You are on page 1of 9

ลพักษณะคำประพ

ภาษาไทยกับครู ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวันธ์


ทิพย ์

บทนม ัสการมาตาปิ ตุคณ ุ และนม ัสการอาจริย


คุณ เป็นคำประพ ันธ์ทแ ี่ ต่งด้วยฉ ันท์ ซงึ่ เป็น
อินทรวิเชย ี รฉ ันท์ ๑๑
เพือ
่ ให้การอ่านต ัวบทได้อย่างถูกต้องและ
ไพเราะ จึงจำเป็นต้องเข้าใจฉ ันทล ักษณ์ของ
อินทรวิเชย ี รฉ ันท์ ๑๑ ก่อน
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์
ี รฉ ันท์ ๑๑
อินทรวิเชย
้ ต่งเคยเรียกว่า อินทะวชริ ะฉ ันท์
- ผูแ
- อ่านว่า อิน – ทฺระ – วิ –เชย
ี น – ฉ ัน – สบ
ิ –
เอ็ด
* เดิม ทฺระ เคยอ่าน ทะ – ระ
- หมายถึง ฉ ันท์ทมี่ ล
ี ลี างดงามประดุจสายฟ้า ซงึ่
เป็นอาวุธของพระอินทร์
้ ต่งบรรยายเนือ
- ใชแ ้ ความเรียบๆ พรรณนาความ
เศร้าโศก และใชช ้ มความงามต่างๆ
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์

แผนผ ัง
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์
ล ักษณะบ ังค ับ
- ๑ บท มี ๒ บาท
- ๑ บาท มี ๒ วรรค คือ วรรคหน้า ๕ คำ
วรรคหล ัง ๖ คำ
(คำในบทประพ ันธ์ หมายถึง การเปล่ง
เสยี งครงหนึ
ั้ ง่ ๆ หรือพยางค์)
- รวม ๑ บท มี ๔ วรรค
ั ัสนอก
- สมผ ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์
+ คำสุดท้ายวรรคที่ ๑ สง ่ สมผั ัสไปย ัง คำที่ ๓
วรรคที่ ๒
+ คำสุดท้ายวรรคที่ ๒ สง ่ สมผั ัสไปย ังคำ
สุดท้าย วรรคที่ ๓
+ คำสุดท้ายวรรคที่ ๔ สง ่ สมผั ัสไปย ังคำ
สุดท้าย วรรคที่ ๒
ั ัสระหว่างบท)
บทถ ัดไป (สมผ
ั ัสใน : ไม่บ ังค ับ แต่ถา้ มีสมผ
- สมผ ั ัสในจะทำให้
มีความไพเราะเพิม ้
่ ขึน
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์
ี ง
การออกเสย
- คำครุ
ครุ (หน ัก) คำในตำแหน่งครุ ต้องลง
เสยี งหน ัก
- คำลหุ
ลหุ (เบา) คำในตำแหน่งลหุ ไม่ตอ ้ งลง
น้ำหน ัก (ถึงแม้วา
่ คำนนจำเป
ั้ ็ นคำครุ เมือ
่ อยู่
ในตำแหน่งลหุ ก็ตอ ้ งออกเสยี งเบา)
ข้า ขอนบชนกคุ ๋ ณ ชนนี เ
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีตี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย
ป็ นเค้


มูล
ผูก
้ อบนุกล
ู พูน ผดุงจวบ
เจริญว ัย
เทียบก ับแผนผ ัง
ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ
ครุ ครุ
ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ
ครุ ครุ
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีต๋ี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์

ี ง
ต ัวอย่างการออกเสย

- คำว่า นบ, เป็น, (ผ)ดุง (ต ัวสเี หลือง) เป็น


คำครุ แต่อยูใ่ นตำแหน่ง ลหุ ต้องออกสย ี งเบา
- คำว่า ชน(นี) เป็นคำครุ ต้องอ่านให้ได้ ๒
พยางค์ เพราะเป็นตำแหน่งคำลหุ
ชน(นี) จึงอ่านเป็น ชะ - นะ - นี
ลหุ ลหุ ครุ
การอ่ า นออกเส ๋ ี
ย ง
ภาษาไทยกับครู พ่ีต่ีตี – อ. พีระเสก บริ สุทธิ์บัวทิพย ์

ในบทนม ัสการคุณานุคณุ ทุกบท ของ


พระยาศรีสน ุ ทรโวหาร สามารถใชส ้ วดเป็น
ทำนองสรภ ัญญะ
ทำนองสวดสรภ ัญญะ เป็นทำนองสวด
ทีไ่ พเราะ เหมาะก ับการสวดเป็นกลุม ่
ทำให้ร ับรูค
้ วามงดงามของบทประพ ันธ์ได้
มากขึน ้ ผ่านทำนองและการฟังเสย ี ง

You might also like