก่ภิกษุสงฆ์ บังเกิดในเปตโลก ท่องเที่ยวไปอยู่ ทูลถาม
พระพุทธเจ้าทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าพระนามว่ากกุสันธะเป็นต้น ผู้ทรงอุบัติขึ้นแล้ว
พระพุทธเจ้าเหล่านั้นตรัสเรื่องนี้และเรื่องนี้ หวังทานของพระองค์สิ้นกาลประมาณเท่า
นี้, เมื่อพระองค์ถวายทานเมื่อวานนี้, เมื่อไม่ได้ส่วนบุญ จึงพากันท�ำอย่างนี้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 37

๔๒. โส จินฺเตสิ “ปรโลกํ คจฺฉนฺโต สหายํ วา าติมิตฺเต วา คเหตฺวา คโต นาม นตฺถิ,
อตฺตนา กตํ อตฺตโน ว โหตีติ. (๑/๘/๙๖)
โส (สรทมาณโว) จินฺเตสิ “(ปุคฺคโล) ปรโลกํ คจฺฉนฺโต สหายํ วา าติมิตฺเต วา คเหตฺวา
คโต นาม นตฺถิ, อตฺตนา กตํ (กมฺมํ) อตฺตโน ว โหตีติ.
สรทมาณพนั้นคิดว่า “บุคคลผู้ไปสู่ปรโลก ขึ้นชื่อว่าจะพาเอาสหายหรือพวกญาติมิตร
ไป ไม่มีเลย, กรรมที่ตนท�ำไว้แล้ว ย่อมมีแก่ตนเท่านั้น” ดังนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๓. “มยา ปวตฺติตํ ธมฺมจกฺกํ อนุปวตฺเตนฺโต สาวกปารมีาณสฺส โกฏิปฺปตฺโต โสฬส
ปฺา ปฏิวิชฺฌิตฺวา ิโต, มยฺหํ สาสเน อคฺคสาวโก นาม เอโสติ. (๑/๘/๑๐๐-๑๐๑)
(สตฺถา) “(ภิกฺขุ) มยา ปวตฺติตํ ธมฺมจกฺกํ อนุปวตฺเตนฺโต สาวกปารมีาณสฺส โกฏิปฺปตฺโต
โสฬส ปฺา ปฏิวิชฺฌิตฺวา ิโต, มยฺหํ สาสเน อคฺคสาวโก นาม เอโส (ภิกฺขุ) อิติ (อาห).
พระศาสดาตรัสว่า “ภิกษุผู้ท�ำให้ธรรมจักรที่เราให้เป็นไปแล้วก�ำลังให้เป็นไปต่อ ถึงที่
สุดแห่งสาวกบารมีญาณ แทงตลอดปัญญา ๑๖ ด�ำรงอยู่แล้ว, ภิกษุนั่นชื่อว่าอัครสาวก
ในศาสนาของเรา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
38 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๔. ตโต ภควา จินฺเตสิ “ยํ อยํ ปิตุ สนฺตกํ ธนํ อิจฺฉติ, ตํ วฏฺฏานุคตํ สวิฆาตํ;
หนฺทสฺส โพธิมูเล มยา ปฏิลทฺธํ สตฺตวิธํ อริยธนํ เทมิ, โลกุตฺตรทายชฺชสฺส นํ
สามิกํ กโรมีติ. (๑/๙/๑๐๘)
ตโต ภควา จินฺเตสิ “ยํ อยํ (กุมาโร) ปิตุ สนฺตกํ ธนํ อิจฺฉติ, ตํ (ธนํ) วฏฺฏานุคตํ สวิฆาตํ
(โหติ); (อหํ) หนฺท อสฺส (กุมารสฺส) โพธิมูเล มยา ปฏิลทฺธํ สตฺตวิธํ อริยธนํ เทมิ, (อหํ)
โลกุตฺตรทายชฺชสฺส นํ (กุมารํ) สามิกํ กโรมีติ.
ล�ำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงด�ำริว่า “พระกุมารนี้ย่อมปรารถนาทรัพย์สมบัติที่มีอยู่
ของบิดาใด, ทรัพย์สมบัตินั้น เป็นไปตามวัฏฏะ เป็นของคับแคบ, เอาเถอะ เราจะให้
อริยทรัพย์ ๗ ประการ ที่เราได้ ณ ที่โคนต้นโพธิ์แก่พระกุมารนั้น, เราจะท�ำพระกุมาร
นั้น ให้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์มรดกอันเป็นโลกุตตระ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๕. ตํ อธิวาเสตุํ อสกฺโกนฺโต ภควโต สนฺติกํ คนฺตฺวา ปฏินิเวเทตฺวา “สาธุ ภนฺเต
อยฺยา มาตาปิตูหิ อนนฺุาตํ ปุตฺตํ น ปพฺพาเชยฺยุนฺติ วรํ ยาจิ. (๑/๙/๑๐๘)
(ราชา) ตํ (ทุกฺขํ) อธิวาเสตุํ อสกฺโกนฺโต ภควโต สนฺติกํ คนฺตฺวา (ภควนฺตํ) ปฏินิเวเทตฺวา
“สาธุ ภนฺเต อยฺยา มาตาปิตูหิ อนนฺุาตํ ปุตฺตํ น ปพฺพาเชยฺยุนฺติ วรํ ยาจิ.
พระราชาไม่ทรงสามารถที่จะระงับความทุกข์นั้นได้ เสด็จไปยังส�ำนักของพระผู้มีพระ-
ภาค ท�ำให้พระผู้มีพระภาคทรงทราบ แล้วทูลขอพรว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดัง
หม่อมฉันขอวโรกาส พระคุณเจ้าทั้งหลายไม่พึงให้บุตรที่มารดาและบิดาทั้งหลายมิได้
อนุญาตให้บวช”
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 39

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๖. อิติ ภควา ปิตรํ ตีสุ ผเลสุ ปติฏฺาเปตฺวา ภิกฺขุสงฺฆปริวุโต ปุนเทว ราชคหํ
คนฺตฺวา ตโต อนาถปิณฺฑิเกน สาวตฺถึ อาคมนตฺถาย คหิตปฏิฺโ, นิฏฺิเต
เชตวนมหาวิหาเร, ตตฺถ คนฺตฺวา วาสํ กปฺเปสิ. (๑/๙/๑๐๘-๙)
อิติ ภควา ปิตรํ ตีสุ ผเลสุ ปติฏฺาเปตฺวา ภิกฺขุสงฺฆปริวุโต ปุนเทว ราชคหํ คนฺตฺวา ตโต
(ราชคหโต) อนาถปิณฺฑิเกน สาวตฺถึ อาคมนตฺถาย คหิตปฏิฺโ, นิฏฺิเต เชตวนมหาวิหาเร,
ตตฺถ (เชตวนมหาวิหาเร) คนฺตฺวา วาสํ กปฺเปสิ.
พระผู้มีพระภาคทรงท�ำให้พระบิดาตั้งอยู่ในผลทั้ง ๓ มีภิกษุสงฆ์แวดล้อม เสด็จไป
ยังเมืองราชคฤห์อีกครั้ง ทรงมีปฏิญญาที่อนาถบิณฑิกเศรษฐีรับเอาเพื่อประโยชน์แก่
การเสด็จมาจากเมืองราชคฤห์นั้น สู่เมืองสาวัตถี, เมื่อพระเชตวันมหาวิหารเสร็จแล้ว,
เสด็จไปในที่นั้น แล้วทรงส�ำเร็จการประทับอยู่ ด้วยประการฉะนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
40 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๗. สตฺถา อาคนฺตฺวา “กาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนาติ ปุจฺฉิตฺวา
“อิมาย นามาติ วุตฺเต, “น ภิกฺขเว อิทาเนว, ปุพฺเพเปส มยา มาตุคาเมน
ปโลเภตฺวา วินีโตเยวาติ วตฺวา เตหิ ยาจิโต อตีตํ อาหริ. (๑/๙/๑๑๓-๔)
สตฺถา อาคนฺตฺวา “(ตุมฺเห) กาย นุ อตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนาติ ปุจฺฉิตฺวา “(มยํ
เอตรหิ) อิมาย นาม (กถาย สนฺนิสินฺนา อมฺห)” อิติ (วจเน เตหิ ภิกฺขูหิ) วุตฺเต, “น ภิกฺขเว
อิทานิ เอว (เอโส นนฺโท มยา มาตุคาเมน ปโลเภตฺวา วินีโต), ปุพฺเพปิ เอโส (นนฺโท) มยา
มาตุคาเมน ปโลเภตฺวา วินีโตเยวาติ วตฺวา เตหิ (ภิกฺขูหิ) ยาจิโต อตีตํ (วตฺถุํ) อาหริ.
พระศาสดาเสด็จมา ตรัสถามว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอเป็นผู้นั่งประชุมคุยกัน
ด้วยเรื่องอะไรหนอในกาลนี้, เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลว่า “ด้วยเรื่องชื่อนี้” ดังนี้, จึง
ตรัสว่า “มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้นนะภิกษุทั้งหลาย, ถึงในกาลก่อน พระนันทะนั่น เราก็
หลอกล่อด้วยมาตุคามแล้วก็น�ำไป” ผู้ที่ภิกษุเหล่านั้นทูลอ้อนวอน ทรงน�ำอดีตนิทาน
มาเล่า
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 41

๔๘. อิมาย เอส เอวํ สิกฺขาปิโต ภวิสฺสติ. (๑/๙/๑๑๕)


อิมาย (คทฺรภิยา) เอโส (คทฺรโภ) เอวํ สิกฺขาปิโต ภวิสฺสติ.
ลานั่น จักถูกนางลานี้ให้ส�ำเหนียกอย่างนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๙. นาคเสนตฺฺเถเรน ปนสฺฺส ปากติิกอคฺฺคิสิ นฺฺ ตาปโต อธิิมตฺฺตตาย อยมุุปมา วุุตฺฺตา “ยถา
มหาราช กููฏาคารมตฺฺโต ปาสาโณปิิ นิิรยอคฺฺคิมฺิ ฺหิิ ปกฺฺขิตฺิ ฺโต ขเณน วิิลยํํ คจฺฺฉติ,ิ
นิิพฺฺพตฺฺตสตฺฺตา ปเนตฺฺถ กมฺฺมพเลน มาตุุกุุจฺฺฉิคิ ตา วิิย น วิิลียนฺ ี ฺ ตีติี .ิ (๑/๑๐/๑๑๘)
นาคเสนตฺฺเถเรน ปน อสฺฺส (อวีีจิสิ นฺฺ ตาปสฺฺส) ปากติิกอคฺฺคิสิ นฺฺ ตาปโต อธิิมตฺฺตตาย อยํํ อุุปมา
วุุตฺฺตา “ยถา มหาราช กููฏาคารมตฺฺโต ปาสาโณปิิ นิิรยอคฺฺคิมฺิ ฺหิิ (ปุุคฺฺคเลน) ปกฺฺขิตฺิ ฺโต ขเณน
วิิลยํํ คจฺฺฉติ,ิ (เอวํํ) นิิพฺฺพตฺฺตสตฺฺตา ปน เอตฺฺถ (นิิรเย) กมฺฺมพเลน (อวิิลียนฺ
ี ฺ ตา) มาตุุกุุจฺฺฉิคิ ตา
(สตฺฺตา) วิิย น วิิลียนฺ ี ฺ ตีติี .ิ
อนึ่่�ง อุุปมานี้้�ว่า่ “ดููก่่อนมหาบพิิตร แม้้แผ่่นหิินขนาดเท่่าเรืือนยอดที่่�บุุคคลใส่่เข้้าไป
ในไฟนรกย่่อมถึึงความย่่อยยัับไปโดยชั่่�วขณะ ฉัันใด, แต่่เหล่่าสััตว์์ผู้เ้� กิิดในนรกนี้้� ไม่่
ย่่อยยัับไป เหมืือนสััตว์์ผู้อ้� ยู่่�ในท้้องมารดาไม่่ย่อ่ ยยัับไป เพราะกำำ�ลัังกรรม ฉัันนั้้�น” พระ
นาคเสนเถระกล่่าวไว้้ เพราะว่่าความร้้อนในนรกชื่่อ� ว่่าอเวจีี เป็็ นความร้้อนที่่�ยิ่่ง� กว่่า
ความร้้อนอัันตั้้�งอยู่่�ตามปกติิ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
42 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๕๐. เต คนฺฺ ตฺฺวา ตสฺฺส มญฺฺจํํ ปริิวาเรตฺฺวา ปญฺฺฺ�ตฺฺเตสุุ อาสเนสุุ นิิสินฺิ ฺ นา “ภนฺฺ เต
อยฺฺยานํํ เม ทสฺฺสนํํ ทุุลฺฺลภํํ ภวิิสฺฺสติิ, ทุุพฺฺพโลมฺฺหิ,ิ เอกํํ เม สุุตฺฺตํํ สชฺฺฌายถาติิ วุุตฺฺตา,
“กตรํํ สุุตฺฺตํํ โสตุุกาโม อุุปาสกาติิ, “สพฺฺพพุุทฺฺธานํํ อวิิชหิตํิ ํ สติิปฏฺฺานสุุตฺฺตนฺฺ ติิ วุุตฺฺเต,
“เอกายโน อยํํ ภิิกฺฺขเว มคฺฺโค สตฺฺตานํํ วิิสุทฺุ ฺธิยิ าติิ สุุตฺฺตนฺฺ ตํํ ปฏฺฺเปสุํํ�. (๑/๑๑/๑๒๑)
เต (ภิิกฺฺขูู) คนฺฺ ตฺฺวา ตสฺฺส (อุุปาสกสฺฺส) มญฺฺจํํ ปริิวาเรตฺฺวา (ปุุคฺฺคเลน) ปญฺฺฺ�ตฺฺเตสุุ อาสเนสุุ
นิิสินฺิ ฺ นา “ภนฺฺ เต อยฺฺยานํํ เม ทสฺฺสนํํ ทุุลฺฺลภํํ ภวิิสฺฺสติิ, (อหํํ) ทุุพฺฺพโล อมฺฺหิ,ิ (ตุุมฺฺเห) เอกํํ เม
สุุตฺฺตํํ สชฺฺฌายถาติิ (อุุปาสเกน) วุุตฺฺตา, “(ตฺฺวํ)ํ กตรํํ สุุตฺฺตํํ โสตุุกาโม (อสิิ) อุุปาสกาติิ (ปุุจฺฺฉิตฺิ ฺวา),
“(อหํํ) สพฺฺพพุุทฺฺธานํํ อวิิชหิตํิ ํ สติิปฏฺฺานสุุตฺฺตํํ (โสตุุกาโม อมฺฺหิ)ิ อิิติิ (วจเน อุุปาสเกน) วุุตฺฺเต,
“เอกายโน อยํํ ภิิกฺฺขเว มคฺฺโค สตฺฺตานํํ วิิสุทฺุ ฺธิยิ าติิ สุุตฺฺตนฺฺ ตํํ ปฏฺฺเปสุํํ�.
พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นไปแวดล้้อมเตีียงของอุุบาสกนั้้�น นั่่�งบนอาสนะที่่�เขาปููลาดไว้้ ผู้้อั� นั
อุุบาสกนั้้�นกล่่าวว่่า “ท่่านผู้้เ� จริิญ การเห็็นพระคุุณเจ้้าทั้้�งหลายของกระผม จัักเป็็ น
กิิริยิ าได้้โดยยาก, กระผมเป็็ นคนทุุพพลภาพ, ขอท่่านทั้้�งหลายช่่วยสวดพระสููตร สััก
สููตรหนึ่่�งเถิิด” จึึงถามว่่า “ท่่านมีีความประสงค์์จะฟัังสููตรไหนหรืือ อุุบาสก” เมื่่อ� อุุบาสก
กล่่าวว่่า “สติิปััฏฐานสููตรที่่�พระพุุทธเจ้้าทุุกพระองค์์ไม่่ทรงละแล้้ว” จึึงเริ่่มตั้้ � ง� พระสููตร
ขึ้้น� ว่่า “เอกายโน อยํํ ภิิกฺฺขเว มคฺฺโค สตฺฺตานํํ วิิสุทฺุ ฺธิยิ า” ดัังนี้้�เป็็ นต้้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 43

๕๑. เอกสฺส จริตํ เสยฺโย. (๑/๕/๕๗)


เอกสฺส (ปุคฺคลสฺส) จริตํ เสยฺโย (โหติ).
การเที่่�ยวไปแห่่งบุุคคลผู้้�เดีียว เป็็นธรรมชาตประเสริิฐกว่่า
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

ค�ำศัพท์กิริยาที่น่าสนใจ
กต กร กรเณ ในการกระท�ำ + ต (อัน...) กระท�ำแล้ว
การิต กร กรเณ ในการกระท�ำ + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ให้กระท�ำแล้ว
ภีต ภี ภเย ในความกลัว + ต กลัวแล้ว
ภาสิต ภาส วิยตฺติยํ วาจายํ ในการพูดชัด + (อิ) + ต (อัน...) กล่าวแล้ว
สุต สุ สวเณ ในการฟัง + ต (อัน...) ฟังแล้ว
เทสิต ทิสี อุจฺจารเณ ในการแสดง + เณ + (อิ) + ต (อัน...) แสดงแล้ว (จุ.)
เปสิต เปส เปสเน ในการส่งไป + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ส่งไปแล้ว (จุ.)
อาสิตฺต อา + สิจ ฆรเณ ในการไหล, รด, ราด + ต (อัน...) หยอดแล้ว, รดแล้ว
ปหิต ป + หิ คติมฺหิ ในการไป + ต (อัน...) ส่งไปแล้ว
พทฺธ พนฺธ พนฺธเน ในการผูก + ต (อัน...) ผูกแล้ว
ปกฺก ปจ ปาเก ในการหุง, การต้ม + ต (อัน...) หุงแล้ว, ต้มแล้ว, สุกแล้ว
ทิฏฺ€ ทิส เปกฺขเณ ในการดู, การเห็น + ต (อัน...) เห็นแล้ว
อธิปฺเปต อธิ + ป + อิ คติมฺหิ ในการไป + ต (อัน...) ประสงค์เอาแล้ว
าต า อวโพธเน ในการรู้ + ต (อัน...) รู้แล้ว
อวิชหิต น + วิ + หา จาเค ในการสละ + ต (อัน...) ไม่สละแล้ว, ไม่ละแล้ว
นิปาติต นิ + ปต ปตเน ในการตกไป + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ให้ตกไปแล้ว
นีต นี นเย ในการน�ำไป + ต (อัน...) น�ำไปแล้ว
ปริคฺคหิต ปริ + คห อุปาทาเน ในการถือเอา + (อิ) + ต (อัน...) ถือเอารอบแล้ว, สิงสถิต
ปาลิต ปาล รกฺขเณ ในการรักษา + เณ + (อิ) + ต (อัน...) รักษาแล้ว (จุ.)
44 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ลทฺธ ลภ ลาเภ ในการได้ + ต (อัน...) ได้แล้ว


ปญฺตฺต ป + ป นิกฺเขปเน ในการวางไว้ + เณ + ต (อัน...) ปูลาดแล้ว (จุ.)
มต มร ปาณจาเค ในการสละชีวิต + ต ตายแล้ว
ปวาริต ป + วร ยาจิจฺฉาภตฺยํ ในการขอ,ปรารถนา,รับใช้ +เณ+(อิ)+ต (อัน...) ปวารณาแล้ว
ปจฺจกฺขาต ปติ + อา + ขา กถเน ในการกล่าว + ต (อัน...) บอกคืนแล้ว
วิวชฺชิต วิ + วชฺชี จาเค ในการสละ + (อิ) + ต (อัน...) เว้นแล้ว
ปุฏฺ€ ปุจฺฉ ปุจฺฉเน ในการถาม + ต (อัน...) ถามแล้ว
ทินฺน ทา ทาเน ในการให้ + ต (อัน...) ให้แล้ว
อุปกฺกิลิฏฺ€ อุป+ กิลิส อุปตาปมลิเน ในความเร่าร้อน,เศร้าหมอง+ต (อัน...) เข้าไปเศร้าหมองแล้ว
ปทุฏฺ€ ป + ทุส อปฺปีติมฺหิ ในความไม่ยินดี + ต (อัน...) ประทุษร้ายแล้ว
ปุจฺฉิต ปุจฺฉ ปุจฺฉเน ในการถาม + (อิ) + ต (อัน...) ถามแล้ว
กถิต กถ กถเน ในการกล่าว + เณ + (อิ) + ต (อัน...) กล่าวแล้ว
อภิสปิต อภิ + สป อกฺโกเส ในการด่า + (อิ) + ต (อัน...) สาปแล้ว, แช่งแล้ว
อกฺกุฏฺ€ อา + กุส อกฺโกเส ในการด่า + ต (อัน...) ด่าแล้ว
วุตฺต วจ วิยตฺติยํ วาจายํ ในการพูดชัด + ต (อัน...) กล่าวแล้ว
นาสิต นส อทสฺสเน ในการไม่เห็น + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ให้ฉิบหายแล้ว
คหิต คห อุปาทาเน ในการถือเอา + (อิ) + ต (อัน...) ถือเอาแล้ว, จับแล้ว
ปหฏ ป + หร ปหาเร ในการตี + ต (อัน...) กระทบแล้ว, ตีแล้ว
ทสฺสิต ทิสี อุจฺจารเณ ในการแสดง + เณ + (อิ) + ต (อัน...) แสดงแล้ว (จุ.)
พฺยากต วิ + อา + กร กรเณ ในการกระท�ำ + ต (อัน...) พยากรณ์แล้ว
สาวิต สุ สวเณ ในการฟัง + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ให้ฟังแล้ว, ให้ได้ยินแล้ว
ปริวุต ปริ + วร อาวรเณ ในการป้องกัน + ต (อัน...) แวดล้อมแล้ว
อภิตฺถุต อภิ + ถุ ถเว ในการสรรเสริญ + ต (อัน...) สรรเสริญแล้ว, ชมเชยแล้ว
อายาจิต อา + ยาจ ยาจเน ในการขอ + ต (อัน...) อ้อนวอนแล้ว,เชื้อเชิญแล้ว
อุยฺโยชิต อุ + ยุช โยเค ในการประกอบ + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ส่งไปแล้ว (จุ.)
อุปาต อุป + า อวโพธเน ในการรู้ + ต (อัน...) เข้าไปรู้แล้ว
อธิคต อธิ + คมุ คติมฺหิ ในการไป + ต (อัน...) บรรลุแล้ว, ถึงทับแล้ว
สํเวชิต สํ + วิชี ภยกมฺเป ในความกลัว,หวั่นไหว + เณ + ต (อัน...) ให้สลดแล้ว, ให้สังเวชแล้ว
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตปัจจัย 45
วฑฺฒิต วฑฺฒ วฑฺฒเน ในความเจริญ + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ให้เจริญแล้ว, คดแล้ว
ปตฺถิต ปตฺถ ปตฺถเน ในความปรารถนา + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ปรารถนาแล้ว
ปวตฺติต ป + วตฺต วตฺตเน ในความเป็นไป + เณ + (อิ) + ต (อัน...) ให้เป็นไปทั่วแล้ว
ปฏิลทฺธ ปติ + ลภ ลาเภ ในการไป + ต (อัน...) ได้เฉพาะแล้ว
อนนุญฺาต น + อนุ + า อวโพธเน ในการรู้ + ต (อัน...) อนุญาตแล้ว
ยาจิต ยาจ ยาจเน ในการขอ + (อิ) + ต (อัน...) ขอแล้ว, อ้อนวอนแล้ว
สิกฺขาปิต สิกฺข วิชฺโชปาทาเน ในการถือเอาวิชา+ณาเป+(อิ)+ต (อัน...) ให้ส�ำเนียกแล้ว
ปหิต ป + หิ คติมฺหิ ในการไป + ต (อัน...) ส่งไปแล้ว
ปริจฺจตฺต ปริ + จช จาเค ในการสละ + ต (อัน...) สละรอบแล้ว, บริจาคแล้ว
อภิหฏ อภิ + หร หรเณ ในการน�ำไป + ต (อัน...) น�ำไปเฉพาะแล้ว
โอวทิต อว + วท วิยตฺติยํ วาจายํ ในการพูดชัด + (อิ) + ต (อัน...) โอวาทแล้ว,กล่าวสอนแล้ว
นีต นี นเย ในการน�ำไป + ต (อัน...) น�ำไปแล้ว
นิยฺยาทิต นิ + ยต นิยฺยาตเน ในการมอบให้ + เณ + ต (อัน...) มอบให้แล้ว (จุ.)
ปกฺขิตฺต ป + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต (อัน...) ใส่เข้าไปแล้ว
นิกฺขิตฺต นิ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต (อัน...) ใส่เข้าไปแล้ว,ฝังไว้,เก็บไว้
อุกฺขิตฺต อุ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต (อัน...) ยกขึ้นแล้ว, ยกวัตรแล้ว
สงฺขิตฺต สํ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต หดหู่แล้ว, (อัน...) ย่อแล้ว
วิกฺขิตฺต วิ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต ฟุ้งซ่านแล้ว, ซัดซ่ายไปแล้ว
โอกฺขิตฺต อว + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต ทอดลงแล้ว
ปริกฺขิตฺต ปริ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต (อัน...) ล้อมแล้ว, แวดล้อมแล้ว
ปฏิกฺขิตฺต ปติ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต (อัน...) ห้ามแล้ว, ปฏิเสธแล้ว
อุปนิกฺขิตฺต อุป + นิ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ต (อัน...) เก็บไว้แล้ว
มคฺคนฺต มคฺค คเวสเน ในการแสวงหา + อ + อนฺต แสวงหาอยู่, เมื่อแสวงหา
บทที่ ๒
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ (นตฺถิ)
๑. สกฺกา แปลว่า “อาจ, สามารถ” เป็นนิบาตบท ใช้เป็นกิริยาคุมพากย์ได้ มีได้ ๒
ประโยค คือ
(๑) ประโยคภาววาจก เรียกว่า นิบาตบทภาววาจก ข้อสังเกต ประธานใน
ประโยค จะประกอบด้วยตติยาวิภัตติ
เช่น สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตเหว ปุญฺญานิ กาตุํ. (๑/๑/๖)
สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตหิ เอว (อมฺเหหิ) ปุญฺญานิ กาตุํ.
แปลว่่า : อัันเรา ท. ผู้้�อยู่่�อยู่่�ครอง ในเรืือนนั่่�นเทีียว อาจ เพื่่�ออัันกระทำำ�
ซึ่่�งบุุญ ท. ฯ
สัมพันธ์ว่า : อมฺเหหิ อนภิหิตกัตตาใน สกฺกา ๆ นิบาตบทภาววาจก เคหํ
ทุติยาวิสยาธาระใน อชฺฌาวสนฺเตหิ ๆ วิเสสนะของ อมฺเหหิ เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ
อชฺฌาวสนฺเตหิ ปุญฺญานิ อวุตตกัมมะใน กาตุํ ๆ ตุมัตถสัมปทานใน สกฺกา ฯ
(๒) ประโยคกััมมวาจก เรีียกว่่า นิิบาตบทกััมมวาจก ข้้อสัังเกต ประธานใน
ประโยค จะประกอบด้้วยปฐมาวิิภััตติิ
แต่ทั้งสองประโยคดังกล่าว ตัวกัตตาต้องประกอบด้วยตติยาวิภัตติเหมือนกัน จะใช้
เป็นเอกพจน์ หรือพหูพจน์ขึ้นอยู่กับข้อความ ถ้าไม่ปรากฏในประโยค เวลาแปลและสัมพันธ์
ต้องใส่เข้ามา เช่น มยา, อมฺเหหิ, ตยา, ตุมฺเหหิ หรือ เกนจิ เป็นต้น
เช่น น สกฺกา โส อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ. (๑/๑/๖)
(เกนจิ) น สกฺกา โส (ธมฺโม) อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ.
แปลว่า : อ.ธรรมนั้น อันใครๆ ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็ม ในท่ามกลาง แห่งเรือน
สัมพันธ์ว่า : โส วิเสสนะของ ธมฺโม ๆ วุตตกัมมะใน สกฺกา ๆ นิบาตบทกัมม-
วาจก นศัพท์ ปฏิเสธใน สกฺกา เกนจิ อนภิหิตกัตตาใน สกฺกา อคารมชฺเฌ วิสยาธาระใน
ปูเรตุํ ๆ ตุมัตถสัมปทานใน สกฺกา ฯ
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 47

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. “เอวํํ เปเสตุํํ� น สกฺฺกา, มคฺฺเค ปริิปนฺฺ โถ อตฺฺถิ,ิ ตํํ ปพฺฺพาเชตฺฺวา เปเสตุํํ� วฏฺฺฏตี”ี ติิ. (๑/๑/๑๓)
(เต ภิิกฺฺขูู) “(อมฺฺเหหิิ) เอวํํ เปเสตุํํ� น สกฺฺกา, มคฺฺเค ปริิปนฺฺ โถ อตฺฺถิ,ิ (อมฺฺเหหิิ) ตํํ (ทารกํํ)
ปพฺฺพาเชตฺฺวา เปเสตุํํ� วฏฺฺฏตี”ี ติิ (อาหํํสุ)ุ .
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกล่่าวว่่า “พวกอาตมาไม่่สามารถเพื่่�อจะส่่งไปอย่่างนี้้�ได้้ อัันตรายใน
หนทางมีีอยู่่� การที่่�พวกอาตมาให้้เขาบวชก่่อนแล้้วส่่งไป จึึงจะควร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. อถสฺสาหํ ‘เอตฺตกานิ สตานิ วา สหสฺสานิ วา สตสหสฺสานิ วาติ น สกฺกา
คณนาย ปริจฺฉินฺทิตุนฺติ วตฺวา ธมฺมปเท คาถํ ภาสิสฺสามิ. (๑/๒/๒๕)
อถ (ภาเว สนฺฺ เต), อสฺฺส (พฺฺราหฺฺมณสฺฺส) อหํํ ‘เอตฺฺตกานิิ สตานิิ วา สหสฺฺสานิิ วา สตสหสฺฺสานิิ
วาติิ (เกนจิิ) น สกฺฺกา คณนาย ปริิจฺฺฉินฺิ ฺ ทิตุิ ุนฺฺติิ วตฺฺวา ธมฺฺมปเท คาถํํ ภาสิิสฺฺสามิิ.
เมื่่อ� เป็็ นเช่่นนั้้�น เราจะกล่่าวว่่า “ใครๆ ก็็ไม่่สามารถที่่�จะกำำ�หนดด้้วยการนัับว่า่ ‘ร้้อย
พััน หรืือแสน มีีประมาณเท่่านี้้�’ แล้้วจะแสดงคาถาในธรรมบทแก่่เขา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
48 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. น สกฺกา สณฺเหน วา ผรุเสน วา “นิวตฺตาหีติ วตฺวา วา โปเถตฺวา วา


นิวตฺตาเปตุํ. (๑/๒/๓๕)
(เกนจิิ) น สกฺฺกา สณฺฺเหน วา ผรุุเสน วา (วจเนน) ‘(ตฺฺวํ)ํ นิิวตฺฺตาหีีติิ วตฺฺวา วา โปเถตฺฺวา
วา (ตํํ ฉายํํ) นิิวตฺฺตาเปตุํํ�.
ใครๆ ก็็ไม่่สามารถที่่�จะสั่่�งด้้วยถ้้อยคำำ�ที่่�ไพเราะหรืือหยาบคายว่่า ‘จงกลัับ’ หรืือโบย
แล้้ว ทำำ�ให้้เงานั้้�นกลัับได้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. สตฺฺถา คามููปจารํํ ปตฺฺวา “ปาริิเลยฺฺยก อิิโต ปฏฺฺาย ตยา คนฺฺ ตุํํ� น สกฺฺกา, อาหร
เม ปตฺฺตจีีวรนฺฺ ติิ อาหราเปตฺฺวา คามํํ ปิิ ณฺฺฑาย ปวิิสติิ. (๑/๕/๕๔)
สตฺฺถา คามููปจารํํ ปตฺฺวา (ตํํ หตฺฺถึึ) “ปาริิเลยฺฺยก อิิโต (านโต) ปฏฺฺาย ตยา คนฺฺ ตุํํ� น สกฺฺกา,
(ตฺฺวํ)ํ อาหร เม ปตฺฺตจีีวรนฺฺ ติิ (วจเนน) อาหราเปตฺฺวา คามํํ ปิิ ณฺฺฑาย ปวิิสติิ.
พอพระศาสดาเสด็็จถึึงอุุปจาระหมู่่�บ้้าน ก็็ทรงให้้นำำ�บาตรและจีีวรมาด้้วยพระดำำ�รััสว่่า
“ดููก่่อนปาริิเลยยกะ เธอไม่่สามารถไปได้้ตั้้�งแต่่ที่่นี้้� � เธอจงนำำ�บาตรและจีีวรของเรามา”
ย่่อมเสด็็จเข้้าไปหมู่่�บ้้านเพื่่�อบิิณฑบาต
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. “เตนหิิ ตาต กมฺฺมนฺฺตํํ อุุคฺฺคเหตฺฺวา ฆราวาสํํ วส, น หิิ สกฺฺกา อมฺฺเหสุุ เอเกน
อปพฺฺพชิิตุุนฺฺติิ อาห. (๑/๑๒/๑๒๖)
(ภาตา) “เตนหิิ ตาต (ตฺฺวํ)ํ กมฺฺมนฺฺตํํ อุุคฺฺคเหตฺฺวา ฆราวาสํํ วส, น หิิ สกฺฺกา อมฺฺเหสุุ เอเกน
(ปุุคฺฺคเลน) อปพฺฺพชิิตุุนฺฺติิ อาห.
พระภาดาตรััสว่่า “แน่่ะพ่่อ ถ้้าเช่่นนั้้�น เจ้้าจงเรีียนการงานแล้้วอยู่่�ครองเรืือนเถิิด,
เพราะว่่า บรรดาเราทั้้�งสอง บุุคคลหนึ่่�ง ไม่่อาจเพื่่�อจะไม่่บวช”
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 49

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. น สกฺกา เอเตน สทฺธึ เอกโต ภวิตุํ, โกสลรญฺญาปิ สทฺธึ น สกฺกา เอกโต ภวิตุํ.
(๑/๑๒/๑๒๙)
(มยา) น สกฺกา เอเตน (พิมฺพิสารรญฺญา) สทฺธึ เอกโต ภวิตุํ, (มยา) โกสลรญฺญาปิ สทฺธึ
น สกฺกา เอกโต ภวิตุํ.
เราไม่สามารถเพื่อจะร่วมมือกับพระเจ้าพิมพิสารได้, เราไม่สามารถเพื่อจะร่วมมือแม้
กับพระเจ้าโกศล
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. “น สกฺกา อาวุโสติ. (๒/๑/๑๒)
(ปจฺเจกพุทฺโธ) “(มยา) น สกฺกา อาวุโสติ (อาห).
พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวว่า “ท่านผู้มีอายุ เราไม่สามารถ (เพื่อจะท�ำได้)”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. “น สกฺฺกา กาตุํํ� อมฺฺมาติิ. (๒/๑/๒๙)
(กุุฏุุมฺฺพิโิ ก) “(มยา) น สกฺฺกา กาตุํํ� อมฺฺมาติิ (อาห).
กุุฎุุมพีกี ล่่าวว่่า “แน่่ะแม่่ เราไม่่สามารถเพื่่�อจะทำำ�ได้้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
50 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. “สกฺฺกา ตาตาติิ. (๒/๑/๒๙)


(กุุมาริิกา) “(มยา) สกฺฺกา ตาตาติิ (อาห).
กุุมาริิกากล่่าว่่า “ข้้าแต่่พ่อ่ ดิิฉันั สามารถ (ทำำ�ได้้)”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. “น สกฺฺกา โส คเหตุุนฺฺติ.ิ (๒/๑/๓๒)
(ราชปุุริสิ า) “น สกฺฺกา โส (อุุเทโน) คเหตุุนฺฺติิ (อาหํํสุ)ุ .
พวกราชบุุรุษุ กราบทููลว่่า “พระเจ้้าอุุเทนนั้้�น ใครๆ ก็็ไม่่สามรถเพื่่�อจะจัับ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. “น สกฺฺกา เทวาติิ. (๒/๑/๓๒)
(ราชปุุริสิ า) “(ตุุมฺฺเหหิิ) น สกฺฺกา เทวาติิ (อาหํํสุ)ุ .
พวกราชบุุรุษุ กราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้ส้� มมุุติเิ ทพ พระองค์์ไม่่ทรงสามารถ (เพื่่�อจะ
ทรงจัับ)”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๒. “น สกฺฺกา มยา ตํํ คเหตุุนฺฺติ.ิ (๒/๑/๓๒)
(จณฺฺฑปชฺฺโชโต) “น สกฺฺกา มยา ตํํ (อุุเทนํํ) คเหตุุนฺฺติิ (อาห).
พระเจ้้าจััณฑปััชโชตตรััสว่่า “เราไม่่สามารถเพื่่�อจะจัับพระเจ้้าอุุเทนนั้้�นหรืือ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. "โหตุ อมฺม, กึ สกฺกา กาตุํ, ตยาปิ เอกํ ภตฺตารํ อิมินาปิ เอกํ ปาทปริจาริกํ ลทฺธุํ
วฏฺฏตีติ ตํ ชามาตรํ อกาสิ. (๒/๒/๗๐)
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 51

(มาตา) "(เอตํ การณํ) โหตุ อมฺม, (มยา) กึ สกฺกา กาตุํ, ตยาปิ เอกํ ภตฺตารํ (ลทฺธุํ), อิมินาปิ
(กุมฺภโฆสเกน) เอกํ ปาทปริจาริกํ ลทฺธุํ วฏฺฏตีติ (วตฺวา) ตํ (กุมฺภโฆสกํ) ชามาตรํ อกาสิ.
มารดากล่่าวว่่า "แน่่ะแม่่ เหตุุนั่่�น จงมีีเถิิด, เราสามารถเพื่่�อจะทำำ�อะไรได้้, การที่่�แม้้
เจ้้าได้้สามีีคนหนึ่่�ง การที่่�นายกุุมภโฆสกะแม้้นี้้�ได้้หญิิงรัับใช้้ใกล้้เท้้าคนหนึ่่�ง ย่่อมควร"
ดัังนี้้� ได้้ทำำ�นายกุุมภโฆสกะนั้้�น ให้้เป็็นลููกเขย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. ราชา ตสฺส สูรคชฺชิตํ สุตฺวา “กถนฺนุ โข อิมสฺส มนฺตํ คณฺหิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “อิมํ
มนฺตํ อญฺญํ ชานาเปตุํ น สกฺกา, มม ธีตรํ เอตสฺส สนฺติเก อุคฺคณฺหาเปตฺวา อหํ
ตสฺสา สนฺติเก คณฺหิสฺสามีติ จินฺเตสิ. (๒/๑/๓๓-๓๔)
ราชา ตสฺส (อุเทนสฺส) สูรคชฺชิตํ สุตฺวา “(อหํ) กถํ นุ โข อิมสฺส (อุเทนสฺส) มนฺตํ
คณฺหิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “(มยา) อิมํ มนฺตํ อญฺญํ (ปุคฺคลํ) ชานาเปตุํ น สกฺกา, มม ธีตรํ เอตสฺส
(อุเทนสฺส) สนฺติเก อุคฺคณฺหาเปตฺวา อหํ ตสฺสา (ธีตุยา) สนฺติเก คณฺหิสฺสามีติ จินฺเตสิ.
พระราชาทรงสดัับเสีียงคุุกคามอย่่างกล้้าหาญของพระเจ้้าอุุเทนนั้้�น ทรงดำำ�ริิว่่า “เราจััก
เรีียนเอามนต์์ของพระเจ้้าอุุเทนนี้้�ได้้อย่่างไรหนอแล” ดัังนี้้� ทรงดำำ�ริิว่่า “เราไม่่อาจเพื่่�อ
จะให้้บุุคคลอื่่�นรู้้�มนต์์นี้้�ได้้, เราให้้ธิิดาของเรา เรีียนเอาในสำำ�นัักของพระเจ้้าอุุเทนนั่่�น
แล้้วจัักเรีียนในสำำ�นัักของธิิดานั้้�น” ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
52 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๕. ตโต ราชา คนฺตฺวา ธีตรํ วาสุลทตฺตํ อาห “อมฺม เอโก สงฺขกุฏฺฐิ อนคฺฆํ มนฺตํ
ชานาติ, ตํ อญฺญํ ชานาเปตุํ น สกฺกา, ตฺวํ อนฺโตสาณิยํ นิสีทิตฺวา ตํ วนฺทิตฺวา
มนฺตํ คณฺห, โส พหิสาณิยํ ฐตฺวา ตุยฺหํ วาเจสฺสติ, ตว สนฺติกา อหํ คณฺหิสฺสามีติ.
(๒/๑/๓๔)
ตโต ราชา คนฺตฺวา ธีตรํ วาสุลทตฺตํ อาห “อมฺม เอโก สงฺขกุฏฺฐิ อนคฺฆํ มนฺตํ ชานาติ, (มยา)
ตํ (มนฺตํ) อญฺญํ (ปุคฺคลํ) ชานาเปตุํ น สกฺกา, ตฺวํ อนฺโตสาณิยํ นิสีทิตฺวา ตํ (สงฺขกุฏฺฐึ)
วนฺทิตฺวา มนฺตํ คณฺห, โส (สงฺขกุฏฺฐิ) พหิสาณิยํ ฐตฺวา ตุยฺหํ วาเจสฺสติ, ตว สนฺติกา อหํ
คณฺหิสฺสามีติ.
ในล�ำดับนั้น พระราชาเสด็จไป ตรัสกับพระนางวาสุลทัตตาผู้เป็นพระราชธิดาว่า “แน่ะ
แม่ บุรุษผู้เป็นโรคสะเก็ดขาวคนหนึ่ง ย่อมรู้มนต์ที่มีค่าประเมินมิได้, เราไม่อาจเพื่อจะ
ให้คนอื่นรู้มนต์นั้นได้, เธอนั่งอยู่ข้างในม่าน ไหว้บุรุษผู้เป็นโรคเรื้อนน�้ำเต้านั้น จงเรียน
เอามนต์, บุรุษผู้เป็นโรคเรื้อนน�้ำเต้านั้นด�ำรงอยู่ในภายนอกม่านจักบอกแก่เธอ, เราจัก
เรียนเอาจากส�ำนักของเธอ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 53

๑๖. “อยฺเย ราชกุลํ นาม ภาริยํ, ตุมฺเห คเหตฺวา พหิ คนฺตุํ น สกฺกาติ. (๒/๑/๔๘)
(ขุชฺชุตฺตรา) “อยฺเย ราชกุลํ นาม ภาริยํ (โหติ), (มยา) ตุมฺเห คเหตฺวา พหิ คนฺตุํ น
สกฺกาติ (อาห).
นางขุชชุตตรากล่าวว่า “ข้าแต่แม่เจ้าทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าราชตระกูลเป็นที่หนัก, ข้าพเจ้า
ไม่อาจเพื่อจะพาเอาพวกท่านไปในภายนอกได้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๗. มาคนฺทิยา รญฺโญ คมนทิวเส “อชฺช กตริสฺสา ปาสาทํ คมิสฺสสิ เทวาติ ปุจฺฉิตฺวา,
“สามาวติยาติ วุตฺเต, “อชฺช มยา มหาราช อมนาโป สุปิโน ทิฏฺโฐ, น สกฺกา ตตฺถ
คนฺตุํ เทวาติ. (๒/๑/๕๒)
มาคนฺทิยา รญฺโญ คมนทิวเส “(ตฺวํ) อชฺช กตริสฺสา (มเหสิยา) ปาสาทํ คมิสฺสสิ เทวาติ
ปุจฺฉิตฺวา, “(อหํ) สามาวติยา (ปาสาทํ คมิสฺสามิ)” อิติ (วจเน รญฺญา) วุตฺเต, “อชฺช มยา
มหาราช อมนาโป สุปิโน ทิฏฺโฐ, (ตยา) น สกฺกา ตตฺถ (ฐาเน) คนฺตุํ เทวาติ (อาห).
พระนางมาคันทิยาทูลถามในวันเป็นที่เสด็จไปของพระราชาว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้สมมุติ
เทพ วันนี้ พระองค์จักเสด็จไปสู่ปราสาทของมเหสีองค์ไหน?”, เมื่อพระราชาตรัสว่า
“ของพระนางสามาวดี”, จึงกราบทูลว่า “ข้าแต่มหาราชเจ้า วันนี้ ความฝันที่ไม่เป็นที่ยัง
ใจให้เอิบอาบ หม่อมฉัน(ฝัน)เห็นแล้ว, ข้าแต่พระองค์ผู้สมมุติเทพ พระองค์ไม่สามารถ
เพื่อจะเสด็จไปในที่นั้นได้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
54 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๘. “อมฺฺม พหููนิิ ฆรมานุุสกานิิ, น สกฺฺกา อิิธ วสิิตุํํ�, เอตํํ กุุมฺฺภโฆสกสฺฺส เคหํํ ตุุจฺฺฉํํ,
ตตฺฺถ คจฺฺฉถาติิ. (๒/๒/๖๘)
(สา อิิตฺฺถีี) “อมฺฺม พหููนิิ ฆรมานุุสกานิิ (สนฺฺติิ), (ตุุมฺฺเหหิิ) น สกฺฺกา อิิธ (ฐาเน) วสิิตุํํ�, เอตํํ
กุมฺภโฆสกสฺส เคหํ ตุจฺฉํ (โหติ), (ตุมฺเห) ตตฺถ (ฐาเน) คจฺฉถาติ (อาห).
หญิิงนั้้�นกล่่าวว่่า “แน่่ะแม่่ คนในบ้้านมีีมาก, พวกท่่านไม่่สามารถเพื่่�อจะอยู่่�ในที่่�นี้้�ได้้,
เรืือนของนายกุุมภโฆสกะนั่่�น ว่่าง, พวกท่่านจงไปในที่่�นั้้�นเถิิด” ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๙. “อิณโต นาม เยน เกนจิ อุปาเยน มุจฺจิตุํ สกฺกา, คจฺฉ ตาต, กุโตจิ เอกํ วา
เทฺว กหาปเณ อาหราติ. (๒/๒/๗๐)
(สสฺสุ) “(อมฺเหหิ) อิณโต นาม เยน เกนจิ อุปาเยน มุจฺจิตุํ สกฺกา, (ตฺวํ) คจฺฉ ตาต, (ตฺวํ)
กุโตจิ (ฐานโต) เอกํ (กหาปณํ) วา เทฺว กหาปเณ อาหราติ (อาห).
แม่่ยายกล่่าวว่่า “พวกเราสามารถเพื่่�อจะหลุุดพ้้นชื่่�อจากหนี้้�ได้้ ด้้วยอุุบายอย่่างใดอย่่าง
หนึ่่�ง, พ่่อ เจ้้าจงไป, เจ้้าจงนำำ�กหาปณะหนึ่่�งหรืือสองมาจากที่่�ไหนๆ เถิิด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๐. อมฺเหหิ อิมสฺมึ ฐาเน น สกฺกา วสิตุํ. (๒/๓/๗๔)
พวกเราไม่สามารถเพื่อที่จะอยู่ในที่นี้ได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 55

๒๑. เต ตํ สาสนํ สุตฺวา "สํสาเร วิจรนฺตานํ น ปุตฺโต น ธีตา ภูตปุพฺพา นาม นตฺถิ,
เต อมฺหากํ มหาปราธิกา, น สกฺกา เตหิ อมฺหากํ จกฺขุปเถ ฐาตุํ, เอตฺตกนฺนาม
ธนํ คเหตฺวา เทฺวปิ ชนา ผาสุกฏฺฐานํ คนฺตฺวา ชีวนฺตุ, ทารเก ปน อิธ เปเสนฺตูติ.
(๒/๓/๗๖)
เต (มาตาปิิตโร) ตํํ สาสนํํ สุุตฺฺวา "สํํสาเร วิิจรนฺฺตานํํ น ปุุตฺฺโต น ธีีตา ภููตปุุพฺฺพา นาม นตฺฺถิิ,
เต (ชนา) อมฺฺหากํํ มหาปราธิิกา (โหนฺฺติิ), น สกฺฺกา เตหิิ (ชเนหิิ) อมฺฺหากํํ จกฺฺขุุปเถ ฐาตุํํ�,
เอตฺฺตกํํ นาม ธนํํ คเหตฺฺวา เทฺฺวปิิ ชนา ผาสุุกฏฺฺฐานํํ คนฺฺตฺฺวา ชีีวนฺฺตุุ, (เต เทฺฺว ชนา) ทารเก
ปน อิิธ (ฐาเน) เปเสนฺฺตููติิ (อาหํํสุุ).
มารดาและบิิดาเหล่่านั้้�นฟัังข่่าวสาส์์นนั้้�นแล้้ว กล่่าวว่่า “ธรรมดาว่่าผู้้�ไม่่เคยเป็็นบุุตร ไม่่
เคยเป็็นธิิดาของบุุคคลผู้้�เที่่�ยวไปอยู่่�ในสงสาร ย่่อมไม่่มีี, พวกชนเหล่่านั้้�นเป็็นผู้้�มีีความ
ผิิดใหญ่่ต่่อพวกเรา, พวกชนเหล่่านั้้�นไม่่อาจเพื่่�อจะดำำ�รงอยู่่�ในคลองแห่่งจัักษุุของพวก
เราได้้, พวกชนแม้้ทั้้�งสองถืือเอาทรััพย์์ชื่่�อมีีประมาณเท่่านี้้� จงไปสู่่�ที่่�ผาสุุกอยู่่�เถิิด, แต่่
พวกชนทั้้�งสองเหล่่านั้้�นจงส่่งพวกเด็็กๆ มาในที่่�นี้้�”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๒. โส ฌานสุเขน ผลสุเขน วีตินาเมนฺโต จินฺเตสิ “สกฺกา นุ โข อิมํ สุขํ จูฬปนฺถกสฺส
ทาตุนฺติ. (๒/๓/๗๗)
โส (เถโร กาลํ) ฌานสุเขน ผลสุเขน วีตินาเมนฺโต จินฺเตสิ “(มยา) สกฺกา นุ โข อิมํ สุขํ
จูฬปนฺถกสฺส ทาตุนฺติ.
พระเถระนั้้�นทำำ�ให้้เวลาผ่่านไปด้้วยสุุขที่่�เกิิดแต่่ฌาน ด้้วยสุุขที่่�เกิิดแต่่ผล คิิดว่่า “เรา
สามารถหรืือหนอแลเพื่่�อจะให้้ความสุุขนี้้�แก่่จููฬปัันถก”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
56 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๓. กีทิสํ ? ยํ โอโฆ นาภิกีรตีติ : ยํ จตุพฺพิโธปิ กิเลโสโฆ อภิกีริตุํ วิทฺธํเสตุํ น


สกฺโกติ, น หิ สกฺกา อรหตฺตํ โอเฆน วิกีริตุนฺติ. (๒/๓/๘๘)
"(เมธาวีี ปุุคฺฺคโล) กีีทิิสํํ (ทีีปํํ กยิิราถาติิ ปุุจฺฺฉา) ?
"ยํํ (ทีีปํํ) โอโฆ น อภิิกีีรตีี, (เมธาวีี ปุุคฺฺคโล ตํํ ทีีปํํ กยิิราถาติิ วิิสฺฺสชฺฺชนํํ).
"ยํํ (ทีีปํํ) จตุุพฺฺพิิโธปิิ กิิเลโสโฆ อภิิกีีริิตุํํ� วิิทฺฺธํํเสตุํํ� น สกฺฺโกติิ, (เมธาวีี ปุุคฺฺคโล ตํํ ทีีปํํ
กยิิราถ), น หิิ สกฺฺกา อรหตฺฺตํํ โอเฆน วิิกีีริิตุุนฺฺติิ (อตฺฺโถ ปณฺฺฑิิเตน เวทิิตพฺฺโพ).
ถามว่่า “บุุคคลผู้้�มีีปััญญาพึึงทำำ�เกาะอัันเช่่นใด”
แก้้ว่่า “ห้้วงน้ำำ��ย่่อมไม่่ท่่วมทัับเกาะใด, บุุคคลผู้้�มีีปััญญาพึึงทำำ�เกาะนั้้�น”
บััณฑิิตพึึงทราบคำำ�อธิิบายว่่า “ห้้วงน้ำำ��คืือกิิเลส แม้้มีี ๔ อย่่าง ย่่อมไม่่สามารถเพื่่�อจะ
ท่่วมทัับ คืือเพื่่�อจะกำำ�จััดเกาะใด, บุุคคลผู้้�มีีปััญญาควรทำำ�เกาะนั้้�น, จริิงอยู่่� พระอรหััต
ห้้วงน้ำำ��ไม่่สามารถเพื่่�อจะท่่วมทัับได้้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๔. เตนหิ อตฺตโน จิตฺตเมว รกฺขาหิ, สกฺกา ทุกฺขา มุจฺจิตุํ. (๒/๓/๑๒๘)
เตนหิ (ตฺวํ) อตฺตโน จิตฺตํ เอว รกฺขาหิ, (ตยา) สกฺกา ทุกฺขา มุจฺจิตุํ.
ถ้าเช่นนั้น เธอจงรักษาจิตเท่านั้นของเธอ, เธอสามารถเพื่อจะพ้นจากความทุกข์ได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๕. สตฺถา... ทิพฺเพน จกฺขุนา อุปธาเรนฺโต “สตฺตานํ จุตูปปาตํ โอโลเกนฺโต วิหรตีติ
ญตฺวา “สตฺตานํ จุตูปปาโต นาม พุทฺธญาเณนาปิ อปริจฺฉินฺโน, มาตุกุจฺฉิยํ
ปฏิสนฺธึ คเหตฺวา มาตาปิตโร อชานาเปตฺวา จวนกสตฺตานํ ปริจฺเฉทํ กาตุํ น
สกฺกาติ. (๒/๕/๙๑)
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 57

สตฺถา... ทิพฺเพน จกฺขุนา อุปธาเรนฺโต “(เถโร) สตฺตานํ จุตูปปาตํ โอโลเกนฺโต วิหรตีติ


ญตฺวา “สตฺตานํ จุตูปปาโต นาม พุทฺธญาเณนาปิ อปริจฺฉินฺโน, (ตยา) มาตุกุจฺฉิยํ ปฏิสนฺธึ
คเหตฺวา มาตาปิตโร อชานาเปตฺวา จวนกสตฺตานํ ปริจฺเฉทํ กาตุํ น สกฺกาติ (อาห).
พระศาสดาทรงใคร่่ครวญด้้วยจัักขุุทิิพย์์ ทรงทราบแล้้วว่่า “พระเถระแลดููการจุุติิและ
การเกิิดของพวกสััตว์์ ย่่อมอยู่่�” ดัังนี้้� จึึงตรััสว่่า “ธรรมดาว่่าการจุุติิและการเกิิดของพวก
สััตว์์ แม้้พระพุุทธญาณก็็ไม่่กำำ�หนด, เธอไม่่อาจเพื่่�อจะทำำ�การกำำ�หนดพวกสััตว์์ที่่�ถืือเอา
ปฏิิสนธิิในท้้องมารดา ไม่่ทำำ�ให้้มารดาบิิดารู้้� แล้้วเคลื่่�อนได้้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๖. “อิทานิ ฉินฺนรุกฺเขน กาตุํ น สกฺกา, ปุพฺเพเยว ฉินฺทิตฺวา ตจฺเฉตฺวา วิชฺฌิตฺวา
ฐปิตกณฺณิกํ ลทฺธุํ วฏฺฏตีติ. (๒/๗/๑๐๐)
(วฑฺฒกี) “(อมฺเหหิ) อิทานิ ฉินฺนรุกฺเขน กาตุํ น สกฺกา, (อมฺเหหิ ปุคฺคเลน) ปุพฺเพ เอว
ฉินฺทิตฺวา ตจฺเฉตฺวา วิชฺฌิตฺวา ฐปิตกณฺณิกํ ลทฺธุํ วฏฺฏตีติ (อาห).
ช่่างไม้้กล่่าวว่่า “พวกเราไม่่สามารถเพื่่�อจะทำำ�ด้้วยต้้นไม้้ที่่�เพิ่่�งตััดเดี๋๋�ยวนี้้�ได้้, การที่่�พวก
เราได้้ช่่อฟ้้าที่่�บุุคคลตััดแล้้ว ถากแล้้ว เกาะแล้้ว เก็็บไว้้แล้้วในกาลก่่อนเท่่านั้้�น จึึงจะ
ควร” ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
58 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๗. โส จินฺเตสิ "อโห ภาริยํ อิทํ กมฺมํ, อหํ ทุกฺขา มุจฺจิตุกาโม ปพฺพชิโต, อิธ จ เม
หตฺถปฺปสารณฏฺฐานเมว น ปญฺญายติ, เคเห ฐตฺวา วฏฺฏทุกฺขา มุจฺจิตุํ สกฺกา, มยา
คิหินา ภวิตุํ วฏฺฏตีติ. (๒/๓/๑๒๗)
โส (ภิกฺขุ) จินฺเตสิ "อโห ภาริยํ อิทํ กมฺมํ, อหํ ทุกฺขา มุจฺจิตุกาโม (หุตฺวา) ปพฺพชิโต
(อมฺหิ), อิธ (พุทฺธสาสเน) จ เม หตฺถปฺปสารณฏฺฐานเมว น ปญฺญายติ, (มยา) เคเห ฐตฺวา
วฏฺฏทุกฺขา มุจฺจิตุํ สกฺกา, มยา คิหินา ภวิตุํ วฏฺฏตีติ.
ภิิกษุุนั้้�นคิิดว่่า “โอกรรมนี้้�หนััก, เราเป็็นผู้้�ประสงค์์เพื่่�อจะพ้้นจากทุุกข์์ เป็็นผู้้�บวชแล้้ว,
แต่่ว่่า ที่่�เป็็นที่่�เหยีียดมืือของเราออกไป ย่่อมไม่่ปรากฏในพระพุุทธศาสนานี้้�, เราดำำ�รง
อยู่่�ในเรืือน ก็็สามารถเพื่่�อจะพ้้นจากวััฏฏทุุกข์์ได้้, การที่่�เราเป็็นคฤหััสถ์์ ย่่อมควร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๘. “อหํ ภนฺเต ทุกฺขา มุจฺจิตุกาโม ปพฺพชิโต, ตสฺส เม อาจริโย อภิธมฺมกถํ กเถสิ,
อุปชฺฌาโย วินยกถํ; สฺวาหํ ‘อิธ เม หตฺถปฺปสารณฏฺฐานเมว นตฺถิ, คิหินา หุตฺวา
สกฺกา ทุกฺขา มุจฺจิตุํ, คิหี ภวิสฺสามีติ สนฺนิฏฺฐานมกาสึ ภนฺเตติ อาห. (๒/๓/๑๒๘)
(โส ภิกฺขุ) “อหํ ภนฺเต ทุกฺขา มุจฺจิตุกาโม (หุตฺวา) ปพฺพชิโต (อมฺหิ), ตสฺส เม อาจริโย
อภิธมฺมกถํ กเถสิ, อุปชฺฌาโย วินยกถํ (กเถสิ); โส อหํ ‘อิธ เม หตฺถปฺปสารณฏฺฐานํ เอว
นตฺถิ, (มยา) คิหินา หุตฺวา สกฺกา ทุกฺขา มุจฺจิตุํ, (อหํ) คิหี ภวิสฺสามีติ สนฺนิฏฺฐานํ อกาสึ
ภนฺเตติ อาห.
ภิิกษุุนั้้�นกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพระองค์์เป็็นผู้้�ประสงค์์เพื่่�อจะพ้้นจาก
ทุุกข์์ เป็็นผู้้�บวชแล้้ว, อาจารย์์ของข้้าพระองค์์นั้้�น กล่่าวสอนพระอภิิธรรม, อุุปััชฌาย์์
กล่่าวสอนพระวิินััย, ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพระองค์์นั้้�นได้้ทำำ�การตกลงใจว่่า ‘ที่่�เป็็น
ที่่�เหยีียดมืือของเราออก ย่่อมไม่่มีีในพระพุุทธศาสนานี้้�, เราเป็็นคฤหััสถ์์ ก็็สามารถเพื่่�อ
จะพ้้นจากทุุกข์์ได้้, เราจัักเป็็นคฤหััสถ์์" ดัังนี้้�
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 59

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๙. “ภิกฺขเว ตตฺเถว ตุมฺหากํ คนฺตุํ วฏฺฏตีติ. “น สกฺกา ภนฺเตติ. (๒/๖/๑๔๒)
(สตฺถา) “ภิกฺขเว ตตฺถ เอว (ฐาเน) ตุมฺหากํ คนฺตุํ วฏฺฏตีติ (อาห). (เต ภิกฺขู) “(อมฺเหหิ) น
สกฺกา ภนฺเตติ (อาหํสุ).
พระศาสดาตรััสว่่า “ดููก่่อนภิิกษุุทั้้�งหลาย การที่่�พวกเธอไปในที่่�นั้้�นนั่่�นแหละ ย่่อมควร”
พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นกราบทููลว่่า “ไม่่สามารถ พระเจ้้าข้้า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๐. สากิยา วิฑูฑภสฺสาคมนํ ญตฺวา “วนฺทิตุํ น สกฺกาติ. (๓/๓/๑๓)
สากิยา วิฑูฑภสฺส อาคมนํ ญตฺวา “วนฺทิตุํ น สกฺกาติ (อาหํสุ).
พวกเจ้้าศากยะทราบการเสด็็จมาของพระเจ้้าวิิฑููฑภะ กล่่าวว่่า “พวกเราไม่่สามารถ
เพื่่�อจะไหว้้ได้้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
60 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๑. น โข ปน สกฺกา อมฺเหหิ ปรํ ชีวิตา โวโรเปตุํ, อตฺตโน กมฺมํ ทสฺเสตฺวา


ปลาเปสฺสาม. (๓/๓/๒๑-๒๒)
น โข ปน สกฺกา อมฺเหหิ ปรํ ชีวิตา โวโรเปตุํ, (มยํ) อตฺตโน กมฺมํ ทสฺเสตฺวา (อิเม ปจฺจตฺถิเก)
ปลาเปสฺสาม.
ก็ พวกเราไม่สามารถเพื่อจะท�ำให้บุคคลอื่นปลงลงจากชีวิตได้แล, พวกเราแสดงกรรม
ของตน แล้วจักท�ำให้ข้าศึกหนีไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๒. “โหตุ โภ, ติฏฺฐเตตํ, ตุมฺเห กิร ทิฏฺฐธมฺมิกสมฺปรายิกานํ อตฺถานตฺถานํ กุสลา
ติปิฏกธรา อมฺหากํ อนฺเตปุเร ธมฺมํ วาเจถาติ. “น สกฺกา เทวาติ. (๓/๗/๔๓)
(ราชา) “(เอตํ การณํ) โหตุ โภ, ติฏฺฐตุ เอตํ (การณํ), ตุมฺเห กิร ทิฏฺฐธมฺมิกสมฺปรายิกานํ
อตฺถานตฺถานํ กุสลา ติปิฏกธรา อมฺหากํ อนฺเตปุเร ธมฺมํ วาเจถาติ (อาห). (อุปาสโก) “(มยา)
น สกฺกา เทวาติ (อาห).
พระราชาตรััสว่่า “ดููก่่อนท่่านผู้้�เจริิญ เหตุุนั่่�นจงยกไว้้, เหตุุนั่่�น จงดำำ�รงอยู่่�, ได้้ยิินว่่า
ท่่านเป็็นผู้้�ฉลาดในสิ่่�งที่่�เป็็นประโยชน์์และมิิใช่่ประโยชน์์ ทั้้�งที่่�เป็็นไปในชาติินี้้�และชาติิ
หน้้า เป็็นผู้้�ทรงพระไตรปิิฎก ขอจงบอกธรรมในภายในบุุรีีของพวกเราเถิิด”, อุุบาสก
กราบทููลว่่า “ข้้าสมมุุติิเทพ ข้้าพระองค์์ไม่่สามารถ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๓. สกฺกา นุ โข อมฺเหหิ อุภโต ปฏิวิสฺสกเคหานํ อคฺคึ อทตฺวา วสิตุํ. (๓/๘/๖๒)
สกฺกา นุ โข อมฺเหหิ อุภโต (ปสฺสโต) ปฏิวิสฺสกเคหานํ อคฺคึ อทตฺวา วสิตุํ.
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 61

พวกเราสามารถหรือหนอแล เพื่อจะไม่ให้ไฟแก่เรือนของบุคคลผู้คุ้นเคยกันทั้งหลาย
ทั้งสองข้างแล้วอยู่
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๔. ราชา กติปาหํ วสิตฺวา ธนญฺชยเสฏฺฐิสฺส สาสนํ ปหิณิ “น สกฺกา เสฏฺฐินา อมฺหากํ
ภรณโปสนํ กาตุํ, ทาริกาย คมนกาลํ ชานาตูติ. โสปิ รญฺโญ สาสนํ เปเสสิ
“อิทานิ วสฺสกาโล อาคโต, น สกฺกา จาตุมฺมาสํ วิจริตุํ; ตุมฺหากํ พลกายสฺส ยํ ยํ
ลทฺธุํ วฏฺฏติ. สพฺพํ ตํ มม ภาโร; มยา เปสิตกาเล เทโว คมิสฺสตีติ. (๓/๘/๕๓)
ราชา กติปาหํ วสิตฺวา ธนญฺชยเสฏฺฐิสฺส สาสนํ ปหิณิ “น สกฺกา เสฏฺฐินา อมฺหากํ
ภรณโปสนํ กาตุํ, (เสฏฺฐี) ทาริกาย คมนกาลํ ชานาตูติ (ญาปนเหตุกํ). โสปิ (เสฏฺฐี) รญฺโญ
สาสนํ เปเสสิ “อิทานิ วสฺสกาโล อาคโต, (เกนจิ) น สกฺกา จาตุมฺมาสํ วิจริตุํ; ตุมฺหากํ
พลกายสฺส ยํ ยํ (วตฺถุํ) ลทฺธุํ วฏฺฏติ. สพฺพํ ตํ (วตฺถุ) มม ภาโร (โหตุ); มยา เปสิตกาเล
เทโว คมิสฺสตีติ (ญาปนเหตุกํ).
พระราชาประทัับอยู่่�สิ้้�นสองสามวัันแล้้ว ส่่งข่่าวสาส์์นไปแก่่ธนััญชััยเศรษฐีีมีีอัันให้้รู้้�ว่่า
“เศรษฐีีไม่่สามารถเพื่่�อทำำ�การเลี้้�ยงและการบำำ�รุุงพวกเราได้้, ขอเศรษฐีีจงรู้้�กาลเป็็นที่่�
ไปแห่่งนางทาริิกาเถิิด” ดัังนี้้�เป็็นเหตุุ, เศรษฐีีแม้้นั้้�นส่่งข่่าวสาส์์นไปแด่่พระราชามีีอััน
ให้้รู้้�ว่่า “บััดนี้้� ฤดููฝนมาแล้้ว, ใครๆ ก็็ไม่่สามารถเพื่่�อเที่่�ยวไปตลอด ๔ เดืือนได้้, การ
ที่่�กำำ�ลัังพลของพระองค์์ได้้วััตถุุใดๆ ย่่อมควร, วััตถุุนั้้�นทั้้�งหมดขอจงเป็็นภาระของข้้า
พระองค์์, สมมุุติิเทพจัักเสด็็จไปในคราวที่่�ข้้าพระองค์์ส่่งไปแล้้ว”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
62 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๕. “อิิมสฺฺมึึ กาเล น สกฺฺกา ทารููนิิ ลทฺฺธุํํ�, ทุุสฺฺสโกฏฺฺฐาคารานิิ วิิวริิตฺฺวา ถููลสาฏเกหิิ


วฏฺฏิโย กตฺวา เตลจาฏีสุ เตเมตฺวา ภตฺตํ ปจถาติ. (๓/๘/๕๔)
(เสฏฺฺฐีี) “(เกนจิิ) อิิมสฺฺมึึ กาเล น สกฺฺกา ทารููนิิ ลทฺฺธุํํ�, (ตุุมฺฺเห) ทุุสฺฺสโกฏฺฺฐาคารานิิ วิิวริิตฺฺวา
ถูลสาฏเกหิ วฏฺฏิโย กตฺวา (วฏฺฏิโย) เตลจาฏีสุ เตเมตฺวา ภตฺตํ ปจถาติ (อาห).
เศรษฐีีกล่่าวว่่า “ใครๆ ก็็ไม่่สามารถเพื่่�อจะได้้ฟืืนทั้้�งหลายในกาลนี้้�, พวกท่่านเปิิด
เรืือนคลัังผ้้าทั้้�งหลาย ทำำ�ให้้เป็็นเกลีียวด้้วยผ้้าเนื้้�อหยาบทั้้�งหลาย แล้้วทำำ�ให้้เปีียกที่่�ตุ่่�ม
น้ำำ��มัันทั้้�งหลาย จงหุุงภััตรเถิิด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๖. โส “น สกฺกา มยา อิเมสํ วจนมตฺเตเนว นิกฺกฑฺฒาเปตุํ, มหากุลสฺส สา ธีตาติ
จินฺเตตฺวา... (๓/๘/๖๐)
โส (เสฏฺฐี) “น สกฺกา มยา (ปุคฺคลํ) อิเมสํ (อเจลกานํ) วจนมตฺเตน เอว (การเณน)
นิกฺกฑฺฒาเปตุํ, มหากุลสฺส สา (วิสาขา) ธีตา (โหติ)" อิติ จินฺเตตฺวา...
เศรษฐีีนั้้�นคิิดว่่า “เราไม่่สามารถเพื่่�อจะให้้คนฉุุดออกด้้วยเหตุุสัักว่่าคำำ�ของพวกอเจลกะ
เหล่่านี้้�ได้้, นางวิิสาขานั้้�น เป็็นธิิดาของตระกููลใหญ่่” ดัังนี้้�...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 63

๓๗. กึ สกฺกา อมฺเหหิ อนฺโตอคฺคิมฺหิ นิพฺพุเต พาหิรโต อคฺคึ อนาหริตุํ. (๓/๘/๖๒)


เมื่อไฟภายในดับแล้ว พวกเราสามารถเพื่อจะไม่น�ำไฟจากภายนอกมาหรือ?
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๘. เอติสฺสา หิ ภาริยํ ปสาธนํ, นิจฺจกาลํ ปสาธิตุํ น สกฺกา, สลฺลหุกมสฺสา ทิวา จ
รตฺโต จ สพฺพิริยาปเถสุ ปสาธนโยคฺคํ ปสาธนํ กาเรสฺสามิ. (๓/๘/๖๖)
เอติสฺสา (สุณิสาย) หิ ภาริยํ (โหติ) ปสาธนํ, (สุณิสาย) นิจฺจกาลํ ปสาธิตุํ น สกฺกา, (อหํ
ปุคฺคลํ) สลฺลหุกํ อสฺสา (สุณิสาย) ทิวา จ รตฺโต จ สพฺพิริยาปเถสุ ปสาธนโยคฺคํ ปสาธนํ
กาเรสฺสามิ.
เพราะว่า เครื่องประดับของหญิงสะใภ้นั้นหนัก, หญิงสะใภ้ไม่สามารถเพื่อจะประดับ
ตลอดกาลเป็นนิจได้, เราจักให้ช่างท�ำเครื่องประดับที่เบา ควรแก่การประดับในทุกๆ
อิริยาบถ ในเวลากลางวันและเวลากลางคืนแก่หญิงสะใภ้นั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
64 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๙. ภนฺเต มยฺหํ อยฺเยน อานนฺทตฺเถเรน มม ปสาธนํ หตฺเถน อามฏฺฐํ, เตนามฏฺฐกาลโต


ปฏฺฐาย น สกฺกา มยา ปิลนฺธิตุํ, ตํ ปน ‘วิสฺสชฺเชตฺวา กปฺปิยํ อุปเนสฺสามีติ
วิกฺกีณาเปนฺตี... (๓/๘/๗๐)
ภนฺฺเต มยฺฺหํํ อยฺฺเยน อานนฺฺทตฺฺเถเรน มม ปสาธนํํ หตฺฺเถน อามฏฺฺฐํํ, เตน (อานนฺฺทตฺฺเถเรน)
อามฏฺฺฐกาลโต ปฏฺฺฐาย น สกฺฺกา มยา ปิิลนฺฺธิิตุํํ�, (อหํํ ปุุคฺฺคลํํ) ตํํ (ปสาธนํํ) ปน ‘(อหํํ)
วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา กปฺฺปิิยํํ (ภณฺฺฑํํ) อุุปเนสฺฺสามีีติิ (จิินฺฺตเนน) วิิกฺฺกีีณาเปนฺฺตีี...
ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ เครื่่�องประดัับของหม่่อมฉััน พระคุุณเจ้้าพระอานนทเถระของ
หม่่อมฉัันถููกต้้องแล้้วด้้วยมืือ, ตั้้�งแต่่ที่่�พระอานนทเถระนั้้�นถููกต้้องแล้้ว หม่่อมฉัันไม่่
สามารถเพื่่�อจะประดัับได้้, ก็็หม่่อมฉัันจะให้้คนจำำ�หน่่ายเครื่่�องประดัับนั้้�นด้้วยอัันคิิดว่่า
‘เราสละแล้้ว จัักน้้อมนำำ�ภััณฑะที่่�สมควรเข้้าไป’...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๐. “อิทานิ ปฏฺเฐตฺวา ลทฺธุํ สกฺกา ภนฺเตติ. “อาม สกฺกาติ. (๓/๘/๗๕)
(สา อิตฺถี) “(มยา) อิทานิ ปฏฺเฐตฺวา ลทฺธุํ สกฺกา ภนฺเตติ (อาห). (สตฺถา) “(ตยา) อาม
สกฺกาติ (อาห).
หญิิงนั้้�นกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ บััดนี้้� หม่่อมฉัันสามารถเพื่่�อจะปรารถนา
แล้้วได้้หรืือ” , พระศาสดาตรััสว่่า “เจริิญพร เธอสามารถ(เพื่่�อจะตั้้�งความปรารถนาแล้้ว
ได้้)”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 65

๔๑. “น สกฺฺกา วิิวริิตุํํ�, ราชา สกาลสฺฺเสว มุุทฺฺทิิกํํ ราชเคหํํ หราเปสีีติิ. (๓/๑/๑๐๓)


(ทฺฺวารปาลโก) “(มยา) น สกฺฺกา วิิวริิตุํํ�, ราชา (ราชปุุริิสํํ) สกาลสฺฺเสว (สมยสฺฺส) มุุทฺฺทิิกํํ
ราชเคหํํ หราเปสีีติิ (อาห).
บุุคคลผู้้�เฝ้้าประตููกล่่าวว่่า “เราไม่่สามารถเพื่่�อจะเปิิด(ประตูู)ได้้, พระราชารัับสั่่�งให้้นำำ�
ลููกดาลไปสู่่�พระราชวัังโดยสมััยเป็็นไปกัับด้้วยกาลเวลานั่่�นแหละ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๒. อถ นํ ภควา อาห “น โข สกฺก สกฺกา ตาทิสานํ สเตนปิ สหสฺเสนปิ สุปฺปพุทฺธ-
กุฏฺฐึ ‘พุทฺโธ น พุทฺโธติ วา ‘ธมฺโม น ธมฺโม ติ วา ‘สงฺโฆ น สงฺโฆ ติ วา
กถาเปตุนฺติ. (๓/๗/๑๒๙)
อถ นํ (สกฺกํ) ภควา อาห “น โข สกฺก สกฺกา ตาทิสานํ (ชนานํ) สเตนปิ สหสฺเสนปิ
สุุปฺฺปพุุทฺฺธกุุฏฺฺฐึึ ‘พุุทฺฺโธ น พุุทฺฺโธ (โหติิ)’ อิิติิ วา ‘ธมฺฺโม น ธมฺฺโม (โหติิ)’ อิิติิ วา ‘สงฺฺโฆ น
สงฺฺโฆ (โหติิ)” อิิติิ วา กถาเปตุุนฺฺติิ.
ทีีนั้้�น พระผู้้�มีีพระภาคตรััสกัับท้้าวสัักกะนั้้�นว่่า “ดููก่่อนสัักกะ แม้้เป็็นร้้อย แม้้เป็็นพััน
แห่่งชนทั้้�งหลายผู้้�เช่่นนั้้�น ไม่่สามารถเพื่่�อจะให้้บุุรุุษโรคเรื้้�อนชื่่�อว่่าสุุปปพุุทธะกล่่าวว่่า
‘พระพุุทธเจ้้า มิิใช่่พระพุุทธเจ้้า’ ดัังนี้้� ว่่า ‘พระธรรม มิิใช่่พระธรรม’ ดัังนี้้� ว่่า ‘พระสงฆ์์
มิิใช่่พระสงฆ์์’ ดัังนี้้�ได้้” ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
66 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๓. อยญฺหิ ขีณาสวมหาเถรํ จตูหิ อกฺโกเสหิ อกฺโกสิตฺวา, ยาวายํ มหาปฐวี


ติคาวุตาธิกํ โยชนํ อุสฺสนฺนา, ตาว อวีจิมฺหิ ปจิตฺวา ตตฺถ ปกฺกาวเสเสน
ปญฺจปณฺณาสวสฺสานิ อิมํ วิปฺปการํ ปตฺโต, เตนสฺส ตํ กมฺมํ ขีณํ, วีสติวสฺส-
สหสฺสานิ อิมินา กตสฺส สมณธมฺมสฺส ผลํ นาเสตุํ น สกฺกา; ตสฺมา ตํ สตฺถา
ทกฺขิณหตฺถํ ปสาเรตฺวา “เอหิ ภิกฺขุ จร พฺรหฺมจริยนฺติ อาห. (๓/๑๑/๑๕๒)
อยํ (ชมฺพุโก) หิ ขีณาสวมหาเถรํ จตูหิ อกฺโกเสหิ อกฺโกสิตฺวา, ยาว อยํ มหาปฐวี
ติคาวุตาธิกํ โยชนํ อุสฺสนฺนา, ตาว อวีจิมฺหิ ปจิตฺวา ตตฺถ (ปิฏฺฐิปาสาเณ) ปกฺกาวเสเสน
ปญฺจปณฺณาสวสฺสานิ อิมํ วิปฺปการํ ปตฺโต, เตน อสฺส (ชมฺพุกสฺส) ตํ กมฺมํ ขีณํ, (เตน
กมฺเมน) วีสติวสฺสสหสฺสานิ อิมินา (ชมฺพุเกน) กตสฺส สมณธมฺมสฺส ผลํ นาเสตุํ น สกฺกา;
ตสฺมา ตํ (ชมฺพุกํ) สตฺถา ทกฺขิณหตฺถํ ปสาเรตฺวา “(ตฺวํ) เอหิ ภิกฺขุ (หุตฺวา), (ตฺวํ) จร
พฺรหฺมจริยนฺติ อาห.
ก็็ ชััมพุุกนี้้�ด่่าพระมหาเถระผู้้�เป็็นพระขีีณาสพ ด้้วยอัักโกสวััตถุุ ๔ ประการ ไหม้้ในอเวจีี
มหานรกตราบเท่่าที่่�แผ่่นดิินใหญ่่นี้้�หนาขึ้้�นหนึ่่�งโยชน์์กัับอีีกสามคาวุุต ถึึงประการอััน
แปลกนี้้�ตลอด ๕๕ ปีี ด้้วยเศษวิิบากที่่�แผ่่นหิินมีีหลัังนั้้�น, เพราะเหตุุนั้้�น กรรมนั้้�นของ
ชััมพุุกะนั้้�นสิ้้�นแล้้ว, กรรมนั้้�นไม่่สามารถเพื่่�อจะทำำ�ให้้ผลสมณธรรมที่่�ชััมพุุกะนี้้�ทำำ�ไว้้สิ้้�น
๒๐,๐๐๐ ปีีให้้ฉิิบหายได้้, เพราะฉะนั้้�น พระศาสดาทรงเหยีียดพระหััตถ์์เบื้้�องขวาออก
แล้้วตรััสกัับชััมพุุกะนั้้�นว่่า “เธอจงเป็็นภิิกษุุมาเถิิด จงประพฤติิพรหมจรรย์์เถิิด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 67

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๔. “น สกฺฺกา ตาต ทาตุุนฺฺติิ. (๓/๑๓/๑๖๑)
(ปีีฐสปฺฺปิิ) “(มยา) น สกฺฺกา ตาต ทาตุุนฺฺติิ (อาห).
บุุรุุษเปลี้้�ยกล่่าวว่่า “พ่่อ เราไม่่สามารถเพื่่�อจะให้้ได้้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๕. โส จินฺเตสิ “มยา อิธ วสนฺเตน, ญาติทารเกสุ อาคนฺตฺวา กเถนฺเตสุ, อกเถตุํปิ น
สกฺกา, เอเตหิ สทฺธึ กถาปปญฺเจน อตฺตโน ปติฏฺฐํ กาตุํ น สกฺกา, ยนฺนูนาหํ สตฺถุ
สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ อุคฺคเหตฺวา อรญฺญํ ปวิเสยฺยนฺติ. (๓/๑๕/๑๗๙)
โส (สามเณโร) จินฺเตสิ “มยา อิธ (ฐาเน) วสนฺเตน, ญาติทารเกสุ อาคนฺตฺวา กเถนฺเตสุ,
อกเถตุํปิ น สกฺกา, (มยา) เอเตหิ (ญาติทารเกหิ) สทฺธึ กถาปปญฺเจน อตฺตโน ปติฏฺฐํ กาตุํ
น สกฺกา, ยนฺนูน อหํ สตฺถุ สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ อุคฺคเหตฺวา อรญฺญํ ปวิเสยฺยนฺติ.
สามเณรนั้้�นคิิดว่่า “เราผู้้�อยู่่�ในที่่�นี้้�, เมื่่�อพวกเด็็กที่่�เป็็นญาติิมาพููดคุุยอยู่่�, ไม่่สามารถ
แม้้เพื่่�อจะไม่่พููดคุุยได้้, เราไม่่สามารถเพื่่�อจะทำำ�ที่่�พึ่่�งแก่่ตนได้้ เพราะความเนิ่่�นช้้าแห่่ง
การพููดคุุยกัับพวกเด็็กๆ ผู้้�เป็็นญาติิเหล่่านั่่�น, ไฉนหนอ เราพึึงเรีียนเอากรรมฐานใน
สำำ�นัักของพระศาสดาแล้้วเข้้าป่่าไป”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
68 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๖. น ภิิกฺฺขเว สกฺฺกา สารีีปุุตฺฺตสทิิสานํํ โกปํํ วา โทสํํ วา อุุปฺฺปาเทตุํํ�. (๔/๖/๖๗)


(เกนจิ) น ภิกฺขเว สกฺกา สารีปุตฺตสทิสานํ (ปุคฺคลานํ) โกปํ วา โทสํ วา อุปฺปาเทตุํ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ใครๆ ก็ไม่สามารถเพื่อจะท�ำความโกรธหรือโทษให้เกิดขึ้นแก่
บุคคลทั้งหลายผู้เช่นกับพระสารีบุตรได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

แบบฝึกหัดของ สกฺกาศัพท์
ที่ท�ำหน้าที่เป็นประธาน กิริยากัมมวาจก และวิกติกัตตา
๑. พุทฺธา จ นาม น สกฺกา สเฐน อาราเธตุํ. (๑/๑/๘)
พุุทฺฺธา จ นาม น สกฺฺกา สเน (ปุุคฺฺคเลน) อาราเธตุํํ�.
อนึ่่�ง ธรรมดาว่่าพระพุุทธเจ้้าทั้้�งหลาย บุุคคลผู้้โ� อ้้อวดไม่่สามารถทำำ�ให้้พระองค์์ทรง
โปรดปรานได้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. “มา ภนฺฺ เต เอวมกตฺฺถ; สมณธมฺฺโม นาม, สรีีเร ยาเปนฺฺ เต, สกฺฺกา กาตุํํ�; นิิปชฺฺชิตฺิ ฺวา
อาสิิฺฺจถา”ติิ ปุุนปฺฺปุนํุ ํ ยาจิิ. (๑/๑/๙)
(เวชฺฺโช) “(ตุุมฺฺเห) มา ภนฺฺ เต เอวํํ อกตฺฺถ; สมณธมฺฺโม นาม, สรีีเร ยาเปนฺฺ เต, (ตุุมฺฺเหหิิ)
สกฺฺกา กาตุํํ�; (ตุุมฺฺเห) นิิปชฺฺชิตฺิ ฺวา อาสิิฺฺจถา”ติิ (วตฺฺวา) ปุุนปฺฺปุนํุ ํ ยาจิิ.
คุุณหมอกล่่าวว่่า “ท่่านผู้้เ� จริิญ ท่่านอย่่าได้้ทำำ�อย่่างนี้้�เลย, ธรรมดาว่่าสมณธรรม เมื่่อ�
ร่่างกายยัังเป็็ นไปได้้อยู่่� ก็็สามารถที่่�จะทำำ�ได้้, ขอท่่านจงนอนหยอดเถิิด” แล้้ววิิงวอน
ซ้ำำ��แล้้วซ้ำำ��เล่่า
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 69

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. โส อิมสฺส สนฺติเก อุปฺปาเทตุํ น สกฺกา. (๑/๘/๘๒)
โส (โมกฺขธมฺโม อมฺเหหิ) อิมสฺส (สญฺชยสฺส) สนฺติเก อุปฺปาเทตุํ น สกฺกา.
โมกขธรรมนั้้�น พวกเราไม่่สามารถเพื่่�อให้้เกิิดขึ้้�นในสำำ�นัักของอาจารย์์สััญชััยปริิพาชก
นี้้�ได้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. กมฺมวิปาโก นาม น สกฺกา เกนจิ ปฏิพาหิตุํ. (๑/๑๐/๑๑๘)
ธรรมดาว่าผลกรรม ใครๆ ก็ไม่สามารถเพื่อจะห้ามได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. ตตฺถ นํ อาคตํ คเหตุํ สกฺกา ภวิสฺสติ. (๒/๑/๓๒)
(ตุุมฺฺเหหิิ) ตตฺฺถ (ฐาเน) นํํ (อุุเทนํํ) อาคตํํ คเหตุํํ� สกฺฺกา ภวิิสฺฺสติิ.
การที่พระองค์ทรงจับพระเจ้าอุเทนนั้นผู้เสด็จมาแล้วในที่นั้น จักเป็นกิริยาที่พระองค์
ทรงสามารถ(ท�ำได้)
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
70 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๖. “เตนหิิ ตุุมฺฺหากํํ วสนคพฺฺภานํํ ภิิตฺฺตีีสุุ, ยตฺฺตเกน โอโลเกตุํํ� สกฺฺกา โหติิ, ตตฺฺตกํํ


ฉิทฺทํ กตฺวา คนฺธมาลาทีนิ อาหราเปตฺวา สตฺถารํ ติณฺณํ เสฏฺฐีนํ ฆรทฺวารํ
คจฺฉนฺตํ ตุมฺเห เตสุ เตสุ ฐาเนสุ ฐตฺวา โอโลเกถ เจว หตฺเถ ปสาเรตฺวา
วนฺทถ จ ปูเชถ จาติ. (๒/๑/๔๘)
(ขุุชฺฺชุุตฺฺตรา) “เตนหิิ ตุุมฺฺหากํํ วสนคพฺฺภานํํ ภิิตฺฺตีีสุุ, (ตุุมฺฺเหหิิ) ยตฺฺตเกน (ฉิิทฺฺเทน) โอโลเกตุํํ�
สกฺกา โหติ, ตตฺตกํ ฉิทฺทํ กตฺวา (ปุคฺคลํ) คนฺธมาลาทีนิ (วตฺถูนิ) อาหราเปตฺวา สตฺถารํ
ติณฺณํ เสฏฺฐีนํ ฆรทฺวารํ คจฺฉนฺตํ ตุมฺเห เตสุ เตสุ ฐาเนสุ ฐตฺวา โอโลเกถ เจว หตฺเถ
ปสาเรตฺวา วนฺทถ จ ปูเชถ จาติ (อาห).
นางขุุชชุุตตรากล่่าวว่่า “ถ้้าเช่่นนั้้�น พวกท่่านพากัันทำำ�ช่่องมีีประมาณเท่่าที่่�พวกท่่าน
จะเป็็นผู้้�สามารถเพื่่�อจะแลดููได้้ ที่่�ฝาเรืือนทั้้�งหลาย แห่่งห้้องที่่�เป็็นที่่�อยู่่�ของพวกท่่าน
ให้้คนนำำ�วััตถุุมีีของหอมและพวงมาลััยเป็็นต้้นมา ดำำ�รงอยู่่�ในที่่�นั้้�นๆ ขอจงแลดูู ขอจง
เหยีียดมืือออกถวายบัังคม และขอจงบููชาพระศาสดาผู้้�กำำ�ลัังเสด็็จไปสู่่�ประตููเรืือนของ
เศรษฐีีทั้้�งสามท่่านเถิิด” ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. อมฺหากํ หิ สกเคหํ วิย อฏฺฐ มหานิรยา วิวฏทฺวาราเยว, ธรมานกพุทฺธสฺส โข
ปน สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา มยํ อาคตา, พุทฺธา จ นาม ปทานุปทิกํ
วิจรนฺเตนปิ สเฐน อาราเธตุํ น สกฺกา, ยถาชฺฌาสเยเนว อาราเธตุํ สกฺกา,
อปฺปมตฺตา โหถ. (๒/๒/๑๑๙)
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 71

อมฺหากํ หิ สกเคหํ วิย อฏฺฐ มหานิรยา วิวฏทฺวารา เอว (โหนฺติ), ธรมานกพุทฺธสฺส


โข ปน สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา มยํ อาคตา (อมฺห), พุทฺธา จ นาม ปทานุปทิกํ
วิจรนฺเตนปิ สเฐน (ปุคฺคเลน) อาราเธตุํ น สกฺกา, (พุทฺธา) ยถาชฺฌาสเยน เอว (ปุคฺคเลน)
อาราเธตุํ สกฺกา, (ตุมฺเห) อปฺปมตฺตา โหถ.
เพราะว่า มหานรก ๘ ขุม เปิดประตูแล้วนั่นแหละเพื่อพวกเรา ดุจเรือนของตน, ก็ พวก
เราเรียนกรรมฐานในส�ำนักของพระพุทธเจ้าผู้ยังทรงพระชนม์อยู่แล เป็นผู้มาแล้ว, ก็
ธรรมดาว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย อันบุคคลผู้โอ้อวด แม้เที่ยวไปตามรอยพระบาท ก็ไม่
สามารถเพื่อจะทรงให้โปรดปรานได้, บุคคลผู้มีอัธยาศัยตามที่เป็นนั่นแหละ สามารถ
เพื่อจะทรงให้โปรดปรานได้, ขอพวกท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาทเถิด
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. พุทฺธา นาม สาเถยฺเยน อาราเธตุํ น สกฺกา. (๒/๓/๙๓)
พุทฺธา นาม สาเถยฺเยน (ปุคฺคเลน) อาราเธตุํ น สกฺกา.
ธรรมดาว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลาย อันบุคคลผู้โอ้อวด ไม่สามารถเพื่อจะทรงให้
โปรดปรานได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
72 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. ตํ ปน เตน เตน อุปาเยน มญฺจปฏิปาทกํ วา ปาทกฐลิกํ วา ผลกปีฐกํ วา


กาตุํ สกฺกาปิ ภเวยฺย. (๒/๗/๑๔๗)
ตํ (กฏฺฐํ) ปน (ปุคฺคเลน) เตน เตน อุปาเยน มญฺจปฏิปาทกํ วา ปาทกฐลิกํ วา
ผลกปีฐกํ วา กาตุํ สกฺกาปิ ภเวยฺย.
ก็ ไม้นั้น พึงเป็นไม้ที่บุคคลแม้สามารถเพื่อจะท�ำให้เป็นเชิงรองเตียง เครื่องเช็ดเท้า
หรือตั่งแผ่นกระดาน ด้วยอุบายนั้นๆ ได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. มหากุลานิ อมฺเหหิ จาเลตุํ น สกฺกา. (๓/๘/๔๗)
ตระกูลใหญ่ทั้งหลาย พวกเราไม่สามารถเพื่อจะให้เคลื่อนที่ได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

๒. ลพฺภา แปลว่า (อัน...) พึงได้ เป็นนิบาตบท กัมมรูป ท�ำหน้าที่เป็นกิริยาคุมพากย์


ในประโยคได้ เรียกว่า “นิบาตบทกัมมวาจก” หรือ “กิริยาบทกัมมวาจก”
เช่น รญฺโญ อาณา อกาตุํ น ลพฺภา. (๒/๒/๗๐)
(เกนจิ) รญฺโญ อาณา อกาตุํ น ลพฺภา.
แปลว่่า : อ.อาชญา ของพระราชา อัันใครๆ ไม่่พึึงได้้ เพื่่�ออัันไม่่กระทำำ� ฯ
สัมพันธ์ว่า : อาณา วุตตกัมมะใน ลพฺภา ๆ กิริยาบทกัมมวาจก รญฺโญ
สามีสัมพันธะใน อาณา เกนจิ อนภิหิตกัตตาใน ลพฺภา อกาตุํ ตุมัตถสัมปทานใน ลพฺภา
นศัพท์ ปฏิเสธะใน ลพฺภา ฯ
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 73

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. ปเวณิรชฺชํ นาม ตาต อิทํ, น ลพฺภา เอวํ กาตุํ. (๓/๓/๖)
ปเวณิรชฺชํ นาม ตาต อิทํ (รชฺชํ), (ตยา) น ลพฺภา เอวํ กาตุํ.
ดูก่อนลูก ความเป็นพระราชานี้ ชื่อว่าเป็นความเป็นพระราชาตามประเพณี (เชื้อสาย),
เจ้าไม่พึงได้เพื่ออันท�ำอย่างนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

๓. อตฺถิ แปลว่า มีอยู่, นตฺถิ แปลว่า ย่อมไม่มี เป็นนิบาตบท กัตตุรูป ท�ำหน้าที่ เป็น
กิริยาคุมพากย์ในประโยคได้ เรียกว่า “นิบาตบทกัตตุวาจก” หรือ “กิริยาบทกัตตุวาจก”
ซึ่งจะสังเกตได้ว่า ประธานที่ อตฺถิ ไปสัมพันธ์ด้วยจะประกอบด้วยพหูพจน์
เช่น ปุตฺตา มตฺถิ. (ที.ปา. ๑๑/๓๑๒/๒๐๕)
ปุตฺตา เม อตฺถิ.
แปลว่า : อ.บุตร ท. ของเรา มีอยู่ ฯ
สัมพันธ์ว่า : ปุตฺตา สุทธกัตตาใน อตฺถิ ๆ กิริยาบทกัตตุวาจก เม สามี-
สัมพันธะใน ปุตฺตา ฯ (มตฺถิ ตัดบทเป็น เม + อตฺถิ)

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อิทานิ เม หตฺถาปิ อวิเธยฺยา, อญฺญํ กตฺตพฺพํ นตฺถิ. (๑/๒/๒๕)
(มยา) อิิทานิิ เม หตฺฺถาปิิ อวิิเธยฺฺยา, อฺฺํํ (กิิจฺฺจํํ มยา) กตฺฺตพฺฺพํํ นตฺฺถิ.ิ
ตอนนี้้� แม้้มืือทั้้�งสองของเรา ก็็ทำำ�อะไรไม่่ได้้, กิิจอย่่างอื่่น� ที่่�เราควรทำำ� ไม่่มี ี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
74 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒. ตํํ กเถตฺฺวา จ ปน “น โข พฺฺราหฺฺมณ เอกสตํํ, น เทฺฺว, อถ โข มยิิ มนํํ


ปสาเทตฺฺวา สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตานํํ คณนา นตฺฺถีติี ิ อาห. (๑/๒/๓๒)
(สตฺฺถา) ตํํ (มฏฺฺกุุณฺฺฑลิวิ ตฺฺถุํํ�) กเถตฺฺวา จ ปน “น โข พฺฺราหฺฺมณ เอกสตํํ (โหติิ), น เทฺฺว (สตานิิ
โหนฺฺ ติ)ิ , อถ โข มยิิ มนํํ ปสาเทตฺฺวา สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตานํํ (สตฺฺตานํํ) คณนา นตฺฺถีติี ิ อาห.
ก็็แล พระศาสดาครั้้�นตรััสเรื่่อ� งมััฏฐกุุณฑลีมี าณพแล้้ว ตรััสว่่า “พราหมณ์์ ไม่่ใช่่หนึ่่�ง
ร้้อย ไม่่ใช่่สองร้้อย ที่่�แท้้ การนัับสัตั ว์์ทั้้ง� หลายที่่�ทำำ�ใจให้้เลื่่อ� มใสในเราแล้้วบัังเกิิดใน
สวรรค์์ นัับไม่่ได้้เลย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. มาตา ปนสฺฺส, ปหิิเต ปหิิเต, ติิกฺฺขตฺฺตุํํ� ปููเว ปหิิณิิตฺฺวา จตุุตฺฺถวาเร "ปููวา นตฺฺถีีติิ
ปหิิณิิ. (๑/๑๒/๑๒๔-๑๒๕)
มาตา ปน อสฺฺส (อนุุรุทฺุ ฺธสฺฺส), (อนุุรุทฺุ ฺเธน ปุุริเิ ส) ปหิิเต ปหิิเต, ติิกฺฺขตฺฺตุํํ� ปููเว ปหิิณิตฺิ ฺวา
จตุุตฺฺถวาเร “ปููวา นตฺฺถีติี ิ (าปนเหตุุกํํ สาสนํํ) ปหิิณิ.ิ
ส่่วนพระมารดาของเจ้้าอนุุรุทุ ธะนั้้�น เมื่่อ� บุุรุษุ ที่่�เจ้้าอนุุรุทุ ธะทรงส่่งไปแล้้วๆ ทรงส่่ง
ขนมไป ๓ ครั้้�ง ครั้้�งที่่� ๔ ทรงส่่งข่่าวสาส์์นไปมีีอันั ให้้รู้้ว่� า่ “ขนมทั้้�งหลาย ไม่่มี”ี เป็็ นเหตุุ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 75

๔. ตโต ปุนปิ “ทารูนิ นตฺถีติ อาโรจยึสุ. (๓/๘/๕๔)


ตโต (เต ชนา) ปุนปิ “ทารูนิ นตฺถีติ อาโรจยึสุ.
ในลำำ�ดัับนั้้�น พวกชนเหล่่านั้้�นบอกแม้้อีีกว่่า “ฟืืนทั้้�งหลาย ย่่อมไม่่มีี”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. นตฺถิ เม สรณํ อญฺญํ พุทฺโธ เม สรณํ วรํ
เอเตน สจฺจวชฺเชน โสตฺถิ เต โหตุ สพฺพทา.
ทีพ่ ึ่งอื่นของข้าพเจ้า ไม่มี, พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า, ด้วยการ
กล่าวค�ำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่านทุกเมื่อเทอญ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------
76 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ค�ำศัพท์ที่น่าสนใจ
กาตุํ กร กรเณ ในการกระท�ำ + ตุํ เพื่ออันกระท�ำ
ภวิตุํ ภู สตฺตายํ ในความมี, ความเป็น + ตุํ เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น
เปเสตุํ เปส เปสเน ในการส่งไป + เณ + ตุํ เพื่ออันส่งไป (จุ.)
ปริจฺฉินฺทิตุํ ปริ + ฉิทิ ทฺวิธากรเณ ในการท�ำให้เป็นสองส่วน + ตุํ เพื่ออันก�ำหนด
นิวตฺตาเปตุํ นิ + วตฺตุ วตฺตเน ในการเป็นไป + ณาเป + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้กลับ
อปพฺพชิตุํ น + ป + วช คติมฺหิ ในการไป + ตุํ เพื่ออันไม่บวช
ปูเรตุํ ปูร ปูรเณ ในการให้เต็ม + เณ + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้เต็ม
อาราเธตุํ อา + ราธ สํสิทฺธิมฺหิ ในความส�ำเร็จ + เณ + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้ยินดี
อุปฺปาเทตุํ อุ + ปท คติมฺหิ ในการไป + เณ + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้เกิดขึ้น
ปฏิพาหิตุํ ปติ + พาห ปยตเน ในความพยายาม + ตุํ เพื่ออันห้าม, เพื่ออันผลักดันออก
วสิตุํ วส นิวาเส ในการอยู่ + ตุํ เพื่ออันอยู่
มุจฺจิตุํ มุจ โมกฺเข ในความหลุดพ้น + ตุํ เพื่ออันหลุดพ้น, เพื่ออันพ้น
คเหตุํ คห อุปาทาเน ในการถือเอา + ตุํ เพื่ออันถือเอา, เพื่ออันเรียนเอา
ชานาเปตุํ า อวโพธเน ในความรู้ + นา + ณาเป + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้รู้
คนฺตุํ คมุ คติมฺหิ ในการไป + ตุํ เพื่ออันไป
€าตุํ €า คตินิวตฺติมฺหิ ในการห้ามการไป + ตุํ เพื่ออันตั้งอยู่, เพื่ออันด�ำรงอยู่
ทาตุํ ทา ทาเน ในการให้ + ตุํ เพื่ออันให้
วิทฺธํเสตุํ วิ + ธํส วิทฺธํสเน ในการท�ำลาย + เณ + ตุํ ท�ำลายแล้ว, ก�ำจัดแล้ว (จุ.)
วิกีริตุํ วิ + กิร วิกฺเขปวิกิรเณ ในการซัดไป, เรี่ยราย + ตุํ เพื่ออันซัดไป, เพื่ออันเรี่ยราย
วนฺทิตุํ วนฺท อภิวนฺทเน ในการกราบไหว้ + ตุํ เพื่ออันไหว้, เพื่ออันกราบไหว้
โวโรเปตุํ วิ + อว + รุป ชนเน ในการเกิด + เณ + ตุํ เพื่ออันปลงลง (จุ.)
วิจริตุํ วิ + จร จรเณ ในการเที่ยวไป + ตุํ เพื่ออันเที่ยวไป
ลทฺธุํ ลภ ลาเภ ในการได้ + ตุํ เพื่ออันได้
นิกฺกฑฺฒาเปตุํ นิ +กฑฺฒ อากฑฺฒเน ในการลาก, ดึง +ณาเป+ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้ฉุดกระชาก
อนาหริตุํ น + อา + หร หรเณ ในการน�ำไป + ตุํ เพื่ออันไม่น�ำมา
ปสาธิตุํ ป + สาธ สิทฺธิมฺหิ ในความส�ำเร็จ + ตุํ เพื่ออันประดับ
ปิลนฺธิตุํ ปิลธิ อลงฺกาเร ในการประดับ + ตุํ เพื่ออันประดับ
วิธีการแปลประโยค สกฺกา, ลพฺภา, อตฺถิ 77
วิวริตุํ วิ + วร อาวรเณ ในการปกปิด + ตุํ เพื่ออันเปิด
นาเสตุํ นส วินาเส ในความพินาศ + เณ + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้ฉิบหาย
อกเถตุํ น + กถ กถเน ในการกล่าว + เณ + ตุํ เพื่ออันไม่กล่าว (จุ.)
โอโลเกตุํ อว + โลก ทสฺสเน ในการดู, การเห็น + เณ + ตุํ เพื่ออันแลดู, เพื่ออันตรวจดู (จุ.)
จาเลตุํ จล กมฺปเน ในความหวั่นไหว + เณ + ตุํ เพื่ออัน (ยัง...) ให้เคลื่อนไหว
โสจิตฺถ สุจ โสเก ในความเศร้าโศก + ตฺถ เศร้าโศกแล้ว
ปริเทวิตฺถ ปริ + ทิว กูชปีฬเน ในการ้อง, บีบคั้น + เณ + ตฺถ คร�่ำครวญแล้ว (จุ.)
ปฏิกจฺเจว (นิ) ปติ + กร กรเณ ในการกระท�ำ + ตฺวา + (เอว) ก่อนนั่นเทียว, ด่วนๆ, พลันๆ
อกฺขาต อา + ขา กถเน ในการกล่าว + ต (อัน...) กล่าวแล้ว, บอกแล้ว
ปลุชฺชิ ป + ลุช นสฺสเน ในความพินาศ + ย + อี พินาศแล้ว, ฉิบหายแล้ว (ทิ.)
วิชฺชติ วิท ภาเว ในความมี,ความเป็น + ย + ติ ย่อมมี, ย่อมมีปรากฏ (ทิ.)
อวิเธยฺย น + วิ + ธา กรเณ ในการกระท�ำ + ณฺย (อัน...) ไม่พึงกระท�ำ
กตฺตพฺพ กร กรเณ ในการกระท�ำ + ตพฺพ (อัน...) พึงกระท�ำ
ปสาเทตฺวา ป + สท ปสาเท ในความเลื่อมใส + เณ + ตฺวา (ยัง...) ให้เลื่อมใสแล้ว
นิพฺพตฺต นิ + วตุ วตฺตเน ในการเป็นไป + ต บังเกิดแล้ว
ปหิต ป + หิ คติมฺหิ ในการไป + ต (อัน...) ส่งไปแล้ว
ปหิณิตฺวา ป + หิ คติมฺหิ ในการไป + ณา + ตฺวา ส่งไปแล้ว
ปหิณิ ป + หิ คติมฺหิ ในการไป + ณา + อี ส่งไปแล้ว
อาโรจยึสุ อา + รุจ เทสเน ในการสวด, แสดง + ณย + อุํ บอกแล้ว, แจ้งแล้ว (จุ.)
-------------------
78 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อกฺขรโกสลฺลํ
โย โกจิ โลกิยโลกุตฺตราทิเภโท วจนตฺโถ, โส สพฺโพ อกฺขเรเหว
สญฺญายเต ฯ สิถิลธนิตาทิอกฺขรวิปตฺติยญฺหิ อตฺถสฺส ทุนฺนยตา โหติ ฯ ตสฺมา
อกฺขรโกสลฺลํ พหูปการํ พุทฺธวจเนสุ ฯ
(รูปสิทธิ.สูตรที่ ๑ หน้า ๑)
เนื้อความแห่งค�ำพูดอันจ�ำแนกเป็นโลกิยะและโลกุตตระเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง เนื้อ
ความแห่งค�ำพูดนั้นทั้งหมด ย่อมถูกหมายรู้ด้วยอักษรเท่านั้น เพราะเมื่อมีการวิบัติ
แห่งอักษรมีสิถิละและธนิตะเป็นต้น ก็ย่อมรู้เนื้อความได้ยาก ฉะนั้น ความเป็นผู้ฉลาด
ในอักษร จึงมีอุปการะอย่างมากในพระพุทธพจน์
บทที่ ๓
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์
กึ แปลว่า อะไร เป็นค�ำถามใช้ท�ำหน้าที่เป็นวิเสสนะของ ปโยชนํ ซึ่งจะมีบทนาม ที่มา
สัมพันธ์ด้วยอยู่ ๒ วิภัตติ คือ ตติยาวิภัตติ และจตุตถีวิภัตติ
คัมภีร์ปทรูปสิทธิ แสดงตัวอย่างของ กึศัพท์และอลํศัพท์ไว้ในการกกัณฑ์ สูตรที่ ๒๙๖.
สหาทิโยเค จ (ในที่ประกอบด้วย สห สทฺธึ สมํ นานา วินา อลํ และ กึศัพท์ ให้ลงตติยาวิภัตติ
หลังนามบท) และสูตรที่ ๓๐๓. สิลาฆหนุฐาสปธารปิหกุธทุหิสฺโสสูยราธิกฺขปจฺจาสุณอนุปติ-
คิณปุพฺพกตฺตาโรจนตฺถตทตฺถตุมตฺถาลมตฺถมญฺญานาทรปฺปาณินิ คตฺยตฺถกมฺมนิอาสีสตฺถ-
สมฺมุติภิยฺยสตฺตมฺยตฺเถสุ จ. (การกที่มีอยู่ในที่ประกอบกับ สิลาฆธาตุ หนุธาตุ ฐาธาตุ
สปธาตุ ธรธาตุ ปิหธาตุ กุธธาตุ ทุหธาตุ อิสฺสธาตุ อุสูยธาตุ ราธธาตุ อิกฺขธาตุ กัตตาใน
ประโยคหน้าของ สุธาตุอันมีปติและอาอุปสัคเป็นบทหน้า คิธาตุอันมีอนุและปติอุปสัคเป็น
บทหน้า อรรถการกล่าว ประโยชน์ของกิริยานั้น อรรถตุํปัจจัย อรรถของอลํศัพท์ อรรถอัน
ไม่ใช่สัตว์ อันถูกไม่เคารพ ในที่ประกอบแห่งมนธาตุ ในกรรมของธาตุอันมีอรรถการไป
ในที่ประกอบแห่งศัพท์อันมีอรรถการปรารถนา ที่ประกอบแห่งสมฺมุติศัพท์ ที่ประกอบแห่ง
ภิยฺยศัพท์ และในอรรถสัตตมีวิภัตติ การกนั้น มีชื่อว่าสัมปทาน)
เช่น กึ เต ชฏาหิ ทุมฺเมธ. (รูปสิทธิ. หน้า ๑๘๑ และหน้า ๑๘๘)
กึ (ปโยชนํ) เต ชฏาหิ ทุมฺเมธ.
แปลว่่า : ดููก่่อนท่่านผู้้�มีีปััญญาทราม อ.ประโยชน์์อะไร ด้้วยชฎา ท. แก่่ท่่าน ฯ
สัมพันธ์ว่า : ทุมฺเมธ อาลปนะ กึ วิเสสนะของ ปโยชนํ ๆ ลิงคัตถะ เต สัมปทาน
ใน กึ ปโยชนํ ชฏาหิ ตติยาวิเสสนะใน กึ ปโยชนํ ฯ
เช่น อลํ เต อิธ วาเสน. (รูปสิทธิ. หน้า ๑๘๐ และหน้า ๑๘๘)
อลํ เต อิธ (ฐาเน) วาเสน.
แปลว่า : อ.พอละ ด้วยการอยู่ ในที่นี้ แก่ท่าน ฯ
สัมพันธ์ว่า : อลํ ปฏิเสธลิงคัตถะ เต สัมปทานใน อลํ อิธ วิเสสนะ ของ
ฐาเน ๆ วิสยาธาระใน วาเสน ๆ ตติยาวิเสสนะใน อลํ ฯ
ส�ำหรับ อลํศัพท์นั้น ท�ำหน้าที่ได้ ๓ ประการ คือ เป็นประธาน, กิริยาคุมพากย์ และ
วิกติกัตตา
80 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. กึ เม ฆราวาเสน, ปพฺพชิสฺสามิ. (๑/๑/๖)
กึ (ปโยชนํ) เม ฆราวาเสน, (อหํ) ปพฺพชิสฺสามิ.
ประโยชน์อะไรด้วยการอยู่ครองเรือนแก่เรา, เราจักบวช
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. สกฺโก “กึ เม อิเมหิ สาธารเณน รชฺเชนาติ จินฺเตสิ. (๒/๗/๑๐๓)
สกฺโก “กึ (ปโยชนํ) เม อิเมหิ (อสุเรหิ) สาธารเณน รชฺเชนาติ จินฺเตสิ.
ท้้าวสัักกะทรงดำำ�ริิว่่า “ประโยชน์์อะไรด้้วยความเป็็นพระราชาที่่�ทั่่�วไปด้้วยพวกอสููร
เหล่่านี้้� แก่่เรา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. “นตฺถิ ภนฺเต มยฺหํ ญาติสํสคฺโค, อหํ เอเต มนุสฺเส นิสฺสาย อชฺโฌหรณียมตฺตํ
ลภามิ, ลูเข วา ปณีเต วา ยาปนมตฺเต ลทฺเธ, ปุน กึ อาหารปริเยสเนนาติ.
(๒/๙/๑๑๓)
(เถโร) “นตฺถิ ภนฺเต มยฺหํ ญาติสํสคฺโค, อหํ เอเต มนุสฺเส นิสฺสาย อชฺโฌหรณียมตฺตํ
(อาหารวตฺถุํ) ลภามิ, ลูเข วา ปณีเต วา (อาหารวตฺถุมฺหิ) ยาปนมตฺเต (มยา) ลทฺเธ, ปุน กึ
(ปโยชนํ) อาหารปริเยสเนนาติ (อาห).
พระเถระกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ ความเกี่่�ยวข้้องด้้วยญาติิของข้้าพระองค์์
ย่่อมไม่่มีี, ข้้าพระองค์์อาศััยพวกมนุุษย์์เหล่่านั่่�น ย่่อมได้้อาหารวััตถุุสัักว่่าอัันบุุคคล
พึึงกลืืนกิิน, เมื่่�อข้้าพระองค์์ได้้อาหารวััตถุุที่่�เศร้้าหมองหรืือว่่าประณีีต สัักว่่าพอยััง
อััตภาพให้้เป็็นได้้, ประโยชน์์อะไรด้้วยการแสวงหาอาหารอีีก”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 81

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. อิมสฺมึ มยา สทฺธึ ปริโภคํ อกโรนฺเต, กึ เม สมณภาเวน, คิหี ภวิสฺสามิ. (๒/๔/๑๓๐)
อิมสฺมึ (เถเร) มยา สทฺธึ ปริโภคํ อกโรนฺเต, กึ (ปโยชนํ) เม สมณภาเวน, (อหํ) คิหี
ภวิสฺสามิ.
เมื่อพระเถระนี้ ไม่ท�ำการใช้สอยร่วมกับเรา, ประโยชน์อะไรด้วยความเป็นสมณะแก่
เรา, เราจักเป็นคฤหัสถ์
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. โส “อโห นฏฺโฐมฺหิ, ญาตํ กิร เม อุปชฺฌาเยน จินฺติตจินฺติตํ, กึ เม สมณ-
ภาเวนาติ ตาลวณฺฏํ ฉฑฺเฑตฺวา ปลายิตุํ อารทฺโธ. (๒/๔/๑๓๑)
โส (สามเณโร) “อโห (อหํ) นฏฺโฐ อมฺหิ, ญาตํ กิร เม อุปชฺฌาเยน (มยา) จินฺติตจินฺติตํ (วตฺถุ),
กึ (ปโยชนํ) เม สมณภาเวนาติ (จินฺเตตฺวา) ตาลวณฺฏํ ฉฑฺเฑตฺวา ปลายิตุํ อารทฺโธ.
สามเณรนั้้�นคิิดว่่า “โอ เราเป็็นผู้้�ฉิิบหายแล้้ว, ได้้ยิินว่่า เรื่่�องที่่�เราทั้้�งคิิดแล้้วทั้้�งคิิดแล้้ว
พระอุุปััชฌาย์์ของเรารู้้�แล้้ว, ประโยชน์์อะไรด้้วยความเป็็นสมณะแก่่เรา” ดัังนี้้� ทิ้้�งขั้้�ว
ตาล เริ่่�มเพื่่�อจะหนีีไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
82 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๖. ตโต จินฺเตสิ “กึ เม ภิกฺขาย จริตฺวา ชีวิเตน, คิหี ภวิสฺสามีติ. (๒/๕/๑๓๔)


ตโต (โส ภิกฺขุ) จินฺเตสิ “กึ (ปโยชนํ) เม ภิกฺขาย จริตฺวา ชีวิเตน, (อหํ) คิหี ภวิสฺสามีติ.
ลำำ�ดัับนั้้�น ภิิกษุุนั้้�นคิิดว่่า “ประโยชน์์อะไรด้้วยการเที่่�ยวไปเพื่่�อภิิกษาแล้้วเป็็นอยู่่�แก่่
เรา, เราจัักเป็็นคฤหััสถ์์”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. ตโต “กึ เม อิมินา ทุกฺเขน, สมโณ ภวิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา ปุนาคนฺตฺวา ปพฺพชิ.
(๒/๕/๑๓๔)
ตโต (โส กุลปุตฺโต) “กึ (ปโยชนํ) เม อิมินา ทุกฺเขน, (อหํ) สมโณ ภวิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา
ปุน อาคนฺตฺวา ปพฺพชิ.
ลำำ�ดัับนั้้�น กุุลบุุตรนั้้�นคิิดว่่า “ประโยชน์์อะไรด้้วยความทุุกข์์นี้้�แก่่เรา, เราจัักเป็็นพระ
สมณะ” แล้้วก็็กลัับมาบวชใหม่่
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. โส ปุนปิ กติปาเหเนว อุกฺกณฺฐิตฺวา “กึ เม คิหิภาเวน, ปพฺพชิสฺสามีติ. (๒/๕/๑๓๔)
โส (กุลปุตฺโต) ปุนปิ กติปาเหน เอว อุกฺกณฺฐิตฺวา “กึ (ปโยชนํ) เม คิหิภาเวน, (อหํ)
ปพฺพชิสฺสามีติ (จินฺเตสิ).
กุุลบุุตรนั้้�นเบื่่�อหน่่ายแล้้ว โดยสองสามวัันแม้้อีีก จึึงคิิดว่่า “ประโยชน์์อะไรด้้วยความ
เป็็นคฤหััสถ์์แก่่เรา, เราจัักบวช”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 83

๙. โส “กึ เมทานิ เคเหน, ปุน อฏฺฐมาเส ปพฺพชิสฺสามีติ นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชิ. (๒/๕/๑๓๘)


โส (กุทฺทาลปณฺฑิโต) “กึ (ปโยชนํ) เม อิทานิ เคเหน, (อหํ) ปุน อฏฺฐมาเส ปพฺพชิสฺสามีติ
(จินฺเตตฺวา) นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชิ.
กุุททาลบััณฑิิตนั้้�นคิิดว่่า “ประโยชน์์อะไรด้้วยเรืือนแก่่เราในบััดนี้้�, เราจัักบวช ๘ เดืือน
อีีก” แล้้วจึึงออกไปบวช
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. "กินฺเต เอเตหิ, อตฺตโน กมฺมํ กตฺวา ขาทิสฺสนฺตีติ. (๓/๕/๓๑)
(พฺราหฺมโณ) "กึ (ปโยชนํ) เต เอเตหิ (ชเนหิ), (เอเต ชนา) อตฺตโน กมฺมํ กตฺวา
ขาทิสฺสนฺตีติ (อาห).
พราหมณ์์กล่่าวว่่า “ประโยชน์์อะไรด้้วยพวกชนเหล่่านั่่�นแก่่เธอ, พวกชนเหล่่านั่่�น
ทำำ�การงานของตนแล้้ว จัักเคี้้�ยวกิิน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. “ธนํ ตาว, อมฺหากํ ธนํ อุปาทาย กากณิกมตฺตํ, ทาริกาย ปน อารกฺขมตฺตาย
ลทฺธกาลโต ปฏฺฐาย กึ อญฺเญน การเณนาติ อธิวาเสสิ. (๓/๘/๕๒)
(เสฏฺฐี) “ธนํ ตาว (โหตุ), (เอตํ ธนํ) อมฺหากํ ธนํ อุปาทาย กากณิกมตฺตํ (โหติ), ทาริกาย ปน
อารกฺขมตฺตาย (กิริยาย) ลทฺธกาลโต ปฏฺฐาย กึ (ปโยชนํ) อญฺเญน การเณนาติ (จินฺตเนน)
(วจนํ) อธิวาเสสิ.
เศรษฐีีรัับคำำ�ด้้วยอัันคิิดว่่า “ทรััพย์์จงยกไว้้ก่่อน, ทรััพย์์นั่่�นสัักว่่ากากณิิกหนึ่่�ง เพราะ
เข้้าไปเทีียบเคีียงทรััพย์์ของพวกเรา, แต่่ว่่า ประโยชน์์อะไรด้้วยเหตุุอื่่�น จำำ�เดิิมแต่่กาล
ที่่�นางทาริิกาได้้กิิริิยาสัักว่่าการอารัักขา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
84 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๒. อถสฺส เอตทโหสิ “กึ มยฺหํ อตฺตนา วินิจฺฉิเตน, สตฺถารํเยว ปุจฺฉิสฺสามีติ. (๓/๙/๗๗)
อถ อสฺส (เถรสสฺส) เอตํ (จินฺตนํ) อโหสิ “กึ (ปโยชนํ) มยฺหํ อตฺตนา วินิจฺฉิเตน, (อหํ)
สตฺถารํ เอว ปุจฺฉิสฺสามีติ.
ทีนั้น พระเถระนั้นได้มีความคิดนี้ว่า “ประโยชน์อะไรด้วยการวินิจฉัยด้วยตนแก่เรา,
เราจักทูลถามพระศาสดาดีกว่า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. “อลํ อาวุโส, สามเณรํ นิสฺสาย โน ปลิโพโธ ภวิสฺสติ, กึ อรญฺเญ วสนฺตานํ
สามเณเรนาติ. (๔/๙/๑๑๙)
(เต ภิกฺขู) “อลํ อาวุโส, สามเณรํ นิสฺสาย โน ปลิโพโธ ภวิสฺสติ, กึ (ปโยชนํ) อรญฺเญ
วสนฺตานํ (อมฺหากํ) สามเณเรนาติ (อาหํสุ).
พวกภิกษุเหล่านั้นกล่าวว่า “ท่านผู้มีอายุ อย่าเลย, ความกังวลจักมีแก่พวกเราเพราะ
อาศัยสามเณร, ประโยชน์อะไรด้วยสามเณรแก่พวกเราผู้อยู่ในป่า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

อลํ เป็นนิบาต มี ๓ อรรถ คือ (๑) ภูสน การประดับ (๒) วารณ การห้าม และ(๓)
ปริยตฺติ ความสมควร (อภิธาน. คาถาที่ ๑๑๙๐)
เช่น สตฺถา “อลํ เอตฺตเกน อิมสฺสาติ ปกฺกามิ. (๑/๒/๒๕)
สตฺถา “อลํ เอตฺตเกน (ทสฺสเนน) อิมสฺส (มาณวสฺส)” อิติ (จินฺเตตฺวา) ปกฺกามิ.
แปลว่า : อ.พระศาสดา ทรงด�ำริแล้ว ว่า “อ.พอละ ด้วยการเห็น อันมีประมาณ
เท่านี้ แก่มาณพนี้” ดังนี้ เสด็จหลีกไปแล้ว ฯ
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 85

สัมพันธ์ว่า : สตฺถา สุทธกัตตาใน ปกฺกามิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อลํ


ปฏิเสธลิงคัตถะ เอตฺตเกน วิเสสนะของ ทสฺสเนน ๆ ตติยาวิเสสนะใน อลํ อิมสฺส วิเสสนะของ
มาณวสฺส ๆ สัมปทานใน อลํ อิติศัพท์ อาการะใน จินฺเตตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปกฺกามิ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อถ นํํ มาตา “ปุุตฺฺต ตฺฺวํํ อตฺฺตโน รุุจิยิ า กุุมาริิกํํ อานาเปสิิ, สา อิิทานิิ วฺฺฌา
ชาตา; อปุุตฺฺตกฺฺจ นาม กุุลํํ วิินสฺฺสติิ, ปเวณิิ น ฆฏิิยติ;ิ เตน อฺฺํํ เต กุุมาริิกํํ
อาเนสฺฺสามีีติิ เตน “อลํํ อมฺฺมาติิ วุุจฺฺจมานาปิิ ปุุนปฺฺปุนํุ ํ กเถสิิ. (๑/๔/๔๒-๓)
อถ นํํ (ปุุตฺฺตํ)ํ มาตา “ปุุตฺฺต ตฺฺวํํ (มํํ) อตฺฺตโน รุุจิยิ า กุุมาริิกํํ อานาเปสิิ, สา (กุุมาริิกา) อิิทานิิ
วฺฺฌา ชาตา; อปุุตฺฺตกํํ จ นาม กุุลํํ วิินสฺฺสติิ, ปเวณิิ (ปุุตฺฺเตน) น ฆฏิิยติ;ิ เตน (อหํํ) อฺฺํํ เต
กุุมาริิกํํ อาเนสฺฺสามีีติิ (วตฺฺวา) เตน (ปุุตฺฺเตน) “อลํํ อมฺฺมาติิ วุุจฺฺจมานาปิิ ปุุนปฺฺปุนํุ ํ กเถสิิ.
ทีีนั้้น� มารดาจึึงกล่่าวกัับเขาว่่า “ลููก เธอให้้นำำ�นางกุุมาริิกามาตามความชอบของตััว
เอง, บััดนี้้� นางกุุมาริิกานั้้�นกลัับเป็็ นหญิิงหมััน, ก็็ธรรมดาว่่าตระกููลที่่�ไม่่มีลููี ก ย่่อม
ฉิิบหาย, ประเพณีีไม่่สืืบต่่อ, ฉะนั้้�น เราจะนำำ�กุุมาริิกาคนอื่่น� มาให้้เธอ” แม้้ถููกลููกชาย
กล่่าวว่่า “อย่่าเลยแม่่” ก็็พููดซ้ำำ��แล้้วซ้ำำ��เล่่า ฯ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
86 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒. ภควา... “อลํ ภิกฺขเว มา ภณฺฑนนฺติอาทีนิ วตฺวา... (๑/๕/๕๑)


ภควา... “อลํํ ภิิกฺฺขเว (ตุุมฺฺเห) มา ภณฺฺฑนํํ (อกริิตฺฺถ)” อิิติอิ าทีีนิิ (วจนานิิ) วตฺฺวา...
พระผู้้�มีีพระภาค... ตรััสพระดำำ�รััสเป็็ นต้้นว่่า “ภิิกษุุทั้้ง� หลาย อย่่าเลย พวกเธออย่่า
ได้้ทำำ�การแตกร้้าวกัันเลย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. ตตฺฺถ ฉ ขตฺฺติิยา อตฺฺตโน อาภรณานิิ โอมุุญฺฺจิิตฺฺวา ภณฺฺฑิิกํํ กตฺฺวา “หนฺฺท ภเณ
อุุปาลิิ นิิวตฺฺตสฺฺสุุ, อลํํ เต เอตฺฺตกํํ ชีีวิิกายาติิ ตสฺฺส อทํํสุุ. (๑/๑๒/๑๒๗-๘)
ตตฺฺถ (สตฺฺตสุุ ชเนสุุ) ฉ ขตฺฺติยิ า อตฺฺตโน อาภรณานิิ โอมฺฺุุจิตฺิ ฺวา ภณฺฺฑิกํิ ํ กตฺฺวา “หนฺฺ ท
ภเณ อุุปาลิิ (ตฺฺวํ)ํ นิิวตฺฺตสฺฺสุ,ุ อลํํ (โหติิ) เต เอตฺฺตกํํ (ธนํํ) ชีีวิกิ ายาติิ (วจเนน) ตสฺฺส (อุุปาลิิ-
กปฺฺปกสฺฺส) อทํํสุ.ุ
บรรดาชนทั้้�ง ๗ เหล่่านั้้�น กษััตริิย์์ ๖ พระองค์์ ทรงเปลื้้อ� งอาภรณ์์ทั้้ง� หลายของตน ทรง
ทำำ�ให้้เป็็ นห่่อ ได้้ทรงประทานแก่่นายภููษามาลาชื่่อ� ว่่าอุุบาลีีนั้้น� ด้้วยพระดำำ�รััสว่่า “แน่่ะ
อุุบาลีีผู้พ้� นาย เชิิญท่่านกลัับไปเถิิด, ทรััพย์์มีปี ระมาณเท่่านี้้� เป็็ นของเพีียงพอแก่่เธอ
เพื่่�อการเลี้้ย� งชีีพ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. โส ปริิหีนี ลาภสกฺฺกาโร โกหฺฺเน ชีีวิตุิ ุกาโม สตฺฺถารํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา ปฺฺจ วตฺฺถููนิิ
ยาจิิตฺฺวา ภควตา “อลํํ เทวทตฺฺต, โย อิิจฺฺฉติ,ิ อารฺฺโก โหตููติิ ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต,
“กสฺฺสาวุุโส วจนํํ โสภณํํ: กึึ ตถาคตสฺฺส อุุทาหุุ มม ? อหํํ หิิ อุุกฺฺกฏฺฺวเสน เอวํํ
วทามิิ ‘สาธุุ ภนฺฺ เต ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํํ อรฺฺิิกา อสฺฺสุ,ุ ปิิ ณฺฺฑปาติิกา, ปํํสุกููลิ ุ กิ า,
รุุกฺฺขมููลิิกา, มจฺฺฉมํสํํ ํ น ขาเทยฺฺยุนฺุ ฺ ติ,ิ โย ทุุกฺฺขา มุุจฺฺจิตุิ ุกาโม, โส มยา สทฺฺธึึ
อาคจฺฺฉตููติิ วตฺฺวา ปกฺฺกามิิ. (๑/๑๒/๑๓๑-๒)
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 87

โส (เทวทตฺฺโต) ปริิหีนี ลาภสกฺฺกาโร โกหฺฺเน ชีีวิตุิ ุกาโม (หุุตฺฺวา) สตฺฺถารํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา ปฺฺจ
วตฺฺถููนิิ ยาจิิตฺฺวา ภควตา “อลํํ เทวทตฺฺต, โย (ภิิกฺฺขุ)ุ อิิจฺฺฉติ,ิ (โส ภิิกฺฺขุ)ุ อารฺฺโก โหตููติิ
ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต “กสฺฺส อาวุุโส วจนํํ โสภณํํ (โหติิ): กึึ ตถาคตสฺฺส (วจนํํ โสภณํํ โหติิ) อุุทาหุุ มม
(วจนํํ โสภณํํ โหติิ) ? อหํํ หิิ อุุกฺฺกฏฺฺวเสน เอวํํ วทามิิ ‘สาธุุ ภนฺฺ เต ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํํ อรฺฺิิกา
อสฺฺสุ,ุ (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ ปิิ ณฺฺฑปาติิกา (อสฺฺสุ)ุ , (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ ปํํสุกููลิ
ุ กิ า (อสฺฺสุ)ุ , (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ
รุุกฺฺขมููลิิกา (อสฺฺสุ)ุ , (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ มจฺฺฉมํสํํ ํ น ขาเทยฺฺยุนฺุ ฺ ติ,ิ โย (ภิิกฺฺขุ)ุ ทุุกฺฺขา มุุจฺฺจิตุิ ุกาโม
(โหติิ), โส (ภิิกฺฺขุ)ุ มยา สทฺฺธึึ อาคจฺฺฉตููติิ วตฺฺวา ปกฺฺกามิิ.
พระเทวทััตนั้้�น เสื่่อ� มจากลาภและสัักการะ เป็็ นผู้้ป� ระสงค์์จะเป็็ นอยู่่�ด้้วยความหลอก
ลวง เข้้าไปเฝ้้าพระศาสดา ทููลขอวััตถุุ ๕ ประการ ถููกพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้าตรััสห้้ามว่่า
“ดููก่่อนเทวทััต อย่่าเลย, ภิิกษุุใดย่่อมปรารถนา, ภิิกษุุนั้้น� จงเป็็ นผู้้อ� ยู่่�ป่่าเป็็ นวััตรเถิิด”
จึึงกล่่าวว่่า “ดููก่่อนท่่านผู้้มี� อี ายุุ คำำ�ของใครงาม พระดำำ�รััสพระตถาคตหรืือคำำ�ของเรา,
ด้้วยว่่า เรากล่่าวอย่่างนี้้�ว่า่ ‘ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ ขอประทานวโรกาส ภิิกษุุทั้้ง� หลาย
พึึงเป็็ นผู้้อ� ยู่่�ในป่่าเป็็ นวััตรตลอดชีีวิติ พึึงเป็็ นผู้้มี� กี ารเที่่�ยวไปเพื่่�อบิิณฑบาตตลอดชีีวิติ
พึึงเป็็ นผู้้มี� กี ารทรงไว้้ซึ่่�งผ้้าบัังสุุกุุลเป็็ นวััตรตลอดชีีวิติ พึึงเป็็ นผู้้มี� กี ารอยู่่�โคนต้้นไม้้เป็็ น
วััตรตลอดชีีวิติ ไม่่พึึงฉัันปลาและเนื้้�อตลอดชีีวิติ ” ด้้วยสามารถแห่่งการปฏิิบัติั อิ ย่่าง
สููงสุุด, ภิิกษุุใดเป็็ นผู้้ป� ระสงค์์จะพ้้นจากความทุุกข์์, ภิิกษุุนั้้น� จงมากัับเรา” ดัังนี้้�แล้้ว ก็็
หลีีกไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
88 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๕. “อลํ อหเมว ปจิตฺวา ภุญฺชิสฺสามีติ วุตฺเต. (๒/๒/๖๘)


“อลํํ อหํํ เอว ปจิิตฺฺวา ภุุญฺฺชิิสฺฺสามีีติิ (วจเน กุุมฺฺภโฆสเกน) วุุตฺฺเต.
เมื่่�อนายกุุมภโฆสกะนั้้�นกล่่าวว่่า “อย่่าเลย ผมนั่่�นแหละหุุงต้้มแล้้วจัักบริิโภค”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. นวหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ กุลํ อนุปคนฺตฺวา จ อลํ อุปคนฺตุํ,
อุปคนฺตฺวา จ อลํ อุปนิสีทิตุํ. กตเมหิ นวหิ มนาเปน ปจฺจุฏฺเฐนฺติ, มนาเปน
อภิวาเทนฺติ, มนาเปน อาสนํ เทนฺติ, สนฺตมสฺส น ปริคุยฺหนฺติ, พหุกมฺหิ พหุกํ เทนฺติ,
ปณีตมฺหิ ปณีตํ เทนฺติ, สกฺกจฺจํ เทนฺติ, โน อสกฺกจฺจํ, อุปนิสีทนฺติ ธมฺมสฺ-
สวนาย, ภาสนฺตสฺส รญฺชิยนฺติ. อิเมหิ โข ภิกฺขเว นวหิ องฺเคหิ สมนฺนาคตํ
กุลํ อนุปคนฺตฺวา จ อลํ อุปคนฺตุํ, อุปคนฺตฺวา จ อลํ อุปนิสีทิตุํ. (๓/๓/๙)
นวหิ ภิกฺขเว องฺเคหิ สมนฺนาคตํ กุลํ (ภิกฺขุนา) อนุปคนฺตฺวา จ อลํ อุปคนฺตุํ, อุปคนฺตฺวา จ
อลํ อุปนิสีทิตุํ. กตเมหิ นวหิ (สมนฺนาคตํ กุลํ) ? (ชนา) มนาเปน ปจฺจุฏฺเฐนฺติ, มนาเปน
อภิวาเทนฺติ, มนาเปน อาสนํ เทนฺติ, สนฺตํ (วตฺถุํ) อสฺส (ภิกฺขุโน) น ปริคุยฺหนฺติ, พหุกมฺหิ
(วตฺถุมฺหิ สนฺเต), พหุกํ (วตฺถุํ) เทนฺติ, ปณีตมฺหิ (วตฺถุมฺหิ สนฺเต), ปณีตํ (วตฺถุํ) เทนฺติ,
สกฺกจฺจํ เทนฺติ, โน อสกฺกจฺจํ (เทนฺติ), อุปนิสีทนฺติ ธมฺมสฺสวนาย, ภาสนฺตสฺส (ภิิกฺขุโน)
รญฺชิยนฺติ. อิเมหิ โข ภิกฺขเว นวหิ องฺเคหิ สมนฺนาคตํ กุลํ (ภิกฺขุนา) อนุปคนฺตฺวา จ อลํ
อุปคนฺตุํ, อุปคนฺตฺวา จ อลํ อุปนิสีทิตุํ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตระกูลผู้ประกอบด้วยองค์ ๙ ภิกษุไม่เข้าไปแล้ว ควรเพื่อจะ
เข้าไป ครั้นเข้าไปแล้ว ควรเพื่อจะนั่งใกล้, องค์ ๙ เป็นไฉน? คือ ย่อมต้อนรับด้วยใจอัน
เอิบอาบ, ย่อมกราบไหว้ด้วยใจอันเอิบอาบ, ย่อมถวายอาสนะด้วยใจอันเอิบอาบ, ย่อม
ไม่ซ่อนของที่มีอยู่ ต่อภิกษุนั้น, เมื่อมีของมาก ย่อมถวายมาก, เมื่อมีของประณีต ย่อม
ถวายของประณีต, ย่อมถวายโดยเคารพ, ไม่ถวายโดยไม่เคารพ, ย่อมเข้าไปนั่งใกล้
เพื่อการฟังธรรม, ย่อมยินดีต่อภิกษุผู้กล่าวอยู่, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตระกูลผู้ประกอบ
ด้วยองค์ ๙ เหล่านี้แล ภิกษุไม่เข้าไปแล้ว ควรเพื่อจะเข้าไป ครั้นเข้าไปแล้ว ควรเพื่อ
จะนั่งใกล้
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 89

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. ปุน โสฬสวสฺสิกกาเล "อมฺม มาตามหกุลํ ปสฺสิตุกาโมมฺหีติ วตฺวา “อลํ ตาต, กึ
ตตฺถ คนฺตฺวา กริสฺสสีติ วาริยมาโนปิ ปุนปฺปุนํ ยาจิ. (๓/๓/๑๓)
(กุมาโร อตฺตโน) ปุน โสฬสวสฺสิกกาเล "(อหํ) อมฺม มาตามหกุลํ ปสฺสิตุกาโม อมฺหิ" อิติ
วตฺวา (มาตรา) “อลํ ตาต, (ตฺวํ) กึ ตตฺถ (ฐาเน) คนฺตฺวา กริสฺสสีติ วาริยมาโนปิ ปุนปฺปุนํ
ยาจิ.
พระกุุมารทููลว่่า “ข้้าแต่่เสด็็จแม่่ หม่่อมฉัันเป็็นผู้้�ประสงค์์จะเห็็นตระกููลยาย” ในเวลาที่่�
ทรงมีีพระชัันษา ๑๖ อีีก แม้้ถููกพระมารดาทรงห้้ามอยู่่�ว่่า “แน่่ะลููก อย่่าเลย, เจ้้าไปในที่่�
นั้้�น จัักทำำ�อย่่างไร” ทููลวิิงวอนแล้้วบ่่อยๆ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
90 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๘. “อลํ อยฺย, คจฺฉิสฺสามหนฺติ. “เอตสฺส กตสกฺการํ อุโภปิ ขาทิสฺสาม, มา คจฺฉาติ.


“อลํ อยฺย, มาตา เม ตชฺเชสฺสตีติ. (๓/๖/๓๘)
(โส ปุตฺโต) “อลํ อยฺย, คจฺฉิสฺสามิ อหํ" อิติ (อาห). (อาชีวโก) “(มยํ ตว มาตรา) เอตสฺส
(สตฺถุโน) กตสกฺการํ อุโภปิ ขาทิสฺสาม, (ตฺวํ) มา คจฺฉาติ (อาห). (โส ปุตฺโต) “อลํ อยฺย,
มาตา เม ตชฺเชสฺสตีติ (อาห).
บุุตรนั้้�นกล่่าวว่่า “ข้้าแต่่เจ้้า อย่่าเลย, กระผมจัักไป”, อาชีีวกกล่่าวว่่า “พวกเราแม้้ทั้้�ง
สองคนจัักเคี้้�ยวกิินสัักการะที่่�มารดาของเจ้้ากระทำำ�ไว้้แก่่พระศาสดานั่่�น, เจ้้าจงอย่่าไป
เลย” , บุุตรนั้้�นกล่่าวว่่า “ข้้าแต่่เจ้้า อย่่าเลย, มารดาจัักคุุกคามต่่อกระผม”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. มหาเสฏฺฐี “มม ธีตุ เอตฺตกา คาโว อลํ, ทฺวารํ ปิทหถาติ วชทฺวารํ ปิทหาเปสิ.
(๓/๘/๕๖)
มหาเสฏฺฐี “มม ธีตุ เอตฺตกา คาโว อลํ (โหนฺติ), (ตุมฺเห) ทฺวารํ ปิทหถาติ (วจเนน ปุริเส)
วชทฺวารํ ปิทหาเปสิ.
มหาเศรษฐีีให้้บุุรุุษปิิดประตููคอกด้้วยคำำ�ว่่า “โคทั้้�งหลายมีีประมาณเท่่านี้้� เพีียงพอแก่่
ธิิดาของเรา, พวกเจ้้าจงปิิดประตูู”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 91

๑๐. สา กิร กสฺสปสมฺมาสมฺพุทฺธกาเล กิกิสฺส รญฺโญ สตฺตนฺนํ ธีตานํ กนิฏฺฐา สงฺฆทาสี


นาม หุตฺวา วีสติยา ภิกฺขุสหสฺสานํ ปญฺจโครสทานํ ททมานา, ทหรานญฺจ สามเณรานญฺจ
ปตฺตํ ปิทหิตฺวา “อลํ อลนฺติ นิวาเรนฺตานํปิ “อิทํ มธุรํ, อิทํ มนาปนฺติ อทาสิ.
(๓/๘/๕๖)
สา กิิร (วิิสาขา) กสฺฺสปสมฺฺมาสมฺฺพุุทฺฺธกาเล กิิกิิสฺฺส รญฺฺโญ สตฺฺตนฺฺนํํ ธีีตานํํ กนิิฏฺฺฐา สงฺฺฆทาสีี
นาม หุุตฺฺวา วีีสติิยา ภิิกฺฺขุุสหสฺฺสานํํ ปญฺฺจโครสทานํํ ททมานา, ทหรานํํ จ สามเณรานํํ จ ปตฺฺตํํ
ปิิทหิิตฺฺวา “อลํํ อลนฺฺติิ นิิวาเรนฺฺตานํํปิิ “อิิทํํ (วตฺฺถุุ) มธุุรํํ (โหติิ), อิิทํํ (วตฺฺถุุ) มนาปํํ (โหติิ)”
อิติ (วจเนน) อทาสิ.
ได้้ยิินว่่า นางวิิสาขานั้้�น เป็็นพระนางสัังฆทาสีี ผู้้�เป็็นพระกนิิษฐา ของพระธิิดา ๗
พระองค์์ของพระเจ้้ากิิกีี ในกาลพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าพระนามว่่ากััสสปะ เมื่่�อถวาย
ทานปััญจโครสแก่่ภิิกษุุจำำ�นวน ๒๐,๐๐๐ รููป ได้้ถวายแก่่ภิิกษุุหนุ่่�มและสามเณรทั้้�ง
หลายแม้้ผู้้�ปิิดบาตรห้้ามอยู่่�ว่่า “พอแล้้วคุุณโยม, พอแล้้วคุุณโยม” ด้้วยคำำ�ว่่า “ของนี้้�
อร่่อย, ของนี้้�น่่าอิ่่�มเอิิบใจ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
92 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๑. เสฏฺฐี, เอวํ วุตฺเตปิ, “อมฺม นตฺถิ อมฺหากํ เอเตหิ อตฺโถ, โก เอเต โปเสสฺสตีติ
เลฑฺฑุทณฺฑาทีหิ โปถาเปตฺวา ปลาเปตฺวา เสสเก “อลํ อมฺหากํ เอตฺตเกหีติ
คเหตฺวา ปายาสิ. (๓/๘/๕๘)
เสฏฺฐี, เอวํ (วจเน วิสาขาย) วุตฺเตปิ, “อมฺม นตฺถิ อมฺหากํ เอเตหิ (ชเนหิ) อตฺโถ, โก เอเต
(ชเน) โปเสสฺสตีติ (วตฺวา กมฺมกเร) เลฑฺฑุทณฺฑาทีหิ (วตฺถูหิ) โปถาเปตฺวา (เต ชเน)
ปลาเปตฺวา เสสเก (ชเน) “อลํ อมฺหากํ เอตฺตเกหิ (ชเนหิ)" อิติ (จินฺตเนน) คเหตฺวา ปายาสิ.
เศรษฐีี, เมื่่�อนางวิิสาขาแม้้กล่่าวอย่่างนี้้�, ก็็กล่่าวว่่า “แน่่ะแม่่ ความต้้องการด้้วยชน
เหล่่านั่่�น ย่่อมไม่่มีีแก่่เรา, ใครจัักเลี้้�ยงดููพวกชนเหล่่านั่่�น" ดัังนี้้� ใช้้พวกกรรมกรให้้ทุุบตีี
ด้้วยวััตถุุมีีก้้อนดิินและท่่อนไม้้เป็็นต้้น ทำำ�ให้้พวกชนเหล่่านั้้�นหนีีไป พาเอาพวกชน
ที่่�เหลืือดำำ�เนิินไปด้้วยความคิิดว่่า “พอเพีียงด้้วยพวกชนมีีประมาณเท่่านี้้�แก่่พวกเรา”
ดัังนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๒. เต ตตฺถ อสณฺฐหิตฺวา ปติเต ปติเต ปุน โปถาเปตฺวา “อลํ เอตฺตกํ ตุมฺหากนฺติ
อุยฺโยเชสิ. (๓/๑๒/๙๓)
(สิิริิคุุตฺฺโต ปุุคฺฺคลํํ) เต (นิิคนฺฺเถ) ตตฺฺถ (ฐาเน) อสณฺฺฐหิิตฺฺวา ปติิเต ปติิเต ปุุน โปถาเปตฺฺวา
“อลํํ เอตฺฺตกํํ (กมฺฺมํํ) ตุุมฺฺหากํํ (โหติิ)” อิิติิ (วจเนน) อุุยฺฺโยเชสิิ.
สิิริิคุุตใช้้คนให้้โบยพวกนิิครนถ์์เหล่่านั้้�นผู้้�ไม่่ทัันตั้้�งตััวในที่่�นั้้�น ทั้้�งล้้มลุุกคลุุกคลาน แล้้ว
ไล่่ส่่งไปด้้วยคำำ�ว่่า “กรรมมีีประมาณเท่่านี้้� สาสมแก่่พวกท่่าน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 93

๑๓. “อลํ เทว, อหํ อตฺตโน กมฺมํ กตฺวา ตุมฺหากํ สุงฺกํ ททามีติ. (๓/๑/๑๐๑)
(โส ปุริโส) “อลํ เทว, อหํ อตฺตโน กมฺมํ กตฺวา ตุมฺหากํ สุงฺกํ ททามีติ (อาห).
บุุรุุษนั้้�นกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่สมมุุติิเทพ อย่่าเลย, ข้้าพระองค์์ทำำ�การงานของตน จะ
ถวายส่่วยแก่่พระองค์์”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. “อลํ เม พุทฺเธน, อลํ เม ธมฺเมน, อลํ เม สงฺเฆนาติ วเทหิ. (๓/๗/๑๒๙)
(ตฺวํ) “อลํ เม พุทฺเธน, อลํ เม ธมฺเมน, อลํ เม สงฺเฆนาติ วเทหิ.
เธอจงกล่าวว่า “พอละด้วยพระพุทธเจ้าแก่เรา, พอละด้วยพระธรรมแก่เรา, พอละด้วย
พระสงฆ์แก่เรา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๕. “คจฺฉถ, อลํ โว เอตฺตกํ หิตาย สุขายาติ อุยฺโยเชสิ. (๓/๑๑/๑๔๘)
(โส อาชีีวโก) “(ตุุมฺฺเห) คจฺฺฉถ, อลํํ โว เอตฺฺตกํํ (กุุสลํํ) หิิตาย สุุขาย (โหติิ)” อิิติิ (วจเนน)
อุุยฺฺโยเชสิิ.
อาชีีวกนั้้�นส่่งไปด้้วยคำำ�ว่่า “พวกท่่านจงไปเถิิด, กุุศลมีีประมาณเท่่านี้้� เพีียงพอเพื่่�อ
ประโยชน์์เกื้้�อกููล เพื่่�อความสุุข แก่่พวกท่่าน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
94 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๖. สาปิ โจรํ ปปาเต ขิปิตฺวา [จินฺเตสิ] “สจาหํ เคหํ คมิสฺสามิ, ‘สามิโก เต
กหนฺติ ปุจฺฉิสฺสนฺติ; สจาหํ เอวํ ปุฏฺฐา ‘มาริโต เมติ วกฺขามิ, ‘ทุพฺพินีเต
สหสฺสํ ทตฺวา สามิกํ อานาเปตฺวา อิทานิ นํ มาเรสีติ มํ มุขสตฺตีหิ วิชฺฌิสฺสนฺติ;
‘อาภรณตฺถาย มํ โส มาเรตุกาโม อโหสีติ วุตฺเตปิ, น สทฺทหิสฺสนฺติ; อลํ เม
เคเหนาติ ตตฺเถว อาภรณานิ ฉฑฺเฑตฺวา อรญฺญํ ปวิสิตฺวา อนุปุพฺเพน วิจรนฺตี
เอกํ ปริพฺพาชกานํ อสฺสมํ ปตฺวา วนฺทิตฺวา “มยฺหํ ภนฺเต ตุมฺหากํ สนฺติเก ปพฺพชฺชํ
เทถาติ อาห. (๔/๑/๑๐๒)
สาปิ (เสฏฺฐิธีตา) โจรํ ปปาเต ขิปิตฺวา [จินฺเตสิ] “สเจ อหํ เคหํ คมิสฺสามิ, (มาตาปิตโร) ‘สามิโก
เต กหํ (ฐาเน คโต)" อิติ ปุจฺฉิสฺสนฺติ; สเจ อหํ (มาตาปิตูหิ) เอวํ ปุฏฺฐา ‘(สามิโก) มาริโต
เมติ วกฺขามิ, (เต มาตาปิตโร) ‘ทุพฺพินีเต สหสฺสํ ทตฺวา (อมฺเห) สามิกํ อานาเปตฺวา
อิทานิ นํ (สามิกํ) มาเรสีติ มํ มุขสตฺตีหิ วิชฺฌิสฺสนฺติ; ‘อาภรณตฺถาย มํ โส (สามิโก)
มาเรตุกาโม อโหสีติ (วจเน มยา) วุตฺเตปิ, (เต มาตาปิตโร) น สทฺทหิสฺสนฺติ; อลํ เม
เคเหนาติ ตตฺถ เอว (ฐาเน) อาภรณานิ ฉฑฺเฑตฺวา อรญฺญํ ปวิสิตฺวา อนุปุพฺเพน วิจรนฺตี
เอกํ ปริพฺพาชกานํ อสฺสมํ ปตฺวา วนฺทิตฺวา “(ตุมฺเห) มยฺหํ ภนฺเต ตุมฺหากํ สนฺติเก ปพฺพชฺชํ
เทถาติ อาห.
แม้้ธิิดาของเศรษฐีีนั้้�น ครั้้�นผลัักโจรไปที่่�เหวแล้้ว คิิดว่่า "ถ้้าเราจัักไปเรืือนไซร้้, มารดา
และบิิดาจัักถามว่่า “สามีีของเจ้้าไปไหนเสีีย”, ถ้้าเราถููกถามอย่่างนี้้�แล้้ว จัักกล่่าวว่่า
'สามีี ดิิฉัันให้้ตายแล้้ว', มารดาบิิดาเหล่่านั้้�นจัักทิ่่�มแทงเราด้้วยหอกคืือปากว่่า ‘แน่่ะ
หญิิงที่่�บุุคคลแนะนำำ�ได้้ยาก เจ้้าให้้ทรััพย์์หนึ่่�งพััน ให้้พวกเรานำำ�สามีีมา บััดนี้้� ฆ่่าเขาให้้
ตายเสีีย’, แม้้เมื่่�อเรากล่่าวว่่า ‘สามีีนั้้�นได้้เป็็นผู้้�ประสงค์์จะทำำ�ให้้ดิิฉัันตาย เพื่่�อต้้องการ
อาภรณ์์’, มารดาบิิดาเหล่่านั้้�นจัักไม่่เชื่่�อ, พอกัันทีีด้้วยเรืือนสำำ�หรัับเรา” ดัังนี้้�แล้้ว ก็็
ทิ้้�งอาภรณ์์ทั้้�งหลายไว้้ในที่่�นั้้�นนั่่�นแหละ เข้้าไปสู่่�ป่่า เที่่�ยวไปโดยลำำ�ดัับ ถึึงอาศรมของ
พวกปริิพาชกแห่่งหนึ่่�ง ไหว้้แล้้ว กล่่าวว่่า “ท่่านผู้้�เจริิญ ขอพวกท่่านจงให้้การบวชใน
สำำ�นัักของพวกท่่านแก่่ดิิฉัันเถิิด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค กึ (ปโยชนํ) และ อลํศัพท์ 95

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๗. “อลํ อาวุโส, สามเณรํ นิสฺสาย โน ปลิโพโธ ภวิสฺสติ, กึ อรญฺเญ วสนฺตานํ
สามเณเรนาติ. (๔/๙/๑๑๙)
(เต ภิกฺขู) “อลํ อาวุโส, สามเณรํ นิสฺสาย โน ปลิโพโธ ภวิสฺสติ, กึ (ปโยชนํ) อรญฺเญ
วสนฺตานํ (อมฺหากํ) สามเณเรนาติ (อาหํสุ).
พวกภิกษุเหล่านั้นกล่าวว่า “ท่านผู้มีอายุ อย่าเลย, ความกังวลจักมีแก่พวกเราเพราะ
อาศัยสามเณร, ประโยชน์อะไรด้วยสามเณรแก่พวกเราผู้อยู่ในป่า”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
บทที่ ๔
วิธีการแปลประโยคภาววาจก
ประโยคภาววาจก เป็นประโยคที่กล่าวถึงกิริยาอาการ ไม่เน้นที่กัตตาผู้กระท�ำ ว่าจะมี
จ�ำนวนเท่าใด แต่มุ่งเน้นที่กิริยาอาการ เช่น คนเดียวนอน ก็เป็นกิริยาการนอน หลายคนนอน
ก็มีกิริยาเช่นเดียวกันคือการนอน ฉะนั้น กัตตาจะเป็นเอกพจน์ หรือพหูพจน์ก็ได้ ส่วนกิริยา-
คุมพากย์ เป็นเอกพจน์ นปุงสกลิงค์เท่านั้น
เช่น ทิวา น นิทฺทายิตพฺพํ. (๑/๖/๖๓)
(อยฺเยน) ทิวา น นิทฺทายิตพฺพํ.
แปลว่า : อันพระคุณเจ้า ไม่พึงประพฤติหลับ ในเวลากลางวัน ฯ
สัมพันธ์ว่า : อยฺเยน อนภิหิตกัตตาใน นิทฺทายิตพฺพํ ๆ กิตบทภาววาจก ทิวา
กาลสัตตมีใน นิทฺทายิตพฺพํ นศัพท์ ปฏิเสธใน นิทฺทายิตพฺพํ ฯ
เช่น อกุสีเตน ภวิตพฺพํ อารทฺธวีริเยน. (๑/๖/๖๓)
(อยฺเยน) อกุสีเตน ภวิตพฺพํ อารทฺธวีริเยน.
แปลว่า : อันพระคุณเจ้า เป็นผู้ไม่เกียจคร้าน เป็นผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว
พึงเป็น ฯ
สัมพันธ์ว่า : อยฺเยน อนภิหิตกัตตาใน ภวิตพฺพํ ๆ กิตบทภาววาจก อกุสีเตน ก็ดี
อารทฺธวีริเยน ก็ดี วิกติกัตตาใน ภวิตพฺพํ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. นนุ อปฺปมตฺเตหิ ภวิตพฺพํ. (๑/๑/๘)
นนุ (ตุมฺเหหิ) อปฺปมตฺเตหิ ภวิตพฺพํ.
พวกท่านควรเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว มิใช่หรือ?
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยคภาววาจก 97

๒. ปพฺพชิตานํ วิวาเทน ภวิตพฺพํ. (๑/๓/๓๙)


ความวิวาทแห่งพวกบรรพชิตพึงมี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. ปริปนฺเถน ภวิตพฺพํ. (๑/๗/๗๓)
พึงมีอันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. เอกสฺมึ ฐาเน กาสาวํ ปารุปิตฺวา นิสินฺนสฺส สนฺติกา ปริปนฺเถน ภวิตพฺพํ. (๑/๗/๗๓)
เอกสฺมึ ฐาเน กาสาวํ ปารุปิตฺวา นิสินฺนสฺส (ปุริสสฺส) สนฺติกา ปริปนฺเถน ภวิตพฺพํ.
อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียนจากส�ำนักของบุรุษผู้นั่งห่มผ้ากาสาวะในที่แห่งหนึ่ง พึง
มี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. โอหาริตเกสมสฺสุนา กาสายนิวตฺเถน กฏฺฐตฺถเร วา วิทลมญฺจเก วา นิปชฺชิตฺวา
ปิณฺฑาย จรนฺเตน วิหริตพฺพํ. (๑/๑๒/๑๒๖)
(ปุคฺคเลน) โอหาริตเกสมสฺสุนา กาสายนิวตฺเถน กฏฺฐตฺถเร วา วิทลมญฺจเก วา นิปชฺชิตฺวา
ปิณฺฑาย จรนฺเตน วิหริตพฺพํ.
บุคคลผู้ปลงผมและหนวดแล้ว นุ่งผ้ากาสายะ นอนบนที่ลาดด้วยไม้หรือบนเตียงน้อยที่
ถักด้วยหวาย แล้วเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต พึงอยู่
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
98 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๖. ภวิตพฺพเมตฺถ การเณน. (๒/๒/๖๘)


ภวิตพฺพํ เอตฺถ (วตฺถุมฺหิ) การเณน.
พึงมีเหตุในเรื่องนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. อิมาหิ รญฺญา ปโยชิตาหิ ภวิตพฺพํ. (๒/๒/๗๒)
อิมาหิ (อิตฺถีหิ) รญฺญา ปโยชิตาหิ ภวิตพฺพํ.
พวกหญิิงเหล่่านี้้� พึึงเป็็นผู้้�ที่่�พระราชาทรงประกอบไว้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. สพฺพํ ปหาย คนฺตพฺพํ. (๒/๑/๑)
(ปุคฺคเลน) สพฺพํ (วตฺถุํ) ปหาย คนฺตพฺพํ.
บุคคลพึงละทุกสิ่งทุกอย่างแล้วไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. สสุรกุเล วสนฺติยา นาม สุขํ นิสีทิตพฺพํ. (๓/๘/๕๗)
สสุรกุเล วสนฺติยา นาม (อิตฺถิยา) สุขํ นิสีทิตพฺพํ.
ธรรมดาว่่าหญิิงผู้้�อยู่่�ในตระกููลพ่่อผััว พึึงนั่่�งให้้เป็็นสุุข
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. (มยา) อชฺช ปลายิตพฺพํ. (๒/๑/๓๗)
เราพึงหนีไปในวันนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตฺวาทิปัจจัย 99

๑๑. สสุรกุเล วสนฺติยา นาม สุขํ นิปชฺชิตพฺพํ. (๓/๘/๕๗)


สสุรกุเล วสนฺติยา นาม (อิตฺถิยา) สุขํ นิปชฺชิตพฺพํ.
ธรรมดาว่่าหญิิงผู้้�อยู่่�ในตระกููลพ่่อผััว พึึงนอนให้้เป็็นสุุข
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๒. สมาทปเกน นาม พฺยตฺเตน ภวิตพฺพํ. (๔/๕/๒๓)
สมาทปเกน นาม (ปุคฺคเลน) พฺยตฺเตน ภวิตพฺพํ.
ธรรมดาว่าบุคคลผู้ชักชวนพึงเป็นผู้ฉลาด
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

บทที่ ๕
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตฺวาทิปัจจัย
บทที่่�ลง ตุุน ตฺฺวา และ ตฺฺวานปััจจััยเป็็นที่่�สุุด รููปสำำ�เร็็จเป็็นนิิบาต โดยมาก มีีฐานะการ
ใช้้ ๕ ประการ คืือ (๑) ปุุพฺฺพกาลกิิริิยา [ก่่อน] (๒) อปรกาลกิิริิยา [หลััง] (๓) สมานกาลกิิริิยา
[พร้้อมกััน] (๔) ลกฺฺขณตฺฺถ [เครื่่�องหมายจดจำำ�] หรืือ ปริิโยสานกาลกิิริิยา [กิิริิยาที่่�ทำำ�สำำ�เร็็จ
แล้้ว] และ (๕) เหตฺฺวตฺฺถ [เหตุุ/เพราะ]
ต่อไปนี้ จะแสดงเฉพาะตัวอย่างของ ตฺวาปัจจัย ที่ใช้ในอรรถลักขณัตถะ (เครื่องหมาย
จดจ�ำเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น) หรือเรียกว่า ปริโยสานกาลกิริยา (กิริยาที่ท�ำส�ำเร็จแล้ว)
ข้้อสัังเกต : บทที่่�ลง ตฺฺวาปััจจััย จะขึ้้�นต้้นประโยคเป็็นส่่วนใหญ่่ และจะเป็็นธาตุุ
ตัวเดียวกันกับประโยคก่อน
เช่น อถ โข อายสฺมา มหาจุนฺโท สายณฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต, เยน ภควา,
เตนุปสงฺกมิ. อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.
100 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อถ โข อายสฺมา มหาจุนฺโท สายณฺหสมยํ ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต, เยน (ทิสาภาเคน)


ภควา (วิหรติ), เตน (ทิสาภาเคน) อุปสงฺกมิ. (โส มหาจุนฺโท) อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา
เอกมนฺตํ นิสีทิ.
แปลว่า : ครั้งนั้นแล อ.พระมหาจุนทะ ผู้มีอายุ ออกแล้ว จากที่เป็นที่หลีกเร้น
ในสมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน เข้าไปเฝ้าแล้ว ใน-, อ.พระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมประทับ ในส่วน
แห่งทิศใด, -ส่วนแห่งทิศนั้น ฯ อ.พระมหาจุนทะนั้น ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมแล้ว
ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งแล้ว ณ ที่สมควร ฯ
สัมพันธ์ว่า : อถ กาลสัตตมีใน อุปสงฺกมิ โขศัพท์ วจนาลังการะ อายสฺมา
วิเสสนะ ของ มหาจุนฺโท ๆ สุทธกัตตาใน อุปสงฺกมิ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก สายณฺหสมยํ
ทุติยากาลสัตตมีใน วุฏฺฐิโต ปฏิสลฺลานา อปาทานใน วุฏฺฐิโต ๆ วิเสสนะของ มหาจุนฺโท,
ภควา สุทธกัตตาใน วิหรติ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เยน วิเสสนะของ ทิสาภาเคน ๆ
ตติยาวิสยาธาระใน วิหรติ, เตน วิเสสนะของ ทิสาภาเคน ๆ ตติยาวิสยาธาระใน อุปสงฺกมิ ฯ
โส วิเสสนะของ มหาจุนฺโท ๆ สุทธกัตตาใน นิสีทิ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อุปสงฺกมิตฺวา
ลักขณัตถะ ภควนฺตํ อวุตตกัมมะใน อภิวาเทตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน นิสีทิ เอกมนฺตํ
อาธาระใน นิสีทิ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. ตโต
สหสฺฺสเนตฺฺโต เทวิินฺฺโท เทวรชฺฺชสิรีิ ธี โร
ตํํขเณน อาคนฺฺ ตฺฺวาน จกฺฺขุปุ าลํํ อุุปาคมิิ.
อุุปคนฺฺ ตฺฺวา จ ปน เถรสฺฺสาวิิทููเร ปทสทฺฺทํํ อกาสิิ ฯ (๑/๑/๑๖)
ลำำ�ดัับนั้้น�
ท้้าวสหััสสเนตร ผู้้เ� ป็็ นจอมเทพ ผู้้ท� รงสิิริคืืิ อความเป็็ นพระ-
ราชาแห่่งเทวดา เสด็็จมาในขณะนั้้�น แล้้วเข้้าไปหาพระจัักขุุ-
บาล
ก็็แล ครั้้�นเข้้าไปหาแล้้ว ได้้ทำำ�เสีียงพระบาทในที่่�ไม่่ไกลจากพระเถระ
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตฺวาทิปัจจัย 101

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. (สตฺถา)... ทฺวีหิ ชเนหิ กถิตํ กถํ ปกาเสนฺโต สพฺพํ มฏฺฐกุณฺฑลิวตฺถุํ กเถสิ.
เตเนเวตํ พุทฺธภาสิตํ นาม ชาตํ. ตํ กเถตฺวา จ ปน “น โข พฺราหฺมณ เอกสตํ,
น เทฺว, อถ โข มยิ มนํ ปสาเทตฺวา สคฺเค นิพฺพตฺตานํ คณนา นตฺถีติ อาห.
(๑/๒/๓๒)
(สตฺฺถา)... ทฺฺวีหิี ิ ชเนหิิ กถิิตํํ กถํํ ปกาเสนฺฺ โต สพฺฺพํํ มฏฺฺกุุณฺฺฑลิวิ ตฺฺถุํํ� กเถสิิ. เตน เอว เอตํํ
พุุทฺฺธภาสิิตํํ นาม ชาตํํ. (สตฺฺถา) ตํํ (มฏฺฺกุุณฺฺฑลิวิ ตฺฺถุํํ�) กเถตฺฺวา จ ปน “น โข พฺฺราหฺฺมณ
เอกสตํํ (โหติิ), น เทฺฺว (สตานิิ โหนฺฺ ติ)ิ , อถ โข มยิิ มนํํ ปสาเทตฺฺวา สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตานํํ
(สตฺฺตานํํ) คณนา นตฺฺถีติี ิ อาห.
พระศาสดา เมื่่อ� ทรงประกาศถ้้อยคำำ�ที่่�ชนทั้้�งสองกล่่าวแล้้ว ตรััสเรื่่อ� งมััฏฐกุุณฑลีมี าณพ
ั�
ทั้้�งเรื่่อ� ง, เพราะเหตุุนัันนั่่�นแหละ เรื่่อ� งมััฏฐกุุณฑลีมี าณพนี้้� จึึงชื่่อ� ว่่าเป็็ นพระพุุทธ
ภาษิิต, ก็็แล พระศาสดาครั้้�นตรััสเรื่่อ� งมััฏฐกุุณฑลีมี าณพแล้้ว ตรััสว่่า “พราหมณ์์ ไม่่ใช่่
หนึ่่�งร้้อย ไม่่ใช่่สองร้้อย ที่่�แท้้ การที่่�จะนัับสัตั ว์์ทั้้ง� หลายที่่�ทำำ�ใจให้้เลื่่อ� มใสในเราแล้้ว
บัังเกิิดในสวรรค์์ นัับไม่่ได้้เลย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
102 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓.อถ เนสํํ “กุุสลากุุสลกมฺฺมกรเณ มโน ปุุพฺฺพงฺฺคโม, มโน เสฏฺฺโ; ปสนฺฺ เนน หิิ มเนน
กตกมฺฺมํํ เทวโลกํํ มนุุสฺฺสโลกํํ คจฺฺฉนฺฺตํํ ปุุคฺฺคลํํ ฉายา ว น วิิชหตีีติิ อิิทํํ วตฺฺถุํํ�
กเถตฺฺวา อนุุสนฺฺ ธึึ ฆเฏตฺฺวา ปติิฏฺฺาปิิ ตมตฺฺติกํิ ํ สาสนํํ ราชมุุทฺฺทาย ลฺฺฉนฺฺโต วิิย
ธมฺฺมราชา อิิมํํ คาถมาห
“มโนปุุพฺพฺ งฺฺคมา ธมฺฺมา มโนเสฏฺฺา มโนมยา;
มนสา เจ ปสนฺฺ เนน ภาสติิ วา กโรติิ วา,
ตโต นํํ สุุขมเนฺฺ วติิ ฉายาว อนุุปายิิ นีีติ.ิ (๑/๒/๓๓)
อถ (สตฺฺถา) เนสํํ (ชนานํํ) “กุุสลากุุสลกมฺฺมกรเณ มโน ปุุพฺฺพงฺฺคโม (โหติิ), มโน เสฏฺฺโ (โหติิ);
(ปุุคฺฺคเลน) ปสนฺฺ เนน หิิ มเนน กตกมฺฺมํํ เทวโลกํํ มนุุสฺฺสโลกํํ คจฺฺฉนฺฺตํํ ปุุคฺฺคลํํ ฉายา อิิว น วิิชหตีีติิ
(วตฺฺวา) อิิทํํ วตฺฺถุํํ� กเถตฺฺวา อนุุสนฺฺ ธึึ ฆเฏตฺฺวา ปติิฏฺฺาปิิ ตมตฺฺติกํิ ํ สาสนํํ ราชมุุทฺฺทาย ลฺฺฉนฺฺโต
(ราชา) วิิย ธมฺฺมราชา อิิมํํ คาถํํ อาห
“มโนปุุพฺพฺ งฺฺคมา ธมฺฺมา มโนเสฏฺฺา มโนมยา;
มนสา เจ ปสนฺฺ เนน ภาสติิ วา กโรติิ วา,
ตโต (ติิ วิิธสุุจริิ ตโต) นํํ (ปุุคฺคฺ ลํํ) สุุขํ ํ อเนฺฺ วติิ ฉายา อิิ ว อนุุปายิิ นีีติ.ิ
ทีีนั้้น� พระศาสดาตรััสแก่่ชนเหล่่านั้้�นว่่า “ใจเป็็ นหััวหน้้าในการทำำ�กรรมที่่�เป็็ นกุุศลและ
อกุุศล ใจเป็็ นสภาพประเสริิฐที่่สุ� ดุ เพราะว่่า กรรมที่่�บุุคคลมีีใจผ่่องใสแล้้วกระทำำ� ย่่อม
ไม่่ละบุุคคลผู้้ไ� ปสู่่�เทวโลก สู่่�มนุุษย์์โลก เหมืือนเงาฉะนั้้�น” ครั้้�นตรััสเรื่่อ� งนี้้�แล้้ว ทรงสืืบ
ต่่ออนุุสนธิิ ผู้้ท� รงเป็็ นพระธรรมราชา ดุุจพระราชาที่่�ประทัับตราพระราชสาส์์นที่่�มีดิี นิ
เหนีียวที่่�พระองค์์ให้้ประดิิษฐานไว้้ด้้วยพระราชลััญจกร ตรััสพระคาถานี้้�ว่า่
“เจตสิิกธรรมทั้้�งหลาย มีีใจเป็็ นหััวหน้้า มีีใจประเสริิฐที่่สุ� ดุ
สำำ�เร็็จเพราะใจ หากบุุคคลมีีใจผ่่องใสแล้้ว จะกล่่าวหรืือจะทำำ�
ก็็ตาม ความสุุขย่่อมตามเขาไป เพราะสุุจริติ ๓ อย่่าง เหมืือน
เงาที่่�มีปี กติิติดิ ตามไป ฉะนั้้�น”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตฺวาทิปัจจัย 103

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. นารโท สพฺพํ ปวตฺตึ อาจิกฺขิตฺวา “อิมินา การเณนาหํ อิมินา อภิสปิโต,
อถาหํ ‘มยฺหํ โทโส นตฺถิ, ยสฺส โทโส อตฺถิ, ตสฺเสว อุปริ สาโป ปตตูติ วตฺวา
อภิสปึ, อภิสปิตฺวา จ ปน ‘กสฺส นุ โข อุปริ สาโป ปติสฺสตีติ อุปธาเรนฺโต
‘สุุริิยุุคฺฺคมนเวลาย อาจริิยสฺฺส มุุทฺฺธา สตฺฺตธา ผลิิสฺฺสตีีติิ ทิิสฺฺวา เอตสฺฺมึึ อนุุกมฺฺปํํ ปฏิิจฺฺจ
อรุุณสฺฺส อุุคฺฺคนฺฺตุํํ� น เทมีีติิ. (๑/๓/๓๙-๔๐)
นารโท สพฺฺพํํ ปวตฺฺตึึ อาจิิกฺฺขิตฺิ ฺวา “อิิมินิ า การเณน อหํํ อิิมินิ า (ตาปเสน) อภิิสปิิ โต (อมฺฺหิ)ิ , อถ
(ภาเว สนฺฺ เต) อหํํ ‘มยฺฺหํํ โทโส นตฺฺถิ,ิ ยสฺฺส (ปุุคฺฺคลสฺฺส) โทโส อตฺฺถิ,ิ ตสฺฺเสว (ปุุคฺฺคลสฺฺส) อุุปริิ สาโป
ปตตููติิ วตฺฺวา อภิิสปึึ, อภิิสปิิ ตฺฺวา จ ปน (อหํํ) ‘กสฺฺส นุุ โข อุุปริิ สาโป ปติิสฺฺสตีีติิ อุุปธาเรนฺฺ โต
‘สุุริยุิ คฺุ ฺคมนเวลาย อาจริิยสฺฺส มุุทฺฺธา สตฺฺตธา ผลิิสฺฺสตีีติิ ทิิสฺฺวา เอตสฺฺมึึ (อาจริิเย) อนุุกมฺฺปํํ ปฏิิจฺฺจ
อรุุณสฺฺส อุุคฺฺคนฺฺ ตุํํ� น เทมีีติิ (อาห).
นารทดาบสบอกเรื่่อ� งราวความเป็็ นไปทั้้�งหมด แล้้วกล่่าวว่่า “อาตมาถููกดาบสนี้้�สาป
แช่่งเพราะเหตุุนี้้�, เมื่่อ� เป็็ นเช่่นนั้้�น, อาตมาจึึงกล่่าวว่่า ‘กระผมไม่่มีคี วามผิิด, ผู้้ใ� ดมีี
ความผิิด, คำำ�สาปแช่่งจงตกในเบื้้อ� งบนของผู้้นั้้� น� นั่่�นแหละ’ แล้้วก็็สาปแช่่ง, ก็็แล ครั้้�น
สาปแช่่งแล้้ว ใคร่่ครวญอยู่่�ว่่า ‘คำำ�สาปแช่่งจะตกในเบื้้อ� งบนของใครหนอ’ พอเห็็นว่่า
‘ศีีรษะของอาจารย์์จะแตกออกเป็็ น ๗ เสี่่ย� งในเวลาอรุุณขึ้น�้ ’ อาศััยความอนุุเคราะห์์ใน
อาจารย์์นั่่ �น อาตมาจึึงไม่่ให้้อรุุณขึ้น�้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
104 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๕. สตฺฺถา อิิมํํ ธมฺฺมเทสนํํ อาหริิตฺฺวา “ตทา ภิิกฺฺขเว ราชา อานนฺฺ โท อโหสิิ, เทวโล
ติิสฺฺโส, นารโท อหเมว, เอวํํ ตทาเปส ทุุพฺฺพโจเยวาติิ วตฺฺวา ติิสฺฺสตฺฺเถรํํ อามนฺฺ เตตฺฺวา
“ติิสฺฺส ภิิกฺฺขุโุ น หิิ ‘อสุุเกนาหํํ อกฺฺกุุฏฺฺโ, อสุุเกน ปหโฏ, อสุุเกน ชิิโต, อสุุโก เม
ภณฺฺฑํํ อหาสีีติิ จิินฺฺเตนฺฺ ตสฺฺส เวรนฺฺ นาม น วููปสมฺฺมติ,ิ เอวํํ ปน อนุุปนยฺฺหนฺฺ ตสฺฺเสว,
อุุปสมฺฺมตีติี ิ วตฺฺวา อิิมา คาถา อภาสิิ... (๑/๓/๔๐-๑)
สตฺฺถา อิิมํํ ธมฺฺมเทสนํํ อาหริิตฺฺวา “ตทา ภิิกฺฺขเว ราชา (อิิทานิิ) อานนฺฺ โท อโหสิิ, (ตทา)
เทวโล (อิิทานิิ) ติิสฺฺโส (อโหสิิ), (ตทา) นารโท (อิิทานิิ) อหเมว (อโหสิิ), เอวํํ ตทา
อปิิ เอโส (ติิสฺฺโส) ทุุพฺฺพโจ เอว (อโหสิิ) อิิติิ วตฺฺวา ติิสฺฺสตฺฺเถรํํ อามนฺฺ เตตฺฺวา
“ติิสฺฺส ภิิกฺฺขุโุ น หิิ ‘อสุุเกน (ปุุคฺฺคเลน) อหํํ อกฺฺกุุฏฺฺโ (อมฺฺหิ)ิ , (อหํํ) อสุุเกน (ปุุคฺฺคเลน)
ปหโฏ (อมฺฺหิ)ิ , (อหํํ) อสุุเกน (ปุุคฺฺคเลน) ชิิโต (อมฺฺหิ)ิ , อสุุโก (ปุุคฺฺคโล) เม ภณฺฺฑํํ อหาสีีติิ
จิินฺฺเตนฺฺ ตสฺฺส เวรํํ นาม น วููปสมฺฺมติ,ิ (ภิิกฺฺขุโุ น) เอวํํ ปน อนุุปนยฺฺหนฺฺ ตสฺฺเสว (เวรํํ) อุุปสมฺฺมตีติี ิ
วตฺฺวา อิิมา คาถา อภาสิิ...
พระศาสดาครั้้�นทรงนำำ�พระธรรมเทศนานี้้�มาแล้้ว ตรััสว่่า “ดููก่่อนภิิกษุุทั้้ง� หลาย พระ
ราชาในคราวนั้้�น เป็็ นพระอานนท์์ในกาลนี้้�, เทวละดาบสในคราวนั้้�น เป็็ นพระติิสสะใน
กาลนี้้�, นารทะดาบสในคราวนั้้�น เป็็ นเรานี่่�แหละ, พระติิสสะนี้้�เป็็ นผู้้ว่� า่ กล่่าวได้้โดยยาก
นั่่�นแหละแม้้ในกาลนั้้�น ด้้วยประการฉะนี้้�” ตรััสเรีียกพระติิสสเถระแล้้วตรััสว่่า “ติิสสะ ก็็
ธรรมดาว่่าเวรของภิิกษุุผู้คิ้� ดิ อยู่่�แต่่ว่า่ “ผู้้โ� น้้นด่่าเรา, ผู้้โ� น้้นได้้ทำำ�ร้้ายเรา, ผู้้โ� น้้นได้้ชนะ
เรา, ผู้้โ� น้้นได้้ลัักขโมยสิ่่�งของของเราไป” ย่่อมไม่่เข้้าไปสงบ, แต่่ว่า่ เวรของภิิกษุุผู้ไ้� ม่่
เข้้าไปผููกไว้้อยู่่�อย่่างนี้้�นั่่ �นแหละ ย่่อมจะเข้้าไปสงบ” ดัังนี้้� ได้้ภาสิิตพระคาถาเหล่่านี้้�...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ตฺวาทิปัจจัย 105

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. เตน สตฺถา ปกติปญฺญตฺเตเยว อาสเน นิสีทิ. นิสชฺช โข ปน คนฺถิกภิกฺขุํ ปฐมชฺ-
ฌาเน ปญฺหํ ปุจฺฉิตฺวา, ตสฺมึ อกถิเต, ทุติยชฺฌานํ อาทึ กตฺวา อฏฺฐสุปิ สมาปตฺตีสุ
รูปารูเปสุ ปญฺหํ ปุจฺฉิ. (๑/๑๔/๑๔๕)
เตน สตฺฺถา (ปุุคฺฺคเลน) ปกติิปญฺฺญตฺฺเต เอว อาสเน นิิสีีทิิ. (สตฺฺถา) นิิสชฺฺช โข ปน คนฺฺ ถิกิ ภิิกฺฺขุํํ�
ปมชฺฺฌาเน ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิตฺิ ฺวา, (คนฺฺ ถิกิ ภิิกฺฺขุนุ า) ตสฺฺมึึ (ปญฺฺเห) อกถิิเต, ทุุติยิ ชฺฺฌานํํ อาทึึ
กตฺฺวา อฏฺฺสุุปิิ สมาปตฺฺตีสุี ุ รููปารููเปสุุ ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิ.ิ
เพราะฉะนั้้�น พระศาสดาจึึงประทัับนั่่ �งบนอาสนะที่่�เขาปููลาดไว้้ตามปกติินั่่ �นแหละ, ก็็
พระศาสดาครั้้�นประทัับนั่่ �งแล้้วแล ตรััสถามปััญหาในปฐมฌานกัับพระคัันถิิกเถระ, เมื่่อ�
ท่่านไม่่สามารถตอบได้้, จึึงตรััสถามปััญหาในสมาบััติทั้้ิ ง� ๘ ทั้้�งที่่�เป็็ นรููปฌานและอรููป-
ฌาน ทรงทำำ�ทุุติยิ ฌานให้้เป็็ นเบื้้อ� งแรก
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
106 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๗. กปโณ วิย ปิโลติกํ นิวาเสตฺวา ภตกวีถิยํ ภตึ กตฺวา ชีวนฺโต มยา อิมินา นาม
อุปาเยน ญาโต, ชานิตฺวา จ ปน ปกฺโกสาเปตฺวา สธนภาวํ สมฺปฏิจฺฉาเปตฺวา ตํ
ธนํ อาหราเปตฺวา เสฏฺฐิฏฺฐาเน ฐปิโต. (๒/๒/๗๒)
(อยํ ปุริโส) กปโณ วิย (หุตฺวา) ปิโลติกํ นิวาเสตฺวา ภตกวีถิยํ ภตึ กตฺวา ชีวนฺโต มยา
อิมินา นาม อุปาเยน าโต, (อยํ ปุริโส มยา) ชานิตฺวา จ ปน (ปุคฺคลํ) ปกฺโกสาเปตฺวา (อิมํ
ปุริสํ อตฺตโน) สธนภาวํ สมฺปฏิจฺฉาเปตฺวา (ปุคฺคลํ) ตํ ธนํ อาหราเปตฺวา เสฏฺิฏฺาเน ปิโต.
บุรุษนี้ เป็นดุจคนก�ำพร้า นุ่งผ้าเก่าๆ ท�ำการรับจ้างในถนนของนายจ้างเลี้ยงชีพ ข้า-
พระองค์รู้ด้วยอุบายชื่อนี้, ก็แล ข้าพระองค์ครั้นรู้แล้ว รับสั่งให้เรียกมา ให้เขารับว่าเป็น
ผู้มีทรัพย์ รับสั่งให้น�ำทรัพย์นั้นมา แล้วแต่งตั้งไว้ในต�ำแหน่งเศรษฐี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. อถ โข อญฺญตโร ภิกฺขุ, เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ
อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. (๑๙/๖๘๕/๑๙๒ มหาเถรสมาคม)
อถ โข อญฺญตโร ภิกฺขุ, เยน (ทิสาภาเคน) ภควา (วิหรติ), เตน (ทิสาภาเคน) อุปสงฺกมิ,
(โส ภิกฺขุ) อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.
ทีนั้นแล ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ, ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว
ถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่สมควร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------
วิธีการแปลศัพท์ที่แปลว่า “เว้น” 107

ค�ำศัพท์กิริยาที่น่าสนใจ
อุปคนฺตฺวา อุป + คมุ คติมฺหิ ในการไป + ตฺวา ครั้นเข้าไปใกล้แล้ว
กเถตฺวา กถ กถเน ในการกล่าว + เณ + ตฺวา ครั้นกล่าวแล้ว (จุ.)
อภิสปิตฺวา อภิ + สป อกฺโกเส ในการด่า + ตฺวา ครั้นสาปแล้ว, ครั้นแช่งแล้ว
นิสชฺช นิ + สท คตฺยาวสาเน ในการสิ้นสุดการไป + ตฺวา ครั้นนั่งแล้ว
อุปสงฺกมิตฺวา อุป + สํ + กมุ ปทวิกฺเขเป ในการก้าวเท้า + ตฺวา ครั้นเข้าไปหาแล้ว

บทที่ ๖
วิธีการแปลศัพท์ท่แี ปลว่า “เว้น”
ค�ำว่า “เว้น” ในภาษาบาลีมีใช้อยู่หลายศัพท์ด้วยกัน แต่ในที่นี้จะแสดง ๒ ศัพท์ คือ
“อญฺญตฺร” กับ “ฐเปตฺวา” ส่วนวิธีการใช้นั้น มีความแตกต่างกัน ดังนี้
๑. อญฺฺญตฺฺรศััพท์์ สััมพัันธ์์เป็็นวิิเสสนะ หรืือกิิริิยาวิิเสสนะ และใช้้คู่่�กัับนามที่่�เป็็นปััญจมีี
วิิภััตติิ นิิยมวางไว้้ข้้างหน้้านามที่่�ประกอบด้้วยปััญจมีีวิิภััตติิดัังกล่่าว
เช่น อญฺญตฺร ภควตา. แปลว่า เว้น จากพระผู้มีพระภาคเจ้า
อญฺญตฺร ภิกฺขุสงฺฆา. แปลว่า เว้น จากหมู่แห่งภิกษุ
โย ปน ภิกฺขุ ภิกฺขุสฺส ทุฏฺฐุลฺลํ อาปตฺตึ อนุปสมฺปนฺนสฺส อาโรเจยฺย อญฺญตฺร
ภิกฺขุสมฺมติยา, ปาจิตฺติยํ.
แปลว่า : ก็ อ.ภิกษุรูปใด พึงบอก ซึ่งอาบัติ ชั่วหยาบ(สังฆาทิเสส) ของภิกษุ แก่
อนุปสัมบัน เว้น แต่ภิกษุผู้ถูกสมมุติ, อ.อาบัติปาจิตตีย์ ย่อมมี แก่ภิกษุนั้น ฯ
สัมพันธ์ : ปนศัพท์ วากยารัมภโชตกะ โย วิเสสนะของ ภิกฺขุ ๆ สุทธกัตตาใน
อาโรเจยฺย ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ภิกฺขุสฺส สามีสัมพันธะใน อาปตฺตึ ทุฏฺฐุลฺลํ วิเสสนะของ
อาปตฺตึ ๆ อวุตตกัมมะใน อาโรเจยฺย อนุปสมฺปนฺนสฺส สัมปทานใน อาโรเจยฺย อญฺญตฺร กิริยา-
วิเสสนะใน อาโรเจยฺย ภิกฺขุสมฺมติยา อปาทานใน อญฺญตฺร, ปาจิตฺติยํ สุทธกัตตาใน โหติ ๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส วิเสสนะของ ภิกฺขุสฺส ๆ สัมปทานใน โหติ ฯ
๒. ฐเปตฺวาศัพท์ สัมพันธ์เป็นวิเสสนะหรือกิริยาวิเสสนะ และใช้คู่กับนามที่เป็นทุติยา
วิภัตติ นิยมวางไว้ข้างหน้านามที่ประกอบด้วยทุติยาวิภัตติดังกล่าว
108 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

เช่น ฐเปตฺวา เทฺว อคฺคสาวเก อวเสสา อรหตฺตํ ปาปุณึสุ. (๑/๘/๘๖)


แปลว่า : อ.ภิกษุ ท. ผู้เหลือลง เว้น ซึ่งพระอัครสาวก ท. สอง บรรลุแล้ว ซึ่งความ
เป็นแห่งพระอรหันต์ ฯ
สัมพันธ์ว่า : อวเสสา วิเสสนะของ ภิกฺขู ๆ สุทธกัตตาใน ปาปุณึสุ ๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก ฐเปตฺวา วิเสสนะของ ภิกฺขู เทฺว วิเสสนะของ อคฺคสาวเก ๆ อวุตตกัมมะใน
ฐเปตฺวา อรหตฺตํ สัมปาปุณียกัมมะใน ปาปุณึสุ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. เทสนาปริโยสาเน ฐเปตฺวา สรทตาปสํ สพฺเพปิ จตุสตฺตติสหสฺสชฏิลา อรหตฺตํ
ปาปุณึสุ. (๑/๘/๑๐๐)
เวลาจบพระเทศนา ชฎิล ๗๔,๐๐๐ คนแม้ทั้งหมด เว้นสรทดาบส บรรลุพระอรหัต
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. สตฺถา สพฺเพสํ ธมฺมํ เทเสสิ, เทสนาปริโยสาเน ฐเปตฺวา มํ เสสา อรหตฺตํ ปตฺตา
ปพฺพชึสุ. (๑/๘/๑๐๒)
สตฺถา สพฺเพสํ (อมฺหากํ) ธมฺมํ เทเสสิ, เทสนาปริโยสาเน เปตฺวา มํ เสสา (ตาปสา) อรหตฺตํ
ปตฺตา ปพฺพชึสุ.
พระศาสดาทรงแสดงธรรมแก่พวกเราทั้งหมด, เวลาจบพระเทศนา พวกดาบสที่เหลือ
เว้นเรา บรรลุพระอรหัต แล้วพากันบวช
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลศัพท์ที่แปลว่า “เว้น” 109

๓. มโฆ เสสานํ โอวาทํ อทาสิ “สมฺมา ฐเปตฺวา เมตฺตํ อญฺโญ อมฺหากํ อวสฺสโย
นตฺถิ, ตุมฺเห กตฺถจิ โกปํ อกตฺวา รญฺเญ จ คามโภชเก จ มทฺทนหตฺถิมฺหิ จ
อตฺตนิ จ เมตฺตจิตฺเตน สมจิตฺตาว โหถาติ. (๒/๗/๙๙)
มฆมาณพได้้ให้้โอวาทแก่่พวกชนที่่�เหลืือว่่า “แน่่ะสหายทั้้�งหลาย ที่่�พึ่่�งอื่่�นของพวกเรา
เว้้นเมตตา ย่่อมไม่่มีี, พวกท่่านไม่่ทำำ�ความโกรธในใครๆ จงเป็็นผู้้�มีีจิิตสม่ำำ��เสมอด้้วย
เมตตาจิิตนั่่�นแหละในพระราชา ผู้้�ใหญ่่บ้้าน ในช้้างตััวเหยีียบ และในตน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. อถ เน วฑฺฒกี อาห “อยฺยา ตุมฺเห กึ กเถถ, ฐเปตฺวา พฺรหฺมโลกํ อญฺญํ
มาตุคามรหิตฏฺฐานนฺนาม นตฺถิ, คณฺหาถ กณฺณิกํ, เอวํ สนฺเต, อมฺหากํ กมฺมํ นิฏฺฐํ
คมิสฺสตีติ. (๒/๗/๑๐๑)
อถ เน (ชเน) วฑฺฒกี อาห “อยฺยา ตุมฺเห กึ (วจนํ) กเถถ, เปตฺวา พฺรหฺมโลกํ อญฺํ
มาตุคามรหิตฏฺานํ นาม นตฺถ,ิ (ตุมฺเห) คณฺหาถ กณฺณกิ ํ, เอวํ (ภาเว) สนฺเต, อมฺหากํ กมฺมํ
นิฏฺํ คมิสฺสตีติ.
ทีนั้น ช่างไม้กล่าวกับพวกชนเหล่านั้นว่า “ข้าแต่เจ้าทั้งหลาย พวกท่านย่อมกล่าวค�ำ
อะไร, ขึ้นชื่อว่าสถานที่ที่เว้นจากมาตุคามอื่น เว้นพรหมโลก ย่อมไม่มี, ขอพวกท่านจง
ถือเอาช่อฟ้าเถิด, เมื่อเป็นเช่นนี้ การงานของพวกเราจักถึงความส�ำเร็จ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
110 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๕. “อุปาสก จูฬปนฺถโก นาม ทนฺโธ ภิกฺขุ อวิรุฬฺหิธมฺโม, ตํ ฐเปตฺวา เสสานํ


นิมนฺตนํ สมฺปฏิจฺฉามีติ เถโร อาห. (๒/๓/๗๘)
“อุปาสก จูฬปนฺถโก นาม ทนฺโธ ภิกฺขุ อวิรุฬฺหิธมฺโม (โหติ), (อหํ) ตํ (ภิกฺขุํ) เปตฺวา
เสสานํ (ภิกฺขูนํ) นิมนฺตนํ สมฺปฏิจฺฉามีติ เถโร อาห.
พระเถระกล่าวว่า “ดูก่อนอุบาสก ภิกษุผู้เขลาชื่อว่าจูฬปันถก เป็นผู้มีธรรมอันไม่
งอกงาม, อาตมาขอรับการนิมนต์เพื่อภิกษุทั้งหลายที่เหลือ เว้นภิกษุนั้น”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. ตสฺสา ฌาปิยมานาย, ฐเปตฺวา คพฺภมํสํ เสสมํสํ ฌายิ. (๔/๙/๑๑๗)
ตสฺสา (กุลธีตุยา ปุคฺคเลน) ฌาปิยมานาย, ฐเปตฺวา คพฺภมํสํ เสสมํสํ ฌายิ.
เมื่อกุลธิดานั้นถูกเผาอยู่, เนื้อที่เหลือ เว้นเนื้อครรภ์ ไหม้แล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ปูรธาตุ 111

บทที่ ๗
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ปูรธาตุ
ในที่่�ประกอบด้้วยธาตุุที่่�มีีอรรถว่่าเต็็ม (สุุหิิตตฺฺถโยค = ในที่่�ประกอบด้้วยธาตุุที่่�มีีอรรถ
ว่่าเต็็ม) เช่่น ปููรธาตุุ ปููรเณ ในอรรถว่่าเต็็ม ส่่วนมาก นามที่่�สััมพัันธ์์กัับปููรธาตุุ จะประกอบ
ด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิหรืือตติิยาวิิภััตติิ เวลาแปลให้้แปลออกสำำ�เนีียงอายตนิิบาตว่่า “ด้้วย...” เรีียก
ว่่า “ฉััฏฐีีกรณะ” (รููปสิิทธิิ.สููตรที่่� ๓๑๗. ฉฏฺฺฐีี จ)
เช่น อิมเมว กายํ ปูรํ นานปฺปการสฺส อสุจิโน ปจฺจเวกฺขติ. (ที.มหา.๑๐/๓๗๗/๒๕๐)
(ปุคฺคโล) อิมํ เอว กายํ ปูรํ นานปฺปการสฺส อสุจิโน ปจฺจเวกฺขติ.
แปลว่า : อ.บุคคล ย่อมพิจารณา ซึ่งกายนี้นั่นเทียว อันเต็ม ด้วยของไม่สะอาด
อันมีประการต่างๆ ฯ
สััมพัันธ์์ว่่า : ปุุคฺฺคโล สุุทธกััตตาใน ปจฺฺจเวกฺฺขติิ ๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก
เอวศััพท์์ อวธารณะเข้้ากัับ อิิมํํ ๆ วิิเสสนะของ กายํํ ๆ อวุุตตกััมมะใน ปจฺฺจเวกฺฺขติิ ปููรํํ
วิิเสสนะของ กายํํ นานปฺฺปการสฺฺส วิิเสสนะของ อสุุจิิโน ๆ ฉััฏฐีีกรณะใน ปููรํํ ฯ
เช่น ปูรติ พาโล ปาปสฺส. (ขุ.ธ. ๒๕/๑๒๑/๓๘)
แปลว่า : อ.คนพาล ย่อมเต็ม ด้วยบาป ฯ
สััมพัันธ์์ว่่า : พาโล สุุทธกััตตาใน ปููรติิ ๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก ปาปสฺฺส ฉััฏฐีี-
กรณะใน ปููรติิ ฯ
เช่น ปตฺตํ โอทนสฺส ปูเรตฺวา อทาสิ.
(สา อิตฺถี) ปตฺตํ โอทนสฺส ปูเรตฺวา อทาสิ.
แปลว่่า : อ.หญิิงนั้้�น ยัังบาตร ให้้เต็็มแล้้ว ด้้วยข้้าวสุุก ได้้ถวายแล้้ว ฯ
สััมพัันธ์์ว่่า : สา วิิเสสนะของ อิิตฺฺถีี ๆ สุุทธกััตตาใน อทาสิิ ๆ อาขยาตบท
กััตตุุวาจก ปตฺฺตํํ การิิตกััมมะใน ปููเรตฺฺวา โอทนสฺฺส ฉััฏฐีีกรณะใน ปููเรตฺฺวา ๆ ปุุพพกาลกิิริิยา
ใน อทาสิิ ฯ
112 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อิสฺสโรปิ อตฺตโน โภชนสฺส ปตฺตํ ปูเรตฺวา “อิมํ สีฆํ คนฺตฺวา อยฺยสฺส สมฺปาเทหิ,
อหนฺเต อิโต ปตฺตึ เทมีติ อาห. (๒/๑/๓๖)
อิสฺสโรปิ อตฺตโน โภชนสฺส ปตฺตํ ปูเรตฺวา “(ตฺวํ) อิมํ (ปตฺตํ) สีฆํ คนฺตฺวา อยฺยสฺส สมฺปาเทหิ,
อหํ เต อิโต (ทานโต) ปตฺตึ เทมีติ อาห.
แม้้บุุคคลผู้้�เป็็นใหญ่่ทำำ�บาตรให้้เต็็มด้้วยโภชนะของตน แล้้วกล่่าวว่่า “ท่่านไปเร็็ว ทำำ�
บาตรนี้้�ให้้ถึึงพร้้อมแก่่พระคุุณเจ้้า, เราจะให้้ส่่วนบุุญจากทานนี้้�แก่่ท่่าน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. อุเทโน “อชฺช ปลายิตพฺพนฺติ มหนฺตมหนฺเต จมฺมปสิพฺพเก หิรญฺญสุวณฺณสฺส
ปูเรตฺวา กเรณุกปิฏฺเฐ ฐเปตฺวา วาสุลทตฺตํ อาทาย ปลายิ. (๒/๑/๓๗)
อุเทโน “(มยา) อชฺช ปลายิตพฺพนฺติ (จินฺเตตฺวา) มหนฺตมหนฺเต จมฺมปสิพฺพเก หิรญฺญสุวณฺณสฺส
ปูเรตฺวา กเรณุกปิฏฺเฐ ฐเปตฺวา วาสุลทตฺตํ อาทาย ปลายิ.
พระเจ้้าอุุเทนทรงดำำ�ริิว่่า “เราควรหนีีไปในวัันนี้้�” ทำำ�ให้้กระสอบหนัังทั้้�งใหญ่่ๆ ให้้เต็็ม
ด้้วยเงิินและทอง วางไว้้บนหลัังช้้างพััง ทรงพาเอานางวาสุุลทััตตาเสด็็จหนีีไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. เต ปน ปจฺเจกพุทฺเธ ปฐมทิวเส ราชา เคเห นิสีทาเปตฺวา ปตฺเต คาหาเปตฺวา
ปายาสสฺส ปูเรตฺวา ทาเปสิ. (๒/๑.สามาวดี/๖๑)
เต ปน ปจฺเจกพุทฺเธ ปฐมทิวเส ราชา เคเห นิสีทาเปตฺวา (ราชปุริเส) ปตฺเต คาหาเปตฺวา
(เต ปตฺเต) ปายาสสฺส ปูเรตฺวา (ราชปุริเส) ทาเปสิ.
วิธีการแปลเกี่ยวกับ ปูรธาตุ 113

ก็ พระราชาทรงนิมนต์พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นให้นั่งในพระต�ำหนักในวันแรก ให้
ราชบุรุษช่วยรับบาตรทั้งหลาย ท�ำให้เต็มด้วยข้าวปายาส แล้วให้ถวาย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. อุณฺหปายาสสฺส ปูเร ปตฺเต ปจฺเจกพุทฺธา ปริวตฺเตตฺวา ปริวตฺเตตฺวา คณฺหนฺติ.
(๒/๑.สามาวดี/๖๑)
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ท�ำให้บาตรที่เต็มด้วยข้าวปายาสที่ร้อนให้หมุนไปรอบๆ
ย่อมถือเอา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. ตสฺมึ ขเณ จูฬปนฺถโก “มยฺหํ ภาติโก ‘วิหาเร ภิกฺขู นตฺถีติ ภณติ, วิหาเร
ภิกฺขูนํ อตฺถิภาวมสฺส ปกาเสสฺสามีติ สกลํ อมฺพวนํ ภิกฺขูนญฺเญว ปูเรสิ. (๒/๓.
จูฬปันถก/๘๑)
ตสฺมึ ขเณ จูฬปนฺถโก “มยฺหํ ภาติโก ‘วิหาเร ภิกฺขู นตฺถีติ ภณติ, (อหํ) วิหาเร ภิกฺขูนํ
อตฺถิภาวํ อสฺส (ภาติกสฺส) ปกาเสสฺสามีติ (จินฺเตตฺวา) สกลํ อมฺพวนํ ภิกฺขูนํ เอว ปูเรสิ.
ในขณะนั้น พระจูฬปันถกคิดว่า “พี่ชายของเราย่อมกล่าวว่า ‘ภิกษุทั้งหลายในวิหาร
ไม่มี’ ดังนี้, เราจักประกาศว่าภิกษุทั้งหลายในวิหารมีอยู่แก่พี่ชายนั้น” แล้วจึงท�ำให้
อัมพวันทั้งสิ้นเต็มไปด้วยภิกษุทั้งหลายนั่นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
บทที่ ๘
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ
ปััญหาอีีกประการหนึ่่�ง ซึ่่�งถืือว่่าเป็็ นปััญหาใหญ่่สำำ�หรัับผู้้ศึึ� กษาภาษาบาลีี คืือเรื่่อ� งการ
ใช้้สำำ�นวนทางภาษาของผู้้แ� ต่่งคััมภีร์ี ต่์ ่างๆ ที่่�ประสงค์์จะสื่่อ� ให้้ผู้้อ่� า่ นได้้เข้้าใจความหมายตรง
ตามที่่�ตนต้้องการ แต่่สำำ�หรัับผู้้อ่� า่ นแล้้วเป็็ นสิ่่�งที่่�ยากลำำ�บากพอสมควร ถ้้าไม่่เข้้าใจหลัักการ
แต่่ง แต่่ถ้้าทำำ�การประมวลข้้อมููลแล้้วสรุุป ก็็จะทราบได้้ว่่าวิิธีกี ารล็็อคข้้อความนั้้�น ก็็มีหี ลัักใน
การเรีียบเรีียงอยู่่� ฉะนั้้�น จึึงไม่่ใช่่เป็็ นสิ่่�งเหลืือวิิสัยั หรืือยากเกิินไป สำำ�หรัับผู้้ป� ระสงค์์จะศึึกษา
สำำ�หรัับวิิธีีการล็็อคข้้อความนั้้�น เป็็นวิิธีีการที่่�ผู้้�แต่่งใช้้ป้้องกัันการตีีความผิิดพลาดของ
ผู้้�อ่่าน เพื่่�อให้้ผู้้�อ่่านได้้ทราบว่่ากิิริิยาการกระทำำ�ดัังกล่่าว เป็็นกิิริิยาของใครในประโยค โดย
เป็็นการล็็อคข้้อความของบทที่่�มีี ตฺฺวาปััจจััยเป็็นที่่�สุุด แต่่ไม่่ได้้ทำำ�หน้้าที่่�เป็็นกิิริิยาในระหว่่าง
ของประธานในประโยค วิิธีีการล็็อคข้้อความนั้้�น มีีดัังนี้้�
๑. ใช้สุทธนาม หรือวิเสสนสัพพนามวางไว้ข้างหน้าหรือไม่มีก็ได้ แล้วใช้กิริยาที่
ประกอบด้วย ต, อนฺต และมานปัจจัยปิดท้ายข้อความที่ต้องการล็อค ข้อสังเกต บทดังกล่าว
จะมีวิภัตติแตกต่างจากบทซึ่งท�ำหน้าที่เป็นประธานในประโยค ถ้ากรณีที่บทซึ่งประกอบ
ด้วย ต หรือ มานปัจจัยเป็นกัมมรูป จะปรากฏกัตตา(ตติยากัตตา)วางไว้ข้างหน้าข้อความที่
ประสงค์จะล็อคนั้นเสมอ
เช่น ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก อนุปุพฺเพน คนฺตฺวา อนาถ-
ปิณฺฑิกมหาเสฏฺฐินา จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ วิสฺสชฺเชตฺวา การิเต เชตวนมหาวิหาเร วิหรติ,
มหาชนํ สคฺคมคฺเค จ โมกฺขมคฺเค จ ปติฏฺฐาปยมาโน. (๑/๑/๔)
แปลว่่า : ในสมััยนั้้�น อ.พระศาสดา ผู้้�มีีจัักรคืือธรรมอัันประเสริิฐทรงให้้เป็็นไป
ทั่่�วแล้้ว เสด็็จไปแล้้ว โดยลำำ�ดัับ ประทัับอยู่่� ในพระมหาวิิหารชื่่�อว่่าเชตวััน อััน-อัันมหาเศรษฐีี
ชื่่�อว่่าอนาถบิิณฑิิกะ สละแล้้ว ซึ่่�งทรััพย์์มีีโกฏิิ ๕๔ เป็็นประมาณ -ให้้สร้้างแล้้ว ยัังมหาชน
ให้้ตั้้�งเฉพาะอยู่่� ในทางแห่่งสวรรค์์ด้้วย ในทางแห่่งพระนิิพพานด้้วย ฯ
สัมพันธ์ว่า : ตสฺมึ วิเสสนะของ สมเย ๆ กาลสัตตมีใน วิหรติ สตฺถา สุทธ-
กัตตาใน วิหรติ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก วิเสสนะของ สตฺถา
อนุปุพฺเพน ตติยาวิเสสนะใน คนฺตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน วิหรติ อนาถปิณฺฑิกมหาเสฏฺฐินา
อนภิหิตกัตตาใน การิเต จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ อวุตตกัมมะใน วิสฺสชฺเชตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยา
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 115

ใน การิเต ๆ วิเสสนะของ เชตวนมหาวิหาเรๆ วิสยาธาระใน วิหรติ มหาชนํ การิตกัมมะใน


ปติฏฺฐาปยมาโน สคฺคมคฺเค ก็ดี โมกฺขมคฺเค ก็ดี วิสยาธาระใน ปติฏฺฐาปยมาโน จ สอง
ศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ สคฺคมคฺเค และ โมกฺขมคฺเค ปติฏฺฐาปยมาโน อัพภันตรกิริยาของ
สตฺถา ฯ
๒. วางบทที่ประกอบด้วยตฺวาปัจจัย อยู่ติดกับกิริยากิตก์ที่ประกอบด้วย ต, อนฺต,
มานปัจจัย ที่ไม่ใช่กิริยาของประธานในประโยค
เช่น โส เอกวจเนเนว ปกฺขนฺทิตฺวา สามิกสฺส คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเน ติกฺขตฺตุํ
ภุสฺสิตฺวา เตน สทฺเทน วาลมิคานํ ปลายนภาวํ ญตฺวา ปาโตว สรีรปฺปฏิชคฺคนํ
กตฺวา ปณฺณสาลํ ปวิสิตฺวา นิสินฺนสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ปณฺณสาลา-
ทฺวาเร ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา อตฺตโน อาคตภาวํ ชานาเปตฺวา เอกมนฺเต นิปชฺชติ. (๒/๑/๑๑)
โส (สุนโข) เอกวจเนน เอว ปกฺขนฺทิตฺวา สามิกสฺส คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเน ติกฺขตฺตุํ
ภุสฺสิตฺวา เตน สทฺเทน วาลมิคานํ ปลายนภาวํ ญตฺวา ปาโตว สรีรปฺปฏิชคฺคนํ กตฺวา ปณฺณสาลํ
ปวิสิตฺวา นิสินฺนสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ปณฺณสาลาทฺวาเร ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา
(ปจฺเจกพุทฺธํ) อตฺตโน อาคตภาวํ ชานาเปตฺวา เอกมนฺเต นิปชฺชติ.
แปลว่า : อ.สุนัขนั้น แล่นไปแล้ว ด้วยค�ำค�ำเดียวนั่นเทียว เห่าแล้ว สามครั้ง ใน
ที่เป็นที่ฟาดซึ่งกอไม้และภาคพื้น แห่งเจ้าของ รู้แล้ว ซึ่งความเป็นคืออันหนีไป แห่งเนื้อร้าย
ท. เพราะเสียงนั้น ไปแล้ว สู่ที่เป็นที่อยู่ ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้- กระท�ำแล้ว ซึ่งการประ
คับประคอง ซึ่งสรีระ เข้าไปแล้ว สู่บรรณศาลา -นั่งแล้ว ในเวลาเช้าเทียว เห่าแล้ว สามครั้ง
ใกล้ประตูแห่งบรรณศาลา ยังพระปัจเจกพุทธเจ้า ให้รู้แล้ว ซึ่งความที่แห่งตน เป็นผู้มาแล้ว
ย่อมหมอบ ณ ที่สมควร ฯ
สัมพันธ์ว่า : โส วิเสสนะของ สุนโข ๆ สุทธกัตตาใน นิปชฺชติ ๆ อาขยาตบท-
กัตตุวาจก เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ เอกวจเนน ๆ ตติยาวิเสสนะใน ปกฺขนฺทิตฺวา ๆ
ปุพพกาลกิริยาใน ภุสฺสิตฺวา สามิกสฺส สามีสัมพันธะใน คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเนๆ วิสยาธาระ
ใน ภุสฺสิตฺวา ติกฺขตฺตุํ กิริยาวิเสสนะใน ภุสฺสิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ญตฺวา เตน
วิเสสนะของ สทฺเทน ๆ เหตุใน ปลายน- วาลมิคานํ สามีสัมพันธะใน ปลายนภาวํ ๆ
อวุตตกัมมะใน ญตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน คนฺตฺวา เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ปาโต ๆ
กาลสัตตมีใน นิสินฺนสฺส สรีรปฺปฏิชคฺคนํ อวุตตกัมมะใน กตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปวิสิตฺวา
ปณฺณสาลํ สัมปาปุณียกัมมะใน ปวิสิตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน นิสินฺนสฺส ๆ วิเสสนะของ
116 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ปจฺเจกพุทฺธสฺสๆ สามีสัมพันธะใน วสนฏฺฐานํ ๆ สัมปาปุณียกัมมะใน คนฺตฺวา ๆ ปุพฺพกาล-


กิริยาใน ภุสฺสิตฺวา ปณฺณสาลาทฺวาเร สมีปาธาระใน ภุสฺสิตฺวา ติกฺขตฺตุํ กิริยาวิเสสนะใน
ภุสฺสิตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน ชานาเปตฺวา ปจฺเจกพุทฺธํ การิตกัมมะใน ชานาเปตฺวา
อตฺตโน ภาวาทิสัมพันธะใน อาคตภาวํ ๆ อวุตตกัมมะใน ชานาเปตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน
นิปชฺชติ เอกมนฺเต วิสยาธาระ ใน นิปชฺชติ ฯ
๓. ประโยคที่วางบทที่ประกอบด้วยตฺวาปัจจัย วางติดกับ ตุํปัจจัย และยุปัจจัย
เช่น อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ สทฺโท ปุริสานํ สกลสรีรํ ผริตฺวา ฐาตุํ สมตฺโถ
นาม นตฺถิ. (๑/๑/๑๔)
แปลว่่า : จริิงอยู่่� อ.เสีียง อื่่�น ชื่่�อว่่าเป็็นเสีียงสามารถ เพื่่�ออััน- แผ่่ไป สู่่�สรีีระทั้้�งสิ้้�น
ของบุุรุุษ ท. -แล้้วจึึงตั้้�งอยู่่� ราวกะ อ.เสีียงแห่่งหญิิง ย่่อมไม่่มีี ฯ
สัมพันธ์ : หิศัพท์ ทัฬหีกรณโชตกะ อญฺโญ วิเสสนะของ สทฺโท ๆ สุทธกัตตา
ใน นตฺถิ ๆ นิบาตบทกัตตุวาจก อิตฺถีสทฺโท อุปมาลิงคัตถะ วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ
อิตฺถีสทฺโท ปุริสานํ สามีสัมพันธะใน สกลสรีรํ ๆ สัมปาปุณียกัมมะใน ผริตฺวา ๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน ฐาตุํ ๆ ตุมัตถสัมปทานใน สมตฺโถ นามศัพท์ ครหัตถโชตกะเข้ากับ สมตฺโถ ๆ วิกติ-
กัตตาใน นตฺถิ ฯ
เช่น สตฺถา “สมิชฺฌิสฺสติ นุ โข อิมสฺส ปุริสสฺส ปตฺถนาติ อนาคตํสญาณํ
เปเสตฺวา โอโลเกนฺโต กปฺปสตสหสฺสาธิกํ เอกํ อสงฺเขยฺยํ อติกฺกมิตฺวา สมิชฺฌนภาวํ อทฺทส.
(๑/๘/๑๐๑)
แปลว่่า : อ.พระศาสดา ทรงส่่งไปแล้้ว ซึ่่�งอนาคตัังสญาณ ด้้วยทรงดำำ�ริิ ว่่า “อ.ความ
ปรารถนา ของบุุรุุษนี้้� จัักสำำ�เร็็จ หรืือหนอ แล?” ดัังนี้้� ทรงตรวจดููอยู่่� ได้้ทรงเห็็นแล้้ว ซึ่่�งความ
เป็็นคืืออััน- ก้้าวล่่วง ซึ่่�งอสงไขย หนึ่่�ง อัันยิ่่�งด้้วยแสนแห่่งกััป -แล้้วจึึงสำำ�เร็็จ ฯ
สัมพันธ์ : สตฺถา สุทธกัตตาใน อทฺทส ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
“ปตฺถนา สุทธกัตตาใน สมิชฺฌิสฺสติ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นุศัพท์ สังกัปปัตถะ โขศัพท์
วจนาลังการะ อิมสฺส วิเสสนะของ ปุริสสฺส ๆ สามีสัมพันธะใน ปตฺถนา” อิติศัพท์ สรูปะใน
จินฺตเนน ๆ กรณะใน เปเสตฺวา อนาคตํสญาณํ อวุตตกัมมะใน เปเสตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยา
ใน โอโลเกนฺโต ๆ อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา กปฺปสตสหสฺสาธิกํ ก็ดี เอกํ ก็ดี วิเสสนะของ
อสงฺเขยฺยํ ๆ อวุตตกัมมะใน อติกฺกมิตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน สมิชฺฌน- สมิชฺฌนภาวํ
อวุตตกัมมะใน อทฺทส ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 117

๔. ในกรณีีที่่�นำำ�คุุณศััพท์์มาเข้้าสมาสกัับภาวศััพท์์หรืือทำำ�เป็็นภาวตััทธิิต จะปรากฏ
บทที่่�ประกอบด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิอยู่่�ข้้างหน้้าข้้อความที่่�ประสงค์์จะล็็อคเสมอ จะเป็็นสุุทธนาม หรืือ
วิิเสสนสััพพนามก็็ได้้ ถ้้าคุุณศััพท์์นั้้�นเป็็นกััมมรููป จะปรากฏกััตตา (อนภิิหิิตกััตตา) แทนบทที่่�
ประกอบด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิ และจะพบเห็็นบทที่่�ประกอบด้้วย ตฺฺวาปััจจััยอยู่่�ภายใน
เช่น เสฏฺฐิธีตาปิ ตสฺสาคนฺตฺวา ทฺวาเร ฐิตภาวํ สุตฺวา ตํ ปกฺโกสาเปตฺวา “กึ
ตาตาติ ปุจฺฉิ. (๒/๑/๒๒)
เสฏฺฐิธีตาปิ ตสฺส (ปุริสสฺส) อาคนฺตฺวา ทฺวาเร ฐิตภาวํ สุตฺวา (ปุคฺคลํ) ตํ
(ปุริสํ) ปกฺโกสาเปตฺวา “กึ ตาตาติ ปุจฺฉิ.
แปลว่่า : แม้้ อ.ธิิดาของเศรษฐีี ฟัังแล้้ว ซึ่่�งความที่่�- แห่่งบุุรุุษนั้้�น -เป็็นผู้้�มาแล้้ว ยืืน
แล้้ว ใกล้้ประตูู ยัังบุุคคล ให้้ร้้องเรีียกแล้้ว ซึ่่�งบุุรุุษนั้้�น ถามแล้้ว ว่่า แน่่ะพ่่อ อ.อะไร ดัังนี้้� ฯ
สัมพันธ์ว่า : อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ เสฏฺฐิธีตา ๆ สุทธกัตตาใน ปุจฺฉิ ๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส วิเสสนะของ ปุริสสฺส ๆ ภาวาทิสัมพันธะใน ฐิตภาวํ
อาคนฺตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยา ใน ฐิต- ทฺวาเร สมีปาธาระใน ฐิต- ฐิตภาวํ อวุตตกัมมะใน
สุตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปกฺโกสาเปตฺวา ปุคฺคลํ การิตกัมมะใน ปกฺโกสาเปตฺวา ตํ
วิเสสนะของ ปุริสํ ๆ อวุตตกัมมะใน ปกฺโกสาเปตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปุจฺฉิ “ตาต
อาลปนะ กึ ปุจฉนัตถลิงคัตถะ” อิติศัพท์ อาการะใน ปุจฺฉิ ฯ
118 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ตารางแสดงการล็อคข้อความ
ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง

1 อนภิหิตกัตตา
(ตติิยาวิิภััตติิ / ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) ตฺฺวา - วิิเสสนะ วิิกติิกััตตา หรืือ อััพภัันตรกิิริิยา ที่่�เป็็นกััมมรููป
เป็นต้น (สกัมมกธาตุ+ต/กิจจ, สกัมมกธาตุ+ย+มาน)
- วิเสสนะ วิกติกัตตา หรือ อัพภันตรกิริยา ที่เป็นเหตุกัมมรูป
(ธาตุ+การิต+ต/กิจจ, ธาตุ+การิต+ย+มาน)

2a วิเสสยะ ตฺวา - วิเสสนะ ที่เป็นกัตตุรูป


เป็นต้น (อกัมมกธาตุ+ต, ธาตุ+วิกรณ+อนฺต/มาน)
- วิเสสนะ ที่เป็นเหตุกัตตุรูป
(ธาตุ+การิต+อนฺต/มาน)

2b - ตฺวา วิเสสนะที่เป็นกัตตุรูป วิเสสยะ


เป็นต้น หรือ เหตุกัตตุรูป

2c - ตฺวา วิกติกัตตา หรือ อัพภันตรกิริยา ที่เป็นกัตตุรูป หรือ เหตุกัตตุรูป

3a อนภิหิตกัตตา ตฺวา
(ตติิยาวิิภััตติิ / ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) เป็็นต้้น ตุุมััตถกััตตา

3b - ตฺวา ตุมัตถสัมปทาน
เป็นต้น

3c สามีีสััมพัันธะ (ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) ตฺฺวา


หรือ อนภิหิตกัตตา เป็นต้น
(ตติิยาวิิภััตติิ / ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) กิิตก์์ในภาวสาธนะ เช่่น ยุุปััจจััย
3d - ตฺวา กิตก์ในกัตตุสาธนะ เช่น ณฺวุปัจจัย, ตุปัจจัย
เป็นต้น

3e สามีีสััมพัันธะ (ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) ตฺฺวา กิิตก์์ในกััตตุุรููป อธิิกรณสาธนะ เช่่น ยุุปััจจััย, ตปััจจััย


เป็นต้น
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 119

3f สามีสัมพันธะ อนภิหิตกัตตา ตฺวา กิตก์ในกัมมรูป อธิกรณสาธนะ เช่น ตปัจจัย


(ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) (ตติิยาวิิภััตติิ เป็็นต้้น
/ ฉััฏฐีีวิิภััตติิ)

4 ภาวาทิสัมพันธะ ตฺวา กิริยากิตก์กัตตุรูป หรือ เหตุกัตตุรูป, ภาวศัพท์อันเป็นบทหลัง


(ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) เป็็นต้้น นามกิิตก์์วิิเสสนะ, ของฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส
พหุุพพีีหิิสมาส หรืือ หรืือ ปััจจััยในภาวตััทธิิต
สามััญญวุุตติิตััทธิิต

สรุปการล็อคข้อความ
กรณีที่ 1 วิเสสนะ วิกติกัตตา หรือ อัพภันตรกิริยา - กัมมรูป/เหตุกัมมรูป
ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง

1 อนภิหิตกัตตา
(ตติิยาวิิภััตติิ / ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) ตฺฺวา - วิิเสสนะ วิิกติิกััตตา หรืือ อััพภัันตรกิิริิยา ที่่�เป็็นกััมมรููป
เป็นต้น (สกัมมกธาตุ+ต/กิจจ, สกัมมกธาตุ+ย+มาน)
- วิเสสนะ วิกติกัตตา หรืออัพภันตรกิริยา ที่เป็นเหตุกัมมรูป
(ธาตุ+การิต+ต/กิจจ, ธาตุ+การิต+ย+มาน)

= อัพภันตรกิริยา-กัมมรูป-มาน ปัจจัย
ภทฺเท อหํ ตํทิวสํ พนฺธิตฺวา นียมาโน โจรปปาเต อธิวตฺถาย เทวตาย พลิกมฺมํ
ปฏิสฺสุณิตฺวา ชีวิตํ ลภึ. (๔/๓/๑๐๐)
ภทฺเท อหํ (ราชปุริเสน) ตํทิวสํ พนฺธิตฺวา นียมาโน โจรปปาเต อธิวตฺถาย เทวตาย พลิกมฺมํ
ปฏิสฺสุณิตฺวา ชีวิตํ ลภึ.
ดููก่่อนนางผู้้�เจริิญ อ.เรา ผู้้�อัันราชบุุรุุษ มััดแล้้ว นำำ�ไปอยู่่� ในวัันนั้้�น บนบานแล้้ว
ซึ่งพลีกรรม ต่อเทวดา ผู้อยู่อาศัยแล้ว ที่เหวเป็นที่ยังโจรให้ตกไป ได้แล้ว ซึ่งชีวิต ฯ
ภทฺเท อาลปนะ อหํ สุทธกัตตาใน ลภึๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ราชปุริเสน อนภิหิต-
กัตตาใน นียมาโน ตํทิวสํ ทุติยากาลสัตตมีใน พนฺธิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นียมาโนๆ
อัพภันตรกิริยาของ อหํ โจรปปาเต วิสยาธาระใน อธิวตฺถายๆ วิเสสนะของ เทวตายๆ
120 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

สัมปทานใน ปฏิสฺสุณิตฺวา พลิกมฺมํ อวุตตกัมมะใน ปฏิสฺสุณิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ลภึ


ชีวิตํ อวุตตกัมมะใน ลภึ ฯ

= วิเสสนะ-กัมมรูป-มาน ปัจจัย
โทสํ ทสฺเสตฺวา โอวทิยมาเนนปิ น กุชฺฌิตพฺพํ. (๔/๑/๓)
(ปเรน ปุคฺคเลน) โทสํ ทสฺเสตฺวา โอวทิยมาเนนปิ (ปุคฺคเลน) น กุชฺฌิตพฺพํ.
(อันบุคคล) แม้ผู้- (อันบุคคล อื่น) แสดงแล้ว ซึ่งโทษ -กล่าวสอนอยู่ ไม่พึงโกรธ ฯ
ปเรน วิเสสนะของ ปุคฺคเลนๆ อนภิหิตกัตตาใน กุชฺฌิตพฺพํๆ กิตบทภาววาจก โทสํ
อวุตตกัมมะใน ทสฺเสตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน โอวทิยมาเนน อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ
โอวทิยมาเนนๆ วิเสสนะของ ปุคฺคเลน นศัพท์ ปฏิเสธะใน กุชฺฌิตพฺพํ ฯ

= อุปมาวิเสสนะ-กัมมรูป-มาน ปัจจัย
สา กิร ปทุมุตฺตรพุทฺธกาเล ปทุมุตฺตรสตฺถารา เอกํ วินยธรตฺเถรึ พาหาย คเหตฺวา
นนฺทนวเน วิย เอตทคฺเค ปิยมานํ ทิสฺวา “อหํปิ ตุมฺหาทิสสฺส พุทฺธสฺส สนฺติเก วินยธรตฺ-
เถรีนํ อคฺคฏฺานํ ลเภยฺยนฺ”ติ อธิการํ กตฺวา ปตฺถนํ เปสิ. (๔/๑๒/๑๓๙)
สา (ปฏาจารา) กิร ปทุมุตฺตรพุทฺธกาเล ปทุมุตฺตรสตฺถารา เอกํ วินยธรตฺเถรึ (สกฺเกน)
พาหาย คเหตฺวา นนฺทนวเน (ปิยมานํ) วิย เอตทคฺเค ปิยมานํ ทิสฺวา “อหํปิ ตุมฺหาทิสสฺส พุทฺธสฺส
สนฺติเก วินยธรตฺเถรีนํ อคฺคฏฺานํ ลเภยฺยนฺ”ติ อธิการํ กตฺวา ปตฺถนํ เปสิ.
ได้ยินว่า ในสมัยแห่งพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตตระ (อ.นางปฏาจารา) นั้น เห็น
แล้ว ซึ่งพระเถรีผู้ทรงไว้ซึ่งพระวินัย รูปหนึ่ง ผู้- อันพระศาสดาพระนามว่าปทุมุตตระ -ทรงตั้ง
ไว้อยู่ ในเอตทัคคะ ผู้ราวกะว่า (อันท้าวสักกะ) ทรงจับแล้ว ที่แขน (-ทรงตั้งไว้อยู่) ในสวนชื่อ
ว่านันทวัน ตั้งไว้แล้ว ซึ่งความปรารถนา ว่า “แม้ อ.หม่อมฉัน พึงได้ ซึ่งต�ำแห่งอันเลิศ กว่าพระ
เถรีผู้ทรงไว้ซึ่งพระวินัย ท. ในส�ำนัก ของพระพุทธเจ้า ผู้เช่นกับด้วยพระองค์” ดังนี้ กระท�ำ ให้
เป็นอธิการ ฯ
กิรศัพท์ อนุสสวนัตถะ สา วิเสสนะของ ปฏาจาราๆ สุทธกัตตาใน เปสิๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก ปทุมุตฺตรพุทฺธกาเล กาลสัตตมีใน เปสิ ปทุมุตฺตรสตฺถารา อนภิหิตกัตตาใน
ปิยมานํ เอกํ วิเสสนะของ วินยธรตฺเถรึๆ อวุตตกัมมะใน ปิยมานํ สกฺเกน อุปมาอนภิหิต-
กัตตาใน ปิยมานํ พาหาย วิสยาธาระใน คเหตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน ปิยมานํ เอตทคฺเค
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 121

วิสยาธาระใน ปิยมานํๆ อุปมาวิเสสนะของ วินยตฺธรเถรึ วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ


สกฺเกน พาหาย คเหตฺวา นนฺทนวเน ปิยมานํ, เอตทคฺเค วิสยาธาระใน ปิยมานํๆ
วิิเสสนะของ วิินยตฺฺธรเถรึึ ทิิสฺฺวา ปุุพพกาลกิิริิยาใน เปสิิ “อปิิศััพท์์ อเปกขััตถะเข้้ากัับ อหํํๆ
สุุทธกััตตาใน ลเภยฺฺยํํๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก ตุุมฺฺหาทิิสสฺฺส วิิเสสนะของ พุุทฺฺธสฺฺสๆ สามีี-
สััมพัันธะใน สนฺฺติิเกๆ วิิสยาธาระใน ลเภยฺฺยํํ วิินยธรตฺฺเถรีีนํํ ฉััฏฐีีอปาทานใน อคฺฺคฏฺฺานํํๆ
อวุตตกัมมะใน ลเภยฺยํ” อิติศัพท์ สรูปะใน ปตฺถนํ อธิการํ วิกติกัมมะใน กตฺวาๆ กิริยาวิเสสนะ
ใน เปสิ ปตฺถนํ อวุตตกัมมะใน เปสิ ฯ

= วิเสสนะ-กัมมรูป-ต ปัจจัย
“โอทปตฺตกินี”ติ อุภินฺนํ เอกิสฺสา อุทกปาฏิยา หตฺเถ โอตาเรตฺวา “อิทํ อุทกํ วิย
สํสฏฺา อเภชฺชา โหถา”ติ วตฺวา ปริคฺคหิตาเยตํ นามํ. (มงฺคลฺตถทีปนี ๑/๓๘๓/๓๕๐)
“โอทปตฺตกินี”ติ (ญาตีหิ) อุภินฺนํ (ชนานํ) เอกิสฺสา อุทกปาฏิยา หตฺเถ โอตาเรตฺวา
“(ตุมฺเห) อิทํ อุทกํ วิย สํสฏฺา อเภชฺชา โหถา”ติ วตฺวา ปริคฺคหิตาย (อิตฺถิยา) เอตํ (วจนํ) นามํ
(โหติ).
อ.คำำ� นั่่�น ว่่า “โอทปตฺฺตกิินีี” ดัังนี้้� เป็็นชื่่�อ (ของหญิิง) ผู้้�- อัันญาติิ ท. ยัังมืือ ท. ของชน
ท. ทั้้�งสอง ให้้จุ่่�มลง ในถาดแห่่งน้ำำ�� ถาดเดีียวกััน แล้้วจึึงกล่่าว ว่่า “อ.เธอ ท. เป็็นผู้้�ปรองดอง
กัันแล้้ว เป็็นผู้้�อัันบุุคคลไม่่อาจทำำ�ลาย[ให้้แตกกััน] ราวกะ อ.น้ำำ��นี้้� จงเป็็น” แล้้วจึึง -กำำ�หนดถืือ
เอาแล้้ว ย่่อมเป็็น ฯ
“โอทปตฺตกินี” สรูปะใน เอตํ วจนํ เอตํ วิเสสนะของ วจนํๆ สุทธกัตตาใน โหติๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก ญาตีหิ อนภิหิตกัตตาใน ปริคฺคหิตาย อุภินฺนํ วิเสสนะของ ชนานํๆ
สามีสัมพันธะใน หตฺเถ เอกิสฺสา วิเสสนะของ อุทกปาฏิยาๆ วิสยาธาระใน โอตาเรตฺวา หตฺเถ
การิตกัมมะใน โอตาเรตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วตฺวา “ตุมฺเห สุทธกัตตาใน โหถๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก อิทํ วิเสสนะของ อุทกํๆ อุปมาลิงคัตถะ วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ อิทํ อุทกํ
สํสฏฺฐา ก็ดี อเภชฺชา ก็ดี วิกติกัตตาใน โหถ” อิติศัพท์ อาการะใน วตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
ปริคฺคหิตายๆ วิเสสนะของ อิตฺถิยาๆ สามีสัมพันธะใน นามํๆ วิกติกัตตาใน โหติ ฯ
122 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

= วิเสสนะ-กัมมรูป-ต ปัจจัยในสมาส
สมฺภตนฺติ กสิวณิชฺชาทีนิ กตฺวา อาภตธน พาหิรโต อนฺโตเคหํ ปเวสิต-
ธนนฺตฺยตฺโถ. (มงฺคลฺตถทีปนี ๑/๓๘๙/๓๕๔)
“สมฺฺภตนฺฺติิ (ปทสฺฺส) “(สามิิเกน) กสิิวณิิชฺฺชาทีีนิิ (กมฺฺมานิิ) กตฺฺวา อาภตธน (สามิิเกน)
พาหิรโต อนฺโตเคหํ ปเวสิตธนนฺติ อตฺโถ.
อ.อรรถ ว่่า อ.ทรััพย์์อััน- (อัันสามีี) กระทำำ� (ซึ่่�งการงาน ท.) มีีการไถและการค้้าเป็็นต้้น
แล้้วจึึง -นำำ�มาแล้้ว คืือว่่า อ.ทรััพย์์อััน- (อัันสามีี) -ให้้เข้้าไปแล้้ว สู่่�ภายในแห่่งเรืือน จาก
ภายนอก ดัังนี้้� (แห่่งบท) ว่่า “สมฺฺภตํํ” ดัังนี้้� ฯ
“สมฺฺภตํํ” สรููปะใน อิิติๆิ ศััพท์์ สรููปะใน ปทสฺฺสๆ สามีีสัมพั ั นั ธะใน อตฺฺโถ “สามิิเกน
อนภิิหิติ กััตตาใน อาภต- กสิิกวณิิชฺฺชาทีีนิิ วิิเสสนะของ กมฺฺมานิิๆ อวุุตตกััมมะใน กตฺฺวาๆ
ปุุพพกาลกิิริยิ าใน อาภต- อาภตธนํํๆ ลิิงคััตถะ สามิิเกน อนภิิหิติ กััตตาใน ปเวสิิต-
พาหิิรโต อปาทานใน ปเวสิิต- อนฺฺ โตเคหํํ สััมปาปุุณียกั ี มม
ั ะใน ปเวสิิต- ปเวสิิตธนํํ ลิิงคััตถะ
กสิิวณิิชฺฺชาทีีนิิ กตฺฺวา อาภตธนํํ วิิวิริิ ยิ ะใน พาหิิรโต อนฺฺ โตเคหํํ ปเวสิิตธนํํๆ วิิวรณะ” อิิติศัิ พั ท์์
สรููปะใน อตฺฺโถๆ ลิิงคััตถะ ฯ

= วิเสสนะ-กัมมรูป-ต ปัจจัย วางพิเศษ


ตสฺมึ สมเย พนฺธุลกุมาโร สฏฺ
ี เวฬู คเหตฺวา มชฺเฌ อยสลากํ ปกฺขิปิตฺวา
สฏฺกิ ลาเป อุสฺสาเปตฺวา ปิเต, มลฺลราชกุเลหิ “อิเม กปฺเปตู”ติ วุตฺเต, อสีติหตฺถํ อากาสํ
อุลฺลงฺฆิตฺวา อสินา กปฺเปนฺโต อคมาสิ. (๓/๓/๕-๖)
ตสฺมึ สมเย พนฺธุลกุมาโร (มลฺลราชกุเลหิ) สฏฺ ี เวฬู คเหตฺวา มชฺเฌ อยสลากํ ปกฺขิปิตฺวา
สฏฺกิ ลาเป (ปุคฺคลํ) อุสฺสาเปตฺวา ปิเต, มลฺลราชกุเลหิ “(พนฺธุโล) อิเม (สฏฺกิ ลาเป) กปฺเปตู”ติ
(วจเน) วุตฺเต, อสีติหตฺถํ อากาสํ อุลฺลงฺฆิตฺวา อสินา กปฺเปนฺโต อคมาสิ.
ในสมัยนั้น อ.พระกุมารพระนามว่าพันธุละ, ครั้นเมื่อพระด�ำรัส ว่า “อ.เจ้าพันธุละ จง
ฟัน ซึ่งมัดหกสิบ ท. เหล่านี้” ดังนี้ อันตระกูลแห่งเจ้ามัลละ ท. ตรัสแล้ว, ทรงกระโดดขึ้นแล้ว
สู่อากาศ มีศอกแปดสิบเป็นประมาณ ทรงฟันอยู่ ซึ่งมัดหกสิบ ท. อัน- อันตระกูลแห่งเจ้ามัลละ
ท. ทรงถือเอา ซึ่งไม้ไผ่ ท. หกสิบ แล้วจึง ใส่เข้า ซึ่งซี่อันมีวิการแห่งเหล็ก ในท่ามกลาง แล้วจึง
ยังบุคคล ให้ยกขึ้น แล้วจึง -ตั้งไว้ ด้วยดาบ ได้เสด็จไปแล้ว ฯ
ตสฺมึ วิเสสนะของ สมเยๆ กาลสัตตมีใน อคมาสิ พนฺธุลกุมาโร สุทธกัตตาใน อคมาสิๆ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 123

อาขยาตบทกัตตุวาจก มลฺลราชกุเลหิ อนภิหิตกัตตาใน ฐปิเต สฏฺฐี วิเสสนะของ เวฬูๆ


อวุตตกัมมะใน คเหตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปกฺขิปิตฺวา มชฺเฌ วิสยาธาระใน ปกฺขิปิตฺวา
อยสลากํ อวุตตกัมมะใน ปกฺขิปิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อุสฺสาเปตฺวา สฏฺฐิกลาเป อวุตตกัมมะ
ใน กปฺฺเปนฺฺโต ปุุคฺฺคลํํ การิิตกััมมะใน อุุสฺฺสาเปตฺฺวาๆ สมานกาลกิิริิยาใน ฐปิิเตๆ วิิเสสนะ
ของ สฏฺฺฐิิกลาเป, มลฺฺลราชกุุเลหิิ อนภิิหิิตกััตตาใน วุุตฺฺเต “พนฺฺ ธุโุ ล สุุทธกััตตาใน กปฺฺเปตุุๆ
อาขยาต-บทกััตตุุวาจก อิิเม วิิเสสนะของ สฏฺฺฐิิกลาเปๆ อวุุตตกััมมะใน กปฺฺเปตุุ” อิิติศัิ พั ท์์ ส
รููปะใน วจเนๆ ลัักขณะใน วุุตฺฺเตๆ ลัักขณกิิริยิ า, อสีีติหิ ตฺฺถํํ วิิเสสนะของ อากาสํํๆ สััมปาปุุณีี
ยกััมมะใน อุุลฺฺลงฺฺฆิตฺิ ฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริยิ าใน กปฺฺเปนฺฺ โต อสิินา กรณะใน กปฺฺเปนฺฺ โตๆ อััพภัันต
รกิิริยิ าของ พนฺฺ ธุุลกุุมาโร ฯ

= อัพภันตรกิริยา-เหตุกัมมรูป-มาน ปัจจัย วางพิเศษ


ราชคเห กิเรกา เสฏฺฐิธีตา วยปฺปตฺตา สตฺตภูมิกสฺส ปาสาทสฺส อุปริคพฺเภ
อารกฺขณตฺถาย เอกํ ปริจาริกํ ทตฺวา มาตาปิตูหิ วาสิยมานา... เปเสสิ. (๕/๘/๒๒)
ได้้ยิินว่่า อ.ธิิดาของเศรษฐีี คนหนึ่่�ง ในเมืืองราชคฤห์์ ผู้้�ถึึงแล้้วซึ่่�งวััย ผู้้�- อัันมารดาและ
บิิดา ท. ให้้แล้้ว ซึ่่�งหญิิงรัับใช้้ คนหนึ่่�ง เพื่่�อประโยชน์์แก่่การอารัักขา -ให้้อยู่่�อยู่่� ในห้้องในเบื้้�อง
บน ของปราสาท อัันประกอบแล้้วด้้วยชั้้�นเจ็็ด... ส่่งไปแล้้ว ฯ
กิรศัพท์ อนุสสวนัตถะ เอกา วิเสสนะของ เสฏฺฐิธีตาๆ สุทธกัตตาใน เปเสสิๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก ราชคเห วิสยาธาระใน เสฏฺฐิธีตา วยปฺปตฺตา วิเสสนะของ เสฏฺฐิธีตา สตฺต-
ภูมิกสฺส วิเสสนะของ ปาสาทสฺสๆ สามีสัมพันธะใน อุปริคพฺเภๆ วิสยาธาระใน วาสิยมานา
อารกฺขณตฺถาย สัมปทานใน ทตฺวา เอกํ วิเสสนะของ ปริจาริกํๆ อวุตตกัมมะใน ทตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน วาสิยมานา มาตาปิตูหิ อนภิหิตกัตตาใน วาสิยมานาๆ อัพภันตรกิริยาของ
เสฏฺฐิธีตา ฯ

= วิเสสนะ-เหตุกัมมรูป-ต ปัจจัย
ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก อนุปุพฺเพน คนฺตฺวา อนาถปิณฺฑิก-
มหาเสฏฺนิ า จตุปฺปญฺาสโกฏิธนํ วิสฺสชฺเชตฺวา การิเต เชตวนมหาวิหาเร วิหรติ มหาชนํ
สคฺคมคฺเค จ โมกฺขมคฺเค จ ปติฏฺาปยมาโน. (๑/๑/๔)
ในสมััยนั้้�น อ.พระศาสดา ผู้้�มีีจัักรคืือธรรมอัันประเสริิฐอัันทรงให้้เป็็นไปทั่่�วแล้้ว เสด็็จ
124 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ไปแล้้ว ตามลำำ�ดัับ ทรงประทัับอยู่่� ในมหาวิิหารชื่่�อว่่าเชตวััน อััน- อัันมหาเศรษฐีีชื่่�อว่่าอนาถ-


บิิณฑิิกะ สละแล้้ว ซึ่่�งทรััพย์์มีีโกฏิิ ๕๔ เป็็นประมาณ ยัังบุุคคล -ให้้สร้้างแล้้ว ทรงยัังมหาชน
ให้้ตั้้�งเฉพาะอยู่่� ในทางแห่่งสวรรค์์ ด้้วย ในทางแห่่งพระนิิพพาน ด้้วย ฯ
ตสฺมึ วิเสสนะของ สมเยๆ กาลสัตตมีใน วิหรติ สตฺถา สุทธกัตตาใน วิหรติๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก วิเสสนะของ สตฺถา อนุปุพฺเพน ตติยาวิเสสนะใน
คนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วิหรติ อนาถปิณฺฑิกมหาเสฏฺฐินา อนภิหิตกัตตาใน การิเต
จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ อวุตตกัมมะใน วิสฺสชฺเชตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน การิเตๆ วิเสสนะของ
เชตวนมหาวิหาเรๆ วิสยาธาระใน วิหรติ มหาชนํ การิตกัมมะใน ปติฏฺฐาปยมาโน สคฺคมคฺเค
ก็ดี โมกฺขมคฺเค ก็ดี วิสยาธาระใน ปติฏฺฐาปยมาโน จ สองศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ
สคฺคมคฺเค และ โมกฺขมคฺเค ปติฏฺฐาปยมาโน อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา ฯ

= วิกติกัตตา-กัมมรูป-ตพฺพ ปัจจัย
นนุ นาม ปมาณํ สลฺลกฺเขตฺวา “เอตฺตกนฺนาม อาหรถา”ติ าตกา จ อุปฏฺากา
จ วตฺตพฺพา สิยุํ. (๔/๔/๖๒)
นนุ นาม (เถเรน) ปมาณํ สลฺลกฺเขตฺวา “(ตุมฺเห) เอตฺตกํ นาม (วตฺถุํ) อาหรถา”ติ าตกา
จ อุปฏฺากา จ วตฺตพฺพา สิยุํ.
อ.ญาติิ ท. ด้้วย อ.อุุปััฏฐาก ท. ด้้วย เป็็นผู้้�- อัันพระเถระ พึึง กำำ�หนด ซึ่่�งประมาณ -แล้้ว
จึึง -กล่่าว ว่่า “อ.เธอ ท. จงนำำ�มา ซึ่่�งวััตถุุ ชื่่�อมีีประมาณเท่่านี้้�” ดัังนี้้� พึึงเป็็น ชื่่�อมิิใช่่หรืือ?
ญาตกา ก็ดี อุปฏฺฐากา ก็ดี สุทธกัตตาใน สิยุํๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นนุ นาม
ศัพท์ ปุจฉนัตถะ เถเรน อนภิหิตกัตตาใน วตฺตพฺพา ปมาณํ อวุตตกัมมะใน สลฺลกฺเขตฺวาๆ
ปุุพพกาลกิิริิยาใน วตฺฺตพฺฺพา “ตุุมฺฺเห สุุทธกััตตาใน อาหรถๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก นามศััพท์์
สััญญาโชตกะเข้้ากัับ เอตฺฺตกํํๆ วิิเสสนะของ วตฺฺถุํํ�ๆ อวุุตตกััมมะใน อาหรถ” อิิติิศััพท์์ อาการะใน
วตฺฺตพฺฺพา จ สองศััพท์์ ปทสมุุจจยััตถะเข้้ากัับ ญาตกา และ อุุปฏฺฺฐากา วตฺฺตพฺฺพา วิิกติิกััตตา
ใน สิยุํ ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 125

= วิเสสนะ, วิกติกัตตา-กัมมรูป-ตพฺพ ปัจจัย


เคเห เอว ตฺวา วิจาเรตพฺพมฺปิ หิ กสิวณิชฺชาทิกมมํ กุลิตฺถิยา ภาโร น โหติ.
สามิกสฺเสว ภาโร. ตโต อาภตํ สาปเตยฺยมฺปน ตาย สุคุตฺตํ กตฺวา เปตพฺพํ โหติ.
(มงฺคลตฺถทีปนี ๑/๓๘๖/๓๕๒)
(สามิเกน) เคเห เอว ตฺวา วิจาเรตพฺพมฺปิ หิ กสิวณิชฺชาทิกมมํ กุลิตฺถิยา ภาโร น โหติ.
(ตํ กมฺมํ) สามิกสฺส เอว ภาโร (โหติ). (สามิเกน) ตโต (กมฺมโต) อาภตํ สาปเตยฺยํ ปน ตาย
(ภริยาย อตฺตนา) สุคุตฺตํ กตฺวา เปตพฺพํ โหติ.
ก็ อ.การงาน มีการไถและการค้าเป็นต้น แม้อัน- อันสามี พึง ยืน -จัดแจง ในเรือน นั่น
เทียว เป็นภาระ ของกุลสตรี ย่อมเป็น หามิได้. อ.การงาน นั้น เป็นภาระ ของสามีนั่นเทียว
ย่อมเป็น. ส่วนว่า อ.สมบัติ อัน- อันสามี -น�ำมาแล้ว จากการงาน นั้น เป็นสมบัติอัน- อันภรรยา
นั้น พึงกระท�ำ ให้เป็นสมบัติ อันอันตน รักษาดีแล้ว แล้วจึง -เก็บไว้ ย่อมเป็น ฯ
หิศัพท์ วากยารัมภโชกตะ อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ วิจาเรตพฺพํๆ วิเสสนะของ
กสิวณิชฺชาทิกมฺมํๆ สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก สามิเกน อนภิหิตกัตตาใน
วิจาเรตพฺพํ เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ เคเหๆ วิสยาธาระใน ฐตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน
วิจาเรตพฺพํ กุลิตฺถิยา สามีสัมพันธะใน ภาโรๆ วิกติกัตตาใน โหติ นศัพท์ ปฏิเสธนัตถะ, ตํ
วิเสสนะของ กมฺมํๆ สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ
สามิกสฺสๆ สามีสัมพันธะใน ภาโรๆ วิกติกัตตาใน โหติ, ปนศัพท์ ปักขันตรโชตกะ อาภตํ
วิเสสนะของ สาปเตยฺยํๆ สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก สามิเกน อนภิหิตกัตตา
ใน อาภตํ ตโต วิเสสนะของ กมฺมโตๆ อปาทานใน อาภตํ ตาย วิเสสนะของ ภริยายๆ
อนภิหิตกัตตาใน ฐเปตพฺพํ อตฺตนา อนภิหิตกัตตาใน สุคุตฺตํๆ วิกติกัมมะใน กตฺวาๆ กิริยา-
วิเสสนะใน ฐเปตพฺพํๆ วิกติกัตตาใน โหติ ฯ

= วิกติกัตตา-กัมมรูป-ตพฺพ ปัจจัย
พุทฺธานํ หิ มชฺฌิมฏฺาเน อาสนํ ปญฺาเปตฺวา ตสฺส ทกฺขิณโต สารีปุตฺตตฺเถรสฺส
วามโต มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ตโต ปฏฺาย อุโภสุ ปสฺเสสุ ภิกฺขุสงฺฆสฺส อาสนํ
ปญฺาเปตพฺพํ โหติ. (๑/๖/๖๕)
(ปุคฺคเลน) พุทฺธานํ หิ มชฺฌิมฏฺาเน อาสนํ ปญฺาเปตฺวา ตสฺส (อาสนสฺส) ทกฺขิณโต
สารีปุตฺตตฺเถรสฺส วามโต มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส ตโต (อาสนโต) ปฏฺาย อุโภสุ ปสฺเสสุ ภิกฺขุสงฺฆสฺส
126 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อาสนํ ปญฺาเปตพฺพํ โหติ. (๑/๖/๖๕).


แปล (ตพฺพ ปัจจัย ใน กัมมสาธนะ): ก็ อ.อาสนะ เป็นอาสนะอัน- อันบุคคล พึง
ปูลาด ซึ่งอาสนะ ในที่อันมีในท่ามกลาง เพื่อพระพุทธเจ้า ท. แล้วจึง ปูลาด ซึ่งอาสนะ ในเบื้อง
ขวา แห่งอาสนะ นั้น เพื่อพระสารีบุตรผู้เถระ แล้วจึง ปูลาด ซึ่งอาสนะ ในเบื้องซ้าย เพื่อพระ-
โมคคัลลานะผู้เถระ แล้วจึง -ปูลาด ในข้าง ท. ทั้งสอง จ�ำเดิม จากอาสนะ นั้น เพื่อหมู่แห่งภิกษุ
ย่อมเป็น ฯ
หิศัพท์ วากยารัมภโชตกะ อาสนํ สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
ปุคฺคเลน อนภิหิตกัตตาใน ปญฺญาเปตพฺพํ พุทฺธานํ สัมปทานใน ปญฺญาเปตฺวา มชฺฌิมฏฺฐาเน
วิสยาธาระใน ปญฺญาเปตฺวา อาสนํ อวุตตกัมมะใน ปญฺญาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
ปญฺญาเปตพฺพํ อสฺส วิเสสนะของ อาสนสฺสๆ สามีสัมพันธะใน ทกฺขิณโตๆ วิสยาธาระ
ใน ปญฺญาเปตพฺพํ สารีปุตฺตตฺเถรสฺส สัมปทานใน ปญฺญาเปตพฺพํ วามโต วิสยาธาระใน
ปญฺญาเปตพฺพํ มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรสฺส สัมปทานใน ปญฺญาเปตพฺพํ ตโต วิเสสนะของ
อาสนโตๆ อปาทานใน ปฏฺฐายๆ กิริยาวิเสสนะใน ปญฺญาเปตพฺพํ อุโภสุ วิเสสนะของ
ปสฺเสสุๆ วิสยาธาระใน ปญฺญาเปตพฺพํ ภิกฺขุสงฺฆสฺส สัมปทานใน ปญฺญาเปตพฺพํๆ วิกติกัมมะ
ใน โหติ ฯ

กรณีที่ 2 วิเสสนะ วิกติกัตตา หรือ อุปมาอัพภันตรกิริยา - กัตตุรูป/เหตุกัตตุรูป


ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง
2a วิเสสยะ ตฺวา - วิเสสนะ ที่เป็นกัตตุรูป
เป็นต้น (อกัมมกธาตุ+ต, ธาตุ+วิกรณ+อนฺต/มาน)
- วิเสสนะ ที่เป็นเหตุกัตตุรูป
(ธาตุ+การิต+อนฺต/มาน)

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-ต ปัจจัย
สา, อุฏฺเิ ต อรุเณ, มํสเปสิวณฺณํ เอกํ ปุตฺตํ องฺเกนาทาย อิตรํ องฺคุลิยา คเหตฺวา
“เอหิ ตาต, ปิตา เต อิโต คโต”ติ วตฺวา สามิกสฺส คตมคฺเคน คจฺฉนฺตี ตํ วมฺมิกมตฺถเก
กาลํ กตฺวา ปติตํ นีลวณฺณํ ถทฺธสรีรํ ทิสฺวา “มํ นิสฺสาย มม สามิโก ปนฺเถ มโต”ติ
โรทนฺตี ปริเทวนฺตี ปายาสิ. (๔/๑๒/๑๓๗)
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 127

สา (ปฏาจารา), อุฏฺเิ ต อรุเณ, มํสเปสิวณฺณํ เอกํ ปุตฺตํ องฺเกน อาทาย อิตรํ (ปุตฺตํ) องฺคุลิยา
คเหตฺวา “(ตฺวํ) เอหิ ตาต, ปิตา เต อิโต (ปสฺสโต) คโต”ติ วตฺวา สามิกสฺส คตมคฺเคน คจฺฉนฺตี ตํ
(สามิกํ) วมฺมิกมตฺถเก กาลํ กตฺวา ปติตํ นีลวณฺณํ ถทฺธสรีรํ ทิสฺวา “มํ นิสฺสาย มม สามิโก ปนฺเถ
มโต”ติ โรทนฺตี ปริเทวนฺตี ปายาสิ.
แปล: อ.นางปฏาจารา นั้้�น, ครั้้�นเมื่่�ออรุุณ ขึ้้�นแล้้ว, อุ้้�มเอาแล้้ว ซึ่่�งบุุตร คนหนึ่่�ง ผู้้�มีีสีี
เพีียงดัังสีีแห่่งชิ้้�นเนื้้�อ ด้้วยสะเอว จููงแล้้ว ซึ่่�งบุุตร นอกนี้้� ด้้วยนิ้้�วมืือ กล่่าวว่่า “แน่่ะพ่่อ อ.เจ้้า
จงมา, อ.บิิดา ของเจ้้า ไปแล้้ว ทางข้้าง นี้้�” ดัังนี้้� ไปอยู่่� ในหนทางเป็็นที่่�ไป ของสามีี เห็็นแล้้ว
ซึ่่�งสามีี นั้้�น ผู้้�- กระทำำ�แล้้ว ซึ่่�งกาละ -ล้้มลงแล้้ว บนยอดแห่่งจอมปลวก ผู้้�มีีสีีเขีียว ผู้้�มีีสรีีระ
กระด้้าง ร้้องไห้้อยู่่� คร่ำ���ครวญอยู่่� ว่่า “อ.สามีี ของเรา ตายแล้้ว ในหนทางเปลี่่�ยว เพราะอาศััย
ซึ่่�งเรา” ดัังนี้้� เริ่่�มดำำ�เนิินไปแล้้ว ฯ
สา วิเสสนะของ ปฏาจาราๆ สุทธกัตตาใน ปายาสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก, อรุเณ
ลักขณะใน อุฏฺฐิเตๆ ลักขณกิริยา, มํสเปสิวณฺณํ ก็ดี เอกํ วิเสสนะของ ปุตฺตํๆ อวุตตกัมมะ
ใน อาทาย องฺเกน กรณะใน อาทายๆ สมานกาลกิริยาใน คเหตฺวา อิตรํ วิเสสนะของ ปุตฺตํๆ
อวุตตกัมมะใน คเหตฺวา องฺคุลิยา กรณะใน คเหตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วตฺวา “ตาต อาลปนะ
ตฺวํ สุทธกัตตาใน เอหิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก, ปิตา สุทธกัตตาใน คโตๆ กิตบทกัตตุวาจก
เต สามีสัมพันธะใน ปิตา อิโต วิเสสนะของ ปสฺสโตๆ ตติยาวิเสสนะใน คโต” อิติศัพท์ อาการะ
ใน วตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน คจฺฉนฺตี สามิกสฺส สามีสัมพันธะใน คตมคฺเคนๆ ตติยาวิเสสนะ
ใน คจฺฉนฺตีๆ อัพภันตรกิริยาของ ปฏาจารา ตํ วิเสสนะของ สามิกํๆ อวุตตกัมมะใน ทิสฺวา
วมฺมิกมตฺถเก วิสยาธาระใน กตฺวา กาลํ อวุตตกัมมะใน กตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน ปติตํๆ ก็ดี
นีลวณฺณํ ก็ดี วิเสสนะของ ถทฺธสรีรํๆ อวุตตกัมมะใน ทิสฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน โรทนฺตี
ปริเทวนฺตี “สามิโก สุทธกัตตาใน มโตๆ กิตบทกัตตุวาจก มํ อวุตตกัมมะใน นิสฺสายๆ เหตุ
ใน มโต ปนฺเถ วิสยาธาระใน มโต” อิติศัพท์ อาการะใน โรทนฺตี และ ปริเทวนฺตี โรทนฺตี ก็ดี
ปริเทวนฺตี ก็ดี อัพภันตรกิริยาของ ปฏาจารา ฯ

= วิเสสนะในสมาส-กัตตุรูป-ต ปัจจัย
โส อุฏฺาย อกฺขีนิ ปุญฺฉิตฺวา อวิคตนิทฺโท วรุณรุกฺขํ อารุยฺห อตฺตโน อภิมุขํ สาขํ
อากฑฺฒิตฺวา ภญฺชนฺโต ภิชฺชิตฺวา อุฏฺติ โกฏิยา อกฺขีนิ ภินฺทาเปตฺวา เอเกน หตฺเถน ตํ
ปิธาย เอเกน หตฺเถน อลฺลทารูนิ คเหตฺวา รุกฺขโต โอรุยฺห เวเคน คามํ อคมาสิ. (มงฺคลตฺถ-
128 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ทีปนี ๑/๔๐๘/๓๖๖)
โส (มาณโว) อุฏฺาย อกฺขีนิ ปุญฺฉิตฺวา อวิคตนิทฺโท (หุตฺวา) วรุณรุกฺขํ อารุยฺห อตฺตโน
อภิมุขํ สาขํ อากฑฺฒิตฺวา ภญฺชนฺโต (ตํ สาขํ) ภิชฺชิตฺวา อุฏฺติ โกฏิยา อกฺขีนิ ภินฺทาเปตฺวา เอเกน
หตฺเถน ตํ (อกฺขึ) ปิธาย เอเกน หตฺเถน อลฺลทารูนิ คเหตฺวา รุกฺขโต โอรุยฺห เวเคน คามํ อคมาสิ.
แปล: อ.มาณพนั้น ลุกขึ้นแล้ว เช็ดแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. เป็นผู้มีการหลับอันไม่ไปปราศ
แล้ว เป็น ขึ้นแล้ว สู่ต้นกุ่ม ดึงแล้ว ซึ่งกิ่งไม้ อันมีหน้าเฉพาะ ของตน หักอยู่ ยังกิ่งไม้นั้น ให้
ท�ำลายแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ด้วยปลาย อันหักแล้ว ตั้งขึ้นแล้ว ปิดแล้ว ซึ่งนัยน์ตา นั้น ด้วยมือ
ข้างหนึ่ง หอบแล้ว ซึ่งฟืนเปียก ท. ด้วยมือ ข้างหนึ่ง ลงแล้ว จากต้นไม้ ได้ไปแล้ว สู่หมู่บ้าน
โดยเร็ว ฯ
โส วิเสสนะของ มาณโวๆ สุทธกัตตาใน อคมาสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อุฏฺฐาย
ปุพพกาลกิริยาใน ปุญฺฉิตฺวา อกฺขีนิ อวุตตกัมมะใน ปุญฺฉิตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน อวิคต-
อวิคตนิทฺโท วิกติกัตตาใน หุตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน อารุยฺห วรุณรุกฺขํ สัมปาปุณียกัมมะ
ใน อารุยฺหๆ ปุพพกาลกิริยาใน อากฑฺฒิตฺวา อตฺตโน สามีสัมพันธะใน อภิมุขํๆ วิเสสนะ
ของ สาขํๆ อวุตตกัมมะใน อากฑฺฒิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ภญฺชนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ
มาณโว ตํ วิเสสนะของ สาขํๆ การิตกัมมะใน ภินฺทาเปตฺวา ภิชฺชิตฺวา ปุพพกาลกิริยาใน
อุฏฺฐิตโกฏิยาๆ กรณะใน ภินฺทาเปตฺวา อกฺขีนิ อวุตตกัมมะใน ภินฺทาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยา
ใน ปิธาย เอเกน วิเสสนะของ หตฺเถนๆ กรณะใน ปิธาย ตํ วิเสสนะของ อกฺขึๆ อวุตตกัมมะ
ใน ปิธายๆ สมานกาลกิริยาใน คเหตฺวา เอเกน วิเสสนะของ หตฺเถนๆ กรณะใน
อลฺลทารูนิๆ อวุตตกัมมะใน คเหตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน โอรุยฺหๆ รุกฺขโต อปาทานใน
โอรุยฺหๆ ปุพพกาลกิริยาใน อคมาสิ เวเคน ตติยาวิเสสนะใน อคมาสิ คามํ สัมปาปุณียกัมมะ
ใน อคมาสิ ฯ

= วิเสสนะของประธาน-กัตตุรูป-ต ปัจจัย
อยฺยา ปน ยโต ตโต นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชิตาปิ ขตฺติยา ว. (๔/๙/๑๒๒)
อยฺยา ปน ยโต (กุลโต) ตโต (กุลโต) นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชิตาปิ ขตฺติยา ว (โหนฺติ).
แปล: ส่วนว่า อ.พระคุณเจ้า ท. แม้ผู้- ออกแล้ว จากตระกูล ใด จากตระกูลนั้น -บวช
แล้ว เป็นกษัตริย์เทียว ย่อมเป็น ฯ
ปนศัพท์ ปักขันตรโชตกะ อยฺยา สุทธกัตตาใน โหนฺติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 129

ยโต วิเสสนะของ กุลโตๆ อปาทานใน นิกฺขมิตฺวา ตโต วิเสสนะของ กุลโตๆ อปาทานใน


นิกฺขมิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปพฺพชิตา อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ ปพฺพชิตาๆ วิเสสนะ
ของ อยฺยา เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ขตฺติยาๆ วิกติกัตตาใน โหนฺติ ฯ

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
โส ปุรโต คจฺฉนฺโต อุสุกาเร สรทณฺฑกํ อคฺคิมฺหิ ตาเปตฺวา อกฺขิโกฏิยา
โอโลเกตฺวา อุชุํ กโรนฺเต ทิสฺวา “ภนฺเต อิเม เก นามา”ติ ปุจฺฉิ. (๔/๕/๓๓-๓๔)
โส (สามเณโร) ปุรโต คจฺฉนฺโต อุสุกาเร สรทณฺฑกํ อคฺคิมฺหิ ตาเปตฺวา อกฺขิโกฏิยา
โอโลเกตฺวา อุชุํ กโรนฺเต ทิสฺวา “ภนฺเต อิเม (ชนา) เก นามา”ติ ปุจฺฉิ.
แปล: อ.สามเณร นั้้�น เมื่่�อไป ในที่่�ข้้างหน้้า เห็็นแล้้ว ซึ่่�งช่่างผู้้�กระทำำ�ซึ่่�งศร ท. ผู้้�- ยัังคััน
ของลููกศร ให้้ร้้อน ในไฟ แล้้วจึึง แลดูู ด้้วยปลายแห่่งตา แล้้วจึึง -กระทำำ�อยู่่� ให้้ตรง ถามแล้้ว ว่่า
“ข้้าแต่่ท่่านผู้้�เจริิญ อ.ชน ท. เหล่่านี้้� ชื่่�อว่่า อะไร” ดัังนี้้� ฯ
โส วิเสสนะของ สามเณโรๆ สุทธกัตตาใน ปุจฺฉิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ปุรโต
วิสยาธาระใน คจฺฉนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ สามเณโร อุสุกาเร อวุตตกัมมะใน ทิสฺวา
สรทณฺฑกํ การิตกัมมะใน ตาเปตฺวา อคฺคิมฺหิ วิสยาธาระใน ตาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
โอโลเกตฺฺวา อกฺฺขิิโกฏิิยา กรณะใน โอโลเกตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน กโรนฺฺเต อุุชุํํ� วิิกติิกััม
มะใน กโรนฺฺเตๆ วิิเสสนะของ อุุสุุกาเร ทิิสฺฺวา ปุุพพกาลกิิริิยาใน ปุุจฺฺฉิิ “ภนฺฺเต อาลปนะ อิิเม
วิิเสสนะของ ชนาๆ ลิิงคััตถะ นามศััพท์์ สััญญาโชตกะเข้้ากัับ เกๆ วิิเสสนะของ ชนา” อิิติิศััพท์์
อาการะใน ปุุจฺฺฉิิ ฯ

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
สุตฺเต ปน เอตฺตกเมว อาคตํ “อสฺโสสิ โข ภควา ทิพฺพาย โสตธาตุยา วิสุทฺธาย
อติกฺกนฺตมานุสิกาย สกฺกสฺส เทวานมินฺทสฺส เวหาสํ อพฺภุคฺคนฺตฺวา อากาเส อนฺตลิกฺเข
ติกฺขตฺตุํ อุทานํ อุทาเนนฺตสฺส
‘อโห ทานํ ปรมทานํ กสฺสเป สุปติฏฺติ ํ
อโห ทานํ ปรมทานํ กสฺสเป สุปติฏฺติ นฺ’ติ”. (๓/๑๐/๘๕)
สุตฺเต ปน เอตฺตกํ เอว (วจนํ) อาคตํ “อสฺโสสิ โข ภควา ทิพฺพาย โสตธาตุยา วิสุทฺธาย
อติกฺกนฺตมานุสิกาย สกฺกสฺส เทวานมินฺทสฺส (สทฺทํ) เวหาสํ อพฺภุคฺคนฺตฺวา อากาเส อนฺตลิกฺเข ติกฺขตฺตุํ
130 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อุทานํ อุทาเนนฺตสฺส
‘อโห ทานํ ปรมทานํ (มยา) กสฺสเป สุปติฏฺติ ํ
อโห ทานํ ปรมทานํ (มยา) กสฺสเป สุปติฏฺติ นฺ’ติ”.
แปล: ก็ (อ.ค�ำ) อันมีประมาณเท่านี้ นั่นเทียว ว่า “อ.พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ทรงสดับ
แล้ว แล (ซึ่งเสียง) ของท้าวสักกะ ผู้เป็นจอม แห่งเทพ ท. ผู้เสด็จเหาะขึ้น สู่เวหา แล้วจึงเปล่ง
อยู่ ซึ่งอุทาน สิ้นสามครั้ง ในอากาศ อันเป็นที่เห็นซึ่งรูปในระหว่าง ว่า
‘โอ อ.ทาน, อ.ทานอัันยิ่่�งใหญ่่ อัันเรา ตั้้�งเฉพาะดีีแล้้ว
ในพระกัสสปะ,
โอ อ.ทาน, อ.ทานอัันยิ่่�งใหญ่่ อัันเรา ตั้้�งเฉพาะดีีแล้้ว
ในพระกัสสปะ’ ดังนี้
ด้วยธาตุคือพระโสต อันเป็นทิพย์ อันหมดจดวิเศษแล้ว อันก้าวล่วงแล้วซึ่งวิสัยแห่งมนุษย์”
ดังนี้ มาแล้ว ในพระสูตร ฯ
ปนศััพท์์ วากยารััมภโชตกะ เอวศััพท์์ อวธารณะเข้้ากัับ เอตฺฺตกํํๆ วิิเสสนะของ วจนํํๆ
สุุทธกััตตาใน อาคตํํๆ กิิตบทกััตตุุวาจก สุุตฺฺเต วิิสยาธาระใน อาคตํํ “ภควา สุุทธกััตตาใน
อสฺฺโสสิิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก โขศััพท์์ วจนาลัังการะ ทิิพฺฺพาย วิิเสสนะของ โสตธาตุุยาๆ
กรณะใน อสฺฺโสสิิ วิิสุุทฺฺธาย ก็็ดีี อติิกฺฺกนฺฺตมานุุสิิกาย ก็็ดีี วิิเสสนะของ โสตธาตุุยา สกฺฺกสฺฺส
สามีสัมพันธะใน สทฺทํ เทวานมินฺทสฺส วิเสสนะของ สกฺกสฺส สทฺทํ อวุตตกัมมะใน อสฺโสสิ
เวหาสํ สัมปาปุณียกัมมะใน อพฺภุคฺคนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อุทาเนนฺตสฺส อากาเส วิสยา-
ธาระใน อุทาเนนฺตสฺส อนฺตลิกฺเข วิเสสนะของ อากาเส ติกฺขตฺตุํ กิริยาวิเสสนะใน อุทาเนนฺตสฺส
อุทานํ อวุตตกัมมะใน อุทาเนนฺตสฺสๆ วิเสสนะของ สกฺกสฺส
‘อโห อัจฉริยัตถะ ทานํ ลิงคัตถะ, ปรมทานํ วุตตกัมมะใน
สุปติฏฺฐิตํๆ กิตบทกัมมวาจก มยา อนภิหิตกัตตาใน สุปติฏฺฐิตํ
กสฺสเป วิสยาธาระใน สุปติฏฺฐิตํ,
อโห อััจฉริิยััตถะ ทานํํ ลิิงคััตถะ, ปรมทานํํ วุุตตกััมมะใน
สุุปติิฏฺฺฐิิตํํๆ กิิตบทกััมมวาจก มยา อนภิิหิิตกััตตาใน สุุปติิฏฺฺฐิิตํํ
กสฺฺสเป วิิสยาธาระใน สุุปติิฏฺฺฐิิตํํ’ อิิติิศััพท์์ สรููปะใน อุุทานํํ” อิิติิ
ศััพท์์ สรููปะใน เอตฺฺตกํํ เอว วจนํํ ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 131

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-มาน ปัจจัย
อุปาสกํ โถกํ เถรํ อนุคนฺตฺวา นิวตฺตมานํ เอกา ยกฺขินี เธนุเวเสน อาคนฺตฺวา อุเร
ปหริตฺวา มาเรสิ. (๔/๑/๙๐)
อุปาสกํ โถกํ เถรํ อนุคนฺตฺวา นิวตฺตมานํ เอกา ยกฺขินี เธนุเวเสน อาคนฺตฺวา อุเร ปหริตฺวา
(ตํ อุปาสกํ) มาเรสิ.
แปล: อ.นางยักษ์ ตนหนึ่ง มาแล้ว ด้วยเพศแห่งแม่โคนม ขวิดแล้ว ซึ่งอุบาสก ผู้- ตาม
ไปแล้ว ซึ่งพระเถระ หน่อยหนึ่ง -กลับอยู่ ที่อก ยังอุบาสก นั้น ให้ตายแล้ว ฯ
เอกา วิเสสนะของ ยกฺขินีๆ เหตุกัตตาใน มาเรสิๆ อาขยาตบทเหตุกัตตุวาจก อุปาสกํ
อวุตตกัมมะใน ปหริตฺวา โถกํ กิริยาวิเสสนะใน อนุคนฺตฺวา เถรํ อวุตตกัมมะใน อนุคนฺตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน นิวตฺตมานํๆ วิเสสนะของ อุปาสกํ เธนุเวเสน ตติยาวิเสสนะใน อาคนฺตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน ปหริตฺวา อุเร วิสยาธาระใน ปหริตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน มาเรสิ ตํ
วิเสสนะของ อุปาสกํๆ การิตกัมมะใน มาเรสิ ฯ

= วิเสสนะ-เหตุกัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
โส “ยฏฺฐิยา นํ ปหริตฺวา นีหริสฺสามี”ติ คจฺฉนฺตรํ ปวิฏฺโฐ อชึ ชนฺนุเกหิ ฐตฺวา
ทารกํ ขีรํ ปาเยนฺตึ ทิสฺวา ทารเก ปุตฺตสิเนหํ ปฏิลภิตฺวา “ปุตฺโต เม ลทฺโธ”ติ ตํ อาทาย
ปกฺกามิ. (๒/๑/๑๖)
โส (อชปาโล) “(อหํ) ยฏฺฐิยา นํ (อชึ) ปหริตฺวา นีหริสฺสามี”ติ (จินฺเตตฺวา) คจฺฉนฺตรํ ปวิฏฺโฐ
อชึ ชนฺนุเกหิ ฐตฺวา ทารกํ ขีรํ ปาเยนฺตึ ทิสฺวา ทารเก ปุตฺตสิเนหํ ปฏิลภิตฺวา “ปุตฺโต เม ลทฺโธ”ติ
(จินฺเตตฺวา) ตํ (ทารกํ) อาทาย ปกฺกามิ.
แปล: อ.คนเลี้ยงแพะ นั้น คิดแล้ว ว่า “อ.เรา จัก- ตี- ซึ่งแม่แพะ นั้น ด้วยไม้เท้า -แล้ว -
น�ำออกไป” ดังนี้ เข้าไปแล้ว สู่ระหว่างแห่งกอไม้ เห็นแล้ว ซึ่งแม่แพะ ตัว- ยืน ด้วยเข่า ท. แล้ว
จึง ยังทารก -ให้ดื่มอยู่ ซึ่งน�้ำนม ได้เฉพาะแล้ว ซึ่งความรักเพียงดังความรักในบุตร ในทารก
คิดแล้ว ว่า “อ.บุตร อันเรา ได้แล้ว” ดังนี้ อุ้มเอาแล้ว ซึ่งทารกนั้น หลีกไปแล้ว ฯ
โส วิเสสนะของ อชปาโลๆ สุทธกัตตาใน ปกฺกามิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “อหํ สุทธ-
กัตตาใน นีหริสฺสามิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ยฏฺฐิยา กรณะใน ปหริตฺวา นํ วิเสสนะของ อชึๆ
อวุตตกัมมะใน ปหริตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน นีหริสฺสามิ” อิติศัพท์ อาการะใน จินฺเตตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน ปวิฏฺโฐ คจฺฉนฺตรํ สัมปาปุณียกัมมะใน ปวิฏฺโฐๆ วิเสสนะของ อชปาโล
132 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อชึ อวุตตกัมมะใน ทิสฺวา ชนฺนุเกหิ กรณะใน ฐตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปาเยนฺตึ ทารกํ


การิตกัมมะใน ปาเยนฺตึ ขีรํ อวุตตกัมมะใน ปาเยนฺตึๆ วิเสสนะของ อชึ ทิสฺวา ปุพพกาลกิริยา
ใน ปฏิลภิตฺวา ทารเก วิสยาธาระใน ปุตฺตสิเนหํๆ อวุตตกัมมะใน ปฏิลภิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยา
ใน จินฺเตตฺวา “ปุตฺโต วุตตกัมมะใน ลทฺโธๆ กิตบทกัมมวาจก เม อนภิหิตกัตตาใน ลทฺโธ”
อิติศัพท์ อาการะใน จินฺเตตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อาทาย ตํ วิเสสนะของ ทารกํๆ อวุตต-
กัมมะใน อาทายๆ สมานกาลกิริยาใน ปกฺกามิ ฯ

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


2b - ตฺวา วิเสสนะที่เป็นกัตตุรูป วิเสสยะ
เป็นต้น หรือ เหตุกัตตุรูป

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-มาน ปัจจัย
โส ญตฺวา “กตฺถ นุ โข คจฺฉตี”ติ ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต คนฺตฺวา อวิทูเร ฐิโต
กณฺณมุณฺฑทหโต นิกฺขมิตฺวา ตํ ปฏปฏนฺติ ขาทมานํ เอกํ สุนขํ ทิสฺวา อสินา เทฺวธา
ฉินฺทิ. (มงฺคลตฺถทีปนี ๑/๓๙๖/๓๕๘)
โส (ราชา) ญตฺวา “(สา อิตฺถี) กตฺถ (ฐาเน) นุ โข คจฺฉตี”ติ (จินฺเตตฺวา) ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต
คนฺตฺวา อวิทูเร ฐิโต กณฺณมุณฺฑทหโต นิกฺขมิตฺวา ตํ (อิตฺถึ) “ปฏปฏนฺติ (สทฺเทน) ขาทมานํ เอกํ
สุนขํ ทิสฺวา อสินา เทฺวธา ฉินฺทิ.
แปล: อ.พระราชา ทรงทราบแล้้ว ดำำ�ริิแล้้ว ว่่า “อ.หญิิง นั้้�น ย่่อมไป ในที่่�ไหน หรืือ หนอ?”
ดัังนี้้� ตามไปแล้้ว ข้้างหลััง ข้้างหลััง ทรงหยุุดอยู่่� ในที่่�ไม่่ไกล ทรงเห็็นแล้้ว ซึ่่�งสุุนััข ตััวหนึ่่�ง
ตััว- ออกไป จากสระชื่่�อว่่ากััณณมุุณฑกะ แล้้วจึึง -กััดกิินอยู่่� ซึ่่�งหญิิง นั้้�น ด้้วยเสีียงดััง ว่่า
“กรุุบๆ” ดัังนี้้� ทรงตััดแล้้ว ให้้เป็็นสองท่่อน ด้้วยพระแสง ฯ
โส วิเสสนะของ ราชาๆ สุทธกัตตาใน ฉินฺทิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ญตฺวา ปุพพ-
กาลกิริยาใน จินฺเตตฺวา “สา วิเสสนะของ อิตฺถีๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
กตฺถ วิเสสนะของ ฐาเนๆ วิสยาธาระใน คจฺฉติ นุศัพท์ สังกัปปัตถะ โขศัพท์ วจนาลังการะ”
อิติศัพท์ อาการะใน จินฺเตตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน คนฺตฺวา ปิฏฺฐิโต สองบท ตติยาวิเสสนะ
ใน คนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ฐิโต อวิทูเร วิสยาธาระใน ฐิโตๆ วิเสสนะของ ราชา กณฺณ-
มุณฺฑทหโต อปาทานใน นิกฺขมิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ทิสฺวา ตํ วิเสสนะของ อิตฺถึๆ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 133

อวุตตกัมมะใน ขาทมานํ “ปฏปฏํ” สรูปะใน อิติๆ ศัพท์ สรูปะใน สทฺเทนๆ ตติยาวิเสสนะใน


ขาทมานํๆ ก็ดี เอกํ ก็ดี วิเสสนะของ สุนขํๆ อวุตตกัมมะใน ทิสฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ฉินฺทิ
อสินา กรณะใน ฉินฺทิ เทฺวธา วิกติกัมมะใน ฉินฺทิ ฯ

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
โภเคน วสตีติ โภควาสินี. อุทุกฺขลมุสลาทิฆรุปกรณํ ลภิตฺวา ภริยาภาวํ
อุปคจฺฉนฺติยา ชนปทิตฺถิยา เอตมธิวจนํ.
ปเฏน วสตีติ ปฏวาสินี. นิวาสนมตฺตํ วา ปารุปนมตฺตํ วา ลภิตฺวา ภริยาภาวํ
อุปคจฺฉนฺติยา ทลิทฺทิตฺถิยา เอตมธิวจนํ. (มงฺคลตฺถทีปนี ๑/๓๘๓/๓๕๐).
(ยา อิิตฺฺถีี) โภเคน วสตีีติิ (สา อิิตฺฺถีี) โภควาสิินีี. อุุทุุกฺฺขลมุุสลาทิิฆรุุปกรณํํ ลภิิตฺฺวา ภริิยาภาวํํ
อุุปคจฺฺฉนฺฺติิยา ชนปทิิตฺฺถิิยา เอตํํ (“โภควาสิินีี” อิิติิ วจนํํ) อธิิวจนํํ (โหติิ).
(ยา อิิตฺฺถีี) ปเฏน วสตีีติิ (สา อิิตฺฺถีี) ปฏวาสิินีี. นิิวาสนมตฺฺตํํ วา ปารุุปนมตฺฺตํํ (ปฏํํ) วา
ลภิิตฺฺวา ภริิยาภาวํํ อุุปคจฺฺฉนฺฺติิยา ทลิิทฺฺทิิตฺฺถิิยา เอตํํ (“ปฏวาสิินีี” อิิติิ วจนํํ) อธิิวจนํํ (โหติิ).
แปล: อ.หญิิงใด ย่่อมอยู่่� เพราะโภคะ เพราะเหตุุนั้้�น อ.หญิิงนั้้�น ชื่่�อว่่า โภควาสิินีี ฯ
อ.คำำ� ว่่า “โภควาสิินีี” ดัังนี้้� นั่่�น เป็็นชื่่�อ ของหญิิงในชนบท ผู้้�- ได้้ ซึ่่�งอุุปกรณ์์แห่่งเรืือนมีีครก
และสากเป็็นต้้น แล้้วจึึง -เข้้าถึึงอยู่่� ซึ่่�งความเป็็นแห่่งภรรยา ย่่อมเป็็น ฯ
อ.หญิิงใด ย่่อมอยู่่� เพราะผืืนผ้้า เพราะเหตุุนั้้�น อ.หญิิงนั้้�น ชื่่�อว่่า ปฏวาสิินีี ฯ
อ.คำำ� ว่่า “ปฏวาสิินีี” ดัังนี้้� นั่่�น เป็็นชื่่�อ ของหญิิงผู้้�แร้้นแค้้น ผู้้�- ได้้ ซึ่่�งผ้้า สัักว่่าเป็็น
เครื่่�องนุ่่�ง หรืือ หรืือว่่า สัักว่่าเป็็นเครื่่�องห่่ม แล้้วจึึง -เข้้าถึึงแล้้ว ซึ่่�งความเป็็นแห่่งภรรยา ย่่อม
เป็็น ฯ
ยา วิิเสสนะของ อิิตฺฺถีีๆ สุุทธกััตตาใน วสติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก โภเคน เหตุุใน
วสติิ อิิติิศััพท์์ เหตวััตถะ สา วิิเสสนะของ อิิตฺฺถีีๆ ลิิงคััตถะ โภควาสิินีี สััญญาวิิเสสนะของ
อิิตฺฺถีี ฯ เอตํํ วิิเสสนะของ วจนํํ “โภควาสิินีี” สรููปะใน อิิติิๆ ศััพท์์ สรููปะใน วจนํํๆ สุุทธกััต
ตาใน โหติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก อุุทุุกฺฺขลมุุสลาทิิฆรุุปกรณํํ อวุุตตกััมมะใน ลภิิตฺฺวาๆ ปุุพพ-
กาลกิิริิยาใน อุุปคจฺฺฉนฺฺติิยา ภริิยาภาวํํ สััมปาปุุณีียกััมมะใน อุุปคจฺฺฉนฺฺติิยาๆ วิิเสสนะของ
ชนปทิตฺถิยาๆ สามีสัมพันธะใน อธิวจนํๆ วิกติกัตตาใน โหติ ฯ
ยา วิิเสสนะของ อิิตฺฺถีีๆ สุุทธกััตตาใน วสติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก ปเฏน เหตุุใน
วสติิ อิิติิศััพท์์ เหตวััตถะ สา วิิเสสนะของ อิิตฺฺถีีๆ ลิิงคััตถะ ปฏวาสิินีี สััญญาวิิเสสนะของ
134 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อิิตฺฺถีี ฯ เอตํํ วิิเสสนะของ วจนํํ “ปฏวาสิินีี” สรููปะใน อิิติิๆ ศััพท์์ สรููปะใน วจนํํๆ สุุทธกััตตาใน
โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นิวาสนมตฺตํ ก็ดี ปารุปนมตฺตํ ก็ดี วิเสสนะของ ปฏํ วา สองศัพท์
ปทวิกัปปัตถะเข้ากับ นิวาสนมตฺตํ และ ปารุปนมตฺตํ ปฏํ อวุตตกัมมะใน ลภิตฺวาๆ ปุพพ-
กาลกิริยาใน อุปคจฺฉนฺติยา ภริยาภาวํ สัมปาปุณียกัมมะใน อุปคจฺฉนฺติยาๆ วิเสสนะของ
ทลิทฺทิตฺถิยาๆ สามีสัมพันธะใน อธิวจนํๆ วิกติกัตตาใน โหติ ฯ

= วิเสสนะในสมาส-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
อปฺเปกจฺเจ ปิปาสารณินิมฺมถเนน อุทรโต อุฏฺาย มุขโต วินิจฺฉรนฺตาย อคฺคิชาลาย
ปริฑยฺหมานสรีรา. (มงฺคลตฺถทีปนี ๑/๓๓๘/๓๑๙)
อปิ เอกจฺเจ (เปตา) ปิปาสารณินิมฺมถเนน อุทรโต อุฏฺาย มุขโต วินิจฺฉรนฺตาย อคฺคิชาลาย
ปริฑยฺหมานสรีรา (โหนฺติ).
แปล: แม้ อ.เปรต ท. บางพวก เป็นผู้มีสรีระอัน- อันเพลิงแห่งไฟ อัน- ตั้งขึ้น แต่ท้อง
เพราะการสีแห่งไม้สีไฟคือความกระหาย แล้วจึง -แลบออก จากปาก -เผาอยู่ ย่อมเป็น ฯ
อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ เอกจฺเจๆ วิเสสนะของ เปตาๆ สุทธกัตตาใน โหนฺติๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก ปิปาสารณินิมฺมถเนน เหตุใน อุฏฺฐาย อุทรโต อปาทานใน อุฏฺฐายๆ
ปุพพกาลกิริยาใน วินิจฺฉรนฺตายๆ วิเสสนะของ อคฺคิชาลายๆ อนภิหิตกัตตาใน ปริฑยฺหมาน-
สรีราๆ วิกติกัตตาใน โหนฺติ ฯ

= วิเสสนะในสมาส-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
“ฐเปสฺสามี”ติ เอตฺถ “ยสฺมา มาตาปิตูนํ สนฺตกํ เขตฺตาทึ อวินาเสตฺวา รกฺขนํ
เตสํ ปรมฺปราย ิติยา การณํ โหติ, ยสฺมา จ ‘กุลปฺปเทสาทินา อตฺตนา สทิสํ เอกํ ปุริสํ
ฆาเตตฺวา คีวายํ วา หตฺเถ วา พทฺธมณิวลยํ หาเรตพฺพนฺ’ติ เอวมาทินา ปวตฺตอธมฺมิก-
วํสโต มาตาปิตโร อปเนตฺวา ตํ คาหํ วิสฺสชฺชาเปตฺวา หึสาทิวิรติยา ปวตฺเต ธมฺมิกวํเส
ปเนน เจว เตหิ ทินฺนทานานุปจฺฉินฺทเนน จ อายตึ เตสํ ปรมฺปรา หริตา โหติ, ตสฺมา
ตมตฺถํ ทสฺเสตุมาห ‘มาตาปิตูนํ สนฺตกํ เขตฺตวตฺถุหิรญฺสุวณฺณาทึ อวินาเสตฺวา รกฺขนฺโตปิ
มาตาปิตโร อธมฺมิกวํสโต หริตฺวา ธมฺมิกวํเส เปนฺโตปิ กุลวํเสน อาภตานิ สลากภตฺตาทีนิ
อนุปจฺฉินฺทิตฺวา ปวตฺเตนฺโตปิ กุลวํสํ เปติ นามา’ติ”. (มงฺคลตฺถทีปนี ๑/๓๑๓)
“ฐเปสฺสามี”ติ เอตฺถ (ปเท วินิจฺฉโย) “ยสฺมา มาตาปิตูนํ สนฺตกํ เขตฺตาทึ (ธนํ) อวินาเสตฺวา
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 135

รกฺขนํ เตสํ (กุลานํ) ปรมฺปราย ิติยา การณํ โหติ, ยสฺมา จ ‘(อมฺเหหิ) กุลปฺปเทสาทินา (คุเณน)
อตฺตนา สทิสํ เอกํ ปุริสํ ฆาเตตฺวา คีวายํ วา หตฺเถ วา พทฺธมณิวลยํ หาเรตพฺพนฺ’ติ เอวมาทินา
(นเยน) ปวตฺตอธมฺมิกวํสโต มาตาปิตโร อปเนตฺวา ตํ คาหํ วิสฺสชฺชาเปตฺวา หึสาทิวิรติยา ปวตฺเต
ธมฺมิกวํเส ปเนน เจว เตหิ (มาตาปิตูหิ) ทินฺนทานานุปจฺฉินฺทเนน จ อายตึ เตสํ (กุลานํ) ปรมฺปรา
(ฐิติ ปุตฺเตน) หริตา โหติ, ตสฺมา (อฏฺฐกถาจริโย) ตํ อตฺถํ ทสฺเสตุํ อาห ‘(ปุคฺคโล) มาตาปิตูนํ
สนฺตกํ เขตฺตวตฺถุหิรญฺสุวณฺณาทึ (ธนํ) อวินาเสตฺวา รกฺขนฺโตปิ มาตาปิตโร อธมฺมิกวํสโต หริตฺวา
ธมฺมิกวํเส เปนฺโตปิ กุลวํเสน อาภตานิ สลากภตฺตาทีนิ (ทานานิ) อนุปจฺฉินฺทิตฺวา ปวตฺเตนฺโตปิ
กุลวํสํ เปติ นามา’ติ” (อิติ ปณฺฑิเตน เวทิตพฺโพ).
แปล: อ.การวินิจฉัย ในบท นั่น ว่า “ฐเปสฺสามิ” ดังนี้ ว่า “อ.การ- ยังทรัพย์ มี นาเป็นต้น
อันเป็นของมีอยู่ ของมารดาและบิดา ท. ไม่ให้พินาศแล้วจึง -รักษาไว้ เป็นเหตุ แห่งการด�ำรง
อยู่ สืบ ๆ ของตระกูล ท. เหล่านั้น ย่อมเป็น เพราะเหตุใด, อนึ่ง อ.การด�ำรงอยู่ สืบ ๆ ของ
ตระกูล ท. เหล่านั้น เป็นการด�ำรงอยู่ อันบุตร น�ำไปแล้ว ในกาลต่อไป ด้วยการ- น�ำออก ซึ่ง
มารดาและบิดา ท. จากวงศ์อันประกอบด้วยอธรรมอันเป็นไปทั่วแล้ว โดยนัย อันมี[นัย]อย่าง
นี้ว่า ‘อ.ก�ำไลอันมีวิการแห่งมณีอันเป็นเครื่องผูก ที่คอ หรือ หรือว่า ที่มือ อันเรา ท. ฆ่าแล้ว
ซึ่งบุรุษ คนหนึ่ง ผู้เช่นกับ ด้วยตน โดยคุณสมบัติ มีสกุลและประเทศเป็นต้น พึงน�ำมา’ ดังนี้
เป็นต้น แล้วจึง ให้สละทิ้ง ซึ่งความยึดถือ นั้น แล้วจึง -ตั้งไว้ ในวงศ์อันประกอบด้วยธรรม อัน
เป็นไปทั่วแล้ว โดยการงดเว้น[จากอกุศล]มีการเบียดเบียนเป็นต้น ด้วยนั่นเทียว ด้วยการไม่
เข้าไปตัดรอนซึ่งทานอัน- อันมารดาและบิดา ท. เหล่านั้น -ถวายแล้ว ด้วย ย่อมเป็น เพราะ
เหตุใด, เพราะเหตุนั้น อ.พระอรรถกถาจารย์ กล่าวแล้ว ว่า ‘อ.บุคคล ผู้- ยังทรัพย์ มีที่นา ข้าว
ของ เงินและทองเป็นต้น ไม่ให้พินาศแล้วจึง -รักษาอยู่ ก็ดี อ.บุคคล ผู้- น�ำไป ซึ่งมารดาและ
บิดา ท. จากวงศ์อันประกอบด้วยอธรรม แล้วจึง -ตั้งไว้อยู่ ในวงศ์อันประกอบด้วยธรรม ก็ดี
อ.บุคคล ผู้-- เข้าไปตัดรอน ซึ่งทาน ท. มีสลากภัตรเป็นต้น อัน- อันวงศ์แห่งตระกูล -น�ำมาแล้ว
--แล้วจึงให้เป็นไปทั่วอยู่ ก็ดี ชื่อว่า ย่อมตั้งไว้ ซึ่งวงศ์แห่งตระกูล’ ดังนี้เป็นต้น เพื่ออันแสดง
ซึ่งเนื้อความนั้น” ดังนี้ อันบัณฑิต พึงทราบ ฯ
วิินิิจฺฺฉโย วุุตตกััมมะใน เวทิิตพฺฺโพๆ กิิตบทกััมมวาจก “ฐเปสฺฺสามิิ” สรููปะใน อิิติิๆ ศััพท์์
สรููปะใน เอตฺฺถ ปเท เอตฺฺถ วิิเสสนะของ ปเทๆ วิิสยาธาระใน วิินิิจฺฺฉโย “รกฺฺขนํํ สุุทธกััต
ตาใน โหติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก ยสฺฺมา เหตุุใน โหติิ มาตาปิิตููนํํ สามีีสััมพัันธะใน สนฺฺตกํํๆ
วิเสสนะของ เขตฺตาทึๆ วิเสสนะของ ธนํๆ การิตกัมมะใน อวินาเสตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
136 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

รกฺขนํ เตสํ วิเสสนะของ กุลานํๆ สามีสัมพันธะใน ปรมฺปรายๆ วิเสสนะของ ฐิติยาๆ สามี-


สัมพันธะใน การณํๆ วิกติกัตตาใน โหติ, จศัพท์ สัมปิณฑนัตถะ ปรมฺปรา วิเสสนะของ ฐิติๆ
สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ‘พทฺธมณิวลยํ วุตตกัมมะใน หาเรตพฺพํๆ กิตบท
เหตุกัมมวาจก อมฺเหหิ อนภิหิตกัตตาใน หาเรตพฺพํ กุลปฺปเทสาทินา วิเสสนะของ คุเณนๆ
ก็ดี อตฺตนา ก็ดี ตติยาวิเสสนะใน สทิสํๆ ก็ดี เอกํ ก็ดี วิเสสนะของ ปุริสํๆ การิตกัมมะใน
ฆาเตตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน หาเรตพฺฺพํํ คีีวายํํ ก็็ดีี หตฺฺเถ ก็็ดีี วิิสยาธาระใน พทฺฺธ-
วา สองศััพท์์ ปทวิิกััปปััตถะเข้้ากัับ คีีวายํํ และ หตฺฺเถ’ อิิติิศััพท์์ นิิทััสสนััตถะใน เอวํํ เอวมาทิินา
วิเสสนะของ นเยนๆ ตติยาวิเสสนะใน อปเนตฺวา ปวตฺตอธมฺมิกวํสโต อปาทานใน อปเนตฺวา
มาตาปิตโร อวุตตกัมมะใน อปเนตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วิสฺสชฺชาเปตฺวา ตํ วิเสสนะของ
คาหํๆ อวุตตกัมมะใน วิสฺสชฺชาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ฐปเนน หึสาทิวิรติยา ตติยา-
วิเสสนะใน ปวตฺเตๆ วิเสสนะของ ธมฺมิกวํเสๆ วิสยาธาระใน ฐปเนนๆ กรณะใน หริตา เอวศัพท์
อวธารณะเข้ากับ จๆ สองศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ ‘กุลปฺปเทสาทินา อตฺตนา สทิสํ เอกํ ปุริสํ
ฆาเตตฺวา คีวายํ วา หตฺเถ วา พทฺธมณิวลยํ หาเรตพฺพนฺ’ติ เอวมาทินา ปวตฺตอธมฺมิก-
วํสโต มาตาปิตโร อปเนตฺวา ตํ คาหํ วิสฺสชฺชาเปตฺวา หึสาทิวิรติยา ปวตฺเต ธมฺมิกวํเส
ปเนน และ เตหิ ทินฺนทานานุปจฺฉินฺทเนน, เตหิ วิเสสนะของ มาตาปิตูหิๆ อนภิหิตกัตตาใน
ทินฺน- ทินฺนทานานุปจฺฉินฺทเนน กรณะใน หริตา อายตึ กาลสัตตมีใน หริตา เตสํ วิเสสนะของ
กุลานํๆ สามีสัมพันธะใน ปรมฺปรา หริตา วิกติกัตตาใน โหติ, ตสฺมา เหตวัตถะ อฏฺฐกถาจริโย
สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตํ วิเสสนะของ อตฺถํๆ อวุตตกัมมะใน ทสฺเสตุํๆ
ตุมัตถสัมปทานใน อาห ‘ปุคฺคโล สุทธกัตตาใน ฐเปติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก มาตาปิตูนํ
สามีสัมพันธะใน สนฺตกํๆ วิเสสนะของ เขตฺตวตฺถุหิรญฺญสุวณฺณาทึๆ วิเสสนะของ ธนํๆ
การิตกัมมะใน อวินาเสตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน รกฺขนฺโต อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ
รกฺขนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ ปุคฺคโล มาตาปิตโร อวุตตกัมมะใน หริตฺวา อธมฺมิกวํสโต
อปาทานใน หริตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ฐเปนฺโต ธมฺมิกวํเส วิสยาธาระใน ฐเปนฺโต อปิศัพท์
อเปกขัตถะเข้ากับ ฐเปนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ ปุคฺคโล กุลวํเสน อนภิหิตกัตตาใน
อาภตานิๆ วิเสสนะของ สลากภตฺตาทีนิๆ วิเสสนะของ ทานานิๆ อวุตตกัมมะใน
อนุปจฺฉินฺทิตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน ปวตฺเตนฺโต อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ ปวตฺเตนฺโตๆ
อัพภันตรกิริยาของ ปุคฺคโล กุลวํสํ อวุตตกัมมะใน ฐเปติ นามศัพท์ ปสังสัตถโชตกะเข้ากับ
ฐเปติ’ อิติศัพท์ สรูปะใน วินิจฺฉโย ปณฺฑิเตน อนภิหิตกัตตาใน เวทิตพฺโพ ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 137

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-ต ปัจจัย
โส เอกวจเนเนว ปกฺขนฺทิตฺวา สามิกสฺส คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเน ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา
เตน สทฺเทน วาลมิคานํ ปลายนภาวํ ญตฺวา ปาโต ว สรีรปฺปฏิชคฺคนํ กตฺวา ปณฺณสาลํ
ปวิสิตฺวา นิสินฺนสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ปณฺณสาลาทฺวาเร ติกฺขตฺตุํ
ภุสฺสิตฺวา อตฺตโน อาคตภาวํ ชานาเปตฺวา เอกมนฺเต นิปชฺชติ. (๒/๑/๑๑)
โส (สุนโข) เอกวจเนน เอว ปกฺขนฺทิตฺวา สามิกสฺส คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเน ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา
เตน สทฺเทน วาลมิคานํ ปลายนภาวํ ญตฺวา ปาโต ว สรีรปฺปฏิชคฺคนํ กตฺวา ปณฺณสาลํ ปวิสิตฺวา
นิสินฺนสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ปณฺณสาลาทฺวาเร ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา (ปจฺเจกพุทฺธํ)
อตฺตโน อาคตภาวํ ชานาเปตฺวา เอกมนฺเต นิปชฺชติ.
แปล: อ.สุนัข นั้น แล่นไปแล้ว ด้วยค�ำค�ำเดียวนั่นเทียว เห่าแล้ว สามครั้ง ในที่เป็นที่
ฟาดซึ่งกอไม้และภาคพื้น แห่งเจ้าของ รู้แล้ว ซึ่งความเป็นคืออันหนีไป ของเนื้อร้าย ท. ด้วย
เสียงนั้น ไปแล้ว สู่ที่เป็นที่อยู่ ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้- กระท�ำแล้ว ซึ่งการประคับประคอง
ซึ่งสรีระ เข้าไปแล้ว สู่บรรณศาลา -นั่งแล้ว ในเวลาเช้าเทียว เห่าแล้ว สามครั้ง ใกล้ประตูแห่ง
บรรณศาลา ยังพระปัจเจกพุทธเจ้า ให้รู้แล้ว ซึ่งความที่- แห่งตน -เป็นผู้มาแล้ว ย่อมหมอบ ณ
ที่สมควร ฯ
โส วิเสสนะของ สุนโขๆ สุทธกัตตาใน นิปชฺชติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เอวศัพท์
อวธารณะเข้ากับ เอกวจเนนๆ กรณะใน ปกฺขนฺทิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ภุสฺสิตฺวา สามิกสฺส
สามีสัมพันธะใน คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเนๆ วิสยาธาระใน ภุสฺสิตฺวา ติกฺขตฺตุํ กิริยาวิเสสนะ
ใน ภุสฺสิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ญตฺวา เตน วิเสสนะของ สทฺเทนๆ กรณะใน ปลายน-
วาลมิคานํ สามีสัมพันธะใน ปลายน- ปลายนภาวํ อวุตตกัมมะใน ญตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
คนฺตฺวา เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ปาโตๆ กาลสัตตมีใน นิสินฺนสฺส สรีรปฺปฏิชคฺคนํ อวุตต-
กัมมะใน กตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปวิสิตฺวา ปณฺณสาลํ สัมปาปุณียกัมมะใน ปวิสิตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน นิสินฺนสฺสๆ วิเสสนะของ ปจฺเจกพุทฺธสฺสๆ สามีสัมพันธะใน วสนฏฺฐานํๆ
สัมปาปุณียกัมมะใน คนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ภุสฺสิตฺวา ปณฺณสาลาทฺวาเร วิสยาธาระใน
ภุสฺสิตฺวา ติกฺขตฺตุํ กิริยาวิเสสนะใน ภุสฺสิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ชานาเปตฺวา ปจฺเจกพุทฺธํ
การิตกัมมะใน ชานาเปตฺวา อตฺตโน ภาวาทิสัมพันธะใน อาคตภาวํๆ อวุตตกัมมะใน
ชานาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นิปชฺชติ เอกมนฺเต วิสยาธาระใน นิปชฺชติ ฯ
138 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

= อุปมาวิกติกัตตา-กัตตุรูป-ต ปัจจัย
“กึ วเทถ สามิ, อสงฺเขยฺยํ อายุํ คเหตฺวา นิพฺพตฺตา วิย อชรามรา วิย
นิจฺจปฺปมตฺตา มนุสฺสา”ติ. (๓/๔/๒๗)
(สา เทวธีตา) “(ตุมฺเห) กึ (วจนํ) วเทถ สามิ, อสงฺเขยฺยํ อายุํ คเหตฺวา นิพฺพตฺตา วิย
อชรามรา วิย นิจฺจํ ปมตฺตา (โหนฺติ) มนุสฺสา”ติ (อาห).
แปล: อ.เทพธิดา นั้น กล่าวแล้ว ว่า “ข้าแต่นาย อ.ท่าน ย่อมกล่าว ซึ่งอะไร, อ.มนุษย์
ท. เป็นราวกะผู้- ถือเอา ซึ่งอายุ ตลอดอสงไขย แล้วจึง -บังเกิดแล้ว เป็นราวกะผู้ทั้งไม่แก่ทั้ง
ไม่ตาย เป็นผู้ประมาทแล้ว ตลอดกาลเป็นนิจ ย่อมเป็น” ดังนี้ ฯ
สา วิเสสนะของ เทวธีตาๆ สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “สามิ อาลปนะ
ตุมฺเห สุทธกัตตาใน วเทถๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก กึ วิเสสนะของ วจนํๆ อวุตตกัมมะใน
วเทถ, มนุสฺสา สุทธกัตตาใน โหนฺติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อสงฺเขยฺยํ อัจจันตสังโยคะ อายุํ
อวุตตกัมมะใน คเหตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นิพฺพตฺตาๆ ก็ดี อชรามรา ก็ดี อุปมาวิกติกัตตาใน
โหนฺติ วิย สองศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ อสงฺเขยฺยํ อายุํ คเหตฺวา นิพฺพตฺตา และ อชรามรา
นิจฺจํ กิริยาวิเสสนะใน ปมตฺตาๆ วิกติกัตตาใน โหนฺติ” อิติศัพท์ อาการะใน อาห ฯ

= วิเสสนะของประธาน-กัตตุรูป-ต ปัจจัย ในสมาส


มหาชาลํ ขิปิตฺวา ิตเกวฏฺโฏ “มหาทุคฺคตสฺส สทฺเทน ภวิตพฺพนฺ”ติ ตํ ปกฺโกสิตฺวา
ปุจฺฉิ “อติวิย ตุฏฺจิตฺโต คายสิ กินฺนุ โข การณนฺ”ติ. (๔/๕/๒๕)
มหาชาลํ ขิปิตฺวา ิตเกวฏฺโฏ “(อิมินา สทฺเทน) มหาทุคฺคตสฺส สทฺเทน ภวิตพฺพนฺ”ติ (จินฺตเนน)
ตํํ (มหาทุุคฺฺคตํํ) ปกฺฺโกสิิตฺฺวา ปุุจฺฺฉิิ “(ตฺฺวํํ) อติิวิิย ตุุฏฺฺจิิตฺฺโต (หุุตฺฺวา) คายสิิ กิินฺฺนุุ โข การณนฺฺ”ติิ.
แปล: อ.ชาวประมงผู้้�ยืืนทอดแล้้ว ซึ่่�งแหใหญ่่ เรีียกแล้้ว ซึ่่�งมหาทุุคคตะ นั้้�น ด้้วยอัันคิิด
ว่่า “อัันเสีียงนี้้� เป็็นเสีียง ของมหาทุุคคตะ พึึงเป็็น” ดัังนี้้� ถามแล้้ว ว่่า “อ.ท่่าน เป็็นผู้้�มีีจิิตอััน
ยิินดีีแล้้ว เกิินเปรีียบ เป็็น ขัับร้้องอยู่่� เพราะเหตุุ อะไร หนอ แล” ดัังนี้้� ฯ
ฐิตเกวฏฺโฏ สุทธกัตตาใน ปุจฺฉิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก มหาชาลํ อวุตตกัมมะใน
ขิปิตฺวาๆ อปรกาลกิริยาใน ฐิต- “อิมินา วิเสสนะของ สทฺเทนๆ อนภิหิตกัตตาใน ภวิตพฺพํๆ
กิตบทภาววาจก มหาทุคฺคตสฺส สามีสัมพันธะใน สทฺเทนๆ วิกติกัตตาใน ภวิตพฺพํ” อิติศัพท์
สรูปะใน จินฺตเนนๆ กรณะใน ปกฺโกสิตฺวา ตํ วิเสสนะของ มหาทุคฺคตํๆ อวุตตกัมมะใน
ปกฺโกสิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปุจฺฉิ “ตฺวํ สุทธกัตตาใน คายสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 139

อติวิย กิริยาวิเสสนะใน ตุฏฺฐ- ตุฏฺฐจิตฺโต วิกติกัตตาใน หุตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน คายสิ


กึ วิเสสนะของ การณํ นุศัพท์ ปุจฉนัตถะ โขศัพท์ วจนาลังการะ การณํ ทุติยาเหตุใน คายสิ”
อิติศัพท์ อาการะใน ปุจฺฉิ ฯ

= วิเสสนะ-กัตตุรูป-ต ปัจจัย มีห้องซ้อน


สตฺถาปิ “มม สนฺติกา กมฺมฏฺานํ คเหตฺวา ‘สมณธมฺมํ กริสฺสามี’ติ คตสฺส ภิกฺขุโน
กา นุ โข ปวตฺตี”ติ อุปธาเรนฺโต ตํ อิตฺถึ ทิสฺวา ตสฺสา อนาจารกิริยํ เถรสฺส จ
สํเวคุปฺปตฺตึ ตฺวา คนฺธกุฏิยํ นิสินฺโน ว เตน สทฺธึ กเถสิ “ภิกฺขุ กามคเวสกานํ
อรมณฏฺานเมว วีตราคานํ รมณฏฺานํ โหตี”ติ. (๔/๑๐/๘๕)
สตฺถาปิ “มม สนฺติกา กมฺมฏฺานํ คเหตฺวา ‘(อหํ) สมณธมฺมํ กริสฺสามี’ติ (จินฺตเนน) คตสฺส
ภิกฺขุโน กา นุ โข ปวตฺตี”ติ อุปธาเรนฺโต ตํ อิตฺถึ ทิสฺวา ตสฺสา (อิตฺถิยา) อนาจารกิริยํ เถรสฺส จ
สํเวคุปฺปตฺตึ ตฺวา คนฺธกุฏิยํ นิสินฺโน ว เตน (ภิกฺขุนา) สทฺธึ กเถสิ “ภิกฺขุ กามคเวสกานํ (ชนานํ)
อรมณฏฺานํ เอว วีตราคานํ (ชนานํ) รมณฏฺานํ โหตี”ติ.
แปล: แม้้ อ.พระศาสดา ทรงใคร่่ครวญอยู่่� ว่่า “อ.ความเป็็นไปทั่่�ว อย่่างไร หนอแล ของ
ภิิกษุุ ผู้้�- เรีียนเอาแล้้ว ซึ่่�งกรรมฐาน จากสำำ�นััก ของเรา -ไปแล้้ว (ด้้วยอัันคิิด) ว่่า ‘(อ.เรา) จััก
กระทำำ� ซึ่่�งสมณธรรม’ ดัังนี้้�” ดัังนี้้� ทรงเห็็นแล้้ว ซึ่่�งหญิิงนั้้�น ทรงทราบแล้้ว ซึ่่�งการกระทำำ�ซึ่่�ง
อนาจาร (ของหญิิง) นั้้�น ด้้วย ซึ่่�งความเกิิดขึ้้�นแห่่งความสัังเวช ของพระเถระ ด้้วย ผู้้�ประทัับนั่่�ง
แล้้วเทีียว ในพระคัันธกุุฎีี ตรััสแล้้ว กัับ ด้้วยพระเถระนั้้�น ว่่า “ดููก่่อนภิิกษุุ อ.ที่่�เป็็นที่่�ไม่่ยิินดีีนั่่�น
เทีียว (ของชน ท.) ผู้้�แสวงหาซึ่่�งกาม เป็็นที่่�เป็็นที่่�ยิินดีี (ของชน ท.) ผู้้�มีีราคะไปปราศแล้้ว ย่่อม
เป็็น” ดัังนี้้� ฯ
อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ สตฺถาๆ สุทธกัตตาใน กเถสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
“กา วิิเสสนะของ ปวตฺฺติิๆ ลิิงคััตถะ มม สามีีสััมพัันธะใน สนฺฺติิกาๆ อปาทานใน คเหตฺฺวา
กมฺฺมฏฺฺฐานํํๆ อวุุตตกััมมะใน คเหตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน คตสฺฺส ‘อหํํ สุุทธกััตตาใน กริิสฺฺสามิิๆ
อาขยาตบทกััตตุุวาจก สมณธมฺฺมํํ อวุุตตกััมมะใน กริิสฺฺสามิิ’ อิิติิศััพท์์ สรููปะใน จิินฺฺตเนนๆ
กรณะใน คตสฺฺสๆ วิิเสสนะของ ภิิกฺฺขุุโนๆ สามีีสััมพัันธะใน ปวตฺฺติิ นุุศััพท์์ สัังกััปปััตถะ โขศััพท์์
วจนาลังการะ” อิติศัพท์ อาการะใน อุปธาเรนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา ตํ วิเสสนะ
ของ อิตฺถึๆ อวุตตกัมมะใน ทิสฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ญตฺวา ตสฺสา วิเสสนะของ อิตฺถิยาๆ
สามีสัมพันธะใน อนาจารกิริยํๆ อวุตตกัมมะใน ญตฺวา เถรสฺส สามีสัมพันธะใน สํเวคุปฺปตฺตึๆ
140 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อวุตตกัมมะใน ญตฺวา จศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ ตสฺสา อนาจารกิริยํ และ เถรสฺส


สํเวคุปฺปตฺตึ, ญตฺวา ปุพพกาลกิริยาใน นิสินฺโน คนฺธกุฏิยํ วิสยาธาระใน นิสินฺโน เอวศัพท์
อวธารณะเข้ากับ นิสินฺโนๆ วิเสสนะของ สตฺถา เตน วิเสสนะของ ภิกฺขุนาๆ สหัตถตติยาเข้า
กับ สทฺธึๆ กิริยาสมวายะใน กเถสิ “ภิกฺขุ อาลปนะ เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ อรมณฏฺฐานํๆ
สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก กามคเวสกานํ วิเสสนะของ ชนานํๆ สามีสัมพันธะ
ใน อรมณฏฺฐานํ วีตราคานํ วิเสสนะของ ชนานํๆ สามีสัมพันธะใน รมณฏฺฐานํๆ วิกติกัตตาใน
โหติ” อิติศัพท์ อาการะใน กเถสิ ฯ

= วิเสสนะของประธาน-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
อตฺตโน เคเห นิสินฺนภิกฺขุํ นีหริตฺวา เทนฺโต นาม นตฺถิ. (๔/๙/๗๙)
อตฺตโน เคเห นิสินฺนภิกฺขุํ นีหริตฺวา เทนฺโต นาม (ปุคฺคโล) นตฺถิ.
แปล: อ.บุคคล ชื่อว่า ผู้- น�ำออก ซึ่งภิกษุผู้นั่งแล้ว ในเรือน ของตน แล้วจึง -ให้อยู่
ย่อมไม่มี ฯ
นามศัพท์ ปสังสัตถโชตกะเข้ากับ เทนฺโตๆ วิเสสนะของ ปุคฺคโลๆ สุทธกัตตาใน นตฺถิๆ
กิริยาบทกัตตุวาจก อตฺตโน สามีสัมพันธะใน เคเหๆ วิสยาธาระใน นิสินฺนภิกฺขุํๆ อวุตตกัมมะ
ใน นีหริตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน เทนฺโต ฯ

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


2c - ตฺวา วิกติกัตตา หรือ อัพภันตรกิริยา ที่เป็นกัตตุรูป หรือ เหตุกัตตุรูป

= วิกติกัตตา-กัตตุรูป กัตตุสาธนะ-ต ปัจจัย


เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา มหากสฺสโป ปิปฺผลิคุหายํ วิหรติ, สตฺตาหํ
เอกปลฺลงฺเกน นิสินฺโน โหติ อญฺตรํ สมาธึ สมาปชฺชิตฺวา. (๓/๑๐/๘๓)
แปล: ก็ ในสมัย นั้น แล อ.พระมหากัสสปะ ผู้มีอายุ ย่อมอยู่ ในถ�้ำชื่อว่าปิปผลิ, เป็นผู้
นั่งเข้าแล้ว ซึ่งสมาธิ อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยบัลลังก์เดียว ตลอดวันเจ็ด ย่อมเป็น ฯ
(อีกนัยหนึ่ง: ตฺวา ในอรรถเหตุ) ก็ ในสมัย นั้น แล อ.พระมหากัสสปะ ผู้มีอายุ ย่อมอยู่ ในถ�้ำชื่อว่า
ปิปผลิ, เป็นผู้ นั่งแล้ว โดยบัลลังก์เดียว ตลอดวันเจ็ด ย่อมเป็น เพื่อเข้า ซึ่งสมาธิ อย่างใดอย่างหนึ่ง.
ปนศัพท์ วากยารัมภโชตกะ เตน วิเสสนะของ สมเยนๆ ตติยากาลสัตตมีใน โหติ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 141

อายสฺมา วิเสสนะของ มหากสฺสโปๆ สุทธกัตตาใน วิหรติ และโหติ วิหรติ ก็ดี โหติ ก็ดี
อาขยาตบทกัตตุวาจก โขศัพท์ วจนาลังการะ ปิปฺผลิคุหายํ วิสยาธาระใน วิหรติ สตฺตาหํ
อัจจันตสังโยคะใน นิสินฺโน เอกปลฺลงฺเกน ตติยาวิเสสนะใน นิสินฺโนๆ วิกติกัตตาใน โหติ
อญฺญตรํ วิเสสนะของ สมาธึๆ สัมปาปุณียกัมมะใน สมาปชฺชิตฺวาๆ อปรกาลกิริยาใน นิสินฺโน ฯ

= วิกติกัตตา-กัตตุรูป กัตตุสาธนะ-ต ปัจจัย


ปมํ อาคตภิกฺขู กิฺจิเทว ปมฺมุสฺสิตฺวา อิทฺธิยา วิสฺสฏฺกาเล ปฏินิวตฺติตฺวา คตา
ภวิสฺสนฺติ. (๔/๙/๗๙)
ปมํ อาคตภิกฺขู กิฺจิ เอว (วตฺถุํ) ปมฺมุสฺสิตฺวา อิทฺธิยา (เถเรน) วิสฺสฏฺกาเล ปฏินิวตฺติตฺวา
คตา ภวิสฺสนฺติ.
แปล: อ.ภิกษุผู้มาแล้ว ท. ก่อน เป็นผู้- ลืมทั่วแล้ว ซึ่งวัตถุ ไร ๆ นั่นเทียว กลับแล้ว ใน
กาล- แห่งฤทธิ์ เป็นฤทธิ์ อันพระเถระ -คลายแล้ว -ไปแล้ว จักเป็น ฯ
อาคตภิกฺขู สุทธกัตตาใน ภวิสฺสนฺติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ปฐมํ กิริยาวิเสสนะใน
อาคต- เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ กิญฺจิๆ วิเสสนะของ วตฺถุํๆ อวุตตกัมมะใน ปมฺมุสฺสิตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน ปฏินิวตฺติตฺวา อิทฺธิยา สามีสัมพันธะใน วิสฺสฏฺฐกาเล เถเรน อนภิหิตกัตตา
ใน วิสฺสฏฺฐ- วิสฺสฏฺฐกาเล กาลสัตตมีใน ปฏินิวตฺติตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน คตาๆ วิกติกัตตา
ใน ภวิสฺสนฺติ ฯ

= อุปมาอัพภันตรกิริยา-กัตตุรูป-อนฺต ปัจจัย
สตฺถา คนฺธกุฏิยํ นิสินฺโน ว โอภาสํ ผริตฺวา ตสฺสา สมฺมุเข นิสีทิตฺวา กเถนฺโต
วิย “เอวเมว โคตมิ, อิเม สตฺตา ทีปชาลา วิย อุปฺปชฺชนฺติ เจว นิรุชฺฌนฺติ จ, นิพฺพานํ
ปตฺวา เอวํ น ปญฺายนฺติ, เอวํ นิพฺพานํ อปสฺสนฺตานํ วสฺสสตํ ชีวิตโต นิพฺพานํ
ปสฺสนฺตสฺส ขณมตฺตํปิ ชีวิตํ เสยฺโย”ติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ
คาถมาห. (๔/๑๓/๑๔๖-๗)
สตฺถา คนฺธกุฏิยํ นิสินฺโน ว โอภาสํ ผริตฺวา ตสฺสา (กีสาโคตมีเถริยา) สมฺมุเข นิสีทิตฺวา
กเถนฺโต วิย “เอวํ เอว โคตมิ, อิเม สตฺตา ทีปชาลา วิย อุปฺปชฺชนฺติ เจว นิรุชฺฌนฺติ จ, (สตฺตา)
นิพฺพานํ ปตฺวา เอวํ น ปญฺายนฺติ, เอวํ นิพฺพานํ อปสฺสนฺตานํ (ปุคฺคลานํ) วสฺสสตํ ชีวิตโต นิพฺพานํ
ปสฺสนฺตสฺส (ปุคฺคลสฺส) ขณมตฺตํปิ (กาลํ) ชีวิตํ เสยฺโย (โหติ)” อิติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ
142 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

เทเสนฺโต อิมํ คาถํ อาห.


แปล: อ.พระศาสดา ประทับนั่งแล้วเทียว ในพระคันธกุฎี ทรงแผ่ไปแล้ว ซึ่งพระรัศมี
ราวกะว่า ประทับนั่งแล้ว ในที่เฉพาะหน้า แห่งพระกีสาโคตมีเถรี นั้น ตรัสอยู่ ตรัสแล้ว ว่า
“ดููก่่อนโคตมีี อ.อย่่างนั้้�นนั่่�นเทีียว, อ.สััตว์์ ท. เหล่่านี้้� ย่่อมเกิิดขึ้้�น ด้้วยนั่่�นเทีียว ย่่อมดัับ
ด้้วย ราวกะ อ.เปลวแห่่งประทีีป ท., อ.สััตว์์ ท. ถึึงแล้้ว ครั้้�นบรรลุุแล้้ว ซึ่่�งพระนิิพพาน จะไม่่
ปรากฏ อย่่างนี้้�, อ.ชีีวิิต สิ้้�นกาล แม้้สัักว่่าชั่่�วขณะ ของบุุคคล ผู้้�ไม่่เห็็นอยู่่� ซึ่่�งพระนิิพพาน เป็็น
สิ่่�งประเสริิฐกว่่า กว่่าชีีวิิต ตลอดร้้อยแห่่งปีี ของบุุคคล ท. ผู้้�ไม่่เห็็นอยู่่� ซึ่่�งพระนิิพพาน ด้้วย
ประการฉะนี้้�” ดัังนี้้� เมื่่�อทรงสืืบต่่อ ซึ่่�งอนุุสนธิิ แสดง ซึ่่�งธรรม ตรััสแล้้ว ซึ่่�งพระคาถานี้้� ฯ
สตฺถา สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก คนฺธกุฏิยํ วิสยาธาระใน นิสินฺโน
เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ นิสินฺโนๆ วิเสสนะของ สตฺถา โอภาสํ อวุตตกัมมะใน ผริตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน นิสีทิตฺวา ตสฺสา วิเสสนะของ กีสาโคตมีเถริยาๆ สามีสัมพันธะใน สมฺมุเขๆ
วิสยาธาระใน นิสีทิตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน กเถนฺโตๆ อุปมาอัพภันตรกิริยาของ สตฺถา
วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ ตสฺสา กีสาโคตมีเถริยา สมฺมุเข นิสีทิตฺวา กเถนฺโต, “โคตมิ
อาลปนะ เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ เอวํๆ ลิงคัตถะ, อิเม วิเสสนะของ สตฺตาๆ สุทธกัตตาใน
อุปฺปชฺชนฺติ และ นิรุชฺฌนฺติ อุปฺปชฺชนฺติ ก็ดี นิรุชฺฌนฺติ ก็ดี อาขยาตบทกัตตุวาจก ทีปชาลา
อุปมาลิงคัตถะ วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ ทีปชาลา เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ จๆ สอง
ศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ อุปฺปชฺชนฺติ และ นิรุชฺฌนฺติ, สตฺตา สุทธกัตตาใน ปญฺญายนฺติๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก นิพฺพานํ สัมปาปุณียกัมมะใน ปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปญฺญายนฺติ
เอวํ กิริยาวิเสสนะใน ปญฺญายนฺติ นศัพท์ ปฏิเสธะใน ปญฺญายนฺติ, ชีวิตํ สุทธกัตตาใน โหติๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก เอวํ ปการัตถะ นิพฺพานํ อวุตตกัมมะใน อปสฺสนฺตานํๆ วิเสสนะ
ของ ปุคฺคลานํๆ สามีสัมพันธะใน วสฺสสตํๆ อัจจันตสังโยคะใน ชีวิตโตๆ อปาทานใน เสยฺโย
นิพฺพานํ อวุตตกัมมะใน ปสฺสนฺตสฺสๆ วิเสสนะของ ปุคฺคลสฺสๆ สามีสัมพันธะใน ชีวิตํ อปิศัพท์
อเปกขัตถะเข้ากับ ขณมตฺตํๆ วิเสสนะของ กาลํๆ อัจจันตสังโยคะใน ชีวิตํ เสยฺโย วิกติกัตตา
ใน โหติ” อิติศัพท์ อาการะใน วตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ฆเฏตฺวา อนุสนฺธึๆ อวุตตกัมมะใน
ฆเฏตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน เทเสนฺโต ธมฺมํ อวุตตกัมมะใน เทเสนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ
สตฺถา อิมํ วิเสสนะของ คาถํๆ อวุตตกัมมะใน อาห ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 143

กรณีที่ 3 นามกิตก์
ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง
3a อนภิหิตกัตตา ตฺวา
(ตติิยาวิิภััตติิ / ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) เป็็นต้้น ตุุมััตถกััตตา

= ตุมัตถกัตตา
อชฺเชว มยา ปลายิตฺวา ปพฺพชิตุํ วฏฺฏติ. (๔/๙/๗๕)
อชฺช เอว มยา ปลายิตฺวา ปพฺพชิตุํ วฏฺฏติ.
แปล: อ.อัน- อันเรา หนีไปแล้ว -บวช ในวันนี้ นั่นเทียว ย่อมควร ฯ
ปพฺพชิตุํ ตุมัตถกัตตาใน วฏฺฏติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ
อชฺชๆ กาลสัตตมีใน ปพฺพชิตุํ มยา อนภิหิตกัตตาใน ปพฺพชิตุํ ปลายิตฺวา ปุพพกาลกิริยาใน
ปพฺพชิตุํ ฯ

= ตุมัตถกัตตา
“สุขํ ภุญฺชิตพฺพนฺ ”ติ อิทํ ปน “สสฺสุสสุรสามิเกหิ ปุเรตรํ อภุญฺชิตฺวา เต
ปริวิสิตฺวา สพฺเพหิ ลทฺธาลทฺธํ ตฺวา ปจฺฉา สยํ ภุญฺชิตุํ วฏฺฏตี”ติ สนฺธาย วุตฺตํ. (๓/๘/๖๓)
“(สสุรกุเล วสนฺติยา อิตฺถิยา) สุขํ ภุญฺชิตพฺพนฺ”ติ อิทํ (วจนํ) ปน (ตสฺสา วิสาขาย ปิตรา)
“(สสุรกุเล วสนฺติยา นาม อิตฺถิยา) สสฺสุสสุรสามิเกหิ ปุเรตรํ อภุญฺชิตฺวา เต (ชเน) ปริวิสิตฺวา สพฺเพหิ
(ชเนหิ) ลทฺธาลทฺธํ (วตฺถุํ) ตฺวา ปจฺฉา สยํ ภุญฺชิตุํ วฏฺฏตี”ติ สนฺธาย วุตฺตํ.
แปล: ก็็ อ.คำำ� นี้้� ว่่า “อัันหญิิง ผู้้�อยู่่�อยู่่� ในตระกููลแห่่งพ่่อผััว พึึงบริิโภค ให้้เป็็นสุุข” ดัังนี้้�
อัันบิิดา ของนางวิิสาขานั้้�น กล่่าวแล้้ว หมายเอา ว่่า “อััน- อัันหญิิง ผู้้�อยู่่�อยู่่� ในตระกููลแห่่งพ่่อ
ผััว ไม่่บริิโภค ก่่อนกว่่า กว่่าแม่่ผััวและพ่่อผััวและสามีี ท. แล้้วจึึง เลี้้�ยงดูู ซึ่่�งชน ท. เหล่่านั้้�น
แล้้วจึึง รู้้� ซึ่่�งวััตถุุ- อัันชน ท. เหล่่านั้้�น -ได้้แล้้วและวััตถุุ- อัันชน ท. เหล่่านั้้�น -ไม่่ได้้แล้้ว แล้้วจึึง
-บริิโภค ด้้วยตนเอง ในภายหลััง ย่่อมควร” ดัังนี้้� ฯ
ปนศัพท์ วากยารัมภโชตกะ อิทํ วิเสสนะของ วจนํๆ วุตตกัมมะใน วุตฺตํๆ กิตบทกัมม-
วาจก “วสนฺติยา วิเสสนะของ อิตฺถิยาๆ อนภิหิตกัตตาใน ภุญฺชิตพฺพํๆ กิตบทภาววาจก
สสุรกุเล วิสยาธาระใน วสนฺติยา สุขํ กิริยาวิเสสนะใน ภุญฺชิตพฺพํ” อิติศัพท์ สรูปะใน อิทํ
วจนํ ตสฺสา วิเสสนะของ วิสาขายๆ สามีสัมพันธะใน ปิตราๆ อนภิหิตกัตตาใน วุตฺตํ
144 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

“ภุุญฺฺชิิตุํํ� ตุุมััตถกััตตาใน วฏฺฺฏติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก สสุุรกุุเล วิิสยาธาระใน วสนฺฺติิยา


นามศััพท์์ สััญญาโชตกะเข้้ากัับ วสนฺฺติิยาๆ วิิเสสนะของ อิิตฺฺถิิยาๆ อนภิิหิิตกััตตาใน ภุุญฺฺชิิตุํํ�
สสฺสุสสุรสามิเกหิ อปาทานใน อภุญฺชิตฺวา ปุเรตรํ กิริยาวิเสสนะใน อภุญฺชิตฺวาๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน ปริวิสิตฺวา เต วิเสสนะของ ชเนๆ อวุตตกัมมะใน ปริวิสิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
ญตฺวา สพฺเพหิ วิเสสนะของ ชเนหิๆ อนภิหิตกัตตาใน ลทฺธาลทฺธํๆ วิเสสนะของ วตฺถุํๆ
อวุตตกัมมะใน ญตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ภุญฺชิตุํ ปจฺฉา กาลสัตตมีใน ภุญฺชิตุํ สยํ กรณะใน
ภุญฺชิตุํ” อิติศัพท์ อาการะใน สนฺธายๆ กิริยาวิเสสนะใน วุตฺตํ ฯ

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


3b - ตฺวา ตุมัตถสัมปทาน
เป็นต้น

= ตุมัตถสัมปทาน ที่สัมพันธ์เข้านาม
อิตฺถีสทฺโท วิย อญฺโญ หิ สทฺโท ปุริสานํ จิตฺตํ ผริตฺวา ฐาตุํ สมตฺโถ นาม นตฺถิ.
(๑/๑/๑๔)
แปล: จริิงอยู่่� อ.เสีียง อื่่�น ชื่่�อว่่า เป็็นเสีียงสามารถ เพื่่�ออััน- แผ่่ไปแล้้ว สู่่�จิิต ของบุุรุุษ
ท. -ตั้้�งอยู่่� ราวกะ อ.เสีียงของหญิิง ย่่อมไม่่มีี ฯ
หิศัพท์ ทัฬหีกรณโชตกะ อญฺโญ วิเสสนะของ สทฺโทๆ สุทธกัตตาใน นตฺถิๆ กิริยา-
บทกัตตุวาจก อิตฺถีสทฺโท อุปมาลิงคัตถะ วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ อิตฺถีสทฺโท ปุริสานํ
สามีีสััมพัันธะใน จิิตฺฺตํํๆ สััมปาปุุณีียกััมมะใน ผริิตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน ฐาตุํํ�ๆ ตุุมััตถ-
สััมปทานใน สมตฺฺโถ นามศััพท์์ สััญญาโชตกะเข้้ากัับ สมตฺฺโถๆ วิิกติิกััตตาใน นตฺฺถิิ ฯ

= ตุมัตถสัมปทาน ที่สัมพันธ์เข้านาม
ตํ สุตฺวา สตฺถา ‘‘กินฺนาเมตํ ภิกฺขเว วเทถ, อหํ หิ ‘ปฺ จินฺทฺริยานิ อภาเวตฺวา
สมถวิปสฺสนํ อวฑฺเฒตฺวา มคฺคผลานิ สจฺฉิกาตุํ สมตฺโถ นาม อตฺถี’ติ สทฺทหสิ สารีปุตฺตา”ติ
ปุจฺฉึ, โส ‘เอวํ สจฺฉิกโรนฺโต อตฺถิ นามา’ติ น สทฺทหามิ ภนฺเต”ติ กเถสิ, น ทินฺนสฺส
วา กตสฺส วา ผลวิปากํ น สทฺทหิ, นาปิ พุทฺธาทีนํ คุณํ น สทฺทหิ, โส ปน อตฺตนา
ปฏิลทฺเธสุ ฌานวิปสฺสนามคฺคผลธมฺเมสุ ปเรสํ สทฺธาย น คจฺฉติ, ตสฺมา อนุปวชฺโช’’ติ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 145

วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห. (๔/๘/๗๓)


ตํ (วจนํ) สุตฺวา สตฺถา ‘‘(ตุมฺเห) กึ นาม เอตํ (วตฺถุํ) ภิกฺขเว วเทถ, อหํ หิ ‘(ตฺวํ) ‘(ปุคฺคโล)
ปฺ จินฺทฺริยานิ อภาเวตฺวา สมถวิปสฺสนํ อวฑฺเฒตฺวา มคฺคผลานิ สจฺฉิกาตุํ สมตฺโถ นาม อตฺถี’ติ
สทฺทหสิ สารีปุตฺตา”ติ ปุจฺฉึ, โส (สาริปุตฺโต) ‘(อหํ) ‘เอวํ สจฺฉิกโรนฺโต (ปุคฺคโล) อตฺถิ นามา’ติ น
สทฺทหามิ ภนฺเต”ติ กเถสิ, น (ปุคฺคเลน) ทินฺนสฺส (ทานสฺส) วา (ปุคฺคเลน) กตสฺส วา (กมฺมสฺส)
ผลวิปากํ น สทฺทหิ, นาปิ พุทฺธาทีนํ (รตนานํ) คุณํ น สทฺทหิ, โส (สาริปุตฺโต) ปน อตฺตนา
ปฏิลทฺเธสุ ฌานวิปสฺสนามคฺคผลธมฺเมสุ ปเรสํ (ปุคฺคลานํ) สทฺธาย น คจฺฉติ, ตสฺมา (โส สาริปุตฺโต
ปุคฺคเลน) อนุปวชฺโช’’ติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถํ อาห.
แปล: อ.พระศาสดา ครั้้�นสดัับแล้้ว ซึ่่�งคำำ� นั้้�น ตรััสแล้้ว ว่่า ‘‘ดููก่่อนภิิกษุุ ท. อ.เธอ ท.
ย่่อมกล่่าว ซึ่่�งเรื่่�องนั่่�น ชื่่�ออะไร, ก็็ อ.เรา ถามแล้้ว ว่่า ‘ดููก่่อนสารีีบุุตร อ.เธอ ย่่อมเชื่่�อ ว่่า
‘อ.บุุคคล ชื่่�อว่่า เป็็นผู้้�สามารถ เพื่่�ออััน- ยัังอิินทรีีย์์ห้้า ท. ไม่่ให้้เจริิญแล้้ว ยัังสมถะและวิิปััสสนา
ไม่่ให้้เจริิญแล้้ว -กระทำำ�ให้้แจ้้ง ซึ่่�งมรรคและผล ท. มีีอยู่่�หรืือ’ ดัังนี้้�” ดัังนี้้�, อ.พระสารีีบุุตร นั้้�น
กราบทููลแล้้ว ว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ อ.ข้้าพระองค์์ ย่่อมไม่่เชื่่�อ ว่่า ‘อ.บุุคคล ผู้้�กระทำำ�ให้้
แจ้้งอยู่่� อย่่างนี้้� ชื่่�อว่่า มีีอยู่่�’ ดัังนี้้�” ดัังนี้้�, ไม่่เชื่่�อแล้้ว ซึ่่�งวิิบากอัันเป็็นผล ของทาน อัันอัันบุุคคล
ถวายแล้้ว หรืือ หรืือว่่า ของกรรม อัันอัันบุุคคลกระทำำ�แล้้ว หามิิได้้, ไม่่เชื่่�อแล้้ว ซึ่่�งคุุณ ของ
รััตนะ ท. มีีพระพุุทธเจ้้าเป็็นต้้น แม้้หามิิได้้. แต่่ว่่า อ.พระสารีีบุุตร นั้้�น ย่่อมไม่่ไป ด้้วยความ
เชื่่�อ ของบุุคคล ท. เหล่่าอื่่�น ในธรรมคืือฌานและวิิปััสสนาและมรรคและผล ท. อััน- อัันตน -ได้้
เฉพาะแล้้ว, เพราะเหตุุนั้้�น อ.พระสารีีบุุตร นั้้�น อัันบุุคคล ไม่่พึึงเข้้าไปว่่าร้้าย’’ ดัังนี้้� เมื่่�อทรง
สืืบต่่อ ซึ่่�งอนุุสนธิิ แสดง ซึ่่�งธรรม ตรััสแล้้ว ซึ่่�งพระคาถานี้้� ฯ
สตฺถา สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตํ วิเสสนะของ วจนํๆ อวุตตกัมมะ
ใน สุตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วตฺวา ‘‘ภิกฺขเว อาลปนะ ตุมฺเห สุทธกัตตาใน วเทถๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก นามศัพท์ สัญญาโชตกะเข้ากับ กึๆ ก็ดี เอตํ ก็ดี วิเสสนะของ วตฺถุํๆ อวุตต-
กัมมะใน วเทถ, หิศัพท์ วากยารัมภโชตกะ อหํ สุทธกัตตาใน ปุจฺฉึๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
‘สาริปุตฺตอาลปนะ ตฺวํ สุทธกัตตาใน สทฺทหสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ‘ปุคฺคโล สุทธกัตตา
ใน อตฺฺถิิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก ปญฺฺจิินฺฺทฺฺริิยานิิ การิิตกััมมะใน อภาเวตฺฺวาๆ ปุุพพกาล-
กิิริิยาใน อวฑฺฺเฒตฺฺวา สมถวิิปสฺฺสนํํ การิิตกััมมะใน อวฑฺฺเฒตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน สจฺฺฉิิกาตุํํ�
มคฺฺคผลานิิ อวุุตตกััมมะใน สจฺฺฉิิกาตุํํ�ๆ ตุุมััตถสััมปทานใน สมตฺฺโถ นามศััพท์์ สััญญาโชตกะเข้้า
กัับ สมตฺฺโถๆ วิิกติิกััตตาใน อตฺฺถิิ’ อิิติิศััพท์์ อาการะใน สทฺฺทหสิิ’ อิิติิศััพท์์ อาการะใน กเถสิิ,
146 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

โส วิเสสนะของ สาริปุตฺโตๆ สุทธกัตตาใน กเถสิ และ สทฺทหิ กเถสิ ก็ดี สทฺทหิ ก็ดี อาขยาต-
บทกัตตุวาจก ‘ภนฺเต อาลปนะ อหํ สุทธกัตตาใน สทฺทหามิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
‘สจฺฺฉิิกโรนฺฺโต วิิเสสนะของ ปุุคฺฺคโลๆ สุุทธกััตตาใน อตฺฺถิิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก เอวํํ กิิริิยา-
วิิเสสนะใน สจฺฺฉิิกโรนฺฺโต นามศััพท์์ สััญญาโชตกะเข้้ากัับ อตฺฺถิิ’ อิิติิศััพท์์ อาการะใน
สทฺทหามิ’ อิติศัพท์ อาการะใน กเถสิ, นศัพท์ ปฏิเสธนัตถะ ปุคฺคเลน อนภิหิตกัตตาใน
ทินฺนสฺสๆ วิเสสนะของ ทานสฺสๆ สามีสัมพันธะใน ผลวิปากํ วา สองศัพท์ ปทวิกัปปัตถะเข้า
กับ ทินฺนสฺส และ กตสฺส ปุคฺคเลน อนภิหิตกัตตาใน กตสฺสๆ วิเสสนะของ กมฺมสฺสๆ สามี-
สัมพันธะใน ผลวิปากํๆ อวุตตกัมมะใน สทฺทหิ นศัพท์ ปฏิเสธะใน สทฺทหิ, อปิศัพท์
อเปกขัตถะเข้ากับ นๆ ศัพท์ ปฏิเสธนัตถะ พุทฺธาทีนํ วิเสสนะของ รตนานํๆ สามีสัมพันธะ
ใน คุณํๆ อวุตตกัมมะใน สทฺทหิ นศัพท์ ปฏิเสธะใน สทฺทหิ, ปนศัพท์ วิเสสโชตกะ โส
วิเสสนะของ สาริปุตฺโตๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อตฺตนา อนภิหิตกัตตา
ใน ปฏลทฺเธสุๆ วิเสสนะของ ฌานวิปสฺสนามคฺคผลธมฺเมสุๆ วิสยาธาระใน คจฺฉติ ปเรสํ
วิเสสนะของ ปุคฺคลานํๆ สามีสัมพันธะใน สทฺธายๆ กรณะใน คจฺฉติ นศัพท์ ปฏิเสธะใน
คจฺฉติ, ตสฺมา เหตวัตถะ โส วิเสสนะของ สาริปุตฺโตๆ วุตตกัมมะใน อนุปวชฺโชๆ กิตบท-
กัมมวาจก ปุคฺคเลน อนภิหิตกัตตาใน อนุปวชฺโช’’ อิติศัพท์ อาการะใน วตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยา
ใน ฆเฏตฺวา อนุสนฺธึ อวุตตกัมมะใน ฆเฏตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน เทเสนฺโต ธมฺมํ อวุตต-
กัมมะใน เทเสนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา อิมํ วิเสสนะของ คาถํๆ อวุตตกัมมะใน อาห ฯ

= ตุมัตถสัมปทาน ที่สัมพันธ์เข้ากิริยา
โจโร กติปาหจฺจเยน จินฺเตสิ “กทา นุ โข อิมํ มาเรตฺวา เอติสฺสา อาภรณานิ
คเหตฺวา เอกสฺมึ สุราเคเห วิกฺกีณิตฺวา ขาทิตุํ ลภิสฺสามี”ติ. (๔/๓/๙๙)
โจโร กติปาหจฺจเยน จินฺเตสิ “(อหํ) กทา นุ โข อิมํ (อิตฺถึ) มาเรตฺวา เอติสฺสา (อิตฺถิยา)
อาภรณานิ คเหตฺวา เอกสฺมึ สุราเคเห วิกฺกีณิตฺวา ขาทิตุํ ลภิสฺสามี”ติ.
แปล: อ.โจร คิิดแล้้ว โดยอัันล่่วงไปแห่่งวัันเล็็กน้้อย ว่่า “อ.เรา จัักได้้ เพื่่�ออััน- ยัังหญิิง
นี้้� ให้้ตายแล้้ว ถืือเอาแล้้ว ซึ่่�งอาภรณ์์ ท. ของหญิิง นั่่�น ขายแล้้ว ในเรืือนเป็็นที่่�ดื่่�มซึ่่�งสุุรา -กิิน
ในกาลไหน หนอแล” ดัังนี้้� ฯ
โจโร สุทธกัตตาใน จินฺเตสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก กติปาหจฺจเยน ตติยาวิเสสนะใน
จินฺเตสิ “อหํ สุทธกัตตาใน ลภิสฺสามิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก กทา กาลสัตตมีใน ลภิสฺสามิ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 147

นุศัพท์ สังกัปปัตถะ โขศัพท์ วจนาลังการะ อิมํ วิเสสนะของ อิตฺถึๆ การิตกัมมะใน มาเรตฺวาๆ


ปุพพกาลกิริยาใน คเหตฺวา เอติสฺสา วิเสสนะของ อิตฺถิยาๆ สามีสัมพันธะใน อาภรณานิๆ
อวุตตกัมมะใน คเหตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วิกฺกีณิตฺวา เอกสฺมึ วิเสสนะของ สุราเคเหๆ
วิสยาธาระใน วิกฺกีณิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ขาทิตุํๆ ตุมัตถสัมปทานใน ลภิสฺสามิ” อิติศัพท์
อากระใน จินฺเตสิ ฯ

= ตุมัตถสัมปทาน ที่ประกอบกับการิตปัจจัย และสัมพันธ์เข้ากิริยา


“สเจ ตฺวํ อตฺตโน เคหทฺวาเร มณฺฑปํ กตฺวา ตสฺส มชฺเฌ ปีกํ กาเรตฺวา ตํ
ปริกฺขิปนฺโต อฏฺ วา โสฬส วา อาสนานิ ปญฺาเปตฺวา เตสุ มม สาวเก นิสีทาเปตฺวา
สตฺตาหํ นิรนฺตรํ ปริตฺตํ กาเรตุํ สกฺกุเณยฺยาสิ, เอวมสฺส อนฺตราโย วินสฺเสยฺยา”ติ (อาห).
(๔/๘/๑๑๔)
(สตฺถา) “สเจ ตฺวํ อตฺตโน เคหทฺวาเร มณฺฑปํ กตฺวา (ปุคฺคลํ) ตสฺส (มณฺฑปสฺส) มชฺเฌ ปีกํ
กาเรตฺวา ตํ (ปีฐกํ) ปริกฺขิปนฺโต อฏฺ วา โสฬส วา อาสนานิ ปญฺาเปตฺวา เตสุ (อาสเนสุ) มม
สาวเก นิสีทาเปตฺวา (เต สาวเก) สตฺตาหํ นิรนฺตรํ ปริตฺตํ กาเรตุํ สกฺกุเณยฺยาสิ, เอวํ อสฺส (ปุตฺตสฺส)
อนฺตราโย วินสฺเสยฺยา”ติ (อาห).
แปล: อ.พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า “ถ้าว่า อ.เธอ พึงอาจ เพื่ออัน- สร้างแล้ว ซึ่งมณฑป
ใกล้ประตูแห่งเรือน ของตน ยังบุคคล ให้ท�ำแล้ว ซึ่งตั่งน้อย ในท่ามกลาง แห่งมณฑป นั้น
แวดล้อมอยู่ ซึ่งตั่งน้อย นั้น ปูลาดแล้ว ซึ่งอาสนะ ท. แปด หรือ หรือว่า สิบหก ยังสาวก ท.
ของเรา ให้นั่งแล้ว บนอาสนะ ท. เหล่านั้น ยังพระสาวก ท. เหล่านั้น -ให้กระท�ำ ซึ่งพระปริตร
อันมีระหว่างไปปราศแล้ว ตลอดวันเจ็ด ไซร้, อ.อันตราย ของบุตร นั้น พึงพินาศไป ด้วย
ประการฉะนี้” ดังนี้ ฯ
สตฺถา สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “สเจ ปริกัปปัตถะ ตฺวํ สุทธกัตตา
ใน สกฺกุเณยฺยาสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อตฺตโน สามีสัมพันธะใน เคหทฺวาเรๆ สมีปาธาระ
ใน กตฺวา มณฺฑปํ อวุตตกัมมะใน กตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน กาเรตฺวา ปุคฺคลํ การิตกัมมะ
ใน กาเรตฺวา ตสฺส วิเสสนะของ มณฺฑปสฺสๆ สามีสัมพันธะใน มชฺเฌๆ วิสยาธาระใน กาเรตฺวา
ปีฐกํ อวุตตกัมมะใน กาเรตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปริกฺขิปนฺโต ตํ วิเสสนะของ ปีฐกํๆ
อวุตตกัมมะใน ปริกฺขิปนฺโตๆ อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา อฏฺฐ ก็ดี โสฬส ก็ดี วิเสสนะของ
อาสนานิ วา สองศัพท์ ปทวิกัปปัตถะเข้ากับ อฏฺฐ และ โสฬส อาสนานิ อวุตตกัมมะใน
148 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ปญฺญาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นิสีทาเปตฺวา เตสุ วิเสสนะของ อาสเนสุๆ อุปสิเลสิกาธาระ


ใน นิสีทาเปตฺวา มม สามีสัมพันธะใน สาวเกๆ การิตกัมมะใน นิสีทาเปตฺวาๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน กาเรตุํ สตฺตาหํ อัจจันตสังโยคะใน กาเรตุํ นิรนฺตรํ กิริยาวิเสสนะใน กาเรตุํ
ปริตฺตํ อวุตตกัมมะใน กาเรตุํๆ ตุมัตถสัมปทานใน สกฺกุเณยฺยาสิ, อนฺตราโย สุทธกัตตาใน
วินสฺเสยฺยๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เอวํ ปการัตถะ อสฺส วิเสสนะของ ปุตฺตสฺสๆ สามีสัมพันธะ
ใน อนฺตราโย ฯ

= ตุมัตถสัมปทาน ที่เข้าสมาส
“เวสาลีนคเร คณราชกุลานํ อภิเสกมงฺคลโปกฺขรณิยํ โอตริตฺวา นหาตฺวา ปานียํ
ปาตุกามมฺหิ สามี”ติ. (๓/๑/๑๕)
(มลฺลิกา) “(อหํ) เวสาลีนคเร คณราชกุลานํ อภิเสกมงฺคลโปกฺขรณิยํ โอตริตฺวา นหาตฺวา
ปานียํ ปาตุกามา อมฺหิ สามี”ติ (อาห).
แปล: อ.นางมัลลิกา กล่าวแล้ว อิติ ว่า “ข้าแต่สามี อ.ดิฉัน เป็นผู้ใคร่เพื่ออัน- ข้ามลง
ในสระโบกขรณีอันเป็นมงคลอันเป็นที่อภิเษก แห่งตระกูลแห่งพระราชาอันเป็นหมู่คณะ ท. ใน
พระนครชื่อว่าเวสาลี แล้วจึง อาบ แล้วจึง -ดื่ม ซึ่งน�้ำอันบุคคลพึงดื่ม ย่อมเป็น” ดังนี้ ฯ
มลฺลิกา สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “สามิ อาลปนะ อหํ สุทธกัตตา
ใน อมฺหิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เวสาลีนคเร วิสยาธาระใน อภิเสกมงฺคลโปกฺขณิยํ
คณราชกุลานํ สามีสัมพันธะใน อภิเสกมงฺคลโปกฺขณิยํๆ วิสยาธาระใน โอตริตฺวาๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน นหาตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปาตุกามา ปานียํ อวุตตกัมมะใน ปาตุกามาๆ วิกติ-
กัตตาใน อมฺหิ” อิติศัพท์ อาการะใน อาห ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 149

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


3c สามีีสััมพัันธะ (ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) ตฺฺวา
หรือ อนภิหิตกัตตา เป็นต้น
(ตติิยาวิิภััตติิ / ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) กิิตก์์ในภาวสาธนะ เช่่น ยุุปััจจััย

= ภาวสาธนะ-ยุ ปัจจัย
สตฺถา “สมิชฺฌิสฺสติ นุ โข อิมสฺส ปุริสสฺส ปตฺถนา”ติ อนาคตํสญาณํ เปเสตฺวา
โอโลเกนฺโต กปฺปสตสหสฺสาธิกํ เอกํ อสงฺเขยฺยํ อติกฺกมิตฺวา สมิชฺฌนภาวํ อทฺทส. (๑/๘/๑๐๑)
สตฺถา “สมิชฺฌิสฺสติ นุ โข อิมสฺส ปุริสสฺส ปตฺถนา”ติ (จินฺตเนน) อนาคตํสญาณํ เปเสตฺวา
โอโลเกนฺโต กปฺปสตสหสฺสาธิกํ เอกํ อสงฺเขยฺยํ อติกฺกมิตฺวา สมิชฺฌนภาวํ อทฺทส.
แปล: อ.พระศาสดา ทรงส่่งไปแล้้ว ซึ่่�งพระอนาคตัังสญาณ ด้้วยทรงดำำ�ริิ ว่่า “อ.ความ
ปรารถนา ของบุุรุุษนี้้� จัักสำำ�เร็็จ หรืือหนอ แล?” ดัังนี้้� ทรงตรวจดููอยู่่� ได้้ทรงแห็็นแล้้ว ซึ่่�งความ
เป็็นคืืออััน- ก้้าวล่่วง ซึ่่�งอสงไขย หนึ่่�ง อัันยิ่่�งด้้วยแสนแห่่งกััป -แล้้วจึึงสำำ�เร็็จ ฯ
สตฺถา สุทธกัตตาใน อทฺทสๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “ปตฺถนา สุทธกัตตาใน
สมิชฺฌิสฺสติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นุศัพท์ สังกัปปัตถะ โขศัพท์ วจนาลังการะ อิมสฺส
วิเสสนะของ ปุริสสฺสๆ สามีสัมพันธะใน ปตฺถนา” อิติศัพท์ สรูปะใน จินฺตเนนๆ กรณะใน
เปเสตฺวา อนาคตํสญาณํ อวุตตกัมมะใน เปเสตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน โอโลเกนฺโตๆ
อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา กปฺปสตสหสฺสาธิกํ ก็ดี เอกํ ก็ดี วิเสสนะของ อสงฺเขยฺยํๆ อวุตต-
กัมมะใน อติกฺกมิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน สมิชฺฌน- สมิชฺฌนภาวํ อวุตตกัมมะใน อทฺทส ฯ

= ภาวสาธนะ-ยุ ปัจจัย ที่ประกอบกับอนภิหิตกัตตา


อภิธมฺมตฺถานํ เอกสฺมึเยว ปกรเณ อาจริเยน สงฺขิปิตฺวา คหเณ วิชฺชมาเน, โสตูนํ
ตทุคฺคหปริปุจฺฉาทิวเสน เตสํ อภิธมฺมตฺถานํ สรูปาวโพโธ โหติ. (อภิธมฺมตฺถสงฺคหทีปนีฏีกา)
แปล: ครั้นเมื่ออัน- อันอาจารย์ ย่อ แล้วจึง -ถือเอาไว้ ในปกรณ์ เดียวเท่านั้น ซึ่งอรรถ
แห่งพระอภิธรรม ท. มีอยู่, อ.การรู้โดยการแสดง ซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรม ท. เหล่านั้น ย่อม
มี แก่นักศึกษา ท. ด้วยอ�ำนาจแห่งกิจมีการเรียนเอาและการสอบถามซึ่งประกรณ์นั้นเป็นต้น ฯ
สรููปาวโพโธ สุุทธกััตตาใน โหติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก อภิิธมฺฺมตฺฺถานํํ ฉััฏฐีีอวุุตต-
กััมมะใน คหเณ เอวศััพท์์ อวธารณะเข้้ากัับ เอกสฺฺมึึๆ วิิเสสนะของ ปกรเณๆ วิิสยาธาระใน
150 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

คหเณ อาจริิเยน อนภิิหิิตกััตตาใน คหเณ สงฺฺขิิปิิตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน คหเณๆ ลัักขณะใน


วิิชฺฺชมาเนๆ ลัักขณกิิริิยา, โสตููนํํ สััมปทานใน โหติิ ตทุุคฺฺคหปริิปุุจฺฺฉาทิิวเสน ตติิยาวิิเสสนะใน
โหติิ เตสํํ วิิเสสนะของ อภิิธมฺฺมตฺฺถานํํๆ ฉััฏฐีีอวุุตตกััมมะใน สรููปาวโพโธ ฯ

= ภาวสาธนะ-ยุปัจจัย ที่คล้าย ตุมัตถสัมปทาน คือ ไม่เรียกหาสามีสัมพันธะ และไม่เรียกหา


อนภิหิตกัตตา)
อถ นํ โจรเชฏฺโก โอโลเกตฺวา “อยํ มาตุ ถนํ ฉินฺทิตฺวา ปิตุ วา คลโลหิตํ
นีหริตฺวา ขาทนสมตฺโถ อติกกฺขโฬ”ติ จินฺเตตฺวา “นตฺเถตสฺส อมฺหากํ สนฺติเก วสนกิจฺจนฺ”ติ
ปฏิกฺขิปิ. (๔/๑/๘๗)
อถ นํ (ปุริสํ) โจรเชฏฺโก โอโลเกตฺวา “อยํ (ปุริโส) มาตุ ถนํ ฉินฺทิตฺวา ปิตุ วา คลโลหิตํ
นีหริตฺวา ขาทนสมตฺโถ อติกกฺขโฬ (โหติ)” อิติ จินฺเตตฺวา “นตฺถิ เอตสฺส (ปุริสสฺส) อมฺหากํ สนฺติเก
วสนกิจฺจนฺ”ติ ปฏิกฺขิปิ.
แปล: ครั้้�งนั้้�น อ.โจรผู้้�เจริิญที่่�สุุด แลดููแล้้ว ซึ่่�งบุุรุุษ นั้้�น คิิดแล้้ว ว่่า “อ.บุุรุุษ นี้้� เป็็นผู้้�
สามารถเพื่่�ออััน- ตััดแล้้ว ซึ่่�งเต้้านม ของมารดา หรืือ หรืือว่่า นำำ�ออกแล้้ว ซึ่่�งเลืือดในลำำ�คอ
ของบิิดา -เคี้้�ยวกิิน เป็็นผู้้�หยาบช้้ายิ่่�ง ย่่อมเป็็น” ดัังนี้้� ห้้ามแล้้ว ว่่า “อ.กิิจคืือการอยู่่� ในสำำ�นััก
ของเรา ท. ย่่อมไม่่มีี แก่่บุุรุุษ นั่่�น” ดัังนี้้� ฯ
อถ กาลสัตตมี โจรเชฏฺฐโก สุทธกัตตาใน ปฏิกฺขิปิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นํ
วิเสสนะของ ปุริสํๆ อวุตตกัมมะใน โอโลเกตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน จินฺเตตฺวา “อยํ วิเสสนะ
ของ ปุริโสๆ สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก มาตุ สามีสัมพันธะใน ถนํๆ อวุตต-
กัมมะใน ฉินฺทิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นีหริตฺวา ปิตุ สามีสัมพันธะใน คลโลหิตํ วาศัพท์
ปทวิกัปปัตถะเข้ากับ มาตุ ถนํ ฉินฺทิตฺวา และ ปิตุ คลโลหิตํ นีหริตฺวา, คลโลหิตํ อวุตต-
กัมมะใน นีหริตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ขาทน- ขาทนสมตฺโถ ก็ดี อติกกฺขโฬ ก็ดี วิกติกัตตา
ใน โหติ” อิติศัพท์ อาการะใน จินฺเตตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปฏิกฺขิปิ “วสนกิจฺจํ สุทธกัตตา
ใน นตฺถิๆ กิริยาบทกัตตุวาจก เอตสฺส วิเสสนะของ ปุริสสฺสๆ สัมปทานใน นตฺถิ อมฺหากํ
สามีสัมพันธะใน สนฺติเกๆ วิสยาธาระใน วสน-” อิติศัพท์ อาการะใน ปฏิกฺขิปิ ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 151

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


3d - ตฺวา กิตก์ในกัตตุสาธนะ เช่น ณฺวุปัจจัย, ตุปัจจัย
เป็นต้น

= กัตตุสาธนะ-ณฺวุ ปัจจัย
ตทา กิร วฑฺฒกีหิ ปาทสฺส อโรคกรณภาเวน กตํ อตฺตโน อุปการํ ตฺวา
สพฺพเสตสฺส หตฺถิโปตกสฺส ทายโก เอกจาริโก หตฺถี สารีปุตฺตตฺเถโร อโหสิ. (๔/๑/๓)
แปล: ได้ยินว่า อ.ช้าง ตัวเที่ยวไปตัวเดียว ตัว- รู้แล้ว ซึ่งอุปการะ แก่ตน อัน- อันช่างไม้
ท. -กระท�ำแล้ว โดยความเป็นคืออันกระท�ำ- ซึ่งเท้า -ให้เป็นเท้าอันไม่มีโรค -ให้ซึ่งช้างตัวน้อย
ตัวขาวทั้งตัว ในกาลนั้น เป็นพระสารีบุตร ได้เป็นแล้ว ฯ
กิิรศััพท์์ อนุุสสวนััตถะ ทายโก ก็็ดีี เอกจาริิโก ก็็ดีี วิิเสสนะของ หตฺฺถีีๆ สุุทธกััตตาใน
อโหสิิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก ตทา กาลสััตตมีีใน ทายโก วฑฺฺฒกีีหิิ อนภิิหิิตกััตตาใน กตํํ
ปาทสฺฺส ฉััฏฐีีอวุุตตกััมมะใน -กรณ- อโรคกรณภาเวน ตติิยาวิิเสสนะใน กตํํๆ วิิเสสนะของ
อุุปการํํ อตฺฺตโน สััมปทานใน อุุปการํํๆ อวุุตตกััมมะใน ญตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน ทายโก
สพฺฺพเสตสฺฺส วิิเสสนะของ หตฺฺถิิโปตกสฺฺสๆ ฉััฏฐีีอวุุตตกััมมะใน ทายโก สารีีปุุตฺฺตตฺฺเถโร วิิกติิ-
กััตตาใน อโหสิิ ฯ

= กัตตุสาธนะ-ตุ ปัจจัย
โปสกาติ หตฺถปาเท วฑฺเฒตฺวา หทยโลหิตํ ปาเยตฺวา โปเสตาโร. (มงฺคลตฺถทีปนี
๑/๒๙๖/๒๗๒)
“โปสกาติิ (ปทสฺฺส) “หตฺฺถปาเท วฑฺฺเฒตฺฺวา (ปุุตฺฺเต) หทยโลหิิตํํ ปาเยตฺฺวา โปเสตาโร (โหนฺฺติิ)”
(อิิติิ อตฺฺโถ).
แปล: อ.อรรถ ว่่า “เป็็นผู้้�- ยัังมืือและเท้้า ท. ให้้เจริิญแล้้ว ยัังบุุตร ท. ให้้ดื่่�ม
ซึ่่�งเลืือดในหทััย แล้้วจึึงเลี้้�ยงดูู” ดัังนี้้� แห่่งบท ว่่า “โปสกา” ดัังนี้้� ฯ
“โปสกา” สรููปะใน อิิติๆิ ศััพท์์ สรููปะใน ปทสฺฺสๆ สามีีสัมพั ั นั ธะใน อตฺฺโถ “หตฺฺถปาเท
การิิตกััมมะใน วฑฺฺเฒตฺฺวาๆ ปุุพพกาลกิิริิยาใน ปาเยตฺฺวา ปุุตฺฺเต การิิตกััมมะใน ปาเยตฺฺวา
หทยโลหิิตํํ อวุุตตกััมมะใน ปาเยตฺฺวาๆ สมานกาลกิิริิยาใน โปเสตาโรๆ วิิกติิกััตตาใน โหนฺฺติิ”
อิิติิศััพท์์ สรููปะใน อตฺฺโถๆ ลิิงคััตถะ ฯ
152 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


3e สามีีสััมพัันธะ (ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) ตฺฺวา กิิตก์์ในกััตตุุรููป อธิิกรณสาธนะ เช่่น ยุุปััจจััย, ตปััจจััย
เป็นต้น

= วิเสสนะ-กัตตุรูป อธิกรณสาธนะ-ยุ ปัจจัย


ราชา “วิสาขา กิร ปญฺจนฺนํ หตฺถีนํ ถามํ ธาเรตี”ติ สุตฺวา ตสฺสา วิหารํ คนฺตฺวา
ธมฺมํ สุตฺวา อาคมนเวลาย ถามํ วีมํสิตุกาโม หตฺถึ วิสฺสชฺชาเปสิ. (๓/๘/๖๗)
ราชา “วิสาขา กิร ปญฺจนฺนํ หตฺถีนํ ถามํ ธาเรตี”ติ สุตฺวา ตสฺสา (วิสาขาย) วิหารํ คนฺตฺวา
ธมฺมํ สุตฺวา อาคมนเวลาย ถามํ วีมํสิตุกาโม (หุตฺวา ปุคฺคลํ) หตฺถึ วิสฺสชฺชาเปสิ.
แปล: ได้ยินว่า อ.พระราชา ทรงสดับแล้ว ว่า “อ.นางวิสาขา ย่อมทรงไว้ ซึ่งก�ำลัง ของ
ช้าง ท. ห้า” ดังนี้ เป็นผู้ทรงประสงค์เพื่ออันทดลอง ซึ่งก�ำลัง เป็น ทรงยังบุคคล ให้ปล่อยแล้ว
ซึ่งช้าง ในเวลาเป็นที่- ไป สู่วิหาร แล้วจึง ฟัง ซึ่งธรรม แล้วจึง -มา ของนางวิสาขา นั้น ฯ
ราชา เหตุกัตตาใน วิสฺสชฺชาเปสิๆ อาขยาตบทเหตุกัตตุวาจก “กิรศัพท์ อนุสสวนัตถะ
วิสาขา สุทธกัตตาใน ธาเรติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ปญฺจนฺนํ วิเสสนะของ หตฺถีนํๆ สามี-
สัมพันธะใน ถามํๆ อวุตตกัมมะใน ธาเรติ” อิติศัพท์ อาการะใน สุตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน
คนฺตฺวา ตสฺสา วิเสสนะของ วิสาขายๆ สามีสัมพันธะใน อาคมน- วิหารํ สัมปาปุณียกัมมะใน
คนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน สุตฺวา ธมฺมํ อวุตตกัมมะใน สุตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อาคมน-
อาคมนเวลาย กาลสัตตมีใน วิสฺสชฺชาเปสิ ถามํ อวุตตกัมมะใน วีมํสิตุกาโมๆ วิกติกัตตาใน
หุตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วิสฺสชฺชาเปสิ ปุคฺคลํ การิตกัมมะใน วิสฺสชฺชาเปสิ หตฺถึ อวุตต-
กัมมะใน วิสฺสชฺชาเปสิ ฯ

โพธิมูเล ทสสหสฺสีโลกธาตุํ กมฺเปตฺวา สมฺโพธึ ปตฺตทิวเสเยว หิ เนสํ “อยํ มคฺโค


นิรยํ คจฺฉติ, อยํ ติรจฺฉานโยนึ, อยํ เปตฺติวิสยํ, อยํ มนุสฺสโลกํ, อยํ เทวโลกํ, อยํ อมต-
มหานิพฺพานนฺ”ติ สพฺเพ มคฺคา อาวิภูตา. (๓/๖/๓๙)
โพธิมูเล ทสสหสฺสีโลกธาตุํ กมฺเปตฺวา สมฺโพธึ ปตฺตทิวเส เอว หิ เนสํ (พุทฺธานํ) “อยํ มคฺโค
นิรยํ คจฺฉติ, อยํ (มคฺโค) ติรจฺฉานโยนึ (คจฺฉติ), อยํ (มคฺโค) เปตฺติวิสยํ (คจฺฉติ), อยํ (มคฺโค)
มนุสฺสโลกํ (คจฺฉติ), อยํ (มคฺโค) เทวโลกํ (คจฺฉติ), อยํ (มคฺโค) อมตมหานิพฺพานํ (คจฺฉติ)” อิติ
สพฺเพ มคฺคา อาวิภูตา.
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 153

แปล (วิเสสนะ-กัตตุรูป กัตตุสาธนะ-ต ปัจจัย): เพราะว่า อ.หนทาง ท. ทั้งปวง มีแจ้ง


แล้ว แก่พระพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น ว่า “อ.ทางนี้ ย่อมไป สู่นรก, อ.ทาง นี้ ย่อมไป สู่ก�ำเนิด
แห่่งดิิรััจฉาน, อ.ทาง นี้้� ย่่อมไป สู่่�วิิสััยแห่่งเปรต, อ.ทาง นี้้� ย่่อมไป สู่่�โลกของมนุุษย์์, อ.ทาง
นี้้� ย่่อมไป สู่่�โลกของเทวดา, อ.ทาง นี้้� ย่่อมไป สู่่�อมตมหานิิพพาน” ดัังนี้้� ในวัันเป็็นที่่�- ทรงยััง
โลกธาตุุหมื่่�นหนึ่่�ง ให้้หวั่่�นไหว แล้้วจึึง -ทรงบรรลุุแล้้ว ซึ่่�งพระสััมโพธิิญาณ ที่่�โคนแห่่งต้้นโพธิ์์�
นั่นเทียว ฯ
หิศัพท์ เหตุโชตกะ สพฺเพ วิเสสนะของ มคฺคาๆ สุทธกัตตาใน อาวิภูตาๆ กิตบทกัตตุ-
วาจก โพธิมูเล วิสยาธาระใน ปตฺต- ทสสหสฺสีโลกธาตุํ การิตกัมมะใน กมฺเปตฺวาๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน ปตฺต- สมฺโพธึ สัมปาปุณียกัมมะใน ปตฺต- เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ปตฺตทิวเสๆ
กาลสัตตมีใน อาวิภูตา เนสํ วิเสสนะของ พุทฺธานํๆ สัมปทานใน อาวิภูตา “อยํ วิเสสนะของ
มคฺโคๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นิรยํ สัมปาปุณียกัมมะใน คจฺฉติ, อยํ
วิเสสนะของ มคฺโคๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ติรจฺฉานโยนึ สัมปาปุณีย-
กัมมะใน คจฺฉติ, อยํ วิเสสนะของ มคฺโคๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
เปตฺติวิสยํ สัมปาปุณียกัมมะใน คจฺฉติ, อยํ วิเสสนะของ มคฺโคๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก มนุสฺสโลกํ สัมปาปุณียกัมมะใน คจฺฉติ, อยํ วิเสสนะของ มคฺโคๆ
สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เทวโลกํ สัมปาปุณียกัมมะใน คจฺฉติ, อยํ
วิเสสนะของ มคฺโคๆ สุทธกัตตาใน คจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อมตมหานิพฺพานํ
สัมปาปุณียกัมมะใน คจฺฉติ” อิติศัพท์ อาการะใน อาวิภูตา ฯ
154 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง


3f สามีสัมพันธะ อนภิหิตกัตตา ตฺวา กิตก์ในกัมมรูป อธิกรณสาธนะ เช่น ตปัจจัย
(ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) (ตติิยาวิิภััตติิ เป็็นต้้น
/ ฉััฏฐีีวิิภััตติิ)

= วิเสสนะ-กัมมรูป อธิกรณสาธนะ-ต ปัจจัย


อิเม ปน อิทฺธิยา อภิสงฺขริตฺวา นิมฺมิตกาเล คตา ภวิสฺสนฺติ. (๔/๙/๗๙)
อิเม (ภิกฺขู) ปน (วสนสฺส เถเรน) อิทฺธิยา อภิสงฺขริตฺวา นิมฺมิตกาเล คตา ภวิสฺสนฺติ.
แปล (วิเสสนะ-กัมมรูป กัมมสาธนะ-ต ปัจจัย): ส่วนว่า (อ.ภิกษุ ท.) เหล่านี้ เป็นผู้ไป
แล้ว ในกาล- (แห่งที่เป็นที่อยู่ อันพระเถระ) ปรุงแต่งแล้ว -เนรมิตแล้ว ด้วยฤทธิ์ จักเป็น ฯ
ปนศัพท์ ปักขันตรโชตกะ อิเม วิเสสนะของ ภิกฺขูๆ สุทธกัตตาใน ภวิสฺสนฺติๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก วสนสฺส สามีสัมพันธะใน นิมฺมิตกาเล เถเรน อนภิหิตกัตตาใน นิมฺมิต- อิทฺธิยา
กรณะใน อภิสงฺขริตฺวาๆ สมานกาลกิริยาใน นิมฺมิต- นิมฺมิตกาเล กาลสัตตมีใน คตาๆ วิกติ-
กัตตาใน ภวิสฺสนฺติ ฯ
= วิเสสนะ-กัมมรูป อธิกรณสาธนะ-ต ปัจจัย
อฑฺฒเตฬสโกฏฺสตานิ โสธาเปตฺวา สีส นหาตฺวา เตสํ ทฺวาเร นิสีทิตฺวา อุทฺธํ
โอโลกิตกฺขเณเยว รตฺตสาลิธารา ปติตฺวา สพฺพโกฏฺเ ปูเรยฺยุํ. (มงฺคลตฺถทีปนี ๑/๔๑๖/๓๗๓)
(มยา) อฑฺฒเตฬสโกฏฺสตานิ โสธาเปตฺวา สีส นหาตฺวา เตสํ (โกฏฺานํ) ทฺวาเร นิสีทิตฺวา
อุทฺธํ โอโลกิตกฺขเณ เอว รตฺตสาลิธารา ปติตฺวา สพฺพโกฏฺเ ปูเรยฺยุํ.
แปล: ในขณะเป็นที่- อันข้าพเจ้า ยังร้อยแห่งฉางสิบสาม[อันหย่อน]ด้วยกึ่ง ให้หมดจด
แล้วจึง สระ ซึ่งศีรษะ แล้วจึง นั่ง ใกล้ประตู ของฉาง ท. เหล่านั้น แล้วจึง -แลดูแล้ว ที่เบื้องบน
อ.สายธารแห่งข้าวสาลีแดง พึง- ตกลงแล้ว ยังฉางทั้งปวง ท. -ให้เต็ม ฯ
รตฺตสาลิธารา สุทธกัตตาใน ปูเรยฺยุํๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก มยา อนภิหิตกัตตาใน
โอโลกิต- อฑฺฒเตฬสโกฏฺฐสตานิ การิตกัมมะใน โสธาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นหาตฺวา
สีสํ อวุตตกัมมะใน นหาตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน นิสีทิตฺวา เตสํ วิเสสนะของ โกฏฺฐานํๆ
สามีสัมพันธะใน ทฺวาเรๆ สมีปาธาระใน นิสีทิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน โอโลกิต- อุทฺธํ อาธาระ
ใน โอโลกิต- เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ โอโลกิตกฺขเณๆ กาลสัตตมีใน ปูเรยฺยุํ ปติตฺวา
ปุพพกาลกิริยาใน ปูเรยฺยุํ สพฺพโกฏฺเฐ วิสยาธาระใน ปูเรยฺยุํ ฯ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 155

กรณีที่ 4 ภาวศัพท์/ภาวตัทธิต
ข้อ ล็อคหน้า ถูกล็อค ล็อคหลัง
4 ภาวาทิสัมพันธะ ตฺวา กิริยากิตก์กัตตุรูป หรือ เหตุกัตตุรูป, ภาวศัพท์อันเป็นบทหลัง
(ฉััฏฐีีวิิภััตติิ) เป็็นต้้น นามกิิตก์์วิิเสสนะ, ของฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส
พหุุพพีีหิิสมาส หรืือ หรืือ ปััจจััยในภาวตััทธิิต
สามััญญวุุตติิตััทธิิต

= ตปัจจัย กัตตุรูป+ภาวศัพท์
เสฏฺฐิธีตาปิ ตสฺสาคนฺตฺวา ทฺวาเร ฐิตภาวํ สุตฺวา ตํ ปกฺโกสาเปตฺวา “กึ ตาตา”ติ
ปุจฺฉิ. (๒/๑/๒๒)
เสฏฺฐิธีตาปิ ตสฺส (ปุริสสฺส) คนฺตฺวา ทฺวาเร ฐิตภาวํ สุตฺวา (ปุคฺคลํ) ตํ (ปุริสํ) ปกฺโกสาเปตฺวา
“กึ ตาตา”ติ ปุจฺฉิ.
แปล: แม้้ อ.ธิิดาของเศรษฐีี ฟัังแล้้ว ซึ่่�งความที่่�- แห่่งบุุรุุษ นั้้�น เป็็นผู้้� มาแล้้ว -ยืืนแล้้ว
ใกล้้ประตูู ยัังบุุคคล ให้้ร้้องเรีียกแล้้ว ซึ่่�งบุุรุุษ นั้้�น ถามแล้้ว ว่่า “แน่่ะพ่่อ อ.อะไร?” ดัังนี้้� ฯ
อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ เสฏฺฐิธีตาๆ สุทธกัตตาใน ปุจฺฉิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
ตสฺส วิเสสนะของ ปุริสสฺสๆ ภาวาทิสัมพันธะใน ฐิตภาวํ คนฺตฺวา ปุพพกาลกิริยาใน ฐิต-
ทฺวาเร สมีปาธาระใน ฐิต- ฐิตภาวํๆ อวุตตกัมมะใน สุตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปกฺโกสาเปตฺวา
ปุคฺคลํ การิตกัมมะใน ปกฺโกสาเปตฺวา ตํ วิเสสนะของ ปุริสํๆ อวุตตกัมมะใน ปกฺโกสาเปตฺวาๆ
ปุพพกาลกิริยาใน ปุจฺฉิ “ตาต อาลปนะ กึ ปุจฉนัตถลิงคัตถะ” อิติศัพท์ อาการะใน ปุจฺฉิ ฯ

= ตปัจจัย กัตตุรูป+ภาวศัพท์
ตสฺมึ ขเณ สา ทาสี ปมฺมุสฺสิตฺวา นิกฺขนฺตภาวํ ตฺวา “อยฺเย ปมฺมุฏฺมฺหี”ติ อาห.
(๓/๘/๖๙)
ตสฺมึ ขเณ สา ทาสี (อตฺตโน) ปมฺมุสฺสิตฺวา นิกฺขนฺตภาวํ ตฺวา “(อหํ) อยฺเย ปมฺมุฏฺา
อมฺหี”ติ อาห.
แปล : ในขณะนั้น อ.นางทาสีนั้น รู้แล้ว ซึ่งความที่- แห่งตน เป็นผู้ ลืมแล้ว ซึ่งเครื่อง
ประดับนั้น -ออกมาแล้ว กล่าวแล้ว ว่า “ข้าแต่แม่เจ้า อ.ดิฉัน เป็นผู้ลืมแล้ว ย่อมเป็น” ดังนี้ ฯ
156 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ตสฺมึ วิเสสนะของ ขเณๆ กาลสัตตมีใน อาห สา วิเสสนะของ ทาสีๆ สุทธกัตตา


ใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อตฺตโน ภาวาทิสัมพันธะใน นิกฺขนฺตภาวํ ปมฺมุสฺสิตฺวา
ปุพพกาลกิริยาใน นิกฺขนฺต- นิกฺขนฺตภาวํ อวุตตกัมมะใน ญตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อาห
“อยฺเย อาลปนะ อหํ สุทธกัตตาใน อมฺหิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ปมฺมุฏฺฐา วิกติกัตตาใน
อมฺหิ” อิติศัพท์ อาการะใน อาห ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. เสฏฺฐี อตฺตนา ปาลิตํ วนปฺปตึ นิสฺสาย ลทฺธตฺตา ตสฺส “ปาโลติ นามํ อกาสิ.
เสฏฺฐี (ตสฺส ปุตฺตสฺส) อตฺตนา (อตฺตนา) ปาลิตํ วนปฺปตึ นิสฺสาย ลทฺธตฺตา ตสฺส (ปุตฺตสฺส)
“ปาโลติ (วจนํ) นามํ อกาสิ. (๑/๑/๓)
เศรษฐีได้ตั้งค�ำว่า “ปาละ” ดังนี้ ให้เป็นชื่อของบุตรนั้น เพราะความที่แห่งบุตรนั้น
ตนได้มาเพราะอาศัยต้นไม้เจ้าป่าที่ตนรักษาแล้วจึงได้แล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. “อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา เทฺว วา นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิฏกํ
พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา ตสฺส ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ คนฺถธุรํ นาม,
สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺฐเปตฺวา
สาตจฺจกิริยาวเสน วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ วิปสฺสนาธุรํ
นามาติ. (๑/๑/๗)
(สตฺถา) “อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา (นิกายํ) เทฺว วา นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิฏกํ
พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา ตสฺส (พุทฺธวจนสฺส) ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ (ธุรํ) คนฺถธุรํ นาม,
สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส (ภิกฺขุโน) อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺฐเปตฺวา สาตจฺจ-
กิริยาวเสน วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ (ธุรํ) วิปสฺสนาธุรํ นามาติ (อาห).
พระศาสดาตรััสว่่า “ธุุระนี้้� คืือ การเรีียนเอาหนึ่่�งนิิกายหรืือ หรืือว่่าสองนิิกาย ก็็หรืือ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 157

ว่่า พระพุุทธพจน์์ คืือปิิฏกสามทั้้�งสิ้้�น แล้้วจึึงทรงไว้้ กล่่าว บอกพระพุุทธพจน์์นั้้�น


ตามสมควรแก่่ปััญญาของตน ชื่่�อว่่าคัันถธุุระ,
ส่่วนว่่า ธุุระนี้้� คืือ การเริ่่�มตั้้�งความสิ้้�นไปและความเสื่่�อมไปในอััตภาพ แล้้วเจริิญ
วิิปััสสนา ด้้วยสามารถแห่่งการทำำ�ให้้ติิดต่่อ แล้้วจึึงถืือเอาความเป็็นแห่่งพระอรหัันต์์
แห่่งภิิกษุุผู้้�ยิินดีียิ่่�งในเสนาสนะที่่�สงััดแล้้ว ผู้้�มีีความประพฤติิอัันเบาพร้้อม ชื่่�อว่่า
วิิปััสสนาธุุระ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
158 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. สามเณโร เถรํ ยฏฺฐิโกฏิยา อาทาย คจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค อฏวิยํ สงฺกฏฺฐนครํ


นาม เถเรน อุปนิสฺสาย วุตฺถปุพฺพคามํ สมฺปาปุณิ. (๑/๑/๑๔)
สามเณโร เถรํ ยฏฺฐิโกฏิยา อาทาย คจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค อฏวิยํ สงฺกฏฺฐนครํ นาม เถเรน
อุปนิสฺสาย วุตฺถปุพฺพคามํ สมฺปาปุณิ.
สามเณรพาพระเถระด้วยปลายไม้เท้า ไปอยู่ ถึงหมู่บ้านที่พระเถระเคยเข้าไปอาศัยอยู่
แล้ว ชื่อว่าสังกัฏฐนคร ใกล้ดง ในระหว่างหนทาง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. “อาม สมฺม, อิทานาหํ วิหารํ คนฺตฺวา เถรํ ตยา การิตปณฺณสาลายํ นิสินฺนกํ
ทิสฺวา อาคโตมฺหีติ วตฺวา ปกฺกามิ. (๑/๑/๑๗)
(สกฺโก) “อาม สมฺม, อิทานิ อหํ วิหารํ คนฺตฺวา เถรํ ตยา การิตปณฺณสาลายํ นิสินฺนกํ ทิสฺวา
อาคโต อมฺหีติ วตฺวา ปกฺกามิ.
ท้้าวสัักกะตรััสว่่า “แน่่ะสหายผู้้�มีีธุุระอัันเสมอ เออ อย่่างนั้้�น, ในกาลนี้้� เราไปวิิหาร เห็็น
พระเถระผู้้�นั่่�งที่่�บรรณศาลา ที่่�ท่่านให้้สร้้างไว้้ เป็็นผู้้�มาแล้้ว” ดัังนี้้� แล้้วก็็หลีีกไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. สา เวชฺฺเชนาคนฺฺ ตฺฺวา “กีีทิสํิ ํ ภทฺฺเท”ติิ ปุุฏฺฺา, “ปุุพฺฺเพ เม อกฺฺขีนิี ิ โถกํํ รุุชฺฺชึึสุ,ุ
อิิทานิิ ปน อติิเรกตรํํ รุุชฺฺชนฺฺตี”ี ติิ อาห. (๑/๑/๑๙)
สา (อิิตฺฺถี)ี เวชฺฺเชน อาคนฺฺ ตฺฺวา “(อกฺฺขิยุิ คํุ )ํ กีีทิสํิ ํ (โหติิ) ภทฺฺเท”ติิ ปุุฏฺฺา “(วาเตน) ปุุพฺฺเพ เม
อกฺฺขีนิี ิ โถกํํ รุุชฺฺชึึสุ,ุ อิิทานิิ ปน (วาเตน เม อกฺฺขีนิี ิ) อติิเรกตรํํ รุุชฺฺชนฺฺตี”ี ติิ อาห.
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 159

หญิิงนั้้�น ถููกหมอที่่�มาแล้้วถามว่่า “เป็็ นเช่่นไรบ้้าง แม่่นาง” ก็็กล่่าวว่่า “เมื่่อ� ก่่อน ลม


เสีียดแทงนััยน์์ตาทั้้�งหลายของดิิฉันั หน่่อยเดีียว, แต่่ตอนนี้้� เสีียดแทงมากกว่่าก่่อน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. อถ พฺฺราหฺฺมโณ กตภตฺฺตกิิจฺฺจํํ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา นีีจาสเน นิิสินฺิ ฺ โน ปฺฺหํํ
ปุุจฺฺฉิิ “โภ โคตม ตุุมฺฺหากํํ ทานํํ อทตฺฺวา ปููชํํ อกตฺฺวา ธมฺฺมํํ อสฺฺสุตฺุ ฺวา อุุโปสถวาสํํ
อวสิิตฺฺวา เกวลํํ มโนปสาทมตฺฺเตเนว สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตา นาม โหนฺฺ ตีติี .ิ (๑/๒/๓๑)
อถ พฺฺราหฺฺมโณ กตภตฺฺตกิิจฺฺจํํ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา นีีจาสเน นิิสินฺิ ฺ โน ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิิ “โภ
โคตม ตุุมฺฺหากํํ ทานํํ อทตฺฺวา ปููชํํ อกตฺฺวา ธมฺฺมํํ อสฺฺสุตฺุ ฺวา อุุโปสถวาสํํ อวสิิตฺฺวา เกวลํํ
มโนปสาทมตฺฺเตน เอว (การเณน) สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตา นาม (สตฺฺตา) โหนฺฺ ตีติี .ิ
ทีีนั้้น� พราหมณ์์เข้้าไปเฝ้้าพระตถาคตผู้้ท� รงกระทำำ�ภััตรกิิจเสร็็จแล้้ว นั่่�งบนอาสนะต่ำำ��
ทููลถามปััญหาว่่า “ข้้าแต่่พระโคดมผู้้เ� จริิญ ธรรมดาสััตว์์ทั้้ง� หลายผู้้ที่่� ไ� ม่่ได้้ถวายทาน
ไม่่ได้้ทำำ�การบููชาแก่่พระองค์์ ไม่่ได้้ฟัังธรรม ไม่่ได้้อยู่่�รัักษาอุุโบสถศีีล บัังเกิิดบนสวรรค์์
เพราะเหตุุสักั ว่่าทำำ�ใจให้้เลื่่อ� มใสล้้วนๆ มีีอยู่่�หรืือเปล่่าครัับ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
160 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๗. “พฺฺราหฺฺมณ กสฺฺมา มํํ ปุุจฺฺฉสิ,ิ นนุุ เต ปุุตฺฺเตน มฏฺฺกุุณฺฺฑลินิ า มยิิ มนํํ ปสาเทตฺฺวา
อตฺฺตโน สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตภาโว กถิิโตติิ. (๑/๒/๓๑-๓๒)
(สตฺฺถา) “(ตฺฺวํ)ํ พฺฺราหฺฺมณ กสฺฺมา มํํ ปุุจฺฺฉสิ,ิ นนุุ เต ปุุตฺฺเตน มฏฺฺกุุณฺฺฑลินิ า มยิิ มนํํ
ปสาเทตฺฺวา อตฺฺตโน สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตภาโว กถิิโตติิ (อาห).
พระศาสดาตรััสว่่า “พราหมณ์์ เธอถามเราเพราะอะไร? ความที่่�ตนทำำ�ใจให้้เลื่่อ� มใสใน
เราแล้้วบัังเกิิดในสวรรค์์ มััฏฐกุุณฑลีผู้ี เ้� ป็็ นบุุตรของเธอ บอกแล้้วมิิใช่่หรืือ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. อเถโก ภิิกฺฺขุุ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา อุุกฺฺเขปกานํํ “ธมฺฺมิเิ กเนวายํํ กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ
ลทฺฺธึึ อุุกฺฺขิตฺิ ฺตานุุวตฺฺตกานํํ “อธมฺฺมิเิ กน กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ ลทฺฺธึึ อุุกฺฺเขปเกหิิ
วาริิยมานานํํปิิ จ เตสํํ ตํํ อนุุปริิวาเรตฺฺวา วิิจรณภาวํํ อาโรเจสิิ. (๑/๕/๕๐)
อถ เอโก ภิิกฺฺขุุ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา อุุกฺฺเขปกานํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) “(สงฺฺเฆน) ธมฺฺมิเิ กน เอว อยํํ
(ธมฺฺมกถิิโก) กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ ลทฺฺธึึ (จ) (สงฺฺเฆน) อุุกฺฺขิตฺิ ฺตานุุวตฺฺตกานํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) “(สงฺฺเฆน
อมฺฺหากํํ อุุปชฺฺฌาโย) อธมฺฺมิเิ กน กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ ลทฺฺธึึ (จ) อุุกฺฺเขปเกหิิ (ภิิกฺฺขููหิ)ิ
วาริิยมานานํํปิิ จ เตสํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) ตํํ (ธมฺฺมกถิิกํ)ํ อนุุปริิวาเรตฺฺวา วิิจรณภาวํํ อาโรเจสิิ.
ทีีนั้้น� พระภิิกษุุรููปหนึ่่�งเข้้าไปเฝ้้าพระตถาคต กราบทููลลััทธิิของพวกภิิกษุุผู้ทำำ� ้� การ
ยกวััตรว่่า “พระธรรมกถึึกนี้้� ถููกสงฆ์์ยกวััตรด้้วยกรรมที่่�ชอบธรรมแล้้ว” ลััทธิิของพวก
ภิิกษุุผู้ป้� ระพฤติิตามพระธรรมกถึึกที่่�ถููกสงฆ์์ยกวััตรแล้้วว่่า “พระอุุปััชฌาย์์ของพวกเรา
ถููกสงฆ์์ยกวััตรด้้วยกรรมที่่�ไม่่ชอบธรรม” และความเป็็ นคืืออัันเที่่�ยวตามแวดล้้อมพระ
ธรรมกถึึกแห่่งภิิกษุุเหล่่านั้้�น แม้้จะถููกพวกภิิกษุุผู้ทำำ� ้� การยกวััตรห้้ามปรามอยู่่�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 161

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. ตถาคตสฺฺส ตตฺฺถ หตฺฺถินิ าเคน อุุปฏฺฺิิยมานสฺฺส วสนภาโว สกลชมฺฺพุทีุ เี ป ปากโฏ
อโหสิิ. (๑/๕/๕๕)
ตถาคตสฺฺส ตตฺฺถ (วเน) หตฺฺถินิ าเคน อุุปฏฺฺิิยมานสฺฺส วสนภาโว สกลชมฺฺพุทีุ เี ป ปากโฏ อโหสิิ.
สภาพการประทัับอยู่่�ของพระตถาคตที่่�ช้้างตััวประเสริิฐอุุปััฏฐากอยู่่�ในป่่านั้้�น ได้้ปรากฏ
ไปทั่่�วชมพููทวีีป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. สตฺฺถา ตํํ ทิิสฺฺวา ตสฺฺส อนฺฺ โตเคหา นีีหริิตฺฺวา ตตฺฺถ นิิปฺปฺ ชฺฺชาปิิ ตภาวํํ ตฺฺวา “อตฺฺถิิ
นุุ โข มยฺฺหํํ เอตฺฺถ คตปฺฺปจฺฺจเยน อตฺฺโถติิ อุุปธาเรนฺฺ โต อิิทํํ อทฺฺทส... (๑/๒/๒๔)
สตฺฺถา ตํํ (มฏฺฺกุุณฺฺฑลึึ) ทิิสฺฺวา ตสฺฺส (มฏฺฺกุุณฺฺฑลิสฺิ ฺส ปิิ ตรา) อนฺฺ โตเคหา นีีหริิตฺฺวา ตตฺฺถ
(พหิิอาลิินฺฺเท) นิิปฺปฺ ชฺฺชาปิิ ตภาวํํ ตฺฺวา “อตฺฺถิิ นุุ โข มยฺฺหํํ เอตฺฺถ (าเน) คตปฺฺปจฺฺจเยน
อตฺฺโถติิ อุุปธาเรนฺฺ โต อิิทํํ (การณํํ) อทฺฺทส...
พระศาสดาทรงเห็็นมััฏฐกุุณฑลีมี าณพนั้้�น ทรงทราบว่่าเขาถููกบิิดานำำ�ออกจากข้้างใน
บ้้าน แล้้วให้้นอนที่่�ระเบีียงบ้้านนั้้�น ทรงใคร่่ครวญว่่า “ประโยชน์์ที่่จ� ะเกิิดจากการไป
ของเราในที่่�นี้้� มีีอยู่่�หรืือไม่่หนอ” ได้้ทรงเห็็นเหตุุนี้้�...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
162 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๑. อมฺหากํ หิ สตฺถา... อาคตสฺส สตฺถุโน อตฺตานํ เสตุํ กตฺวา อชินิจมฺมํ กลเล
อตฺถริตฺวา “สตฺถา สสาวกสงฺโฆ กลลํ อนกฺกมิตฺวา มํ อกฺกมนฺโต คจฺฉตูติ นิปนฺโน
สตฺถารา ทิสฺวา ว “พุทฺธงฺกุโร เอส อนาคเต กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ จตุนฺนํ
อสงฺเขยฺยานํ ปริโยสาเน โคตโม นาม พุทฺโธ ภวิสฺสตีติ พฺยากโต...(๑/๘/๗๕-๖)
อมฺหากํ หิ สตฺถา... อาคตสฺส สตฺถุโน อตฺตานํ เสตุํ กตฺวา อชินิจมฺมํ กลเล อตฺถริตฺวา
“สตฺถา สสาวกสงฺโฆ กลลํ อนกฺกมิตฺวา มํ อกฺกมนฺโต คจฺฉตูติ (อาสาย) นิปนฺโน สตฺถารา
ทิสฺวา ว “พุทฺธงฺกุโร เอโส (ปุริโส) อนาคเต กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ ปริโยสาเน
โคตโม นาม พุทฺโธ ภวิสฺสตีติ พฺยากโต...
ความพิสดารว่า พระศาสดาของพวกเรา... ก็ท�ำตัวเองให้เป็นสะพานเพื่อพระศาสดา
ผู้เสด็จมาถึงแล้วลาดแผ่นหนังเสือเหลืองบนเปือกตม แล้วนอน ด้วยความประสงค์ว่า
“พระศาสดาพร้อมหมู่สาวก ไม่เหยียบเปือกตมเหยียบเราจงไปเถิด” พอพระพุทธเจ้า
(พระนามว่าทีปังกร) ทอดพระเนตรเท่านั้น ก็ทรงพยากรณ์ว่า “บุรุษนั้น ผู้เป็นหน่อ
เนื้อพระพุทธเจ้า จักเป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่าโคดม ในกาลสิ้นสุดแห่งสี่อสงไขยกับ
อีกแสนกัปในอนาคตกาล”...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 163

๑๒. สตฺถา... ราชานํ เอกาทสหิ นหุเตหิ สทฺธึ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา เอกํ


นหุตํ สรเณสุ ปติฏฺาเปตฺวา ปุนทิวเส สกฺเกน เทวรฺา มาณวกวณฺณํ คเหตฺวา
อภิตฺถุตคุโณ ราชคหนครํ ปวิสิตฺวา ราชนิเวสเน กตภตฺตกิจฺโจ เวฬุวนารามํ
ปฏิคฺคเหตฺวา ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ. (๑/๘/๘๐)
สตฺถา... ราชานํ เอกาทสหิ นหุเตหิ สทฺธึ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา เอกํ นหุตํ สรเณสุ
ปติฏฺาเปตฺวา ปุนทิวเส สกฺเกน เทวรฺา มาณวกวณฺณํ คเหตฺวา อภิตฺถุตคุโณ ราชคหนครํ
ปวิสิตฺวา ราชนิเวสเน กตภตฺตกิจฺโจ เวฬุวนารามํ ปฏิคฺคเหตฺวา ตตฺถ เอว (อาราเม) วาสํ
กปฺเปสิ.
พระศาสดา... ทรงท�ำให้พระราชาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล พร้อมกับประชาชนหนึ่งแสน
หนึ่งหมื่นคน ทรงท�ำให้ประชาชนหนึ่งหมื่นคนตั้งอยู่ในสรณะทั้งหลาย ผู้ทรงมีพระคุณ
ที่ท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพผู้แปลงเพศเป็นมาณพน้อยทรงชมเชยแล้ว เสด็จเข้าไปสู่
เมืองราชคฤห์ในวันรุ่งขึ้น ทรงกระท�ำภัตกิจในพระราชนิเวศน์แล้ว ทรงรับพระอาราม
ชื่อว่าเวฬุวัน ทรงส�ำเร็จการประทับอยู่ที่อารามนั้นนั่นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
164 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๓. สตฺถา... ตํทิวสเมว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา ตํ รตฺติภาเค


นิพฺพินฺทิตฺวา เคหํ ปหาย นิกฺขมนฺตํ “เอหิ ยสาติ ปกฺโกสิตฺวา ตสฺมึเยว รตฺติภาเค
โสตาปตฺติผลํ ปาเปตฺวา ปุนทิวเส อรหตฺตํ ปาเปตฺวา อปเรปิ ตสฺส สหายเก
จตุปฺาสชเน เอหิภิกฺขุปพฺพชฺชาย ปพฺพาเชตฺวา อรหตฺตํ ปาเปสิ. (๑/๘/๗๙)
สตฺถา... ตํทิวสํ เอว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา ตํ (ยสํ) รตฺติภาเค นิพฺพินฺทิตฺวา
เคหํ ปหาย นิกฺขมนฺตํ “(ตฺวํ) เอหิ ยสาติ (วจเนน) ปกฺโกสิตฺวา (ตํ ยสํ) ตสฺมึ เอว รตฺติภาเค
โสตาปตฺติผลํ ปาเปตฺวา ปุนทิวเส อรหตฺตํ ปาเปตฺวา อปเรปิ ตสฺส (ยสสฺส) สหายเก
จตุปฺาสชเน เอหิภิกฺขุปพฺพชฺชาย ปพฺพาเชตฺวา อรหตฺตํ ปาเปสิ.
พระศาสดา... ทรงเห็นความถึงพร้อมแห่งอุปนิสัยของยสกุลบุตรในวันนั้นนั่นแหละ
ตรัสเรียกยสกุลบุตรนั้นผู้เบื่อหน่าย ละทิ้งบ้านเรือน ออกไปอยู่ในส่วนแห่งราตรี ด้วย
พระด�ำรัสว่า “ดูก่อนยสะ เธอจงมา” ทรงท�ำให้ยสกุลบุตรนั้นบรรลุโสดาปัตติผล ในส่วน
แห่งราตรีนั้นนั่นแหละ แล้วให้บรรลุพระอรหัตในวันรุ่งขึ้น ทรงช่วยชน ๕๔ คนผู้เป็น
เพื่อนของยสกุลบุตรนั้นแม้เหล่าอื่นอีกให้บวชด้วยเอหิภิกขุบรรพชา แล้วทรงท�ำให้เขา
เหล่านั้นบรรลุพระอรหัต
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 165

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. โส เถรํ ลทฺธปิณฺฑปาตํ อญฺญตรํ โอกาสํ คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา นิสีทิตุกามตญฺจสฺส
ญตฺวา อตฺตโน ปริพฺพาชกปีฐกํ ปญฺญาเปตฺวา อทาสิ. (๑/๘/๘๓)
โส (อุปติสฺโส) เถรํ ลทฺธปิณฺฑปาตํ อฺตรํ โอกาสํ คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา นิสีทิตุกามตํ จ อสฺส
(เถรสฺส) ตฺวา อตฺตโน ปริพฺพาชกปีกํ ปฺาเปตฺวา อทาสิ.
อุปติสสะปริพาชกนั้นเห็นพระเถระผู้ได้บิณฑบาตแล้ว ผู้ก�ำลังเดินไปสู่โอกาสแห่งใด
แห่งหนึ่ง และทราบว่าพระเถระนั้นมีความประสงค์จะนั่ง จึงได้ปูลาดตั่งปริพาชกของ
ตนถวาย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
166 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๕. สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตฺวา เวฬุวเน วิหรนฺโต “ปุตฺตํ เม


อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ สุทฺโธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ ทสนฺนํ
ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ
ตฺวา สฏฺิมตฺตาย คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา วีสติสหสฺสขีณาสวปริวุโต
กปิลวตฺถุปุรํ นีโต าติสมาคเม โปกฺขรวสฺสํ อตฺถุปฺปตฺตึ กตฺวา มหาเวสฺสนฺตร-
ชาตกํ กเถตฺวา ปุนทิวเส ปิณฺฑาย ปวิฏฺโ “อุตฺติฏฺเ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย
ปิตรํ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา “ธมฺมฺจเร สุจริตนฺติ คาถาย มหาปชาปตึ
โคตมึ โสตาปตฺติผเล ราชานฺจ สกทาคามิผเล ปติฏฺาเปสิ. (๑/๙/๑๐๕-๖)
สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตฺวา เวฬุวเน วิหรนฺโต “(ตุมฺเห) ปุตฺตํ เม
อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ (วจเนน) สุทฺโธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ ทสนฺนํ
ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ ตฺวา สฏฺิมตฺตาย
คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา วีสติสหสฺสขีณาสวปริวุโต กปิลวตฺถุปุรํ นีโต าติสมาคเม
โปกฺขรวสฺสํ อตฺถุปฺปตฺตึ กตฺวา มหาเวสฺสนฺตรชาตกํ กเถตฺวา ปุนทิวเส ปิณฺฑาย ปวิฏฺโ
“อุตฺติฏฺเ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย ปิตรํ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา “ธมฺมฺจเร
สุจริตนฺติ คาถาย มหาปชาปตึ โคตมึ โสตาปตฺติผเล ราชานํ จ สกทาคามิผเล ปติฏฺาเปสิ.
ความพิสดารว่า พระศาสดาผู้มีธรรมจักรอันประเสริฐที่ทรงให้เป็นไปแล้ว เสด็จไปสู่
เมืองราชคฤห์ ประทับอยู่ที่พระเวฬุวัน บรรดาทูตทั้ง ๑๐ คณะๆ หนึ่งมีบริวารคณะละ
๑,๐๐๐ คนที่พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงส่งไปด้วยพระด�ำรัสว่า “พวกเธอจงน�ำบุตร
ของเรามาแสดง” พระกาฬุทายีเถระผู้ไปในภายหลังแห่งทูตทั้งปวง บรรลุพระอรหัต
แล้ว ทราบกาลเป็นที่เสด็จมา กล่าวพรรณนาหนทางด้วยคาถาประมาณ ๖๐ คาถา มี
พระขีณาสพ ๒๐,๐๐๐ รูปแวดล้อมน�ำเสด็จไปยังเมืองกบิลพัสดุ์ ทรงท�ำฝนโบกขร-
พรรษให้เป็นเหตุเกิดเนื้อความในสมาคมแห่งพระญาติ ตรัสมหาเวสสันดรชาดก เสด็จ
เข้าไปเพื่อบิณฑบาต ในวันรุ่งขึ้น ทรงให้พระราชบิดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลด้วยพระ
คาถาว่า “อุตฺติฏฺเ นปฺปมชฺเชยฺย” ดังนี้เป็นต้น ท�ำให้พระนางมหาปชาบดีโคตมี
ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล และทรงท�ำให้พระราชาตั้งอยู่ในสกทาคามิผล ด้วยพระคาถาว่า
“ธมฺมฺจเร สุจริตํ” ดังนี้เป็นต้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 167

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
168 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๖. โส ลาภสกฺฺการาภิิภููโต “อหํํ ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆํํ ปริิหริิสฺฺสามีีติิ ปาปกํํ จิิตฺฺตํํ อุุปฺปฺ าเทตฺฺวา สห
จิิตฺฺตุุปฺปฺ าเทน อิิทฺฺธิโิ ต ปริิหายิิตฺฺวา สตฺฺถารํํ เวฬุุวนวิิหาเร สราชิิกาย ปริิสาย ธมฺฺมํํ
เทเสนฺฺ ตํํ วนฺฺ ทิตฺิ ฺวา อุุฏฺฺายาสนา อฺฺชลิมฺิ ฺปคฺฺคยฺฺห “ภควา ภนฺฺ เต เอตรหิิ ชิิณฺฺโณ
วุุฑฺฺโฒ มหลฺฺลโก อปฺฺโปสฺฺสุกฺุ ฺโก ทิิฏฺฺธมฺฺมสุขุ วิิหารํํ อนุุยุญฺ ุ ฺชตุุ; อหํํ ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆํํ
ปริิหริิสฺฺสามิิ, นิิยฺฺยาเทถ เม ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆนฺฺติิ วตฺฺวา สตฺฺถารา เขฬาสิิกวาเทน
อปสาเทตฺฺวา ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต, อนตฺฺตมโน อิิมํํ ปมํํ ตถาคเต อาฆาตํํ พนฺฺ ธิตฺิ ฺวา
อปกฺฺกมิิ. (๑/๑๒/๑๓๐)
โส (เทวทตฺฺโต) ลาภสกฺฺการาภิิภููโต “อหํํ ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆํํ ปริิหริิสฺฺสามีีติิ ปาปกํํ จิิตฺฺตํํ อุุปฺปฺ าเทตฺฺวา
สห จิิตฺฺตุุปฺปฺ าเทน อิิทฺฺธิโิ ต ปริิหายิิตฺฺวา สตฺฺถารํํ เวฬุุวนวิิหาเร สราชิิกาย ปริิสาย ธมฺฺมํํ
เทเสนฺฺ ตํํ วนฺฺ ทิตฺิ ฺวา อุุฏฺฺาย อาสนา อฺฺชลึึ ปคฺฺคยฺฺห “ภควา ภนฺฺ เต เอตรหิิ ชิิณฺฺโณ วุุฑฺฺโฒ
มหลฺฺลโก อปฺฺโปสฺฺสุกฺุ ฺโก (หุุตฺฺวา) ทิิฏฺฺธมฺฺมสุขุ วิิหารํํ อนุุยุญฺ
ุ ฺชตุุ; อหํํ ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆํํ ปริิหริิสฺฺสามิิ,
(ตุุมฺฺเห) นิิยฺฺยาเทถ เม ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆนฺฺติิ วตฺฺวา สตฺฺถารา เขฬาสิิกวาเทน อปสาเทตฺฺวา ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต,
อนตฺฺตมโน (หุุตฺฺวา) อิิมํํ ปมํํ ตถาคเต อาฆาตํํ พนฺฺ ธิตฺิ ฺวา อปกฺฺกมิิ.
พระเทวทััตนั้้�นถููกลาภและสัักการะครอบงำ�� ทำำ�จิิตที่่�ชั่่ �วให้้เกิิดขึ้้น� ว่่า “เราจัักบริิหาร
คณะสงฆ์์” ก็็เสื่่อ� มจากฤทธิ์์ �พร้้อมกัับจิิตตุุปบาท ถวายบัังคมพระศาสดาผู้้กำำ�ลั � งั ทรง
แสดงธรรมแก่่บริษัิ ทั ที่่�มีพี ระราชาในพระวิิหารชื่่อ� ว่่าเวฬุุวันั ลุุกขึ้้น� จากอาสนะประคอง
อััญชลีี กราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้า บััดนี้้� ทรงชรา เจริิญ-
พระชัันษาแล้้ว ทรงเป็็ นผู้้มี� คี วามขวนขวายน้้อย ตามประกอบธรรมเป็็ นเครื่่อ� งอยู่่�-
เป็็ นสุุขในทิิฏฐธรรมเถิิด, ข้้าพระองค์์จักั บริิหารภิิกษุุสงฆ์์ ขอพระองค์์จงทรงมอบ
ภิิกษุุสงฆ์์ให้้แก่่ข้้าพระองค์์เถิิด” ถููกพระศาสดารุุกรานด้้วยวาทะว่่าผู้้ก� ลืืนกิินน้ำำ��ลาย
แล้้วทรงห้้าม จึึงเกิิดความเสีียใจ ผููกอาฆาตนี้้�ในพระตถาคตครั้้�งแรก แล้้วได้้หลีีกไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 169

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๗. อนุรุทฺโธ... มาตรํ อุปสงฺกมิตฺวา “อนุชานาหิ มํ อมฺม, อหํ ปพฺพชิสฺสามีติ
วตฺวา, ตาย ติกฺขตฺตุํ ปฏิกฺขิปิตฺวา “สเจ เต สหายโก ภทฺทิยราชา ปพฺพชิสฺสติ,
เตน สทฺธึ ปพฺพชาหีติ วุตฺเต, ตํ อุปสงฺกมิตฺวา “มม โข สมฺม ปพฺพชฺชา ตว
ปฏิพทฺธาติ วตฺวา ตํ นานปฺปกาเรหิ สญฺญาเปตฺวา สตฺตเม ทิวเส อตฺตนา สทฺธึ
ปพฺพชฺชตฺถาย ปฏิญฺญํ คณฺหิ. (๑/๑๒/๑๒๗)
อนุุรุุทฺฺโธ... มาตรํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา “(ตฺฺวํ)ํ อนุุชานาหิิ มํํ อมฺฺม, อหํํ ปพฺฺพชิิสฺฺสามีีติิ
วตฺฺวา, ตาย (มาตรา) ติิกฺฺขตฺฺตุํํ� ปฏิิกฺฺขิปิิ ิ ตฺฺวา “สเจ เต สหายโก ภทฺฺทิยิ ราชา ปพฺฺพชิิสฺฺสติิ, (ตฺฺวํ)ํ
เตน (ภทฺฺทิยิ รญฺฺา) สทฺฺธึึ ปพฺฺพชาหีีติิ (วจเน) วุุตฺฺเต, ตํํ (ภทฺฺทิยิ ราชานํํ) อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา “มม
โข สมฺฺม ปพฺฺพชฺฺชา ตว ปฏิิพทฺฺธาติิ วตฺฺวา ตํํ (ภทฺฺทิยิ ราชานํํ) นานปฺฺปกาเรหิิ สฺฺาเปตฺฺวา
สตฺฺตเม ทิิวเส อตฺฺตนา สทฺฺธึึ ปพฺฺพชฺฺชตฺฺถาย ปฏิิฺฺํํ คณฺฺหิ.ิ
เจ้้าอนุุรุทุ ธะ... เข้้าไปเฝ้้าพระมารดา กราบทููลว่่า “ข้้าแต่่เสด็็จแม่่ ขอพระองค์์จงทรง
อนุุญาตกระผม, กระผมจัักบวช”, เมื่่อ� พระมารดานั้้�นทรงห้้ามถึึง ๓ ครั้้�ง ตรััสว่่า “ถ้้า
พระราชาพระนามว่่าภััททิิยะผู้้เ� ป็็ นพระสหายของเจ้้าจัักผนวชไซร้้, เจ้้าจงบวชพร้้อม
กัับพระราชาพระนามว่่าภััททิิยะนั้้�นเถิิด”, จึึงเสด็็จเข้้าไปหาพระราชาพระนามว่่าภััททิิ
ยะนั้้�น ทููลว่่า “แน่่ะสหาย การบรรพชาของเราแล เนื่่�องเฉพาะต่่อท่่าน” ทำำ�ให้้พระราชา
พระนามว่่าภััททิิยะนั้้�นทรงยิินยอมโดยประการต่่างๆ ทรงรัับปฏิิญญาเพื่่�อประโยชน์์
แก่่การบวชพร้้อมกัับพระองค์์ ในวัันที่่� ๗
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
170 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๘. “ตุุมฺฺหากํํ ทานคฺฺคํํ อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ ก วา วิิสาขา วา อาคตาติิ ปุุจฺฺฉิตฺิ ฺวา, “นาคตาติิ
วุุตฺฺเต, สตสหสฺฺสํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา กตทานมฺฺปิิ “กึึ ทานํํ นาเมตนฺฺ ติิ ครหนฺฺ ติ.ิ (๑/๑๓/๑๔๑)
“(ชนา) ‘ตุุมฺฺหากํํ ทานคฺฺคํํ อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ ก วา วิิสาขา วา อาคตาติิ ปุุจฺฺฉิตฺิ ฺวา, “(อมฺฺหากํํ
ทานคฺฺคํํ อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ ก วา วิิสาขา วา) น อาคตาติิ (วจเน เตน มหาชเนน) วุุตฺฺเต,
(ปุุคฺฺคเลน) สตสหสฺฺสํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา กตทานมฺฺปิิ ‘กึึ ทานํํ นาม เอตํํ’ อิิติิ ครหนฺฺ ติ”ิ (อิิติิ
วิิสฺฺสชฺฺชนํํ).
แก้้ว่่า “พวกชนถามว่่า ‘อนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีหรืือนางวิิสาขามาโรงทานของพวกท่่าน
หรืือ’ ดัังนี้้�, เมื่่อ� มหาชนกล่่าวว่่า ‘อนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีหรืือนางวิิสาขาไม่่ได้้มาโรงทาน
ของพวกเรา’ ดัังนี้้�, ย่่อมติิเตีียนแม้้ทานที่่�บุุคคลสละทรััพย์์ตั้้ง� แสนแล้้วกระทำำ�ว่่า ‘ทาน
นั่่�นชื่่อ� อะไร’
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๙. สตฺฺถา “เอตุุ, มา สทฺฺทํํ อกาสีีติิ วตฺฺวา ตํํ อาคนฺฺ ตฺฺวา ิิตํํ “กสฺฺมา เอวํํ กโรสิิ ?
สเจ หิิ ตุุมฺฺเห มาทิิสสฺฺส พุุทฺฺธสฺฺส สมฺฺมุขีุ ภี าวํํ นาคมิิสฺฺสถ, อหิินกุุลานํํ วิิย เวรํํ
อจฺฺฉผนฺฺทนานํํ วิิย กาโกฬุุกานํํ วิิย จ กปฺฺปฏฺฺิิติกํิ ํ โว เวรํํ อภวิิสฺฺส, กสฺฺมา
เวรปฏิิเวรํํ กโรถ ? เวรํํ หิิ อเวเรน อุุปสมฺฺมติ,ิ โน เวเรนาติิ วตฺฺวา อิิมํํ คาถมาห
“น หิิ เวเรน เวรานิิ สมฺฺมนฺฺ ตีีธ กุุทาจนํํ
อเวเรน จ สมฺฺมนฺฺ ติิ เอส ธมฺฺโม สนนฺฺ ตโนติิ. (๑/๔/๔๖)
สตฺฺถา “(เอสา ยกฺฺขินีิ ี) เอตุุ, (ตฺฺวํ)ํ มา สทฺฺทํํ อกาสีีติิ วตฺฺวา ตํํ (ยกฺฺขินึึิ ) อาคนฺฺ ตฺฺวา ิิตํํ
“กสฺฺมา (ตฺฺวํ)ํ เอวํํ กโรสิิ ? สเจ หิิ ตุุมฺฺเห (ตุุมฺฺหากํํ) มาทิิสสฺฺส พุุทฺฺธสฺฺส สมฺฺมุขีุ ภี าวํํ น อาคมิิสฺฺสถ,
อหิินกุุลานํํ เวรํํ วิิย (จ) อจฺฺฉผนฺฺทนานํํ (เวรํํ) วิิย (จ) กาโกฬุุกานํํ (เวรํํ) วิิย จ กปฺฺปฏฺฺิิติกํิ ํ
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 171

โว เวรํํ อภวิิสฺฺส, กสฺฺมา (ตุุมฺฺเห) เวรปฏิิเวรํํ กโรถ ? เวรํํ หิิ อเวเรน อุุปสมฺฺมติ,ิ โน เวเรน
(เวรํํ อุุปสมฺฺมติ)ิ อิิติิ วตฺฺวา อิิมํํ คาถํํ อาห
“น หิิ เวเรน เวรานิิ สมฺฺมนฺฺ ติิ อิิ ธ (โลเก) กุุทาจนํํ,
(เวรานิิ ) อเวเรน จ สมฺฺมนฺฺ ติิ, เอโส ธมฺฺโม สนนฺฺ ตโน (โหติิ ) อิิติ.ิ
พระศาสดาตรััสว่่า “นางยัักษิิณีจี งมา, เธออย่่าได้้ส่่งเสีียง” ดัังนี้้�แล้้ว จึึงตรััสกัับนาง
ยัักษิิณีนั้้ี น� ผู้้ม� ายืืนอยู่่�แล้้วว่่า “เธอทำำ�อย่่างนี้้�เพราะอะไร? เพราะว่่า ถ้้าพวกเธอไม่่มา
อยู่่�ตรงหน้้าของพระพุุทธเจ้้าผู้้เ� ช่่นกัับเรา, เวรของพวกเธอจะตั้้�งอยู่่�ตลอดกััป เหมืือน
เวรของงููกัับพังั พอน หมีีกับั ไม้้สะคร้้อ และเหมืือนเวรของกากัับนกเค้้า, พวกเธอทำำ�เวร
และเวรตอบโต้้กัันเพราะอะไร? เพราะเวรย่่อมระงัับด้้วยการไม่่จองเวร, เวรย่่อมไม่่
ระงัับด้้วยการจองเวร” แล้้วจึึงตรััสพระคาถานี้้�ว่า่
“ก็็เวรทั้้�งหลายในโลกนี้้� ไม่่มีที างที่่�จะระงัับด้้วยการจองเวรกััน
ในกาลไหนๆ, เวรย่่อมจะระงัับด้้วยการไม่่จองเวรกััน, นั่่�นเป็็ น
ธรรมเก่่าแก่่”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
172 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๐. เอวํํปิิ เตสุุ วจนํํ อนาทิิยนฺฺเตสุุ, อฺฺตเรน ธมฺฺมวาทิินา ตถาคตสฺฺส วิิเหสํํ


อนิิจฺฺฉนฺฺเตน “อาคเมตุุ ภนฺฺ เต ภควา ธมฺฺมสฺฺสามิิ, อปฺฺโปสฺฺสุกฺุ ฺโก ภนฺฺ เต ภควา
ทิิฏฺฺธมฺฺมสุขุ วิิหารํํ อนุุยุตฺุ ฺโต วิิหรตุุ; มยเมเตน ภณฺฺฑเนน กลเหน วิิคฺฺคเหน
วิิวาเทน ปฺฺายิิสฺฺสามาติิ วุุตฺฺเต, “ภููตปุุพฺฺพํํ ภิิกฺฺขเว พาราณสิิยํํ พฺฺรหฺฺมทตฺฺโต
นาม กาสีีราชา อโหสีีติิ พฺฺรหฺฺมทตฺฺเตน ทีีฆีติี สฺิ ฺส โกสลรฺฺโ รชฺฺชํํ อจฺฺฉินฺิ ฺ ทิตฺิ ฺวา
อฺฺาตกเวเสน วสนฺฺ ตสฺฺส มาริิตภาวฺฺเจว ทีีฆาวุุกุุมาเรน อตฺฺตโน ชีีวิเิ ต ทิินฺฺเน,
ตโต ปฏฺฺาย เตสํํ สมคฺฺคภาวฺฺจ กเถตฺฺวา “เตสํํ หิิ นาม ภิิกฺฺขเว ราชููนํํ
อาทิินฺฺนทณฺฺฑานํํ อาทิินฺฺนสตฺฺถานํํ เอวรููปํํ ขนฺฺ ติโิ สรจฺฺจํํ ภวิิสฺฺสติิ, อิิธ โข ตํํ
ภิิกฺฺขเว โสเภถ; ยํํ ตุุมฺฺเห เอวํํ สฺฺวากฺฺขาเต ธมฺฺมวินิ เย ปพฺฺพชิิตา สมานา ขมา จ
ภเวยฺฺยาถ โสรตา จาติิ โอวทิิตฺฺวาปิิ เนว เต สมคฺฺเค กาตุํํ� อสกฺฺขิ.ิ (๑/๕/๕๑)
เอวํํปิิ เตสุุ (ภิิกฺฺขููสุ)ุ วจนํํ อนาทิิยนฺฺเตสุุ, อฺฺตเรน ธมฺฺมวาทิินา (ภิิกฺฺขุนุ า) ตถาคตสฺฺส วิิเหสํํ
อนิิจฺฺฉนฺฺเตน “อาคเมตุุ ภนฺฺ เต ภควา ธมฺฺมสฺฺสามิิ, อปฺฺโปสฺฺสุกฺุ ฺโก ภนฺฺ เต ภควา ทิิฏฺฺธมฺฺมสุขุ -
วิิหารํํ อนุุยุตฺุ ฺโต วิิหรตุุ; มยํํ เอเตน ภณฺฺฑเนน กลเหน วิิคฺฺคเหน วิิวาเทน ปฺฺายิิสฺฺสามาติิ
(วจเน) วุุตฺฺเต, (สตฺฺถา) “ภููตปุุพฺฺพํํ ภิิกฺฺขเว พาราณสิิยํํ พฺฺรหฺฺมทตฺฺโต นาม กาสีีราชา อโหสีีติิ
พฺฺรหฺฺมทตฺฺเตน ทีีฆีติี สฺิ ฺส โกสลรฺฺโ รชฺฺชํํ อจฺฺฉินฺิ ฺ ทิตฺิ ฺวา (เกนจิิ) อฺฺาตกเวเสน วสนฺฺ ตสฺฺส
มาริิตภาวํํ จ เอว ทีีฆาวุุกุุมาเรน อตฺฺตโน ชีีวิเิ ต ทิินฺฺเน, ตโต (กาลโต) ปฏฺฺาย เตสํํ (ทฺฺวินฺิ ฺ นํํ
ชนานํํ) สมคฺฺคภาวํํ จ กเถตฺฺวา “เตสํํ หิิ นาม ภิิกฺฺขเว ราชููนํํ อาทิินฺฺนทณฺฺฑานํํ อาทิินฺฺน-
สตฺฺถานํํ เอวรููปํํ ขนฺฺ ติโิ สรจฺฺจํํ ภวิิสฺฺสติิ, อิิธ โข (ธมฺฺมวินิ เย) ตํํ (ตุุมฺฺหากํํ มยา เอวํํ สฺฺวากฺฺขาเต
ธมฺฺมวินิ เย ปพฺฺพชิิตานํํ ขมาโสรตตฺฺตํ)ํ ภิิกฺฺขเว โสเภถ; ยํํ ตุุมฺฺเห (มยา) เอวํํ สฺฺวากฺฺขาเต
ธมฺฺมวินิ เย ปพฺฺพชิิตา สมานา ขมา จ ภเวยฺฺยาถ โสรตา จาติิ โอวทิิตฺฺวาปิิ น เอว เต
(ภิิกฺฺขูู) สมคฺฺเค กาตุํํ� อสกฺฺขิ.ิ
เมื่่อ� พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นไม่่ถืือเอาพระดำำ�รััสแม้้อย่่างนี้้�, เมื่่อ� พระภิิกษุุผู้เ้� ป็็ นธรรมวาทีี
รููปใดรููปหนึ่่�งไม่่ประสงค์์จะเบีียดเบีียนพระตถาคตกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ
ขอพระผู้้มี� พี ระภาคผู้้เ� ป็็ นเจ้้าของธรรมจงรอคอย, ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ ขอพระผู้้มี� ี
พระภาคผู้้มี� คี วามขวนขวายน้้อยตามประกอบธรรมเป็็ นเครื่่อ� งอยู่่�เป็็ นสุุขในทิิฏฐธรรม
ประทัับอยู่่�เถิิด, พวกข้้าพระองค์์จะปรากฏด้้วยความแตกร้้าว ความทะเลาะ ความ
แก่่งแย่่ง ความวิิวาทนั่่�น”, ตรััสสภาพที่่�พระราชาผู้้เ� ป็็ นใหญ่่ในแคว้้นโกศลพระนามว่่า
ทีีฆิติิ ิ ผู้้จ� ะทรงแย่่งชิิงเอาราชสมบััติิ ประทัับอยู่่�ด้้วยเพศที่่�ใครก็็ไม่่รู้้� ถููกพระเจ้้าพรหมทััต
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 173

ให้้สวรรคตแล้้วด้้วยนั่่�นแหละ และสภาพที่่�ชนทั้้�งสองเหล่่านั้้�น เมื่่อ� ชีีวิติ ของตนที่่�ทีฆี าวุุ


กุุมารให้้แล้้ว เป็็ นผู้้พ� ร้้อมเพรีียงกัันจำำ�เดิิมแต่่กาลนั้้�นว่่า “ภิิกษุุทั้้ง� หลาย เคยมีีมาแล้้ว
พระราชาผู้้เ� ป็็ นใหญ่่ในแคว้้นกาสีี พระนามว่่าพรหมทััตได้้มีีในเมืืองพาราณสีี” ดัังนี้้�
เป็็ นต้้น แม้้ทรงโอวาทแล้้วว่่า “ภิิกษุุทั้้ง� หลาย ขัันติิและโสรััจจะที่่�เป็็ นเช่่นนี้้� ได้้มีีแก่่พระ
ราชาทั้้�งหลายเหล่่านั้้�นแล ผู้้ถืื� อเอาท่่อนไม้้แล้้ว ผู้้ถืื� อเอาศาสตราแล้้ว, ภิิกษุุทั้้ง� หลาย
พวกเธอเป็็ นผู้้บ� วชในธรรมวิินัยที่่ ั เ� รากล่่าวไว้้ดีีแล้้วอย่่างนี้้� พึึงเป็็ นผู้้อ� ดทนและเป็็ นผู้้�
สงบเสงี่่ยม � ใด, การที่่�พวกเธอบวชในธรรมวิินัยที่่ ั เ� รากล่่าวไว้้ดีีแล้้วอย่่างนี้้� เป็็ นผู้้อ� ดทน
และสงบเสงี่่ยมนั้้ � น� พึึงงดงามในธรรมวิินัยนี้้ ั �แล” ดัังนี้้� ก็็ไม่่ได้้ทรงอาจเพื่่�อจะทำำ�ให้้พวก
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นสามััคคีีกันั ได้้เลย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
174 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๑. อถ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺาเปสุํ “อาวุโส พุทฺธา จ นาม อจฺฉริยา, ชนปท-
กลฺยาณึ นิสฺสาย อุกฺกณฺิโต นามายสฺมา นนฺโท สตฺถารา เทวจฺฉรา อามิสํ กตฺวา
วินีโตติ. (๑/๙/๑๑๓)
อถ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺาเปสุํ “อาวุโส พุทฺธา จ นาม อจฺฉริยา (โหนฺติ), ชนปท-
กลฺยาณึ นิสฺสาย อุกฺกณฺิโต นาม อายสฺมา นนฺโท สตฺถารา เทวจฺฉรา อามิสํ กตฺวา วินีโตติ.
ทีนั้น พวกภิกษุสนทนากันที่ธรรมสภาว่า “ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ธรรมดาว่า
พระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นผู้น่าอัศจรรย์, พระนันทะผู้มีอายุ ขึ้นชื่อว่าผู้กระสันขึ้นแล้ว
เพราะอาศัยนางชนบทกัลยาณี พระศาสดาทรงกระท�ำนางเทพอัปสรทั้งหลายให้เป็น
อามิส ทรงแนะน�ำแล้ว”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๒. ฉาตกกาเล สกเฏน วีีหีี อาทาย ชนปทํํ คนฺฺ ตฺฺวา เอกนาฬิิทฺฺวินิ าฬิิมตฺฺเตน คามสููกร-
โปตเก กีีณิตฺิ ฺวา สกฏํํ ปููเรตฺฺวา อาคนฺฺ ตฺฺวา ปจฺฺฉานิิเวสเน วชํํ วิิย เอกฏฺฺานํํ
ปริิกฺฺขิปิิ ิ ตฺฺวา ตตฺฺเถว เตสํํ นิิวาปํํ โรเปตฺฺวา, เตสุุ นานาคจฺฺเฉ จ สรีีรวลญฺฺชฺฺจ
ขาทิิตฺฺวา วฑฺฺฒิเิ ตสุุ, ยํํ ยํํ มาเรตุุกาโม โหติิ, ตํํ ตํํ อาฬาหเน นิิจฺฺจลํํ พนฺฺ ธิตฺิ ฺวา
สรีีรมํํสสฺฺส อุุทฺฺธุุมายิิตฺฺวา พหลภาวตฺฺถํํ จตุุรสฺฺสมุุคฺฺคเรน โปเถตฺฺวา “พหลมํํโส ชาโตติิ
ตฺฺวา มุุขํํ วิิวริิตฺฺวา ทนฺฺ ตนฺฺ ตเร ทณฺฺฑกํํ ทตฺฺวา โลหนาฬิิยา ปกฺฺกุุฏฺฺิิตํํ อุุณฺฺโหทกํํ
มุุเข อาสิิฺฺจติ.ิ (๑/๑๐.จุุนฺฺทสููกริิก/๑๑๖-๗)
(โส จุุนฺฺโท) ฉาตกกาเล สกเฏน วีีหีี อาทาย ชนปทํํ คนฺฺ ตฺฺวา เอกนาฬิิทฺฺวินิ าฬิิมตฺฺเตน
(วีีหินิ า) คามสููกรโปตเก กีีณิตฺิ ฺวา สกฏํํ ปููเรตฺฺวา อาคนฺฺ ตฺฺวา ปจฺฺฉานิิเวสเน วชํํ วิิย
เอกฏฺฺานํํ ปริิกฺฺขิปิิ ิ ตฺฺวา ตตฺฺถ เอว (าเน) เตสํํ (สููกรโปตกานํํ) นิิวาปํํ โรเปตฺฺวา, เตสุุ
(สููกรโปตเกสุุ) นานาคจฺฺเฉ จ สรีีรวลญฺฺชํํ จ ขาทิิตฺฺวา วฑฺฺฒิเิ ตสุุ, (อตฺฺตา) ยํํ ยํํ (สููกรํํ)
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 175

มาเรตุุกาโม โหติิ, ตํํ ตํํ (สููกรํํ) อาฬาหเน นิิจฺฺจลํํ (กตฺฺวา) พนฺฺ ธิตฺิ ฺวา สรีีรมํํสสฺฺส อุุทฺฺธุุมายิิตฺฺวา
พหลภาวตฺฺถํํ จตุุรสฺฺสมุุคฺฺคเรน โปเถตฺฺวา “(อยํํ สููกโร) พหลมํํโส ชาโตติิ ตฺฺวา มุุขํํ วิิวริิตฺฺวา
ทนฺฺ ตนฺฺ ตเร ทณฺฺฑกํํ ทตฺฺวา โลหนาฬิิยา ปกฺฺกุุฏฺฺิิตํํ อุุณฺฺโหทกํํ มุุเข อาสิิฺฺจติ.ิ
ในคราวข้้าวยากหมากแพง นายจุุนทะนั้้�น ใช้้เกวีียนบรรทุุกข้้าวเปลืือกไปสู่่�ชนบท ใช้้
ข้้าวเปลืือกหนึ่่�งทะนานหรืือสองทะนานซื้้อ� ลููกสุุกรของชาวบ้้านทั้้�งหลาย บรรทุุกจน
เต็็มเกวีียน กลัับมา ล้้อมที่่�แห่่งหนึ่่�งทำำ�เหมืือนคอกที่่�ข้้างหลัังบ้้านที่่�พักั แล้้วปลููกผััก
เพื่่�อลููกสุุกรเหล่่านั้้�นในที่่�นั้้น� นั่่�นแหละ, เมื่่อ� ลููกสุุกรเหล่่านั้้�นกิินกอผัักต่่างๆ และสรีีร
วลััญชะ เติิบโตแล้้ว, มีีความประสงค์์จะฆ่่าสุุกรตััวไหนๆ, ก็็ผููกสุุกรตััวนั้้�นๆ ในที่่�เป็็ น
ที่่�นำำ�มาฆ่่า ไม่่ให้้เคลื่่อ� นไหวได้้ ใช้้ฆ้้อนสี่่เ� หลี่่ยมทุ � บุ เพื่่�อความที่่�ว่า่ จะให้้เนื้้�อสรีีระพอง
หนาขึ้้น� พอรู้้ว่� า่ “สุุกรนี้้� มีีเนื้้�อหนาแล้้ว” เปิิ ดปาก ใส่่ท่อ่ นไม้้ในระหว่่างฟััน ย่่อมกรอก
น้ำำ��ร้้อนที่่�เดืือดพล่่านลงในปาก ด้้วยทะนานโลหะ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
176 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๓. สตฺฺถา “น ภิิกฺฺขเว เทวทตฺฺโต อิิทาเนว มยิิ อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา ปวึึ ปาวิิสิ,ิ ปุุพฺฺเพปิิ
ปวิิฏฺฺโเยวาติิ วตฺฺวา, หตฺฺถิริ าชกาเล มคฺฺคมุุฬฺฺหํํ ปุุริสํิ ํ สมสฺฺสาเสตฺฺวา อตฺฺตโน ปิิ ฏฺฺึึ
อาโรเปตฺฺวา เขมนฺฺ ตํํ ปาปิิ ตสฺฺส เตน ปุุน ติิกฺฺขตฺฺตุํํ� อาคนฺฺ ตฺฺวา ‘อคฺฺคฏฺฺาเน มชฺฺฌิมิ ฏฺฺ-
าเน มููเลติิ เอวํํ ทนฺฺ เต ฉิินฺฺทิตฺิ ฺวา ตติิยวาเร มหาปุุริสิ สฺฺส จกฺฺขุปุ ถํํ อติิกฺฺกมนฺฺ ตสฺฺส
ตสฺฺส ปวึึ ปวิิฏฺฺภาวํํ ทีีเปตุํํ�
“อกตฺฺุุสฺสฺ โปสสฺฺส นิิ จฺจํฺ ํ วิิ วรทสฺฺสิิโน
สพฺฺพฺฺเจ ปวึึ ทชฺฺชา เนว นํํ อภิิ ราธเยติิ
อิิมํํ ชาตกํํ กเถตฺฺวา, ปุุนปิิ ตเถว กถาย สมุุฏฺฺิิตาย, ขนฺฺ ติวิ าทิิภููเต อตฺฺตนิิ
อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา กลาพุุราชภููตสฺฺส ตสฺฺส ปวึึ ปวิิฏฺฺภาวํํ ทีีเปตุํํ� ขนฺฺ ติวิ าทิิชาตกํํ,
จุุลฺฺลธมฺฺมปาลภููเต อตฺฺตนิิ อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา มหาปตาปราชภููตสฺฺส ตสฺฺส ปวึึ ปวิิฏฺฺภาวํํ
ทีีเปตุํํ� จุุลฺฺลธมฺฺมปาลชาตกฺฺจ กเถสิิ. (๑/๑๒/๑๓๘-๑๓๙)
สตฺฺถา “น ภิิกฺฺขเว เทวทตฺฺโต อิิทานิิ เอว มยิิ อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา ปวึึ ปาวิิสิ,ิ ปุุพฺฺเพปิิ (เทวทตฺฺโต
มยิิ อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา ปวึึ) ปวิิฏฺฺโเยวาติิ วตฺฺวา, (อตฺฺตโน) หตฺฺถิริ าชกาเล มคฺฺคมุุฬฺฺหํํ ปุุริสํิ ํ
สมสฺฺสาเสตฺฺวา อตฺฺตโน ปิิ ฏฺฺึึ อาโรเปตฺฺวา เขมนฺฺ ตํํ ปาปิิ ตสฺฺส เตน (มหาปุุริเิ สน) ปุุน ติิกฺฺขตฺฺตุํํ�
อาคนฺฺ ตฺฺวา ‘อคฺฺคฏฺฺาเน มชฺฺฌิมิ ฏฺฺาเน มููเลติิ เอวํํ ทนฺฺ เต ฉิินฺฺทิตฺิ ฺวา ตติิยวาเร มหาปุุริสิ สฺฺส
จกฺฺขุปุ ถํํ อติิกฺฺกมนฺฺ ตสฺฺส ตสฺฺส (เทวทตฺฺตสฺฺส) ปวึึ ปวิิฏฺฺภาวํํ ทีีเปตุํํ�
“(ปุุคฺคฺ โล) อกตฺฺุุสฺสฺ โปสสฺฺส นิิ จฺจํฺ ํ วิิ วรทสฺฺสิิโน
สพฺฺพํ ํ เจ ปวึึ ทชฺฺชา, (โส ปุุคฺคฺ โล) เนว นํํ (โปสํํ) อภิิ ราธเยติิ
อิิมํํ ชาตกํํ กเถตฺฺวา, ปุุนปิิ ตเถว กถาย สมุุฏฺฺิิตาย, ขนฺฺ ติวิ าทิิภููเต อตฺฺตนิิ อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา
กลาพุุราชภููตสฺฺส ตสฺฺส (เทวทตฺฺตสฺฺส) ปวึึ ปวิิฏฺฺภาวํํ ทีีเปตุํํ� ขนฺฺ ติวิ าทิิชาตกํํ (จ), จุุลฺฺลธมฺฺมปาลภููเต
อตฺฺตนิิ อปรชฺฺฌิตฺิ ฺวา มหาปตาปราชภููตสฺฺส ตสฺฺส (เทวทตฺฺตสฺฺส) ปวึึ ปวิิฏฺฺภาวํํ ทีีเปตุํํ�
จุุลฺฺลธมฺฺมปาลชาตกํํ จ กเถสิิ.
พระศาสดาตรััสว่่า “ดููก่่อนภิิกษุุทั้้ง� หลาย พระเทวทััตผิิดในเรา ได้้เข้้าไปสู่่�แผ่่นดิิน ใน
บััดนี้้�เท่่านั้้�น หามิิได้้, แม้้ในกาลก่่อน ก็็เข้้าไปแล้้วนั่่�นแหละ” ดัังนี้้�, ตรััสชาดกนี้้�ว่า่
“หากบุุคคลพึึงให้้แผ่่นดิินทั้้�งปวงแก่่บุุรุษุ ผู้้เ� ป็็ นคนอกตััญญูู ผู้้�
เห็็นช่่องโดยปกติิ เป็็ นนิิจ, บุุคคลไม่่พึึงทำำ�ให้้บุุคคลนั้้�นให้้ยิินดีี
ยิ่่�งได้้” ดัังนี้้�
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 177

เพื่่�อแสดงความที่่�พระเทวทััต ที่่�มหาบุุรุษุ ช่่วยบุุรุษุ ผู้้ห� ลงทางให้้เบาใจ ยกขึ้้น� สู่่�หลัังของ


ตน แล้้วให้้ถึึงที่่�อันั เกษม มาอีีกสามครั้้�ง ตััดงาทั้้�งหลายอย่่างนี้้�คืือ “ที่่�ปลาย ท่่ามกลาง
และที่่�โคน” ในครั้้�งที่่� ๓ ก้้าวล่่วงคลองจัักษุุของมหาบุุรุษุ เป็็ นผู้้เ� ข้้าไปสู่่�แผ่่นดิิน ใน
กาลที่่�พระองค์์เป็็ นพญาช้้าง, เมื่่อ� คำำ�กล่่าวเหมืือนอย่่างนั้้�นนั่่�นแหละ ตั้้�งขึ้้น� แม้้อีีก,
ตรััสขัันติิวาทีีชาดก เพื่่�อแสดงความที่่�พระเทวทััต ผู้้เ� ป็็ นพระราชาพระนามว่่ากลาพุุ
ประพฤติิผิดิ ในพระองค์์ผู้เ้� ป็็ นขัันติิวาทีีดาบส แล้้วเข้้าไปสู่่�แผ่่นดิิน และตรััสจุุลลธัมม ั
ปาลชาดก เพื่่�อแสดงความที่่�พระเทวทััตนั้้�น ผู้้เ� ป็็ นพระราชาพระนามว่่ามหาปตาปะ
ประพฤติิผิดิ ในพระองค์์ผู้เ้� ป็็ นจุุลธรรมบาลราชกุุมาร เป็็ นผู้้เ� ข้้าไปสู่่�แผ่่นดิิน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
178 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๔. สา เมฆอุตุญฺจ อรุณุคฺคมนอุตุญฺจ คเหตฺวา ชาตตฺตา ปุตฺตสฺส “อุเทโนติ นาม-


มกาสิ. (๒/๑/๕)
สา (เทวี ตสฺส ปุตฺตสฺส) เมฆอุตุํ จ อรุณุคฺคมนอุตุํ จ คเหตฺวา ชาตตฺตา ปุตฺตสฺส
“อุเทโนติ (วจนํ) นามํ อกาสิ.
พระเทวีนั้นได้ตั้งค�ำว่า "อุเทน" ดังนี้ ให้เป็นชื่อของบุตร เพราะว่าบุตรนั้นเกิดโดยถือ
เอาฤดูแห่งเมฆฝน และฤดูแห่งการขึ้นไปแห่งอรุณ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๕. อถ นํ วนฺทิตฺวา ฐิตํ ราชา อาห “ตฺวํ กุมฺภโฆสโก นามาติ. (๒/๒/๗๑)
อถ นํ (กุมฺภโฆสกํ) วนฺทิตฺวา ฐิตํ ราชา อาห “ตฺวํ กุมฺภโฆสโก นาม (อสิ)” อิติ.
ทีนั้น พระราชาตรัสกับนายกุมภโฆสกะนั้นผู้ถวายบังคมแล้วยืนอยู่แล้วว่า “เธอชื่อ
กุมภโฆสกะหรือ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๖. โส มาตาปิตโร วนฺทิตฺวา ตถา กตฺวา อาคตสฺส หตฺถิโน ปิฏฺิยํ นิสีทิตฺวา ตํ
กณฺเณ มนฺตยิ “อหํ โกสมฺพิยํ ปรนฺตปรฺโ ปุตฺโต, เปตฺติกํ เม รชฺชํ คณฺหิตฺวา
เทหิ สามี”ติ. (๒/๑/๗)
โส (กุมาโร) มาตาปิตโร วนฺทิตฺวา ตถา กตฺวา อาคตสฺส หตฺถิโน ปิฏฺิยํ นิสีทิตฺวา ตํ
(หตฺถึ) กณฺเณ มนฺตยิ “อหํ โกสมฺพิยํ ปรนฺตปรฺโ ปุตฺโต (อมฺหิ), (ตฺวํ) เปตฺติกํ เม รชฺชํ
คณฺหิตฺวา เทหิ สามี”ติ.
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 179

พระกุมารนั้น ถวายบังคมพระราชบิดาพระราชมารดาแล้วทรงท�ำตามนั้นแล้ว ประทับ


นั่งบนหลังของช้างตัวที่มาแล้ว กระซิบบอกช้างว่า “ข้าพเจ้าเป็นบุตรของพระเจ้า
ปรันตปะในกรุงโกสัมพี, ขอท่านจงยึดเอาราชสมบัติอันเป็นสมบัติของพระบิดาให้แก่
ข้าพเจ้าเถิด นาย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๗. โกตุหลิโก ตํ โอโลเกนฺโต นิสีทิตฺวา เหฏฺาปีเ นิปนฺนาย สุนขิยา โคปาลเกน
วฏฺเฏตฺวา ทียมานํ ปายาสปิณฺฑํ ทิสฺวา “ปฺุวตายํ สุนขี นิพทฺธํ เอวรูปํ โภชนํ
ลภตีติ จินฺเตสิ. (๒/๑/๑๐)
โกตุหลิโก ตํ (โคปาลกํ) โอโลเกนฺโต นิสีทิตฺวา เหฏฺาปีเ นิปนฺนาย สุนขิยา โคปาลเกน
วฏฺเฏตฺวา ทียมานํ ปายาสปิณฺฑํ ทิสฺวา “ปฺุวตี อยํ สุนขี นิพทฺธํ เอวรูปํ โภชนํ ลภตีติ
จินฺเตสิ.
นายโกตุหลิกนั่งแลดูเขาแล้ว เห็นก้อนข้าวปายาสที่นายโคบาลปั้นให้แก่นางสุนัข ซึ่ง
นอนอยู่แล้วใต้ตั่ง จึงคิดว่า “นางสุนัขตัวนี้ มีบุญ จึงได้โภชนะเห็นปานนี้เนืองนิตย์”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
180 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๘. อเถกทิวสํ อญฺญํ มคฺคํ ปฏิปชฺชิตฺวา เตน ปุรโต ติริยํ ตฺวา วาริยมาโนปิ
อนิวตฺติตฺวา สุนขํ ปาเทน อปนุทิตฺวา ปายาสิ. (๒/๑/๑๑)
อถ เอกทิวสํ (ปจฺเจกพุทฺโธ) อฺํ มคฺคํ ปฏิปชฺชิตฺวา เตน (สุนเขน) ปุรโต ติริยํ ฐตฺวา
วาริยมาโนปิ อนิวตฺติตฺวา สุนขํ ปาเทน อปนุทิตฺวา ปายาสิ.
ต่อมาในกาลวันหนึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า เดินไปสู่ทางอื่นแล้ว แม้สุนัขนั้นจะยืนขวาง
ห้ามอยู่ ข้างหน้าก็ไม่กลับ เอาเท้าเขี่ยสุนัขแล้วก็เดินไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๙. สุนขสฺส ตํ อากาเสน คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา ภุกฺกริตฺวา ิตสฺส, ตสฺมึ จกฺขุปถํ วิชหนฺเต,
หทยํ ผลิตํ. (๒/๑/๑๒)
สุนขสฺส ตํ (ปจฺเจกพุทฺธํ) อากาเสน คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา ภุกฺกริตฺวา ิตสฺส, ตสฺมึ (ปจฺเจกพุทฺเธ)
จกฺขุปถํ วิชหนฺเต, หทยํ ผลิตํ.
สุนัขแลดูพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ผู้เหาะไปทางอากาศ ยืนเห่าอยู่แล้ว เมื่อพระปัจเจก-
พุทธเจ้านั้น ลับคลองจักษุไป หทัยก็แตกสลาย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๐. โส “ยฏฺฐิยา นํ ปหริตฺวา นีหริสฺสามีติ คจฺฉนฺตรํ ปวิฏฺโฐ อชึ ชนฺนุเกหิ ตฺวา
ทารกํ ขีรํ ปาเยนฺตึ ทิสฺวา ทารเก ปุตฺตสิเนหํ ปฏิลภิตฺวา “ปุตฺโต เม ลทฺโธติ
ตํ อาทาย ปกฺกามิ. (๒/๑/๑๖)
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 181

โส (อชปาลโก) “(อหํ) ยฏฺิยา นํ (อชํ) ปหริตฺวา นีหริสฺสามี”ติ (จินฺเตตฺวา) คจฺฉนฺตรํ ปวิฏฺโ


อชึ ชนฺนุเกหิ ฐตฺวา ทารกํ ขีรํ ปาเยนฺตึ ทิสฺวา ทารเก ปุตฺตสิเนหํ ปฏิลภิตฺวา “ปุตฺโต เม
ลทฺโธ”ติ (จินฺเตตฺวา) ตํ (ทารกํ) อาทาย ปกฺกามิ.
เขาคิดว่า “จักเอาไม้เท้าตีมันไล่ออก” จึงเข้าไปสู่พุ่มไม้ เห็นแม่แพะคุกเข่า ให้ทารก
น้อยกินนมอยู่ กลับได้ความรักในทารกเสมือนบุตร จึงอุ้มเอาทารกนั้นไป ด้วยคิดว่า
“เราได้บุตรแล้ว”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๑. เตสํ อุมฺมงฺคํ ภินฺทิตฺวา เคหํ ปวิสิตฺวา ภณฺฑานํ โอโลกนกาเล มาณโว
ปพุชฺฌิตฺวา ตํ มนฺตํ สชฺฌายนฺโต “ฆเฏสิ ฆเฏสิ, กึการณา ฆเฏสิ, อหํปิ ตํ
ชานามิ ชานามีติ อาห. (๒/๓/๘๕, จูฬปนฺถก)
เตสํ (โจรานํ) อุมฺมงฺคํ ภินฺทิตฺวา เคหํ ปวิสิตฺวา ภณฺฑานํ โอโลกนกาเล มาณโว
ปพุชฺฌิตฺวา ตํ มนฺตํ สชฺฌายนฺโต “(ตฺวํ) ฆเฏสิ (ตฺวํ) ฆเฏสิ, (ตฺวํ) กึการณา ฆเฏสิ; อหํปิ ตํ
ชานามิ (อหํ) ชานามีติ อาห.
มาณพตื่นขึ้น เมื่อสาธยายมนต์นั้น จึงกล่าวว่า “ท่านย่อมพยายาม ท่านย่อมพยายาม,
ท่านย่อมพยายามเพราะเหตุอะไร, แม้เราย่อมรู้ท่าน เราย่อมรู้” ในเวลาเป็นที่ท�ำลาย
อุโมงค์แล้วจึงเข้าไปยังเรือน แล้วแลดูภัณฑะทั้งหลาย ของพวกโจรเหล่านั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
182 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๒. สตฺถา ปน ตีหิ วิตกฺเกหิ อนฺวาสตฺตตาย ตสฺมึ อมฺพวเน ปธานมนุยุญฺชิตุํ


อสกฺกุณิตฺวา อาคตํ เมฆิยตฺเถรํ อามนฺเตตฺวา “อติภาริยํ เต เมฆิย กตํ ‘อาคเมหิ
ตาว เมฆิย, เอกโกมฺหิ ยาว อญฺโปิ โกจิ ภิกฺขุ ทิสฺสตีติ มํ ยาจนฺตํ เอกกํ
ปหาย คจฺฉนฺเตน; ภิกฺขุนา นาม เอวํ จิตฺตวสิเกน ภวิตุํ น วฏฺฏติ; จิตฺตํ นาเมตํ
ลหุกํ, ตํ อตฺตโน วเส วตฺเตตุํ วฏฺฏตีติ วตฺวา อิมา เทฺว คาถา อภาสิ... (๒/๑/๑๑๖,
เมฆิยเถระ)
สตฺถา ปน (อตฺตโน) ตีหิ วิตกฺเกหิ อนฺวาสตฺตตาย ตสฺมึ อมฺพวเน ปธานํ อนุยุญฺชิตุํ
อสกฺกุณิตฺวา อาคตํ เมฆิยตฺเถรํ อามนฺเตตฺวา “อติภาริยํ เต เมฆิย กตํ ‘(ตฺวํ) อาคเมหิ
ตาว, (อหํ) เมฆิย เอกโก อมฺหิ, ยาว อญฺโญปิ โกจิ ภิกฺขุ ทิสฺสตีติ มํ ยาจนฺตํ เอกกํ
ปหาย คจฺฉนฺเตน; ภิกฺขุนา นาม เอวํ จิตฺตวสิเกน ภวิตุํ น วฏฺฏติ, จิตฺตํ นาม เอตํ
ลหุกํ (โหติ), (ภิกฺขุนา) ตํ (จิตฺตํ) อตฺตโน วเส วตฺเตตุ ํ วฏฺฏตีติ วตฺวา อิมา เทฺว คาถา
อภาสิ...
ฝ่่ายพระศาสดาตรััสเรีียกพระเมฆิิยเถระผู้้�ไม่่สามารถเพื่่�อจะตามประกอบความเพีียรที่่�
อััมพวัันนั้้�น เพราะว่่าถููกวิิตก ๓ อย่่างครอบงำ�� จึึงมาแล้้ว ตรััสว่่า “ดููก่่อนเมฆิิยะ กรรม
อัันหนัักยิ่่�ง ที่่�เธอผู้้�ละเราผู้้�ผู้้�เดีียวผู้้�ขอร้้องอยู่่�ว่่า ‘เมฆิิยะ เราเป็็นผู้้�ผู้้�เดีียว เธอจงรอคอย
จนกว่่าจะมีีภิิกษุุแม้้อื่่�นบางรููปปรากฏ’ แล้้วไปอยู่่� กระทำำ�แล้้ว, การที่่�ธรรมดาว่่าภิิกษุุ
เป็็นผู้้�เป็็นไปในอำำ�นาจของจิิตอย่่างนี้้� ย่่อมไม่่ควร, ธรรมดาว่่าจิิตนั่่�น เป็็นธรรมชาต
เร็็ว, การที่่�ภิิกษุุทำำ�ให้้จิิตนั้้�นเป็็นไปในอำำ�นาจของตน ย่่อมควร” ดัังนี้้� ได้้ตรััสพระคาถา
๒ คาถาเหล่่านี้้�...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 183

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๓. อาชีวโก ปจฺฉาคพฺเภ นิสินฺโนว ตสฺสา สาธุการํ ทตฺวา ธมฺมํ สุณนฺติยา สทฺทํ
สุตฺวา สนฺธาเรตุํ นาสกฺขิ. (๓/๖/๓๙-๔๐, ปาฏิกาชีวก)
อาชีวโก ปจฺฉาคพฺเภ นิสินฺโนว ตสฺสา (อิตฺถิยา) สาธุการํ ทตฺวา ธมฺมํ สุณนฺติยา สทฺทํ
สุตฺวา สนฺธาเรตุํ น อสกฺขิ.
อาชีีวกนั่่�งอยู่่�ภายหลัังห้้องนั่่�นแหละ ฟัังเสีียงของหญิิงนั้้�นผู้้�ให้้สาธุุการฟัังธรรมอยู่่� ไม่่
ได้้อาจเพื่่�ออัันทรงไว้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
184 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๔. อุปาสโก ตํ อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวา “อุฏฺฐาตพฺพํ นุ โข, โนติ จินฺเตตฺวา “อหํ


อคฺคราชสฺส สนฺติเก นิสินฺโน, ตสฺส เม ปเทสราชานํ ทิสฺวา อุฏฺฐาตุํ น
ยุตฺตํ, ราชา โข ปน เม อนุฏฺฐหนฺตสฺส กุชฺฌิสฺสติ, เอตสฺมึ กุชฺฌนฺเตปิ, เนว
อุฏฺฐหิสฺสามิ, ราชานํ ทิสฺวา อุฏฺฐหนฺเตน หิ ราชา ครุกโต โหติ, โน สตฺถา,
เนว อุฏฺฐหิสฺสามีติ น อุฏฺฐหิ. (๓/๗/๔๒, ฉตฺตปาณิอุปาสก)
อุปาสโก ตํ (ราชานํ) อาคจฺฉนฺตํ ทิสฺวา “(มยา) อุฏฺฐาตพฺพํ นุ โข, โน (อุทาหุ มยา อุฏฺฐาตพฺพํ)"
อิติ จินฺเตตฺวา “อหํ อคฺคราชสฺส สนฺติเก นิสินฺโน (อมฺหิ), ตสฺส เม ปเทสราชานํ ทิสฺวา อุฏฺฐาตุํ น
ยุตฺตํ, ราชา โข ปน เม อนุฏฺฐหนฺตสฺส กุชฺฌิสฺสติ, เอตสฺมึ (รญฺเญ) กุชฺฌนฺเตปิ, (อหํ) เนว
อุฏฺฐหิสฺสามิ, (มยา) ราชานํ ทิสฺวา อุฏฺฐหนฺเตน หิ ราชา ครุกโต โหติ, โน สตฺถา (มยา
ราชานํ ทิสฺวา อุฏฺฐหนฺเตน ครุกโต โหติ), (อหํ) เนว อุฏฺฐหิสฺสามีติ (จินฺเตตฺวา) น อุฏฺฐหิ.
อุุบาสกเห็็นพระราชากำำ�ลัังเสด็็จมา คิิดว่่า “เราควรลุุกรัับหรืือหนอแล หรืือว่่าไม่่ควร
ลุุกรัับ” คิิด(ต่่ออีีก)ว่่า “เราเป็็นผู้้�นั่่�งในสำำ�นัักของพระราชาผู้้�เลิิศ, การที่่�เรานั้้�นเห็็นพระ
ราชาผู้้�เป็็นใหญ่่ในประเทศ แล้้วลุุกขึ้้�นรัับ ไม่่ควรแล้้ว, แต่่ว่่า พระราชาแล เมื่่�อเราไม่่
ลุุกรัับอยู่่� จัักทรงกริ้้�ว, เมื่่�อพระราชาแม้้ทรงกริ้้�วอยู่่�, เราจัักไม่่ลุุกรัับนั่่�นแหละ, เพราะว่่า
พระราชา เป็็นผู้้�ที่่�เราเห็็นพระราชาแล้้วลุุกขึ้้�นรัับอยู่่�ทำำ�ความเคารพแล้้ว, พระศาสดา
เป็็นผู้้�ที่่�เราเห็็นพระราชาแล้้วลุุกขึ้้�นรัับอยู่่� ไม่่ทำำ�ความเคารพแล้้ว, เราจัักไม่่ลุุกขึ้้�นรัับ
นั่่�นแหละ” ดัังนี้้� จึึงไม่่ลุุกขึ้้�น(ต้้อนรัับ)
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 185

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๕. อเถกทิวสํ ราชา อุปริปาสาเท ฐิโต ฉตฺตปาณิอุปาสกํ กตภตฺตกิจฺจํ ฉตฺตมาทาย
อุปาหนํ อารุยฺห ราชงฺคเณน คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา ปกฺโกสาเปสิ. (๓/๗/๔๒, ฉตฺตปาณิ)
อถ เอกทิวสํ ราชา อุปริปาสาเท ฐิโต ฉตฺตปาณิอุปาสกํ กตภตฺตกิจฺจํ ฉตฺตํ อาทาย อุปาหนํ
อารุยฺห ราชงฺคเณน คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา (ราชปุริสํ) ปกฺโกสาเปสิ.
ครั้งภายหลัง ณ วันหนึ่ง พระราชาทรงประทับยืน ณ เบื้องบนปราสาท ทอดพระเนตร
เห็นฉัตตปาณิอุบาสก ผู้ท�ำภัตกิจแล้ว ผู้ถือเอาร่ม สวมรองเท้า เดินไปทางลานหลวง
รับสั่งให้ราชบุรุษร้องเรียกแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๖. สเจ ชวมานานํ นิวตฺถทุสฺสกณฺเณ วา อกฺกมิตฺวา ภูมิยํ วา ปกฺขลิตฺวา ปติตกาเล
หตฺโถ วา ปาโท วา ภิชฺเชยฺย. (๓/๘/๕๑)
สเจ ชวมานานํ (อมฺหากํ) นิวตฺถทุสฺสกณฺเณ วา อกฺกมิตฺวา ภูมิยํ วา ปกฺขลิตฺวา ปติตกาเล
หตฺโถ วา ปาโท วา ภิชฺเชยฺย.
ถ้าว่า มือหรือเท้าพึงแตกในกาลเป็นที่เหยียบชายผ้านุ่งหรือว่าลื่นล้มที่ภาคพื้น แห่ง
พวกดิฉันผู้วิ่งไปอยู่ไซร้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
186 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๗. อิทํ กิร เตสํ อลงฺกตสีสํ ฉินฺทิตฺวา สุอญฺชนอกฺขีนิ อุปฺปาเฏตฺวา หทยมํสํ อุพฺพตฺเตตฺวา
ปรสฺส ทาสตฺถาย ชาลิสทิเส ปุตฺเต กณฺหาชินาสทิสา ธีตโร มทฺทีสทิสา ปชาปติโย
ปริจฺจชิตฺวา ทินฺนทานสฺส ผลํ. (๓/๘/๖๕)
อิทํ (ผลํ) กิร เตสํ (พุทฺธานํ) อลงฺกตสีสํ ฉินฺทิตฺวา สุอญฺชนอกฺขีนิ อุปฺปาเฏตฺวา หทยมํสํ
อุพฺพตฺเตตฺวา ปรสฺส (ปุคฺคลสฺส) ทาสตฺถาย ชาลิสทิเส ปุตฺเต กณฺหาชินาสทิสา ธีตโร
มทฺทีสทิสา ปชาปติโย ปริจฺจชิตฺวา ทินฺนทานสฺส ผลํ (โหติ).
ได้ยินว่า นี้เป็นผลแห่งทานที่พระพุทธเจ้าเหล่านั้น ผู้ทรงตัดศีรษะที่ถูกประดับแล้ว
ควักนัยน์ตาที่หยอดดีแล้วทั้งหลาย เพิกเนื้อแห่งหทัย บริจาคบุตรทั้งหลายผู้เช่นกับ
ชาลี ธิดาทั้งหลายผู้เช่นกับกัณหาชินา ปชาบดีทั้งหลายผู้เช่นกับพระนางมัทรี เพื่อ
ประโยชน์แก่ความเป็นทาสของบุคคลอื่นให้แล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 187

๓๘. อเถกทิวสํ สตฺถา ปจฺจูสสมเย โลกํ โวโลเกนฺโต เทวโลกา จวิตฺวา ภทฺทิยนคเร


เสฏฺฐิกุเล นิพฺพตฺตสฺส ภทฺทิยสฺส นาม เสฏฺฐิปุตฺตสฺส อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา
อนาถปิณฺฑิกสฺส เคเห ภตฺตกิจฺจํ กตฺวา อุตฺตรทฺวาราภิมุโข อโหสิ. (๓/๘/๗๐-๗๑)
อถ เอกทิวสํ สตฺถา ปจฺจูสสมเย โลกํ โวโลเกนฺโต เทวโลกา จวิตฺวา ภทฺทิยนคเร เสฏฺฐิกุเล
นิพฺพตฺตสฺส ภทฺทิยสฺส นาม เสฏฺฐิปุตฺตสฺส อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา อนาถปิณฺฑิกสฺส เคเห
ภตฺตกิจฺจํ กตฺวา อุตฺตรทฺวาราภิมุโข อโหสิ.
ครั้้�นภายหลััง ณ วัันหนึ่่�ง พระศาสดาทรงตรวจดููสััตว์์โลกในเวลาใกล้้รุ่่�ง ทอดพระเนตร
เห็็นความถึึงพร้้อมแห่่งอุุปนิิสััยของบุุตรเศรษฐีี นามว่่าภััททิิยะ ผู้้�เคลื่่�อนจากเทวโลก
แล้้วบัังเกิิดในตระกููลเศรษฐีี ในภััททิิยนคร ทรงทำำ�ภััตกิิจที่่�เรืือนของอนาถบิิณฑิิก
เศรษฐีีแล้้ว ได้้เป็็นผู้้�มีีพระพัักตร์์ต่่อประตููทิิศเหนืือ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
188 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๙. สตฺถา ธมฺมสภํ คนฺตฺวา “ภิกฺขเว กึ กเถถาติ ปุจฺฉิตฺวา “อิทนฺนามาติ วุตฺเต,


“ปุพฺเพเปเต คทฺรภโยนิยํ นิพฺพตฺตา ปญฺจสตา คทฺรภา หุตฺวา ปญฺจสตานํ
อาชานียสินฺธวานํ อลฺลรสมุทฺทิกปานกปีตาวเสสํ อุจฺฉิฏฺฐกสฏํ อุทเกน มทฺทิตฺวา
มกจิปิโลติกาหิ ปริสฺสาวิตตฺตา ‘วาโลทกนฺติ สงฺขฺยํ คตํ อปฺปรสํ นิหีนํ ปิวิตฺวา
มธุมตฺตา วิย นทนฺตา วิจรึสูติ วตฺวา รญฺญา เตสํ สทฺทํ สุตฺวา ปุจฺฉิเตน
โพธิสตฺเตน รญฺโญ กถิตํ เตสํ กิริยํ ทสฺเสนฺโต... (๔/๘/๔๕)
สตฺถา ธมฺมสภํ คนฺตฺวา “(ตุมฺเห) ภิกฺขเว กึ (วตฺถุํ) กเถถาติ ปุจฺฉิตฺวา “(มยํ) อิทํ นาม
(วตฺถุํ) กเถม" อิติ (วจเน เตหิ ภิกฺขูหิ) วุตฺเต, “ปุพฺเพปิ เอเต (วิฆาสาทา) คทฺรภโยนิยํ
นิพฺพตฺตา ปญฺจสตา คทฺรภา หุตฺวา (ตสฺส อุทกสฺส ปุคฺคเลน) ปญฺจสตานํ อาชานียสินฺธวานํ
อลฺลรสมุทฺทิกปานกปีตาวเสสํ อุจฺฉิฏฺฐกสฏํ อุทเกน มทฺทิตฺวา มกจิปิโลติกาหิ ปริสฺสาวิตตฺตา
‘วาโลทกนฺติ สงฺขฺยํ คตํ อปฺปรสํ นิหีนํ (อุทกํ) ปิวิตฺวา มธุมตฺตา วิย นทนฺตา วิจรึสูติ วตฺวา
รญฺญา เตสํ (คทฺรภานํ) สทฺทํ สุตฺวา ปุจฺฉิเตน โพธิสตฺเตน รญฺโญ กถิต ํ เตสํ (คทฺรภานํ)
กิริยํ ทสฺเสนฺโต...
พระศาสดาเสด็็จไปธรรมสภา ตรััสถามว่่า “ดููก่่อนภิิกษุุทั้้�งหลาย พวกเธอย่่อมกล่่าว
เรื่่�องอะไร” ดัังนี้้�, เมื่่�อพวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นกราบทููลว่่า “เรื่่�องชื่่�อนี้้�” ดัังนี้้�, จึึงตรััสว่่า “แม้้ใน
กาลก่่อน พวกคนกิินเดนเหล่่านี้้� บัังเกิิดในกำำ�เนิิดลา เป็็นลา ๕๐๐ ตััว ดื่่�มน้ำำ��ที่่�เลว มีีรส
ชาดน้้อย ที่่�ถึึงการนัับว่่า ‘น้ำำ��หาง’ เพราะว่่าน้ำำ��นั้้�นเป็็นน้ำำ��ที่่�บุุคคลใช้้น้ำำ��ขยำำ�กากที่่�เป็็น
เดนที่่�เหลืือจากน้ำำ��ที่่�ทำำ�จากมะซางที่่�มีีรสอัันสดที่่�พวกม้้าสิินธพตััวอาชาไนยมีีประมาณ
๕๐๐ ตััวดื่่�มแล้้ว กรองแล้้วด้้วยผ้้าเปลืือกปอเก่่า ดุุจเมาเพราะน้ำำ��หวาน เที่่�ยวบัันลืือ
อยู่่�” ดัังนี้้� เมื่่�อแสดงกิิริิยาของพวกลาเหล่่านั้้�นที่่�พระโพธิิสััตว์์ ถููกพระราชาผู้้�ทรงสดัับ
เสีียงของพวกลาเหล่่านั้้�นแล้้วตรััสถาม กราบทููลแด่่พระราชา...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 189

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๐. สตฺถา เอตสฺมึ นิทาเน อายตึ สนฺนิธิการํ ปริวชฺชนตฺถาย ภิกฺขูนํ สิกฺขาปทํ
ปญฺญาเปตฺวาปิ เถเรน ปน อปฺปญฺตฺเต สิกฺขาปเท อปฺปิจฺฉตํ นิสฺสาย กตตฺตา
ตสฺส โทสาภาวํ ปกาเสนฺโต... (๔/๓.เพฬฏฺฐสีส/๕๙)
สตฺถา เอตสฺมึ นิทาเน อายตึ สนฺนิธิการํ ปริวชฺชนตฺถาย ภิกฺขูนํ สิกฺขาปทํ ปญฺญาเปตฺวาปิ
(ตสฺส สนฺนิธิการสฺส) เถเรน ปน (ภควตา) อปฺปญฺญตฺเต สิกฺขาปเท (อตฺตโน) อปฺปิจฺฉตํ
นิสฺสาย กตตฺตา ตสฺส (เถรสฺส) โทสาภาวํ ปกาเสนฺโต...
พระศาสดา แม้้ทรงบััญญััติสิิ ิกขาบทแก่่ภิิกษุุทั้้�งหลาย เพื่่�อประโยชน์์แก่่การเว้้นการ
สั่่�งสมในกาลต่่อไปในเพราะเหตุุนั่่�น เมื่่�อทรงประกาศความที่่�พระเถระนั้้�น เป็็นผู้้�ไม่่มีี
โทษ เพราะว่่าก็็เมื่่�อสิิกขาบท พระผู้้�มีีพระภาคยัังมิิได้้ทรงบััญญััติไิ ว้้ พระเถระอาศััย
ความเป็็นผู้้�มีีความมัักน้้อยกระทำำ�แล้้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
190 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๑. น สกฺฺกา สณฺฺเหน วา ผรุุเสน วา ‘นิิวตฺฺตาหีีติิ วตฺฺวา วา โปเถตฺฺวา วา


นิิวตฺฺตาเปตุํํ�. (๑/๒/๓๕)
(เกนจิิ) น สกฺฺกา สณฺฺเหน วา ผรุุเสน วา (วจเนน) ‘(ตฺฺวํ)ํ นิิวตฺฺตาหีีติิ วตฺฺวา วา โปเถตฺฺวา
วา (ตํํ ฉายํํ) นิิวตฺฺตาเปตุํํ�.
ใครๆ ก็็ไม่่สามารถที่่�จะสั่่�งด้้วยถ้้อยคำำ�ที่่�ไพเราะหรืือหยาบคายว่่า ‘จงกลัับ’ หรืือโบย
แล้้ว ทำำ�ให้้เงานั้้�นกลัับได้้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๒. ราชคเห กิเรกา เสฏฺฐิธีตา วยปฺปตฺตา สตฺตภูมิกสฺส ปาสาทสฺส อุปริคพฺเภ
อารกฺขณตฺถาย เอกํ ปริจาริกํ ทตฺวา มาตาปิตูหิ วาสิยมานา เอกทิวสํ สายณฺห-
สมเย วาตปาเนน อนฺตรวีถึ โอโลเกนฺตี ปญฺจ ปาสสตานิ ปญฺจ จ สูลสตานิ
อาทาย มิเค วธิตฺวา ชีวมานํ เอกํ กุกฺกุฏมิตฺตํ นาม เนสาทํ ปญฺจ
มิคสตานิ วธิตฺวา เตสํ มํเสน มหาสกฏํ ปูเรตฺวา สกฏธูเร นิสีทิตฺวา มํสํ
วิกฺกีณนตฺถาย นครํ ปวิสนฺตํ ทิสฺวา ตสฺมึ ปฏิพทฺธจิตฺตา หุตฺวา ปริจาริกาย
หตฺเถ ปณฺณาการํ ทตฺวา “คจฺฉ, เอตสฺส ปณฺณาการํ ทตฺวา คมนกาลํ ญตฺวา
เอหีติ เปเสสิ. (๕/๘.กุกฺกุฏมิตฺต/๒๒)
ราชคเห กิร เอกา เสฏฺฐิธีตา วยปฺปตฺตา สตฺตภูมิกสฺส ปาสาทสฺส อุปริคพฺเภ อารกฺขณตฺถาย
เอกํ ปริจาริกํ ทตฺวา มาตาปิตูหิ วาสิยมานา เอกทิวสํ สายณฺหสมเย วาตปาเนน อนฺตรวีถึ
โอโลเกนฺตี [ปญฺจ ปาสสตานิ (จ) ปญฺจ จ สูลสตานิ อาทาย มิเค วธิตฺวา ชีวมานํ] เอกํ
กุกฺกุฏมิตฺตํ นาม เนสาทํ [ปญฺจ มิคสตานิ วธิตฺวา เตสํ (มิคานํ) มํเสน มหาสกฏํ ปูเรตฺวา
สกฏธูเร นิสีทิตฺวา มํสํ วิกฺกีณนตฺถาย นครํ ปวิสนฺตํ] ทิสฺวา ตสฺมึ (เนสาเท) ปฏิพทฺธจิตฺตา
หุตฺวา ปริจาริกาย หตฺเถ ปณฺณาการํ ทตฺวา “(ตฺวํ) คจฺฉ, (ตฺวํ) เอตสฺส (เนสาทสฺส)
ปณฺณาการํ ทตฺวา คมนกาลํ ญตฺวา เอหีติ (วจเนน) เปเสสิ.
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 191

ได้้ยิินมาว่่า ธิิดาเศรษฐีีคนหนึ่่�งในเมืืองราชคฤห์์ เจริิญวััยแล้้ว ถููกมารดาบิิดาให้้หญิิง


รัับใช้้คนหนึ่่�งเพื่่�อประโยชน์์แก่่การอารัักขา แล้้วให้้อยู่่�ในห้้องในเบื้้�องบนแห่่งปราสาท
๗ ชั้้�น วัันหนึ่่�ง ขณะกำำ�ลัังแลดููระหว่่างถนนทางช่่องหน้้าต่่างในเวลาเย็็น เห็็นนาย
พรานคนหนึ่่�งชื่่�อว่่ากุุกกุุฏมิิตร ผู้้�ถืือเอาบ่่วง ๕๐๐ อััน หลาว ๕๐๐ อััน แล้้วฆ่่าเนื้้�อ
ทั้้�งหลายเลี้้�ยงชีีพ ผู้้�ฆ่่าเนื้้�อ ๕๐๐ ตััว ใช้้เกวีียนใหญ่่บรรทุุกเนื้้�อของเนื้้�อเหล่่านั้้�นให้้
เต็็ม แล้้วนั่่�งบนหลัังธููป เข้้าไปสู่่�พระนครเพื่่�อประโยชน์์แก่่การขายเนื้้�อ เป็็นหญิิงมีีจิิต
ปฏิิพััทธ์์ในนายพรานนั้้�น ให้้เครื่่�องบรรณาการในมืือของหญิิงรัับใช้้ แล้้วส่่งไปด้้วยคำำ�
ว่่า “เธอจงไป, เธอให้้เครื่่�องบรรณาการแก่่นายพรานนั่่�น รู้้�เวลาเป็็นที่่�ไป แล้้วจงมา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
192 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ค�ำศัพท์กิริยาที่น่าสนใจ
การิต กร กรเณ ในการกระท�ำ + เณ + ต (อัน...) ให้กระท�ำแล้ว
นิสินฺนก นิ + สท คตฺยาวสาเน ในการสิ้นสุดการไป + ต + ก นั่งแล้ว
ทิสฺวา ทิส เปกฺขเณ ในการดู, การเห็น + ตฺวา เห็นแล้ว, ดูแล้ว
อาคต อา + คมุ คติมฺหิ ในการไป + ต มาแล้ว
อมฺหิ อส ภุวิ ในความมี, ความเป็น + อ + มิ ย่อมมี, ย่อมเป็น
วตฺวา วจ วิยตฺติยํ วาจายํ ในการพูดชัด + ตฺวา กล่าวแล้ว
ปกฺกามิ ป + กมุ ปทวิกฺเขเป ในการก้าวเท้า + อี หลีกไปแล้ว
ภวิสฺสติ ภู สตฺตายํ ในความมี, ความเป็น + สฺสติ จักมี, จักเป็น
พฺยากต วิ + อา + กร กรเณ ในการกระท�ำ + ต พยากรณ์แล้ว, กระท�ำให้แจ้งแล้ว
ปติฏฺ€าเปตฺวา ปติ + €า คตินิวตฺติมฺหิ ในการห้ามการไป +ณาเป+ตฺวา (ยัง...) ให้ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว
คเหตฺวา คห อุปาทาเน ในการถือเอา + ตฺวา ถือเอาแล้ว, เรียนเอาแล้ว
อภิตฺถุต อภิ + ถุ ถเว ในการสรรเสริญ + ต (อัน...) สรรเสริญแล้ว, ชมเชยแล้ว
ปวิสิตฺวา ป + วิส ปเวสเน ในการเข้าไป + ตฺวา เข้าไปแล้ว
นิพฺพินฺทิตฺวา นิ + วิท ตุฏฺ€ิยํ ในความยินดี + ตฺวา เบื่อหน่ายแล้ว
ปหาย ป + หา จาเค ในการสละ + ตฺวา สละแล้ว, ละแล้ว
นิกฺขมนฺต นิ + กมุ ปทวิกฺเขเป ในการก้าวเท้า + อ + อนฺต ออกไปอยู่, เมื่อออกไป
ปกฺโกสิตฺวา ป + กุส อวฺหาเน ในการร้องเรียก + ตฺวา ร้องเรียกแล้ว
ปาเปตฺวา ป + อป ปาปุณเน ในการถึง + เณ + ตฺวา (ยัง...) ให้ถึงแล้ว, ให้บรรลุแล้ว
ลทฺธ ลภ ลาเภ ในการได้ + ต (อัน...) ได้แล้ว
คจฺฉนฺต คมุ คติมฺหิ ในการไป + อ + อนฺต ไปอยู่, เมื่อไป
ตฺวา า อวโพธเน ในการรู้ + ตฺวา รู้แล้ว
ปญฺาเปตฺวา ป + ป วิตฺถาเร ในการแผ่ไป + เณ + ตฺวา ปูลาดแล้ว, บัญญัติแล้ว (จุ.)
อทาสิ อ + ทา ทาเน ในการให้ + อี ได้ให้แล้ว, ได้ถวายแล้ว
อภิภูต อภิ + ภู สตฺตายํ ในความมี, ความเป็น + ต (อัน...) ครอบง�ำแล้ว
ปริหริสฺสามิ ปริ + หร หรเณ ในการน�ำไป + สฺสามิ จักบริหาร, จักน�ำไปโดยรอบ
อุปฺปาเทตฺวา อุ + ปท คติมฺหิ ในการไป + เณ + ตฺวา (ยัง...) ให้เกิดขึ้นแล้ว
ปริหายิตฺวา ปริ + หา จาเค ในการสละ + ตฺวา เสื่อมรอบแล้ว
วิธีการแปลเกี่ยวกับการล็อคข้อความ 193
เทเสนฺต ทิส อติสชฺชเน ในการสวด, แสดง + เณ + อนฺต แสดงอยู่, เมื่อแสดง (จุ.)
วนฺทิตฺวา วนฺท อภิวนฺทเน ในการกราบไหว้ + ตฺวา กราบไหว้แล้ว, ถวายบังคมแล้ว
อุปสงฺกมิตฺวา อุป + สํ + กมุ ปทวิกฺเขเป ในการก้าวเท้า + ตฺวา เข้าไปหาแล้ว, เข้าไปเฝ้าแล้ว
อนุชานามิ อนุ + า อวโพธเน ในการรู้ + นา + มิ ย่อมอนุญาต
ปพฺพชิสฺสามิ ป + วช คติมฺหิ ในการไป + สฺสามิ จักบวช, จักบรรพชา
ปฏิกฺขิปิตฺวา ปติ + ขิป โนทเน ในการซัดไป + ตฺวา ห้ามแล้ว, ปฏิเสธแล้ว
ปพฺพชิสฺสติ ป + วช คติมฺหิ ในการไป + สฺสติ จักบวช, จักบรรพชา
ปพฺพชาหิ ป + วช คติมฺหิ ในการไป + อ + หิ จงบวช, ขอจงบวช, จงบวชเถิด
วุตฺต วจ วิยตฺติยํ วาจายํ ในการพูดชัด + ต (อัน...) กล่าวแล้ว
ปฏิพทฺธ ปติ + พนฺธ พนฺธเน ในการผูก + ต เกี่ยวเนื่องแล้ว, ปฏิพัทธ์
สญฺาเปตฺวา สํ + า อวโพธเน ในการรู้ + ณาเป + ตฺวา (ยัง...) ให้รู้พร้อมแล้ว
คณฺหิ คห อุปาทาเน ในการถือเอา + ณฺหา + อี ถือเอาแล้ว, รับเอาแล้ว
ปุจฺฉิตฺวา ปุจฺฉ ปุจฺฉเน ในการถาม + ตฺวา ถามแล้ว
นาคต น + อา + คมุ คติมฺหิ ในการไป + ต ไม่มาแล้ว
วิสฺสชฺเชตฺวา วิ + สชฺชี จาเค ในการสละ + เณ + ตฺวา สละแล้ว, แก้แล้ว, ปล่อยแล้ว (จุ.)
กต กร กรเณ ในการกระท�ำ + ต (อัน...) กระท�ำแล้ว
ครหนฺติ ครห นินฺทายํ ในการติเตียน + อ + อนฺติ ย่อมติเตียน
เอตุ อา + อิ คติมฺหิ ในการไป + อ + ตุ จงมา, มาเถิด, ขอจงมา
อาคนฺตฺวา อา + คมุ คติมฺหิ ในการไป + ตฺวา มาแล้ว
€ิต €า คตินิวตฺติมฺหิ ในการห้ามการไป + ต ยืนแล้ว, ด�ำรงอยู่แล้ว, ตั้งไว้แล้ว
กโรสิ กร กรเณ ในการกระท�ำ + โอ + สิ ย่อมกระท�ำ, กระท�ำอยู่, จะกระท�ำ
นาคมิสฺสถ น + อา + คมุ คติมฺหิ ในการไป + สฺสถ จักไม่มา
อภวิสฺส อ + ภู สตฺตายํ ในความมี, ความเป็น + สฺสา จักได้มีแล้ว, จักได้เป็นแล้ว
กโรถ กร กรเณ ในการกระท�ำ + โอ + ถ ย่อมกระท�ำ, กระท�ำอยู่, จะกระท�ำ
อุปสมฺมติ อุป + สมุ อุปสเม ในความสงบ + ย + ติ ย่อมเข้าไปสงบ (ทิ.)
อาห พฺรู วิยตฺติยํ วาจายํ ในการพูดชัด + อ กล่าวแล้ว
โอโลเกนฺต อว + โลก ทสฺสเน ในการดู + เณ + อนฺต แลดูอยู่, ตรวจดูอยู่ (จุ.)
นิสีทิตฺวา นิ + สท คตฺยาวสาเน ในการสิ้นสุดการไป + ตฺวา นั่งแล้ว
นิปนฺน นิ + ปท คติมฺหิ ในการไป + ต นอนแล้ว
194 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

วฏฺเฏตฺวา วฏฺฏ อาวตฺตเน ในการหมุนไป + เณ + ตฺวา ปั้นแล้ว (จุ.)


ทียมาน ทา ทาเน ในการให้ + ย +มาน (อัน...) ให้อยู่
ปกฺขนฺทิตฺวา ป + ขนฺท เวคคติมฺหิ ในการไปเร็ว + ตฺวา แล่นไปแล้ว
ภุสฺสิตฺวา ภุส อติสเย ในความยิ่ง + ตฺวา เห่าแล้ว, หอนแล้ว (ทิ.)
ปฏิปชฺชิตฺวา ปติ + ปท คติมฺหิ ในการไป + ตฺวา ปฏิบัติแล้ว, ด�ำเนินไปแล้ว
€ตฺวา €า คตินิวตฺติมฺหิ ในการห้ามการไป + ตฺวา ยืนแล้ว, ด�ำรงอยู่แล้ว, ตั้งไว้แล้ว
วาริยมาน วร อาวรเณ ในการปิดกั้น, ป้องกัน +เณ+ย+มาน (อัน...) ห้ามอยู่ (จุ.)
อนิวตฺติตฺวา น + นิ + วตฺต วตฺตเน ในการเป็นไป + ตฺวา ไม่กลับแล้ว
อปนุทิตฺวา น + ป + นุท ปโนทเน ในการบรรเทา + ตฺวา ไม่บรรเทาแล้ว
ปายาสิ ป + อา + ยา คติมฺหิ ในการไป + อี ไปแล้ว, ด�ำเนินไปแล้ว
ภุกฺกริตฺวา ภู + กร กรเณ ในการกระท�ำ + ตฺวา เห่าแล้ว, หอนแล้ว
วิชหนฺต วิ + หา จาเค ในการสละ + อ + อนฺต สละอยู่, ละอยู่, เมื่อสละ, เมื่อละ
ผลิต ผล ภิชฺชเน ในการแตกสลาย + ต แตกสลายแล้ว, แตกแล้ว
ปหริตฺวา ป + หร ปหาเร ในการตี + ตฺวา ตีแล้ว
นีหริสฺสามิ นี + หร หรเณ ในการน�ำไป + สฺสามิ จักน�ำไป
ปวิฏฺ€ ป + วิส ปเวสเน ในการเข้าไป + ต เข้าไปแล้ว
ปาเยนฺตี ปา ปาเน ในการดื่ม + เณ + อนฺต + (อี) (ยัง...) ให้ดื่มอยู่
ปฏิลภิตฺวา ปติ + ลภ ลาเภ ในการได้ + ตฺวา ได้เฉพาะแล้ว, กลับได้แล้ว
อาทาย อา + ทา อาทาเน ในการถือเอา + ตฺวา ถือเอาแล้ว, พาเอาแล้ว
ปกฺโกสาเปตฺวา ป + กุส อวฺหาเน ในการร้องเรียก + ณาเป + ตฺวา (ยัง...) ให้เรียกแล้ว
อนฺวาสตฺต อนุ + อา + สนฺช สงฺคมฺหิ ในความติดแน่น,เกี่ยวข้อง + ต (อัน...) ครอบง�ำแล้ว
อนุยุญฺชิตุํ อนุ + ยุช โยค ในการประกอบ + ตุํ เพื่ออันประกอบ (รุ.)
อสกฺกุณิตฺวา น + สก สตฺติมฺหิ ในความอาจ + อุณา + ตฺวา ไม่อาจแล้ว
อามนฺเตตฺวา อา + มนฺต อวฺหาเน ในการร้องเรียก + เณ + ตฺวา เรียกแล้ว, ตรัสเรียกแล้ว (จุ.)
ปีต ปา ปาเน ในการดื่ม + ต (อัน...) ดื่มแล้ว
อุจฺฉิฏฺ€ก อุ + ฉิทิ ฉิชฺชเน ในการตัด + ต + (ก) เป็นเดน, เหลือเดน
มทฺทิตฺวา มทฺท มทฺทเน ในการย�่ำยี + ตฺวา ขย�ำแล้ว, เหยียบแล้ว, ย�่ำยีแล้ว
ปริสฺสาวิต ปริ + สุ ปคฺฆรเณ ในการไหล + เณ + ต (อัน...) กรองแล้ว (จุ.)
วิธีการแปลรวบข้อความ 195
ปิวิตฺวา ปา ปาเน ในการดื่ม + ตฺวา ดื่มแล้ว
มตฺต มท อุมฺมาเท ในความบ้า + ต เมาแล้ว, มัวเมาแล้ว
นทนฺต นท นาเท ในการบันลือ + อ + อนฺต บันลืออยู่
วิจรึสุ วิ + จร จรเณ ในการเที่ยวไป + อุํ เที่ยวไปแล้ว
กถิต กถ กถเน ในการกล่าว + เณ + ต (อัน...) กล่าวแล้ว (จุ.)
นิวตฺตาหิ นิ + วตุ วตฺตเน ในการเป็นไป + อ + หิ จงกลับ, กลับเถิด, ขอจงกลับ
อทฺทส อ + ทิส เปกฺขเณ ในการดู, เห็น + อ +อา ได้เห็นแล้ว

บทที่ ๙
วิธีการแปลรวบข้อความ
วิธีการแปลบาลีเป็นไทยนั้น ตามปกติแล้ว ก็จะแปลตามหลักการแปลทั้ง ๘ ข้อ ก่อน
หลังตามที่กล่าวไว้แล้วในหลักการแปลขั้นที่ ๑ นั้น แต่มีบางข้อความที่เมื่อแปลแยกบทแล้ว
ไม่ได้ความบ้าง ไม่ตรงตามหลักไวยากรณ์บ้าง ฉะนั้น จึงจ�ำเป็นที่จะต้องมีวิธีการแปลที่แตก
ต่างจากหลักการเดิมบ้าง วิธีดังกล่าวก็คือ การแปลรวบข้อความ โดยรวบบทหลายๆ บทเข้า
ด้วยกัน ซึ่งวิธีการแปลแบบนี้ มีหลักอยู่ ๘ ข้อ คือ
(๑) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของภาวศัพท์
(๒) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของภาวตัทธิต
(๓) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของการน�ำคุณศัพท์มาท�ำเป็นฉัฏฐีตัปปุริสสมาส
(๔) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของบทนามที่ประกอบด้วยยุปัจจัย
(๕) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของ ตปัจจัย ตพฺพปัจจัย และมานปัจจัยเป็นต้น ที่เป็น
กัมมรูป/เหตุกัมมรูป วิภัตติเดียวกันกับประธาน และ ต, อนฺต และมานปัจจัยที่ไม่ใช่วิภัตติ
เดียวกับประธาน
(๖) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของตุํปัจจัย
(๗) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของประโยคนิทธารณะ
(๘) แปลรวบด้วยอ�ำนาจของการล็อคข้อความ
196 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

วิธีสังเกตส�ำหรับประโยคที่จะต้องแปลรวบ และวิธีการแปล/สัมพันธ์ แต่ละข้อ มีดังต่อ


ไปนี้
๑. แปลรวบด้วยอ�ำนาจของภาวศัพท์
ข้้อสัังเกตมีีอยู่่�ว่่า ถ้้านำำ�คุุณศััพท์์ [คุุณนาม, วิิเสสนสััพพนาม, พหุุพพีีหิิสมาส,
สามััญญวุุตติิตััทธิิต (สามััญญวุุตติิตััทธิิตมีี ๕ ตััทธิิต คืือ อปััจจตััทธิิต, สัังสััฏฐาทิิอเนกััตถตััทธิิต,
วิิเสสตััทธิิต, อััสสััตถิิตััทธิิตและสัังขยาตััทธิิต) และกิิตก์์] มาทำำ�สมาสกัับ ภาวศััพท์์ จะเป็็น
ฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส เวลาแปลจะออกวิิภััตติิของบทหน้้า ต่่อจากบทหลัังทัันทีีไม่่ได้้ ต้้องเรีียก
หาสุุทธนามที่่�ประกอบด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิเสมอ ส่่วนบทที่่�นำำ�มาทำำ�เป็็นสมาสนั้้�น ให้้แปลเหมืือน
วิกติกัตตา
เช่น อถสฺส มม จกฺขูนํ ปริหีนภาวํ อาโรเจยฺยาถ. (๑/๑/๑๒)
อถ (ภาเว สนฺเต), (ตุมฺเห) อสฺส (กนิฏฺฐสฺส) มม จกฺขูนํ ปริหีนภาวํ
อาโรเจยฺยาถ.
แปลว่า : ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น มีอยู่, อ.ท่าน ท. พึงบอก ซึ่งความที่-แห่ง
จักษุ ท. ของเรา -เป็นของเสื่อมรอบแล้ว แก่น้องชายนั้น ฯ
สัมพันธ์ว่า : อถ วิเสสนะของ ภาเวๆ ลักขณะใน สนฺเตๆ ลักขณกิริยา ตุมฺเห
สุทธกัตตาใน อาโรเจยฺยาถๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อสฺส วิเสสนะของ กนิฏฺฐสฺสๆ สัมปทาน
ใน อาโรเจยฺยาถ มม สามีสัมพันธะใน จกฺขูนํๆ ภาวาทิสัมพันธะใน ปริหีนภาวํๆ อวุตตกัมมะ
ใน อาโรเจยฺยาถ ฯ
ในตััวอย่่างนี้้� บทว่่า “ปริิหีีนภาวํํ” เป็็นฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส และศััพท์์ว่่า “ปริิหีีน” มาจาก
“ปริิบทหน้้า + หา จาเค ในการสละ + ตปััจจััย” เป็็นศััพท์์กิิตก์์ที่่�เป็็นคุุณศััพท์์ ฉะนั้้�น เวลาแปล
เมื่่�อออกสำำ�เนีียงของวิิภััตติิและออกภาวศััพท์์แล้้ว ให้้ข้้ามไปแปลสุุทธนามที่่�เป็็นฉััฏฐีีวิิภััตติิ
ก่่อน ถ้้ามีีตััวขยายสุุทธนามที่่�เป็็นฉััฏฐีีวิิภััตติิ ก็็ให้้แปลให้้หมด แล้้วจึึงกลัับมาแปลที่่�คุุณศััพท์์
ที่อยู่ติดกับภาวศัพท์ โดยแปลออกส�ำเนียงเหมือนเป็นวิกติกัตตาว่า “เป็นผู้..., เป็นของ..., เป็น
สภาพ..., เป็นธรรมชาติ... เป็นต้น
วิธีการแปลรวบข้อความ 197

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. เถรสฺส อาคตภาวํ ชานาสิ. (๑/๑/๑๗)
(ตฺวํ) เถรสฺส อาคตภาวํ ชานาสิ.
ท่านทราบว่าพระเถระมาแล้ว?
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. ตํ กโรนฺตสฺเสวสฺส, โรโค พลวา อโหสิ, อเตกิจฺฉภาวํ อุปาคมิ. (๑/๒/๒๓)
ตํ (เภสชฺชํ) กโรนฺตสฺส เอว อสฺส (พฺราหฺมณสฺส), โรโค พลวา อโหสิ, (ตสฺส โรคสฺส เกนจิ)
อเตกิจฺฉภาวํ อุปาคมิ.
เมื่อพราหมณ์นั้นท�ำยานั้นอยู่นั่นแหละ, โรคได้เป็นสภาพมีก�ำลัง เข้าถึงสภาพที่ใครๆ
ก็ไม่อาจเยียวยารักษาได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. สตฺถา ตํ ทิสฺวา ตสฺส อนฺโตเคหา นีหริตฺวา ตตฺถ นิปฺปชฺชาปิตภาวํ ญตฺวา “อตฺถิ
นุ โข มยฺหํ เอตฺถ คตปฺปจฺจเยน อตฺโถติ อุปธาเรนฺโต... (๑/๒/๒๔)
สตฺถา ตํ (มฏฺฐกุณฺฑลึ) ทิสฺวา ตสฺส (มฏฺฐกุณฺฑลิสฺส ปิตรา) อนฺโตเคหา นีหริตฺวา ตตฺถ
(พหิอาลินฺเท) นิปฺปชฺชาปิตภาวํ ญตฺวา “อตฺถิ นุ โข มยฺหํ เอตฺถ (ฐาเน) คตปฺปจฺจเยน
อตฺโถติ อุปธาเรนฺโต...
พระศาสดาทอดพระเนตรเห็็นมััฏฐกุุณฑลีีมาณพนั้้�น ทรงทราบว่่าเขาถููกบิิดานำำ�ออก
จากข้้างในเรืือนแล้้วให้้นอนที่่�ระเบีียงข้้างนอกนั้้�น ทรงใคร่่ครวญอยู่่�ว่่า “ประโยชน์์ด้้วย
ปััจจััยแห่่งการไปในที่่�นั่่�นของเรา มีีอยู่่�หรืือหนอแล”...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
198 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔. พฺราหฺมโณ ตสฺส ทุพฺพลภาวํ ญตฺวา เอกํ เวชฺชํ ปกฺโกสิ. (๑/๒/๒๓)


พฺราหฺมโณ ตสฺส (ปุตฺตสฺส) ทุพฺพลภาวํ ญตฺวา เอกํ เวชฺชํ ปกฺโกสิ.
พราหมณ์รู้ว่าบุตรนั้นเป็นคนทุรพลภาพ จึงเรียกหมอคนหนึ่งมา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. มยิ จิตฺตปฺปสาเทน ลทฺธภาวํ ญตฺวา... (๑/๒/๒๔)
(เทวปุตฺโต ตสฺสา สมฺปตฺติยา อตฺตนา) มยิ จิตฺตปฺปสาเทน ลทฺธภาวํ ญตฺวา...
เทพบุตรรู้ว่าสมบัตินั้น เป็นของที่ตนได้ เพราะจิตเลื่อมใสในเรา...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. มยิ จิตฺตปฺปสาเทน นิพฺพตฺตภาวํ อาจิกฺขิสฺสติ. (๑/๒/๒๕)
(เทวปุตฺโต อตฺตโน) มยิ จิตฺตปฺปสาเทน นิพฺพตฺตภาวํ อาจิกฺขิสฺสติ.
เทพบุตรจักบอกความที่ตนเป็นผู้บังเกิด เพราะความจิตเลื่อมใสในเรา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. นนุ เต ปุตฺเตน... สคฺเค นิพฺพตฺตภาโว กถิโต. (๑/๒/๒๕)
นนุ เต ปุตฺเตน... (อตฺตโน) สคฺเค นิพฺพตฺตภาโว กถิโต.
ความที่ตนเป็นผู้บังเกิดแล้วในสวรรค์ บุตรของท่านบอกแล้ว มิใช่หรือ?
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 199

๘. อถสฺส อนิพฺเพมติกภาวํ วิทิตฺวา สตฺถา... (๑/๒/๓๒)


อถ อสฺส (มหาชนสฺส) อนิพฺเพมติกภาวํ วิทิตฺวา สตฺถา...
ทีนั้น พระศาสดาทรงทราบความที่มหาชนนั้นเป็นผู้ยังไม่หมดความสงสัย...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. อิทานิ ตาวสฺส ภนฺเต ทุพฺพจภาโว อมฺเหหิ ญาโต. (๑/๓/๓๗)
อิทานิ ตาว อสฺส (ติสฺสสฺส) ภนฺเต ทุพฺพจภาโว อมฺเหหิ ญาโต.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความที่พระติสสะนั้นเป็นผู้ว่ายาก พวกข้าพระองค์ทราบแล้ว
ในบัดนี้ก่อน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. อาจริย ตุมฺหากํ อิธ นิปนฺนภาวํ น ชานามิ. (๑/๓/๓๘)
(อหํ) อาจริย ตุมฺหากํ อิธ (ฐาเน) นิปนฺนภาวํ น ชานามิ.
ข้าแต่อาจารย์ ผมไม่ทราบความที่ท่านเป็นผู้นอนแล้วในที่นี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. อหํ ตุมฺหากํ เอวํ นิปนฺนภาวํ น ชานามิ. (๑/๓/๓๘)
ผมไม่ทราบความที่ท่านเป็นผู้นอนแล้วอย่างนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
200 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๒. กสฺมา มยฺหํ คพฺภสฺส ปติฏฺฐิตภาวํ น กเถสิ. (๑/๔/๔๔)


(ตฺวํ) กสฺมา มยฺหํ คพฺภสฺส ปติฏฺฐิตภาวํ น กเถสิ.
เธอไม่บอกว่าเธอตั้งครรภ์แก่เรา เพราะเหตุอะไร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. ตโต หตฺถํ โอตาเรตฺวา อุทกสฺส ตตฺตภาวํ ชานิตฺวา คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทติ.
(๑/๕/๕๔)
ตโต (หตฺถี) หตฺถํ โอตาเรตฺวา อุทกสฺส ตตฺตภาวํ ชานิตฺวา คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทติ.
ล�ำดับนั้น ช้างใช้งวงจุ่มลง รู้ว่าน�้ำร้อนแล้ว ก็ไปจบพระศาสดา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. สตฺถา... พฺรหฺมุโน อชฺเฌสนํ อธิวาเสตฺวา “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ
เทเสยฺยนฺติ โอโลเกนฺโต อาฬารุทฺทกานํ กาลกตภาวํ ญตฺวา... (๑/๘/๗๘)
สตฺถา... พฺรหฺมุโน อชฺเฌสนํ อธิวาเสตฺวา “กสฺส นุ โข อหํ ปฐมํ ธมฺมํ เทเสยฺยนฺติ
โอโลเกนฺโต อาฬารุทฺทกานํ กาลกตภาวํ ญตฺวา...
พระศาสดาทรงรัับคำำ�เชิิญของพรหม ทรงตรวจดููอยู่่�ว่่า “เราพึึงแสดงธรรมครั้้�งแรกแก่่
ใครหนอแล” ทรงทราบว่่าอาฬารดาบสและอุุททกดาบสเสีียชีีวิิตแล้้ว...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------
วิธีการแปลรวบข้อความ 201

๒. แปลรวบด้้วยอำำ�นาจของภาวตััทธิิต มีีข้้อสัังเกตเหมืือนกัับการแปลรวบ ด้้วย


อำำ�นาจของภาวศััพท์์ คืือ ถ้้านำำ�คุุณศััพท์์ [คุุณนาม, วิิเสสนสััพพนาม, พหุุพพีีหิิสมาส,
สามััญญวุุตติิตััทธิิต (สามััญญวุุตติิตััทธิิตมีี ๕ คืือ อปััจจตััทธิิต, สัังสััฏฐาทิิอเนกััตถตััทธิิต,
วิิเสส-ตััทธิิต, อััสสััตถิิตััทธิิต และสัังขยาตััทธิิต) และกิิตก์์] มาทำำ�เป็็นภาวตััทธิิต เวลาแปล
จะแปลออกวิิภััตติิของบทหน้้า ต่่อจากบทหลัังทัันทีีไม่่ได้้ ต้้องเรีียกหาสุุทธนามที่่�ประกอบ
ด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิเสมอ ส่่วนบทที่่�นำำ�มาทำำ�เป็็นตััทธิิตนั้้�น ให้้แปลเหมืือนวิิกติิกััตตา
เช่น สตฺถา ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ พหุปการตํ อนุสฺสริตฺวา... (๑/๘/๗๘)
สตฺถา ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ พหุปการตํ อนุสฺสริตฺวา... (ปาเปสิ).
แปลว่า : อ.พระศาสดา ทรงระลึกถึงแล้ว ซึ่งความที่- แห่งภิกษุ ท. ผู้มีอยู่ ในพวก
ห้า -เป็นผู้มีอุปการะมาก ฯ
สัมพันธ์ว่า : สตฺถา เหตุกัตตาใน ปาเปสิๆ อาขยาตบทเหตุกัตตุวาจก
ปญฺจวคฺคิยานํ วิเสสนะของ ภิกฺขูนํๆ ภาวาทิสัมพันธะใน พหุปการตํๆ อวุตตกัมมะใน
อนุสฺสริตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อุฏฺฐาย... ฯ
ในตัวอย่างนี้ บทว่า “พหุปการตํ” เป็นภาวตัทธิต มาจาก “พหุปการ + ตาปัจจัย” ซึ่งค�ำ
ว่า “พหุปการ” ส�ำเร็จมาจากพหุพพีหิสมาส มีวิเคราะห์ว่า “พหู อุปการา เยสนฺติ พหุปการา,
ภิิกฺฺขูู” แปลว่่า ผู้้�มีีอุุปการะมาก รููปสำำ�เร็็จของพหุุพพีีหิิสมาสเป็็นคุุณศััพท์์ ฉะนั้้�น เมื่่�อนำำ�มาทำำ�
เป็็นภาวตััทธิิต มีีวิิเคราะห์์ว่่า “พหุุปการานํํ ภาโว พหุุปการตา” ความเป็็นแห่่งผู้้�มีีอุุปการะ
มาก เวลาแปล เมื่่�อออกวิิภััตติิและออกภาวะแล้้ว ให้้แปลไปที่่�สุุทธนามที่่�เป็็นฉััฏฐีีวิิภััตติิก่่อน
แล้้วแปลอนภิิหิิตกััตตา (ถ้้ามีี) สุุดท้้ายจึึงมาแปลคุุณนามที่่�อยู่่�ติิดกัับภาวตััทธิิต โดยให้้แปล
ออกสำำ�เนีียงเหมืือนวิิกติิกััตตาว่่า “เป็็นผู้้�..., เป็็นที่่�..., เป็็นสิ่่�ง...., เป็็นสภาพ....” เป็็นต้้น
เช่น เสฏฺฐี อตฺตนา ปาลิตํ วนปฺปตึ นิสฺสาย ลทฺธตฺตา ตสฺส “ปาโลติ นามํ
อกาสิ. (๑/๑/๓)
เสฏฺฐี (ตสฺส ปุตฺตสฺส) อตฺตนา [(อตฺตนา) ปาลิตํ] วนปฺปตึ นิสฺสาย ลทฺธตฺตา ตสฺส
(ปุตฺตสฺส) “ปาโลติ (วจนํ) นามํ อกาสิ.
แปลว่่า : อ.เศรษฐีี ได้้กระทำำ�แล้้ว ซึ่่�งคำำ� ว่่า “อ.ปาละ ดัังนี้้� ให้้เป็็นชื่่�อ ของบุุตรนั้้�น
เพราะความที่่�- แห่่งบุุตรนั้้�น เป็็นผู้้�- อัันตน -อาศััยแล้้ว ซึ่่�งต้้นไม้้อัันเป็็นเจ้้าแห่่งป่่า อััน- อัันตน
-รัักษาแล้้ว -จึึงได้้แล้้ว ฯ
202 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

สัมพันธ์ว่า : เสฏฺฐี สุทธกัตตาใน อกาสิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส


วิเสสนะของ ปุตฺตสฺสๆ ภาวาทิสัมพันธะใน ลทฺธตฺตา อตฺตนา อนภิหิตกัตตาใน ลทฺธ- อตฺตนา
อนภิหิตกตฺตาใน ปาลิตํๆ วิเสสนะของ วนปฺปตึๆ อวุตตกัมมะใน นิสฺสายๆ ปุพพกาลกิริยาใน
ลทฺธตฺตาๆ เหตุใน อกาสิ ตสฺส วิเสสนะของ ปุตฺตสฺสๆ สามีสัมพันธะใน นามํ ปาโล ลิงคัตถะ
อิติศัพท์ สรูปะใน วจนํๆ อวุตตกัมมะใน อกาสิ นามํ วิกติกัมมะใน อกาสิ ฯ
สำำ�หรัับในประโยคนี้้� บทว่่า “ลทฺฺธตฺฺตา” เป็็นคุุณศััพท์์ สำำ�เร็็จมาจาก “ลภธาตุุ + ตปััจจััย”
เป็็นกััมมรููป นำำ�มาทำำ�เป็็นภาวตััทธิิต จึึงเรีียกหา ๒ สิ่่�งด้้วยกััน คืือ (๑) สุุทธนามที่่�เป็็นฉััฏฐีี-
วิิภััตติิ ในที่่�นี้้�เวลาแปลให้้ใส่่บทว่่า “ตสฺฺส ปุุตฺฺตสฺฺส” เข้้ามา และ (๒) อนภิิหิิตกััตตา มีีอยู่่�แล้้ว
คืือ “อตฺฺตนา” ฉะนั้้�น ในเวลาแปลจึึงต้้องแปลออกวิิภััตติิและภาวตััทธิิต แล้้วข้้ามไปหาสุุทธ-
นามที่่�ประกอบด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิ ถ้้ามีีขยายสุุทธนาม ก็็ให้้แปลให้้จบก่่อน แล้้วจึึงมาแปลศััพท์์
ที่่�ประกอบอยู่่�กัับภาวตััทธิิต โดยแปลออกสำำ�เนีียงเหมืือนวิิกติิกััตตาว่่า “เป็็นผู้้�..., เป็็นอััน...,
เป็็นธรรมชาติิ..., เป็็นสภาพ...” เป็็นต้้น ถ้้าศััพท์์ที่่�นำำ�มาทำำ�เป็็น ภาวตััทธิิต เป็็นคุุณศััพท์์ที่่�เป็็น
กัมมรูป ก็ให้แปลตติยากัตตาต่อจากวิกติกัตตานั้น ถ้ามีขยายอีก ก็ให้แปลบทขยายก่อน แล้ว
จึงกลับมาแปลตัวธาตุที่อยู่กับภาวตัทธิต ถ้ามีบทขยายธาตุ ก็ให้แปลต่อจากธาตุ จนกว่าจะ
หมดตัวขยาย โปรดดูตัวอย่าง ประกอบค�ำอธิบาย

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก อนุปุพฺเพน คนฺตฺวา อนาถปิณฺฑิก-
มหาเสฏฺฐินา จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ วิสฺสชฺเชตฺวา การิเต เชตวนมหาวิหาเร วิหรติ,...
อิติ ทฺวินฺนํ กุลานํ คุณมหนฺตตํ ปฏิจฺจ สาวตฺถึ นิสฺสาย ปญฺจวีสติ วสฺสาวาเส วสิ.
(๑/๑/๔)
สมััยนั้้�น พระศาสดาผู้้�ทรงมีีธรรมจัักอัันประเสริิฐที่่�ทรงให้้เป็็นไปแล้้ว เสด็็จไปแล้้วตาม
ลำำ�ดัับ ย่่อมประทัับอยู่่� ณ พระเชตวัันมหาวิิหารที่่�ท่่านอนาถบิิณฑิิกมหาเศรษฐีีสละ
ทรััพย์์ ๕๔ โกฏิิ ให้้สร้้างไว้้,... ทรงอาศััยเมืืองสาวััตถีี ประทัับอยู่่�จำำ�พรรษา ๒๕ พรรษา
เพราะทรงอาศััยความที่่�ตระกููลทั้้�งสองมีีคุุณมาก ด้้วยประการฉะนี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 203

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. เตสํ อิมินา นิยาเมน เอกทิวสํ สมชฺชํ ปสฺสนฺตานํ ปริปากคตตฺตา ญาณสฺส
ปุริมทิวเสสุ วิย หสิตพฺพฏฺฐาเน หาโส วา สํเวคฏฺฐาเน สํเวโค วา ทายํ ทาตุํ
ยุตฺตฏฺฐาเน ทายํ วา นาโหสิ. (๑/๘/๘๑)
เตสํ (ชนานํ) อิมินา นิยาเมน เอกทิวสํ สมชฺชํ ปสฺสนฺตานํ ปริปากคตตฺตา ญาณสฺส ปุริม-
ทิวเสสุ วิย หสิตพฺพฏฺฐาเน หาโส วา สํเวคฏฺฐาเน สํเวโค วา ทายํ ทาตุํ ยุตฺตฏฺฐาเน ทายํ
วา น อโหสิ.
การหัวเราะในที่ควรหัวเราะหรือ การสังเวชในที่เป็นที่สังเวช หรือว่ารางวัลในที่อันควร
เพื่ออันให้รางวัล ไม่ได้มีแล้ว ดุจในวันก่อนๆ แก่พวกชนเหล่านั้นผู้ดูมหรสพอยู่ในวัน
หนึ่งโดยท�ำนองนี้ เพราะว่าญาณถึงความแก่รอบแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
204 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. อถสฺส อตฺตนา สทฺธึ เอกชฺฌาสยตํ ญตฺวา อุปติสฺโส อาห “สมฺม อมฺหากํ อุภินฺนํปิ
สุจินฺติตํ, โมกฺขธมฺมํ ปน คเวสิตุํ วฏฺฏติ, คเวสนฺเตหิ นาม เอกํ ปพฺพชฺชํ ลทฺธุํ
วฏฺฏติ, กสฺส สนฺติเก ปพฺพชามาติ. (๑/๘/๘๑)
อถ อสฺส (โกลิตสฺส) อตฺตนา สทฺธึ เอกชฺฌาสยตํ ญตฺวา อุปติสฺโส อาห “สมฺม (การณํ)
อมฺหากํ อุภินฺนํปิ สุจินฺติตํ, (อมฺเหหิ) โมกฺขธมฺมํ ปน คเวสิตุํ วฏฺฏติ, คเวสนฺเตหิ นาม
(ปุคฺคเลหิ) เอกํ ปพฺพชฺชํ ลทฺธุํ วฏฺฏติ, (มยํ) กสฺส สนฺติเก ปพฺพชามาติ.
ทีนั้น อุปติสสะรู้ว่าโกลิตะนั้นเป็นผู้มีอัธยาศัยเหมือนกันกับตน จึงกล่าวว่า “แน่ะสหาย
พวกเราแม้ทั้งสองคิดเหตุดีแล้ว, ก็ การที่พวกเราแสวงหาโมกขธรรม ย่อมควร, การที่
บุคคลทั้งหลาย ธรรมดาว่าผู้แสวงหาอยู่ ได้การบวชอย่างหนึ่ง จึงจะควร, พวกเราจะ
บวชในส�ำนักของใคร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. อิมสฺส สาสเน คมฺภีรตํ ทสฺเสสฺสามิ. (๑/๘/๘๓)
(อหํ) อิมสฺส (ปริพฺพาชกสฺส) สาสเน (ธมฺมสฺส) คมฺภีรตํ ทสฺเสสฺสามิ.
เราจักแสดงความที่ธรรมในพระศาสนาเป็นสภาพลุ่มลึกแก่ปริพาชกนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. สาวกปารมีญาณสฺส มหนฺตตาย. (๑/๘/๘๖)
สาวกปารมีญาณสฺส มหนฺตตาย (อคฺคสาวกานํ อุปริมคฺคกิจฺจํ น นิฏฺฐาสิ).
กิจแห่งมรรคในเบื้องบนแห่งอัครสาวกทั้งหลาย ไม่ส�ำเร็จแล้ว เพราะว่าสาวกบารมี-
ญาณเป็นสภาพใหญ่
วิธีการแปลรวบข้อความ 205

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. ปริกมฺมมหนฺตตาย. (๑/๘/๘๗)
(สารีปุตฺตตฺเถโร อตฺตโน) ปริกมฺมมหนฺตตาย (มหาโมคฺคลฺลานโต จิรตเรน (กาเลน) สาวก-
ปารมีญาณํ ปาปุณิ).
พระสารีบุตรเถระถึงสาวกบารมีญาณช้ากว่าพระมหาโมคคัลลานะ เพราะว่ามีบริกรรม
ใหญ่
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. วิกฺขิตฺตจิตฺตตฺตา. (๑/๘/๑๐๐)
(สรทตาปโส อตฺตโน) วิกฺขิตฺตจิตฺตตฺตา (อรหตฺตํ น ปตฺโต).
สรทดาบส ไม่บรรลุพระอรหัต เพราะว่ามีจิตฟุ้งซ่าน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. คพฺโภ ปริณตตฺตา ปติตุํ อสกฺโกนฺโต ติริยํ นิปชฺชิ. (๑/๔/๔๔)
คพฺโภ (คพฺภสฺส) ปริณตตฺตา ปติตุํ อสกฺโกนฺโต ติริยํ นิปชฺชิ.
สัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ไม่สามารถเพื่อจะตกไป เพราะว่าครรภ์แก่แล้ว จึงนอนขวาง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
206 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. โส ตาย อากิิณฺฺณวิหิ ารตาย อุุกฺฺกณฺฺิิโต “อหํํ โข อิิทานิิ อากิิณฺฺโณ ทุุกฺฺขํํ


วิิหรามิิ, อิิเม จ ภิิกฺฺขูู มม วจนํํ น กโรนฺฺ ติ;ิ ยนฺฺ นููนาหํํ เอโก คณมฺฺหา วููปกฏฺฺโ
วิิหเรยฺฺยนฺฺติิ จิินฺฺเตตฺฺวา โกสมฺฺพิยํิ ํ ปิิ ณฺฺฑาย จริิตฺฺวา อนปโลเกตฺฺวา ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆํํ
เอกโกว อตฺฺตโน ปตฺฺตจีีวรมาทาย พาลกโลณการามํํ คนฺฺ ตฺฺวา ตตฺฺถ ภคุุตฺฺเถรสฺฺส
เอกจาริิกวตฺฺตํํ กเถตฺฺวา ปาจีีนวํํสมิิคทาเย ติิณฺฺณํํ กุุลปุตฺุ ฺตานํํ สามคฺฺคีรี สานิิสํสํํ ํ
กเถตฺฺวา, เยน ปาริิเลยฺฺยกํ,ํ ตทวสริิ. (๑/๕/๕๒)
โส (สตฺฺถา) ตาย (อตฺฺตโน) อากิิณฺฺณวิหิ ารตาย อุุกฺฺกณฺฺิิโต “อหํํ โข อิิทานิิ อากิิณฺฺโณ ทุุกฺฺขํํ
วิิหรามิิ, อิิเม จ ภิิกฺฺขูู มม วจนํํ น กโรนฺฺ ติ;ิ ยนฺฺ นููน อหํํ เอโก คณมฺฺหา วููปกฏฺฺโ วิิหเรยฺฺยนฺฺติิ
จิินฺฺเตตฺฺวา โกสมฺฺพิยํิ ํ ปิิ ณฺฺฑาย จริิตฺฺวา อนปโลเกตฺฺวา ภิิกฺฺขุสุ งฺฺฆํํ เอกโกว อตฺฺตโน ปตฺฺตจีีวรํํ
อาทาย พาลกโลณการามํํ คนฺฺ ตฺฺวา ตตฺฺถ (พาลกโลณการาเม) ภคุุตฺฺเถรสฺฺส เอกจาริิกวตฺฺตํํ
กเถตฺฺวา ปาจีีนวํํสมิิคทาเย ติิณฺฺณํํ กุุลปุตฺุ ฺตานํํ สามคฺฺคีรี สานิิสํสํํ ํ กเถตฺฺวา, เยน (ทิิสาภาเคน)
ปาริิเลยฺฺยกํํ (อตฺฺถิ)ิ , ตํํ (ทิิสาภาคํํ) อวสริิ.
พระศาสดานั้้�น ทรงระอาเพราะว่่าพระองค์์มีกี ารอยู่่�ที่่เ� กลื่่อ� นกล่่นนั้้�น ทรงดำำ�ริิว่า่ “เรา
แลเกลื่่อ� นกล่่นในบััดนี้้� ย่่อมอยู่่�เป็็ นทุุกข์์, อนึ่่�ง ภิิกษุุเหล่่านี้้�ไม่่ทำำ�ตามคำำ�ของเราเลย,
ไฉนหนอ เราผู้้เ� ดีียวหลีีกออกจากหมู่่�คณะ พึึงอยู่่�” เสด็็จเที่่�ยวไปเมืืองโกสััมพีเี พื่่�อ
บิิณฑบาต ไม่่ทรงบอกลาภิิกษุุสงฆ์์ พระองค์์เดีียวเท่่านั้้�น ทรงถืือเอาบาตรและจีีวร
ของพระองค์์ไปยัังพาลกโลณการาม ตรััสวััตรแห่่งบุุคคลผู้้เ� ดีียวเที่่�ยวไปแก่่พระภคุุ-
เถระที่่�พาลกโลณการามนั้้�น ตรััสอานิิสงส์์รสแห่่งความสามััคคีีแก่่กุุลบุุตรทั้้�งสามที่่�ป่่า
เขตอภััยทานสััตว์์เนื้้�อชื่่อ� ว่่าปาจีีนวงศ์์ แล้้วเสด็็จไปถึึงป่่าปาริิเลยยกะ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 207

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. อหํ ภนฺเต มหลฺลกกาเล ปพฺพชิตตฺตา คนฺถธุรํ ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ. (๑/๖/๖๒)
อหํ ภนฺเต (อตฺตโน อตฺตโน) มหลฺลกกาเล ปพฺพชิตตฺตา คนฺถธุรํ ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ.
ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพระองค์์จัักไม่่อาจจะบำำ�เพ็็ญคัันถธุุระได้้ เพราะว่่าบวชแล้้ว
ในตอนแก่
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. เต อปฺปาหารตาย สุสฺสมานา กติปาเหเนว อุชุกา หุตฺวา อญฺญมญฺญํ อจฺจยํ
เทเสตฺวา ขมาเปตฺวา “อุปาสกา มยํ สมคฺคา ชาตา, ตุมฺเหปิ โน ปุริมสทิสา ว
โหถาติ อาหํสุ. (๑/๕/๕๓)
เต (ภิกฺขู อตฺตโน) อปฺปาหารตาย สุสฺสมานา กติปาเหน เอว อุชุกา หุตฺวา อญฺญมญฺญํ
อจฺจยํ เทเสตฺวา (อญฺญมญฺญํ) ขมาเปตฺวา “อุปาสกา มยํ สมคฺคา ชาตา (อมฺห), ตุมฺเหปิ โน
ปุริมสทิสาว โหถาติ อาหํสุ.
พวกภิกษุเหล่านั้นซูบผอมเพราะว่ามีอาหารน้อย เป็นผู้ตรงโดยผ่านไปเพียงสองสาม
วัน แสดงโทษกะกันและกัน ขอขมาต่อกันและกันแล้ว กล่าวว่า “ดูก่อนอุบาสกและ
อุบาสิกาทั้งหลาย พวกอาตมาเป็นผู้พร้อมเพรียงกันแล้ว, แม้พวกท่านขอจงเป็นผู้เป็น
เช่นกับด้วยกาลอันมีในกาลก่อนแก่พวกอาตมาเถิด”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
208 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๒. หิยฺโย จุลฺลกาลสฺส ปุรโต คตตฺตา ปพฺพชฺชนฺตราโย ชาโต, อชฺช อญฺญสฺส ปุรโต
คตตฺตา อนฺตราโย นาโหสิ. (๑/๖/๖๖)
หิยฺโย จุลฺลกาลสฺส ปุรโต คตตฺตา ปพฺพชฺชนฺตราโย ชาโต, อชฺช อญฺญสฺส (ภิกฺขุโน) ปุรโต
คตตฺตา อนฺตราโย น อโหสิ.
อันตรายแห่งการบวชเกิดขึ้นแล้ว เพราะว่าพระจุลลกาลเดินทางไปก่อน เมื่อวาน, ใน
วันนี้ อันตรายไม่ได้มีแล้ว เพราะว่าภิกษุรูปอื่นเดินทางไปก่อน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

๓. แปลรวบด้้วยอำำ�นาจของการนำำ�คุุณศััพท์์มาทำำ�เป็็นฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส ข้้อสัังเกต
มีีการนำำ�คุุณศััพท์์มาทำำ�สมาสกัับศััพท์์เหล่่านี้้� คืือ กาล, ทิิวส เป็็นต้้น เป็็นฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส
ยกเว้้น ภาวศััพท์์ เพราะมีีอยู่่�ในหลัักการแปลรวบข้้อที่่� ๑ แล้้ว เวลาแปลเรีียกหาสุุทธนามที่่�
ประกอบด้้วยฉััฏฐีีวิิภััตติิเช่่นกััน

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. เถโร “สาธูติ คนฺตฺวา ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา ปาทตลโต ยาว เกสคฺคา
โอโลเกตฺวา “อติปณีตเมตํ รูปํ สุวณฺณวณฺณํ, อคฺคิมฺหิ นํ ปกฺขิปิตฺวา มหาชาลาหิ
คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา สกฏฺฐานเมว คนฺตฺวา นิสีทิ. (๑/๖/๖๔)
เถโร “สาธูติ (สมฺปฏิจฺฉิตฺวา) คนฺตฺวา (กาลึ) ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา ปาทตลโต ยาว
เกสคฺคา โอโลเกตฺวา “อติปณีตํ เอตํ รูปํ สุวณฺณวณฺณํ (โหติ), (ตฺวํ) อคฺคิมฺหิ นํ (รูปํ)
ปกฺขิปิตฺวา มหาชาลาหิ คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา สกฏฺฐานํ เอว คนฺตฺวา นิสีทิ.
พระเถระรับว่า “เจริญพร” ไปแล้ว ให้นางกาลีน�ำผ้าห่มออกไปแล้ว แลดูตั้งแต่ฝ่าเท้า
จนถึงปลายผม แล้วกล่าวว่า “รูปนี้ประณีตยิ่งนัก มีสีดุจทองค�ำ, เธอใส่รูปนั้นเข้าไปใน
วิธีการแปลรวบข้อความ 209

ไฟ แล้วพึงบอกแก่เราในเวลาที่เปลวไฟใหญ่จับแล้ว” ดังนี้ แล้วไปสู่ที่พักของตนนั่น


แหละ นั่งแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. เตสุ อุปติสฺสคาเม สาริยา นาม พฺราหฺมณิยา คพฺภสฺส ปติฏฺิตทิวเสเยว โกลิตคาเม
โมคฺคลฺลิยา นาม พฺราหฺมณิยาปิ คพฺโภ ปติฏฺหิ. (๑/๘/๘๐)
เตสุ (คาเมสุ) อุปติสฺสคาเม สาริยา นาม พฺราหฺมณิยา คพฺภสฺส ปติฏฺฐิตทิวเส เอว
โกลิตคาเม โมคฺคลฺลิยา นาม พฺราหฺมณิยาปิ คพฺโภ ปติฏฺฐหิ.
ครรภ์ของนางพราหมณีชื่อว่าโมคคัลลี ในหมู่บ้านชื่อว่าโกลิตะ ตั้งอยู่แล้วในวันที่ครรภ์
ของนางพราหมณีชื่อว่าสารี ตั้งอยู่แล้วนั่นแหละ ในบรรดาหมู่บ้านเหล่านั้น หมู่บ้าน
ชื่อว่าอุปติสสะ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
210 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. เอวํํ เถเร ปุุนปฺฺปุนํุ ํ สาสนํํ ปหิิณนฺฺเต, โส ภิิกฺฺขุุ โถกํํ กาลํํ สหิิตฺฺวา อปรภาเค
สหิิตุํํ� อสกฺฺโกนฺฺ โต, “อมฺฺหากํํ อาจริิโย ตุุมฺฺเห วนฺฺ ทตีีติิ วุุตฺฺเต, “โก เอโสติิ วตฺฺวา,
“ตุุมฺฺหากํํ สหายกภิิกฺฺขุุ ภนฺฺ เตติิ วุุตฺฺเต, “กึึ ปน ตุุมฺฺเหหิิ ตสฺฺส สนฺฺ ติเิ ก อุุคฺฺคหิิตํ,ํ กึึ
ทีีฆนิิกายาทีีสุุ อฺฺตโร นิิกาโย, กึึ ตีีสุุ ปิิ ฏเกสุุ เอกํํ ปิิ ฏกนฺฺ ติิ วตฺฺวา, “จตุุปฺปฺ ทิิกํปิํ ิ
คาถํํ น ชานาติิ, ปํํสุกููลํ ุ ํ คเหตฺฺวา ปพฺฺพชิิตกาเลเยว อรฺฺํํ ปวิิฏฺฺโ, พหูู วต
อนฺฺ เตวาสิิเก ลภิิ, ตสฺฺส อาคตกาเล มยา ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิตุํํ�ิ วฏฺฺฏตีติี ิ จิินฺฺเตสิิ. (๑/๑๔/๑๔๕)
เอวํํ เถเร ปุุนปฺฺปุนํุ ํ สาสนํํ ปหิิณนฺฺเต, โส ภิิกฺฺขุุ โถกํํ กาลํํ สหิิตฺฺวา อปรภาเค สหิิตุํํ�
อสกฺฺโกนฺฺ โต, “อมฺฺหากํํ อาจริิโย ตุุมฺฺเห วนฺฺ ทตีีติิ (วจเน เตหิิ ภิิกฺฺขููหิ)ิ วุุตฺฺเต, “โก (โหติิ) เอโส
(ตุุมฺฺหากํํ อาจริิโย)” อิิติิ วตฺฺวา, “(อมฺฺหากํํ อาจริิโย) ตุุมฺฺหากํํ สหายกภิิกฺฺขุุ (โหติิ) ภนฺฺ เตติิ
(วจเน เตหิิ ภิิกฺฺขููหิ)ิ วุุตฺฺเต, “กึึ ปน ตุุมฺฺเหหิิ ตสฺฺส (เถรสฺฺส) สนฺฺ ติเิ ก อุุคฺฺคหิิตํ,ํ กึึ (ตุุมฺฺเหหิิ)
ทีีฆนิิกายาทีีสุุ (นิิกาเยสุุ) อฺฺตโร นิิกาโย (อุุคฺฺคหิิโต), กึึ (ตุุมฺฺเหหิิ) ตีีสุุ ปิิ ฏเกสุุ เอกํํ ปิิ ฏกํํ
(อุุคฺฺคหิิตํ)ํ ” อิิติิ วตฺฺวา, “(โส เถโร) จตุุปฺปฺ ทิิกํปิํ ิ คาถํํ น ชานาติิ, (โส เถโร) ปํํสุกููลํ
ุ ํ คเหตฺฺวา
ปพฺฺพชิิตกาเลเยว อรฺฺํํ ปวิิฏฺฺโ, (โส เถโร) พหูู วต อนฺฺ เตวาสิิเก ลภิิ, ตสฺฺส (เถรสฺฺส)
อาคตกาเล มยา ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิตุํํ�ิ วฏฺฺฏตีติี ิ จิินฺฺเตสิิ.
เมื่่อ� พระเถระส่่งข่่าวสาส์์นไปอยู่่�บ่่อยๆ อย่่างนี้้�, ภิิกษุุนั้้น� อดกลั้้�นสิ้้น� ระยะเวลานิิดหน่่อย
ในกาลต่่อมา ไม่่สามารถที่่�จะอดกลั้้�นได้้, เมื่่อ� พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นกล่่าวว่่า “อาจารย์์ของ
พวกกระผมไหว้้ท่่าน”, จึึงกล่่าวว่่า “อาจารย์์ของพวกท่่านนั่่�น เป็็ นใครกััน”, เมื่่อ� พวก
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกล่่าวว่่า “ท่่านครัับ อาจารย์์ของพวกกระผม เป็็ นภิิกษุุผู้เ้� พื่่�อนของท่่าน”,
กล่่าวว่่า “ก็็ อะไรที่่�พวกท่่านพากัันเรีียนเอาในสำำ�นัักของพระเถระนั้้�น, พวกท่่านพากััน
เรีียนเอาในบรรดานิิกายทั้้�งหลายมีีทีฆนิ ี ิกายเป็็ นต้้น นิิกายใดนิิกายหนึ่่�งหรืือ? พวก
ท่่านพากัันเรีียนเอาในบรรดาปิิ ฎกสาม ปิิ ฎกหนึ่่�งหรืือ?” คิิดว่่า “พระเถระนั้้�นย่่อมไม่่รู้้�
จัักคาถาแม้้ที่่�ประกอบด้้วย ๔ บาท, พระเถระนั้้�นถืือเอาผ้้าบัังสุุกุุลเข้้าไปยัังป่่าตั้้�งแต่่
วัันที่่�บวชแล้้วนั่่�นแหละ, พระเถระนั้้�นได้้อัันเตวาสิิกมากจริิงหนอ, เราจะถามปััญหาใน
คราวที่่�ท่า่ นมาแล้้ว จึึงควร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 211

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
---------------------

๔. แปลรวบด้วยอ�ำนาจของบทนามที่ประกอบด้วย ยุปัจจัย ข้อสังเกตมีอยู่ว่า บทที่


ประกอบด้วย ตฺวาปัจจัย วางติดกับบทที่ประกอบด้วยยุปัจจัย ถือว่าเป็นการล็อคข้อความอีก
แบบหนึ่ง ฉะนั้น จึงจ�ำเป็นต้องแปลรวบ ถึงจะได้ใจความ
เช่น สตฺถา “สมิชฺฌิสฺสติ นุ โข อิมสฺส ปุริสสฺส ปตฺถนาติ อนาคตํสญาณํ
เปเสตฺวา โอโลเกนฺโต กปฺปสตสหสฺสาธิกํ เอกํ อสงฺเขยฺยํ อติกฺกมิตฺวา สมิชฺฌนภาวํ อทฺทส.
(๑/๘/๑๐๑)
แปลว่่า : อ.พระศาสดา ทรงส่่งไปแล้้ว ซึ่่�งอนาคตัังสญาณ ด้้วยทรงดำำ�ริิ ว่่า
“อ.ความปรารถนา ของบุุรุุษนี้้� จัักสำำ�เร็็จ หรืือหนอ แล ?” ดัังนี้้� ทรงตรวจดููอยู่่� ได้้ทรงเห็็นแล้้ว
ซึ่่�งความเป็็นคืืออััน- ก้้าวล่่วง ซึ่่�งอสงไขย หนึ่่�ง อัันยิ่่�งด้้วยแสนแห่่งกััป -แล้้วจึึงสำำ�เร็็จ ฯ
สัมพันธ์ : สตฺถา สุทธกัตตาใน อทฺทส ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
“ปตฺถนา สุทธกัตตาใน สมิชฺฌิสฺสติ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นุศัพท์ สังกัปปัตถะ โขศัพท์
วจนาลังการะ อิมสฺส วิเสสนะของ ปุริสสฺส ๆ สามีสัมพันธะใน ปตฺถนา” อิติศัพท์ สรูปะใน
จินฺตเนน ๆ กรณะใน เปเสตฺวา อนาคตํสญาณํ อวุตตกัมมะใน เปเสตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยา
212 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

ใน โอโลเกนฺโต ๆ อัพภันตรกิริยาของ สตฺถา กปฺปสตสหสฺสาธิกํ ก็ดี เอกํ ก็ดี วิเสสนะของ


อสงฺเขยฺยํ ๆ อวุตตกัมมะใน อติกฺกมิตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน สมิชฺฌน- สมิชฺฌนภาวํ
อวุตตกัมมะใน อทฺทส ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อเถโก ภิิกฺฺขุุ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา อุุกฺฺเขปกานํํ “ธมฺฺมิเิ กเนวายํํ กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ
ลทฺฺธึึ อุุกฺฺขิตฺิ ฺตานุุวตฺฺตกานํํ “อธมฺฺมิเิ กน กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ ลทฺฺธึึ อุุกฺฺเขปเกหิิ
วาริิยมานานํํปิิ จ เตสํํ ตํํ อนุุปริิวาเรตฺฺวา วิิจรณภาวํํ อาโรเจสิิ. (๑/๕/๕๐)
อถ เอโก ภิิกฺฺขุุ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา อุุกฺฺเขปกานํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) “(สงฺฺเฆน) ธมฺฺมิเิ กน เอว อยํํ
(ธมฺฺมกถิิโก) กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ ลทฺฺธึึ (จ) (สงฺฺเฆน) อุุกฺฺขิตฺิ ฺตานุุวตฺฺตกานํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) “(สงฺฺเฆน
อมฺฺหากํํ อุุปชฺฺฌาโย) อธมฺฺมิเิ กน กมฺฺเมน อุุกฺฺขิตฺิ ฺโตติิ ลทฺฺธึึ (จ) อุุกฺฺเขปเกหิิ (ภิิกฺฺขููหิ)ิ
วาริิยมานานํํปิิ จ เตสํํ (ภิิกฺฺขููนํํ) ตํํ (ธมฺฺมกถิิกํ)ํ อนุุปริิวาเรตฺฺวา วิิจรณภาวํํ อาโรเจสิิ.
ทีีนั้้น� พระภิิกษุุรููปหนึ่่�งเข้้าไปเฝ้้าพระตถาคต กราบทููลลััทธิิของพวกภิิกษุุผู้ทำำ� ้� การ
ยกวััตรว่่า “พระธรรมกถึึกนี้้� ถููกสงฆ์์ยกวััตรด้้วยกรรมที่่�ชอบธรรมแล้้ว” ลััทธิิของพวก
ภิิกษุุผู้ป้� ระพฤติิตามพระธรรมกถึึกที่่�ถููกสงฆ์์ยกวััตรแล้้วว่่า “พระอุุปััชฌาย์์ของพวกเรา
ถููกสงฆ์์ยกวััตรด้้วยกรรมที่่�ไม่่ชอบธรรม” และความเป็็ นคืืออัันเที่่�ยวตามแวดล้้อมพระ
ธรรมกถึึกนั้้�นแห่่งภิิกษุุเหล่่านั้้�น แม้้จะถููกพวกภิิกษุุผู้ทำำ� ้� การยกวััตรห้้ามปรามอยู่่�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 213

๒. “อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา เทฺว วา นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิฏกํ


พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา ตสฺส ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ คนฺถธุรํ นาม,
สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺฐเปตฺวา
สาตจฺจกิริยาวเสน วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ วิปสฺสนาธุรํ
นามาติ. (๑/๑/๗)
(สตฺถา) “อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา (นิกายํ) เทฺว วา นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิฏกํ
พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา ตสฺส (พุทฺธวจนสฺส) ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ (ธุรํ) คนฺถธุรํ นาม,
สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส (ภิกฺขุโน) อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺฐเปตฺวา สาตจฺจ-
กิริยาวเสน วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ (ธุรํ) วิปสฺสนาธุรํ นามาติ (อาห).
พระศาสดาตรััสว่่า “ธุุระนี้้� คืือ การเรีียนเอาหนึ่่�งนิิกายหรืือ หรืือว่่าสองนิิกาย ก็็หรืือ
ว่่า พระพุุทธพจน์์ คืือปิิฏกสามทั้้�งสิ้้�น แล้้วจึึงทรงไว้้ กล่่าว บอกพระพุุทธพจน์์นั้้�น
ตามสมควรแก่่ปััญญาของตน ชื่่�อว่่าคัันถธุุระ,
ส่วนว่า ธุระนี้ คือ การเริ่มตั้งความสิ้นไปและความเสื่อมไปในอัตภาพ แล้วเจริญ
วิปัสสนา ด้วยสามารถแห่งการท�ำให้ติดต่อ แล้วจึงถือเอาความเป็นแห่งพระอรหันต์
แห่งภิกษุผู้ยินดียิ่งในเสนาสนะที่สงัดแล้ว ผู้มีความประพฤติอันเบาพร้อม ชื่อว่า
วิปัสสนาธุระ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
214 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. เตสํ อุมฺมงฺคํ ภินฺทิตฺวา เคหํ ปวิสิตฺวา ภณฺฑานํ โอโลกนกาเล มาณโว


ปพุชฺฌิตฺวา ตํ มนฺตํ สชฺฌายนฺโต “ฆเฏสิ ฆเฏสิ, กึการณา ฆเฏสิ, อหํปิ ตํ
ชานามิ ชานามีติ อาห. (๒/๓/๘๕, จูฬปนฺถก)
เตสํ (โจรานํ) อุมฺมงฺคํ ภินฺทิตฺวา เคหํ ปวิสิตฺวา ภณฺฑานํ โอโลกนกาเล มาณโว
ปพุชฺฌิตฺวา ตํ มนฺตํ สชฺฌายนฺโต “(ตฺวํ) ฆเฏสิ (ตฺวํ) ฆเฏสิ, (ตฺวํ) กึการณา ฆเฏสิ; อหํปิ ตํ
ชานามิ (อหํ) ชานามีติ อาห.
มาณพตื่นขึ้น เมื่อสาธยายมนต์นั้น จึงกล่าวว่า “ท่านย่อมพยายาม ท่านย่อมพยายาม,
ท่านย่อมพยายามเพราะเหตุอะไร, แม้เราย่อมรู้ท่าน เราย่อมรู้” ดังนี้ ในเวลาเป็นที่
ท�ำลายอุโมงค์แล้วจึงเข้าไปยังเรือน แล้วแลดูภัณฑะทั้งหลาย ของพวกโจรเหล่านั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. ตตฺถ “ราคสโมติ: ธูมาทีสุ กิญฺจิ อทสฺเสตฺวา อนฺโตเยว อุฏฺฐาย ฌายนวเสน
ราเคน สโม อคฺคิ นาม นตฺถิ. (๗/๙/๒๗)
ตตฺถ (ปเทสุ) “ราคสโมติ: (ปทสฺส) “ธูมาทีสุ (อากาเรสุ) กิญฺจิ (อาการํ) อทสฺเสตฺวา อนฺโต
เอว อุฏฺฐาย ฌายนวเสน ราเคน สโม อคฺคิ นาม นตฺถิ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “ราคสโม” ความว่า ขึ้นชื่อว่าไฟที่เสมอด้วยราคะ ด้วย
สามารถแห่งการไม่แสดงในบรรดาอาการมีควันเป็นต้น อาการอะไรๆ ตั้งขึ้นในภายใน
นั่นแหละแล้วเผาไหม้ ย่อมไม่มี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------
วิธีการแปลรวบข้อความ 215

๕. แปลรวบด้วยอ�ำนาจของ ตปัจจัย, มานปัจจัยที่เป็นกัมมรูป/เหตุกัมมรูป มีวิภัตติ


เดียวกันกับประธาน และ ต, มาน และอนฺตปัจจัยที่ไม่ใช่วิภัตติเดียวกับประธาน ข้อสังเกต
บทที่ประกอบด้วยตปัจจัย ที่เป็นกัตตุรูป โดยวางไว้หน้าประธาน บทที่ประกอบด้วยตปัจจัย
และมานปัจจัยที่เป็นกัมมรูป และเหตุกัมมรูป โดยมีบทที่ประกอบด้วย ตฺวาปัจจัยวางไว้ข้าง
หน้า เป็นการล็อคข้อความด้วย และต้องแปลรวบด้วย ส่วนบทที่ประกอบด้วย ต, มาน และ
อนฺตปัจจัย ที่ไม่ใช่วิภัตติเดียวกับประธานในประโยค โดยมีบทที่ประกอบด้วย ตฺวาปัจจัย วาง
ไว้ข้างหน้า เป็นการล็อคข้อความอีกแบบหนึ่ง และเวลาแปล ต้องแปลรวบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เช่น อมฺหากํ หิ สตฺถา... สตฺถารา ทิสฺวาว “พุทฺธงฺกุโร เอส อนาคเต กปฺปสต-
สหสฺสาธิกานํ จตุนฺนํ อสงฺเขยฺยานํ ปริโยสาเน โคตโม นาม พุทฺโธ ภวิสฺสตีติ พฺยากโต...
(๑/๘/๗๖)
แปล : ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ.พระศาสดา ของเรา ท. ผู้อันพระศาสดา ทรง
ทอดพระเนตรแล้วเทียว ทรงพยากรณ์แล้ว ว่า “อ.บุคคลนี้ เป็นหน่อเนื้อแห่งพระพุทธเจ้า เป็น
เป็นพระพุทธเจ้า พระนามว่าโคดม ในกาลเป็นที่สิ้นสุดลงรอบ แห่งอสงไขย ท. สี่ อันยิ่งด้วย
แสนแห่งกัปป์ ในอนาคต จักเป็น” ดังนี้ ... ฯ
สัมพันธ์ : หิศัพท์ วิตถารโชตกะ สตฺถา วุตตกัมมะใน พฺยากโต ๆ กิตบทกัมม-
วาจก อมฺหากํ สามีสัมพันธะใน สตฺถา สตฺถารา อนภิหิตกัตตาใน พฺยากโต เอวศัพท์
อวธารณะเข้ากับ ทิสฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน พฺยากโต “เอโส วิเสสนะของ ปุคฺคโล ๆ สุทธ-
กัตตาใน ภวิสฺสติ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก พุทฺธงฺกุโร วิกติกัตตาใน หุตฺวา ๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน ภวิสฺสติ อนาคเต กาลสัตตมีใน ภวิสฺสติ กปฺปสตสหสฺสาธิกานํ ก็ดี จตุนฺนํ ก็ดี
วิิเสสนะของ อสงฺฺเขยฺฺยานํํ ๆ สามีีสััมพัันธะใน ปริิโยสาเน ๆ กาลสััตตมีีใน ภวิิสฺฺสติิ นาม
ศััพท์์ สัญ
ั ญาโชตกะเข้้ากัับ โคตโม ๆ วิิเสสนะของ พุุทฺฺโธ ๆ วิิกติิกััตตาใน ภวิิสฺฺสติิ” อิิติิศััพท์์
อาการะใน พฺยากโต... ฯ
เช่น โส ตโต นิกฺขมิตฺวา อรญฺเญ คายิตฺวา ทารูนิ อุทฺธรนฺติยา เอกิสฺสา อิตฺถิยา
คีตสทฺทํ สุตฺวา สเร นิมิตฺตํ คณฺหิ. (๑/๑/๑๔)
โส (สามเณโร) ตโต (คามโต) นิกฺขมิตฺวา อรญฺเญ คายิตฺวา ทารูนิ อุทฺธรนฺติยา
เอกิสฺสา อิตฺถิยา คีตสทฺทํ สุตฺวา สเร นิมิตฺตํ คณฺหิ.
แปล : อ.สามเณรนั้้�น ฟัังแล้้ว ซึ่่�งเสีียงแห่่งเพลงขัับ ของหญิิง คนหนึ่่�ง ผู้้�ออกแล้้ว
จากหมู่่�บ้้านนั้้�น ขัับแล้้ว เก็็บอยู่่� ซึ่่�งฟืืน ท. ในป่่า ถืือเอาแล้้ว ซึ่่�งนิิมิิต ในเสีียง ฯ
216 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

สัมพันธ์ : โส วิเสสนะของ สามเณโร ๆ สุทธกัตตาใน คณฺหิ ๆ อาขยาตบท-


กัตตุวาจก ตโต วิเสสนะของ คามโต ๆ อปาทานใน นิกฺขมิตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยาใน
คายิตฺวา อรญฺเญ วิสยาธาระใน คายิตฺวา ๆ สมานกาลกิริยาใน อุทฺธรนฺติยา ทารูนิ อวุตตกัมมะ
ใน อุทฺธรนฺติยา ๆ ก็ดี เอกิสฺสา ก็ดี วิเสสนะของ อิตฺถิยา ๆ สามีสัมพันธะใน คีตสทฺทํ ๆ
อวุตตกัมมะใน สุตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยา ใน คณฺหิ สเร วิสยาธาระใน นิมิตฺตํ ๆ อวุตตกัมมะใน
คณฺหิ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อถ พฺฺราหฺฺมโณ กตภตฺฺตกิิจฺฺจํํ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา นีีจาสเน นิิสินฺิ ฺ โน ปฺฺหํํ
ปุุจฺฺฉิิ “โภ โคตม ตุุมฺฺหากํํ ทานํํ อทตฺฺวา ปููชํํ อกตฺฺวา ธมฺฺมํํ อสฺฺสุตฺุ ฺวา อุุโปสถวาสํํ
อวสิิตฺฺวา เกวลํํ มโนปสาทมตฺฺเตเนว สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตา นาม โหนฺฺ ตีติี .ิ (๑/๒/๓๑)
อถ พฺฺราหฺฺมโณ กตภตฺฺตกิิจฺฺจํํ ตถาคตํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา นีีจาสเน นิิสินฺิ ฺ โน ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิิ “โภ
โคตม ตุุมฺฺหากํํ ทานํํ อทตฺฺวา ปููชํํ อกตฺฺวา ธมฺฺมํํ อสฺฺสุตฺุ ฺวา อุุโปสถวาสํํ อวสิิตฺฺวา เกวลํํ
มโนปสาทมตฺฺเตน เอว (การเณน) สคฺฺเค นิิพฺฺพตฺฺตา นาม (สตฺฺตา) โหนฺฺ ตีติี .ิ
ทีีนั้้น� พราหมณ์์เข้้าไปเฝ้้าพระตถาคตผู้้ท� รงกระทำำ�ภััตรกิิจเสร็็จแล้้ว นั่่�งบนอาสนะต่ำำ��
ทููลถามปััญหาว่่า “ข้้าแต่่พระโคดมผู้้เ� จริิญ ธรรมดาสััตว์์ทั้้ง� หลายผู้้ที่่� ไ� ม่่ได้้ถวายทาน
ไม่่ได้้ทำำ�การบููชาแก่่พระองค์์ ไม่่ได้้ฟัังธรรม ไม่่ได้้อยู่่�รัักษาอุุโบสถศีีล บัังเกิิดบนสวรรค์์
เพราะเหตุุสักั ว่่าทำำ�ใจให้้เลื่่อ� มใสล้้วนๆ มีีอยู่่�หรืือเปล่่าครัับ?”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 217

๒. สตฺถา... ราชานํ เอกาทสหิ นหุเตหิ สทฺธึ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา เอกํ


นหุตํ สรเณสุ ปติฏฺาเปตฺวา ปุนทิวเส สกฺเกน เทวรฺา มาณวกวณฺณํ คเหตฺวา
อภิตฺถุตคุโณ ราชคหนครํ ปวิสิตฺวา ราชนิเวสเน กตภตฺตกิจฺโจ เวฬุวนารามํ
ปฏิคฺคเหตฺวา ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ. (๑/๘/๗๙-๘๐)
สตฺถา... ราชานํ เอกาทสหิ นหุเตหิ สทฺธึ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา เอกํ นหุตํ สรเณสุ
ปติฏฺาเปตฺวา ปุนทิวเส สกฺเกน เทวรฺา มาณวกวณฺณํ คเหตฺวา อภิตฺถุตคุโณ ราชคหนครํ
ปวิสิตฺวา ราชนิเวสเน กตภตฺตกิจฺโจ เวฬุวนารามํ ปฏิคฺคเหตฺวา ตตฺถ เอว (อาราเม) วาสํ
กปฺเปสิ.
พระศาสดา... ทรงท�ำให้พระราชาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล พร้อมกับประชาชนหนึ่งแสน
หนึ่งหมื่นคน ทรงท�ำให้ประชาชนหนึ่งหมื่นคนตั้งอยู่ในสรณะทั้งหลาย ผู้ที่ท้าวสักกะผู้
เป็นจอมเทพผู้แปลงเพศเป็นมาณพน้อยทรงชมเชยแล้ว เสด็จเข้าไปสู่เมืองราชคฤห์
ในวันรุ่งขึ้น ทรงกระท�ำภัตกิจในพระราชนิเวศน์แล้ว ทรงรับพระอารามชื่อว่าเวฬุวัน
ทรงส�ำเร็จการประทับอยู่ที่อารามนั้นนั่นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
218 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓. สตฺถา... ตํทิวสเมว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา ตํ รตฺติภาเค


นิพฺพินฺทิตฺวา เคหํ ปหาย นิกฺขมนฺตํ “เอหิ ยสาติ ปกฺโกสิตฺวา ตสฺมึเยว รตฺติภาเค
โสตาปตฺติผลํ ปาเปตฺวา ปุนทิวเส อรหตฺตํ ปาเปตฺวา อปเรปิ ตสฺส สหายเก
จตุปฺาสชเน เอหิภิกฺขุปพฺพชฺชาย ปพฺพาเชตฺวา อรหตฺตํ ปาเปสิ. (๑/๘/๗๙)
สตฺถา... ตํทิวสํ เอว ยสสฺส กุลปุตฺตสฺส อุปนิสฺสยสมฺปตฺตึ ทิสฺวา ตํ (ยสํ) รตฺติภาเค นิพฺพินฺทิตฺวา
เคหํ ปหาย นิกฺขมนฺตํ “(ตฺวํ) เอหิ ยสาติ (วจเนน) ปกฺโกสิตฺวา (ตํ ยสํ) ตสฺมึ เอว รตฺติภาเค
โสตาปตฺติผลํ ปาเปตฺวา ปุนทิวเส อรหตฺตํ ปาเปตฺวา อปเรปิ ตสฺส (ยสสฺส) สหายเก
จตุปฺาสชเน เอหิภิกฺขุปพฺพชฺชาย ปพฺพาเชตฺวา อรหตฺตํ ปาเปสิ.
พระศาสดา... ทรงเห็นความถึงพร้อมแห่งอุปนิสัยของยสกุลบุตร ในวันนั้นนั่นแหละ
ตรัสเรียกยสกุลบุตรนั้นผู้เบื่อหน่าย ละทิ้งบ้านเรือน ออกไปอยู่ในส่วนแห่งราตรี ด้วย
พระด�ำรัสว่า “ดูก่อนยสะ เธอจงมา” ดังนี้ ทรงท�ำให้ยสกุลบุตรนั้นบรรลุโสดาปัตติผล
ในส่วนแห่งราตรีนั้นนั่นแหละ แล้วทรงท�ำให้บรรลุพระอรหัตในวันรุ่งขึ้น ทรงช่วยชน
๕๔ คนผู้เป็นเพื่อนของยสกุลบุตรนั้นแม้เหล่าอื่นอีกให้บวชด้วยเอหิภิกขุบรรพชา แล้ว
ท�ำให้บรรลุพระอรหัต
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 219

๔. โส เถรํ ลทฺธปิณฺฑปาตํ อญฺญตรํ โอกาสํ คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา นิสีทิตุกามตญฺจสฺส


ญตฺวา อตฺตโน ปริพฺพาชกปีฐกํ ปญฺญาเปตฺวา อทาสิ. (๑/๘/๘๓)
โส (อุปติสฺโส) เถรํ ลทฺธปิณฺฑปาตํ อฺตรํ โอกาสํ คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา นิสีทิตุกามตํ จ อสฺส
(เถรสฺส) ตฺวา อตฺตโน ปริพฺพาชกปีกํ ปฺาเปตฺวา อทาสิ.
อุปติสสะปริพาชกนั้นเห็นพระเถระผู้ได้บิณฑบาตแล้ว ผู้ก�ำลังเดินไปสู่โอกาสแห่งใด
แห่งหนึ่ง และทราบว่าพระเถระนั้นมีความประสงค์จะนั่ง จึงได้ปูลาดตั่งปริพาชกของ
ตนถวาย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. โกตุหลิโก ตํ โอโลเกนฺโต นิสีทิตฺวา เหฏฺาปีเ นิปนฺนาย สุนขิยา โคปาลเกน
วฏฺเฏตฺวา ทียมานํ ปายาสปิณฺฑํ ทิสฺวา “ปฺุวตายํ สุนขี นิพทฺธํ เอวรูปํ โภชนํ
ลภตีติ จินฺเตสิ. (๒/๑/๑๐)
โกตุหลิโก ตํ (โคปาลกํ) โอโลเกนฺโต นิสีทิตฺวา เหฏฺาปีเ นิปนฺนาย สุนขิยา โคปาลเกน
วฏฺเฏตฺวา ทียมานํ ปายาสปิณฺฑํ ทิสฺวา “ปฺุวตี อยํ สุนขี นิพทฺธํ เอวรูปํ โภชนํ ลภตีติ
จินฺเตสิ.
นายโกตุหลิกนั่งแลดูเขาแล้ว เห็นก้อนข้าวปายาสที่นายโคบาลปั้นให้แก่นางสุนัข ซึ่ง
นอนอยู่แล้วใต้ตั่ง จึงคิดว่า “นางสุนัขตัวนี้ มีบุญ จึงได้โภชนะเห็นปานนี้เนืองนิตย์”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
220 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๖. สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตฺวา เวฬุวเน วิหรนฺโต “ปุตฺตํ เม


อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ สุทฺโธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ ทสนฺนํ
ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ
ตฺวา สฏฺิมตฺตาย คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา วีสติสหสฺสขีณาสวปริวุโต
กปิลวตฺถุปุรํ นีโต าติสมาคเม โปกฺขรวสฺสํ อตฺถุปฺปตฺตึ กตฺวา มหาเวสฺสนฺตร-
ชาตกํ กเถตฺวา ปุนทิวเส ปิณฺฑาย ปวิฏฺโ “อุตฺติฏฺเฅ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย
ปิตรํ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา “ธมฺมญฺจเร สุจริตนฺติ คาถาย มหาปชาปตึ
โคตมึ โสตาปตฺติผเล ราชานฺจ สกทาคามิผเล ปติฏฺาเปสิ. (๑/๙/๑๐๕-๖)
สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตฺวา เวฬุวเน วิหรนฺโต,"(ตุมฺเห) ปุตฺตํ เม
อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ (วจเนน) สุทฺโธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ ทสนฺนํ
ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ ญตฺวา
สฏฺฐิมตฺตาย คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา วีสติสหสฺสขีณาสวปริวุโต กปิลวตฺถุปุรํ นีโต
าติสมาคเม โปกฺขรวสฺสํ อตฺถุปฺปตฺตึ กตฺวา มหาเวสฺสนฺตรชาตกํ กเถตฺวา ปุนทิวเส
ปิณฺฑาย ปวิฏฺโ “อุตฺติฏฺเฅ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย ปิตรํ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา
“ธมฺมญฺจเร สุจริตนฺติ คาถาย มหาปชาปตึ โคตมึ โสตาปตฺติผเล ราชานํ จ สกทาคามิผเล
ปติฏฺาเปสิ.
ความพิสดารว่า พระศาสดาผู้มีธรรมจักรอันประเสริฐที่ทรงให้เป็นไปแล้ว เสด็จไปสู่
เมืองราชคฤห์ ประทับอยู่ที่พระเวฬุวัน บรรดาทูตทั้ง ๑๐ คณะๆ หนึ่งมีบริวารคณะละ
๑,๐๐๐ คนที่พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงส่งไปด้วยพระด�ำรัสว่า “พวกเธอจงน�ำบุตร
ของเรามาแสดง” พระกาฬุทายีเถระผู้ไปในภายหลังแห่งทูตทั้งปวง บรรลุพระอรหัต
แล้ว ทราบกาลเป็นที่เสด็จมา กล่าวพรรณนาหนทางด้วยคาถาประมาณ ๖๐ คาถา มี
พระขีณาสพ ๒๐,๐๐๐ รูปแวดล้อมน�ำเสด็จไปยังเมืองกบิลพัสดุ์ ทรงท�ำฝนโบกขร-
พรรษให้เป็นเหตุเกิดเนื้อความในสมาคมแห่งพระญาติ ตรัสมหาเวสสันดรชาดก เสด็จ
เข้าไปเพื่อบิณฑบาต ในวันรุ่งขึ้น ทรงให้พระราชบิดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลด้วยพระ
คาถาว่า “อุตฺติฏฺเ นปฺปมชฺเชยฺย” ดังนี้เป็นต้น ท�ำให้พระนางมหาปชาบดีโคตมี
ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล และทรงท�ำให้พระราชาตั้งอยู่ในสกทาคามิผล ด้วยพระคาถาว่า
“ธมฺมฺจเร สุจริตํ” ดังนี้เป็นต้น
วิธีการแปลรวบข้อความ 221

..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
222 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๗. อเถกทิวสํ อญฺญํ มคฺคํ ปฏิปชฺชิตฺวา เตน ปุรโต ติริยํ ตฺวา วาริยมาโนปิ


อนิวตฺติตฺวา สุนขํ ปาเทน อปนุทิตฺวา ปายาสิ. (๒/๑/๑๑)
อถ เอกทิวสํ (ปจฺเจกพุทฺโธ) อฺํ มคฺคํ ปฏิปชฺชิตฺวา เตน (สุนเขน) ปุรโต ติริยํ ฐตฺวา
วาริยมาโนปิ อนิวตฺติตฺวา สุนขํ ปาเทน อปนุทิตฺวา ปายาสิ.
ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้า เดินไปสู่ทางอื่นแล้ว แม้สุนัขนั้นจะยืน
ขวางข้างหน้าห้ามอยู่ ก็ไม่กลับ เอาเท้าเขี่ยสุนัขแล้วก็เดินไป
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๘. สุนขสฺส ตํ อากาเสน คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา ภุกฺกริตฺวา ิตสฺส, ตสฺมึ จกฺขุปถํ วิชหนฺเต,
หทยํ ผลิตํ. (๒/๑/๑๒)
สุนขสฺส ตํ (ปจฺเจกพุทฺธํ) อากาเสน คจฺฉนฺตํ ทิสฺวา ภุกฺกริตฺวา ิตสฺส, ตสฺมึ (ปจฺเจกพุทฺเธ)
จกฺขุปถํ วิชหนฺเต, หทยํ ผลิตํ.
สุนัขแลดูพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ผู้เหาะไปทางอากาศ ยืนเห่าอยู่แล้ว เมื่อพระปัจเจก-
พุทธเจ้านั้น ลับคลองจักษุไป หทัยก็แตกท�ำลายลง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๙. โส “ยฏฺฐิยา นํ ปหริตฺวา นีหริสฺสามีติ คจฺฉนฺตรํ ปวิฏฺโฐ อชึ ชนฺนุเกหิ ตฺวา
ทารกํ ขีรํ ปาเยนฺตึ ทิสฺวา ทารเก ปุตฺตสิเนหํ ปฏิลภิตฺวา “ปุตฺโต เม ลทฺโธติ
ตํ อาทาย ปกฺกามิ. (๒/๑/๑๖)
โส (อชปาลโก) “(อหํ) ยฏฺิยา นํ (อชํ) ปหริตฺวา นีหริสฺสามี”ติ (จินฺเตตฺวา) คจฺฉนฺตรํ ปวิฏฺโ
อชึ ชนฺนุเกหิ ฐตฺวา ทารกํ ขีรํ ปาเยนฺตึ ทิสฺวา ทารเก ปุตฺตสิเนหํ ปฏิลภิตฺวา “ปุตฺโต เม
ลทฺโธ”ติ (จินฺตเนน) ตํ (ทารกํ) อาทาย ปกฺกามิ.
วิธีการแปลรวบข้อความ 223

เขาคิิดว่่า “จัักเอาไม้้ตีีมััน แล้้วไล่่ออกไป” จึึงเข้้าไปสู่่�พุ่่�มไม้้ เห็็นแม่่แพะคุุกเข่่า ให้้


ทารกน้้อยกิินนมอยู่่� จึึงหวนกลัับได้้รัับความรัักในทารกเสมืือนบุุตร จึึงอุ้้�มเอาทารกนั้้�น
ไป ด้้วยคิิดว่่า “เราได้้ลููกชายแล้้ว” หลีีกไปแล้้ว
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๑๐. “ตุุมฺฺหากํํ ทานคฺฺคํํ อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ ก วา วิิสาขา วา อาคตาติิ ปุุจฺฺฉิตฺิ ฺวา, “นาคตาติิ
วุุตฺฺเต, สตสหสฺฺสํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา กตทานมฺฺปิิ “กึึ ทานํํ นาเมตนฺฺ ติิ ครหนฺฺ ติ.ิ (๑/๑๓/๑๔๑)
“(ชนา) ‘ตุุมฺฺหากํํ ทานคฺฺคํํ อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ ก วา วิิสาขา วา อาคตาติิ ปุุจฺฺฉิตฺิ ฺวา, “(อมฺฺหากํํ
ทานคฺฺคํํ อนาถปิิ ณฺฺฑิโิ ก วา วิิสาขา วา) น อาคตาติิ (วจเน เตน มหาชเนน) วุุตฺฺเต,
(ปุุคฺฺคเลน) สตสหสฺฺสํํ วิิสฺฺสชฺฺเชตฺฺวา กตทานมฺฺปิิ ‘กึึ ทานํํ นาม เอตํํ’ อิิติิ ครหนฺฺ ติ”ิ (อิิติิ
วิิสฺฺสชฺฺชนํํ).
แก้้ว่่า “พวกชนถามว่่า ‘อนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีหรืือนางวิิสาขามาโรงทานของพวกท่่าน
หรืือ’, เมื่่อ� มหาชนกล่่าวว่่า ‘อนาถบิิณฑิกิ เศรษฐีีหรืือนางวิิสาขาไม่่ได้้มาโรงทานของ
พวกเรา’, ย่่อมติิเตีียนแม้้ทานที่่�บุุคคลสละทรััพย์์ตั้้ง� แสนกระทำำ�ว่่า ‘ทานนั่่�นชื่่อ� อะไร’
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
224 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๑. อยํ มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคฺคหิโต ภวิสฺสติ. (๑/๑/๓)


อยํ (รุกฺโข) มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคฺคหิโต ภวิสฺสติ.
ต้้นไม้้นี้้� จัักเป็็นต้้นไม้้ที่่�เทวดาผู้้�มีีศัักดิ์์�ใหญ่่สิิงสถิิตย์์อยู่่�แล้้ว
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๑๒. อถ นํ รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริกฺขิปิตฺวา “คเหตฺวา ภูมิยํ โปเถสฺสามีติ เตน
นีหริตฺวา ทสฺสิตํ กาสาวํ ทิสฺวา... (๑/๗/๗๓)
อถ (โส หตฺถี) นํ (หตฺถิมารกํ) รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริกฺขิปิตฺวา “(อหํ) คเหตฺวา ภูมิยํ
โปเถสฺสามีติ (จินฺเตตฺวา) เตน (หตฺถิมารเกน) นีหริตฺวา ทสฺสิตํ กาสาวํ ทิสฺวา...
ทีีนั้้�น ช้้างใช้้งวงรวบนายพรานช้้างนั้้�นเข้้ากัับต้้นไม้้ คิิดว่่า “เราจัับแล้้ว จัักฟาดที่่�พื้้�น”
ดัังนี้้�แล้้ว เห็็นผ้้ากาสาวะที่่�นายพรานช้้างนั้้�นนำำ�ออกแสดงแล้้ว...
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๑๓. โส เอกวจเนเนว ปกฺขนฺทิตฺวา สามิกสฺส คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเน ติกฺขตฺตุํ
ภุสฺสิตฺวา เตน สทฺเทน วาลมิคานํ ปลายนภาวํ ญตฺวา ปาโตว สรีรปฺปฏิชคฺคนํ
กตฺวา ปณฺณสาลํ ปวิสิตฺวา นิสินฺนสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ปณฺณสาลา-
ทฺวาเร ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา อตฺตโน อาคตภาวํ ชานาเปตฺวา เอกมนฺเต นิปชฺชติ.
(๒/๑/๑๑)
โส (สุนโข) เอกวจเนน เอว ปกฺขนฺทิตฺวา สามิกสฺส คจฺฉภูมิโปถนฏฺฐาเน ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา
เตน สทฺเทน วาลมิคานํ ปลายนภาวํ ญตฺวา ปาโตว สรีรปฺปฏิชคฺคนํ กตฺวา ปณฺณสาลํ
ปวิสิตฺวา นิสินฺนสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส วสนฏฺฐานํ คนฺตฺวา ปณฺณสาลาทฺวาเร ติกฺขตฺตุํ ภุสฺสิตฺวา
(ปจฺเจกพุทฺธํ) อตฺตโน อาคตภาวํ ชานาเปตฺวา เอกมนฺเต นิปชฺชติ.
สุนัขนั้น แล่นไปแล้วด้วยค�ำเพียงค�ำเดียว เห่าแล้วสามครั้ง ในที่เป็นที่ฟาดกอไม้ และ
วิธีการแปลรวบข้อความ 225

ภาคพื้นแห่งเจ้าของ พอรู้ความเป็นคืออันหนีไปแห่งเนื้อร้ายทั้งหลาย เพราะเสียงนั้น


ไปสู่ที่เป็นที่อยู่ของพระปัจเจกพุทธเจ้า ผู้ท�ำการประคับประคองสรีระ เข้าไปสู่บรรณ-
ศาลา นั่งแล้วแต่เช้าตรู่ เห่าสามครั้งที่ใกล้ประตูแห่งบรรณศาลา ท�ำให้พระปัจเจก-
พุทธเจ้า รู้ว่าตนมาแล้ว ย่อมหมอบ ณ ที่สมควร
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๑๔. อิทํ เม ภาตรา อุปติสฺเสน ทิฏฺฐํ ภวิสฺสติ, อชฺเชว มยา ปลายิตฺวา ปพฺพชิตุํ
วฏฺฏติ. (๔/๙.ขทิรวนิยเรวต/๗๕)
อิทํ (การณํ) เม ภาตรา อุปติสฺเสน ทิฏฺฐํ ภวิสฺสติ, อชฺช เอว มยา ปลายิตฺวา ปพฺพชิตุํ
วฏฺฏติ.
เหตุนี้ น่าจักเป็นเหตุที่อุปติสสะผู้เป็นพี่ชายของเราเห็นแล้ว, การที่เราหนีไปแล้วบวช
ในวันนี้นั่นแหละ ย่อมควร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
226 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๕. สตฺถา ปน ตีหิ วิตกฺเกหิ อนฺวาสตฺตตาย ตสฺมึ อมฺพวเน ปธานมนุยุญฺชิตุํ


อสกฺกุณิตฺวา อาคตํ เมฆิยตฺเถรํ อามนฺเตตฺวา “อติภาริยํ เต เมฆิย กตํ ‘อาคเมหิ
ตาว เมฆิย, เอกโกมฺหิ ยาว อญฺโปิ โกจิ ภิกฺขุ ทิสฺสตีติ มํ ยาจนฺตํ เอกกํ ปหาย
คจฺฉนฺเตน; ภิกฺขุนา นาม เอวํ จิตฺตวสิเกน ภวิตุํ น วฏฺฏติ; จิตฺตํ นาเมตํ ลหุกํ, ตํ
อตฺตโน วเส วตฺเตตุํ วฏฺฏตีติ วตฺวา อิมา เทฺว คาถา อภาสิ... (๒/๑/๑๑๖,เมฆิย-
เถระ)
สตฺถา ปน (อตฺตโน) ตีหิ วิตกฺเกหิ อนฺวาสตฺตตาย ตสฺมึ อมฺพวเน ปธานํ อนุยุญฺชิตุํ
อสกฺกุณิตฺวา อาคตํ เมฆิยตฺเถรํ อามนฺเตตฺวา “อติภาริยํ เต เมฆิย กตํ ‘(ตฺวํ) อาคเมหิ
ตาว เมฆิย, (อหํ) เอกโก อมฺหิ, ยาว อญฺโญปิ โกจิ ภิกฺขุ ทิสฺสตีติ มํ ยาจนฺตํ เอกกํ
ปหาย คจฺฉนฺเตน; ภิกฺขุนา นาม เอวํ จิตฺตวสิเกน ภวิตุํ น วฏฺฏติ, จิตฺตํ นาม เอตํ
ลหุกํ (โหติ), (ภิกฺขุนา) ตํ (จิตฺตํ) อตฺตโน วเส วตฺเตตุ ํ วฏฺฏตีติ วตฺวา อิมา เทฺว คาถา
อภาสิ...
ฝ่่ายพระศาสดาตรััสเรีียกพระเมฆิิยเถระผู้้�ไม่่สามารถเพื่่�อจะตามประกอบความเพีียรที่่�
อััมพวัันนั้้�น เพราะว่่าถููกวิิตก ๓ อย่่างครอบงำ�� จึึงมาแล้้ว ตรััสว่่า “ดููก่่อนเมฆิิยะ กรรม
อัันหนัักยิ่่�ง ที่่�เธอผู้้�ละเราผู้้�ผู้้�เดีียวผู้้�ขอร้้องอยู่่�ว่่า ‘เมฆิิยะ เราเป็็นผู้้�ผู้้�เดีียว เธอจงรอ
คอยจนกว่่าจะมีีภิิกษุุแม้้อื่่�นบางรููปปรากฏ’ ดัังนี้้� แล้้วไปอยู่่� กระทำำ�แล้้ว, การที่่�ธรรมดา
ว่่าภิิกษุุเป็็นผู้้�เป็็นไปในอำำ�นาจของจิิตอย่่างนี้้� ย่่อมไม่่ควร, ธรรมดาว่่าจิิตนั่่�น เป็็น
ธรรมชาตเร็็ว, การที่่�ภิิกษุุทำำ�ให้้จิิตนั้้�นเป็็นไปในอำำ�นาจของตน ย่่อมควร” ดัังนี้้� แล้้วได้้
ตรััสพระคาถา ๒ คาถาเหล่่านี้้�...
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
-------------------
วิธีการแปลรวบข้อความ 227

๖. แปลรวบด้้วยอำำ�นาจของตุํํ�ปััจจััย ข้้อสัังเกต บทที่่�ประกอบด้้วยตุํํ�ปััจจััย ที่่�ลงใน


อรรถปฐมาวิิภััตติิ ส่่วนใหญ่่มัักแปลรวบอยู่่�แล้้ว ส่่วนบทที่่�ประกอบด้้วยตุํํ�ปััจจััย ในอรรถจตุุตถีี
วิิภััตติิ ถ้้ามีีบทที่่�ประกอบด้้วย ตฺฺวาปััจจััยอยู่่�ใกล้้ แปลรวบก็็มีี แปลแยกก็็มีี ให้้สัังเกตข้้อความ
ของประโยคร่่วมด้้วย ก็็จะทราบว่่าจะต้้องแปลรวบ หรืือแปลแยกกััน
เช่น เอตํ อกโรนฺเตน วิหารมชฺเฌ นิสีทิตุํ น วฏฺฏติ. (๑/๓/๓๖)
(ตยา) เอตํ (กิจฺจํ) อกโรนฺเตน วิหารมชฺเฌ นิสีทิตุํ น วฏฺฏติ.
แปลว่า : อ.อัน- อันเธอ ผู้ไม่กระท�ำอยู่ ซึ่งกิจนั่น -นั่ง ในท่ามกลางแห่งวิหาร
ย่อมไม่ควร ฯ
สััมพัันธ์์ว่่า : นิิสีีทิิตุํํ� ตุุมััตถกััตตาใน วฏฺฺฏติิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก
ตยา อนภิิหิิตกััตตา ใน นิิสีีทิิตุํํ� เอตํํ วิิเสสนะของ กิิจฺฺจํํๆ อวุุตตกััมมะใน อกโรนฺฺเตนๆ
วิิเสสนะของ ตยา วิิหารมชฺฺเฌ วิิสยาธาระใน นิิสีีทิิตุํํ� นศััพท์์ ปฏิิเสธะใน วฏฺฺฏติิ ฯ
เช่น อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ สทฺโท ปุริสานํ สกลสรีรํ ผริตฺวา ฐาตุ ํ สมตฺโถ
นาม นตฺถิ. (๑/๑/๑๔)
แปลว่่า : จริิงอยู่่� อ.เสีียง อื่่�น ชื่่�อว่่าเป็็นเสีียงสามารถ เพื่่�ออััน- แผ่่ไป สู่่�สรีีระ
ทั้้�งสิ้้�น ของบุุรุุษ ท. -แล้้วจึึงตั้้�งอยู่่� ราวกะ อ.เสีียงแห่่งหญิิง ย่่อมไม่่มีี ฯ
สัมพันธ์ : หิศัพท์ ทัฬหีกรณโชตกะ อญฺโญ วิเสสนะของ สทฺโท ๆ สุทธกัตตา
ใน นตฺถิ ๆ กิริยาบทกัตตุวาจก อิตฺถีสทฺโท อุปมาลิงคัตถะ วิยศัพท์ อุปมาโชตกะเข้ากับ
อิตฺถีสทฺโท ปุริสานํ สามีสัมพันธะใน สกลสรีรํๆ สัมปาปุณียกัมมะใน ผริตฺวา ๆ ปุพพกาลกิริยา
ใน ฐาตุํ ๆ ตุมัตถสัมปทานใน สมตฺโถ นามศัพท์ ครหัตถโชตกะเข้ากับ สมตฺโถ ๆ วิกติกัตตา
ใน นตฺถิ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. มยา อิมาสํ ทฺวินฺนํ สมฺปตฺตีนํ นิปฺผาทนกกมฺมํ กาตุํ วฏฺฏติ. (๑/๗/๗๐)
การที่เราท�ำกรรมที่เป็นเครื่องท�ำให้สมบัติทั้งสองอย่างเหล่านี้ให้ส�ำเร็จ ย่อมควร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
228 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒. อมฺเหหิ ปน เอกํ โมกฺขธมฺมํ ปริเยสิตุํ วฏฺฏติ. (๑/๘/๘๑)


ก็ การที่พวกเราแสวงหาโมกขธรรมอย่างหนึ่ง จึงจะควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๓. ภนฺเต อหํ มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต คนฺถธุรํ ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ. (๑/๑/๗)
ภนฺเต อหํ (อตฺตโน) มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต คนฺถธุรํ ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บวชตอนแก่ จักไม่สามารถเพื่อจะท�ำคันถธุระให้เต็ม
ได้
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๔. สเจ ภนฺเต อยฺโย อิมสฺมึ ฐาเน เอวํ วิหรนฺโต ปพฺพชิตกิจฺจํ มตฺถกํ ปาเปตุํ
สกฺขิสฺสติ. (๑/๖/๖๓)
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าพระคุณเจ้าอยู่อยู่อย่างนี้ในที่นี้ไซร้ จักสามารถเพื่อจะท�ำกิจ
บรรพชิตให้ถึงที่สุดได้
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. กึ พุทฺธานํ สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา อุฏฺฐาย รตฺตินฺทิวํ สมณธมฺมํ กาตุํ น
วฏฺฏติ. (๒/๖/๙๗)
กึ (อมฺเหหิ) พุทฺธานํ สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา อุฏฺฐาย รตฺตินฺทิวํ สมณธมฺมํ กาตุํ น
วฏฺฏติ.
วิธีการแปลรวบข้อความ 229

การที่พวกเราเรียนเอากรรมฐานในส�ำนักของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ลุกขึ้นแล้วจึงท�ำ
สมณธรรมตลอดคืนและวัน ย่อมไม่ควรหรือ?
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๖. อิโต ปฏฺฐาย มยา มคฺคํ สมํ กโรนฺเตน วิจริตุํ วฏฺฏติ. (๒/๗/๙๘)
อิโต (กาลโต) ปฏฺฐาย มยา มคฺคํ สมํ กโรนฺเตน วิจริตุํ วฏฺฏติ.
การที่เราผู้ท�ำหนทางให้เสมอเที่ยวไปตั้งแต่กาลนี้ ย่อมควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๗. ฆราวาสํ วสนฺเตหิ นาม เอวํ กาตุํ น วฏฺฏติ. (๒/๗.สกฺก/๙๙)
ฆราวาสํ วสนฺเตหิ นาม (ชเนหิ) เอวํ กาตุํ น วฏฺฏติ.
การที่พวกชนธรรมดาว่าผู้อยู่ครองเรือนท�ำอย่างนี้ ย่อมไม่ควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๘. ปุพฺเพเยว ฉินฺทิตฺวา ตจฺเฉตฺวา วิชฺฌิตฺวา ฐปิตกณฺณิกํ ลทฺธุํ วฏฺฏติ. (๒/๗/๑๐๐)
(มยา ปุคฺคเลน) ปุพฺเพ เอว ฉินฺทิตฺวา ตจฺเฉตฺวา วิชฺฌิตฺวา ฐปิตกณฺณิกํ ลทฺธุํ วฏฺฏติ.
การที่เราได้ช่อฟ้าที่บุคคลตัด ถาก แกะสลัก แล้วเก็บไว้ในกาลก่อนนั่นแหละ จึงจะควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
230 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. สาลํ อาคเตหิ ปานียํ ปิวิตฺวา นหาตฺวา คมนกาเล มาลํ ปิลนฺธิตฺวา คนฺตุํ วฏฺฏติ.
(๒/๗/๑๐๒)
สาลํ อาคเตหิ (ชเนหิ) ปานียํ ปิวิตฺวา นหาตฺวา คมนกาเล มาลํ ปิลนฺธิตฺวา คนฺตุํ วฏฺฏติ.
การที่พวกชนผู้มาสู่ศาลา ดื่มน�้ำดื่ม อาบน�้ำ ประดับพวงมาลัยในกาลเป็นที่ไป แล้วจึง
ไป ย่อมควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๑๐. สาลํ อาคตานํ ปานียญฺเจว นหาโนทกญฺจ ลทฺธุํ วฏฺฏติ. (๒/๗/๑๐๒)
สาลํ อาคตานํ (ชนานํ) ปานียํ เจว นหาโนทกํ จ ลทฺธุํ วฏฺฏติ.
การที่พวกชนผู้มาสู่ศาลา ได้น�้ำดื่มและน�้ำอาบ ย่อมควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๑๑. อิทานิปิ นํ ปุญฺญํ การาเปตฺวา อิธาเนตุํ วฏฺฏติ. (๒/๗/๑๐๕)
(มยา) อิทานิปิ นํ (สุชาตํ) ปุญฺญํ การาเปตฺวา อิธ (ฐาเน) อาเนตุํ วฏฺฏติ.
การที่่�เราทำำ�ให้้นางสุุชาดานั้้�นทำำ�บุุญแม้้ในบััดนี้้� แล้้วนำำ�มาในที่่�นี้้� ย่่อมควร
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๑๒. ญาตีนนฺติ: อตฺตโน อวสฺสโย ภวิตุํ สมตฺถานํ ญาตีนํ ปริกฺขยํ วา. (๕/๗.มหา
โมคฺคลฺลาน/๖๔)
“ญาตีีนนฺฺติิ: (ปทสฺฺส) “อตฺฺตโน อวสฺฺสโย ภวิิตุํํ� สมตฺฺถานํํ ญาตีีนํํ ปริิกฺฺขยํํ วา” (อิิติิ อตฺฺโถ).
บทว่่า “ญาตีีนํํ” ความว่่า หรืือว่่า ความสิ้้�นไปรอบแห่่งพวกญาติิผู้้�สามารถเพื่่�อจะเป็็น
ที่่�พึ่่�งของตนได้้
วิธีการแปลรวบข้อความ 231

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
๑๓. เถโร เต ภิกฺขู อาทาย ตตฺถ คนฺตฺวา “เตมาสํ เอกวิหาริโน ตถาคตสฺส สนฺติกํ
เอตฺตเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อุปสงฺกมิตุํ อยุตฺตนฺติ จินฺเตตฺวา เต ภิกฺขู พหิ ฐเปตฺวา
เอกโกว สตฺถารํ อุปสงฺกมิ. (๑/๕/๕๕-๖)
เถโร เต ภิกฺขู อาทาย ตตฺถ (ฐาเน) คนฺตฺวา “(มยา) เตมาสํ เอกวิหาริโน ตถาคตสฺส สนฺติกํ
เอตฺตเกหิ ภิกฺขูหิ สทฺธึ อุปสงฺกมิตุํ อยุตฺตนฺติ จินฺเตตฺวา เต ภิกฺขู พหิ ฐเปตฺวา เอกโกว
สตฺถารํ อุปสงฺกมิ.
พระเถระพาเอาพวกภิกษุเหล่านั้นไปในที่นั้น แล้วคิดว่า “การที่เราเข้าไปสู่ส�ำนักของ
พระตถาคตผู้ประทับอยู่พระองค์เดียวโดยปกติตลอดไตรมาส พร้อมกับพวกภิกษุ
มีประมาณเท่านี้ ไม่ควรเลย” ดังนี้แล้ว จึงพักพวกภิกษุเหล่านั้นไว้ข้างนอก ผู้เดียว
เท่านั้น เข้าไปเฝ้าพระศาสดา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
-------------------
232 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๗. แปลรวบด้วยอ�ำนาจประโยคนิทธารณะ
นิิทฺฺธารณ หมายถึึงการพููดถึึงสิ่่�งหลายสิ่่�งรวมๆ กัันอยู่่� ไม่่ว่่าจะเป็็นบุุคคล หรืือสิ่่�งของ
สิ่่�งที่่�อยู่่�รวมกัันนั้้�น ต้้องมีีตั้้�งแต่่ ๒ คน หรืือ ๒ สิ่่�งขึ้้�นไป ฉะนั้้�น จึึงเป็็นพหุุวจนะเท่่านั้้�น และ
วิิภััตติิที่่�ใช้้มีี ๒ วิิภััตติิ คืือ ฉััฏฐีีวิิภััตติิ หรืือ สััตตมีีวิิภััตติิ
นิทฺธารณีย หมายถึงการพูดยกแยกออกมาจากสิ่งที่รวมกันอยู่นั้น เพียงบางสิ่ง
บางอย่าง หรือหลายสิ่งก็ได้ ฉะนั้น วจนะ จึงมี ๒ คือ เอกวจนะ หรือพหุวจนะ ก็แล้วแต่สิ่ง
ที่ถอนออกมาแสดงว่า มีสิ่งเดียว หรือสองสิ่งเป็นต้น ส�ำหรับวิภัตตินั้น มีได้ทุกวิภัตติ เว้น
อาลปนะ ไม่ปรากฏมีใช้
ส่วนองค์ประกอบของประโยคนิทธารณะนั้นมี ๓ ประการ คือ
(๑) นิิทฺฺธารณสมุุทาย เป็็นการกล่่าวถึึงบุุคคลหรืือสิ่่�งของที่่�รวมกัันอยู่่�ตั้้�งแต่่ ๒
ขึ้้�นไป เช่่น มนุุสฺฺเสสุุ ขตฺฺติิโย สููรตโม. อ.- ในมนุุษย์์ ท. หนา - กษััตริิย์์ เป็็นผู้้�กล้้าหาญที่่�สุุด
ย่่อมเป็็น ฯ
(๒) นิิทฺฺธารณเหตุุ ต้้องมีีเหตุุอย่่างใดอย่่างหนึ่่�งที่่�จะทำำ�ให้้มีีการแยกออกมา จาก
กลุ่่�มได้้ เช่่น ความกล้้าหาญ ความดีี ความชั่่�ว เป็็นต้้น เช่่น มนุุสฺฺเสสุุ ขตฺฺติิโย สููรตโม. อ.- ใน
มนุุษย์์ ท. หนา - กษััตริิย์์ เป็็นผู้้�กล้้าหาญที่่�สุุด ย่่อมเป็็น ฯ
(๓) นิิทฺฺธารณีีย สิ่่�งที่่�ถููกแยกออกมา จะน้้อยหรืือมากก็็ได้้ เช่่น มนุุสฺฺเสสุุ
ขตฺฺติิโย สููรตโม. อ.- ในมนุุษย์์ ท. หนา - กษััตริิย์์ เป็็นผู้้�กล้้าหาญที่่�สุุด ย่่อมเป็็น ฯ
ข้อสังเกต การแปลประโยคนิทธารณะนั้น มีทั้งที่แปลแบบแยกส่วน กับแปลรวบ แล้ว
แต่ความนิยมของผู้แปล ส่วนตัวผู้เรียบเรียงเอง นิยมการแปลรวบ เพราะช่วยให้นักศึกษา
สังเกตได้ง่ายขึ้น ว่าส่วนที่แยกออกมานั้น มาจากส่วนที่รวมกันอยู่ของบทไหน
เช่น อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย ยํ อิจฺฉติ, ตสฺส ตํ ยถิจฺฉิตเมว สมฺปชฺชติ. (๑/
๑.จกฺขุปาล/๔)
อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย (ภิกฺขุ) ยํ (วตฺถุํ) อิจฺฉติ, ตสฺส (ภิกฺขุโน) ตํ (วตฺถุ) ยถิจฺฉิตํ
เอว สมฺปชฺชติ.
แปลแบบที่ ๑ : อ.ภิกษุใด ย่อมปรารถนา ซึ่ง- ในข้าว น�้ำ และเภสัช ท. หนา
-วัตถุใด, อ.วัตถุนั้น ย่อมถึงพร้อม แก่ภิกษุนั้น ตามความปรารถนานั่นเทียว ฯ
แปลแบบที่ ๒ : อ.ภิกษุใด ย่อมปรารถนา ในข้าว น�้ำ และเภสัช ท. หนา
ซึ่งวัตถุใด, อ.วัตถุนั้น ย่อมถึงพร้อม แก่ภิกษุนั้น ตามความปรารถนานั่นเทียว ฯ
วิธีการแปลรวบข้อความ 233

แปลโดยอรรถ : บรรดาข้าว น�้ำ และเภสัช ภิกษุรูปใดปรารถนาสิ่งใด สิ่งนั้นย่อม


ส�ำเร็จ แก่เธอตามที่ปรารถนาทั้งนั้น
สัมพันธ์ว่า : โย วิเสสนะของ ภิกฺขุๆ สุทธกัตตาใน อิจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
อนฺนปานเภสชฺเชสุ นิทธารณะใน ยํ วตฺถุํ ยํ วิเสสนะของ วตฺถุํๆ นิทธารณียะและอวุตตกัมมะ
ใน อิจฺฉติ, ตํ วิเสสนะของ วตฺถุๆ สุทธกัตตาใน สมฺปชฺชติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส
วิเสสนะของ ภิกฺขุโนๆ สัมปทานใน สมฺปชฺชติ เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ยถิจฺฉิตํๆ กิริยา-
วิเสสนะใน สมฺปชฺชติ ฯ
เช่น เตสุ อนาถปิณฺฑิเกน เอกเมว ทิวสํ สตฺถารํ ปญฺโห น ปุจฺฉิตปุพฺโพ. (๑/๑.
จกฺขุปาล/๔)
เตสุ (ทฺวีสุ ชเนสุ) อนาถปิณฺฑิเกน เอกํ เอว ทิวสํ สตฺถารํ ปญฺโห น ปุจฺฉิตปุพฺโพ
(โหติ).
แปลว่่า : อ.ปััญหา เป็็นปััญหา อััน- ในชน ท. สอง เหล่่านั้้�นหนา -เศรษฐีี ชื่่�อว่่า
อนาถบิิณฑิิกะ เคยทููลถามแล้้ว กะพระศาสดา ในวัันหนึ่่�งนั่่�นเทีียว ย่่อมเป็็น หามิิได้้ ฯ
สัมพันธ์ว่า : ปญฺโห สุทธกัตตาใน โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก เตสุ ก็ดี
ทฺวีสุ ก็ดี วิเสสนะของ ชเนสุๆ นิทธารณะใน อนาถปิณฺฑิเกนๆ นิทธารณียะและ
อนภิหิตกัตตา ใน ปุจฺฉิต- เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ เอกํ ๆ วิเสสนะของ ทิวสํ ๆ ทุติยากาล-
สัตตมี ใน ปุจฺฉิตปุพฺโพ สตฺถารํ อกถิตกัมมะใน ปุจฺฉิต- นศัพท์ ปฏิเสธนัตถะ ปุจฺฉิตปุพฺโพ
วิกติกัตตา ใน โหติ ฯ
เช่น เตสุ สตฺถุ ธมฺมกถํ สุตฺวา ปญฺจโกฏิมตฺตา มนุสฺสา อริยสาวกา ชาตา,
เทฺวโกฏิมตฺตา ปุถุชฺชนา. (๑/๑/๕)
เตสุ (มนุสฺเสสุ) สตฺถุ ธมฺมกถํ สุตฺวา ปญฺจโกฏิมตฺตา มนุสฺสา อริยสาวกา ชาตา,
เทฺวโกฏิมตฺตา (มนุสฺสา) ปุถุชฺชนา (ชาตา).
แปลแบบที่ ๑ : อ.- ในมนุษย์ ท.เหล่านั้นหนา -มนุษย์ ท. ผู้มีโกฏิห้าเป็น
ประมาณ ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ของพระศาสดา เป็นพระอริยสาวก เกิด
แล้ว, อ.มนุษย์ ท. ผู้มีโกฏิสองเป็นประมาณ เป็นปุถุชน เกิดแล้ว ฯ
แปลแบบที่ ๒ : ในมนุษย์ ท. เหล่านั้นหนา อ.มนุษย์ ท. ผู้มีโกฏิห้าเป็น
ประมาณ ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ของพระศาสดา เป็นพระอริยสาวก
234 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

เกิดแล้ว, อ.มนุษย์ ท. ผู้มีโกฏิสองเป็นประมาณ เป็นปุถุชน เกิดแล้ว ฯ


สัมพันธ์ว่า : เตสุ วิเสสนะของ มนุสฺเสสุๆ นิทธารณะใน ปญฺจโกฏิมตฺตา
มนุสฺสา ปญฺจโกฏิมตฺตา วิเสสนะของ มนุสฺสาๆ นิทธารณียะและสุทธกัตตาใน ชาตาๆ
กิตบทกัตตุวาจก สตฺถุ สามีสัมพันธะใน ธมฺมกถํๆ อวุตตกัมมะ ใน สุตฺวาๆ ปุพพกาล-
กิริยาใน ชาตา อริยสาวกา วิกติกัตตาใน ชาตา, เทฺวโกฏิมตฺตา วิเสสนะของ มนุสฺสาๆ
สุทธกัตตาใน ชาตาๆ กิตบทกัตตุวาจก ปุถุชฺชนา วิกติกัตตาใน ชาตา ฯ
เช่น ตตฺถ “อภิตฺถเรถาติ ตุริตตุริตํ สีฆสีฆํ กเรยฺยาติ อตฺโถ. (๕/๑.จูเฬก/๔)
ตตฺถ (ปเทสุ) “อภิตฺถเรถาติ (ปทสฺส) “ตุริตตุริตํ สีฆสีฆํ กเรยฺยาติ อตฺโถ.
อ.อรรถ ว่า “พึงกระท�ำ ด่วนๆ คือว่า เร็วๆ” ดังนี้ แห่ง- ในบท ท. เหล่านั้น หนา
-บท ว่า “อภิตฺถเรถ” ดังนี้ ฯ
ตตฺถ วิเสสนะของ ปเทสุๆ นิทธารณะใน ปทสฺส อภิตฺถเรถ สรูปะใน อิติๆศัพท์
สรูปะใน ปทสฺสๆ นิทธารณียะและสามีสัมพันธะใน อตฺโถ “ตุริตตุริตํ ก็ดี สีฆสีฆํ ก็ดี กิริยา-
วิเสสนะใน กเรยฺย ตุริตตุริตํ วิวริยะใน สีฆสีฆํๆ วิวรณะ กเรยฺย อาขยาตบทกัตตุวาจกของ
ปุคฺคโล” อิติศัพท์ สรูปะใน อตฺโถๆ ลิงคัตถะ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. เตสุ อริยสาวกานํ เทฺวเยว กิจฺจานิ อเหสุํ. (๑/๑/๕)
เตสุุ (มนุุสฺฺเสสุุ) อริิยสาวกานํํ (มนุุสฺฺสานํํ) เทฺฺว เอว กิิจฺฺจานิิ อเหสุํํ�.
ในบรรดามนุุษย์์เหล่่านั้้�น อริิยสาวกทั้้�งหลายได้้มีีกิจิ เพีียง ๒ อย่่างเท่่านั้้�น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. เตสุุ เอกพุุทฺฺโธปิิ น ปริิจฺฺฉิินฺฺโน, อิิทานิิ “อิิมํํ อนฺฺโตวสฺฺสํํ ตโย มาเส น
นิิปชฺฺชิิสฺฺสามีีติิ เต มานสํํ พทฺฺธํํ. (๑/๑/๑๐)
เตสุุ (พุุทฺฺเธสุุ) เอกพุุทฺฺโธปิิ (ตยา) น ปริิจฺฺฉินฺิ ฺ โน, อิิทานิิ ‘(อหํํ) อิิมํํ อนฺฺ โตวสฺฺสํํ ตโย มาเส
น นิิปชฺฺชิสฺิ ฺสามีี’ ติิ เต มานสํํ พทฺฺธํ.ํ
วิธีการแปลรวบข้อความ 235

ในบรรดาพระพุุทธเจ้้าเหล่่านั้้�น พระพุุทธเจ้้าแม้้พระองค์์เดีียว ท่่านก็็ไม่่สามารถ


กำำ�หนดได้้, บััดนี้้� ท่่านผููกใจไว้้ว่่า ‘จะไม่่นอนตลอด ๓ เดืือน ภายในพรรษานี้้�’
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. “มยฺฺหํํ อจฺฺจายิิกํํ นตฺฺถิ;ิ อหมฺฺปิิ อยฺฺเยน สทฺฺธึึ คจฺฺฉนฺฺโต ทสสุุ ปฺฺุุกิริิ ยิ าวตฺฺถููสุุ เอกํํ
ลภิิสฺฺสามิิ; เอกโต ว คจฺฺฉาม ภนฺฺ เต”ติิ. (๑/๑/๑๗)
(สกฺฺโก) “มยฺฺหํํ อจฺฺจายิิกํํ นตฺฺถิ;ิ อหมฺฺปิิ อยฺฺเยน สทฺฺธึึ คจฺฺฉนฺฺโต ทสสุุ ปุุญฺฺญกิิริิยาวตฺฺถููสุุ เอกํํ
ปุุญฺฺญกิิริิยาวตฺฺถุํํ� ลภิิสฺฺสามิิ; (มยํํ) เอกโต ว คจฺฺฉาม ภนฺฺ เต”ติิ (อาห).
ท้้าวสัักกะตรััสว่่า “กระผมไม่่มีคี วามรีีบร้้อน แม้้กระผมไปพร้้อมกัับพระคุุณเจ้้าจะได้้
บุุญกิิริยิ าวััตถุุอย่่างหนึ่่�งในบรรดาบุุญกิิริยิ าวััตถุุ ๑๐ ประการ, ท่่านครัับ พวกเราจะไป
ด้้วยกัันเลยนะครัับ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
236 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔. คุุณเทสนาปริิยตฺฺติินิิสฺฺสตฺฺตนิิชฺฺชีีววเสน จตฺฺตาโร ธมฺฺมา นาม, เตสุุ


“น หิิ ธมฺฺโม อธมฺฺโม จ อุุโภ สมวิิปากิิโน;
อธมฺฺโม นิิรยํํ เนติิ ธมฺฺโม ปาเปติิ สุุคฺฺคติินฺฺ”ติิ
อยํํ คุุณธมฺฺโม นาม. (๑/๑/๒๐)
คุุณเทสนาปริิยตฺฺติินิิสฺฺสตฺฺตนิิชฺฺชีีววเสน จตฺฺตาโร ธมฺฺมา นาม, เตสุุ (ธมฺฺเมสุุ)
“น หิิ ธมฺฺโม อธมฺฺโม จ อุุโภ สมวิิปากิิโน (โหนฺฺ ติ)ิ ;
อธมฺฺโม (สตฺฺตํ)ํ นิิรยํํ เนติิ ธมฺฺโม (สตฺฺตํ)ํ ปาเปติิ สุุคฺฺคติินฺฺ”ติิ
อยํํ (ธมฺฺโม) คุุณธมฺฺโม นาม.
ชื่่�อว่่าธรรม ๔ คืือ คุุณธรรม เทสนาธรรม ปริิยัติั ธิ รรม และนิิสสััตตนิิชชีวี ธรรม, ใน
บรรดาธรรมเหล่่านั้้�น ธรรมนี้้� ว่่า
“ธรรมและสภาพที่่�มิใิ ช่่ธรรม ทั้้�งสองมีีผลเสมอกัันหามิิได้้แล,
อธรรมนำำ�สััตว์์ไปสู่่�นรก ส่่วนธรรมทำำ�สััตว์์ให้้ถึึงสุุคติิ”
ชื่่�อว่่าคุุณธรรม
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. เตสุ อิมสฺมึ ฐาเน นิสฺสตฺตนิชฺชีวธมฺโม อธิปฺเปโต. (๑/๑/๒๑)
(ภควตา) เตสุุ (จตููสุุ ธมฺฺเมสุุ) อิิมสฺฺมึึ าเน นิิสฺฺสตฺฺตนิิชฺฺชีีวธมฺฺโม อธิิปฺเฺ ปโต.
ในบรรดาธรรมทั้้�ง ๔ อย่่างเหล่่านั้้�น นิิสสััตตนิิชชีวี ธรรม พระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้าทรง
ประสงค์์เอาในที่่�นี้้�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 237

๖. มม สนฺตกํ วตฺถาทีสุ ยงฺกิญฺจิเทว อวหริ. (๑/๓/๔๑)


(อสุุโก ปุุคฺฺคโล) มม สนฺฺ ตกํํ วตฺฺถาทีีสุุ (วตฺฺถููสุุ) ยงฺฺกิิญฺฺจิิ เอว (วตฺฺถุํํ�) อวหริิ.
บุุคคลโน้้นลัักขโมยวััตถุุชนิิดใดชนิิดหนึ่่�งนั่่�นแหละ ในบรรดาวััตถุุทั้้ง� หลายมีีผ้้าเป็็ นต้้น
ที่่�เป็็ นสมบััติขิ องเรา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. เตสุุ ธมฺฺมกถิิโก เอกทิิวสํํ สรีีรวลฺฺชํํ กตฺฺวา อุุทกโกฏฺฺเก อาจมนอุุทกาวเสสํํ
ภาชเน เปตฺฺวา นิิกฺฺขมิิ. (๑/๕/๔๙)
เตสุุ (ทฺฺวีีสุุ ภิิกฺฺขููสุุ) ธมฺฺมกถิิโก เอกทิิวสํํ สรีีรวลฺฺชํํ กตฺฺวา อุุทกโกฏฺฺเก อาจมนอุุทกาวเสสํํ
ภาชเน เปตฺฺวา นิิกฺฺขมิิ.
ในบรรดาภิิกษุุทั้้ง� สองรููปเหล่่านั้้�น วัันหนึ่่�ง พระธรรมกถึึกทำำ�สรีีรวลััญชะ ตั้้�งน้ำำ��ชำำ�ระที่่�
เหลืือทิ้้�งไว้้ในภาชนะที่่�ซุ้้มน้ำำ � � �แล้้วก็็ออกไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. เตสุ เชฏฺกนิฏฺา ทิสาสุ วิจริตฺวา ปฺจหิ สกฏสเตหิ ภณฺฑํ อาหรนฺติ. (๑/๖/๖๑)
เตสุ (ตีสุ กุฏุมฺพิเกสุ) เชฏฺฐกนิฏฺฐา (กุฏุมฺพิกา) ทิสาสุ วิจริตฺวา ปฺจหิ สกฏสเตหิ ภณฺฑํ
อาหรนฺติ.
ในบรรดากุฎุมพี ๓ คนเหล่านั้น พี่ชายคนโตและน้องชายคนเล็ก พากันเที่ยวไปในทิศ
ทั้งหลาย ใช้เกวียน ๕๐๐ เล่มบรรทุกสิ่งของมา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
238 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. เอกทิวสํ หตฺถิมารโก ตํ กิริยํ ทิสฺวา “อหํ อิเม กิจฺเฉน มาเรมิ, อิเม จ


คมนาคมนกาเล ปจฺเจกพุทฺเธ วนฺทนฺติ, กินฺนุ โข ทิสฺวา วนฺทนฺตีติ จินฺเตนฺโต
“กาสาวนฺติ สลฺลกฺเขตฺวา “มยาปิ อิทานิ กาสาวํ ลทฺธุํ วฏฺฏตีติ จินฺเตตฺวา เอกสฺส
ปจฺเจกพุทฺธสฺส ชาตสฺสรํ โอรุยฺห นหายนฺตสฺส ตีเร ปิเตสุ กาสาเวสุ จีวรํ
เถเนตฺวา เตสํ หตฺถีนํ คมนาคมนมคฺเค สตฺตึ คเหตฺวา สสีสํ ปารุปิตฺวา นิสีทติ.
(๑/๗/๗๒)
เอกทิวสํ หตฺถิมารโก ตํ กิริยํ ทิสฺวา “อหํ อิเม (หตฺถี) กิจฺเฉน มาเรมิ, อิเม จ (หตฺถี)
คมนาคมนกาเล ปจฺเจกพุทฺเธ วนฺทนฺติ, (อิเม หตฺถี) กินฺนุ โข ทิสฺวา วนฺทนฺตีติ จินฺเตนฺโต
“(อิเม หตฺถี) กาสาวํ (ทิสฺวา วนฺทนฺติ)” อิติ สลฺลกฺเขตฺวา “มยาปิ อิทานิ กาสาวํ ลทฺธุํ
วฏฺฏตีติ จินฺเตตฺวา เอกสฺส ปจฺเจกพุทฺธสฺส ชาตสฺสรํ โอรุยฺห นหายนฺตสฺส ตีเร ฐปิเตสุ
กาสาเวสุ จีวรํ เถเนตฺวา เตสํ หตฺถีนํ คมนาคมนมคฺเค สตฺตึ คเหตฺวา สสีสํ (สรีรํ)
ปารุปิตฺวา นิสีทติ.
วันหนึ่ง นายพรานช้างเห็นกิริยานั้น คิดอยู่ว่า “เราฆ่าช้างเหล่านี้โดยยากล�ำบาก, อนึ่ง
ช้างเหล่านี้ ย่อมจบพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายในเวลาทั้งไปและมา, ช้างเหล่านี้เห็น
อะไรหนอ จึงจบ” ก�ำหนดว่า “เห็นผ้ากาสวะ” จึงคิดว่า “แม้เราได้ผ้ากาสาวะในบัดนี้
ย่อมควร” ดังนี้แล้ว จึงขโมยจีวรในบรรดาผ้ากาสาวะทั้งหลายที่พระปัจเจกพุทธเจ้ารูป
หนึ่งผู้ลงสระธรรมชาติแล้วสรงน�้ำอยู่ วางไว้ที่ฝั่ง แล้วถือเอาหอก นั่งคลุมสรีระพร้อม
กับศีรษะ ในทางเป็นที่ไปและมาของช้างเหล่านั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 239

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. เตสุ สพฺพปจฺฉิมโก โสตาปนฺโน, สพฺพุตฺตโม อนาคามี อโหสิ. (๑/๘/๗๙)
เตสุ (กุมารเกสุ) สพฺพปจฺฉิมโก (กุมารโก) โสตาปนฺโน (อโหสิ), สพฺพุตฺตโม (กุมาโร) อนาคามี
อโหสิ.
บรรดากุมารเหล่านั้น กุมารผู้ต�่ำสุดในกุมารทั้งปวง ได้เป็นพระโสดาบัน ผู้สูงสุดกว่า
กุมารทั้งปวง ได้เป็นพระอนาคามี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๑. เตสุ อุปติสฺสคาเม สาริยา นาม พฺราหฺมณิยา คพฺภสฺส ปติฏฺิตทิวเสเยว โกลิตคาเม
โมคฺคลฺลิยา นาม พฺราหฺมณิยาปิ คพฺโภ ปติฏฺหิ. (๑/๘/๘๐)
เตสุุ (คาเมสุุ) อุุปติิสฺฺสคาเม สาริิยา นาม พฺฺราหฺฺมณิิยา คพฺฺภสฺฺส ปติิฏฺฺฐิิตทิิวเส เอว
โกลิิตคาเม โมคฺฺคลฺฺลิิยา นาม พฺฺราหฺฺมณิิยาปิิ คพฺฺโภ ปติิฏฺฺหิิ.
ครรภ์ของนางพราหมณีชื่อว่าโมคคัลลี ในหมู่บ้านชื่อว่าโกลิตะ ตั้งอยู่แล้วในวันที่ครรภ์
ของนางพราหมณีชื่อว่าสารี ตั้งอยู่แล้วนั่นแหละ ในบรรดาหมู่บ้านเหล่านั้น หมู่บ้าน
ชื่อว่าอุปติสสะ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
240 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๒. เอวํ สกลชมฺพุทีปํ ปริคฺคณฺหิตฺวา นิวตฺติตฺวา สกฏฺานเมว อาคนฺตฺวา “สมฺม โกลิต


อมฺเหสุ โย ปมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส อาโรเจตูติ กติกํ อกํสุ. (๑/๘/๘๒)
(เต เทฺว สหายกา) เอวํ สกลชมฺพุทีปํ ปริคฺคณฺหิตฺวา นิวตฺติตฺวา สกฏฺานํ เอว อาคนฺตฺวา
“สมฺม โกลิต อมฺเหสุ โย (ปุคฺคโล) ปมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส (ปุคฺคโล) อาโรเจตูติ กติกํ
อกํสุ.
สองสหายเหล่านั้นก�ำหนดชมพูทวีปทั้งหมดอย่างนี้ กลับมาสู่ที่พักของตัวเองนั่นแหละ
ได้ท�ำกติกากันว่า “แน่ะโกลิตะผู้สหาย บรรดาเรา บุคคลใดบรรลุอมตธรรมก่อน, บุคคล
นั้นขอจงบอก”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. เย โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา, อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร.
(๑/๘/๘๓)
เย โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา (สนฺติ), อยํ เตสํ (อรหนฺตานํ วา
อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนานํ ปุคฺคลานํ) ภิกฺขุ อฺตโร (โหติ).
พระอรหันต์ทั้งหลาย หรือบุคคลผู้บรรลุอรหัตมรรคเหล่าใด มีอยู่ในโลก, ภิกษุนี้เป็น
ผู้ใดผู้หนึ่ง บรรดาพระอรหันต์ทั้งหลาย หรือบุคคลผู้บรรลุอรหัตมรรคเหล่านั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๔. เตสุ ปฺจ ชเน “ตุมฺเห ฌาเปถาติ สุสาเน เปตฺวา เสสา คามํ ปวิฏฺา. (๑/๘/๙๐)
เตสุ (ชเนสุ) ปฺจ ชเน “ตุมฺเห (สรีรํ) ฌาเปถาติ (วจเนน) สุสาเน เปตฺวา เสสา (ชนา)
คามํ ปวิฏฺา .
วิธีการแปลรวบข้อความ 241

ในบรรดาชนเหล่านั้น พวกชนที่เหลือ เว้นชน ๕ คนไว้ในป่าช้า ด้วยค�ำว่า “พวกท่าน


จงเผา(ศพ)” ดังนี้ แล้วก็พากันเข้าไปยังหมู่บ้าน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๕. เตสุ เชฏฺสฺส ปฺจ โยธสตานิ ปริวาโร, มชฺฌิมสฺส ตีณิ, กนิฏฺสฺส เทฺว. (๑/๘/๙๑)
เตสุ (ปุตฺเตสุ) เชฏฺฐสฺส (ปุตฺตสฺส) ปฺจ โยธสตานิ ปริวาโร (อโหสิ), มชฺฌิมสฺส (ปุตฺตสฺส)
ตีณิ (โยธสตานิ ปริวาโร อโหสิ), กนิฏฺสฺส (ปุตฺตสฺส) เทฺว (โยธสตานิ ปริวาโร อโหสิ).
ในบรรดาพระโอรสเหล่านั้น พระโอรสพระองค์โต ได้มีทหาร ๕๐๐ นายเป็นบริวาร,
พระโอรสพระองค์กลาง ได้มีทหาร ๓๐๐ นายเป็นบริวาร, พระโอรสพระองค์เล็กสุด ได้
มีทหาร ๒๐๐ นายเป็นบริวาร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๖. “โหตุ เทว, เอเกกสฺส โน เอเกกํ มาสํ กตฺวา ตโย มาเส เทถาติ. (๑/๘/๙๒)
(ปุตฺตา) “โหตุ เทว (เอตํ ปพฺพํ), (ตุมฺเห) เอเกกสฺส (มยฺหํ) โน เอเกกํ มาสํ กตฺวา ตโย
มาเส เทถาติ (อาหํสุ).
พระโอรสทั้งหลายกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้สมมุติเทพ ข้อนั่นจงยกไว้เถิด, ขอ
พระองค์จงพระราชทานสิ้นเวลา ๓ เดือน บรรดาข้าพระองค์ทั้งสาม แก่ข้าพระองค์
คนละหนึ่งเดือน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
242 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๗. สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตฺวา เวฬุวเน วิหรนฺโต “ปุตฺตํ เม


อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ สุทฺโธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ ทสนฺนํ
ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ
ตฺวา สฏฺิมตฺตาย คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา วีสติสหสฺสขีณาสวปริวุโต
กปิลวตฺถุปุรํ นีโต าติสมาคเม โปกฺขรวสฺสํ อตฺถุปฺปตฺตึ กตฺวา มหาเวสฺสนฺตร-
ชาตกํ กเถตฺวา ปุนทิวเส ปิณฺฑาย ปวิฏฺโ “อุตฺติฏฺเฅ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย
ปิตรํ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา “ธมฺมญฺจเร สุจริตนฺติ คาถาย มหาปชาปตึ
โคตมึ โสตาปตฺติผเล ราชานฺจ สกทาคามิผเล ปติฏฺาเปสิ. (๑/๙/๑๐๕-๖)
สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก ราชคหํ คนฺตฺวา เวฬุวเน วิหรนฺโต “(ตุมฺเห) ปุตฺตํ เม
อาเนตฺวา ทสฺเสถาติ (วจเนน) สุทฺโธทนมหาราเชน เปสิตานํ สหสฺสสหสฺสปริวารานํ ทสนฺนํ
ทูตานํ สพฺพปจฺฉโต คนฺตฺวา อรหตฺตํ ปตฺเตน กาฬุทายิตฺเถเรน อาคมนกาลํ ญตฺวา
สฏฺฐิมตฺตาย คาถาย มคฺควณฺณํ วณฺเณตฺวา วีสติสหสฺสขีณาสวปริวุโต กปิลวตฺถุปุรํ นีโต
าติสมาคเม โปกฺขรวสฺสํ อตฺถุปฺปตฺตึ กตฺวา มหาเวสฺสนฺตรชาตกํ กเถตฺวา ปุนทิวเส ปิณฺฑาย
ปวิฏฺโ “อุตฺติฏฺเฅ นปฺปมชฺเชยฺยาติ คาถาย ปิตรํ โสตาปตฺติผเล ปติฏฺาเปตฺวา “ธมฺมญฺจเร
สุจริตนฺติ คาถาย มหาปชาปตึ โคตมึ โสตาปตฺติผเล ราชานํ จ สกทาคามิผเล ปติฏฺาเปสิ.
ความพิสดารว่า พระศาสดาผู้มีธรรมจักรอันประเสริฐที่ทรงให้เป็นไปแล้ว เสด็จไปสู่
เมืองราชคฤห์ ประทับอยู่ที่พระเวฬุวัน บรรดาทูตทั้ง ๑๐ คณะๆ หนึ่งมีบริวารคณะละ
๑,๐๐๐ คนที่พระเจ้าสุทโธทนมหาราชทรงส่งไปด้วยพระด�ำรัสว่า “พวกเธอจงน�ำบุตร
ของเรามาแสดง” พระกาฬุทายีเถระผู้ไปในภายหลังแห่งทูตทั้งปวง บรรลุพระอรหัต
แล้ว ทราบกาลเป็นที่เสด็จมา กล่าวพรรณนาหนทางด้วยคาถาประมาณ ๖๐ คาถา มี
พระขีณาสพ ๒๐,๐๐๐ รูปแวดล้อมน�ำเสด็จไปยังเมืองกบิลพัสดุ์ ทรงท�ำฝนโบกขร-
พรรษให้เป็นเหตุเกิดเนื้อความในสมาคมแห่งพระญาติ ตรัสมหาเวสสันดรชาดก เสด็จ
เข้าไปเพื่อบิณฑบาต ในวันรุ่งขึ้น ทรงให้พระราชบิดาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลด้วยพระ
คาถาว่า “อุตฺติฏฺเ นปฺปมชฺเชยฺย” ดังนี้เป็นต้น ท�ำให้พระนางมหาปชาบดีโคตมี
ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล และทรงท�ำให้พระราชาตั้งอยู่ในสกทาคามิผล ด้วยพระคาถาว่า
“ธมฺมฺจเร สุจริตํ” ดังนี้เป็นต้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 243

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
244 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๘. อญฺญตโร จ ปนายสฺมา นนฺโท อรหตํ อโหสิ. (๑/๙/๑๑๑)


อญฺญตโร (อรหา) จ ปน อายสฺมา นนฺโท อรหตํ อโหสิ.
ก็แล พระนันทะผู้มีอายุ ได้เป็นแห่งบรรดาพระอรหันต์ทั้งหลาย พระอรหันต์รูปใดรูป
หนึ่ง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๙. เตสุ เอโก มโต เทว, ทุติยํ คณฺห ขตฺติย. (๕/๗/๑๑๓)
เตสุ (โคเณสุ) เอโก (โคโณ) มโต เทว, (ตฺวํ) ทุติยํ (โคณํ) คณฺห ขตฺติย.
ข้าแต่พระองค์ผู้สมมุติเทพ บรรดาโคเหล่านั้น โคตัวหนึ่งตายไป, ข้าแต่กษัตริย์ ขอ
พระองค์โปรดรับโคตัวที่สองเถิด
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๐. เตสุุ เอเกกสฺฺส ปญฺฺจ ปญฺฺจ อุุปาสกสตานิิ ปริิวาโร. (๑/๑๑/๑๒๐)
เตสุุ (อุุปาสเกสุุ) เอเกกสฺฺส (อุุปาสกสฺฺส) ปญฺฺจ ปญฺฺจ อุุปาสกสตานิิ ปริิวาโร (อโหสิิ).
ในบรรดาอุุบาสกเหล่่านั้้�น อุุบาสกคนหนึ่่�งๆ ได้้มีีอุุบาสกคนละ ๕๐๐ คนเป็็ นบริิวาร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๑. เตสุุ เอเกกสฺฺส เอเกกา สลากยาคุุ สลากภตฺฺตํํ ปกฺฺขิกิ ภตฺฺตํํ สงฺฺฆภตฺฺตํํ อุุโปสถิิกภตฺฺตํํ
อาคนฺฺ ตุุกภตฺฺตํํ วสฺฺสาวาสิิกํํ อโหสิิ. (๑/๑๑/๑๒๐)
เตสุุ (ปุุตฺฺเตสุุ) เอเกกสฺฺส (ปุุตฺฺตสฺฺส) เอเกกา สลากยาคุุ สลากภตฺฺตํํ ปกฺฺขิกิ ภตฺฺตํํ สงฺฺฆภตฺฺตํํ
อุุโปสถิิกภตฺฺตํํ อาคนฺฺ ตุุกภตฺฺตํํ วสฺฺสาวาสิิกํํ อโหสิิ.
ในบรรดาบุุตรเหล่่านั้้�น บุุตรคนหนึ่่�งๆ ได้้มีีสลากยาคูู สลากภััตร ปัักขิิกภััตร สัังฆภััตร
อุุโปสถิิกภััตร อาคัันตุุกภััตร และวััสสาวาสิิกภััตร อย่่างละอััน
วิธีการแปลรวบข้อความ 245

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๒. โย เตสํํ เชฏฺฺโก, ตสฺฺส สตฺฺต ปุุตฺฺตา สตฺฺต ธีีตโร. (๑/๑๑/๑๒๐)
โย (อุุปาสโก) เตสํํ (อุุปาสกานํํ) เชฏฺฺโก (โหติิ), ตสฺฺส (อุุปาสกสฺฺส) สตฺฺต ปุุตฺฺตา สตฺฺต
ธีีตโร (อเหสุํํ�).
บรรดาอุุบาสกเหล่่านั้้�น อุุบาสกคนใด เป็็ นหััวหน้้า, อุุบาสกคนนั้้�นได้้มีีบุุตรชาย ๗ คน
ธิิดา ๗ คน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๓. “เตนหิิ ตาต กมฺฺมนฺฺตํํ อุุคฺฺคเหตฺฺวา ฆราวาสํํ วส, น หิิ สกฺฺกา อมฺฺเหสุุ เอเกน
อปพฺฺพชิิตุุนฺฺติิ อาห. (๑/๑๒/๑๒๖)
(ภาตา) “เตนหิิ ตาต (ตฺฺวํ)ํ กมฺฺมนฺฺตํํ อุุคฺฺคเหตฺฺวา ฆราวาสํํ วส, น หิิ สกฺฺกา อมฺฺเหสุุ เอเกน
(ปุุคฺฺคเลน) อปพฺฺพชิิตุุนฺฺติิ อาห.
พระภาดาตรััสว่่า “แน่่ะพ่่อ ถ้้าเช่่นนั้้�น เจ้้าจงเรีียนการงานแล้้วอยู่่�ครองเรืือนเถิิด,
เพราะว่่า บรรดาเราทั้้�งสอง บุุคคลหนึ่่�ง ไม่่อาจเพื่่�อจะไม่่บวช”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
246 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๔. เตสุุ กิิร เอกทิิวสํํ กิิมฺฺพิโิ ล โกฏฺฺโต วีีหีี โอตาริิยมาเน ทิิสฺฺวา “เอเต โกฏฺฺเกเยว
ชาตาติิ สฺฺีี อโหสิิ. (๑/๑๒/๑๒๖)
เตสุุ (ขตฺฺติิเยสุุ) กิิร เอกทิิวสํํ กิิมฺฺพิิโล (ปุุคฺฺคเลน) โกฏฺฺโต วีีหีี โอตาริิยมาเน ทิิสฺฺวา “เอเต
(วีีหโย) โกฏฺฺเก เอว ชาตาติิ สฺฺีี อโหสิิ.
ได้้ยิินว่่า ในวัันหนึ่่�ง บรรดากษััตริิย์เ์ หล่่านั้้�น เจ้้ากิิมพิลิ ะเห็็นข้้าวเปลืือกที่่�เขากำำ�ลััง
นำำ�ลงจากฉาง ได้้เป็็ นผู้้มี� คี วามสำำ�คััญว่่า “ข้้าวเปลืือกเหล่่านั่่�นเกิิดที่่�ฉางนั่่�นแหละ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๕. เตสุุ อายสฺฺมา ภทฺฺทิโิ ย เตเนว อนฺฺ ตรวสฺฺเสน เตวิิชฺฺโช อโหสิิ. (๑/๑๒/๑๒๘)
เตสุุ (ภิิกฺฺขููสุุ) อายสฺฺมา ภทฺฺทิิโย เตน เอว อนฺฺ ตรวสฺฺเสน เตวิิชฺฺโช อโหสิิ.
บรรดาภิิกษุุเหล่่านั้้�น พระภััททิิยะผู้้มี� อี ายุุ ได้้เป็็ นผู้้มี� วิี ชช ิ า ๓ ในระหว่่างพรรษานั้้�น
นั่่�นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๖. เอวํํ เถเร ปุุนปฺฺปุนํุ ํ สาสนํํ ปหิิณนฺฺเต, โส ภิิกฺฺขุุ โถกํํ กาลํํ สหิิตฺฺวา อปรภาเค
สหิิตุํํ� อสกฺฺโกนฺฺ โต, “อมฺฺหากํํ อาจริิโย ตุุมฺฺเห วนฺฺ ทตีีติิ วุุตฺฺเต, “โก เอโสติิ วตฺฺวา,
“ตุุมฺฺหากํํ สหายกภิิกฺฺขุุ ภนฺฺ เตติิ วุุตฺฺเต, “กึึ ปน ตุุมฺฺเหหิิ ตสฺฺส สนฺฺ ติเิ ก อุุคฺฺคหิิตํ,ํ กึึ
ทีีฆนิิกายาทีีสุุ อฺฺตโร นิิกาโย, กึึ ตีีสุุ ปิิ ฏเกสุุ เอกํํ ปิิ ฏกนฺฺ ติิ วตฺฺวา, “จตุุปฺปฺ ทิิกํปิํ ิ
คาถํํ น ชานาติิ, ปํํสุกููลํ ุ ํ คเหตฺฺวา ปพฺฺพชิิตกาเลเยว อรฺฺํํ ปวิิฏฺฺโ, พหูู วต
อนฺฺ เตวาสิิเก ลภิิ, ตสฺฺส อาคตกาเล มยา ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิตุํํ�ิ วฏฺฺฏตีติี ิ จิินฺฺเตสิิ. (๑/๑๔/๑๔๕)
เอวํํ เถเร ปุุนปฺฺปุนํุ ํ สาสนํํ ปหิิณนฺฺเต, โส ภิิกฺฺขุุ โถกํํ กาลํํ สหิิตฺฺวา อปรภาเค สหิิตุํํ�
อสกฺฺโกนฺฺ โต, “อมฺฺหากํํ อาจริิโย ตุุมฺฺเห วนฺฺ ทตีีติิ (วจเน เตหิิ ภิิกฺฺขููหิ)ิ วุุตฺฺเต, “โก (โหติิ) เอโส
(ตุุมฺฺหากํํ อาจริิโย)” อิิติิ วตฺฺวา, “(อมฺฺหากํํ อาจริิโย) ตุุมฺฺหากํํ สหายกภิิกฺฺขุุ (โหติิ) ภนฺฺ เตติิ
(วจเน เตหิิ ภิิกฺฺขููหิ)ิ วุุตฺฺเต, “กึึ ปน ตุุมฺฺเหหิิ ตสฺฺส (เถรสฺฺส) สนฺฺ ติเิ ก อุุคฺฺคหิิตํ,ํ กึึ (ตุุมฺฺเหหิิ)
วิธีการแปลรวบข้อความ 247

ทีีฆนิิกายาทีีสุุ (นิิกาเยสุุ) อญฺฺญตโร นิิกาโย (อุุคฺฺคหิิโต), กึึ (ตุุมฺฺเหหิิ) ตีีสุุ ปิิฏเกสุุ เอกํํ ปิิฏกํํ
(อุุคฺฺคหิิตํ)ํ ” อิิติิ วตฺฺวา, “(โส เถโร) จตุุปฺปฺ ทิิกํปิํ ิ คาถํํ น ชานาติิ, (โส เถโร) ปํํสุกููลํ
ุ ํ คเหตฺฺวา
ปพฺฺพชิิตกาเล เอว อรฺฺํํ ปวิิฏฺฺโ, (โส เถโร) พหูู วต อนฺฺ เตวาสิิเก ลภิิ, ตสฺฺส (เถรสฺฺส)
อาคตกาเล มยา ปฺฺหํํ ปุุจฺฺฉิตุํํ�ิ วฏฺฺฏตีติี ิ จิินฺฺเตสิิ.
เมื่่อ� พระเถระส่่งข่่าวสาส์์นไปอยู่่�บ่่อยๆ อย่่างนี้้�, ภิิกษุุนั้้น� อดกลั้้�นสิ้้น� ระยะเวลานิิดหน่่อย
ในกาลต่่อมา ไม่่สามารถที่่�จะอดกลั้้�นได้้, เมื่่อ� พวกภิิกษุุเหล่่านั้้�นกล่่าวว่่า “อาจารย์์ของ
พวกกระผมไหว้้ท่่าน”, จึึงกล่่าวว่่า “อาจารย์์ของพวกท่่านนั่่�น เป็็ นใครกััน”, เมื่่อ� พวก
ภิิกษุุเหล่่านั้้�นกล่่าวว่่า “ท่่านครัับ อาจารย์์ของพวกกระผม เป็็ นภิิกษุุผู้เ้� พื่่�อนของท่่าน”,
กล่่าวว่่า “ก็็ อะไรที่่�พวกท่่านพากัันเรีียนเอาในสำำ�นัักของพระเถระนั้้�น, พวกท่่านพากััน
เรีียนเอาในบรรดานิิกายทั้้�งหลายมีีทีฆนิ ี ิกายเป็็ นต้้น นิิกายใดนิิกายหนึ่่�งหรืือ? พวก
ท่่านพากัันเรีียนเอาในบรรดาปิิ ฎกสาม ปิิ ฎกหนึ่่�งหรืือ?” คิิดว่่า “พระเถระนั้้�นย่่อมไม่่รู้้�
จัักคาถาแม้้ที่่�ประกอบด้้วย ๔ บาท, พระเถระนั้้�นถืือเอาผ้้าบัังสุุกุุลเข้้าไปยัังป่่าตั้้�งแต่่
วัันที่่�บวชแล้้วนั่่�นแหละ, พระเถระนั้้�นได้้อัันเตวาสิิกมากจริิงหนอ, เราจะถามปััญหาใน
คราวที่่�ท่า่ นมาหา จึึงควร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
248 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๗. โย ทณฺเฑน อทณฺเฑสุ อปฺปทุฏฺเฐสุ ทุสฺสติ,


ทสนฺนมญฺญตรํ ฐานํ ขิปฺปเมว นิคจฺฉติ. (๒/๑/๑๙)
“โย (ปุคฺคโล) ทณฺเฑน อทณฺเฑสุ อปฺปทุฏฺเสุ (ปุคฺคเลสุ) ทุสฺสติ,
(โส ปุคคฺ โล) ทสนฺนํ (ฐานานํ) อญฺญตรํ ฐานํ ขิปฺปํ เอว นิคจฺฉติ.
ผู้ประทุษร้าย ในบุคคลผู้ไม่ประทุษร้าย ผู้หาอาชญามิได้
ด้วยอาชญา ย่อมพลันถึงเหตุ ๑๐ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทีเดียว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๘. เตสุ เย ภิตฺตึ ภินฺทิตฺวา ปลายนฺติ, เต ชีวิตํ ลภนฺติ. (๒/๑/๒๗)
เตสุ (มนุสฺเสสุ) เย (มนุสฺสา) ภิตฺตึ ภินฺทิตฺวา ปลายนฺติ, เต (มนุสฺสา) ชีวิตํ ลภนฺติ.
ในบรรดามนุษย์เหล่านั้น พวกมนุษย์เหล่าใดท�ำลายฝาเรือนแล้วหนีไป, พวกมนุษย์
เหล่านั้นย่อมได้ชีวิต
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๙. เตสุ เชฏฺฐกตาปโส จินฺเตสิ “อิมสฺมึ รุกฺเข อธิวตฺถา เทวตา น โอรมติกา
ภวิสฺสติ, มเหสกฺเขเนเวตฺถ เทวราชเน ภวิตพฺพํ; สาธุ วตสฺส, สจายํ อิสิคณสฺส
ปานียํ ทเทยฺยาติ. (๒/๑/๔๒)
เตสุ (ตาปเสสุ) เชฏฺฐกตาปโส จินฺเตสิ “อิมสฺมึ รุกฺเข อธิวตฺถา เทวตา น โอรมติกา
ภวิสฺสติ, มเหสกฺเขน เอว เอตฺถ (รุกฺเข) เทวราเชน ภวิตพฺพํ; (ตํ อิสิคณสฺส ปานียํ ทานํ)
สาธุ วต อสฺส, สเจ อยํ (เทวตา) อิสิคณสฺส ปานียํ ทเทยฺยาติ.

ในบรรดาดาบสเหล่านั้น ดาบสผู้เป็นหัวหน้าคิดว่า “เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่ต้นไม้นี้ จักไม่


เป็นเทวดาต�่ำต้อย, ถ้าเทวดานี้พึงถวายน�้ำดื่มแก่หมู่ฤษี, การถวายน�้ำดื่มแก่หมู่ฤษีนั้น
วิธีการแปลรวบข้อความ 249

พึงเป็นการดีหนอ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๐. เตสุ สตฺต ปจฺเจกพุทฺธา หิมวนฺตํ คจฺฉนฺติ. (๒/๑/๖๐)
เตสุ (อฏฺฐสุ ปจฺเจกพุทฺเธสุ) สตฺต ปจฺเจกพุทฺธา หิมวนฺตํ คจฺฉนฺติ.
ในบรรดาพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้ง ๘ องค์เหล่านั้น พระปัจเจกพุทธเจ้า ๗ องค์ ย่อมไป
สู่ป่าหิมพานต์
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๑. เตสุ เอโก สกาลสฺเสว ทารูนิ อาหริตฺวา องฺคารกปลฺลํ สชฺเชตฺวา วิสิพฺเพตฺวา
ทหรสามเณเรหิ สทฺธึ สลฺลปนฺโต ปฐมยามํ นิสีทติ. (๒/๖/๙๓)
เตสุ (ทฺวีสุ ภิกฺขูสุ) เอโก (ภิกฺขุ) สกาลสฺเสว (สมยสฺส) ทารูนิ อาหริตฺวา องฺคารกปลฺลํ สชฺเชตฺวา
วิสิพฺเพตฺวา ทหรสามเณเรหิ สทฺธึ สลฺลปนฺโต ปฐมยามํ นิสีทติ.
ในบรรดาภิกษุ ๒ รูปเหล่านั้น ภิกษุรูปหนึ่ง น�ำฟืนทั้งหลายมาโดยสมัยอันเป็นไปกับ
ด้วยกาลนั่นแหละ (แต่เช้าตรู่เลยทีเดียว) ตระเตรียมกระเบื้องรองถ่านเพลิง ผิงแล้ว
ย่อมนั่งสนทนากับด้วยภิกษุหนุ่มและสามเณรทั้งหลายตลอดปฐมยาม
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
250 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๒. ตาสุุ สุุธมฺฺมา วฑฺฺฒกิินา สทฺฺธึึ เอกโต หุุตฺฺวา “ภาติิก อิิมิิสฺฺสา สาลาย มํํ เชฏฺฺฐกํํ
กโรหีีติิ วตฺฺวา ลญฺฺจํํ อทาสิิ. (๒/๗/๑๐๐)
ตาสุุ (ภริิยาสุุ) สุุธมฺฺมา วฑฺฺฒกิินา สทฺฺธึึ เอกโต หุุตฺฺวา “(ตฺฺวํ)ํ ภาติิก อิิมิิสฺฺสา สาลาย มํํ เชฏฺฺฐกํํ
กโรหีติ วตฺวา ลญฺจํ อทาสิ.
ในบรรดาภรรยาเหล่านั้น นางสุธัมมา ร่วมมือกับช่างไม้ ได้ให้ค่าจ้าง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๓. เตสุ เอเกโก ปณฺณาสโยชนายาโม. (๒/๑/๑๐๔)
เตสุ (ทนฺเตสุ) เอเกโก (ทนฺโต) ปณฺณาสโยชนายาโม (โหติ).
ในบรรดางาเหล่านั้น งาอันหนึ่งๆ ยาว ๑๕ โยชน์
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๔. เตสํ โว กตเรสุ พลวสิเนโห โหติ. (๒/๙/๑๕๖)
เตสํ (ปุตฺตานํ) โว กตเรสุ (ปุตฺเตสุ) พลวสิเนโห โหติ.
ความรักอันมีก�ำลังย่อมมีแก่ท่าน บรรดาบุตรเหล่านั้น ในบุตรเหล่าไหน?
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๕. เตสุ หิ เอโก ปาณาติปาตาเวรมณีสิกฺขาปทเมว รกฺขติ. (๗/๗/๒๐)
เตสุ (อุปาสเกสุ) หิ เอโก (อุปาสโก) ปาณาติปาตาเวรมณีสิกฺขาปทํ เอว รกฺขติ.
ก็ ในบรรดาอุบาสกเหล่านั้น อุบาสกคนหนึ่ง ย่อมรักษาสิกขาบทเป็นเหตุงดเว้นจาก
ปาณาติบาตเท่านั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 251

๓๖. เอวํ เทเสนฺตสฺส ปน ตถาคตสฺส สนฺติเก นิสินฺนานํ เตสํ เอโก นิสินฺนโก ว


นิทฺทายิ. (๗/๙/๒๕)
เอวํ เทเสนฺตสฺส ปน ตถาคตสฺส สนฺติเก นิสินฺนานํ เตสํ (อุปาสกานํ) เอโก (อุปาสโก)
นิสินฺนโก ว นิทฺทายิ.
ก็ บรรดาอุบาสกเหล่านั้นผู้นั่งในส�ำนักของพระตถาคตผู้ทรงแสดงอยู่อย่างนี้ อุบาสก
คนหนึ่ง ผู้นั่งนั่นแหละประพฤติหลับแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๗. เอเตสุ หิ โย เอส นิทฺทายนฺโต นิสินฺโน. (๗/๙/๒๕)
เอเตสุ (อุปาสเกสุ) หิ โย เอโส (อุปาสโก) นิทฺทายนฺโต นิสินฺโน.
ก็ ในบรรดาอุบาสกเหล่านั่น อุบาสกนั่นใด นั่งประพฤติหลับอยู่แล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๘. สงฺขาราติ: ปญฺจกฺขนฺธา, เตสุ เอโก สสฺสโต นาม นตฺถิ. (๗/๑๒/๔๐)
สงฺขาราติ: ปญฺจกฺขนฺธา, เตสุ (ปญฺจกฺขนฺเธสุ) เอโก (ขนฺโธ) สสฺสโต นาม นตฺถิ.
ขันธ์ ๕ ชื่อว่า สงฺขารา, ในบรรดาขันธ์ ๕ เหล่านั้น ขันธ์หนึ่ง ขึ้นชื่อว่าเป็นสภาพเที่ยง
ย่อมไม่มี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๙. เตสุ เอโก เตปิฏกตฺเถโร ธมฺมํ โอสาเรสิ. (๗/๓/๔๔)
เตสุ (ทฺวีสุ ภิกฺขูสุ) เอโก เตปิฏกตฺเถโร ธมฺมํ โอสาเรสิ.
ในบรรดาภิกษุ ๒ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎกรูปหนึ่ง ร่ายธรรม
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
252 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๐. เตสุ กิร เอกจฺจานํ เอวํ อโหสิ “มยํ สมฺปนฺนสีลา, มยํ ธุตงฺคธรา, มยํ พหุสฺสุตา...
อิจฺฉิตทิวเสเยว อรหตฺตํ ปาปุณิสฺสามาติ. (๗/๙/๕๕)
เตสุ (ภิกฺขูสุ) กิร เอกจฺจานํ (ภิกฺขูนํ) เอวํ (จินฺตนํ) อโหสิ “มยํ สมฺปนฺนสีลา (อมฺห), มยํ
ธุตงฺคธรา (อมฺห), มยํ พหุสฺสุตา (อมฺห)..., (มยํ อมฺเหหิ) อิจฺฉิตทิวเส เอว อรหตฺตํ
ปาปุณิสฺสามาติ.
ได้ยินว่า ความคิดอย่างนี้ว่า “พวกเราเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล, พวกเราเป็นผู้ทรงธุดงค์,
พวกเราเป็นผู้มีสุตะมาก,... พวกเราจักบรรลุพระอรหัตในวันที่พวกเราปรารถนาแล้ว
นั่นแหละ” ดังนี้ ได้มีแล้ว ในบรรดาภิกษุเหล่านั้น แก่ภิกษุพวกหนึ่ง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๑. เตสุ เอโก ตตฺเถว โอหียิ. (๗/๓/๖๓)
เตสุ (ภิกฺขูสุ) เอโก (ภิกฺขุ) ตตฺถ เอว (ฐาเน) โอหียิ.
บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุรูปหนึ่ง ล้าอยู่แล้วในที่นั้นนั่นแหละ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๒. เตสุ เอโก สฏฺฐิวสฺโส, เอโก เอกูนสฏฺฐิวสฺโส. (๗/๔/๖๖)
เตสุ (เถเรสุ) เอโก (เถโร) สฏฺฐิวสฺโส (โหติ), เอโก (เถโร) เอกูนสฏฺฐิวสฺโส (โหติ).
บรรดาพระเถระเหล่านั้น พระเถระรูปหนึ่ง มีพรรษา ๖๐, อีกรูปหนึ่ง มีพรรษา ๕๙
วิธีการแปลรวบข้อความ 253

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๓. เตสุ กิญฺจาปิ เอตฺตกํ กาลํ เอโกปิ วิสุํ ปิณฺฑาย ปวิฏฺฐปุพฺโพ นาม นตฺถิ.
(๗/๔/๖๗)
เตสุ (ภิกฺขูสุ) กิญฺจาปิ เอตฺตกํ กาลํ เอโกปิ (ภิกฺขุ) วิสุํ ปิณฺฑาย ปวิฏฺฐปุพฺโพ นาม นตฺถิ.
ในบรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุแม้รูปหนึ่ง ชื่อว่าเคยเข้าไปเพื่อบิณฑบาตต่างหาก สิ้น
กาลมีประมาณเท่านี้ ย่อมไม่มี แม้ก็จริง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๔. เตสุ เอกสฺส ปุราณทุติยิกา มธุรปาณิกา นาม. (๗/๖/๗๔)
เตสุ (ภิกฺขูสุ) เอกสฺส (ภิกฺขุโน) ปุราณทุติยิกา มธุรปาณิกา นาม.
ภรรยาเก่าของภิกษุรูปหนึ่งในบรรดาภิกษุเหล่านั้น ชื่อว่ามธุรปาณิกา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๕. ตตฺถ “อกฺโกจฺฉีติ: อกฺโกสิ. (๑/๓/๔๑)
ตตฺถ (ปเทสุ) “อกฺโกจฺฉีติ: (ปทสฺส) “อกฺโกสิ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “อกฺโกจฺฉิ” ความว่า ด่าแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
254 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔๖. ตตฺถ “สุภานุปสฺสินฺติ: สุภํ อนุปสฺสนฺตํ. (๑/๖/๖๗)


ตตฺถ (ปเทสุ) “สุภานุปสฺสินฺติ: (ปทสฺส) “(อารมฺมณํ) สุภํ อนุปสฺสนฺตํ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “สุภานุปสฺส”ึ ความว่า ผู้ตามเห็นอารมณ์ว่างาม
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๗. ตตฺถ “อนิกฺกสาโวติ: กามราคาทีหิ กสาเวหิ สกสาโว. (๑/๗/๗๔)
ตตฺถ (ปเทสุ) “อนิกฺกสาโวติ: (ปทสฺส) “กามราคาทีหิ กสาเวหิ สกสาโว” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “อนิกฺกสาโว” ความว่า ผู้มีกิเลสดุจน�้ำฝาด ด้วยกิเลสดุจน�้ำ
ฝาดทั้งหลายมีกามราคะเป็นต้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๘. ตตฺถ “อคารนฺติ: ยงฺกิญฺจิ เคหํ. (๑/๙/๑๑๓)
ตตฺถ (ปเทสุ) “อคารนฺติ: (ปทสฺส) “ยงฺกิญฺจิ เคหํ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “อคารํ” ความว่า เรือนอย่างใดอย่างหนึ่ง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔๙. ตตฺถ “อิธาติ: อิธ โลเก กมฺมนนฺทเนน นนฺทติ. (๑/๑๓/๑๔๓)
ตตฺถ (ปเทสุ) “อิธาติ: (ปทสฺส) “อิธ โลเก กมฺมนนฺทเนน นนฺทติ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “อิธ” ความว่า ย่อมบันเทิง ด้วยความบันเทิงเพราะกรรม
ในโลกนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 255

๕๐. ตตฺถ “ราคสโมติ: ธูมาทีสุ กิญฺจิ อทสฺเสตฺวา อนฺโตเยว อุฏฺฐาย ฌายนวเสน


ราเคน สโม อคฺคิ นาม นตฺถิ. (๗/๙/๒๗)
ตตฺถ (ปเทสุ) “ราคสโมติ: (ปทสฺส) “ธูมาทีสุ (อากาเรสุ) กิญฺจิ (อาการํ) อทสฺเสตฺวา อนฺโต
เอว อุฏฺฐาย ฌายนวเสน ราเคน สโม อคฺคิ นาม นตฺถิ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “ราคสโม” ความว่า ขึ้นชื่อว่าไฟที่เสมอด้วยราคะ ด้วย
สามารถแห่งการไม่แสดงในบรรดาอาการมีควันเป็นต้น อาการอะไรๆ ตั้งขึ้นในภายใน
นั่นแหละแล้วเผาไหม้ ย่อมไม่มี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

๘. แปลรวบด้้วยอำำ�นาจของการล็็อคข้้อความ ข้้อสัังเกต การแปลรวบด้้วยอำำ�นาจ


การล็็อคข้้อความนี้้� ก็็เป็็นเพีียงการนำำ�เอาชื่่�อมาเรีียกให้้โดดเด่่นเท่่านั้้�นเอง เพื่่�อให้้เห็็นอีีก
แง่่มุุมหนึ่่�ง ซึ่่�งความจริิงแล้้ว ก็็อาศััยหลัักการแปลที่่�ผ่่านมานั่่�นแหละ เช่่น การแปลรวบ
ด้้วยอำำ�นาจภาวศััพท์์ ภาวตััทธิิต บทที่่�นำำ�คุุณศััพท์์มาทำำ�เป็็นฉััฏฐีีตััปปุุริิสสมาส บทที่่�ประกอบ
ด้้วย ตฺฺวาปััจจััยที่่�วางใกล้้กัับบทที่่�ประกอบด้้วย ยุุปััจจััย บทที่่�ประกอบด้้วย ตฺฺวาปััจจััยที่่�วาง
ใกล้้กัับบทที่่�ประกอบด้้วย ต, อนฺฺต และมานปััจจััยที่่�ไม่่ใช่่วิิภััตติิเดีียวกัันกัับประธาน ถ้้าเป็็น
วิิภััตติิเดีียวกัันกัับประธาน ต้้องเป็็นกััมมรููป หรืือเหตุุกััมมรููป การแปลรวบด้้วยอำำ�นาจของบท
ที่่�ประกอบด้้วย ตุํํ�ปััจจััย และประโยคนิิทธารณะ
256 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

แบบฝึึกหััดแปล/สััมพัันธ์์
๑. สตฺถา... จุลฺลธมฺมปาลภูเต อตฺตนิ อปรชฺฌิตฺวา มหาปตาปราชภูตสฺส ตสฺส ปฐวึ
ปวิฏฺฐภาวํ ทีเปตุํ จุลฺลธมฺมปาลชาตกญฺจ กเถสิ. (๑/๑๒/๑๓๘-๙)
สตฺถา... จุลฺลธมฺมปาลภูเต อตฺตนิ อปรชฺฌิตฺวา มหาปตาปราชภูตสฺส ตสฺส (เทวทตฺตสฺส) ปฐวึ
ปวิฏฺฐภาวํ ทีเปตุํ จุลฺลธมฺมปาลชาตกํ จ กเถสิ.
พระศาสดา... ตรัสจุลลธัมมปาลชาดกด้วย เพื่อทรงแสดงความที่พระเทวทัตนั้น ผู้เป็น
พระราชาพระนามว่ามหาปตาปะ ทรงประพฤติผิดแล้วในพระองค์ผู้เป็นจุลลธัมมปาละ
เป็นผู้เข้าไปแล้วสู่แผ่นดิน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. อถสฺส อตฺตนา สทฺธึ เอกชฺฌาสยตํ ญตฺวา อุปติสฺโส อาห “สมฺม อมฺหากํ อุภินฺนํปิ
สุจินฺติตํ, โมกฺขธมฺมํ ปน คเวสิตุํ วฏฺฏติ, คเวสนฺเตหิ นาม เอกํ ปพฺพชฺชํ ลทฺธุํ
วฏฺฏติ, กสฺส สนฺติเก ปพฺพชามาติ. (๑/๘/๘๑)
อถ อสฺส (โกลิตสฺส อตฺตนา สทฺธึ เอกชฺฌาสยตํ ญตฺวา อุปติสฺโส อาห “สมฺม (การณํ)
อมฺหากํ อุภินฺนํปิ สุจินฺติตํ, (อมฺเหหิ) โมกฺขธมฺมํ ปน คเวสิตุํ วฏฺฏติ, คเวสนฺเตหิ นาม
(ปุคฺคเลหิ) เอกํ ปพฺพชฺชํ ลทฺธุํ วฏฺฏติ, (มยํ) กสฺส สนฺติเก ปพฺพชามาติ.
ทีนั้น อุปติสสะรู้ว่าโกลิตะนั้นเป็นผู้มีอัธยาศัยเหมือนกันกับตน จึงกล่าวว่า “แน่ะสหาย
พวกเราแม้ทั้งสองคิดเหตุดีแล้ว, ก็ การที่พวกเราแสวงหาโมกขธรรม ย่อมควร, การที่
บุคคลทั้งหลาย ธรรมดาว่าผู้แสวงหาอยู่ ได้การบวชอย่างหนึ่ง จึงจะควร, พวกเราจะ
บวชในส�ำนักของใคร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลรวบข้อความ 257

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. เถโร “สาธูติ คนฺตฺวา ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา ปาทตลโต ยาว เกสคฺคา
โอโลเกตฺวา “อติปณีตเมตํ รูปํ สุวณฺณวณฺณํ, อคฺคิมฺหิ นํ ปกฺขิปิตฺวา มหาชาลาหิ
คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา สกฏฺฐานเมว คนฺตฺวา นิสีทิ. (๑/๖/๖๔)
เถโร “สาธูติ (สมฺปฏิจฺฉิตฺวา) คนฺตฺวา (กาลึ) ปารุปนวตฺถํ นีหราเปตฺวา ปาทตลโต ยาว
เกสคฺคา โอโลเกตฺวา “อติปณีตํ เอตํ รูปํ สุวณฺณวณฺณํ (โหติ), (ตฺวํ) อคฺคิมฺหิ นํ (รูปํ)
ปกฺขิปิตฺวา (ตสฺส สรีรสฺส) มหาชาลาหิ คหิตกาเล มยฺหํ อาโรเจยฺยาสีติ วตฺวา สกฏฺฐานํ เอว
คนฺตฺวา นิสีทิ.
พระเถระรับว่า “เจริญพร” ไปแล้ว ให้นางกาลีน�ำผ้าห่มออกไปแล้ว แลดูตั้งแต่ฝ่าเท้า
จนถึงปลายผม แล้วกล่าวว่า “รูปนี้ประณีตยิ่งนัก มีสีดุจทองค�ำ, เธอใส่รูปนั้นเข้าไปใน
ไฟ แล้วพึงบอกแก่เราในเวลาที่สรีระนั้นถูกเปลวไฟใหญ่จับแล้ว” ดังนี้แล้ว ก็ไปสู่ที่พัก
ของตนนั่นแหละ นั่งแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
258 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔. ตตฺถ “ราคสโมติ: ธูมาทีสุ กิญฺจิ อทสฺเสตฺวา อนฺโตเยว อุฏฺฐาย ฌายนวเสน


ราเคน สโม อคฺคิ นาม นตฺถิ. (๗/๙/๒๗)
ตตฺถ (ปเทสุ) “ราคสโมติ: (ปทสฺส) “ธูมาทีสุ (อากาเรสุ) กิญฺจิ (อาการํ) อทสฺเสตฺวา อนฺโต
เอว อุฏฺฐาย ฌายนวเสน ราเคน สโม อคฺคิ นาม นตฺถิ” (อิติ อตฺโถ).
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า “ราคสโม” ความว่า ขึ้นชื่อว่าไฟที่เสมอด้วยราคะ ด้วย
สามารถแห่งการไม่แสดงในบรรดาอาการมีควันเป็นต้น อาการอะไรๆ ตั้งขึ้นในภายใน
นั่นแหละแล้วเผาไหม้ ย่อมไม่มี
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. อถ นํ รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริกฺขิปิตฺวา “คเหตฺวา ภูมิยํ โปเถสฺสามีติ เตน
นีหริตฺวา ทสฺสิตํ กาสาวํ ทิสฺวา... (๑/๗/๗๓)
อถ (โส หตฺถี) นํ (หตฺถิมารกํ) รุกฺเขน สทฺธึ โสณฺฑาย ปริกฺขิปิตฺวา “(อหํ) คเหตฺวา ภูมิยํ
โปเถสฺสามีติ (จินฺเตตฺวา) เตน (หตฺถิมารเกน) นีหริตฺวา ทสฺสิตํ กาสาวํ ทิสฺวา...
ทีีนั้้�น ช้้างใช้้งวงรวบนายพรานช้้างนั้้�นเข้้ากัับต้้นไม้้ คิิดว่่า “เราจัับแล้้ว จัักฟาดที่่�พื้้�น”
ดัังนี้้� เห็็นผ้้ากาสาวะที่่�นายพรานช้้างนั้้�นนำำ�ออกมาแสดงแล้้ว...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. ตาตา นานุจฺฉวิกํ รญฺญา กตํ เอวรูปํ สาสนํ สุตฺวา ตุมฺหากํ สตสหสฺสํ ททมาเนน.
(๔/๑๔/๑๗)
วิธีการแปลรวบข้อความ 259

ตาตา น อนุจฺฉวิกํ (กมฺมํ) รญฺญา กตํ เอวรูปํ สาสนํ สุตฺวา ตุมฺหากํ สตสหสฺสํ ททมาเนน.
แน่ะพ่อทั้งหลาย กรรมที่ไม่สมควรที่พระราชาผู้ทรงสดับข่าวสาส์นเห็นปานนี้ แล้ว
พระราชทานทรัพย์ ๑๐๐,๐๐๐ แก่พวกท่าน ทรงกระท�ำแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. โส ปุรโต คจฺฉนฺโต อุสุกาเร สรทณฺฑกํ อคฺคิมฺหิ ตาเปตฺวา อกฺขิโกฏิยา
โอโลเกตฺวา อุชุํ กโรนฺเต ทิสฺวา “ภนฺเต อิเม เก นามาติ ปุจฺฉิ. (๔/๕/๓๓-๔)
โส (สามเณโร) ปุรโต คจฺฉนฺโต อุสุกาเร สรทณฺฑกํ อคฺคิมฺหิ ตาเปตฺวา อกฺขิโกฏิยา
โอโลเกตฺวา อุชุํ กโรนฺเต ทิสฺวา “ภนฺเต อิเม (ชนา) เก นามาติ ปุจฺฉิ.
สามเณรนั้นเดินไปข้างหน้า เจอพวกช่างศรผู้ท�ำคันศรให้ร้อนที่ไฟ เล็งดูด้วยมุมหาง
ตา ท�ำ(ลูกศร)ให้ตรง ถามว่า “ท่านครับ พวกนี้ ชื่อว่าพวกไหน”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. กึ พุทฺธานํ สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา อุฏฺฐาย รตฺตินฺทิวํ สมณธมฺมํ กาตุํ น
วฏฺฏติ. (๒/๖/๙๓)
กึ (อมฺเหหิ) พุทฺธานํ สนฺติเก กมฺมฏฺฐานํ คเหตฺวา อุฏฺฐาย รตฺตินฺทิวํ สมณธมฺมํ กาตุํ น
วฏฺฏติ.
การที่พวกเราเรียนเอากรรมฐานในส�ำนักของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ลุกขึ้นแล้วจึงท�ำ
สมณธรรมตลอดคืนและวัน ย่อมไม่ควรหรือ?
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
260 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. เอวํ สกลชมฺพุทีปํ ปริคฺคณฺหิตฺวา นิวตฺติตฺวา สกฏฺานเมว อาคนฺตฺวา “สมฺม โกลิต


อมฺเหสุ โย ปมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส อาโรเจตูติ กติกํ อกํสุ. (๑/๘/๘๒)
(เต เทฺว สหายกา) เอวํ สกลชมฺพุทีปํ ปริคฺคณฺหิตฺวา นิวตฺติตฺวา สกฏฺานํ เอว อาคนฺตฺวา
“สมฺม โกลิต อมฺเหสุ โย (ปุคฺคโล) ปมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส (ปุคฺคโล) อาโรเจตูติ กติกํ
อกํสุ.
สองสหายเหล่านั้นก�ำหนดชมพูทวีปทั้งหมดอย่างนี้ กลับมาสู่ที่พักของตัวเองนั่นแหละ
ได้ท�ำกติกากันว่า “แน่ะโกลิตะผู้สหาย บรรดาเรา บุคคลใดบรรลุอมตธรรมก่อน, บุคคล
นั้นขอจงบอก”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. เตน ปตฺตํ โธวิตฺวา ปฏิสามิตกาเล จนฺทเทวปุตฺโต จนฺทมณฺฑลํ วิสฺสชฺเชสิ. (๔/๕/๓๗)
เตน (สามเณเรน) ปตฺตํ โธวิตฺวา ปฏิสามิตกาเล จนฺทเทวปุตฺโต จนฺทมณฺฑลํ วิสฺสชฺเชสิ.
จันทเทพบุตรปล่อยมณฑลแห่งพระจันทร์ ในเวลาที่สามเณรนั้นล้างบาตรแล้วเก็บง�ำ
เรียบร้อยแล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยคที่มี อุทาหุ หรือ โนศัพท์ 261

บทที่่� ๑๐
วิธีการแปลประโยคที่มี อุทาหุ หรือ โน ศัพท์
วิธีการแปลประโยคที่มี อุทาหุ (อาทู) ที่มีอรรถค�ำถาม(ปุจฺฉนตฺถ)นั้น ประโยคข้างหน้า
ท่านจะใส่ข้อความมาให้เต็ม ส่วนประโยคหลัง ท่านมักจะใส่เฉพาะที่แตกต่างมาให้เท่านั้น
เพราะฉะนั้น เมื่อนักเรียนจะแปลหรือสัมพันธ์ ก็ต้องโยคข้อความของประโยคข้างหน้าเข้ามา
ให้สมบูรณ์
เช่่น กึึ อกฺฺขีี โอโลเกสฺฺสสิิ อุุทาหุุ พุุทฺฺธสาสนํํ ? อนมตคฺฺคสฺฺมึึ หิิ สํํสารวฏฺฺเฏ ตว
อกฺขิกาณสฺส คณนา นตฺถิ. (๑/๑.จกฺขุปาล/๑๐)
(ตฺวํ) กึ อกฺขี โอโลเกสฺสสิ อุทาหุ (ตฺวํ) พุทฺธสาสนํ (โอโลเกสฺสสิ) ? อนมตคฺคสฺมึ หิ
สํสารวฏฺเฏ ตว อกฺขิกาณสฺส คณนา นตฺถิ.
อ.ท่่าน จัักแลดูู ซึ่่�งนััยน์์ตา ท. หรืือ หรืือว่่า อ.ท่่าน จัักแลดูู ซึ่่�งคำำ�สอนของ
พระพุุทธเจ้้า? จริิงอยู่่� อ.การนัับ ซึ่่�งการบอดแห่่งนััยน์์ตา ของท่่าน ในสัังสารวััฏ อัันมีีที่่สุ� ดุ และ
เบื้้อ� งต้้นอัันบุุคคลตามไปอยู่่�ไม่่รู้แ้� ล้้ว ย่่อมไม่่มี ี ฯ
ตฺฺวํํ สุุทธกััตตาใน โอโลเกสฺฺสสิิๆ อาขยาตบทกััตตุุวาจก กึึศััพท์์ ปุุจฉนัตั ถะ อกฺฺขี ี
อวุุตตกััมมะ ใน โอโลเกสฺฺสสิิ อุุทาหุุ ปุุจฉนัตั ถะ ตฺฺวํํ สุุทธกััตตาใน โอโลเกสฺฺสสิิๆ อาขยาตบทกััตตุุ-
วาจก พุุทฺฺธสาสนํํ อวุุตตกััมมะ ใน โอโลเกสฺฺสสิิ, หิิศัพั ท์์ ทััฬหีีกรณโชตกะ คณนา สุุทธกััต
ตาใน นตฺฺถิๆิ นิิบาตบทกััตตุุวาจก อนมตคฺฺคสฺฺมึึ วิิเสสนะของ สํํสารวฏฺฺเฏๆ วิิสยาธาระใน นตฺฺถิิ
ตว สามีีสัมพั ั นั ธะใน อกฺฺขิกิ าณสฺฺสๆ ฉััฏฐีีอวุุตตกััมมะใน คณนา ฯ
262 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

แบบฝึึกหััดแปล/สััมพัันธ์์
๑. สา ตํํ สุุตฺฺวา “ปุุตฺฺตํํ นุุ โข วิิชาตา อุุทาหุุ ธีีตรํํ, ปสฺฺสิสฺิ ฺสามิิ นนฺฺ ติิ ปวิิสิตฺิ ฺวา
ปสฺฺสนฺฺ ตีี วิิย ทารกํํ คเหตฺฺวา ขาทิิตฺฺวา คตา. (๑/๔/๔๕)
สา (ยกฺฺขินีิ ี) ตํํ (วจนํํ) สุุตฺฺวา “(สหายิิกา) ปุุตฺฺตํํ นุุ โข วิิชาตา อุุทาหุุ (สหายิิกา) ธีีตรํํ
(วิิชาตา), (อหํํ) ปสฺฺสิสฺิ ฺสามิิ นํํ (ทารกํํ) อิิติิ (วตฺฺวา) ปวิิสิตฺิ ฺวา ปสฺฺสนฺฺ ตีี วิิย ทารกํํ คเหตฺฺวา
ขาทิิตฺฺวา คตา.
นางยัักษิิณีนั้้ี น� ฟัังคำำ�นั้้�นแล้้ว ก็็พููดว่่า “เพื่่�อนหญิิงคลอดลููกชายหรืือลููกสาวหนอ, เราจะ
เยี่่�ยมเด็็ก” ดัังนี้้�แล้้ว จึึงเข้้าไป(ยัังห้้อง) ทำำ�ทีีว่า่ เยี่่�ยมอยู่่� ก็็คว้้าเด็็กขึ้้น� มาเคี้้ย� วกิิน เสร็็จ
แล้้วจึึงไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. คามทฺฺวารํํ ปตฺฺวา ภิิกฺฺขุุสงฺฺโฆ อุุชฺฺฌายิิ “กิินฺฺนาเมตํํ สตฺฺถารา กตํํ, ตฺฺวา นุุ โข
กตํํ อุุทาหุุ อชานิิตฺฺวา ?, หิิยฺฺโย จุุลฺฺลกาลสฺฺส ปุุรโต คตตฺฺตา ปพฺฺพชฺฺชนฺฺตราโย
ชาโต, อชฺช อฺสฺส ปุรโต คตตฺตา อนฺตราโย นาโหสิ, อิทานิ สตฺถา มหากาลํ
นิวตฺเตตฺวา อาคโต, สีลวา โข ปน ภิกฺขุ อาจารสมฺปนฺโน; กริสฺสนฺติ นุ โข ตสฺส
ปพฺพชฺชนฺตรายนฺติ. (๑/๖/๖๖)
คามทฺวารํ ปตฺวา ภิกฺขุสงฺโฆ อุชฺฌายิ “กึ นาม เอตํ (กมฺมํ) สตฺถารา กตํ, (กมฺมํ สตฺถารา)
ตฺวา นุ โข กตํ อุทาหุ (กมฺมํ สตฺถารา) อชานิตฺวา (กตํ) ?, หิยฺโย จุลฺลกาลสฺส ปุรโต
คตตฺตา ปพฺพชฺชนฺตราโย ชาโต, อชฺช อฺสฺส (ภิกฺขุโน) ปุรโต คตตฺตา อนฺตราโย น อโหสิ,
อิทานิ สตฺถา มหากาลํ นิวตฺเตตฺวา อาคโต, สีลวา โข ปน ภิกฺขุ อาจารสมฺปนฺโน (โหติ);
(ตา อิตฺถิโย) กริสฺสนฺติ นุ โข ตสฺส (มหากาลสฺส) ปพฺพชฺชนฺตรายนฺติ.
ภิิกษุุสงฆ์์พอถึึงประตููหมู่่�บ้้านก็็โพนทะนาว่่า “พระศาสดาทรงทำำ�กรรมอะไรนั่่�น, ทรง
ทราบแล้้วทำำ�หรืือว่่าไม่่ทรงทราบแล้้วทำำ�, เมื่่�อวาน เกิิดอัันตรายแห่่งการบวชขึ้้�น
วิธีการแปลประโยคที่มี อุทาหุ หรือ โนศัพท์ 263

เพราะพระจุุลกาลไปก่่อน, วัันนี้้� ไม่่มีีอัันตรายเพราะพระรููปอื่่�นไปก่่อน, บััดนี้้� พระ


ศาสดาให้้พระมหากาลกลัับ แล้้วเสด็็จมา, ก็็ภิิกษุุเป็็นผู้้�มีีศีีล ถึึงพร้้อมด้้วยอาจาระ,
พวกหญิิงเหล่่านั้้�นจะทำำ�อัันตรายแห่่งการบวชของท่่านหรืือเปล่่าหนอ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. “กึึ ทิิวา ธมฺฺมสฺฺสวนํํ คจฺฺฉิสฺิ ฺสสิิ อุุทาหุุ รตฺฺตึึ ? ปารุุปนสฺฺส หิิ อภาเวน น สกฺฺกา
อมฺฺเหหิิ เอกโต คนฺฺ ตุุนฺฺติ.ิ (๕/๑/๑)
(พฺฺราหฺฺมโณ) “(ตฺฺวํ)ํ กึึ ทิิวา ธมฺฺมสฺฺสวนํํ คจฺฺฉิสฺิ ฺสสิิ อุุทาหุุ (ตฺฺวํ)ํ รตฺฺตึึ (ธมฺฺมสฺฺสวนํํ คจฺฺฉิสฺิ ฺสสิิ) ?
ปารุุปนสฺฺส หิิ อภาเวน น สกฺฺกา อมฺฺเหหิิ เอกโต คนฺฺ ตุุนฺฺติิ (อาห).
พราหมณ์์กล่่าวว่่า “เธอจัักไปสู่่�ที่่�ฟัังธรรมในเวลากลางวัันหรืือ หรืือว่่าจัักไปในเวลา
กลางคืืน? เพราะว่่า พวกเราไม่่สามารถเพื่่�อจะไปพร้้อมกัันได้้ เพราะความไม่่มีีผ้้าห่่ม”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
264 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔. โส ปริิหีนี ลาภสกฺฺกาโร โกหฺฺเน ชีีวิตุิ ุกาโม สตฺฺถารํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา ปฺฺจ วตฺฺถููนิิ


ยาจิิตฺฺวา ภควตา “อลํํ เทวทตฺฺต, โย อิิจฺฺฉติ,ิ อารฺฺโก โหตููติิ ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต,
“กสฺฺสาวุุโส วจนํํ โสภณํํ: กึึ ตถาคตสฺฺส อุุทาหุุ มม ? อหํํ หิิ อุุกฺฺกฏฺฺวเสน เอวํํ
วทามิิ ‘สาธุุ ภนฺฺ เต ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํํ อรฺฺิิกา อสฺฺสุ,ุ ปิิ ณฺฺฑปาติิกา, ปํํสุกููลิุ กิ า,
รุุกฺฺขมููลิิกา, มจฺฺฉมํสํํ ํ น ขาเทยฺฺยุนฺุ ฺ ติ,ิ โย ทุุกฺฺขา มุุจฺฺจิตุิ ุกาโม, โส มยา สทฺฺธึึ
อาคจฺฺฉตููติิ วตฺฺวา ปกฺฺกามิิ. (๑/๑๒.เทวทตฺฺต/๑๓๒)
โส (เทวทตฺฺโต) ปริิหีนี ลาภสกฺฺกาโร โกหฺฺเน ชีีวิตุิ ุกาโม (หุุตฺฺวา) สตฺฺถารํํ อุุปสงฺฺกมิิตฺฺวา ปฺฺจ
วตฺฺถููนิิ ยาจิิตฺฺวา ภควตา “อลํํ เทวทตฺฺต, โย (ภิิกฺฺขุ)ุ อิิจฺฺฉติ,ิ (โส ภิิกฺฺขุ)ุ อารฺฺโก โหตููติิ
ปฏิิกฺฺขิตฺิ ฺโต “กสฺฺส อาวุุโส วจนํํ โสภณํํ (โหติิ): กึึ ตถาคตสฺฺส (วจนํํ โสภณํํ โหติิ) อุุทาหุุ มม
(วจนํํ โสภณํํ โหติิ) ? อหํํ หิิ อุุกฺฺกฏฺฺวเสน เอวํํ วทามิิ ‘สาธุุ ภนฺฺ เต ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํํ อรฺฺิิกา
อสฺฺสุ,ุ (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ ปิิ ณฺฺฑปาติิกา (อสฺฺสุ)ุ , (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ ปํํสุกููลิ
ุ กิ า (อสฺฺสุ)ุ , (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ
รุุกฺฺขมููลิิกา (อสฺฺสุ)ุ , (ภิิกฺฺขูู ยาวชีีวํ)ํ มจฺฺฉมํสํํ ํ น ขาเทยฺฺยุนฺุ ฺ ติ,ิ โย (ภิิกฺฺขุ)ุ ทุุกฺฺขา มุุจฺฺจิตุิ ุกาโม
(โหติิ), โส (ภิิกฺฺขุ)ุ มยา สทฺฺธึึ อาคจฺฺฉตููติิ วตฺฺวา ปกฺฺกามิิ.
พระเทวทััตนั้้�น เสื่่อ� มจากลาภและสัักการะ เป็็ นผู้้ป� ระสงค์์จะเป็็ นอยู่่�ด้้วยความหลอก
ลวง เข้้าไปเฝ้้าพระศาสดา ทููลขอวััตถุุ ๕ ประการ ถููกพระผู้้มี� พี ระภาคเจ้้าตรััสห้้ามว่่า
“ดููก่่อนเทวทััต อย่่าเลย, ภิิกษุุใดย่่อมปรารถนา, ภิิกษุุนั้้น� จงเป็็ นผู้้อ� ยู่่�ป่่าเป็็ นวััตรเถิิด”
กล่่าวว่่า “ดููก่่อนท่่านผู้้มี� อี ายุุ คำำ�ของใครงาม พระดำำ�รััสพระตถาคตหรืือคำำ�ของเรา, ด้้วย
ว่่า เรากล่่าวอย่่างนี้้�ว่า่ ‘ข้้าแต่่พระองค์์ผู้เ้� จริิญ ขอประทานวโรกาส ภิิกษุุทั้้ง� หลาย พึึง
เป็็ นผู้้อ� ยู่่�ในป่่าเป็็ นวััตรตลอดชีีวิติ พึึงเป็็ นผู้้มี� กี ารเที่่�ยวไปเพื่่�อบิิณฑบาต พึึงเป็็ นผู้้มี� กี าร
ทรงไว้้ซึ่่�งผ้้าบัังสุุกุุลเป็็ นวััตร พึึงเป็็ นผู้้มี� กี ารอยู่่�โคนต้้นไม้้เป็็ นวััตร ไม่่พึึงฉัันปลาและ
เนื้้�อ” ด้้วยสามารถแห่่งการปฏิิบัติั อิ ย่่างสููงสุุด, ภิิกษุุใดเป็็ นผู้้ป� ระสงค์์จะพ้้นจากความ
ทุุกข์์, ภิิกษุุนั้้น� จงมากัับเรา” ดัังนี้้�แล้้ว ก็็หลีีกไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยคที่มี อุทาหุ หรือ โนศัพท์ 265

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
266 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๕. อถ นํ มาณโว “กึ ปน ปญฺญายมานสฺสตฺถาย โรทนฺโต พาโล โหติ, อุทาหุ


อปญฺญายมานสฺสาติ วตฺวา... (๑/๒/๒๗)
อถ นํํ (พฺฺราหฺฺมณํํ) มาณโว “(ปุุคฺฺคโล) กึึ ปน ปฺฺายมานสฺฺส (วตฺฺถุุโน) อตฺฺถาย โรทนฺฺ โต
พาโล โหติิ, อุุทาหุุ (ปุุคฺฺคโล) อปฺฺายมานสฺฺส (วตฺฺถุุโน อตฺฺถาย โรทนฺฺ โต พาโล โหติิ) อิิติิ
วตฺฺวา...
ทีีนั้้น� มาณพกล่่าวกัับพราหมณ์์นั้้น� ว่่า “ก็็บุุคคลผู้้ร้้� องไห้้เพื่่�อต้้องการสิ่่�งที่่�ปรากฏอยู่่�
เป็็ นคนโง่่ หรืือผู้้ร้้� องไห้้เพื่่�อต้้องการสิ่่�งที่่�ไม่่ปรากฏอยู่่� เป็็ นคนโง่่” ...
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. เทวตา นุุสิ ิ คนฺฺ ธพฺฺโพ อาทูู สกฺฺโก ปุุรินฺิ ฺ ทโท. (๑/๒/๒๘)
(ตฺฺวํ)ํ เทวตา นุุ อสิิ (อุุทาหุุ ตฺฺวํ)ํ คนฺฺ ธพฺฺโพ (อสิิ) อาทูู (ตฺฺวํ)ํ สกฺฺโก ปุุรินฺิ ฺ ทโท (อสิิ).
ท่่านเป็็ นเทวดาหรืือเป็็ นคนธรรพ์์ หรืือเป็็ นท้้าวสัักกะผู้้เ� คยให้้ทานในกาลก่่อน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๗. “ตาตา กิินฺฺนุุ โข อิิมสฺฺมึึ โลเก ทนฺฺธา พหูู อุุทาหุุ ปณฺฺฑิิตาติิ. (๑/๘/๘๕)
(สญฺชโย) “ตาตา กินฺนุ โข อิมสฺมึ โลเก ทนฺธา (ชนา) พหู (โหนฺติ) อุทาหุ ปณฺฑิตา (ชนา
พหู โหนฺติ)” อิติ (อาห).
สััญชััยปริิพาชกกล่่าวว่่า “ดููก่่อนพ่่อทั้้�งหลาย พวกคนที่่�โง่่มีีจำำ�นวนมากในโลกนี้้�หรืือ
หนอแล หรืือว่่า พวกคนที่่�เป็็นบััณฑิิต มีีจำำ�นวนมาก”
วิธีการแปลประโยคที่มี อุทาหุ หรือ โนศัพท์ 267

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
-------------------

วิธีการแปลประโยคที่ใช้ โนศัพท์ ปฏิเสธในประโยคหลัง จะเขียนแต่เฉพาะ โนศัพท์


ไว้เท่านั้น เวลาแปลและสัมพันธ์ นักเรียนต้องโยคข้อความของประโยคข้างหน้าใส่เข้ามาให้
สมบูรณ์
เช่น กุมฺภกาโร “ปฐมาคโต อิมินา สทฺธึ เอกโต วสิตุกาโม ภเวยฺย วา โน วา,
อตฺตานํ ปริโมเจสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “สเจ ภนฺเต ปฐมุปคโต โรเจสฺสติ, ตสฺส รุจิยา
วสถาติ อาห. (๑/๓/๓๗)
กุมฺภกาโร “ปฐมาคโต (ตาปโส) อิมินา (ตาปเสน) สทฺธึ เอกโต วสิตุกาโม ภเวยฺย วา
โน วา (ปฐมาคโต ตาปโส อิมินา ตาปเสน สทฺธึ เอกโต วสิตุกาโม ภเวยฺย), (อหํ) อตฺตานํ
ปริโมเจสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “สเจ ภนฺเต ปฐมุปคโต (ตาปโส) โรเจสฺสติ, (ตุมฺเห) ตสฺส (ตาปสสฺส)
รุจิยา วสถาติ อาห.
อ.บุุคคลผู้้�กระทำำ�ซึ่่�งหม้้อ คิิดแล้้ว ว่่า “อ.ดาบส ผู้้�มาแล้้วก่่อน เป็็นผู้้�ใคร่่เพื่่�ออัันอยู่่�
โดยความเป็็นอัันเดีียวกััน กัับ ด้้วยดาบสนี้้� พึึงเป็็น หรืือ หรืือว่่า อ.ดาบส ผู้้�มาแล้้วก่่อน เป็็นผู้้�
ใคร่่เพื่่�ออัันอยู่่� โดยความเป็็นอัันเดีียวกััน กัับ ด้้วยดาบสนี้้� ไม่่พึึงเป็็น, อ.เรา จัักเปลื้้�อง ซึ่่�งตน”
ดัังนี้้� กล่่าวแล้้ว ว่่า “ข้้าแต่่ท่่านผู้้�เจริิญ ถ้้าว่่า อ.ดาบส ผู้้�เข้้าถึึงแล้้วก่่อน จัักชอบใจ ไซร้้, อ.ท่่าน
ขอจงอยู่่� ตามความชอบใจ ของดาบสนั้้�นเถิิด” ดัังนี้้� ฯ
กุมฺภกาโร สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “ปฐมาคโต วิเสสนะ
ของ ตาปโสๆ สุทธกัตตาใน ภเวยฺยๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อิมินา วิเสสนะของ ตาปเสนๆ
สหัตถตติยาเข้ากับ สทฺธึๆ คุณสมวายะใน เอกโตๆ ตติยาวิเสสนะใน วสิตุกาโมๆ วิกติ-
กัตตาใน ภเวยฺย วา สองศัพท์ วากยวิกัปปัตถะเข้ากับ ปฐมาคโต อิมินา สทฺธึ เอกโต
วสิตุกาโม ภเวยฺย และ โน ปฐมาคโต อิมินา สทฺธึ เอกโต วสิตุกาโม ภเวยฺย, ปฐมาคโต
วิเสสนะของ ตาปโสๆ สุทธกัตตาใน ภเวยฺยๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก โนศัพท์ ปฏิเสธะ
ใน ภเวยฺย อิมินา วิเสสนะของ ตาปเสนๆ สหัตถตติยาเข้ากับ สทฺธึๆ ทัพพสมวายะใน
268 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

เอกโตๆ ตติยาวิเสสนะใน วสิตุกาโมๆ วิกติกัตตาใน ภเวยฺย, อหํ สุทธกัตตาใน


ปริโมเจสฺสามิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อตฺตานํ อวุตตกัมมะใน ปริโมเจสฺสามิ” อิติศัพท์
อาการะใน จินฺเตตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อาห “ภนฺเต อาลปนะ สเจ ปริกัปปัตถะ
ปฐมุปคโต วิเสสนะของ ตาปโสๆ สุทธกัตตาใน โรเจสฺสติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก, ตุมฺเห
สุทธกัตตาใน วสถๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส วิเสสนะของ ตาปสสฺสๆ สามีสัมพันธะใน
รุจิยาๆ ตติยาวิเสสนะใน วสถ” อิติศัพท์ อาการะใน อาห ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อายสฺมา หิ มหากสฺสโป... เอกํ สาลิกฺเขตฺตปาลิกํ อิตฺถึ สาลิสีสานิ คเหตฺวา ลาเช
กุรุมานํ ทิสฺวา “สทฺธา นุ โข อสฺสทฺธาติ วีมํสิตฺวา “สทฺธาติ ญตฺวา “สกฺขิสฺสติ นุ
โข เม สงฺคหํ กาตุํ โนติ อุปธาเรนฺโต... (๕/๓.ลาชเทวธีตา/๖)
อายสฺฺมา หิิ มหากสฺฺสโป... เอกํํ สาลิิกฺฺเขตฺฺตปาลิิกํํ อิิตฺฺถึึ สาลิิสีีสานิิ คเหตฺฺวา ลาเช กุุรุุมานํํ
ทิิสฺฺวา “(อยํํ อิิตฺฺถีี) สทฺฺธา นุุ โข (โหติิ อุุทาหุุ อยํํ อิิตฺฺถีี) อสฺฺสทฺฺธา (โหติิ)” อิิติิ
วีีมํํสิิตฺฺวา “(อยํํ อิิตฺฺถีี) สทฺฺธา (โหติิ)” อิิติิ ญตฺฺวา “(อยํํ อิิตฺฺถีี) สกฺฺขิิสฺฺสติิ นุุ โข เม สงฺฺคหํํ
กาตุํํ� (อุุทาหุุ อยํํ อิิตฺฺถีี) โน (สกฺฺขิิสฺฺสติิ เม สงฺฺคหํํ กาตุํํ�)” อิิติิ อุุปธาเรนฺฺโต...
ดัังจะกล่่าวโดยพิิสดาร พระมหากััสสปะผู้้�มีีอายุุ เห็็นหญิิงผู้้�รัักษานาข้้าวสาลีีคนหนึ่่�ง
ผู้้�ถืือรวงข้้าวสาลีีทั้้�งหลาย แล้้วคั่่�วให้้เป็็นข้้าวตอก พิิจารณาว่่า “นางมีีศรััทธาหรืือหนอ
แล หรืือว่่าไม่่มีีศรััทธา” รู้้�ว่่า “มีีศรััทธา” ใคร่่ครวญว่่า “นางจัักสามารถเพื่่�อจะทำำ�การ
สงเคราะห์์แก่่เราหรืือหนอ หรืือว่่า ไม่่สามารถเพื่่�อจะทำำ�การสงเคราะห์์ได้้”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค ย - ต 269

บทที่ ๑๑
วิธีการแปลประโยค ย - ต
วิิธีีการแปลประโยค ย - ต นั้้�น ประโยค ย จะวางไว้้ข้้างหน้้าหรืือข้้างหลัังก็็ตาม ถ้้า
แปลโดยพยััญชนะ ต้้องแปลก่่อนเสมอ ยกเว้้นประโยค ย วางไว้้ท่่ามกลางประโยค ต ให้้แปล
กิิริิยาของประโยค ต ข้้ามประโยค ย ไปหากิิริิยาของประโยค ต บทต่่อไป แล้้วจึึงแปลย้้อนกลัับ
จนถึึงบทนามที่่�อยู่่�ติิดกัับประโยค ย นั้้�น ให้้แปลออกวิิภััตติิของบทนามนั้้�น เสร็็จเรีียบร้้อยทิ้้�ง
ไว้้ จึึงค่่อยเข้้าไปแปลประโยค ย จนหมด แล้้วให้้แปลรัับกััน
ส่วนการแปลโดยอรรถมีวิธีการแปล ๒ แบบ คือ (๑) แปลประโยค ย ก่อนเหมือนเดิม
โดยเป็นการแปลแยกประโยค แล้วจึงแปลประโยค ต ต่อท้าย (๒) แปลล้มประโยค จาก ๒
ประโยค รวมกันเป็นประโยคเดียวกัน กรณีอย่างนี้ ให้แปลจากประโยค ต ก่อน แล้วใช้ค�ำเชื่อม
ต่อประโยค ระหว่างประโยค ต กับประโยค ย เช่นใช้ค�ำเชื่อมว่า “โดยประการที่..., ที่..., อัน...,
ข้อที่..., ตลอดเวลา..., ตราบเท่าที่..., เมื่อคราวที่...” เป็นต้น
นอกจากนั้น ยศัพท์ที่ท�ำหน้าที่เป็นกิริยาปรามาส จะวางไว้ต้นประโยคประกอบด้วย
ทุติยาวิภัตติ บาลีสนามหลวงกล่าวว่า ยสฺมา ที่วางไว้ประโยคหน้า ตสฺมา ก็ท�ำหน้าที่เป็นกิริยา
ปรามาส เช่นกัน แต่คัมภีร์ปทรูปสิทธิกล่าวว่าลงในอรรถเหตุ

วิธีการวาง ย - ตศัพท์ มี ๕ รูปแบบ ดังนี้ คือ


(๑) วางประโยคที่มี ยศัพท์ไว้ข้างหน้า
เช่น ยสฺส โทโส อตฺถิ; ตสฺส มุทฺธา ผลตุ, มา นิทฺโทสสฺส. (๑/๓/๓๙)
อ.โทษ ของบุคคลใด มีอยู่, อ.ศีรษะ ของบุคคลนั้น จงแตก, อ.ศีรษะ ของ
บุคคล ผู้มีโทษออกแล้ว ขอจงอย่าแตก ฯ
(โทษของผู้ใดมีอยู่ ขอศีรษะของผู้นั้นจงแตก ผู้ไม่มีโทษ จงอย่าแตก)
โทโส สุทธกัตตาใน อตฺถิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ยสฺส วิเสสนะของ
ปุคฺคลสฺสๆ สามีสัมพันธะใน โทโส, มุทฺธา สุทธกัตตาใน ผลตุๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส
วิเสสนะของ ปุคฺคลสฺสๆ สามีสัมพันธะใน มุทฺธา, มุทฺธา สุทธกัตตาใน ผลตุๆ อาขยาตบท
กัตตุวาจก มาศัพท์ ปฏิเสธะใน ผลตุ นิทฺโทสสฺส วิเสสนะของ ปุคฺคลสฺสๆ สามีสัมพันธะใน
มุทฺธา ฯ
270 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

เช่น ตํ สุตฺวา เสฏฺฐิโน “ยํ กาเรมิ, ตํ น โหติ, ยํ น กาเรมิ, ตเทว


โหตีติ มหนฺตํ โทมนสฺสํ อุปฺปชฺชิ. (๒/๑.สามามวตี/๒๒)
อ.ความโทมนััส อัันใหญ่่ เกิิดขึ้้�นแล้้ว แก่่เศรษฐีี เพราะฟััง ซึ่่�งคำำ�นั้้�น
ว่่า “อ.เรา ยัังบุุคคล ย่่อมให้้ทำำ� ซึ่่�งกรรมใด, อ.กรรมนั้้�น ย่่อมไม่่มีี, อ.เรา ย่่อมไม่่ยัังบุุคคล
ให้้กระทำำ� ซึ่่�งกรรมใด, อ.กรรมนั้้�นนั่่�นเทีียว ย่่อมมีี” ดัังนี้้� ฯ
(ความเสีียใจเกิิดขึ้้�นแก่่เศรษฐีีเพราะฟัังคำำ�นั้้�น ว่่า เราให้้ทำำ�สิ่่�งใด สิ่่�งนั้้�น
ไม่่มีี เราไม่่ให้้ทำำ�สิ่่�งใด สิ่่�งนั้้�นนั่่�นแหละ ก็็มีี)
มหนฺตํ วิเสสนะของ โทมนสฺสํๆ สุทธกัตตาใน อุปฺปชฺชิๆ อาขยาตบท
กัตตุวาจก ตํ วิเสสนะของ วจนํๆ อวุตตกัมมะใน สุตฺวาๆ เหตุใน อุปฺปชฺชิ เสฏฺฐิโน สัมปทานใน
อุปฺปชฺชิ “อหํ เหตุกัตตา ใน กาเรมิ ๆ อาขยาตบทเหตุกัตตุวาจก ปุคฺคลํ การิตกัมมะใน กาเรมิ
ยํ วิเสสนะของ กมฺมํๆ อวุตตกัมมะใน กาเรมิ, ตํ วิเสสนะของ กมฺมํๆ สุทธกัตตาใน โหติๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก นศัพท์ ปฏิเสธใน โหติ, อหํ เหตุกัตตาใน กาเรมิๆ อาขยาตบท-
เหตุกัตตุวาจก ปุคฺคลํ การิตกัมมะใน กาเรมิ ยํ วิเสสนะของ กมฺมํๆ อวุตตกัมมะใน กาเรมิ
นศัพท์ ปฏิเสธะใน กาเรมิ, เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ตํๆ วิเสสนะ ของ กมฺมํๆ สุทธกัตตาใน
โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก” อิติศัพท์ สรูปะใน มหนฺตํ โทมนสฺสํ ฯ
เช่น โส “สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เคหํ คนฺตฺวา กนิฏฺฐํ
ปกฺโกสาเปตฺวา “ตาต ยํ อิมสฺมึ กุเล สวิญฺญาณกาวิญฺญาณกํ ธนํ กิญฺจิ อตฺถิ, สพฺพนฺตํ
ตว ภาโร, ปฏิปชฺชาหิ นนฺติ. (๑/๑/๖)
โส (มหาปาโล) “สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เคหํ คนฺตฺวา (ปุคฺคลํ)
กนิฏฺฐํ ปกฺโกสาเปตฺวา “ตาต ยํ อิมสฺมึ กุเล สวิญฺญาณกาวิญฺญาณกํ ธนํ กิญฺจิ อตฺถิ, สพฺพํ ตํ (ธนํ)
ตว ภาโร (โหตุ), (ตฺวํ) ปฏิปชฺชาหิ นํ (ธนํ)” อิติ (อาห).
อ.มหาปาละนั้้�น ทููลรัับพร้้อมแล้้ว ว่่า “อ.ดีีละ” ดัังนี้้� ถวายบัังคมแล้้ว
ซึ่่�งพระศาสดา ไปแล้้ว สู่่�เรืือน ยัังบุุคคล ให้้เรีียกมาแล้้ว ซึ่่�งน้้องชายผู้้�น้้อยที่่�สุุด กล่่าวแล้้ว ว่่า
“แน่่ะพ่่อ อ.ทรััพย์์ อะไรๆ อัันเป็็นไปกัับด้้วยวิิญญาณและไม่่มีีวิิญญาณ ใด มีีอยู่่� ในตระกููลนี้้�,
อ.ทรััพย์์นั้้�น ทั้้�งปวง เป็็นภาระ ของเธอ จงเป็็น, อ.เธอ จงปฏิิบััติิ ซึ่่�งทรััพย์์นั้้�น” ดัังนี้้� ฯ
(เขาทููลรัับว่่า “ดีีแล้้ว” ถวายบัังคมพระศาสดาแล้้ว ไปถึึงเรืือนแล้้ว ใช้้
ให้้คนไปเรีียกน้้องชายมา มอบทรััพย์์สมบััติิให้้กล่่าวว่่า “แน่่ะพ่่อ สวิิญญาณกทรััพย์์ก็็ดีี
อวิิญญาณกทรััพย์์ก็็ดีี อัันใดอัันหนึ่่�งบรรดามีีในตระกููลนี้้� ทรััพย์์นั้้�นทั้้�งหมดจงตกเป็็นภาระของ
วิธีการแปลประโยค ย - ต 271

เจ้้า เจ้้าจงดููแลทรััพย์์นั้้�นเถิิด”)
โส วิเสสนะของ มหาปาโลๆ สุทธกัตตาใน อาหๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก “สาธุ
สัมปฏิจฉนัตถลิงคัตถะ” อิติศัพท์ อาการะใน สมฺปฏิจฺฉิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วนฺทิตฺวา
สตฺถารํ อวุตตกัมมะใน วนฺทิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน คนฺตฺวา เคหํ สัมปาปุณียกัมมะใน
คนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปกฺโกสาเปตฺวา ปุคฺคลํ การิตกัมมะใน ปกฺโกสาเปตฺวา กนิฏฺฐํ
อวุตตกัมมะใน ปกฺโกสาเปตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน อาห “ตาต อาปลนะ ยํ ก็ดี สวิญฺญาณกา-
วิญฺญาณกํ ก็ดี กิญฺจิ ก็ดี วิเสสนะของ ธนํๆ สุทธกัตตาใน อตฺถิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
อิมสฺมึ วิเสสนะของ กุเลๆ วิสยาธาระใน อตฺถิ, สพฺพํ ก็ดี ตํ ก็ดี วิเสสนะของ ธนํๆ
สุทธกัตตาใน โหตุๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตว สามีสัมพันธะใน ภาโรๆ วิกติกัตตาใน
โหตุ, ตฺวํ สุทธกัตตาใน ปฏิปชฺชาหิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก นํ วิเสสนะของ ธนํๆ
อวุตตกัมมะใน ปฏิปชฺชาหิ” อิติศัพท์ อาการะใน อาห ฯ
(๒) วางประโยคที่มี ยศัพท์ไว้ข้างหลัง
เช่น อิธ โข ตํ ภิกฺขเว โสเภถ, ยํ ตุมฺเห เอวํ สวากฺขาเต ธมฺมวินเย
ปพฺพชิตา สมานา ขมา จ ภเวยฺยาถ โสรตา จ. (๑/๕.โกสมฺพิก/๕๑-๒)
อิธ (ธมฺมวินเย) โข ตํ (ตุมฺหากํ ขนฺติโสรจฺจํ) ภิกฺขเว โสเภถ, ยํ ตุมฺเห เอวํ
สวากฺขาเต ธมฺมวินเย ปพฺพชิตา สมานา ขมา จ ภเวยฺยาถ โสรตา จ.
ดูก่อนภิกษุ ท. อ.เธอ ท. เป็นผู้บวชแล้ว ในธรรมและวินัย อันอันเรากล่าว
ไว้ดีแล้ว อย่างนี้ เป็นอยู่ เป็นผู้อดทนด้วย เป็นผู้สงบเสงี่ยมด้วย พึงเป็น ใด, อ.ความอดทน
และสงบเสงี่ยม ของเธอ ท. นั้น พึงงาม ในธรรมและวินัยนี้แล ฯ
(ภิกษุทั้งหลาย ข้อที่เธอทั้งหลายผู้บวชแล้วในพระธรรมวินัยที่เรากล่าว
ดีแล้วอย่างนี้ ควรเป็นผู้อดทน และสงบเสงี่ยม จะพึงงามในพระธรรมวินัยนี้แล)
ภิกฺขเว อาลปนะ ตํ วิเสสนะของ ขนฺติโสรจฺจํๆ สุทธกัตตาใน โสเภถๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก อิธ วิเสสนะของ ธมฺมวินเยๆ วิสยาธาระใน โสเภถ โขศัพท์
วจนาลังการะ ตุมฺหากํ สามีสัมพันธะใน ขนฺติโสรจฺจํ, ตุมฺเห สุทธกัตตาใน ภเวยฺยาถๆ
อาขยาตบทกัตตุวาจก ยํ กิริยาปรามาส เอวํ กิริยาวิเสสนะใน สฺวากฺขาเตๆ วิเสสนะของ
ธมฺมวินเย ๆ วิสยาธาระใน ปพฺพชิตาๆ วิกติกัตตาใน สมานาๆ อัพภันตรกิริยาของ ตุมฺเห ขมา
ก็ดี โสรตา ก็ดี วิกติกัตตา ใน ภเวยฺยาถ จ สองศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ ขมา และ
โสรตา ฯ
272 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

(๓) วางประโยคที่มี ยศัพท์ไว้ตรงกลาง


เช่น เตปิ อนุปุพฺเพน เชตวนํ คนฺตฺวา สตฺถารญฺจ มหาเถเร จ เถรสฺส
วจเนน วนฺทิตฺวา ปุนทิวเส, ยตฺถ เถรสฺส กนิฏฺโฐ วสติ; ตํ วีถึ ปิณฺฑาย ปวิสึสุ. (๑/๑.
จกฺขุปาล/๑๓)
เตปิ (ภิกฺขู) อนุปุพฺเพน เชตวนํ คนฺตฺวา สตฺถารํ จ มหาเถเร จ เถรสฺส วจเนน
วนฺทิตฺวา ปุนทิวเส, ยตฺถ (วีถิยํ) เถรสฺส กนิฏฺโฐ วสติ; ตํ วีถึ ปิณฺฑาย ปวิสึสุ.
อ.ภิกษุ ท. แม้เหล่านั้น ไปแล้ว สู่พระวิหารชื่อว่าเชตวัน โดยล�ำดับ ถวาย
บังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดาด้วย ซึ่งพระมหาเถระ ท. ด้วย ตามค�ำ ของพระเถระ ในวันรุ่ง
ขึ้น เข้าไปแล้ว สู่-, อ.น้องชายผู้น้อยที่สุด ของพระเถระ ย่อมอยู่ ที่ถนนใด, -ถนนนั้น เพื่อ
บิณฑบาต
(ฝ่ายเธอทั้งหลายไปถึงพระเชตวันโดยล�ำดับ ถวายบังคมพระศาสดา และ
ไหว้พระมหาเถระทั้งหลาย ตามค�ำของพระเถระแล้ว, ครั้นรุ่งขึ้น เข้าไปสู่ถนนที่น้องชาย ของ
พระเถระอยู่ เพื่อบิณฑบาต)
อปิศัพท์ อเปกขัตถะเข้ากับ เตๆ วิเสสนะของ ภิกฺขูๆ สุทธกัตตาใน
ปวิสึสุ ๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก อนุปุพฺเพน ตติยาวิเสสนะใน คนฺตฺวา เชตวนํ
สัมปาปุณียกัมมะใน คนฺตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน วนฺทิตฺวา สตฺถารํ ก็ดี มหาเถเร ก็ดี
อวุตตกัมมะใน วนฺทิตฺวา จ สองศัพท์ ปทสมุจจยัตถะเข้ากับ สตฺถารํ และ มหาเถเร
เถรสฺส สามีสัมพันธะใน วจเนนๆ ตติยาวิเสสนะใน วนฺทิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน ปวิสึสุ
ปุนทิวเส กาลสัตตมีใน ปวิสึสุ, กนิฏฺโฐ สุทธกัตตาใน วสติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ยตฺถ
วิเสสนะของ วีถิยํๆ วิสยาธาระใน วสติ เถรสฺส สามีสัมพันธะใน กนิฏฺโฐ, ตํ วิเสสนะของ วีถึๆ
สัมปาปุณียกัมมะใน ปวิสึสุ ปิณฺฑาย สัมปทาน ใน ปวิสึสุ ฯ
เช่น อถ โข อายสฺมา อานนฺโท, เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ. อุปสงฺกมิตฺวา
ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ. (คิริมานนฺทสุตฺตํ)
อถ โข อายสฺมา อานนฺโท, เยน (ทิสาภาเคน) ภควา (วิหรติ), เตน (ทิสา-
ภาเคน) อุปสงฺกมิ. (อานนฺโท) อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ.
ครั้งนั้นแล อ.พระอานนท์ ผู้มีอายุ เข้าไปเฝ้าแล้ว ใน-, อ.พระผู้มีพระภาค
เจ้า ย่อมประทับอยู่ ในส่วนแห่งทิศใด, -ส่วนแห่งทิศนั้น, อ.พระอานนท์ ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว
ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งแล้ว ณ ที่สมควร ฯ
วิธีการแปลประโยค ย - ต 273

(ทีนั้นแล ท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้น


เข้าไปเฝ้าแล้ว ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วนั่ง ณ ที่สมควร)
อถ กาลสัตตมี โขศัพท์ วจนาลังการะ อายสฺมา วิเสสนะของ อานนฺโทๆ
สุทธกัตตาใน อุปสงฺกมิๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก, ภควา สุทธกัตตาใน วิหรติๆ อาขยาตบท
กัตตุวาจก เยน วิเสสนะของ ทิสาภาเคนๆ ตติยาวิสยาธาระใน วิหรติ, เตน วิเสสนะของ
ทิสาภาเคนๆ ตติยาวิสยาธาระใน อุปสงฺกมิ, อานนฺโท สุทธกัตตา ใน นิสีทิๆ อาขยาตบท
กัตตุวาจก อุปสงฺกมิตฺวา ลักขณัตถะ ภควนฺตํ อวุตตกัมมะใน อภิวาเทตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยา
ใน นิสีทิ เอกมนฺตํ อาธาระใน นิสีทิ ฯ
(๔) ประโยคที่มีการวาง ย และ ต ซ�้ำกัน ๒ ครั้ง
เช่น สาวตฺถิยญฺจ โย โย ทานํ ทาตุกาโม โหติ; โส โส เตสํ อุภินฺนํ
โอกาสํ ลภิตฺวาว กโรติ. (๑/๑๓.สุมนาเทวี/๑๔๑)
สาวตฺถิยํ จ โย โย (ปุคฺคโล) ทานํ ทาตุกาโม โหติ; โส โส (ปุคฺคโล) เตสํ อุภินฺนํ
(ชนานํ) โอกาสํ ลภิตฺวาว กโรติ.
ก็ อ.บุคคล ใด ใด เป็นผู้ใคร่เพื่ออันถวาย ซึ่งทาน ในเมืองสาวัตถี ย่อม
เป็น, อ.บุคคลนั้นนั้น ได้แล้ว ซึ่งโอกาส ของชน ท. ทั้งสอง เหล่านั้นเทียว ย่อมกระท�ำ ฯ
(ก็บุคคลใดๆ ในเมืองสาวัตถี เป็นผู้ประสงค์จะถวายทาน บุคคลนั้นๆ ได้
โอกาสของท่านทั้ง ๒ นั้นก่อนเท่านั้น จึงท�ำได้)
จศัพท์ วากยารัมภโชตกะ โย โย วิเสสนะของ ปุคฺคโลๆ สุทธกัตตาใน
โหติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก สาวตฺถิยํ วิสยาธาระใน ทาตุกาโม ทานํ อวุตตกัมมะใน ทาตุ-
ทาตุกาโม วิกติกัตตาใน โหติ, โส โส วิเสสนะของ ปุคฺคโลๆ สุทธกัตตาใน กโรติๆ อาขยาต-
บทกัตตุวาจก เตสํ ก็ดี อุภินฺนํ ก็ดี วิเสสนะของ ชนานํๆ สามีสัมพันธะใน โอกาสํๆ อวุตต-
กัมมะใน ลภิตฺวา เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ลภิตฺวาๆ ปุพพกาลกิริยาใน กโรติ ฯ
(๕) ประโยคที่มีการวาง ย กับ ต ซ้อนกัน ๒ ชั้น
เช่น อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย ยํ อิจฺฉติ, ตสฺส ตํ ยถิจฺฉิตเมว สมฺปชฺชติ. (๑/๑.
จกฺขุปาล/๔)
อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย (ภิกฺขุ) ยํ (วตฺถุํ) อิจฺฉติ, ตสฺส (ภิกฺขุโน) ตํ (วตฺถุ)
ยถิจฺฉิตเมว สมฺปชฺชติ.
274 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

อ.ภิกษุใด ย่อมปรารถนา ซึ่ง- ในข้าว น�้ำปานะ และเภสัช ท.หนา -วัตถุ ใด,


อ.วัตถุนั้น ย่อมถึงพร้อม แก่ภิกษุรูปนั้น ตามความปรารถนานั่นเทียว ฯ
(พระภิกษุรูปใด ปรารถนาของสิ่งใด จะเป็นข้าว น�้ำหรือเภสัช ของสิ่งนั้นก็
ส�ำเร็จแก่พระภิกษุรูปนั้นสมปรารถนา)
โย วิเสสนะของ ภิกฺขุๆ สุทธกัตตาใน อิจฺฉติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก
อนฺนปานเภสชฺเชสุ นิทธารณะใน ยํ วตฺถุํ ยํ วิเสสนะของ วตฺถุํๆ นิทธารณียะและอวุตต-
กัมมะใน อิจฺฉติ, ตํ วิเสสนะของ วตฺถุๆ สุทธกัตตาใน สมฺปชฺชติๆ อาขยาตบทกัตตุวาจก ตสฺส
วิเสสนะของ ภิกฺขุโนๆ สัมปทานใน สมฺปชฺชติ เอวศัพท์ อวธารณะเข้ากับ ยถิจฺฉิตํๆ กิริยา-
วิเสสนะใน สมฺปชฺชติ ฯ

แบบฝึกหัดแปล/สัมพันธ์
๑. อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ สทฺโท ปุริสานํ สกลสรีรํ ผริตฺวา ฐาตุํ สมตฺโถ นาม
นตฺถิ. เตนาห ภควา “นาหํ ภิกฺขเว อญฺญํ เอกสทฺทมฺปิ สมนุปสฺสามิ, โย เอวํ
ปุริสสฺส จิตฺตํ ปริยาทาย ติฏฺฐติ; ยถยิทํ ภิกฺขเว อิตฺถีสทฺโทติ. (๑/๑.จกฺขุปาล/๑๔)
อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ สทฺโท ปุริสานํ สกลสรีรํ ผริตฺวา ฐาตุํ สมตฺโถ นาม นตฺถิ. เตน
อาห ภควา “น อหํ ภิกฺขเว (ตํ) อญฺญํ (สทฺทํ) เอกสทฺทมฺปิ สมนุปสฺสามิ, โย (สทฺโท) เอวํ
ปุริสสฺส จิตฺตํ ปริยาทาย ติฏฺฐติ; ยถา อิทํ (สทฺทชาตํ) ภิกฺขเว อิตฺถีสทฺโทติ.
จริิงอยู่่� ไม่่มีีเสีียงอื่่�น ชื่่�อว่่าสามารถแผ่่ไปทั่่�วสรีีระของบุุรุุษทั้้�งหลายตั้้�งอยู่่� เหมืือนกัับ
เสีียงผู้้�หญิิง. เหตุุนั้้�น พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า จึึงตรััสว่่า “ภิิกษุุทั้้�งหลาย เราไม่่พิิจารณา
เห็็นเสีียงอื่่�นแม้้สัักอย่่าง อัันจะยึึดจิิตของบุุรุุษตั้้�งอยู่่� เหมืือนกัับเสีียงผู้้�หญิิง นะภิิกษุุ
ทั้งหลาย”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค ย - ต 275

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. “ยเถว ตุมฺเห ตํ น ปสฺสถ; ตถา โสปิ เต ปาเณ น ปสฺสติ, ขีณาสวานํ
มรณเจตนา นาม นตฺถิ ภิกฺขเวติ. (๑/๑.จกฺขุปาล/๑๙)
(สตฺถา) “ยถา เอว ตุมฺเห ตํ (จกฺขุปาลํ) น ปสฺสถ; ตถา โสปิ (จกฺขุปาโล) เต ปาเณ
น ปสฺสติ, ขีณาสวานํ มรณเจตนา นาม นตฺถิ ภิกฺขเวติ (อาห).
พระศาสดาตรัสว่า “ท่านทั้งหลายไม่เห็นเธอ ฉันใดแล ถึงเธอก็ไม่เห็นสัตว์มีชีวิตเหล่า
นั้น ฉันนั้น, ภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่าเจตนาเป็นเหตุให้ตาย ของพระขีณาสพทั้งหลาย
มิได้มี”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. “ยถา เม ธนจฺเฉโท น โหติ; ตถา กริสฺสามีติ. (๑/๒.มฏฺฐกุณฺฑลี/๒๓)
(พฺราหฺมโณ) “ยถา เม ธนจฺเฉโท น โหติ; (อหํ) ตถา กริสฺสามีติ (อาห).
พราหมณ์ตอบว่า “ทรัพย์ของเราจะไม่ขาดไปได้อย่างใด เราจะท�ำอย่างนั้น”
(พราหมณ์ตอบว่า “เราจะท�ำโดยประการที่ทรัพย์ของเราจะไม่ขาดหายไป”)
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
276 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๔. อถสฺส เต ยํ วา ตํ วา รุกฺขตจาทึ อาจิกฺขนฺติ. (๑/๒.มฏฺฐกุณฺฑลี/๒๓)


อถ อสฺส (พฺราหฺมณสฺส) เต (เวชฺชา) ยํ วา ตํ วา รุกฺขตจาทึ (เภสชฺชํ) อาจิกฺขนฺติ.
ล�ำดับนั้น พวกหมอเหล่านั้น ก็บอกยาชนิดนั้นๆ มีเปลือกไม้เป็นต้น แก่เขาไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๕. ยสฺส โทโส อตฺถิ; ตสฺเสว อุปริ สาโป ปตตุ. (๑/๓/๓๙-๔๐)
ยสฺส (ปุคฺคลสฺส) โทโส อตฺถิ; ตสฺส เอว (ปุคฺคลสฺส) อุปริ สาโป ปตตุ.
โทษของผู้ใดมี, ค�ำสาปจงตกลงในเบื้องบนแห่งผู้นั้นแล
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๖. อถสฺฺสา เอตทโหสิิ “สจายํํ ปุุตฺฺตํํ วา ธีีตรํํ วา ลภิิสฺฺสติิ, อยเมว กุุฏุุมฺฺพสฺฺส สามิินีี
ภวิิสฺฺสติิ, ยถา ทารกํํ น ลภติิ; ตเถว นํํ กาตุํํ� วฏฺฺฏตีติี .ิ (๑/๔/๔๓)
อถ อสฺฺสา (วญฺฺฌิตฺิ ฺถิยิ า) เอตํํ (จิินฺฺตนํํ) อโหสิิ “สเจ อยํํ (อิิตฺฺถี)ี ปุุตฺฺตํํ วา ธีีตรํํ วา ลภิิสฺฺสติิ,
อยํํ เอว (อิิตฺฺถี)ี กุุฏุุมฺฺพสฺฺส สามิินีี ภวิิสฺฺสติิ, ยถา (อยํํ อิิตฺฺถี)ี ทารกํํ น ลภติิ; (มยา) ตถา
เอว นํํ (อิิตฺฺถึึ) กาตุํํ� วฏฺฺฏตีติี .ิ
ทีีนั้้น� หญิิงหมัันนั้้�นได้้เกิิดความคิิดนี้้�ขึ้น�้ ว่่า “ถ้้าหญิิงนี้้�ได้้ลููกชายหรืือลููกสาว, หญิิงนี้้�นั่่ �น
แหละจะเป็็ นเจ้้าของมรดก, เราจะทำำ�อย่่างที่่�นางจะไม่่ได้้เด็็กนั่่�นแหละ จึึงจะควร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค ย - ต 277

๗. อถ นํ อาห “ยทา เต กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏฺฐาติ; ตทา เม อาโรเจยฺยาสีติ. (๑/๔.


กาลียกฺขินี/๔๓)
อถ (สา วญฺฌิตฺถี) นํ (กุมาริกํ) อาห “ยทา เต กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏฺฐาติ; (ตฺวํ) ตทา เม
อาโรเจยฺยาสีติ.
ล�ำดับนั้น หญิงหมันจึงพูดกะนางนั้นว่า “ครรภ์ตั้งขึ้นในท้องหล่อนเมื่อใด ขอให้หล่อน
บอกแก่ฉันเมื่อนั้น”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๘. สา “ยตฺถ วา ตตฺถ วา คจฺฉตุ, น เม มุจฺจิสฺสตีติ เวรเวคสมุสฺสาหิตา นคราภิมุขี
ปกฺขนฺทิ. (๑/๔.กาลียกฺขินี/๔๕)
สา (ยกฺขินี) “(สา อิตฺถี) ยตฺถ วา ตตฺถ (ฐาเน) วา คจฺฉตุ, (สา อิตฺถี) น เม มุจฺจิสฺสตีติ
(จินฺเตตฺวา) เวรเวคสมุสฺสาหิตา นคราภิมุขี ปกฺขนฺทิ.
นางยักษิณีนั้นคิดว่า “เขาไปในที่ไหนๆ ก็ตามเถิด จักไม่พ้นเราได้ ดังนี้แล้ว อันก�ำลัง
เวร ให้อุตสาหะแล้ว วิ่งบ่ายหน้าไปสู่เมือง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
278 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๙. “ภนฺเต อหํ ปุพฺเพ ยถา ตถา ชีวิตํ กปฺเปนฺตีปิ กุจฺฉิปูรํ นาม นาลตฺถํ, อิทานิ กถํ
ชีวิสฺสามีติ. (๑/๔.กาลียกฺขินี/๔๗)
(สา ยกฺขินี) “ภนฺเต อหํ ปุพฺเพ ยถา ตถา ชีวิตํ กปฺเปนฺตีปิ กุจฺฉิปูรํ นาม (อาหารํ) น อลตฺถํ,
(อหํ) อิทานิ กถํ ชีวิสฺสามีติ (อาห).
นางยัักษิิณีีนั้้�นกราบทููลว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ เมื่่�อก่่อน ข้้าพระองค์์ แม้้สำำ�เร็็จการ
เลี้้�ยงชีีพโดยไม่่เลืือก ยัังไม่่ได้้อาหารพอเต็็มท้้อง, บััดนี้้� ข้้าพระองค์์จะมีีชีีวิิตอยู่่� ได้้
อย่่างไร”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๐. โส ตาย อากิณฺณวิหารตาย อุกฺกณฺฐิโต “อหํ โข อิทานิ อากิณฺโณ ทุกฺขํ
วิหรามิ, อิเม จ ภิกฺขู มม วจนํ น กโรนฺติ; ยนฺนูนาหํ เอโก คณมฺหา วูปกฏฺโฐ
วิหเรยฺยนฺติ จินฺเตตฺวา โกสมฺพิยํ ปิณฺฑาย จริตฺวา อนปโลเกตฺวา ภิกฺขุสงฺฆํ
เอกโกว อตฺตโน ปตฺตจีวรมาทาย พาลกโลณการามํ คนฺตฺวา ตตฺถ ภคุตฺเถรสฺส
เอกจาริกวตฺตํ กเถตฺวา ปาจีนวํสมิคทาเย ติณฺณํ กุลปุตฺตานํ สามคฺคีรสานิสํสํ
กเถตฺวา, เยน ปาริเลยฺยกํ, ตทวสริ. (๑/๕.โกสมฺพิก/๕๒)
โส (สตฺถา) ตาย (อตฺตโน) อากิณฺณวิหารตาย อุกฺกณฺฐิโต “อหํ โข อิทานิ อากิณฺโณ ทุกฺขํ
วิหรามิ, อิเม จ ภิกฺขู มม วจนํ น กโรนฺติ; ยนฺนูน อหํ เอโก คณมฺหา วูปกฏฺโฐ
วิหเรยฺยนฺติ จินฺเตตฺวา โกสมฺพิยํ ปิณฺฑาย จริตฺวา อนปโลเกตฺวา ภิกฺขุสงฺฆํ เอกโกว อตฺตโน
ปตฺตจีวรํ อาทาย พาลกโลณการามํ คนฺตฺวา ตตฺถ (พาลกโลณการาเม) ภคุตฺเถรสฺส
เอกจาริกวตฺตํ กเถตฺวา ปาจีนวํสมิคทาเย ติณฺณํ กุลปุตฺตานํ สามคฺคีรสานิสํสํ กเถตฺวา, เยน
(ทิสาภาเคน) ปาริเลยฺยกํ (อตฺถิ), ตํ (ทิสาภาคํ) อวสริ.
วิธีการแปลประโยค ย - ต 279

พระองค์ทรงระอาพระทัย เพราะมีความอยู่เกลื่อนกล่นนั้น ทรงพระด�ำริว่า “เดี๋ยวนี้


เราอยู่เกลื่อนกล่นเป็นทุกข์, และภิกษุเหล่านั้นไม่ท�ำตามค�ำของเรา ถ้ากระไร เราพึง
หลีกออกจากหมู่อยู่ผู้เดียว” ดังนี้ เสด็จเที่ยวบิณฑบาตในเมืองโกสัมพี ไม่ตรัสบอก
พระภิกษุสงฆ์ ทรงถือบาตรจีวรของพระองค์ เสด็จไปพาลกโลณการาม แต่พระองค์
เดียว ตรัสบอกเอกจาริกวัตรแก่พระภคุเถระที่พาลกโลณการามนั้นแล้ว ตรัสอานิสงส์
แห่งสามัคคีรสแก่กุลบุตร ๓ คน ในมิคทายวัน ชื่อปาจีนวังสะแล้ว เสด็จไปทางป่า
ปาริเลยยกะ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
280 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๑. อถ โข โส หตฺถินาโค ยูถา อปกฺกมฺม, เยน ปาริเลยฺยกํ รกฺขิตวนสณฺโฑ


ภทฺทสาลมูลํ, เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ, อุปสงฺกมิตฺวา จ ปน ภควนฺตํ วนฺทิตฺวา
โอโลเกนฺโต อญฺญํ กิญฺจิ อทิสฺวา ภทฺทสาลมูลํ ปาเทน ปหรนฺโต ตจฺเฉตฺวา
โสณฺฑาย สาขํ คเหตฺวา สมฺมชฺชิ. (๑/๕.โกสมฺพิก/๕๓-๔)
อถ โข โส หตฺถินาโค ยูถา อปกฺกมฺม, เยน (ทิสาภาเคน) ปาริเลยฺยกํ รกฺขิตวนสณฺโฑ
ภทฺทสาลมูลํ (อตฺถิ), เยน (ทิสาภาเคน) ภควา (วิหรติ), เตน (ทิสาภาเคน) อุปสงฺกมิ,
(โส หตฺถินาโค) อุปสงฺกมิตฺวา จ ปน ภควนฺตํ วนฺทิตฺวา โอโลเกนฺโต อญฺญํ กิญฺจิ อทิสฺวา
ภทฺทสาลมูลํ ปาเทน ปหรนฺโต ตจฺเฉตฺวา โสณฺฑาย สาขํ คเหตฺวา สมฺมชฺชิ.
ครั้้�งนั้้�นแล พระยาช้้างนั้้�น หลีีกออกจากโขลง เข้้าไป ณ ป่่าปาริิเลยยกะ ราวป่่ารัักขิิต-
วััน ควงไม้้สาละใหญ่่ ที่่�พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าประทัับอยู่่�แล้้ว; ก็็แล ครั้้�นเข้้าไปแล้้ว ถวาย
บัังคมพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้า แลดููอยู่่� ไม่่เห็็นวััตถุุอะไรๆ อื่่�น จึึงกระทืืบควงไม้้สาละใหญ่่
ด้้วยเท้้า ถาก ถืือเอากิ่่�งไม้้ด้้วยงวง แล้้วปััดกวาด
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๒. ยทา ปน สตฺถา คามํ ปิณฺฑาย ปวิสติ; ตทา สตฺถุ ปตฺตจีวรมาทาย กุมฺเภ
ปติฏฺฐาเปตฺวา สตฺถารา สทฺธึเยว คจฺฉติ. (๑/๕.โกสมฺพิก/๕๔)
ยทา ปน สตฺถา คามํ ปิณฺฑาย ปวิสติ; (โส หตฺถี) ตทา สตฺถุ ปตฺตจีวรํ อาทาย (ปตฺตจีวรํ)
กุมฺเภ ปติฏฺฐาเปตฺวา สตฺถารา สทฺธึ เอว คจฺฉติ.
วิธีการแปลประโยค ย - ต 281

ก็ เมื่อคราวที่พระศาสดาจะเสด็จเข้าบ้านเพื่อบิณฑบาต พระยาช้างนั้นถือบาตรจีวร
วางไว้บนตระพอง ตามเสด็จพระศาสดาไป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๓. อถสฺส เอโก กุฏุมฺพิโก สตสหสฺสคฺฆนกํ คนฺธารกาสาววตฺถํ ทตฺวา “สเจ เต
ทานวฏฺฏํ นปฺปโหติ, อิทํ วิสฺสชฺเชตฺวา, ยทูนํ, ตํ ปูเรยฺยาสิ; สเจ ปโหติ, ยสฺส
อิจฺฉสิ, ตสฺส ภิกฺขุโน ทเทยฺยาสีติ อาห. (๑/๗.เทวทตฺต/๗๑)
อถ อสฺส (อุปาสกสฺส) เอโก กุฏุมฺพิโก สตสหสฺสคฺฆนกํ คนฺธารกาสาววตฺถํ ทตฺวา “สเจ เต
ทานวฏฺฏํ น ปโหติ, (ตฺวํ) อิทํ (วตฺถํ) วิสฺสชฺเชตฺวา, ยํ (ทานวฏฺฏํ) อูนํ (โหติ), ตํ
(ทานวฏฺฏํ) ปูเรยฺยาสิ; สเจ (ตํ ทานวฏฺฏํ) ปโหติ, (ตฺวํ) ยสฺส (ภิกฺขุโน ทาตุํ) อิจฺฉสิ, (ตฺวํ)
ตสฺส ภิกฺขุโน ทเทยฺยาสีติ อาห.
ทีนั้น กุฎุมพีผู้หนึ่ง ให้ผ้ากาสาวะอันน�ำมาจากแคว้นคันธาระ ซึ่งมีค่าแสนหนึ่ง แก่
อุบาสกนั้น แล้วสั่งว่า “ถ้าทานวัฏฏ์ของท่าน ยังไม่เพียงพอไซร้, ท่านพึงจ่ายผ้าผืนนี้
ให้ครบส่วนที่บกพร่อง, ถ้าทานวัฏฏ์ของท่านเพียงพอไซร้, ท่านพึงถวายแก่ภิกษุรูปที่
ท่านปรารถนา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
282 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๔. ยาว อิทํ พนฺธนํ น พนฺธติ, ตาวเทว ฉินฺทิสฺสามิ. (๑/๘.สญฺชย/๗๗)


ยาว อิทํ พนฺธนํ น พนฺธติ, (อหํ) ตาว เอว ฉินฺทิสฺสามิ.
เครื่องผูกนี้จะไม่ผูกมัดเพียงใด, เราจักตัดเพียงนั้นนั่นแหละ
(เราจักตัดเครื่องผูกนี้ จนกว่าจะผูกมัดไม่ได้ทีเดียว)
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๕. นิพฺพุตา นูน สา มาตา, นิพฺพุโต นูน โส ปิตา
นิพฺพุตา นูน สา นารี, ยสฺสายํ อีทิโส ปติ. (๑/๘.สญฺชย/๗๗)
นิพฺพุตา นูน สา มาตา, (ยสฺสา มาตุยา อยํ กุมาโร อีทิโส ปุตฺโต โหติ);
นิพฺพุโต นูน โส ปิตา, (ยสฺส ปิตุสฺส อยํ กุมาโร อีทิโส ปุตฺโต โหติ);
นิพฺพุตา นูน สา นารี, ยสฺสา (นาริยา) อยํ (กุมาโร) อีทิโส ปติ (โหติ).
พระราชกุมารนี้ผู้เช่นนี้ เป็นพระราชโอรสของพระชนนีใด, พระชนนีนั้น ดับแน่แล้ว;
พระราชกุมารนี้ผู้เช่นนี้ เป็นพระราชโอรสของพระชนกใด, พระชนกนั้น ดับแน่แล้ว;
พระราชกุมารนี้ผู้เช่นนี้ เป็นพระสวามีของพระนางใด, พระนางนั้น ดับแน่แล้ว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๖. น ตาวิมํ ปลฺลงฺกํ ภินฺทิสฺสามิ, ยาว เม อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ น วิมุจฺจิสฺสติ.
(๑/๘.สญฺชย/๗๘)
(อหํ) น ตาว อิมํ ปลฺลงฺกํ ภินฺทิสฺสามิ, ยาว เม อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตํ น วิมุจฺจิสฺสติ.
เราจะไม่ท�ำลายบัลลังก์นี้ ตลอดเวลาที่จิตของเราจักยังไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลาย
ด้วยการไม่เข้าไปถือมั่น
วิธีการแปลประโยค ย - ต 283

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๗. ตโต ปฏฺฐาย “ยตฺถ ยตฺถ ปณฺฑิตา สมณพฺราหฺมณา สนฺตีติ วทนฺติ; ตตฺถ ตตฺถ
คนฺตฺวา สากจฺฉํ กโรนฺติ. (๑/๘.สญฺชย ๘๒)
(ชนา) ตโต (กาลโต) ปฏฺาย “ยตฺถ ยตฺถ (าเน) ปณฺฑิตา สมณพฺราหฺมณา สนฺตีติ วทนฺติ,
(เต เทฺว สหายกา) ตตฺถ ตตฺถ (าเน) คนฺตฺวา สากจฺฉํ กโรนฺติ.
พวกชนย่อมกล่าวว่า “พวกสมณะและพราหมณ์ผู้เป็นบัณฑิตมีอยู่ในที่ใดๆ” ดังนี้, สอง
สหายเหล่านั้นก็พากันไปในที่นั้นๆ ย่อมท�ำการสนทนา จ�ำเดิมแต่กาลนั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๑๘. เอวํ สกลชมฺพุทีปํ ปริคฺคณฺหิตฺวา นิวตฺติตฺวา สกฏฺฐานเมว อาคนฺตฺวา “สมฺม
โกลิต อมฺเหสุ โย ปฐมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส อาโรเจตูติ กติกํ อกํสุ. (๑/๘.
สญฺชย/๘๒)
(เต เทฺว ชนา) เอวํ สกลชมฺพุทีปํ ปริคฺคณฺหิตฺวา นิวตฺติตฺวา สกฏฺฐานํ เอว อาคนฺตฺวา
“สมฺม โกลิต อมฺเหสุ โย (ปุคฺคโล) ปฐมํ อมตํ อธิคจฺฉติ, โส (ปุคฺคโล) อาโรเจตูติ กติกํ อกํสุ.
เขาสอบสวนทั่วชมพูทวีปอย่างนั้นแล้ว กลับมายังที่อยู่ของตน แล้วท�ำกติกากันว่า
“แน่ะเพื่อนโกลิตะ ในบรรดาเรา ๒ คน ผู้ใดได้บรรลุอมตธรรมก่อน ผู้นั้นขอจงบอก”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
284 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๑๙. เย โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา, อยํ เตสํ ภิกฺขุ อญฺญตโร.


(๑/๘.สญฺชย/ ๘๓)
เย โลเก อรหนฺโต วา อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺนา (ปุคฺคลา สนฺติ), อยํ เตสํ (ปุคฺคลานํ)
ภิกฺขุ อญฺญตโร (โหติ).
พระอรหันต์ทั้งหลาย หรือบุคคลผู้บรรลุอรหัตมรรคเหล่าใด มีอยู่ในโลก, ภิกษุนี้เป็น
ผู้ใดผู้หนึ่ง บรรดาพระอรหันต์ทั้งหลาย หรือบุคคลผู้บรรลุอรหัตมรรคเหล่านั้น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๐. เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา, เตสํ เหตุํ ตถาคโต อาห,
เตสญฺจ โย นิโรโธ, เอวํวาที มหาสมโณ. (๑/๘.สญฺชย/๘๔)
เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา (โหนฺติ), เตสํ (ธมฺมานํ จ) เหตุํ ตถาคโต อาห
เตสํ (ธมฺมานํ ตสฺส นิโรธสฺส เหตุํ) จ, โย นิโรโธ (อตฺถิ), เอวํวาที (โหติ)
มหาสมโณ.
ธรรมเหล่าใด มีเหตุเป็นแดนเกิด พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับ
แห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๑. อถ นํ ภาตา “เตนหิ เขตฺตํ เทฺว โกฏฺฐาเส กตฺวา มม โกฏฺฐาสํ อนามสิตฺวา
อตฺตโน เขตฺตโกฏฺฐาเส, ยํ อิจฺฉสิ, ตํ กโรหีติ อาห. (๑/๘.สญฺชย/๘๘)
อถ นํ (กนิฏฺฐํ) ภาตา “เตนหิ (ตฺวํ) เขตฺตํ เทฺว โกฏฺฐาเส กตฺวา มม โกฏฺฐาสํ อนามสิตฺวา
อตฺตโน เขตฺตโกฏฺฐาเส, (ตฺวํ) ยํ (กมฺมํ) อิจฺฉสิ, ตํ (กมฺมํ) กโรหีติ อาห.
วิธีการแปลประโยค ย - ต 285

ทีนั้น พี่ชายจึงพูดกะเขาว่า “ถ้ากระนั้น เจ้าต้องปันนาเป็น ๒ ส่วน อย่าแตะต้องส่วน


ของเรา จงท�ำกรรมที่เจ้าปรารถนาในนาอันเป็นส่วนของตนเถิด
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๒. ราชา... “ภนฺเต อิทานิ เม นวุติวสฺสสหสฺสปริมาณสฺส อายุโน โกฏิยํ นิสีทิตฺวา
นิทฺทายนกาโล วิย, อญฺเญสํ เคหทฺวารํ อคนฺตฺวา, ยาวาหํ ชีวามิ, ตาว เม
จตฺตาโร ปจฺจเย อธิวาเสถาติ ปฏิญฺญํ คเหตฺวา นิพทฺธํ พุทฺธุปฏฺฐากํ กโรติ. (๑/๘.
สญฺชย/๙๑)
ราชา... “ภนฺเต อิทานิ เม นวุติวสฺสสหสฺสปริมาณสฺส อายุโน โกฏิยํ นิสีทิตฺวา นิทฺทายน-
กาโล วิย (โหติ), (ตุมฺเห) อญฺเญสํ (ชนานํ) เคหทฺวารํ อคนฺตฺวา, ยาว อหํ ชีวามิ, ตาว เม
จตฺตาโร ปจฺจเย อธิวาเสถาติ ปฏิญฺญํ คเหตฺวา นิพทฺธํ พุทฺธุปฏฺฐากํ กโรติ.
พระราชา... ทรงรัับปฏิิญญาว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ บััดนี้้�เป็็นดุุจเวลาที่่�หม่่อมฉััน
นั่่�งหลัับ ในที่่�สุุดอายุุประมาณเก้้าหมื่่�นปีี, ขอพระองค์์อย่่าเสด็็จไปสู่่�ประตููเรืือนของชน
เหล่่าอื่่�น จงทรงรัับปััจจััย ๔ ของหม่่อมฉััน ตลอดเวลาที่่�หม่่อมฉัันยัังมีีชีีวิิตอยู่่�” ดัังนี้้�
แล้้ว ทรงทำำ�การอุุปััฏฐากพระพุุทธเจ้้าเป็็นประจำำ�
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
286 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๓. ตโต ภควา จินฺเตสิ “ยํ อยํ ปิตุ สนฺตกํ ธนํ อิจฺฉติ, ตํ วฏฺฏานุคตํ สวิฆาตํ;
หนฺทสฺส โพธิมูเล มยา ปฏิลทฺธํ สตฺตวิธํ อริยธนํ เทมิ, โลกุตฺตรทายชฺชสฺส นํ
สามิกํ กโรมีติ. (๑/๙.นนฺท/๑๐๘)
ตโต ภควา จินฺเตสิ “ยํ อยํ (กุมาโร) ปิตุ สนฺตกํ ธนํ อิจฺฉติ, ตํ (ธนํ) วฏฺฏานุคตํ สวิฆาตํ
(โหติ); หนฺท (อหํ) อสฺส (กุมารสฺส) โพธิมูเล มยา ปฏิลทฺธํ สตฺตวิธํ อริยธนํ เทมิ, (อหํ)
โลกุตฺตรทายชฺชสฺส นํ (กุมารํ) สามิกํ กโรมีติ.
ล�ำดับนั้น พระผู้มีพระภาค ทรงด�ำริว่า “กุมารนี้อยากได้ทรัพย์อันเป็นสมบัติของบิดา,
ทรัพย์นั้นไปตามวัฏฏะ มีความคับแคบ; ช่างเถิด เราจะให้อริยทรัพย์ ๗ ประการ ที่เรา
ได้เฉพาะที่ควงไม้โพธิ์แก่เธอ, จะท�ำเธอให้เป็นเจ้าของมรดกอันเป็นโลกุตระ”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๔. อถ โข อายสฺมา นนฺโท สหายกานํ ภิกฺขูนํ ภตกวาเทน จ อุปกฺกีตกวาเทน
จ อฏฺฏิยมาโน หรายมาโน ชิคุจฺฉมาโน เอโก วูปกฏฺโฐ อปฺปมตฺโต อาตาปี
ปหิตตฺโต วิหรนฺโต, นจิรสฺเสว ยสฺสตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมเทว อคารสฺมา
อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ, ตทนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา
สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช วิหาสิ, “ขีณา ชาติ, วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ, กตํ กรณียํ, นาปรํ
อิตฺถตฺตายาติ อพฺภญฺญาสิ. (๑/๙.นนฺท/๑๑๑)
อถ โข อายสฺมา นนฺโท สหายกานํ ภิกฺขูนํ ภตกวาเทน จ อุปกฺกีตกวาเทน จ อฏฺฏิยมาโน
หรายมาโน ชิคุจฺฉมาโน เอโก วูปกฏฺโฐ อปฺปมตฺโต อาตาปี ปหิตตฺโต วิหรนฺโต, นจิรสฺเสว ยสฺส
(คุณวิเสสสฺส) อตฺถาย กุลปุตฺตา สมฺมา เอว อคารสฺมา อนคาริยํ ปพฺพชนฺติ, ตํ (คุณวิเสสํ)
อนุตฺตรํ พฺรหฺมจริยปริโยสานํ ทิฏฺเฐ เอว ธมฺเม สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา อุปสมฺปชฺช
วิธีการแปลประโยค ย - ต 287

วิหาสิ, “ขีณา ชาติ, วุสิตํ พฺรหฺมจริยํ, (มยา) กตํ (มยา) กรณียํ (กิจฺจํ), น อปรํ (กิจฺจํ)
อิตฺถตฺตาย (อตฺถิ)” อิติ อพฺภญฺญาสิ.
ครั้งนั้นแล ท่านพระนันทะขวยเขิน ละอาย รังเกียจด้วยวาทะว่าคนรับจ้างบ้าง ด้วย
วาทะว่่าคนที่่�พระศาสดาไถ่่ไว้้บ้้าง ของเหล่่าภิิกษุุผู้้�เป็็นสหาย เป็็นผู้้�ๆ เดีียว หลีีกออก
แล้้ว ไม่่ประมาท มีีความเพีียร มีีตนส่่งไปอยู่่�, ต่่อกาลไม่่นานเลย ได้้ทำำ�ให้้แจ้้ง ซึ่่�ง
ที่่�สุุดแห่่งพรหมจรรย์์อัันยอดเยี่่�ยมโดยชอบ ตามที่่�กุุลบุุตรทั้้�งหลายออกจากเรืือน บวช
ไม่่มีีเรืือนมุ่่�งหวัังคุุณวิิเศษ ด้้วยความรู้้�ยิ่่�งเอง สำำ�เร็็จอยู่่�ในทิิฏฐธรรม รู้้�ชััดว่่า “ชาติิสิ้้�น
แล้้ว, พรหมจรรย์์อยู่่�จบแล้้ว, กิิจที่่�ต้้องทำำ� เราทำำ�เสร็็จแล้้ว, กิิจอื่่�นอีีก เพื่่�อความเป็็น
อย่่างนี้้� ไม่่มีี”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
288 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๕. ฉาตกกาเล สกเฏน วีหี อาทาย ชนปทํ คนฺตฺวา เอกนาฬิทฺวินาฬิมตฺเตน


คามสูกรโปตเก กีณิตฺวา สกฏํ ปูเรตฺวา อาคนฺตฺวา ปจฺฉานิเวสเน วชํ วิย เอกฏฺฐานํ
ปริกฺขิปิตฺวา ตตฺเถว เตสํ นิวาปํ โรเปตฺวา, เตสุ นานาคจฺเฉ จ สรีรวลญฺชญฺจ
ขาทิตฺวา วฑฺฒิเตสุ, ยํ ยํ มาเรตุกาโม โหติ, ตํ ตํ อาฬาหเน นิจฺจลํ
พนฺธิตฺวา สรีรมํสสฺส อุทฺธุมายิตฺวา พหลภาวตฺถํ จตุรสฺสมุคฺคเรน โปเถตฺวา
“พหลมํโส ชาโตติ ญตฺวา มุขํ วิวริตฺวา ทนฺตนฺตเร ทณฺฑกํ ทตฺวา โลหนาฬิยา
ปกฺกุฏฐิตํ อุณฺโหทกํ มุเข อาสิญฺจติ. (๑/๑๐.จุนฺทสูกริก/๑๑๖-๗)
(โส จุนฺโท) ฉาตกกาเล สกเฏน วีหี อาทาย ชนปทํ คนฺตฺวา เอกนาฬิทฺวินาฬิมตฺเตน
(วีหินา) คามสูกรโปตเก กีณิตฺวา สกฏํ ปูเรตฺวา อาคนฺตฺวา ปจฺฉานิเวสเน วชํ วิย เอกฏฺฐานํ
ปริกฺขิปิตฺวา ตตฺถ เอว (ฐาเน) เตสํ (สูกรโปตกานํ) นิวาปํ โรเปตฺวา, เตสุ (สูกเรสุ)
นานาคจฺเฉ จ สรีรวลญฺชํ จ ขาทิตฺวา วฑฺฒิเตสุ, (อตฺตา) ยํ ยํ (สูกรํ) มาเรตุกาโม โหติ,
ตํ ตํ (สูกรํ) อาฬาหเน นิจฺจลํ พนฺธิตฺวา สรีรมํสสฺส อุทฺธุมายิตฺวา พหลภาวตฺถํ จตุรสฺส-
มุคฺคเรน โปเถตฺวา “(อยํ สูกโร) พหลมํโส ชาโตติ ญตฺวา มุขํ วิวริตฺวา ทนฺตนฺตเร ทณฺฑกํ
ทตฺวา โลหนาฬิยา ปกฺกุฏฐิตํ อุณฺโหทกํ มุเข อาสิญฺจติ.
ในเวลาข้าวแพง เขาเอาเกวียนบรรทุกข้าวเปลือก ไปสู่ชนบท แลกลูกสุกรบ้าน ด้วย
ข้าวเปลือกประมาณ ๑ ทะนานหรือ ๒ ทะนาน บรรทุกเต็มเกวียนแล้วกลับมา ล้อมที่
แห่งหนึ่งดุจคอก ข้างหลังที่อยู่ แล้วปลูกผักในที่นั้นนั่นแล เพื่อลูกสุกรเหล่านั้น, เมื่อลูก
สุกรเหล่านั้น กินกอผักต่างๆ บ้าง คูถบ้าง ก็เติบโตขึ้น, เขามีความประสงค์ จะฆ่าตัว
ใดๆ ก็มัดตัวนั้นๆ ให้แน่น ณ ที่ฆ่าแล้ว ทุบด้วยฆ้อน ๔ เหลี่ยม เพื่อให้เนื้อสุกร พอง
หนาขึ้น รู้ว่า “เนื้อหนาขึ้นแล้ว” ก็ง้างปากสอดไม้เข้าไปในระหว่างฟัน กรอกน�้ำร้อน ที่
เดือดพล่าน เข้าไปในปากด้วยทะนานโลหะ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค ย - ต 289

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๖. “ยํ อิจฺฉติ, ตํ กโรตุ; น โส มํ ปสฺสิตุํ ลภิสฺสตีติ. (๑/๑๒.เทวทตฺต/๑๓๖)
(สตฺถา) “(โส เทวทตฺโต) ยํ (กมฺมํ) อิจฺฉติ, (โส เทวทตฺโต) ตํ (กมฺมํ) กโรตุ; น โส
(เทวทตฺโต) มํ ปสฺสิตุํ ลภิสฺสตีติ (อาห).
พระศาสดาตรัสว่า “เทวทัตจงท�ำสิ่งที่ตนปรารถนาเถอะ, เธอก็จักไม่ได้เห็นเรา”
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
290 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๒๗. โสปายสฺมา ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ภควนฺตํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา เอตทโวจ


“ยํ เม ภนฺเต ภควา ปาฏิโภโค ปญฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ ปฏิลาภาย กกุฏปาทานํ,
มุญฺจามหํ ภนฺเต ภควนฺตํ เอตสฺมา ปฏิสฺสวาติ. (๑/๙.นนฺท/๑๑๒)
โสปิ อายสฺมา ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ภควนฺตํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา เอตํ (วจนํ)
อโวจ “ยํ เม ภนฺเต ภควา ปาฏิโภโค ปญฺจนฺนํ อจฺฉราสตานํ ปฏิลาภาย กกุฏปาทานํ (โหติ),
มุญฺจามิ อหํ ภนฺเต ภควนฺตํ เอตสฺมา ปฏิสฺสวาติ.
ท่่านผู้้�มีีอายุุแม้้นั้้�นเข้้าไปเฝ้้าพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าโดยล่่วงไปแห่่งราตรีีนั้้�น ถวายบัังคม
แล้้ว ได้้กราบทููลคำำ�นั่่�นว่่า “ข้้าแต่่พระองค์์ผู้้�เจริิญ พระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าทรงเป็็นผู้้�รัับ
ประกัันของข้้าพระองค์์ เพื่่�อการได้้นางอััปสร ๕๐๐ ผู้้�มีีเท้้าดุุจเท้้านกพิิราบใด ข้้าแต่่
พระองค์์ผู้้�เจริิญ ข้้าพระองค์์ขอเปลื้้�องพระผู้้�มีีพระภาคเจ้้าจากการรัับรองนั่่�น
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๘. ตํ กุจฺฉิยํ ปวิสิตฺวา ปกฺกุฏฺฐิตํ กรีสํ อาทาย อโธภาเคน นิกฺขมิตฺวา, ยาว โถกํ กรีสํ
อตฺถิ, ตาว อาวิลํ หุตฺวา นิกฺขมติ, สุทฺเธ อุทเร, อจฺฉํ อนาวิลํ นิกฺขมติ. (๑/๑๐.
จุนฺทสูกริก/๑๑๗)
วิธีการแปลประโยค ย - ต 291

ตํ (อุณฺโหทกํ) กุจฺฉิยํ ปวิสิตฺวา ปกฺกุฏฺฐิตํ กรีสํ อาทาย อโธภาเคน นิกฺขมิตฺวา, ยาว โถกํ
กรีสํ อตฺถิ, ตาว อาวิลํ หุตฺวา นิกฺขมติ, สุทฺเธ อุทเร, อจฺฉํ อนาวิลํ (หุตฺวา) นิกฺขมติ.
น�้ำร้อนนั้น เข้าไปเดือดพล่านในท้อง ขับขี้หมูออกมาโดยส่วนเบื้องต�่ำ, ขี้หมูน้อยหนึ่ง
ยังมีอยู่เพียงใด ย่อมออกเป็นน�้ำขุ่นเพียงนั้น เมื่อท้องสะอาดแล้ว จึงออกเป็นน�้ำใส
ไม่ขุ่นมัว
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒๙. มรณภเยน ตชฺชิตสฺส ปนสฺส พหิ นิกฺขมนํ นิวาเรตุํ อสกฺโกนฺโต สพฺโพ เคหชโน,
ยถา อนฺโต ฐิโต พหิ วิจริตุํ น สกฺโกติ; ตถา เคหทฺวารานิ ปิทหิตฺวา พหิเคหํ
ปริวาเรตฺวา รกฺขนฺโต อจฺฉติ. (๑/๑๐.จุนฺทสูกริก/๑๑๘)
มรณภเยน ตชฺชิตสฺส ปน อสฺส (จุนฺทสูกริกสฺส) พหิ นิกฺขมนํ นิวาเรตุํ อสกฺโกนฺโต สพฺโพ
เคหชโน, ยถา (โส จุนฺทสูกริโก) อนฺโต ฐิโต พหิ วิจริตุํ น สกฺโกติ; ตถา เคหทฺวารานิ
ปิทหิตฺวา พหิเคหํ ปริวาเรตฺวา รกฺขนฺโต อจฺฉติ.
อนึ่ง คนในเรือนทั้งหมด เมื่อไม่สามารถจะห้ามการออกไปภายนอกของเขาผู้ถูกภัย
คือความตายคุกคามแล้วได้ จึงปิดประตูเรือนล้อมรักษาอยู่ภายนอกเรือน โดยประการ
ที่เขาอยู่ภายใน ไม่สามารถจะเที่ยวไปข้างนอกได้
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
292 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๐. โย เตสํ เชฏฺฐโก, ตสฺส สตฺต ปุตฺตา สตฺต ธีตโร. (๑/๑๑.ธมฺมิกอุปาสก/๑๒๐)


โย (อุปาสโก) เตสํ (อุปาสกานํ) เชฏฺฐโก (โหติ), ตสฺส (อุปาสกสฺส) สตฺต ปุตฺตา สตฺต
ธีตโร (สนฺติ).
อุบาสกที่เป็นหัวหน้าแห่งอุบาสกเหล่านั้น มีบุตร ๗ คน ธิดา ๗ คน
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๑. ยาว อคารมชฺเฌ วสิ, ตาวสฺส เทวตา ทิพฺพปูเว ปหิณึสุ. (๑/๑๒.เทวทตฺต/๑๒๖)
(โส อนุรุทฺโธ) ยาว อคารมชฺเฌ วสิ, ตาว อสฺส (อนุรุทฺธสฺส) เทวตา ทิพฺพปูเว ปหิณึสุ.
เทวดาทั้งหลายส่งขนมทิพย์ถวายเจ้าอนุรุทธะนั้น ตลอดเวลาที่ท่านเป็นฆราวาส
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๒. เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ เนว ตถา รญฺโญ มาราปิตตฺตา, น วธกานํ ปโยชิตตฺตา, น
สิลาย ปวิทฺธตฺตา, ปากฏํ อโหสิ; ยถา นาฬาคิริหตฺถิโน วิสฺสชฺชิตตฺตา. (๑/๑๒/๑๓๑)
(๒) เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ เนว ตถา รญฺโญ (เทวทตฺเตน อชาตสตฺตุํ) มาราปิตตฺตา ปากฏํ
อโหสิ ฯ
(๓) เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ น ตถา (เทวทตฺเตน) วธกานํ ปโยชิตตฺตา ปากฏํ อโหสิ ฯ
(๔) เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ น ตถา (เทวทตฺเตน) สิลาย ปวิทฺธตฺตา ปากฏํ อโหสิ ฯ
(๑) ยถา เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ (เทวทตฺเตน) นาฬาคิริหตฺถิโน วิสฺสชฺชิตตฺตา ปากฏํ อโหสิ ฯ
กรรมแม้ของพระเทวทัต เพราะแนะน�ำพระเจ้าอชาตศัตรูกุมารให้ส�ำเร็จโทษพระราชา
เสียก็ดี เพราะบงการนายขมังธนูก็ดี เพราะกลิ้งศิลาก็ดี มิได้ปรากฏ เหมือนเพราะ-
ปล่อยช้างนาฬาคิรีเลย
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
วิธีการแปลประโยค ย - ต 293

.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๓. ฐานํ โข ปเนตํ วิชฺชติ, ยํ ตฺวํ กุมาโรว สมาโน กาลํ กเรยฺยาสิ. (๑/๑๒/๑๓๐)
ฐานํ โข ปน เอตํ วิชฺชติ, ยํ ตฺวํ กุมาโรว สมาโน กาลํ กเรยฺยาสิ.
ก็็ ข้้อที่่�พระองค์์พึึงทิิวงคตเสีียตั้้�งแต่่ยัังเป็็นพระกุุมาร นั่่�นเป็็นฐานะมีีอยู่่�แล
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓๔. โย ทุกฺขา มุจฺจิตุกาโม, โส มยา สทฺธึ อาคจฺฉตุ. (๑/๑๒.เทวทตฺต/๑๓๒)
โย (ปุคฺคโล) ทุกฺขา มุจฺจิตุกาโม (โหติ), โส (ปุคฺคโล) มยา สทฺธึ อาคจฺฉตุ.
ผู้ใดประสงค์จะพ้นทุกข์ ผู้นั้นจงมากับเรา (ผู้ที่ประสงค์จะพ้นจากทุกข์ จงมากับเรา)
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
294 โครงสร้างภาษาบาลี ๒

๓๕. อถ โข เทวทตฺโต อุโปสถทิวเส อตฺตโน ปริสาย สทฺธึ เอกมนฺตํ นิสีทิตฺวา


“ยสฺสิมานิ ปญฺจ วตฺถูนิ ขมนฺติ, โส สลากํ คณฺหตูติ วตฺวา, ปญฺจสเตหิ
วชฺชีปุตฺตเกหิ นวเกหิ อปฺปกตญฺญูหิ สลากาย คหิตาย, สงฺฆํ ภินฺทิตฺวา เต ภิกฺขู
อาทาย คยาสีสํ อคมาสิ. (๑/๑๒.เทวทตฺต/๑๓๓)
อถ โข เทวทตฺโต อุโปสถทิวเส อตฺตโน ปริสาย สทฺธึ เอกมนฺตํ นิสีทิตฺวา “ยสฺส (ภิกฺขุโน)
อิมานิ ปญฺจ วตฺถูนิ ขมนฺติ, โส (ภิกฺขุ) สลากํ คณฺหตูติ วตฺวา, ปญฺจสเตหิ วชฺชีปุตฺตเกหิ
นวเกหิ อปฺปกตญฺญูหิ สลากาย คหิตาย, สงฺฆํ ภินฺทิตฺวา เต ภิกฺขู อาทาย คยาสีสํ อคมาสิ.
ครั้งนั้นแล พระเทวทัตนั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่งพร้อมด้วยบริษัทของตน ในวันอุโบสถ กล่าว
ว่า “วัตถุ ๕ ประการเหล่านี้ ย่อมชอบใจแก่ผู้ใด, ผู้นั้นจงจับสลาก” เมื่อภิกษุวัชชีบุตร
๕๐๐ รูป ผู้บวชใหม่ ยังไม่รู้จักธรรมวินัยที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำอย่างทั่วถึง จับ
สลากกันแล้ว, ได้ท�ำลายสงฆ์ พาภิกษุเหล่านั้นไปสู่คยาสีสประเทศ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ประวััติิผู้้�รวบรวมและเรีียบเรีียง
ชื่อ-ฉายา พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโ (เข็มสันเทียะ)
วัน/เดือน/ปีเกิด เกิด วันที่ ๒๘ เดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๔
สถานที่เกิด บ้านเลขที่ ๕๑ หมู่ ๓ ต�ำบลมะค่า อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
อุปสมบท วันที่ ๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๓๔ ณ พัทธสีมาวัดถนนโพธิ์ ต�ำบลถนนโพธิ์
อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
ประวัติการศึกษา เปรียญธรรม ๗ ประโยค
ชั้นนักศึกษาบาลีใหญ่ (สอบได้อันดับที่ ๑) ส�ำนักเรียนวัดท่ามะโอ ต�ำบลเวียงเหนือ
อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง
ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ (จิตวิทยา) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี (มจร)
ประวัติการท�ำงาน ครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี และบาลีใหญ่
ที่อยู่ปัจจุบัน วัดสุทธาโภชน์ ถนนฉลองกรุง ซอยฉลอง ๘ แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
๑๐๕๒๐
ผลงาน ๑. รูปสิทธิทีปนี
๒. ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น
๓. กัจจายนสุตตปาฐะ แปลสูตรพร้อมอุทาหรณ์
๔. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๑ หลักการแปลขั้นพื้นฐาน ร่วมกับคณะ
๕. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๒ วากยสัมพันธ์
๖. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๓ โครงสร้างลักษณะต่างๆ ของภาษาบาลี ๑
๗. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๔ โครงสร้างลักษณะต่างๆ ของภาษาบาลี ๒
๘. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๕ วิธีการแปลอรรถกถา
๙. ทักษะการใช้ภาษาบาลี ๖ วิธีการแต่งประโยคภาษาบาลี
๑๐. นามาขยาตรูปัพพิธาน (วิธีท�ำตัวรูปของนามบทและอาขยาตบท)
๑๑. ภิกขุปาติโมกข์แปล พร้อมมาติกาส�ำหรับวินิจฉัยสิกขาบท
๑๒. ธรรมบทอรรถกถาแปลและสััมพัันธ์์ ภาค ๑ เล่่ม ๑, ๒, ๓
๑๓. ธรรมบทอรรถกถาแปลและสััมพัันธ์์ ภาค ๒ เล่่ม ๔, ๕, ๖
๑๔. ธรรมบทอรรถกถาแปลและสััมพัันธ์์ ภาค ๓ เล่่ม ๗, ๘, ๙
๑๕. ธรรมบทอรรถกถาแปลและสััมพัันธ์์ ภาค ๔ เล่่ม ๑๐, ๑๑, ๑๒
๑๖. ธรรมบทอรรถกถาแปลและสััมพัันธ์์ ภาค ๕ เล่่ม ๑๓, ๑๔, ๑๕
๑๗. มัังคลััตถทีีปนีีแปล ภาค ๑ เล่่ม ๑, ๒, ๓
บันทึกทายเลม
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
บันทึกทายเลม
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
ปปฺจํ ปริวชฺเชยฺย สมฺปสฺสํ อตฺถมตฺตโน
อนฺตราโย หิ ปปฺโจ นิปฺปปฺจสฺส สาสเน ฯ
- ประมวลถามตอบของแลดีสยาดอ -

ผูเล็งเห็นประโยชนตน
พึงหลีกเวนความเนิ่นชา
เพราะความเนิ่นชาเปนอุปสรรคในศาสนา
ของพระศาสดาผูปราศจากธรรมอันเนิ่นชา

You might also like