You are on page 1of 76

� ��ញ�� ��� � �� � ញឌ

� � � គា

วรรณคดีวจิ ักษ์ ា
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ា๔ា
ประวัติผูประพันธ
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

ประวัติผูประพันธ
นายนรินทรธิเบศร (อิน)
- นายนรินทรธิเบศร มีนามเดิมวา อิน
- ไมมีหลักฐานเกี่ยวกับประวัติที่ชัดเจน
- กลาวกันวาเกิดที่ ต. บางบอ จ. ฉะเชิงเทรา
- เขารับราชการเปนมหาดเล็กหุมแพร ในสมเด็จพระบวรราชเจา
วังหนาในรัชกาลที่ ๒
- มีบรรดาศักดิ์เปน นรินทรธิเบศร
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

นิราศนรินทรคําโคลง
นิราศนรินทร นายนรินทรธิเบศร (อิน) แตงขึ้นเมื่อคราว
ตามเสด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษ ไปปราบพมาซึ่งยก
มาตีเมืองถลางและชุมพรใน พ.ศ. ๒๓๕๒
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

นิราศ เปนคําที่ใชเรียกวรรณกรรมที่มีเนื้อหา การพลัด


พรากจากบุคคลอันเปนที่รัก แทรกอารมณความเศราและ
ความคิดถึงนาง
โดยทั่วไปนิราศ มักแตงดวยกลอนสุภาพ ขึ้นตนดวย
กลอนนิราศ แตนิราศนรินทรขึ้นดวยรายสุภาพและดําเนินเรื่อง
ดวยโคลงสี่สุภาพ จึงเรียกชื่อใหมวา นิราศนรินทรคําโคลง
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

การตั้งชื่อนิราศแตละเรื่องนั้น สวนใหญตั้งตาม
- ชื่อสถานที่ที่เปนจุดหมายปลายทางของกวี เชน นิราศ
เมืองแกลง นิราศเมืองเพชร นิราศพระบาท
- ตั้งชื่อตามชื่อของกวี เชน นิราศนรินทร ของนายนรินทร
ธิเบศร (อิน)
- ตั้งชื่อตามเนื้อเรื่อง เชน นิราศเดือน ของนายมี
ลักษณะคําประพันธ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ลักษณะคําประพันธ
แตงเปนรายสุภาพนํา ๑ บท และตามดวย
โคลงสี่สุภาพจํานวน ๑๔๓ บท
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

รายสุภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

อธิบายฉันทลักษณ

- มีวรรคละ ๕ คํา หรือเกิน ๕ คําได แตไมควรเกิน ๕ จังหวะ


ในการอาน
- แตงยาวกี่วรรคก็ได
- สามวรรคสุดทายกอนจบ ตองเปนโคลง ๒ สุภาพเสมอ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

สัมผัส

- คําสุดทายของวรรคหนา ตองสัมผัสกับคําที่ ๑, ๒ หรือ ๓


ของวรรคตอๆ ไป ยกเวน ๒ วรรคสุดทาย
- ถาคําสุดทายของวรรคหนาเปนคําเอกหรือคําโท คําที่รับ
สัมผัสในวรรคตอไปจะตองเปนคําเอกหรือโทเชนเดียวกัน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- เอกโท มีโท ๓ เอก ๓ เชนเดียวกับโคลง ๒ สุภาพ


- คําเปนคําตาย ถาคําที่สงสัมผัสเปนคําเปนหรือคําตาย คําที่รับ
สัมผัสก็ตองเปนคําเปนหรือคําตายดวย แตคําสุดทายของบท (ยกเวนคํา
สรอย) หามใชคําตายหรือคําที่มีรูปวรรณยุกต
- คําสรอย เติมสรอยในตอนสุดทายของบทได ๒ คํา หรือจะเติมทุก
วรรคก็ได แตพอถึงโคลง ๒ ตองงด เวนไวแตสรอยของโคลง ๒ สรอย
ชนิดนี้ถาใชเหมือนกันทุกวรรค เรียกวา สรอยสลับวรรค
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

โคลงสองสุภาพ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

อธิบายฉันทลักษณ

- บทหนึ่งมี ๓ วรรค
- วรรคที่ ๑ และ ๒ มีวรรคละ ๕ คํา
- วรรคที่ ๓ มี ๔ คํา และ ๒ คําสุดทายเปนคําสรอย
จะมีหรือไมก็ได
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- คําที่ ๕ ของวรรคที่ ๑ ตองสัมผัสกับคําที่ ๕ ของ


วรรคที่ ๒
- เอกโท มีโท ๓ คํา และ เอก ๓ คํา
- คําตาย หามใชคําตายในคําสุดทายของบท
- คําสรอย ใสคําสรอยตอวรรคที่ ๓ ได ถายังไมจบ
ความ ถาจบความแลวไมตองใส
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ตัวอยางรายสุภาพและโคลงสองสุภาพ

“ศรีสิทธิ์พิศาลภพ เลอหลาลบลมสวรรค จรรโลงโลกกวา


กวาง แผนแผนผางเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทรแยมฟา.....
ขยายแผนฟาใหแผว เลี้ยงทแกลวใหกลา พระยศไทเทิดฟา
เฟองฟุงทศธรรม ทานแฮ”
เนื้อเรื่อง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

เรื่องยอ นิราศนรินทรคําโคลง
เริ่มตนยอพระเกียรติพระมหากษัตริยและชมบานเมือง จากนั้น
จึงกลาวถึงการจากนางและการเดินทางผานสถานที่ใดก็คร่ําครวญถึงหญิง
คนรัก
การเดินทางเขาคลองบางกอกใหญ ผานวัดหงส บางยี่เรือ บางขุนเทียน
บางกก โคกขาม แมกลอง ปากน้ํา บานแหลม เพชรบุรี ขึ้นบกที่ชะอํา
ผานเขาสามรอยยอด บางสะพาน จึงถึงตะนาวศรี มีการชมนก ชมไม
ชมสัตว ตลอดระยะทาง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

นิราศนรินทรคําโคลง
ศรีสิทธิพิศาลภพ เลอหลาลบลมสวรรค จรรโลงโลกกวากวาง
แผนแผนผางเมืองเมรุ ศรีอยุธเยนทรแยมฟา แจกแสงจาเจิดจันทร
เพียงรพิพรรณผองดาว ขุนหาญหาวแหนบาท สระทุกขราษฎรรอนเสี้ยน
สายเศิกเหลี้ยนลงหลา ราญราบหนาเภริน เข็ญขาวยินยอบตัว ควบคอม
หัวไหวละลาว ทุกไทนาวมาลยนอม ขอออกออมมาออน ผอนแผนดินให
ผาย ขยายแผนฟาใหแผว เลี้ยงทแกลวใหกลา พระยศไทเทิดฟา
เฟองฟุงทศธรรม ทานแฮ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

นิราศนรินทรคําโคลง
บทชมเมือง
อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤา
สิงหาสนปรางครัตนบรร เจิดหลา
บุญเพรงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮ
บังอบายเบิกฟา ฝกฟนใจเมือง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

เรืองเรืองไตรรัตนพน พันแสง
รินรสพระธรรมแสดง ค่ําเชา
เจดียระดะแซง เสียดยอด
ยลยิ่งแสงแกวเกา แกนหลาหลากสวรรค
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

พระอาทิตย (ทาวพันแสง)
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

พลอยนพเกา มุกดาหาร โกเมน เพชร

บุษราคัม ไพลิน

มรกต ไพฑูรย

ทับทิม เพทาย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

โบสถระเบียงมณฑปพื้น ไพหาร
ธรรมาสนศาลาลาน พระแผว
หอไตรระฆังขาน ภายค่ํา
ไขประทีปโคมแกว ก่ําฟาเฟอนจันทร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

บทนิราศ
จําใจจากแมเปลื้อง ปลิดอก อรเอย
เยียววาแดเดียวยก แยกได
สองซีกแลงทรวงตก แตกภาค ออกแม
ภาคพี่ไปหนึ่งไว แนบเนื้อนวลถนอม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

โฉมควรจักฝากฟา ฤๅดิน ดีฤๅ


เกรงเทพไทธรณินทร ลอบกล้ํา
ฝากลมเลื่อนโฉมบิน บนเลา นะแม
ลมจะชายชักช้ํา ชอกเนื้อเรียมสงวน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ฝากอุมาสมรแมแล ลักษมี เลานา


ทราบสวยมภูวจักรี เกลือกใกล
เรียมคิดจบจนตรี โลกลวง แลวแม
โฉมฝากใจแมได ยิ่งดวยใครครอง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

จากมามาลิ่วล้ํา ลําบาง
บางยี่เรือราพลาง พี่พรอง
เรือแผงชวยพานาง เมียงมาน มานา
บางบรับคําคลอง คลาวน้ําตาคลอ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

บานบอน้ําบกแหง ไปเห็น
บอเนตรคงขังเปน เลือดไล
อาโฉมแมแบบเบญ- จลักษณ เรียมเอย
มาซับอัสสุชลให พี่แลวจักลา
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

เห็นจากจากแจกกาน แกมระกํา
ถนัดระกํากรรมจํา จากชา
บาปใดที่โททํา แทนเทา ราแม
จากแตคาบนี้หนา พี่นองคงถนอม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ผลจาก ผลระกํา
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ชมแขคิดใชหนา นวลนาง
เดือนตําหนิวงกลาง ตายแตม
พิมพพักตรแมเพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย
ขํากวาแขไขแยม ยิ่งยิ้มอัปสร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ความเชื่อ กระตายบนดวงจันทร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ถึงตระนาวตระหน่ําซ้ํา สงสาร อรเอย


จรศึกโศกมานาน เนิ่นชา
เดินดงทงทางละหาน หิมเวศ
สารสั่งทุกหยอมหญา ยานน้ําลานาง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

พันเนตรภูวนาถตั้ง ตาระวัง ใดฮา


พักตรสี่แปดโสตฟง อื่นอื้อ
กฤษณนิทรเลอหลัง นาคหลับ ฤาพอ
สองพิโยคร่ํารื้อ เทพทาวทําเมิน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

พระอินทร (ทาวพันตา) พระนารายณ (พระจักรี)


ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

พระพรหม (ผูมีสี่พักตร)
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

นทีสี่สมุทรมวย หมดสาย
ติมิงคลมังกรนาคผาย ผาดสอน
หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แลงแม
แรมราคแสนรอยรอน ฤเถา เรียมทน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ลมพัดคือพิษตอง ตากทรวง
หนาวอกรุมในดวง จิตช้ํา
โฉมแมพิมลพวง มาเลศ กูเอย
มือแมวีเดียวล้ํา ยิ่งล้ําลมพาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย


เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม
อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ
โฉมแมหยาดฟาแยม อยูร อนฤๅเห็น
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ตราบขุนคิริขน ขาดสลาย แลแม


รักบหายตราบหาย หกฟา
สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา
ไฟแลนลางสี่หลา หอนลางอาลัย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

ร่ํารักร่ําเรื่องราง แรมนวล นาฏฤา


เสนาะสนั่นดินครวญ ครุนฟา
สารสั่งพีก่ ําสรวล แสนเสนห นุชเอย
ควรแมไวตางหนา พี่พูนภายหลัง
คุณคาของนิราศนรินทร
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

คุณคาของนิราศนรินทร
๑. คุณคาดานวรรณศิลป
- การเลือกสรรคํา (เลนเสียงสัมผัส) - การใชภาพพจน
- การใชรสวรรณคดี - การรักษาวิธีการแตง
๒. คุณคาดานสังคม
- การบันทึกเหตุการณทางประวัติศาสตร
- แสดงแผนที่การเดินทาง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

๑. คุณคาดานวรรณศิลป
- การเลือกสรรคํา (เลนเสียงสัมผัส)
ในบทประพันธนิราศนรินทร ผูประพันธไดมีการเลือกคํา
ที่ทําใหบทประพันธมีความโดดเดนเปนอยางมาก ในที่นี้คือ
การเลนเสียงพยัญชนะ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

การเลนเสียงพยัญชนะ
เปนการเลือกคําที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันหรือเสียง
พยัญชนะใกลเคียงกันมาใสไวในวรรคหรือบทเดียวกัน ทําให
เวลาอานออกเสียงเกิดความไพเราะ เชน
* เลนเสียง “อ” “เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย”
* เลนเสียง “ร” “ร่ํารักรําเรื่องราง แรมนวล นาฏฤา”
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

การใชภาพพจน

ภาพพจนที่ใชในนิราศนรินทร เทาที่ปรากฏ ไดแก


- อุปลักษณ
- บุคคลวัต
- อธิพจน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- อุปลักษณ

อุปลักษณ คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเปนสิ่งหนึ่ง
ที่มีลักษณะคลายกันหรือความหมายเหมือนกัน คําที่ใชใน
การเปรียบไดแก เปน คือ ใช เทา ตาง
อุปลักษณ อาจเรียกวาชื่อหนึ่งวา การเปรียบเปน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- ตัวอยางการใชอุปลักษณ

ลมพัดคือพิษตอง ตากทรวง
หนาวอกรุมในดวง จิตช้ํา
โฉมแมพิมลพวง มาเลศ กูเอย
มือแมวีเดียวล้ํา ยิ่งล้ําลมพาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- บุคคลวัต

บุคคลวัต เปนการทําใหสิ่งไมมีชีวิต แสดงกริยาอาการ


ไดเหมือนสิ่งมีชีวิต เชน รองไห เดิน ยิ้ม หัวเราะ เปนตน
บุคคลวัต อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งวา บุคลาธิษฐาน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- ตัวอยางการใชบุคคลวัต

เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย


เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม
อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ
โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- อธิพจน

อธิพจน คือ การใชถอยคําหรือการเรียบเรียงเนื้อหา


ที่มีการกลาวเกินกวาความเปนจริง หรือแปลกประหลาดไป
จากเดิม
อธิพจน อาจเรียกอีกชื่อวา อติพจน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- ตัวอยางการใชอธิพจน

นทีสี่สมุทรมวย หมดสาย
ติมิงคลมังกรนาคผาย ผาดสอน
หยาดเหมพิรุณหาย เหือดโลก แลงแม
แรมราคแสนรอยรอน ฤเถา เรียมทน
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- การใชรสวรรณคดี
รสวรรณคดี เปนรูปแบบของเนื้อหาวาเนื้อหาในตอนนั้น
บอกอารมณวากําลังรูสึกอยางไร แสดงอาการอยางไร เชน ดีใจ เศราใจ
รสวรรณคดีไทย มีทั้งหมด ๔ รส คือ
* เสาวรจนี * นารีปราโมทย
* พิโรธวาทัง * สัลลาปงคพิสัย
ปรากฏในนิราศนรินทรมี ๒ รสคือ เสาวรจนีและสัลลาปงคพิสัย
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- เสาวรจนี

คือการเลาชมความงามของตัวละครในเรื่อง ซึ่งอาจเปนตัว
ละครที่เปนมนุษย อมนุษย หรือสัตว ซึ่งการชมนี้อาจจะเปน
การชมความเกงกลาของกษัตริย ความงามของปราสาทราชวัง
หรือความเจริญรุงเรืองของบานเมือง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- ตัวอยางการใชเสาวรจนี

อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤา


สิงหาสนปรางครัตนบรร เจิดหลา
บุญเพรงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮ
บังอบายเบิกฟา ฝกฟนใจเมือง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- สัลลาปงคพิสัย

การกลาวขอความแสดงอารมณโศกเศรา
อาลัยตอบุคคลอันเปนที่รัก ทั้งที่เกิดจากการพลัดพรากจากลา
หรือตองเสียชีวิตไป
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- ตัวอยางการใชสัลลาปงคพิสัย

จําใจจากแมเปลื้อง ปลิดอก อรเอย


เยียววาแดเดียวยก แยกได
สองซีกแลงทรวงตก แตกภาค ออกแม
ภาคพี่ไปหนึ่งไว แนบเนื้อนวลถนอม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- การรักษาวิธีการแตง

นิราศนรินทร เปนโคลงที่มีลักษณะตรงตามสัมผัส
คําเอก คําโท ถูกตองตามแบบแผนแทบทุกบท
นิราศนรินทรจึงแบบอยางในการประพันธรอยกรอง
ประเภทโคลง
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- ตัวอยางบที่ตรงตามบังคับคําเอก คําโท

จากมามาลิ่วล้ํา ลําบาง
บางยีเ่ รือราพลาง พี่พรอง
เรือแผงชวยพานาง เมียงมาน มานา
บางบรับคําคลอง คลาวน้ําตาคลอ
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

๒. คุณคาดานสังคม
- การบันทึกเหตุการณทางประวัติศาสตร
นิราศนรินทร แตงเมื่อครั้งนายนรินทรธิเบศร (อิน)
ตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจามหาเสนานุรักษ ยกทัพไปรบ
พมาที่ยกมาตีเมืองถลางและชุมพร เมื่อป พ.ศ. ๒๓๕๒
จึงสังเกตไดวานิราศเรื่องนี้ สะทอนเหตุการณ
บานเมืองในสมัยนั้น แมไมไดกลาวถึงโดยตรงก็ตาม
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

- แสดงแผนที่การเดินทาง

นิราศนรินทร แสดงเสนทางการเดินทัพทางเรือจาก
กรุงเทพฯ ถึงเพชรบุรี แลวเดินทางบกตอไปถึงตะนาว
ซึ่งเปนการเดินทางที่ใชเวลานานมาก
ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋ – อ. พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย

แผนที่การเดินทาง
ในนิราศนรินทร
แบบทดสอบหลังเรียน
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๑.
“เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย
เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม
อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ
โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น”
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๑. ขอใดถอดคําประพันธไมตรงกับความหมายของคําประพันธนี้

ก. เอียงอกเทความรูสึกเพื่อบอกความในใจแกนอง
ข. นองจะรูหรือไมวาพี่ทุกขรอนคิดถึงนองเพียงใดโปรดบอกพี่ดวย
ค. แมจะใชเขาพระสุเมรุเปนปากกาจุมน้ําในมหาสมุทรละลายดินเปนหมึก
ง. ใชอากาศเปนแผนกระดาษเพื่อพรรณนาความรักความอาลัยก็ยังไมพอ
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា
๒. “เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย
เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม
อากาศจักจารผจง จารึก พอฤๅ
โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤๅเห็น”
คําประพันธขางตนมีการใชโวหารภาพพจนแบบใด
ก. อุปมา ข. อธิพจน
ค. บุคคลวัต ง. อุปลักษณ
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๓. “จําใจจากแมเปลื้อง ปลิดอก อรเอย


เยียววาแดเดียวยก แยกได
สองซีกแลงทรวงตก แตกภาค ออกแม
ภาคพี่ไปหนึ่งไว แนบเนื้อนวลถนอม”
คําประพันธบทนี้มีรสวรรณคดีตรงตามขอใด
ก. เสาวรจนี ข. นารีปราโมทย
ค. พิโรธวาทัง ง. สัลลาปงคพิสัย
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๔. “เห็นจากจากแจกกาน แกมระกํา
ถนัดระกํากรรมจํา จากชา
บาปใดที่โททํา แทนเทา ราแม
จากแตคาบนี้หนา พี่นองคงถนอม”
จากโคลงนิราศนรินทรบทนี้ บาทใดมีเนื้อหาแสดงความหวัง
ก. บาทที่ ๑ ข. บาทที่ ๒
ค. บาทที่ ๓ ง. บาทที่ ๔
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๕. ขอใดมีเนื้อหาสรรเสริญพระเกียรติของพระมหากษัตริย

ก. อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤๅ


ข. สิงหาสนปรางรัตนบรร เจิดหลา
ค. บุญเพรงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮ
ง. บังอบายเบิกฟา ฝกฟนใจเมือง
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๖. คําประพันธใดไมมีความเดนดานสัมผัสอักษร

ก. เสนาะสนั่นดินครวญ ครุนฟา
ข. ควรแมไวตางหนา พี่พูนภายหลัง
ค. สารสั่งพี่กําสรวล แสนเสนห นุชเอย
ง. ร่ํารักร่ําเรื่องราง แรมนวล นาฏฤๅ
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๗. “ไขประทีปโคมแกว ก่ําฟาเฟอนจันทร”
คําประพันธขางตนมีการใชภาพพจนแบบใด
ก. อุปมา
ข. อธิพจน
ค. บุคคลวัต
ง. อุปลักษณ
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๘. ธรรมเนียมนิยมในการแตงคําประพันธประเภทนิราศ
มักจะพิถีพิถันที่จะแสดงรสใดเปนสําคัญ
ก. รสบรรยายสถานที่
ข. รสชมความงาม
ค. รสคํา รสความ
ง. รสรัก รสอาลัย
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๙. คําประพันธขอใดไมใชบุคคลวัต

ก. เอียงอกเทออกอาง อวดองค อรเอย


ข. เมรุชุบสมุทรดินลง เลขแตม
ค. อากาศจักจานผจง จารึก พอฤา
ง. โฉมแมหยาดฟาแยม อยูรอนฤาเห็น
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

๑๐. “ชมแขคิดใชหนา นวลนาง


เดือนตําหนิวงกลาง ตายแตม
พิมพพักตรแมเพ็ญปราง จักเปรียบ ใดเลย
ขํากวาแขไขแยม ยิ่งยิ้มอัปสร”
จากคําประพันธขางตน มีการใชภาพพจนชนิดใด
ก. อุปลักษณ ข. อุปมา
ค. อธิพจน ง. บุคคลวัต
ภาษาไทยกับครู พ่ ตี ่ ีต๋ ាี –ាอ.ាพีระเสกាាบริสุทธิ์บัวทิพย์ ា

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋

You might also like