You are on page 1of 87

การสร้างคํา

ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
แบบฝึกหัดทบทวน Kruptitee

๑. ทุกคําในข้อใดไม่ออกเสียงควบกล้ํา

การสร้างคํา
๑. ปลัด พฤทธิ์ นิทรา
๒. ปรอท กลศ แทรก
๓. ปลาต ขรม พุทรา
๔. ปริตร ตรุษ อินทรีย์
การสร้างคําในภาษาไทย

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


การสร้างคําในภาษาไทย
• คําซ้ํา
• คําซ้อน
• คําประสม

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


คําประสม
 คําที่เกิดจากการนําคํามูลตั้งแต่ 2 คําขึ้นไป และมี
ความหมายต่างกันมาประสมกันเป็นคําใหม่
 เช่น น้ําแข็ง บ้านเช่า คนนอก หวานเย็น

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


คําซ้อน
 คําทีม
่ ีความหมายคู่กันหรือใกล้เคียงกันมาซ้อนกัน
 คําที่มาซ้อนกันจะทําหน้าที่ขยายและไขความซึ่งกันและกัน
และทําให้เสียงกลมกลืนกันด้วย
 เช่น ใหม่เอี่ยม เสื่อสาด ถ้วยชาม ข้าทาส ราบเรียบ เป็นต้น

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


คําซ้ํา
 คําซ้ํา เป็นการซ้ําคํามูลเดิม
 ความหมายของคําซ้ําอาจเหมือนคํามูลเดิม หรืออาจมี
น้ําหนักมากขึ้นหรือเบาลง หรือแสดงความเป็นพหูพจน์
 เช่น ผัวๆ เมียๆ หลานๆ ปรอยๆ พื้นๆ แดงๆ

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


เพลง รถสร้างคา
คา........................ต้องนาความหมาย....................มารวมกัน
และต้องเกิดความหมาย.............. เช่น ......................
ส่วนคา............... ความหมาย ................ ............... ................ เข่น .................
คา..................... เขียน.....................อีกครั้ง ..................... จาขึ้นใจ
สมาส ต้อง .................... สนธิสอดแทรกใส่ไส้จาได้หรือเปล่า
นี่คือการสร้างคาทั้งหมดใช่ไหม? น้องจ๊ะ เค้าว่าความรักนั้นมาเติมเต็มที่ว่างในใจ
อยากรู้พ่ตี ี่ตีส๋ วยรึเปล่า?
การสร้างคํา
 การสร้างคําในภาษาไทยได้รบ
ั แบบอย่างมาจากภาษาบาลี
สันสกฤต
 สามารถสร้างได้หลายวิธี เช่น การสมาส การสนธิ
การแผลงคํา การใช้อุปสรรค การใช้ปัจจัย การใช้วิภัตติ

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


การสมาส
การสร้างคําสมาสในภาษาไทยได้แบบอย่างมาจากภาษาบาลี
และสันสกฤต โดนนําคําบาลี-สันสกฤต ตั้งแต่ 2 คํามาต่อกัน
หรือรวมกัน

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


ลักษณะของคําสมาส

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


1. เป็นคําที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤตเท่านั้น คําที่มา
จากภาษาอื่น นํามาประสมกันไม่นับบเป็นคําสมาส
 บาลี + บาลี
 สันสกฤต +สันสกฤต
 บาลี + สันสกฤต , สันสกฤต + บาลี
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
บาลี + บาลี
เช่น อัคคีภัย วาตภัย โจรภัย
อริยสัจ ขัตติยมานะ
อัจฉริยบุคคล

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


สันสกฤต + สันสกฤต
เช่น แพทยศาสตร์ วีรบุรุษ วีรสตรี
สังคมวิทยา ศิลปกรรม

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


บาลี + สันสกฤต , สันสกฤต + บาลี
เช่น หัตถศึกษา นาฏศิลป์ สัจธรรม
สามัญศึกษา

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


2. คําที่รวมกันแล้ว ไม่เปลี่ยนแปลงรูปคําแต่อย่างไร
เช่น
วัฒน + ธรรม = วัฒนธรรม
อักษร + ศาสตร์ = อักษรศาสตร์
เสรี + ภาพ = เสรีภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
โลก + บาล = โลกบาล
อุดม + ศึกษา = อุดมศึกษา
สิทธิ + บัตร = สิทธิบัตร
สังฆ + นายก = สังฆนายก
วาท + ศิลป์ = วาทศิลป์
สาร + คดี = สารคดี
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
3. คําสมาสเมื่อออกเสียงต้องต่อเนื่องกัน
เช่น
รัฐมนตรี อ่านว่า รัด – ถะ – มน – ตรี
เศรษฐการ อ่านว่า เสด – ถะ – กาน
ยุทธวิธี อ่านว่า ยุด – ทะ – วิ – ธี
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
กาลเทศะ อ่านว่า กา – ละ – เท - สะ
ภูมิศาสตร์ อ่านว่า พู – มิ – สาด
สารคดี อ่านว่า สา – ระ – คะ – ดี
สิทธิบัตร อ่านว่า สิด – ทิ – บัด
ภารกิจ อ่านว่า ภา – ระ – กิด
นาฏศิลป์ อ่านว่า นาด – ตะ - สิน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
! ยกเว้น
คําบางคําอ่านตามความนิยม เช่น ชาตินิยม
ไตรรัตน์ บุรุษเพศ ธาตุวิเคราะห์ สุภาพบุรุษ

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


4. คําที่นํามาสมาสกันแล้ว ความหมายหลักอยู่ที่คําหลัง
ความหมายรองอยู่ที่คําหน้า
เช่น
- อักษร (ตัวหนังสือ) + ศาสตร์ (วิชา) = อักษรศาสตร์ (วิชาว่า
ด้วยตัวหนังสือ)
- ยุทธ (รบ) + ภูมิ (แผ่นดิน ,สนาม) = ยุทธภูมิ (สนามรบ)
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
- วาท (การพูด) + ศิลป์ (ศิลปะ) = วาทศิลป์ (ศิลปะการพูด)
- หัตถ (มือ) + กรรม (การงาน) = หัตถกรรม (งานฝีมือ)
- คุรุ (ครู) + ศาสตร์ (วิชา) = คุรุศาสตร์ (วิชาครู)
- สุนทร (งามไพเราะ) + พจน์ (คํากล่าว) = สุนทรพจน์
(คํากล่าวที่ไพเราะ)

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


5. คําว่า “วร” ตามด้วยภาษาบาลีสันสกฤตถือเป็นคําสมาส
นํามาใช้เป็นคําราชาศัพท์ในภาษาไทย จะแผลง “วร” เป็น “พระ”
เช่น
- วรพักตร์ เป็น พระพักตร์
- วรเนตร เป็น พระเนตร
- วรชายา เป็น พระชายา
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
- วรบาท เป็น พระบาท
- วรวิหาร เป็น พระวิหาร
- วรนาสิก เป็น พระนาสิก
- วรองค์ เป็น พระองค์
- วรโอษฐ์ เป็น พระโอษฐ์
- วรหทัย เป็น พระหทัย
! ยกเว้น
“พระ” ที่ประสมกับภาษาอื่นที่ไม่ใช่คําบาลี-สันสกฤต
ไม่เป็นคําสมาส เช่น พระอู่ พระเก้าอี้ พระเขนย เป็นต้น

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


การสนธิ
 การเปลี่ยนเสียงตามหลักบาลีสันสกฤต
 เมื่อเสียง 2 เสียงอยู่ใกล้กน
ั จะกลมกลืนเป็นเสียงเดียวกัน
 มีการเปลี่ยนแปลงพยัญชนะ สระ นิคหิต ที่มาเชื่อมเพื่อ
กลมกลืนเสียงให้เป็นธรรมชาติ
 คําเหล่านี้จะมีเสียงสั้นเข้า
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
สุข อภิบาล สุขาภิบาล

ภูมิ อินทร์ ภูมินทร์

วิทย อาลัย วิทยาลัย


ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
หลักการสนธิ
1. ต้องเป็นคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น
เช่น ชล (ป. , ส.) + อาลัย (ป. , ส.) = ชลาลัย
ทรัพย (ส.) + อากร (ป. , ส.) = ทรัพยากร
เทว (ป. , ส.) + อาลัย (ป. , ส.) = เทวาลัย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
2. ศัพท์ประกอบไว้หน้า ศัพท์หลักไว้หลัง
เช่น มหา + อัศจรรย์ = มหัศจรรย์
3. แปลจากหลังมาหน้า
เช่น ประชา (คน) + อากร (พวก) = ประชากร (หมู่คน)
วชิร (สายฟ้า) + อาวุธ = วชิราวุ (ผู้มีสายฟ้าเป็นอาวุธ)

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


4. ถ้าเป็นสระสนธิ ศัพท์ตัวหลังจะขึ้นต้นด้วย ตัว อ
เช่น มหา + อรรณพ = มหรรณพ
พุทธ + โอวาท = พุทโธวาท
5. มีการเปลี่ยนแปลงรูปศัพท์
เช่น ทุส + ลักษณ์ = ทุรลักษณ์ , ทรลักษณ์

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


การสนธิ
มี 3 ลักษณะ คือ
1. สระสนธิ
2. พยัญชนะสนธิ
3. นฤคหิตสนธิ

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


สระสนธิ
คือ การนําคําบาลีสัน-สกฤตมาสนธิกับคําทีข่ ึ้นต้นด้วยสระ
มีหลักดังนี้
1. ตัดสระท้ายคําหน้า ใช้สระหน้าคําหลัง เช่น
คทา + อาวุธ = คทาวุธ ศิลป + อากร = ศิลปากร
อน + เอก = อเนก วร + โอกาส = วโรกาส
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
2. ตัดสระท้ายคําหน้า ใช้สระหน้าคําหลัง แต่เปลี่ยนสระหน้าคํา
หลังจาก อะ เป็น อา อิ เป็น เอ อุ เป็น อู โอ เสียก่อน เช่น
เทศ + อภิบาล = เทศาภิบาล ทูต + อนุทูต = ทูตานุทูต
คช + อินทร์ = คเชนทร มหา + อิสี = มเหสี
คุณ + อุปการ = คุณูปการ นย + อุบาย = นโยบาย

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


3. เปลี่ยนสระที่ท้ายคําหน้า อิ อี เป็น ย อุ อู เป็น ว เสียก่อน
แล้วสนธิตามหลักข้อ 1 และ 2 เช่น
อธิ + อาศัย = อัธยาศัย
สินธุ + อานนท์ = สินธวานนท์

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


พยัญชนะสนธิ
คือ คําบาลีสันสกฤตที่นํามาสนธิกับพยัญชนะ มีหลักดังนี้
1. คําที่ลงท้ายด้วย ส สนธิกับพยัญชนะ เปลี่ยน ส เป็น โ เช่น
มนัส + ธรรม = มโนธรรม มนัส + คติ = มโนคติ
รหัส + ฐาน = รโหฐาน

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


2. ทุส กัน นิส สนธิกับพยัญชนะ เปลี่ยน ส เป็น ร เช่น
ทุส + กันดาร = ทุรกันดาร ทุส + ชน = ทุรชน, ทรชน
ทุส + พล = ทุรพล , ทรพล ทุส + พิษ = ทุรพิษ, ทรพิษ
นิส + คุณ = นิรคุณ, เนรคุณ นิส + อาศ = นิราศ
นิส + ภัย = นิรภัย นิส + เทศ = นิรเทศ, เนรเทศ

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


นฤคหิตสนธิ
คือ คําบาลีสันสกฤตที่นํามาสนธิกับ นฤคหิต มีหลักดังนี้
1. นฤคหิต สนธิกับ สร เปลี่ยน ํ เป็น ม ก่อนสนธิตามหลักสระ
สนธิ เช่น
สํ + ฤทธิ์ = สัมฤทธิ์ สํ + อาคม = สมาคม

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


2. นฤคหิต สนธิกับพยัญชนะวรรค เปลี่ยน ํ เป็นพยัญชนะท้าย
วรรคนั้นก่อนการสนธิ
 สนธิกับวรรค กะ เปลี่ยน ํ เป็น ง เช่น
สํ + คีต = สังคีต สํ + เกต = สังเกต
สํ + ขาร = สังขาร สํ + คม = สังคม

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


 สนธิกับวรรค จะ เปลี่ยน ํ เป็น ญ เช่น
สํ + จร = สัญจร สํ + ชาติ = สัญชาติ
สํ + ญา = สัญญา สํ + ญาณ = สัญญาณ
 สนธิกับวรรค ฏะ เปลี่ยน ํ เป็น ณ เช่น
สํ + ฐาน = สัณฐาน

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


 สนธิกับวรรค ตะ เปลี่ยน ํ เป็น น เช่น
สํ + ดาน = สันดาน สํ + เทศ = สันเทศ,สนเทศ
สํ + นิบาต = สันนิบาต สํ + นิวาส = สันนิวาส
สํ + โดษ = สันโดษ สํ + ดาป = สันดาป

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


 สนธิกับวรรค ปะ เปลี่ยน ํ เป็น ม เช่น
สํ + บัติ = สมบัติ สํ + บูรณ์ = สมบูรณ์
สํ + พันธ์ = สัมพันธ์ สํ + ปทาน = สัมปทาน
สํ + ผัส = สัมผัส สํ + พงศ์ = สมพงศ์
สํ + ภพ = สมภพ สํ + เพช = สมเพช
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
 สนธิกับเศษวรรค เปลี่ยน ํ เป็น ง ก่อนสนธิ เช่น
สํ + โยค = สังโยค สํ + วร = สังวร
สํ + หรณ์ = สังหรณ์ สํ + วาส = สังวาส
สํ + เวค = สังเวค สํ + สนทนา = สังสนทนา
สํ + สิทธิ = สังสิทธิ สํ + หาร = สังหาร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
การสร้างคํา
สามารถสร้างคําด้วยวิธีอื่นๆ เช่น
- การแผลงคํา - การใช้อุปสรรค
- การใช้ปัจจัย - การใช้วิภัตติ

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


การใช้อุปสรรค
อุปสรรค เป็นพยางค์ที่ใช้สําหรับประกอบหน้าศัพท์ เช่น ทุ นิ
ป ประ อุป อธิ อติ เป็นต้น ทําให้ศัพท์ มีความหมาย
เปลี่ยนไป เป็นวิธีการเพิ่มศัพท์ของภาษาบาลีและสันสกฤต
เช่น ทุจริจ นิบาท ปฎิเสธ ปฏิกิริยา อธิการ อนุญาติ อุทิศ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
การใช้ปัจจัย
 ปัจจัยคือพยางค์ที่นํามาลงท้ายศัพท์ในภาษาบาลีและ
สันสกฤตเพื่อประกอบศัพท์เป็นคํานาม และ กริยา
 เช่น ก ปัจจัย แปลว่า ผู้ - นายก ยาจก
ณ น ปัจจัย แปลว่า การ , ความ - คมน (การไปมา)
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
การใช้วิภัตติ
 วิภัตติ หมายถึงพยางค์ทน
ี่ ํามาประกอบท้ายนามศัพท์หรือ
กริยาศัพท์เพื่อบอก บุรุษ พจน์ เพศ
 ประกอบ นามศัพท์ จะบอกหน้าทีข่ องนาม
 เมื่อประกอบกริยาศัพท์ จะบอก กาล มาลา วาจก

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


 ไทยไม่ได้นําเอาวิธีการวิภตัติของบาลีสันสกฤตมาใช้
โดยตรง แต่นําคําที่ติดวิภัตติเข้ามาใช้เพียงบางคํา
 เช่น บุตรี กุมารี ยักษิณี ทาสี เทวี เทวา เทโว
ชโย โทโส โมโห เดโช เตโช มโน โกรธา กายา
อาโป เสโท พุทโธ ทุกขา ทุกขัง อนิจจา อนิจจัง
อนัตตา นาคา นาคี นาโค สุริยา สุริโย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
แบบฝึกหัด

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


เติมคําในช่องว่าง
1. ปรม + อินทร์ = __________
2. _______ + อิสี = มเหสี
3. ราช + ______ = ราชูทิศ
4. _______ + คติ = มโนคติ
5. สํ + พุทธ = _________ เฉลย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
6. ________ + อัศจรรย์ = มหัศจรรย์
7. จินต + _______ = จินตนาการ
8. ทรัพย + อากร = _________
9. กาล + เทศะ = _________
10. ______ + อาวุธ = ขีปนาวุธ เฉลย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
11. ธุร + _______ = ธุรการ
12. นิส + _______ = นิราศ
13. สํ + อาคม = _________
14. สํ + ชาติ = _________
15. _____ + ลักษณ์ = ทรลักษณ์ เฉลย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
16. วร + _______ = วโรกาส
17. คช + อินทร์ = ________
18. ______ + อาศัย = อัธยาศัย
19. สํ + เทศ = _________
20. รหัส + ฐาน = ________ เฉลย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
1. ปรม + อินทร์ = ปรเมนทร์
2. __มหา__ + อิสี = มเหสี
3. ราช + _อุทิศ_ = ราชูทิศ
4. __มนัส__ + คติ = มโนคติ
5. สํ + พุทธ = _สัมพุทธ_
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
6. __มหา__ + อัศจรรย์ = มหัศจรรย์
7. จินต + _อาการ_ = จินตนาการ
8. ทรัพย + อากร = ทรัพยากร
9. กาล + เทศะ = กาลเทศะ
10. _ขีปน_ + อาวุธ = ขีปนาวุธ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
11. ธุร + __การ__ = ธุรการ
12. นิส + __อาศ__ = นิราศ
13. สํ + อาคม = _สมาคม_
14. สํ + ชาติ = _สัญชาติ__
15. _ทุส_ + ลักษณ์ = ทรลักษณ์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
เติมคําในช่องว่าง
16. วร + _โอกาส_ = วโรกาส
17. คช + อินทร์ = คเชนทร์
18. __อธิ__ + อาศัย = อัธยาศัย
19. สํ + เทศ = สนเทศ
20. รหัส + ฐาน = รโหฐาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
1. ข้อใดเป็นคําสมาส
ก. มหรรณพ
ข. มัคคุเทศน์
ค. อิสรภาพ
ง. พุทโธวาส
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
2. ข้อใดเป็นพยัญชนะสนธิ
ก. นรินทร์
ข. ราชูปถัมภ์
ค. ภูมินทร์
ง. มโนภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
3. ข้อใดเป็นนฤคหิตสนธิ
ก. มเหสี
ข. สันนิบาต
ค. นโยบาย
ง. โกสินทร์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
4. คําต่อไปนี้ คําในข้อใดมีทั้งสมาส และสนธิ
ก. เวฬุวนาราม
ข. เศรษฐกิจ
ค. ราชาคณะ
ง. วิทยาทาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
5. ข้อใดเป็นสนธิที่ตัดสระเดิมออก
ก. ทัณฑฆาต มธุรส
ข. หัตถาจารย์ ศักดานุภาพ
ค. สิรินทร์ ราชาธิราช
ง. อเนก พลเรือน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
6. ข้อใดนฤคหิตสนธิทั้งสองคํา
ก. สัญจร สังหรณ์
ข. ราชกุมาร ภูมิศาสตร์
ค. มหรรณพ วิทยาลัย
ง. คเชนทร์ นเรนทร์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
7. คําว่า “ราชิน”ี สนธิกับ “อนุสรณ์” ได้คําว่าอย่างไร
ก. ราชินีสรณ์
ข. ราชินยานุสรณ์
ค. ราชินรานุสรณ์
ง. ราชินานุสรณ์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
8. คําในข้อใดเป็นคําสนธิ
ก. นโรดม
ข. เทศกาล
ค. มกาฬทวีป
ง. ราชบัณฑิต
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
9. คําว่า “คมนาคม” แยกสนธิได้อย่างไร
ก. คมน + คม
ข. คมนา + อคม
ค. คมน + อคม
ง. คมน + อาคม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
10 . ข้อใดเป็นคําสนธิที่ถูกต้องของ อัคคี+โอภาส
ก. อัคโคภาส
ข. อัคโยภาส
ค. อัคคโยภาส
ง. อัคโวภาส
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
11 . ข้อใดไม่ใช่สระสนธิ
ก. วโรกาส
ข. ชโลทก
ค. มโนมัย
ง. จันโททัย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
12 . คําว่า หัตถาจารย์ เมื่อแยกเป็นสนธิแล้วเป็นอย่างไร
ก. หัตถ + อาจารย์
ข. หัตถา + จารย์
ค. หัตถา + อาจารย์
ง. หัตถี + อาจารย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
13 . "วิเทโศบาย" แยกสนธิได้อย่างไร
ก. วิเทศ + อุบาย
ข. วิเทศ + อบาย
ค. วิเทโศ + บาย
ง. วิเทศ + โอบาย

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


14. ข้อใดมีคําสมาสที่กลมกลืนเสียง
ก. ธรรมบท บุญฤทธิ์ มงคลวาร
ข. เยาวลักษณ์ วิทยาเขต ทศวรรษ
ค. โลกนาถ ภัณฑารักษ์ กรรมฐาน
ง. ศุภนิมิต สหกรณ์ นิติกรรม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
15. ข้อใดเป็นคําสมาสที่ใช้วิธีการสนธิเพียง 1 คํา
ก. ขีปนาวุธ ยุทโธปกรณ์
ข. สรรพากร สรรพสามิต
ค. ปฏิชีวนะ ปฏิกิริยา
ง. กัมมันตภาพ อุณหภูมิ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
16. ข้อใดเป็นคําสมาสทุกคํา
ก. เคหะสถาน เพรงกรรม อากาศธาตุ
ข. วีรกรรม ปฏิบัติการ อัญชุลี
ค. วิบากกรรม นวโลหะ ชัยมงคล
ง. ทัศนวิสัย ผลบุญ เพลิงกัลป
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
17. ข้อใดเป็นคําสมาสทุกคํา
ก. มโหฬาร มหาวิทยาลัย มหาภัย
ข. คุณสมบัติ คุณากร คุณค่า
ค. ราชการ ราชวัง ราชรถ
ง. พลานามัย พลศึกษา พลความ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
18. ข้อใดมีคําสมาสที่มีการสนธิทั้งหมด
ก. มโนมัย สัมมาทิฐิ โยธาธิการ
ข. คุณูปการ นามาภิไธย ชราภาพ
ค. ทัศนูปกรณ์ ชโลทร นิทรารมณ์
ง. มหาวิทยาลัย ธนาณัติ รัชนีกร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
19. ข้อใดมีคําสมาสที่มีการสนธิทั้งหมด
ก. มโนมัย สัมมาทิฐิ โยธาธิการ
ข. ทัศนูปกรณ์ ชโลทร นิทรารมณ์
ค. คุณูปการ นามาภิไธย ชราภาพ
ง. มหาวิทยาลัย ธนาณัติ รัชนีกร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
20. ข้อใดมีคําสมาสที่กลมกลืนเสียง
ก. ธรรมบท บุญฤทธิ์ มงคลวาร
ข. เยาวลักษณ์ วิทยาเขต ทศวรรษ
ค. ศุภนิมิต สหกรณ์ นิตกิ รรม
ง. โลกนาถ ภัณฑารักษ์ กรรมฐาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
21. เขาตั้งสัจจาธิษฐานต่อพระพุทธรูปในโบสถ์ว่า ขอ
อย่าให้ธัญญาหารเสียหายจากภัยธรรมชาติ เขาจะดํารง
ชีวิตอยู่ในธรรมตลอดไป ข้อความข้างต้นมีคําสมาสกี่คํา
ก. 2 คํา ข. 3 คํา
ค. 4 คํา ง. 5 คํา

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


22. ข้อใดเป็นสระสนธิ
ก. เทศาภิบาล
ข. เตโชชัย
ค. สมภพ
ง. ปฐมวัย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
23. ข้อใดมีลักษณะเหมือนคําว่า “ราโชวาท”
ก. วัฒนธรรม พลศึกษา ภารกิจ
ข. ธุรการ พุทธคุณ อักษรศาสตร์
ค. ธนาลัย มโหฬาร สุโขทัย
ง. ครุภัณฑ์ สุนทรทาน สัณหจุฑา
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
24. ข้อใดที่ทุกคํามีการสร้างคําเช่นเดียวกับคําว่า “พลานามัย”
ก. อัธยาศัย นิโลบล นภาลัย
ข.ทัศนาจร ภูมิปัญญา เพชฌฆาต
ค. ฐานันดร กมลาสน์ จินตนาการ
ง. จิตวิทยา ปฐมยาม มรณภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
25. ข้อใดที่ทุกคํามีการสร้างคําเช่นเดียวกับคําว่า “สุขภาพ”
ก. จตุบท ธนบดี นภาลัย
ข. จุลกฐิน บุพบท รัชกาล
ค. จิตนิยม ชิโนรส ธัญญาหาร
ง. ภูมิภาค โภชนาการ มิจฉาชีพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
26. “ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิ่งมีค่ายิ่ง จึงมีลิขสิทธิ์การ
คิดค้นประดิษฐกรรมใหม่” ข้อความข้างต้นมีคําสมาสกี่คํ า
ก. 2 คํา ข. 3 คํา
ค. 4 คํา ง. 5 คํา

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์


27.คําทุกคําในข้อใดมีคําสมาสที่ประกอบจากคํา 3 คํา
ก. สหราชอาณาจักร ทรัพยากรศาสตร์ จุลชีววิทยา
ข. พุทธศตวรรษ สรีรวิทยา พฤติกรรมศาสตร์
ค. นิรโทษกรรม กิตติกรรมประกาศ ไตรโลกนาถ
ง. สารานุกรม พันธุกรรมศาสตร์ ประชาทัณฑ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
28. มีโฆษณาวารสารฉบับหนึ่งเขียนว่า “กล่องกระดาษชนิดเติม
เป็นบรรจุภัณฑ์ สําหรับใส่ของเหลว ที่ใช้กันแพร่หลายในประเทศ
ซึ่งพัฒนาแล้ว เพราะกล่องชนิดนี้จะช่วยให้มขี ยะน้อย ปัญหา
สิ่งแวดล้อมก็จะลดลง ด้วย กล่องเหล่านี้ขนส่งไปได้คราวละมากๆ
จึงช่วยประหยัดพลังงานทีจ่ ะต้องสูญเสียไปในแต่ละเที่ยว”
ข้อความข้างต้นมีคําสมาสกีค่ ํา
ก. 1 คํา ข. 2 คํา ค. 3 คํา ง. 4 คํา
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
29. “ขอพระมหากรุณาธิคุณบุญญาธิการจงชักนํา ให้เกิดสามัคคี
ธรรมในหมู่ไทย อย่าได้รู้ร้าวราน ให้ทุกฝ่าย มีใจสมัครสมานเป็น
อันหนึ่งอันเดียวเกลียวกลม เป็นพลังอันอุดมยิ่งใหญ่ ที่จะประกอบ
กิจกรณีย์ นําไทย ให้วัฒนายืนยิ่ง ประสบแต่สิ่งศุภสวัสดิต์ ลอด
จิรัฏฐิติกาล” ข้อความข้างต้นมีคําสมาสทัง้ หมดกี่คํา
ก. 3 คํา ข. 4 คํา ค. 5 คํา ง. 6 คํา
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
30. ข้อใดเรียงลําดับประเภทของคําดังนี้ : คําประสม คําซ้อน
คําสมาส
ก. แสวงหา สนใจ สุตกวี
ข. พิษภัย บทบาท บริโภค
ค. จุดหมาย เบิกบาน อรรถคดี
ง. อ้างอิง ตกตํ่า เสรีภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อาจารย์พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

You might also like