You are on page 1of 122

คำวา ราชคหํ เปนตน

ทำไมแปลวา “แหงกรุงราชคฤห”
-๏-

นักเรียนชั้นประโยค ป.ธ.๗ ถามวา


ราชคหํ และ นาลนฺทํ ในสมั น ตปาสาทิ กาภาค ๑ หน า ๑๕ ว า
อนฺตรา จ ภนฺเต ราชคหํ อนฺตรา จ นาฬนฺทํ ราชาคารเก อมฺพลิกายนฺติ
เปนอะไรวิภัตติ แปลอยางไร

ตอบวา
ราชคหํ และ นาฬนฺทํ ในขอความวา อนฺตรา จ ภนฺเต ราชคหํ
อนฺตรา จ นาฬนฺทํ ราชาคารเก อมฺพลิกายนฺติ เปนทุติยาวิภัตติ แปล
หักทุติยาเปนฉัฏฐีวิภัตติ แปลวา แหงกรุงราชคฤห และ แหงเมืองนาฬันทา
ซึ่งเปนไปตามขอกำหนดแหงหลักที่ แสดงไวในคัมภีรปทรูปสิ ทธิ สูตรที่
๒๘๙. วา กฺวจิ ทุติยา ฉีนมตฺเถ. [ทุติยาวิภัตติ ใชในอรรถแหงฉัฏฐีวิภัตติ
ในบางแหง]
๒ ดิลกพุทธินี
ในภาษาบาลีมีการประกอบวิ ภัตติหนึ่ง แตใชในอรรถแหงวิภัตติ
หนึ่ง เช น ปุฺสฺส อุจฺจโย แปลว า การสั ่ งสมซึ่ ง บุ ญ คำวา ปุ ฺสฺส
ประกอบ ส ฉัฏ ฐีวิภัตติ แต ใชในอรรถแห งทุ ติ ยาวิ ภั ตติ จึ ง แปลว า ซึ่ ง
ลักษณะนี้ เรียกอยางไมเปนทางการวา แปลหักวิภัตติ เชน ปุฺสฺส นั้น
หักฉัฏฐีเปนอวุตตกรรม เรียกสัมพันธวา ฉฐีกมฺม การหักวิภัตตินี้ปรากฏ
อยูทั่วไปในทุกวิภัตติ แมในขอความตอไปนี้ ก็มีการหักวิภัตติ
ในสมันตปาสาทิกาภาค ๑ หนา ๑๕ ปรากฏขอความวา อนฺตรา จ
ภนฺเต ราชคหํ อนฺตรา จ นาฬนฺทํ ราชาคารเก อมฺพลิกายนฺติ
ในฉบับ มมร. แปลขอความนี้ ว า “พระอานนทกราบทู ลแลวว า
ขาแตทานผูเจริญ ตรัสที่พระตำหนักหลวงในพระราชอุทยานชื่ออัมพลัฏฐิกา
ระหวางกรุงราชคฤหกับเมืองนาฬันทาตอกัน”
คำวา ราชคหํ และคำวา นาฬนฺทํ ในที่นี้ ลง อํ ทุติยาวิภัตติ ใชใน
อรรถแหงฉัฏฐีวิ ภัตติ แปลวา แหงกรุงราชคฤห และ แหงเมืองนาฬันทา
ซึ่ง เปน ไปตามขอกำหนดแหง คั ม ภี ร ป ทรู ปสิ ทธิ สู ต รที่ ๒๘๙. วา กฺวจิ
ทุติยา ฉีนมตฺเถ. [ทุติยาวิภัตติ ใชในอรรถแหงฉัฏฐีวิภัตติ ในบางแหง]
โดยมี ห ลัก การวา ในที่ป ระกอบด วย อนฺ ต รา (ระหว า ง), อภิ โต
(ภายใน), ปริโต (โดยรอบ), ปติ (ใกล), และ ปฏิ หนา ภา ธาตุ (ปรากฏ) ให
ทุติยาวิภัตติใชในอรรถฉัฏฐีวิภัตติ
แมในขอความวา อนฺตรา จ ภนฺเต ราชคหํ อนฺตรา จ นาฬนฺทํ
เปนตนนี้ คำวา ราชคหํ และคำวา นาฬนฺทํ ประกอบดวย อนฺตรา ฉะนั้น
จึงเปนทุติยาวิภัตติใชในอรรถแหงฉัฏฐีวิภัตติ แปลวา ในระหวางแหงกรุง
ราชคฤห และในระหวางแหงเมืองนาฬันทา
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๓
ความจริ งในสารั ตถที ป นี ฎี ก าวิ น ั ย (๑/๙๔) ก็ อ ธิ บ ายไว ชั ดว า
อนฺตรา ในขอความนี้ ใชในอรรถวา วิวเร คือชองวาง หรือระหว าง ในที่
เชนนี้ตองประกอบกับ ทุติยาวิภัตติ ใชในอรรถแหงฉัฏฐีวิภัตติ และ อนฺตรา
นั้น อาจประกอบศัพทเดียวก็ได คำอธิบายในสารัตถทีปนี ฎีกาวินัย วา
สฺวายมิธ วิวเร วตฺตติ ฯ ตสฺมา ราชคหสฺส จ นาฬนฺทาย จ
วิวเรติ เอวเมตฺถ อตฺโถ ทพฺโพ ฯ อนฺตราสทฺเทน ปน ยุตฺตตฺตา
อุปโยควจนํ กตํ ฯ อีทิเสสุ จ าเนสุ อกฺขรจินฺตกา อนฺตรา คามฺจ นทิฺจ
ยาตีติ เอวํ เอกเมว อนฺตราสทฺทํ ปยุฺชนฺติ ฯ โส ทุติยปเทนป
โยเชตพฺโพ โหติ ฯ อโยชิยมาเน อุปโยควจนํ น ปาปุณาติ สามิวจนสฺส
ปสงฺเค อนฺตราสทฺทโยเคน อุปโยควจนสฺส อิจฉฺ ิตตฺตา ฯ
[อนฺตรา ศัพทนี้นั้น ในที่นี้ เปนไปในอรรถวา ระหวาง. เพราะฉะนั้น
พึงเห็นความ ในขอนี้อยางนี้วา ในระหวางกรุงราชคฤหและเมืองนาลันทา.
ก็ เพราะประกอบดวย อนฺตรา ศัพท ทานจึงกระทําทุติยาวิภัตติไว. ก็ใน
ฐานะทั้งหลายเชนนี้ นักคิดอักขระทั้งหลายประกอบ อนฺตรา ศัพทไวบท
เดียวเทานั้น อยางนี้วา อนฺตรา คามฺจ นทิฺจ ยาติ แปลวา ไประหวาง
บานและแมนํ้า. อนฺตรา ศัพทยอมเปนอันตอง ประกอบเขาแมกับบทที่สอง
ดว ย. เมื ่อยั ง มิไดป ระกอบ ก็จ ะไม ถ ึงทุ ติ ยาวิ ภั ตติ เพราะเมื ่ อ เกี่ ยวของ
กับฉั ฏฐีวิภัตติ ทานก็ ประสงคทุติยาวิภัตติ โดยการประกอบกั บ อนฺ ตรา
ศัพท]
๔ ดิลกพุทธินี

มนํ
เล็กนอย, หนอยหนึ่ง, ครูหนึง่
-๏-

ถาม
มนํ ในธัม มปทัฏ ฐกถา ภาค ๘ หน า ๑๕๗ ปรากฏข อ ความว า
อาวุโส ชิวฺ หาวิฺเยฺยํ รสํ นิสฺส าย มนํ น โ สุนฺ ทรสมุ ทฺทตฺเถโร ...
แปลวาอะไร

ตอบ
มนํ ในขอนี้ ควรแปลวา เล็กนอย หรือหนอยหนึ่ง
มนํ โดยทั่วไปแปลวา ซึ่ ง ใจ ประกอบขึ้ นจาก มน ศั พท และ อํ
ทุติยาวิภัตติ เปนไดทั้งปุงลิงคและนปุงสกลิงค ถาไมแปลง อํ เปน โอ เปน
มโน (ซึ่งใจ) ก็ยังคงเปน มนํ (ซึ่งใจ) อยูอยางนั้นเอง
แต มนํ ในบางแหง จัดเปนพวกอัพยยศัพท คือนิบาต มีความหมาย
วา เล็กนอย, หนอยหนึ่ง, ครูหนึ่ง, ครูเดียว ก็ได ในที่นี้ แปลวา หนอยหนึ่ง
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕
ในธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๘ หนา ๑๕๗ ปรากฏขอความวา อาวุโส
ชิวฺหาวิฺเยฺยํ รสํ นิสฺสาย มนํ นโ สุนฺทรสมุทฺทตฺเถโร ...
นักเรียนสงสัยวา มนํ ในที่นี้ แปลวาอะไร
บางอาจารยแปลวา
แน ะ ท านผู  ม ี อายุ อ. พระสุ น ทรสมุ ทรเถระ อาศั ย แล ว ซึ ่ งรส
อันบุคคลจะพึงรูไดดวยลิ้น เปนผูเสียแลว ซึ่งใจ
บางอาจารยแปลวา
ดูก  อนท านผูม ีอายุ อ. พระเถระชื ่ อวาสุ นทรสมุ ทร ฉิ บหายแล ว
หนอยหนึ่ง เพราะอาศัย ซึ่งรส อันบุคคลพึงรูแ จงดวยลิ้น

มนํ แปลวา หนอยหนึ่ง


มติที่แปล มนํ วา ซึ่งใจ นั้น เพราะเห็นวา มนํ ศัพทเดิมเปน มน ลง
อํ ทุติยาวิภัตติแลว สำเร็จรูปเป น มนํ แตมติที่แปล มนํ วา หนอยหนึ่ง
คอนขางแปลกหูแปลกตา เพราะไมพบในที่ทั่วไป
มนํ ใชเปนอัพยยศัพทไดบาง มีความหมายวา อีสก (หนอยหนึ่ง),
อปฺปตฺตภาว (เล็กนอย), อปฺปมตฺต (มีประมาณนอย) ขณมตฺต (ชั่วขณะ
หนึ่ง), มุหุตฺตํ (ครูเดียว) สัมพันธวา กิริยาวิเสสน ดังที่ปรากฏคำอธิบายใน
คัมภีรตางๆ ดังนี้
ใน จูฬธาตุปจจยโชติกา วา
ตถา มนํอิติ นิปาโต อีสกํ อปฺปตฺตภาเว, ยถา มนํ วุฬฺโห อโหสีติ
[อนึ่ง มนํ เปนนิบาต แปลวา หนอยหนึ่ง ใชในอรรถวา เล็กนอย,
เชน ในขอวา ถูกน้ำพัดไปหนอยหนึ่ง]
๖ ดิลกพุทธินี
อุทาหรณ
พระไตรปฎกบาลี
ในพระไตรปฎกบาลี อุโบสถขันธกะ มหาวรรค ฉบับสยามรัฐ เลม
๔ ขอ ๑๖๕ หนา ๒๑๔ เลาเรื่องวา

“ก็ แล สมัยหนึ่ง ทานพระมหากัสสปะ จากอันธกวิหาร มา


พระนครราชคฤห เพื่อทำอุโบสถ ในระหวางทางขามแมน้ำ ถูกน้ำ
พัดไปหนอยหนึ่ง...”

ขอความที่วา ถูกน้ำพัดไปหนอยหนึ่ง ตรงกับบาลีวา ... มนํ วุฬฺโห


อโหสิ...

พระไตรปฎกภาษาไทย
พระไตรปฎกฉบับหลวง วา เกือบถูกน้ำพัดไป
พระไตรปฎกภาษาไทย มจร.วา ถูกน้ำพัดไปหนอยหนึ่ง
พระไตรปฎกภาษาไทยและอรรถกถา ๙๑ เลม มมร. วา ไดถูกน้ำ
พัดไปเล็กนอย

อรรถกถา
อรรถกถาไขความวา
มนํ วุฬฺโห อโหสีติ อีสกํ อปฺปตฺตวุฬหฺ ภาโว อโหสิ.
[ขอวา มนํ วุฬฺโห อโหสิ มีความวา ไดเปนผูม ีภาวะอันน้ำพัดไป
ไมถึงนิดหนอย]
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๗
สอดคลองกับ มหาวคฺคโยชนา ปาจิตฺยาทิโยชนา วินยปฏก (ฏีกา) วา
มนนฺติ นิปาโต อีสกตฺโถติ ทสฺเสนฺโต อาห อีสกนฺติ. อปฺปมตฺตนฺติ
อิมินา อีสกนฺติ ปทสฺส อตฺถํ ทสฺเสติ.
[พระอาจารย หวังจะแสดงความหมายวา ศัพทวา มนํ เปนนิบาต
มีความหมายวา เล็กนอย จึงกลาวคำวา อีสกํ แปลวา เล็กนอย. ทานแสดง
ความหมายของบทว า อี สกํ ดั ง นี ้ ไ ว ด ว ยบทว า อปฺ ป มตฺ ต ํ แปลว า มี
ประมาณนอย ]
จากตัวอยางนี้ พึงทราบวา มนํ มีความหมายวา อีสกํ (นิดหนอย)

อีกตัวอยางหนึ่ง ใน สุโพธาลังการฎีกา ขอ ๓๒ วา


มนํ มนํ สตฺถุ ทเทยฺย เจ โย
มนํ มนํ ปณยตสฺส สตฺถุ
มนํ มนํ เตน ทเทยฺย เจ น
มนํ มนํปสฺส น สาธุปุชฺชนฺติ.
พระคันธสาราภิวงศ แปลคาถานี้ไวใน สุโพธาลังการมัญชรี หนา
๕๒ ว า “ถ า บุค คลใดพึ ง ถวายใจแด พ ระศาสดาสั ก หน อ ย พระทั ย ของ
พระศาสดายอมยังใจของเขาใหเอิบอิ่ม ดังนั้น บุคคลพึงถวายใจทุกๆ ดวง
[ของตน] ถาบุคคลไมพึงถวายไซร ใจของเขายอมไมเปนที่ ควรบูชาของ
สาธุชนแมัสักหนอยเลย”
จากคาถานี้ มนํ มนํ ในบาทคาถาที่ ๑ และที่ ๔ มีรูปเหมือนกันก็
จริง แตแปลไมเหมือนกัน บทหนา แปลวา ซึ่งใจ เปนนามนาม และบทหลัง
แปลวา สักหนอย เปนนิบาต ตามลำดับ ซึ่งสอดคลองกับ สุโพธาลังการฎีกา
ขอ ๓๒ อธิบายไววา
๘ ดิลกพุทธินี
โย ปุคฺคโล มนํ อตฺตโน จิตฺตํ สตฺถุ ชินสฺส มนํ ขณมตฺตมฺป ทเทยฺย
เจ, สตฺถุ มุนินฺทสฺส มนํ จิตฺตํ อสฺส ปุคฺคลสฺส มนํ จิตฺตํ ปณยติ สมฺปเณติ,
เตน ตสฺมา มนํ มนํ จิตฺตํ จิตฺตํ ทเทยฺย เจ น ยทิ โน ทเทยฺย, อสฺส ปุคฺคลสฺส
มนํ จิตฺตํ มนํป มุหุตฺตมฺป สาธุปุชฺชํ สาธูหิ ปูชิตพฺพํ น ภวติ.
จากคำอธิบายนี้ คำวา มนํ ไขความวา จิตฺตํ แต มนํ ในบางแหง
ไขความวา ขณมตฺตมฺป และ มุหุตฺตมฺป ซึ่งแสดงใหเห็นวา มนํ ที่เปนนิบาต
ก็มีปรากฏอยูบาง
มนํ เปนอัพยยศัพท ยังปรากฏในคัมภีรเหลานี้ ไดแก
อภิธานัปปทีปกา คาถา ๑๑๔๘
สัททนีติ สุตตมาลา หนา ๓๘๘ (จตุปทวิภาค)
สัททนีติ ปทมาลา หนา ๑๓๖-๗.
ผูศึกษาพึงคนควาดูเถิด
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๙

มหตี, มหนฺตี
มีใชทั้งสองบท
-๏-

มหนฺต ศัพท ลง อี ปจจัย ในอิตถีลิงคแลว ลง สิ ปฐมาวิภัตติ ไดรูป


มหนฺตี บ าง มหตี บ าง ในหนังสือเรียนตามหลักสู ตรบาลี สนามหลวงนี้
จึงปรากฏทั้งสองรูป เชน มหตี สาลา, มหนฺตี ธานี ทั้ง มหตี และ มหนฺตี
ใชเปนวิเสสนะของบทที่เปนอิตถีลิงค แปลวา ใหญ
มหนฺตี ศัพ ท เดิม เปน มหนฺต ลง อี ป จจั ยในอิ ตถีลิงค ด ว ยสูตร
กจฺ.๒๓๘ รูป.๑๘๗ วา นทาทิโต วา อี ลง สิ ปฐมวิภัตติแลวลบ สิ สำเร็จ
เปน มหนฺตี
มหตี ศัพ ทเ ดิม เปน มหนฺ ต ลง อี ป จ จั ย ในอิ ตถี ล ิ ง ค ด ว ยสูต ร
กจฺ.๒๓๘ รูป.๑๘๗ วา นทาทิโต วา อี ลง สิ ปฐมวิภัตติแลวลบ สิ ในที่นี้ให
๑๐ ดิลกพุทธินี
ถือวา นฺต ทาย มหนฺต เหมือน นฺตุ ดวยสูตร กจฺ.๑๘๗ รูป.๑๐๘ วา เสเสสุ
นฺตุว จึงใชขอกำหนดเดียวกัน ฉะนั้น ดวยอำนาจ อี ปจจัย จึงแปลง นฺต
หรือ นฺตุ เปน ต ดวยสูตร กจฺ.๒๔๑ รูป.๑๙๑ วา นฺตุสฺส ตมีกาเร
ดูวิธีการทำตัวรูป มหตี และ มหนฺตี อยางพิสดารที่ รูปสิทธิทีปนี
เลม ๑ (ฉบับพิมพรวม ๒ เลม) หนา ๓๐๙

มหตี มีใชมาก
ในสองบทนี้ บทวา มหนฺตี มีใชนอย สวน มหตี มีใชมาก จึงแนะนำ
ใหใช มหตี เป นหลั ก ซึ่ง อาจผั นรูปเปน มหตึ มหติ ยา เป น ต น ปรากฏ
กระจายอยูทั่วไป
ในหลักสูตรบาลีสนามหลวงนี้ มีปรากฏรูปใน มหนฺตี นอยแหง พบ
ในหนังสืออธิบายบาลีไวยากรณ สมาสและตัทธิต หนา ๙ วา มหนฺตี ธานี
มหาธานี
สวนรูปวา มหตี มีมาก นำมาแสดงไว เพียงเปนตัวอยาง เชน ใน
หนังสืออุภัยพากยปริวัตน ภาค ๑-๒ หนา ๓ ธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๑ หนา
๓๗ วา มหตี สาลา และธัมมปทัฏฐถกา ภาค ๓ หนา ๒๑, ๑๑๑, ๑๓๔ วา
มหติยา เสนาย
แม ในคั มภีร บาลี ทั้งหลาย เช น ชุ ดพระไตรปฎ กและคั ม ภีร อ ื ่นๆ
ฉบับฉัฏฐสังคายนา ปรากฏรูปวา มหนฺตี จำนวน ๒๘ แหง สวนคำวา มหตี
ปรากฏมากกวา ๒๒๙ แหง รูปวา มหนฺติยา จำนวน ๒ แหง สวน มหติยา
จำนวน ๒๕๓ แหง
ฉะนั ้ น ในทางปฏิ บั ติ ถ า จะถื อ ตามนั ย ที ่ ปรากฏโดยมากก็ ควร
เลือกใช มหตี มหติยา เปนตน หรือแมนักเรียนจะใช มหนฺตี ก็ได
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๑

อายสฺมา
วิธีการทำตัวรูปและความหมาย
-๏-

อายุ ซึ่งเปน อุการันต เมื่อนำไปตั้งวิเคราะหและลง มนฺตุ ปจจัย


ในตทัสสัตถิตัทธิตวา อายุ อสฺส อตฺถีติ สำเร็จรูปเปน อายสฺมา แต จกฺขุ
ซึ่งเปน อุการันตเหมือนกัน เมื่อนำไปตั้งวิเคราะหในตทัสสัตถิตัทธิตนั้นวา
จกฺขุ อสฺส อตฺถีติ สำเร็จเปน จกฺขุมา ไมสำเร็จรูปเปน จกฺขสฺมา และถาถือ
ตาม จกฺขุ บทวา อายสฺมา นั้นจะสำเร็จรูปเปน อายุมา ไดหรือไม
๑๒ ดิลกพุทธินี
อายุมา
ในคัมภีรนิรุตติทีปนี ในคำอธิบายประกอบสูตรที่ ๑๒๔ ทานแสดง
บทสำเร็จแหง อายุ ที่ประกอบกับ มนฺตุ ปจจัย วา อายุมา, อายุสฺมา ฉะนั้น
บทวา อายุมา จึงพิจารณาไมยาก แตมีขอสังเกตวาบทวา อายุมา มีใชนอ ย
หรืออาจสรุปวา ไมมีใชในคัมภีรทั่วไปก็ได แตบทวา อายสฺมา มีใชมาก
ศัพทที่เปน อุการันต เชน จกฺขุ เมื่อตั้งวิเคราะหและลง มนฺตุ ปจจัย
ในตทัสสัตถิตัทธิต เมื่อลง สิ ปฐมาวิภัตติแลว สำนวนบาลีสนามหลวงวา
แปลง นฺตุ เปน นฺต แปลง นฺต กับ สิ เปน อา สำเร็จรูปเปน จกฺขุมา ภาณุมา
พนฺธุมา อายุมา เปนตน นี้ปรากฏโดยทั่วไป
บทวา อายุมา [อายุ + มนฺตุ + สิ]
วิ. อายุ อสฺส อตฺถีติ อายุมา
[อายุ ของชนนั้นมีอยู เหตุนั้น ชนนั้นชื่อวา อายุมา]
แปลง นฺตุ กับ สิ เปน อา ดวยสูตร กจฺ.๑๒๔, รูป.๙๘ อา สิมฺหิ

อายสฺมา
แตว า โดยเฉพาะบทวา อายสฺ ม า ประกอบด วย อายุ ลง มนฺตุ
ปจจัย และ สิ ปฐมาวิภัตติ วิเคราะหเหมือน อายุมา ดังแสดงแลว
แปลง อุ แหง อายุ เปน อส บางแหงวาเปน อสฺ จึงเปน อายสฺ ตาม
ขอกำหนดแหงสูตร กจฺ.๓๗๑ รูป.๔๐๔ วา อายุสฺสุการาส มนฺตุมฺหิ แตใน
โมคคัลลานะ วา แปลง อายุ เปน อายสฺ ดวยสูตร โมคฺ.๑๓๔ วา อายุสฺสายส
มนฺตุมฺหิ แปลง นฺตุ กับ สิ เปน อา ดวยสูตร กจฺ.๑๒๔, รูป.๙๘ อา สิมฺหิ
สำเร็จรูปเปน อายสฺมา
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๓
ความหมายและความนิยมใช
อายสฺมา แปลตามศัพทวา ผูม ีอายุ ก็ จริง แตศัพท นี้ไมไดกล าว
อรรถผูมีอายุเทานั้น คือไมไดใชเรียกเฉพาะคนมีอายุมากกวา หรือคนอายุ
ยืนเทานั้น แตใชเปน ปยสมุทาจาร คือคำพูดที่ใชเรียกผูอื่นอยางเคารพรัก
อยางสุภาพ และ ปสํสา คือคำใชเรียกผูอื่นอยางสรรเสริญ แมผูนั้นอายุยัง
ไมมาก ก็เรียกวา อายสฺมา ได เชน

ในสมันตปาสาทิกา อรรถกถาวินัย เวรัญชกัณฑวา


อถ โข อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโนติอาทีสุ อายสฺมาติ ปยวจนเมตํ,
ครุคารวสปฺปติสฺสาธิวจนเมตํ.
[ในบททั้งหลายเปนตนวา ครั้งนั้นแล ทานพระมหาโมคคัลลานะ
มีวินิจฉัยดังนี้ บทวา อายสฺมา นี้ เปนคำกลาวดวยความรัก, บทนี้เปนชื่อ
แหงความเคารพและความยำเกรงโดยฐานครู]
ในอรรถกถาวินัยนั้นวา
เตน โข ปน สมเยน อายสฺมา เสยฺยสโก อนภิรโต พฺรหฺมจริยํ จรตีติ
เอตฺถ อายสฺมาติ ปยวจนํ.
[บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในคำวา ก็ในสมัยนั้นแล ทานพระเสยยสกะ
ไมยินดีประพฤติพรหมจรรยนี้ ดังตอไปนี้. คำวา อายสฺมา เปนคำกลาวดวย
ความรัก]
พึงสังเกตวา อรรถกถาวินัยทานแสดงวา อายสฺมา เปน ปยวจน คือ
ปยพจน คำเป นที ่รัก ใชเ รียกชนทุ กชั ้ น ทั ้ งสู งกว าต่ ำกว าทั ้ง หมด และ
๑๔ ดิลกพุทธินี
เปน ครุคารวสปฺปติสฺส ใชคำเรียกดวยความรักเคารพในฐานะครู เพราะอีก
ชนชั้นสูงกวาตนแผนกหนึ่งนั่นเอง
ในวิมติวิโนทนี ฎีกาวินัยจึงอธิบายตอไปอีกวา คำวา อายสฺมา ทาน
พระอรรถกถาจารยกลาววาเปน ปยวจนะ ดวยอำนาจกลาวเสมอทั่วกันทั้ง
ชนชั้นสูงชั้นต่ำ และกลาววาเปน ครุคารวสปฺปติสฺส คำเรียกดวยความรัก
เคารพในฐานะครู ดวยอำนาจกลาวชนชั้นสูงแผนกหนึ่งนั่นเอง ดังขอวา
อายสฺมาติ ปยวจนเมตนฺติ อุจฺจนีจชนสามฺวเสน วตฺวา ปุน
อุจฺจชนาเวณิกวเสเนว ทสฺเสนฺโต ครุคารวสปฺปติสฺสาธิวจนนฺติ อาห ฯ
[พระอรรถกถาจารยกลาววา บทวา อายสฺมา เปน คำกลาวดวย
ความรัก ดวยอำนาจความเสมอกันทั้งชนชั้นสูงและชัน้ ต่ำ เมื่อจะแสดง ดวย
อำนาจกลาวชนชั้นสูงแผนกหนึ่งนั่นเองอีก จึงกลาววา บทนี้เปนชื่อแห ง
ความเคารพและความยำเกรงโดยฐานครู]
คำวา อายสฺมา คลายคำว า ทาน หรือ ฯพณฯ [พะณะทาน] ใน
ภาษาไทย ซึ่งเปนคำเรียกอยางสุภาพ เรียกอยางใหเกียรติ ฉะนั้น ในการ
แปลโดยอรรถจึงมักแปล อายสฺมา วา ทาน เชน อายสฺมา อานนฺโท แปล
โดยอรรถวา ทานพระอานนท
บางมติวา อายสฺมา หมายถึง ทานผูมีอายุ ๑ ทาน เปนเอกวจนะ
อายสฺมนฺตา หมายถึง ทานผูมีอายุ ๒ ทาน เปน ทวิวจนะ อายสฺมนฺ โต
หมายถึง ทานผูมีอายุ ๓ ทานขึ้นไป เปน พหุวจนะ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๕

เอตทโหสิ
พิจารณาในแงการเรียงประโยค
-๏-

บทนำ
เอตทโหสิ ปรากฏในวรรณกรรมบาลี ม ากมาย ดั ง ที ่ ค  น พบใน
พระไตรปฎกบาลีฉ บับฉัฏฐสังคายนา และคั มภีรประกอบอื่น ๆ จำนวน
มากกว า ๑,๔๐๐ แห ง เมื ่ อ สำรวจแล ว พบลั ก ษณะร ว มกั น ว า บทนี้
ประกอบดวย เอตํ กับ อโหสิ มักมีจตุตถีวิภัตติอยูหนา และ อิติ ศัพทอยู
หลัง บทวา เอตํ โยค จินฺ ต นํ ใชเ ปน ตัว เป ด อิ ติ ฉะนั ้ น ในทางเทคนิค
นักเรียนควรเรียง เอตทโหสิ ไวกอนเลขใน ไมควรเรียงไวหลังเลขใน และ
อิติ ศัพทนั้น สรูป วา เอตํ จินตฺ นํ
๑๖ ดิลกพุทธินี
สนธิ
เอตทโหสิ ตัดบทเปน เอตํ + อโหสิ เปนอาเทศนิคหิตสนธิ เพราะ
สระอยูหลัง แปลงนิคหิตเปน ท ดวยสูตร กจฺ.๓๔ รูป.๕๒ วา มทา สเร
จริงอยูวา สระอยูหลัง อาเทศนิคหิตเปน ม และ ท แต ท อักษรนี้
ไมใชแปลงไดทั่วไป อาเทศนิคหิตเปน ท ได ในเฉพาะกรณีที่นิคหิตนั้นอยู
กั บ สัพ พนาม ได แ ก ย ต และ เอต เท า นั ้ น เช น ยทนิ จ ฺ จํ , ตทนตฺ ต า,
เอตเทว แม เอตทโหสิ นี้ ก็จัดเขาในหลักการนี้ และมีขอสังเกตวา ไมมีรูป
วา เอตมโหสิ

การแปล
พิจารณาในแงการเรียงประโยค บทวา เอตทโหสิ มักใชในกรณีวา
ทานผูนี้มีความคิดเห็นอยางนี้ ผูที่เปนเจาของความคิดนั้น มักประกอบดวย
ฉัฏฐีวิภัตติ เรียงไวหนา เอตทโหสิ มีประโยคเลขในซึ่งประกอบ อิติ ศัพท
เรียงไวหลัง บทวา เอตํ โยค จินฺตนํ และ อิติ ศัพทนั้น สัมพันธเปน สรูป ใน
เอตํ จินฺตนํ
พิจารณาในแงการแปลวา ต องแปล เอตํ จิน ฺตนํ เปนตัวเปด อิติ
ศัพทวา เอตํ จินตฺ นํ อ. ความคิดนั่น อิติ วา... ดังนี้ อโหสิ ไดมีแลว แก...

อุทาหรณ

ได บ อกไว แ ลว วา บทวา เอตทโหสิ ปรากฏในวรรณกรรมบาลี


มากมาย จึงขอนำตัวอยางมาแสดงเพียงเล็กนอยก็พอ เชน จูฬวรรคบาลี
พระวินัยปฎกวา
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๗
อถ โข เถรานํ ภิกฺขูนํ เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข มยํ ธมฺมฺจ วินยฺจ
สงฺคาเยยฺยามาติ
[ครั้งนั้นแล อ.ความคิดนั่น วา อ. เรา ท. พึงสังคายนา ซึ่งพระธรรม
ดวย ซึ่งพระวินัยดวย ในที่ไหน หนอแล ดังนี้ ไดมีแลว แกภิกษุ ท. ผูเปน
พระเถระ]

จากตัวอยางนี้ พึงสังเกตวา หนา เอตทโหสิ มีบทที่ประกอบดวย


ฉัฏฐีวิภัตติ คือ เถรานํ ภิกฺขูนํ หลัง เอตทโหสิ มีประโยคคำพูด คือเลขใน
ประกอบ อิติ ศัพท เรียงอยู
บทฉัฏฐีวิภัตตินั้น อาจเปนเอกวจนะก็ได พหุวจนะก็ได อาจเปนบท
นามนาม หรือสัพพนามก็ได หรือบทนามที่มีคุณนามอยูดวย เชน
อถสฺส เอตทโหสิ
อถสฺสา เอตทโหสิ
ตสฺสป เอตทโหสิ
อถ เนสํ เอตทโหสิ
เตสํป เอตทโหสิ
อายสฺมโต มหากสฺสปสฺส ตมฺหา สมาธิมฺหา วุิตสฺส เอตทโหสิ

อนึ่ง มีขอสังเกตวา เอตทโหสิ นั้น ไมนิยมตัดบทแลวเรียงแยกกัน


เปน เอตํ อโหสิ และไมนิยมเรียงนามนามที่โยคลงไปดวย เปน เอตํ จินฺตนํ
อโหสิ อยางนี้ไมนิยม นิยมสนธิเปน เอตทโหสิ อยูอยางนั้น
๑๘ ดิลกพุทธินี

มาตาปตา, มาตาปตโร
ทำไมภาษาบาลีเรียง มาตา ขึ้นกอน ?
-๏-

นักเรียนถาม : ทำไมภาษาบาลีตองเรียง มาตา (แม) กอน ปตโร


(พอ) เปน มาตาปตโร ไมเปน ปตามาตโร ?
อาจารยตอบ : ทำไมภาษาไทยตองเรียง พอ กอน แม เปน พอแม
ไมเปน แมพอ, ธูป กอน เทียน เปน ธูปเทียน ไมเปน เทียนธูป ?
ตอบ...?
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๙
มาตาปตโร แปลวา อ. มารดาและบิดา ท. พูดสามัญอยางไมเปน
ทางการวา แมพอ ตรงกันขามกับภาษาไทยวา พอแม ซึ่งเปนคำตอบอยูใน
ตัววา เปนความนิยมของภาษานั้นๆ ที่ใชกันมาจนลงตัวอยางนั้น
แตที่จริงทานมีหลักการเรียง โดยใหความสำคัญกับสิ่งที่เคารพนับ
ถือมากขึ้นกอน ใหความสำคัญมากกวาจึงเรียงขึ้นกอน ดังจะแสดงตอไป
บทวา มาตาปตโร ประกอบดวย มาตุ + ปตุ + โย วิภัตติ จัดเปน
บททวันทวสมาส วิเคราะหวา
มาตา จ ปตา จ ปตโร
เมื่อจะสำเร็จรูป มาตุ + ปตุ + โย แปลง อุ แหง มาตุ เปน อา ดวย
สูตรปทรูปสิทธิวา เตสุ วุทฺธิ เปนตน แปลง อุ เปน อาร ดวยสูตรปทรูปสิทธิ
วา อฺเสฺ วารตฺตํ รัสสะเปน อร ดวยสูตรปทรูปสิทธิวา ปตาทีนมสิมฺหิ
แปลง โย เปน โอ ดวยสูตรปทรูปสิทธิวา ตโน โยมโม ตุ พึงดูปทรูปสิทธิ
อธิบายประกอบสูตร ๓๕๗
บางแหง เมื่อตั้งวิเคราะหแลว สามารถสำเร็จรูปเปนเอกวจนะวา
มาตาปตา จัดเปนสมาหารทวันทวสมาส ที่ไมเปนนปุงสกลิงคก็ไดบาง
บทที่เปนทวันทวสมาส มีหลักการทั่วไปที่ปรากฎโดยมาก คือไมใช
จะเป นอย า งนี ้ ท ั้ ง หมด ดั ง ที ่ป รากฏในปทรู ป สิ ท ธิ ในสั ง คหคาถาท าย
คำอธิบายสูตรที่ ๓๖๐ และในกัจจายนัตถทีปนี อธิบายสูตร ๓๒๓ : ๓๖๐
โดยสรุปไดความวา
โดยทั่วไปวา เรียงบทที่ควรบูชาหรือมีคุณมากกวาไวกอน เรียงบท
ที่ถมีสระนอยไวกอน เรียงบทที่เปนอิวัณณะและอุวัณณะเปนที่สุดไวกอน
และเรียงอการันตที่มีสระอยูตนไวกอน แตหลักการดังกลาวนี้ คอนขาง
๒๐ ดิลกพุทธินี
แนนอนในสมาสที่มีสองบท แตในกรณีสมาสหลายบท ก็อาจไมเปนไปตาม
หลักการนี้ก็ได ขอนำสังคหคาถาใน ปทรูปสิทธิ สู ตร ๓๖๐ นั้ นมาแสดง
ดังตอไปนี้

เยภุยฺเยน เจตฺถ -
อจฺจิตปฺปสรํ ปุพฺพ,ํ อิวณฺณุวณฺณกํ กฺวจิ;
ทฺวนฺเท สราทฺยการนฺตํ, พหูสฺวนิยโม ภเว.

ในปทรูปสิทธิมัญชรี (สมาส) พระคันธสาราภิวงศ แปลสังคหคาถา


นี้ไววา
อนึ่ง ในทวันทวสมาสนี้ สวนมาก –
บทที่ควรเคารพนับถือและบทที่มีพยางคนอยยอมเปนบท
หนา, บทที่มี อิวัณณะและอุวัณณะลงทายยอมเปนบทหนา บทที่มี
สระอยู  ต  น และมี อ อั ก ษรอยู  ท  า ยย อ มเป น บทหน า ในบางที่
แตความไมแนนอนยอมมีในสมาสที่มีศัพทหลายศัพท

แมบทวา มาตาปตโร ก็จัดเขาในหลักการที่วา เรียงบทที่ควรเคารพ


นับถือขึ้นกอน อาจเปนเพราะถือวามารดาเปนผูอุมทองรักษาครรภและ
เลี้ยงดูบุตรธิดาดวยรักดั่งแกวตาดวงใจ จึงมีคุณมากเปนที่เคารพอยางยิ่ง
จึงเรียง มาตา ขึ้นกอน
นี้เปนมติที่อาศัยนัยแหงปทรูปสิทธิ จึงเปนอันตอบคำถามวา ทำไม
ตองเรียง มาตา ขึ้นกอน เพราะมีคุณมาก สวนภาษาไทยจะเรียงตรงกันขาม
คือเรียง บิดา ขึ้นกอน จะเปนเพราะความนิยมอยางไรก็ยังไมตองวินิจฉัย
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๒๑
อนึ่ง พระอาจารยผูรูไวยากรณแนะนำวา คำหรือสำนวนบาลีกับ
ภาษาไทยที่เรียงลำดับไมตรงกันยังมีอีกมาก เชน สำนวนไทยวา อุปชฌา
อาจารย ตรงขามกับบาลีวา อาจริยุ ปชฺฌา สำนวนไทยวา หมูหมากาไก
บาลีวา สุนขสูกรกุกฺกุฏกากา เปนตน
๒๒ ดิลกพุทธินี

โอวาทานุสาสนี
พิจารณาในแงภาษาบาลี
-๏-

โอวาทานุ ส าสนี ประกอบด ว ยคำว า โอวาท และ อนุ ส าสนี


มีความหมายวา การวากลาวตักเตือน บางแหงใชแทนกัน บางแหงใชใน
ความหมายตางกัน ที่ตางกันนั้น คำวา โอวาท หมายถึง การวากลาวครั้ง
แรก การบอกเพียงครั้งเดียว การวากลาวตอหนา หรือการวากลาวกอนจะ
เกิดเรื่องขึ้น อนุสาสนี หมายถึง การวากลาวตอจากที่กลาวไวครั้งแรกนั้น
แลว การพร่ำสอน การสงคำสอนไปบอกกลาวลับหลัง หรือการตักเตือนใน
เมื่อเกิดเรื่องขึ้นแลว แตเมื่อวาโดยสาระสำคัญคือโดยปรมัตถก็อันเดียวกัน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๒๓
ในอรรถกถาเอกนิบ าต อั งคุ ตตรนิ กาย แสดงความต างกั น แห ง
โอวาทและอนุสาสนี มีรายละเอียดดังนี้
เอตฺถ จ สกึวจนํ โอวาโท, ปุนปฺปุนวจนํ อนุสาสนี.
สมฺมุขาวจนมฺป โอวาโท, เปเสตฺวา ปรมฺมุขาวจนํ อนุสาสนี.
โอติณฺเณ วตฺถสุ ฺมึ วจนํ โอวาโท, โอติณฺเณ วา อโนติณฺเณ วา
วตฺถุสฺมึ ตนฺติปนวเสน วจนํ อนุสาสนี. เอวํ วิเสโส เวทิตพฺโพ.
ปรมตฺถโต ปน โอวาโทติ วา อนุสาสนีติ วา เอเส เอเก เอกเ
สเม สมภาเค ตชฺชาเต ตฺเวาติ
[ในเรื่องนี้ การกลาวคราวเดี ยว ชื่อวาโอวาท, การกลาว
บอยๆ ชื่อวา อนุสาสนี. แมการกลาวตอหนา ก็ชื่อวา โอวาท, การ
สง (ขาว) ไปกลาวลับหลัง ชื่อวา อนุสาสนี. การกลาวในเมื่อยังไม
เกิดเรื่องขึ้น ชื่อวา โอวาท. สวนการกลาวตั้งเปนแบบไวในเมื่อเรื่อง
เกิดขึ้นหรือยังไมเกิดขึ้น ชื่อวา อนุสาสนี. พึงทราบความแปลกกัน
อยางนี้. แตเมื่อวาโดยปรมัตถ คำวา โอวาท หรืออนุสาสนีนั้น เปน
อันเดียวกัน มีอรรถอันเดียวกันเสมอกัน เขากันได เกิดรวมกัน นั้น
นั่นแล]

จากขอความในอรรถกถาที่นำมาแสดงนี้ มีเรื่องขางเคียงทีน่ าสนใจ


ในทางไวยากรณ คือบทวา

เอเส เอเก เอกเ สเม สมภาเค ตชฺชาเต ตฺเว


แปลวา “คำวา โอวาท หรืออนุสาสนีนั้น เปนอันเดียวกัน มีอรรถ
อันเดียวกันเสมอกัน เขากันได เกิดรวมกัน นั้นนั่นแล”
๒๔ ดิลกพุทธินี
บทวา เอเส เปนตน เปนปฐมาวิภัตติ มี เอ เปนที่สุด มีความหมาย
เทากับ เอโส เปนตน ฉะนั้น ในฎีกาเอกนิบาต อังคุตตรนิกาย จึงอธิบาย
ความวา
ตตฺถ เอเส เอเก เอกเติอาทีสุ เอโส เอโก เอกตฺโถติอาทินา อตฺโถ
เวทิตพฺโพ.
[บรรดาบทเหลานั้น ในขอวา เอเส เอเก เอกเ เปนตน บัณฑิต
พึงทราบอรรถวา เอโส เอโก เอกตฺโถ เปนตน]

ในสัททนีติปทมาลาอธิบายไววา ปฐมาวิภัตติแหง เอต และ ต ศัพท


ที่เปนปฐมาวิภัตติ แสดงเปนบทที่มี เอ เปนที่สุดก็ไดบาง แตในที่นี้ปรากฏ
วา แมปฐมาวิภัตติหลัง เอก เอก สม สมภาค เปนตน ก็เปน เอ ไดเชนกัน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๒๕

ลฬานมวิเสโส
ล ฬ ไมตา งกัน
-๏-

ในภาษาบาลี มี ก ารแปลง ร แห ง สั ง ขยาเป น ล เช น จตฺ ต ารี ส


จตฺตาลีส และ ล นั้นสลับกันใชกับ ฬ ไดบาง คือ ล และ ฬ ไมตางกัน เชน
อารุฬฺโห อารุลฺโห, อฬกฺ โก อลกฺโก ใชแทนกันในคำเดียว เชน ในเรื ่อง
พระเจาวิฑูฑภะ (เขียนแบบพมาวา วิฏภะ) ธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๓ หนา
๒๒ ตอนวาดวยกษัตริยไมออ คำวา ไมออ ปรากฏทั้ง นล และ นฬ ในเรื่อง
เดียวกันและเรียงอยูใกลกัน ขอความนั้นวา

นล คเหตฺวา ิตา โน สาโก นโฬติ วทนฺติ.


[เจาศากยะผูถือไมออยืนอยูแลว พูดวา ไมใชศากยะ ไมออ]
๒๖ ดิลกพุทธินี
จากตัวอยางนี้ พึงสังเกตวา นลํ และ นโฬ ที่ แปลวา ไมออ นั้น
สะกดดวย ล และ ฬ ซึ่งเปนไปตามขอกำหนดที่วา ล และ ฬ ไม ตางกัน
ดังคำชี้แจงใน ปทรูปสิทธิ อธิบายประกอบสูตรที่ ๓๔ วา ลฬานมวิเสโส
[ล และ ฬ ไมตางกัน]
ที่ ว  า ล และ ฬ ไม ต า งกั น คื อ ใช แ ทนกั น ได ก ็ จ ริ ง อยู แต ไ ม ได
หมายความวา ใชแทนกันไดทุ กกรณี จะแทนกันได ในกรณีท ี่ มี ตั วอยาง
ปรากฏในพระบาลี โดยมีหลักการทั่วไปวา ตองสอดคลองกับพระบาลี คือมี
อุทาหรณการใชคลอยตามพระชินพจน ดังหลักวา ชินวจนยุตฺตฺหิ อาจเปน
เพราะเหตุดังกลาว จึงปรากฏรูปทั้ง ปาลิ, ปาิ, ปาลี, ปาี เปนตน
เพราะความที่บางกรณีใชเปน ฬ อยางเดียวแนนอน บางกรณีใช
เปน ฬ ล บาง ไมแนนอน ฉะนั้น ในทางปฏิบัติ นักเรียนควรสังเกตวา บทนี้
ปรากฏรูปที่สะกดดวย ฬ บาง ล บาง ถาปรากฏทั้ง ๒ รูป ก็สันนิษฐานวา
ใชแทนกันในกรณีนั้นๆ สามารถเลือกใชรูปใดรูปหนึ่งหรือทั้ง ๒ รูป แตถา
ไมปรากฏเพียงรูปใดรูปหนึ่ง ก็ควรใชตามรูปที่ปรากฏเทานั้น
อนึ่ง ในขอนี้ อาจารยผูรูไวยากรณ ใหขอสังเกตวา ผูถามกับผูตอบ
ใชคำไมเหมือนกัน ผูถามใชคำวา สากิย ซึ่งแปลวา เจาศากยะ อยางเดียว
แตผู ต อบใชค ำว า สาก ซึ่งแปลได หลายอย า ง แปลวา เจา ศายกะ ก็ ได
แปลวา ผัก เปนต น ก็ ได อาจเป น เพราะผู  ตอบจะเลี ่ยงคำมุ สา จึ งหยิบ
ไมออบาง หญาบาง แลวตอบเปนบาลีวา โน สาโก, ติณํ. โน สาโก, นโฬ.
(นี่ไมใชผัก แตเปนหญา นี่ไมใชผัก แตเปนไมออ) โดยคำนึงในใจวา เราไม
โกหก เพราะสิ่งที่ถือสิ่งที่อยูในปากคือหญาและไมออ ไมใชผัก แตคนฟง
เขาใจวาไมใชศากยะ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๒๗

ฆรทินฺนกาพาธ, สีตาโลิ
โรคเสนหยาแฝด, ผาลไถลางอาถรรพ
-๏-

ไดยินมานานแลววา ในวงการเครื่องรางของขลัง มีเครื่องรางชนิด


ตางๆ หนึ่งในนั้น คือผาลไถ ซึ่งเมื่อไดยินครั้งแรก ก็ไมไดนึกถึงเรื่องขลัง
อะไร แตนึกถึงที่มาของผาลไถ คือชาวนา ซึ่งมีความเพียรพยายาม อดทน
และขยัน
ผาลไถหนึ่งใบอาจผานรอนหนาวมามาก และเปนสัญลักษณแหง
ชายที่มีกำลังวังชาพลิกฟนแผนดินใหเปนทุงรวงทอง โดยเฉพาะพอบานใน
วัยทำงาน การมีผาลไถไวเปนเครื่องระลึก ก็พลอยนึกถึงความพยายามและ
พอไปดวย ก็อาจจะมีประโยชนในแงนี้ก็ได เรื่องก็ผานไปไมไดสนใจอะไร
๒๘ ดิลกพุทธินี
จนถึงวันหนึ่ง นักเรียนชั้นประโยค ป.ธ. ๕ ซึ่งเคยไปตางประเทศ
ไดฟงเรื่องราววา โยมซึ่งจากบานเกิดไปอยูในตางประเทศนั้น ปวยดวยโรค
ประหลาด รักษาดวยวิธีไหนๆ ก็ไมหาย มีผูแนะนำวิธีรกั ษามากมาย หนึ่งใน
วิธ ีที่แนะนำนั้ นวา ใหน ำดินจากผาลไถมาแช น้ ำดื ่ ม ว า เปน วิ ธี ที ่ ไดจาก
พระไตรปฎก อยางนี้มีที่มาในพระไตรปฎกจริงหรือไม
เรื่องนี้ปรากฏในพระไตรปฎกและมีคำอธิบายในอรรถกถาฎีก า
เรียกโรคนี้วา ฆรทินฺนกาพาธ แปลตามศัพทวา อาพาธที่เกิดขึ้นเพราะน้ำ
อันหญิงแมเรือนใหแลว แปลกันวา โรคเสนหยาแฝด และยารักษาโรคนี้วา
สีต าโลิ ซึ่ ง ประกอบดวยคำวา สี ต า แปลว า รอยไถ ซึ ่ ง มุ  ง ถึ ง ไถ และ
อาโลฬ ซึ่งแปลวา ละลาย ไดแก ยาที่ละลายน้ำกับดินติดผาลไถ ทำตาม
ไวยากรณจึงเปน สีตาโลิ

บาลี
เรื่องนี้ปรากฏในเภสัชชขันธกะ ซึ่งวาดวยเรื่องยา ในมหาวรรค แหง
พระไตรปฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ เลม ๕ ขอ ๔๔ หนา ๕๑ วา

เตน โข ปน สมเยน อฺตรสฺส ภิกฺขุโน ฆรทินฺนกาพาโธ โหติ.


ภควโต เอตมตฺถํ อาโรเจสุํ. อนุชานามิ, ภิกฺขเว, สีตาโลึ ปาเยตุนฺติ.
พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับหลวง เลม ๕ ขอ ๔๔ หนา ๔๑ วา
ก็โดยสมัยนั้ นแล ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธถูกยาแฝด. ภิกษุทั้งหลาย
กราบทูลเรื่องนั้นแดพระผูมีพระภาค. พระผูมีพระภาคตรัสอนุญาตแกภิกษุ
ทั้งหลายวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตใหดื่มน้ำละลายดินรอยไถซึ่งติด
ผาล
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๒๙
จากพระบาลีที่นำมาแสดงนี้ บอกวา พระภิกษุอาพาธอยางหนึ่ง
เรียกตามบาลีวา ฆรทินนฺ กาพาธ แปลตามศัพทวา อาพาธอันหญิงแมเรือน
ใหแลว พระไตรปฎกภาษาไทย แปลตามคำอธิบายของฎีกาเป นต น ว า
ยาแฝด สวนยาที ่พระพุทธเจาทรงอนุญาตไวสำหรับโรคนี้ คือ สีตาโลิ
แปลวา น้ำละลายดินรอยไถซึ่งติดผาล ซึ่งควรศึกษาตอไปวา โรคเสนหยา
แฝด และยาชนิดนี้ทานอธิบายไวอยางไร

อรรถกถา
มหาวรรคอรรถกถา (๓/๑๙๑) ซึ่งนักเรียน ป.ธ.๖ ศึกษานั้น เอง
ปรากฏคำอธิบายนี้ จับสาระสำคัญแลว ไดความวา ฆรทินนกาพาธ คือโรค
ที่เกิดขึ้นจากยาที่ดมื่ แลวทำใหรัก ซึ่งตรงกับเสนหยาแฝด ในภาษาไทยนี้เอง
สวนยาที่ชื่อวา สีตาโลิ ไดแก ทรงอนุญาตใหละลายดินเหนียวที่ติดไถของ
ชาวนาที่ไถดวยไถกับน้ำดืม่ จึงเปนอันตัดกรณีดนิ ที่ตดิ อยูกับไถของชาวนาที่
ไมไดไถดวยไถออกไป ขอความในอรรถกถานั้นวา
ฆรทินฺนกาพาโธติ วสีกรณปานกสมุิตโรโค. สีตาโลินฺติ นงฺคเลน
กสนฺตสฺส ผาเล ลคฺคมตฺติกํ อุทเกน อาโลเฬตฺวา ปาเยตุํ อนุชานามีติ
อตฺโถ.
ขอความนี้ อรรถกถาแปล ฉบับที่พิ มพรวมในพระไตรป ฎกและ
อรรถกถาแปล มมร. ๙๑ เลม เลม ๕ ภาค ๒ หนา ๑๗๐ แปลวา
[โรคที่เกิดขึ้นแตน้ำซึ่งสตรีใหเพื่อทำใหอยูในอำนาจ ชื่อวา อาพาธ
เกิดแตยาอันหญิงแมเรือนให. บทวา สีตาโลึ มีความวา เราอนุญาตให
ภิกษุเอาดินที่ติดผาลของผูไถนาดวยไถ ละลายน้ำดื่ม.]
๓๐ ดิลกพุทธินี
ฆรทินนกาพาธ ตามนัยอรรถกถาคือ โรคที่เกิดจาก วสีกรณปานก
คำวา ปานก คือเครื่องดื่ม, ยาสำหรับดื่ม, ยาน้ำ ในที่นี้ทานแปลวา น้ำ ที่ทำ
วสีกรณ ในที่นี้แปลวา ทำใหอยูในอำนาจ ซึ่งเปนคำแปลที่ไดจากโยชนา แต
ในฎีกาอธิบายตางออกไปวา วสีกรณ ในที่นี้คือ ทำใหรักใคร

ฎีกา
ในปาจิตยาทิโยชนาบาลี ฎีกาวินัยปฎก อธิบายไวคอนขางละเอียด
จับสาระสำคัญไดความวา ที่วา ฆรทินฺนกาพาธ คือเสนหยาแฝด นั้น ไดแก
โรคซึ่งเกิดจาก วสีกรณปานก คำวา วสีกรณ แปลวา ยาเปนเหตุกอความ
รัก คำวา วสี ในที่นี้ หมายถึง ความรักใคร (กนฺติภาว) ซึ่งตางจากอรรถกถา
ที่แปลตามมติโยชนาวา ยาทำใหอยูในอำนาจ สวน ปานก แปลวา ดื่ม, การ
ดื่ม ฉะนั้น ถาหากวาตามฎีกา คำวา ฆรทินฺนกาพาธ จึงไดแก โรคที่เกิดจาก
การดื่มยาทำใหเกิดความรักใคร คือเสนหยาแฝดนั่นเอง
สวนยาที่เรียกวา สีตาโลิ หมายถึงน้ำที่ละลายดินติดที่ไถ คำวา
สีตา วาโดยตรงหมายถึง ผาลไถที่ทำรอยไถ แตวาโดยสาระสำคัญมุงถึงดิน
ที่ติดผาลไถ คำวา อาโลิ หมายถึง ตองละลาย ขอนำขอความในฎีกานั้น
มาแสดงไวสำหรับผูสนใจภาษาบาลี
วสีกรณปานกสมุติ โรโคติ กนฺติภาวสงฺขาตํ วสํ กโรติ อเนนาติ
วสีกรณํ, เภสชฺชํ, ปวเต ปานํ, ตํเยว ปานกํ, วสีกรณสฺส ปานกํ
วสีกรณปานกํ, เตน สมุ ิโต โรโค วสีกรณปานกสมุิตโรโค. อิมินา
ฆรทินนฺ กาพาโธติ เอตฺถ ฆรณิยา ทินฺเนน วสีกรณปานเกน สมุโิ ต
อาพาโธ ฆรทินนฺ กาพาโธติ วจนตฺถํ ทสฺเสติ. สีตาย อาโลเฬตพฺพนฺติ
สีตาโลฬํ, อุทกํ. สีตาสทฺโท นงฺคลเลขาสงฺขาตํ ผาลปทฺธตึ มุขฺยโต วทติ,
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๓๑
ผาลปทฺธติกเร ผาเล ลคฺคมตฺติกํ อุปจารโต วทติ. เตน วุตฺตํ “สีตาย
อาโลเฬตพฺพนฺติ. อกถายมฺป ตมตฺถํ ทสฺเสนฺโต อาห
“นงฺคเลนา”ติอาทิ.
ในวินยาลังการฎีกา ฉบับที่รวมเขาชุดคัมภีรฉบับฉัฏฐสังคายนาของ
พมาอธิบายวา ทรงอนุญาตพระภิกษุที่อาพาธดวยฆรทินนกาพาธ คือยา
แฝด ดื่มยาสิตาโลิ อาพาธที่เรียกวา ฆรทินนกาพาธ คือ โรคที่เกิดจากยา
ที่ดื่มกินทำความใคร ฆร ศัพท ในคำวา ฆรทินนกาพาธ นี้ หมายถึง หญิงแม
เรือน ไมตางอะไรกับคำวา ฆรณี (หญิงแมเรือน)
ส ว นในวิ มติ ว ิโ นทนีฎ ี กาวิ น ั ย อธิ บ ายว า คำว า ฆรทิน นกาพาธ
หมายถึง โรคที่เกิดขึ้นเพราะยาที ่ ทำใหรั กของหญิ งแม เรือน ส วนคำว า
สีตาโลิ หมายถึง ทรงอนุญาตใหละลายดินเหนียวที่ติดผาลไถของชาวนา
ซึ่งไถดวยไถกับน้ำแลวดื่ม ขอความในฎีกานั้นวา
ฆรทินนฺ กาพาธกถายํ “อนุชานามิ, ภิกฺขเว, สีตาโลึ ปาเยตุนตฺ ิ
วจนโต ฆรทินฺนกาพาธสฺส ภิกฺขุโน สีตาโลึ ปาเยตุํ วฏติ. ตตฺถ ฆร-
ทินฺนกาพาโธติ วสีกรณปาณกสมุติ โรโค. ฏีกายํ ปน “ฆรทินนฺ กาพาโธ
นาม วสีกรณตฺถาย ฆรณิยา ทินฺนเภสชฺชสมุโิ ต อาพาโธ. เตนาห ‘วสี-
กรณปาณกสมุติ โรโค’ติ. ฆรสทฺโท เจตฺถ อเภเทน ฆรณิยา วตฺตมาโน
อธิปฺเปโตติ วุตฺตํ. วิมติวิโนทนิยมฺป “ฆรทินนฺ กาพาโธ นาม ฆรณิยา
ทินฺนวสีกรณเภสชฺชสมุโิ ต อาพาโธติ วุตฺตํ. สีตาโลินฺติ นงฺคเลน
กสนฺตสฺส ผาเล ลคฺคมตฺติกํ อุทเกน อาโลเฬตฺวา ปาเยตุํ อนุชานามีติ
อตฺโถ.
๓๒ ดิลกพุทธินี
โยชนา
ไดกลาวไวแลววา ฆรทินนกาพาธ คือโรคเสนหยาแฝด ที่เกิดเพราะ
วสีกรณปานก ซึ่งมีคำแปลอยางนอย ๒ นัย ไดแก นัยแหงฎีกาวาการดืม่ ยา
ที่ทำใหรักใคร (กนฺติภาว) สวนอีกนัยหนึ่งในอรรถกถาฉบับแปล มมร. ทาน
แปลวา ทำใหอยูในอำนาจ
นัยที่แปลวา ทำใหอยูในอำนาจ นี้ เขาใจวา ทานถือตามนัยที่
ปรากฏในโยชนาวินัย ภาค ๒ หนา ๑๖๓ วา
อตฺตโน วสํ กโรติ เอเตนาติ วสีกรณํ ฯ
[สตรียอมทำซึ่งอำนาจของตนดวยยาใด ยานั้นชื่อวา เปนเหตุทำ
อำนาจของตนของสตรี]
ความจริง วส ในประโยคนี้ นอกจากจะแปลวา อำนาจ ยังแปลวา
ความรักใคร ไดดวย ดังทีฎ่ ีกาทานไขความวา กนฺตภิ าวสงฺขาตํ วสํ (ซึ่งความ
รัก อันบันฑิตนับพรอมแลววาความใคร)
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๓๓

นุ อาคม
ในนามกิตก
-๏-

วาตามตำราที่ศึกษากันตามหลักสูตรบาลี สนามหลวงนี้ นุ อาคม


ถูกกลาวถึงในหนังสือ อธิบายบาลีไวยากรณ (นามกิตกและกิริยากิตก) หนา
๔๙ ในตอนอธิบายการลง อ ปจจัย วา “ถามีศัพทหนาเปนกัมม ใหลง นุ
อาคม” และในที่นั้นมีรายละเอียดการลงและไมลง นุ อาคมบาง พอสมควร
แกการเขาใจ เมื่อไดศึกษาเพิ่มเติมจากคัมภีรสัทศาสตรแลว มีเกร็ดความรูที่
นาสนใจ แตเนื่องจาก นุ อาคม ถูกกลาวไวเปนเรื่องเกี่ยวเนื่องกับ อ ปจจัย
ฉะนั้น ควรทราบ อ ปจจัยนั้นดวย
๓๔ ดิลกพุทธินี
อ ปจจัย ลงทั่วไป ไมใชชื่อเฉพาะ
ก. มีบทกรรม ลงแลวลบวิภัตติ

อ ปจจัย และปจจัยอื่นๆ เมื่อตั้งวิเคราะหมีบทกรรมอยูหนา ในที่ซึ่ง


ไมใชชื่อเฉพาะ เมื่อจะสำเร็จรูป ลบวิภัตติบทกรรมนั้นบาง เชน ธมฺมํ ธรตีติ
ธมฺม ธโร, วิ นยธโร, หิ ต กโร, ทิว สกโร, ทิ นกโร, ทิ ว ากโร, นิ ส ากโร,
สพฺพกามทโท, สพฺพทโท ลบวิภั ตติ แ ล วมี ก ารซอ นพยั ญ ชนะบ า ง เชน
ธนุคฺคาโห, ตกฺกโร, กฏคฺคโห จัดเปนบทมีกิตกเปนที่สุด ภายในมีทุติยา-
ตัปปุริสสมาส ประเภทลุตตสมาส เรียกวา กิตนฺตทุติยาตปฺปุริสลุตฺตสมาส
เฉพาะอุทาหรณวา ทิวากโร ศัพทเดิมเปน ทิวา วิเคราะหวา ทิวา
กโรตีติ ทิวากโร มีการลง อํ หลัง ทิวา ในบทวิเคราะห เมื่อจะสำเร็จรูปลบ
วิภัตติเสีย คงเปน ทิวา เพราะเปนนิบาต
ส ว นอุ ทาหรณ ว า นิ ส ากโร ศั พ ท เ ดิ ม เป น นิ ส า เป น อิ ต ถี ลิ ง ค
วิเคราะหวา นิสํ กโรตีติ นิสากโร เพราะเปนอิตถีลิงคจึงคง อา การันตไว

ข. มีบทกรรม ลงแลวไมลบวิภัตติ

ลงแลวเมื่อจะสำเร็จรูป ไมลบวิภัตติบทกรรมนั้น แตแปลงนิคหิต


เปนพยัญชนะสุดวรรค เชน ปภํ กโรตีติ ปภงฺกโร, อมตนฺทโท, รณฺชโห,
ชุตินฺธโร จัดเปนบทมีกิตกเปนที่สุด ภายในมีทุติยาตัปปุริสสมาส ประเภท
อลุตตสมาส เรียกวา กิตนฺตทุติยาตปฺปุริสอลุตฺตสมาส
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๓๕
ค. ไมมีบทกรรม
อ ปจจัยนอกจากจะลงในที่มีบทกรรมอยูหนาแลว ยังลงในที่ไมมี
บทกรรมอยูหนาก็ได เชน วิเนติ เตนาติ วินโย, นิสฺสโย, อนุสโว, ปภโว
พึงดูการลง อ ปจจัยในที่ทั่วไป ทั้งกรณีมีกรรมเปนบทหนา และไมมีกรรม
ในคัมภีรปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๕๖๘ วา สพฺพโต ณฺวุ ตฺวาวี วา นี้วาโดยการลง
อ ปจจัยเปนตนในที่ทั่วไป ไมใชชื่อเฉพาะ ซึ่งยังไมถึงวิธีการลง นุ อาคม
อ ปจจัย ลงในชื่อเฉพาะ ลง นุ อาคม
ถือตามหลักที่ทานแสดงไวในกัจจายนะและปทรูปสิทธิ ในกรณีที่ อ
ปจจัยนั้น ประกอบกับธาตุที่มีบทกรรมอยูหนาแลวสำเร็จรูปเปนชื่อเฉพาะ
มีวิธีพิเศษขึ้นมาอีกเล็กนอย สรุปไดความวา
อ ปจจัย ในที่เปนชื่อเฉพาะ มีบทกรรมอยูหนา เมื่อจะสำเร็จรูป ลบ
วิภัตติบทกรรม ลง นุ อาคม ดวยสูตรปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๕๖๕ วา สฺายมนุ.
แปลง นุ เปนนิคหิต ดวยสูตรปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๕๖๖ วา นุ นิคฺคหีตํ ปทนฺ
เต. แปลงนิคหิตเปนพยัญชนะที่สุดวรรค ดวยสูตรปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๔๙ วา
วคฺ คนฺตํ วา วคฺเค เชน อรึ ทเมตี ติ อริ นฺ ทโม, เวสฺ สนฺตโร, ตณฺ ห งฺกโร,
เมธงฺกโร, สรณงฺกโร, ทีปงฺกโร
นุ อาคมนั้นใหลงหลังบทหนาหลังจากลบวิภัตติแลว ฉะนั้น ในกรณี
ที่ไมมีบทหนา ก็ไมตองลง นุ อาคมโดยปริยาย กลาวโดยสรุปแลว ลง นุ
อาคม ในกรณีตอไปนี้
๓๖ ดิลกพุทธินี
(๑) ในที่ลง อ ปจจัย (๒) อ ปจจัยนั้นลงหลังธาตุที่มีบทกรรมอยู
หนา (๓) สำเร็จรูปแลวใชเปนชื่อเฉพาะ (๔) เมื่อตั้งวิเคราะหและลบวิภัตติ
แหงบทกรรมแลว ใหลง นุ อาคมหลังบทกรรมนั้น แปลง นุ เปน นิคหิต
แปลงนิคหิตนั้นเปนพยัญชนะที่สุดวรรค ตัวอยางการทำตัวโดยยอเชน
อรึ ทเมตีติ อรินฺทโม อรึ + ทม
ลบ อํ วิภัตติ อริ + ทม
ลง นุ อาคม อริ + นุ + ทม
แปลง นุ เปนนิคหิต อรึ + ทม
แปลงนิคหิตเปนพยัญชนะสุดวรรค อรินฺทม

จากที่แสดงมานี้ มีปญหาวา ทำไมตองลง นุ อาคม เพราะวาโดยรูป


ศัพทแลว เพียงตั้งวิเคราะหแลว ไมลบวิภัตติของบทกรรม แปลงนิคหิตเปน
พยัญชนะที่สุดวรรค ก็ไดรูปเดียวกัน เชน ปภงฺกโร เปนตน
คำตอบนี้ สันนิษฐานวา การลง นุ อาคม เปนวิธีแยกตางหาก ให
ทราบวา บทที่สำเร็จรูปดวยการลง นุ อาคมนี้ จะตองใชเปนชื่อเฉพาะ ไมใช
คุณนามทั่วไป แตเปนชื่อ หรือไม?
หลั กการลง นุ อาคมในกรณีเ ป น ชื ่ อนี ้ ปรากฏในกั จจายนสู ต ร
และปทรูปสิทธิ แตบางคัมภีรเชน นิรุตติทีปนี ก็ไมมีการลง นุ อาคม คือ
ปฏิบัติเชนเดียวกับวิธีสำเร็จรูปแหงบทวา ปภงฺกโร เปนตน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๓๗

ปาย
วุทฺธิ, เยภุยฺย
-๏-

คำว า ปาย ที ่ จ ะกล า วในที ่ นี้ เป น ภาษาบาลี อ  า น ปา-ยะ ไม


เกี ่ย วขอ งอะไรกับ อำเภอปาย จั ง หวั ด แม ฮ  อ งสอน จึ ง เป น อั น ตั ด การ
พิจารณาคำวา ปาย ในภาษาไทยออกไปกอน สวนอำเภอปาย จะเกี่ยวของ
กับบาลีหรือไม ก็สุดแทแตจะพิจารณา
ปาย ที่ปรากฏโดยมาก แปลวา วุทฺธิ คือ ความเจริญ มี น ปฏิเสธ
ไดรูปเปน อปาย แปลวา ความเสื่อม เชนในคำวา อปายมุข แปลวา ทาง
แหงความเสื่อม แตในบางแหง ปาย แปลวา มาก เชน ปาเยน, ปายโต
แปลวา โดยมาก
๓๘ ดิลกพุทธินี
เมื่อศึกษาคัมภีรที่เกี่ยวของกับการแตงฉันท เชน ฉันโทมัญชรีฎีกา
อธิบายสูตร ๗๘, ๑๒๕, ๑๖๕, ๑๗๒ เปนตน พบคำวา ปาเยน ปรากฏอยู
หลายแหง จึงสงสัยวา ปาเยน นอกจากจะแปลวา เจริญ แลวแปลอยางอื่น
ไดหรือไม
แมในมังคลัตถทีปนี ซึ่งเปนหนังสือประกอบการศึกษา ชั้นประโยค
ป.ธ.๕ ก็ปรากฏบทนี้ ในรูปวา ปายโต ๒ แหง ไดแก ในมังคลัตถทีปนี ภาค
๒ หนา ๑๙๓ วา

อาธุนิกา ปน รติวิ อิติ นคณวเสน ปายโต ปนฺติ ฯ


[ก็ภิกษุทั้งหลายในบัดนี้โดยมากยอมสวดตามอำนาจ น คณะวา
รติวิ]

ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ หนา ๔๓๑ วา


จิตฺตํ นาม มโน ฯ เตน จุราทิคเณ
จิตฺตํ มโน มานสฺจ วิฺาณํ หทยํ มนํ
นามาเนตานิ โวหาร- ปเถ วตฺตนฺติ ปายโตติ วุตฺตํ ฯ
[มโน ชื ่ อ วา จิ ต . ด ว ยเหตุ น ั ้ น ในหมวดธาตุ มี จุ ร ธาตุ เ ป น ต น
ทานพระอัครวงศาจารยจ ึงกลาววา ชื ่ อเหล านี ้ คื อ จิ ตตะ มโน มานสะ
วิญญาณะ หทยะ มนะ ยอมเปนไปในคลองแหงโวหาร (คือใชพูดกั น )
โดยมาก]
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๓๙
จากขอความที่นำมาแสดงนี้ พึงสังเกตวา คำวา ปาย ไมไดแปลวา
เจริญ แตแปลวา มาก ซึ่งใชในอรรถวา เยภุยฺย เมื่อประกอบวิภัตติหรือเติม
ปจจัยเขาไป จึงไดรูปเปน ปาเยน, ปายโต เปนตน
ปาย มีความหมายเทากับคำวา เยภุยฺย แปลวา มาก ก็ได ปรากฏ
ตัวอยางหลายแหง เชน ขุ.ชา.๒๘/๓๕๖/๑๔๐ วา
เย ขตฺยธมฺเม กุสลา ภวนฺติ
ปาเยน เต เนรยิกา ภวนฺติ
ตสฺมา อหํ ขตฺตธมฺมํ ปหาย
สจฺจานุรกฺขี ปุนราคโตสฺมิ
ชยสฺสุ ยฺ ขาท มํ โปริสารท
คำวา ขตฺยธมฺเม, ขตฺ ยธมฺ มํ ฉบับฉัฏฐสังคายนาวา ขตฺตธมฺเม,
ขตฺตธมฺมํ พระไตรปฎกภาษาไทยฉบับหลวง ขุ.ชา.๒๘/๓๕๖/๙๔ วา
ชนเหลาใดเปนผูฉลาดในขัตติยธรรม ชนเหลานั้นตองตก
นรกโดยมาก เพราะฉะนั้น หมอมฉันจึงละขัตติยธรรม เปนผูรักษา
ความสัตยกลับมา ดูกอนทานโปริสารท เชิญพระองคบูชายัญเสวย
หมอมฉันเถิด.
คำวา ปาเยน ในที่นี้แปลวา โดยมาก เพราะทานแปลตามอรรถกถา
(ชา.อ.๘/๔๕๓) ที่วา ปาเยนาติ เยภุยฺเยน [คำวา ปาเยน แปลวา โดยมาก]

ยัง มีหลักฐานอื่นๆ อี กที ่ ปาย แปลว า มาก คื อคำวา ปาย และ


เยภุยฺย เปนคำอธิบายของกันและกัน เชน
๔๐ ดิลกพุทธินี
อรรถกถานิทานวรรค แหงสังยุตตนิกาย (สํ.อ.๒/๒๐๐) วา
ปลุชฺชนฺติ โข เต อาวุโส นวปฺปายาติ อาวุโส อานนฺท เอเต ตุยฺหํ
ปาเยน เยภุยฺเยน นวกา เอกวสฺสกิ ทุวสฺสิกทหรา เจว สามเณรา จ ปลุชฺชนฺติ

อรรถกถาทีฆนิกาย (ที.อ.๑/๒๔๘), สังยุตตนิกาย (สํ.อ.๒/๓๑๓)


และอรรถกถาอังคุตตรนิกาย (องฺ.อ.๒/๓๓๐) วา
เยภุยฺเยนาติ ปาเยน.

คำวา เยภุยฺย แปลวา มาก ดังที่อภิธานัปปทีปกาฎีกา อธิบายคาถา


๗๐๓ วา
เยภุยฺยสทฺโท พหุลตฺถวาจโก ปาฏิปทิโก.
[เยภุยฺย เปนนิบาตใชในความหมายวามาก]

จากที่แสดงมานี้ จึงไดขอสรุปวา นอกจาก ปาย จะแปลวา วุทฺธิ คือ


ความเจริญแลว จะแปลวา เยภุยฺย คือมาก ก็ได
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๔๑

ชาตรูป : ทอง
พิจารณาความหมายในภาษาบาลี
-๏-

นักเรียนถาม
ทำไม ชาตรูป ที่ปรากฏในศีล ๑๐ จึงแปลวา ทอง ในคำนี ้ ชาต
แปลวา เกิด รูป แปลวา รูป ไมใชหรือ

อาจารยตอบวา
ชาตรูป เปนคำเรียก ทอง โดยปริยาย แปลไดหลายนัย จะแปลวา
สิ่งที่เกิดมาดียิ่ง หรือ มีรูปอันเกิดแลว ก็ได
๔๒ ดิลกพุทธินี
ชาตรูป เปนไวพจนของ สุว ณฺณ แปลวา ทอง ประกอบขึ้นจาก
ชาต ศัพท แปลวา เกิด และ รูป แปลวา รูป หรือ ดียิ่ง, นาสรรเสริญ ก็ได
ฉะนั้น ชาตรูป จึงแปลไดอยางนอย ๒ นัย ไดแก สิ่งที่มีรูปอันเกิดแลว และ
สิ่งที่เกิดอยางดี
๑. ชาตรูป แปลวา สิ่งที่เกิดอยางดี ประกอบขึ้นจาก ชาต แปลวา
เกิด และ รูป ปจจัย ใชแทนคำวา ปก แปลวา ดียิ่ง นาสรรเสริญเชยชม
ฉะนั้น ชาตรูป จึงแปลตามศัพทวา สิ่งที่เกิดอยางดียิ่ง โดยสองนัยวา เปน
สิ ่ ง ที่ ม ี เ กิ ด มามี ค  า มี ร าคาสู ง ดั ง ที ่ ป รากฏวิ เ คราะห แ ละคำอธิ บ ายใน
อภิธานัปปทีปกา คาถา ๔๘๗-๔๘๘ วา

วิ. ชนนํ ชาตํ, ปกํ ชาตํ ชาตรูป, ปกตฺเถ รูปปจฺจโย


[การเกิด ชื่อวา ชาต, การเกิดอยางดียิ่ง ชื่อวา ชาตรูป,
รูป ปจจัย ใชในอรรถวาดียิ่ง]

ในอภิธานัปปทีปกาฎีกา ที่รวมอยูในพระไตรปฎกชุดฉัฏฐสังคายนา
มีเชิงอรรถบอกไววา ในคัมภีรจินตามณิฎีกาและคัมภีรปาณินิวา ปสํสายํ
รูปปจฺจโย แปลวา รูป ปจจัย ใชในอรรถวาสรรเสริญ ฉะนั้น ถือตามมตินี้
ชาตรูป จึงแปลวา สิ่งที่เกิดขึ้นอยางนาสรรเสริญเชยชม ก็ได
จากวิเคราะหที่แสดงขางตนนี้ พึงสังเกตวา ชาต มีความหมายวา
เกิด เพราะทานอธิบายวา ชนนํ ชาตํ (การเกิด) ชาตรูป วิเคราะหวา ปกํ
ชาตํ ชาตรูป เมื่อจะสำเร็จรูป สลับ ชาต ไปไวขางหนาและใช รูป ปจจัย
แทน ปก จึงสำเร็จรูปเปน ชาตรูป นัยนี้ รูป แปลวา ดียิ่ง
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๔๓
การสลับบทในวิเคราะหกับบทสำเร็จ มีปรากฏตัวอยางอยูบาง เชน
นครสฺส พหิ พหินครํ, อหสฺส ปุพฺพํ ปุพฺพณฺหํ

๒. ชาตรูป แปลวา สิ่งที่มีรูปอันเกิดแลว ดังที่ปรากฏวิเคราะหและ


คำอธิบายในอภิธานัปปทีปกา คาถา ๔๘๗-๔๘๘ วา

ชาตํ รูปมสฺสาติ วา ชาตรูป.


[อีกประการหนึ่ง รูปของสิ่งนั้นเกิดแลว
เหตุนั้น สิ่งนั้น ชื่อวา สิ่งที่มีรูปอันเกิดแลว]

อนึ่งในอรรกถาวินัย (วินย.อ.๒/๒๒๔) อธิบายไวนาสนใจวา

ชาตรูปนฺติ สุวณฺณสฺส นามํ.


[คำวา ชาตรูป เปนชื่อของทองคำ]

ในชั้นเดิมคำวา ชาตรูป ใชเรียกวรรณะคือผิวซึ่งงามเหมือนวรรณะ


อันงามยิ ่งของพระผู มีพระภาคเจ า แม ทองคำ ก็ มี สีเ หมื อนวรรณะของ
พระองค ฉะนั้น ทอง ไดแกโลหะที่มีสีเหมือนวรรณะของพระผูมีพระภาค
เจา จึงไดชื่อวา ชาตรูป ไปดวย

นี้วาโดยพยัญชนะ แตวาโดยความหมายแลว คำวา ชาตรูป เปน


ไวพจนคือเปนคำยักเยื้องเรียกทองอีกชื่อหนึ่ง เปนธรรมดาของสิ่งเดียวอาจ
เรียกไดหลายชื่อ แตวาโดยสาระสำคัญก็คือสิ่งเดียวนั่นเอง เหมือนคำวา
กุญชร หัตถี คชสาร เปนไวพจนของคำวา ชาง นั่นเอง
๔๔ ดิลกพุทธินี

เปตฺติวิสย, เปตวิสย
เปรตวิสัย
-๏-

คำว า เปตฺ ต ิ ว ิ ส ย และ เปตวิ ส ย แปลทั บ ศั พ ท ว  า เปรตวิ สั ย


หมายถึง ภูมิหรื อที่ของพวกเปรต เปน ไวพจนของกันและกั น เพราะใน
บางแง บ างด า นมี ความหมายเดี ยวกั น จึ ง ใช แ ทนกั น ได แต ร ู ป ศั พ ท ว า
เปตฺติวิสย ไมมีใช
อย า งไรก็ ต าม เมื่ อ สำรวจในคั ม ภี ร  ที่ จ ั ด เข า ชุ ด พระไตรป ฎ ก
ฉบับฉัฏฐสังคายนาและหนังสือ ที่ ใชเรียนตามหลัก สูตรบาลี สนามหลวง
พบวา บทวา เปตฺติวิสย มีใชมากกวาบทวา เปตวิสย ฉะนั้น ถาอยูในขาย
จะตองเลือกใชก็ควรใช เปตฺติวิสย ซึ่งปรากฏโดยมาก แหลงที่ปรากฏใน
หนังสือที่ใชเรียนกัน มีดังนี้
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๔๕
เปตฺ ต ิ ว ิ ส ย มี ใ ช ม ากกว า เช น ธมฺ ม ปท  กถา (๑/๙๓, ๘/๑๘๔),
อภิธมฺมตฺถวิภาวินี ๒๔, ๑๕๕
เปตวิสย มีใชนอยกวา เชน สารตฺถทีปนี (๔/๒๖๗), วิสุทฺธิมคฺค (๒/๒๗๗)

วิเคราะห

คำวา เปตวิสย, เปตฺติวิสย เปน อ การันตในปุงลิงค ประกอบดวย


คำวา เปต แปลทับศัพทวา เปรต และ วิสย แปลทับศัพทวา วิสัย เปนฉัฏฐี-
ตัปปุริสสมาส

วิ. เปตานํ วิสโย เปตวิสโย, เปตฺติวิสโย


[แดนแหงเปรตทั้งหลาย ชื่อวา เปตวิสย, เปตฺติวิสย]

ในอภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา หนา ๑๕๕ อธิบายวา


ปกเ น สุขโต อิต า คตาติ เปตา, นิ ช ฺฌ ามตณฺ หิ กาทิ เภทานํ
เปตานํ วิสโย เปตฺติวิสโย.
[ที่ช ื่อวา เปรต เพราะอรรถวิเคราะหวา เปน ไปแลว คือ ไปแลว
จากประโยชนอันดียิ่ง คือจากความสุข, แดนแหงเปรตทั้งหลาย ประเภท
นิชฌามตัณหิกเปรต เปนตน ชื่อวา เปตติวิสัย]

เปต เปน เปตฺติ

เมื่อตั้งวิเคราะหฉัฏฐีตัปปุริสสมาส จะสำเร็จรูปเปน เปตวิสย แปลง


เปต ทั้งตัวเปน เปตฺติ จึงสำเร็จรูปเปน เปตฺติวิสย ฉะนั้น พิจารณาในแงนี้
๔๖ ดิลกพุทธินี
การแปลง เปต เปน เปตฺติ ก็เปนเพียงการทำใหรูปตางกัน แตความหมาย
ยังคงเทาเดิม ไมตางกันเลย ซึ่งสอดคลองกันอรรถโยชนาอภิธัมมัตถวิภาวินี
ในปญจิกา อรรถโยชนาแหงอภิธัมมัตถวิภาวินี ภาค ๒ หนา ๔๓๗
อธิบายไววา แปลง เปต เปน เปตฺติ ดวยสูตรวา เตสุ วุฑฺฒิ โดยสองนัยวา
เปลี่ยนรูปศัพทแตความหมายคงเดิม ดังขอความวา

เปตวิสโยติ วตฺตพฺเพ เตสุ วุฑฺฒีติ อาทินา เปตสทฺทสฺส เปตฺติ-


อาเทสํ กตฺวา เปตฺติวิสโยติ วุตฺตํ
[ในเมื่อบทสำเร็จอันทานควรกลาววา เปตวิสโย ทานก็แปลง เปต
ศัพทเปน เปตฺติ ดวยสูตรวา เตสุ วุฑฺฒิ เปนตน แลวกลาววา เปตฺติวิสโย]
การที่ เปต เปน เปตฺติ นี้ นอกจากจะแปลง เปต ทั้งตัวเปน เปตฺติ
แลวดังกลาวแลว ยังมีวิธีอื่นอีก คือ ซอน ตฺ และลง อิ อาคม

ความหมายและองคประกอบ
เปตวิสย หรือ เปตฺติวิสย แปลทับศัพทวา เปรตวิสัย คำวา เปต
แปลว า เปรต หมายถึ ง ผูไ ปสูโ ลกอื่ น พวกที ่ ไปจากประโยชน สุข ผู อยู
หางไกลสุขเหลือเกิน คือมีทุกขระทมนั่นเอง สวนคำวา วิสย แปลวา วิสัย
หมายถึง แดน โอกาส ที่ ภูม ิ เป น ต น ฉะนั ้ น เปตวิสย หรื อ เปตฺ ติวิสย
จึงหมายถึง ภูมิ ที่ หรือโอกาสแหงพวกเปรต คือเปนแดนที่อยูเสวยผลกรรม
ของเปรตทั้งหลาย
ในสองบทนี้ บทวา เปตฺติวิสย นอกจากจะแปลวา วิสัยแหงเปรต
แลว ยังมีความหมายอื่นๆ อีก เชน ความเปนเปรต, ประชุมแหงเปรต ก็ได
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๔๗
เพื่อสรุปเรื่องจึงขอวิเคราะหและคำอธิบายในจูฬธาตุปจจยโชติกา
มาแสดงไวดังตอไปนี้
ปรโลกํ เอติ คจฺฉตีติ เปโต, ปรสทฺทูปปท - อิ คติยํ, โต, รโลโป,
อิสฺเส, ปเรโตติป ปาโ. สุขโต ปกเน อิตา คตา ปวตฺตาติ เปตา, อิธ
ปสทฺโท ปกวาจโก, ปกเนาติป คเตน ทูรภาเวน วา. สุขสมุสฺสยโต
เปจฺจ ปกํ ปวาสํ ทูรํ คตาติ เปตา. นิชฺฌามตณฺหิกาทีนํ เปตานํ วิสโยติ
เปตฺติวิสโย, ตสฺส ทฺวิตฺตํ, อิอาคโม. ตสฺมา มณิสารมฺชูสายํ วุตตฺ ํ
เปตเปตฺติสทฺทา อฺมฺเววจนานีติ. วิสโยติ โอกาโสติ อตฺโถ. อถ วา
เปตตาย เปตฺติ, อิโต เปจฺจ คตภาโวติ อตฺโถ. เปตานํ วา สมูโห เปตฺติ,
ตทฺธิเต ณิ, ตการสฺส ทฺวติ ฺตํ. เปตฺติ เอว เปตฺติวิสโย
[ผูใดไปสูโลกอื่น เหตุนั้น ผูนั้นชื่อวา เปรต, ปร ศัพทเปนบทเคียง -
อิ ธาตุ ในความไป, ต ปจจัย, ลบ ร, แปลง อิ เปน เอ, ปาฐะวา ปเรโต ก็มี.
สัตวเหลาใดไปจากความสุข อันดียิ่ง เหตุ นั้น สัตวเหลานั้นชื่อว า เปรต,
ป ศัพท ในที่นี้ ใชในความหมายวา ดียิ่ง, บทวา ดีิยิ่ง หมายถึง ไปไกลแสน
ไกล ก็ไ ด , สั ตว เหลา ใดจากบรรดาความสุ ข ไปอยู ไ กลแสนไกล เหตุนั้น
สัตวเหลานั้นชื่อวา เปรต. วิสัยแหงเปรตทั้งหลาย มีน ิชฌาตั ณหิกเปรต
เปนตน เหตุนั้น ชื่อวา เปตติวิสัย, ซอน ตฺ, ลง อิ อาคม. ฉะนั้น ในมณิสาร
มัญชุสา ทานจึงกลาววา เปต และ เปตฺติ ศัพท เปนไวพจนของกันและกัน.
บทวา วิสัย หมายความวา โอกาส. อีกอยางหนึ่ง ชื่อวา เปตฺติ เพราะความ
เปนผูไปโลกอื่น, หมายความวา ความที่เขาละโลกนี้ไป. อีกนัยหนึ่ง ประชุม
แหงเปรต ชื่อวา เปตฺติ, ณิ ปจจัย ในตัทธิต, ซอน ตฺ, ความเปนผูไปโลกอื่น
นั้นเอง ชื่อวา เปตติวิสัย]
๔๘ ดิลกพุทธินี

กรณีย :
หลักการแปลง น แหง อนีย เปน ณ
-๏-

ถาม : อนีย ปจจัย มีการแปลง น เปน ณ ในที่เชนไรบาง ?


ตอบ : อนีย ปจจัย มีการแปลง น เปน ณ ในกรณีดงั นี้
๑. หลังธาตุที่มี ร และ ห เปนตนเปนที่สุด หรือ
๒. หลัง รมุ อป รกฺข ลกฺข ธาตุ เปนตน หรือ
๓. หลัง ขน ธาตุ ที่มีการแปลงเปน ขณ
กำหนดกวางๆ วา หลักการแปลง น แหง อนีย เปน ณ นี้ คลาย
การแปลง ยุ เปน อน หรือ อณ นั่นเอง เชน กรณํ คหณํ ลกฺขณํ เปนตน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๔๙
กรณีย ประกอบดวย กร ธาตุ และ อนีย ปจจัย ซึ่งเขียนดวย น
แตเมื่อจะสำเร็จรูป มีการแปลง น เปน ณ ฉะนั้น จึงไมควรใชรูปศัพทวา
กรนีย แตควรใชรูปศัพทวา กรณีย
ทั้งนี้ มีหลักการแปลง น แหง อนีย เปน ณ วา อนีย ปจจัย ลงหลัง
ธาตุที่มี ร และ ห เปนพยัญชนะที่สุดธาตุ และ รมุ อป ธาตุ เป นตน ให
แปลง น แหง อนีย เปน ณ เชน กรณียํ ภรณีย คหณียํ สงฺคณฺหณีย รมณีย
ปาปุณณีย ปาปณีย
คำวา เปนตน คืออาทิศัพทในที่นี้ ยังรวมไปถึงธาตุอื่นๆ อีก ไดแก
รกฺข ธาตุ เชน รกฺขณีย ลกฺข ธาตุ เชน ลกฺขณีย เปนตน
สวน อนีย ที่ลงหลัง ขน ธาตุ เมื่อแปลง น แหง ขน เปน ณ แลว มี
การแปลง น แหง อนีย เปน ณ บาง ไดรูปเปน ขณณีย ไมแปลงบาง ไดรูป
เปน ขนนียํ
การแปลง น แหง อนีย เปน ณ โดยทั่วไปใหเปนไปตามขอกำหนด
แหงสูตรปทรูปสิทธิ รูป.๕๕๐ วา รหาทิโต ณ (หลังจาก ร และ ห เปนตน
แปลง น เปน ณ) แตมีขอควรทราบวา ขอกำหนดนี้ใชสำหรับการแปลง น
ของ อน ของ อนีย หลังธาตุที่ม ี ร เปนตนเปนที่สุดเทานั้น สวนในคำวา
ปณีต ใหแปลงดวยสูตรวา กฺวจิ ธาตุ เปนตน
อยางไรก็ตาม ธาตุที่มี ห เปนที่สุดนั้น บางธาตุก็ไมมีการแปลง น
เปน ณ เชน ชห ทห สห ณหา
นี้วาโดยยอ สวนคำอธิบายโดยพิสดาร ผูศึ กษาพึ งคนดู ที่คั ม ภีร
สัทศาตรทั้งหลาย เชน รูป. ๕๕๐ กจฺ.๒๖๒ โมค.๕/๑๗๐ นีติ.๑๐๔๒
๕๐ ดิลกพุทธินี

กตฺตุกาโม กาตุกาโม
เหมือนกันและตางกันอยางไร ?
-๏-

กตฺตุกาโม กาตุกาโม มีความหมายเดียวกันวา ผูใคร เพื่อจะทำ


เฉพาะคำวา กตฺตุ และ กาตุ นั้น มีรูปเดิมวา กตฺตุํ และ กาตุํ มีองคประกอบ
เหมือนกัน ไดแก กร ธาตุ และ ตุ ํ ปจจัย ตางกันเพียงพยั ญชนะเทานั้น
ฉะนั้น เมื่อจะใชในที่ทั่วไป ทั้ง กตฺตุํ และ กาตุํ นี้ ถือวาใชแทนกันได
แตในบางกรณี คำนี้ถูกใชเปนศัพทเฉพาะที่ถือลงตัวอยางนั้น จะใช
แทนกันไมได เชน ในกรณีเปนชื่อฉันทะอยางหนึ่ง เรียกวา กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
ไมใช กาตุกมฺยตาฉนฺท เหมือนคำทีน่ ำไปใชในภาษาไทยวา ทิวากร ปภากร
แปลว า พระอาทิตย แมม ีความหมายเดีย วกั น ใช แ ทนกั นไดในที ่ทั่ วไป
แตเมื่อนำไปเปนชื่อเฉพาะ ก็ไมควรใชแทนกัน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕๑
คำวา กตฺตุกาโม กาตุกาโม วิเคราะหวา

กตฺตุํ กาเมตีติ กตฺตุกาโม, กาตุกาโม


[ผูใดยอมใครเพื่อจะทำ เหตุนั้น ผูนั้นชื่อวา ผูใครเพื่อจะทำ]

ในคำนี้ กตฺตุํ กับ กาตุํ ตางกันเพียงพยัญชนะ คือมีรูปศัพทและวิธี


ทำตัวรูปตางกัน ดังตอไปนี้
วิธีทำตัวรูป กาตุํ ประกอบดวย กร ธาตุ และ ตุํ ปจจัย ในเพราะ ตุํ
ปจจัย แปลง กร เปน กา ดวย อาทิ ศัพทในสูตรปทรูปสิทธิ รูป.๖๓๗ วา
ตเวตุนาทีสุ กา
สวน กตฺตุํ ประกอบดวย กร ธาตุ และ ตุํ ปจจัย เชนเดียวกัน เมื่อ
ไมมีการแปลง กร เปน กา แปลง ร เปน ตฺ ดวยสูตรปทรูปสิทธิ รูป. ๕๔๙
วา ตุํตุนตพฺเพสุ วา
ทั้ง กตฺตุกาม และ กาตุกาม แจกรูปดวยวิภั ตติตางๆ ปรากฏใน
ตำราเรียนตามหลักสูตรบาลีสนามหลวงนี้หลายแหง และบางแหงปรากฏ
แมในตำราเลมเดียวกัน แตมีรูปตางกัน เชนในธรรมบทภาค ๓ ปรากฏทั้ง
กตฺตุกาม และ กาตุกาม ประมวลมาไวเพียงเปนตัวอยางก็พอ เชน
กตฺตุกาม : ธ.อ.๓/๑๐๒, ๓/๑๖๔ เปนตน
กาตุกาม : ธ.อ.๑/๖๖, ๒/๑๓๐, ๓/๑๑๑, ๓/๑๒๘, ๕/๙๒ เปนตน
๕๒ ดิลกพุทธินี

อโถ อุท ตถา


ทีใ่ ชแทน วา หรือ จ นิยมใชในคาถาอยางไร
-๏-

ในการเรียนวิชาแตงฉันทภาษามคธ นักเรียนมีความจำเปนจะตอง
ใช วา หรือ จ แตดวยขอกำหนดแหงคณะฉันท ในบางกรณี จึงไมสะดวกจะ
ใช วา หรือ จ แตตองการใชศัพทแทน วา หรือ จ นั้น
อโถ อุท และ ตถา ใชในอรรถหลายอยาง หนึ่งในนั้นมีลกั ษณะรวม
กันคือใชเหมือน วา หรือ จ เฉพาะ อโถ อุท และ ตถา ที่ใชเหมือน วา หรือ
จ นั้น เมื่อสำรวจและสังเกตดูตัวอยางในคาถาแลว พบความนิยมซึ่งถือเปน
หลักกวางๆ ดังตอไปนี้
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕๓
ที่ ป รากฏโดยมาก อโถ มั ก เรี ย งต น บาท ต น พากย ห รื อ ต น บท
มีตัวอยางทั้งบาทคี่ และบาทคู อุท มักเรียงระหวางในบาทนั้นๆ ไมอยูตน
หรือทายบาท สวน ตถา มักเรียงทายบาท มีตัวอยางดังนี้

ตัวอยาง อโถ
ใน อสีตินิบาต ชาดกบาลี แหงขุททกนิกาย วา
กุสลฺเจว เม หํส, อโถ หํส อนามยํ;
อโถ รมิทํ ผีต,ํ ธมฺเมน มนุสาสหํ”
ใน ปุริสวิมานวัตถุ วิมานวัตถุบาลี แหงขุททกนิกาย วา
สฺวาคตํ เต มหาปุฺ, อโถ เต อทุราคตํ;
เอตฺโต อุทกมาทาย, ปาเท ปกฺขาลยสฺสุ เต

ตัวอยาง อุท
ใน โกสลสังยุต สคาถวรรคบาลี แหงสังยุตตนิกาย วา
สพฺพํ นาทาย คนฺตพฺพ,ํ สพฺพํ นิกฺขิปฺปคามินํ ;
ยฺจ กโรติ กาเยน, วาจาย อุท เจตสา.

ตัวอยาง ตถา
ใน โสฬสมหาวาร ปริวารบาลี แหงพระวินัยปฎก วา
อุปาลิ ทาสโก เจว โสณโก สิคฺคโว ตถา
โมคฺคลิปุตฺเตน ปฺจมา เอเต ชมฺพุสิริวฺหเย

ที่กลาวมานี้ เปนเพียงขอสังเกต หรือเปนจุดเริ่มตนใหคนควากัน


ตอไป ไมควรถือเปนหลักแนนอนวา ตองอยางนี้เทานั้น อยางอื่นผิด
๕๔ ดิลกพุทธินี

ทิวา ทิวสฺส
เที่ยงหรือบาย
-๏-

ทิวา ทิวสฺส แปลโดยพยัญชนะตามๆ กันมาวา ตอวัน ในวัน แปล


โดยอรรถวา ในเวลายังวันๆ, แตยังวันนัก, หัววัน โดยสองนัยวา ในชวงเวลา
กลางวัน คือในสวนแหงวัน ไมใชกลางคืน แตในอรรถกถาและฎีกาอธิบาย
ตางออกไป ดังจะแสดงขางหนา ศัพทชุดนี้ ปรากฏในหนังสือที่เรียนกันตาม
หลักสูตรบาลีสนามหลวงอยูบาง เชน ธ.อ.๓/๑๐๖, ๘/๔๒
ศัพทชุดนี้ จัดเปนสำนวน ซึ่งถาแปลตามศัพทหรื อตามวิภั ตติที่
ปรากฏอาจไมตรงกับความหมายที่ตองการ ในอรรถกถาฎีกา อธิบายวา
ทิ ว า ทิ ว สฺ ส หมายถึง เวลาซึ ่ง ลว งเลยเที ่ ยงวั น ไป คื อ บ า ย บางแหง ว า
หมายถึง กลางวัน คือเที่ยงวัน ก็มี
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕๕
ในอรรถกถาอุ ท ุ ม พริ ก สู ต ร ปาฏิ ก วรรค แห ง ที ฆ นิ ก าย จั บ
สาระสำรคัญไดความวา ทิว ทิวสฺส หมายถึง เลยเที่ยง คือบาย ดังนี้
เตน วุตฺตํ ทิวา ทิว สฺส ราชคหา นิกฺขมี ติ . ตตฺถ ทิวา ทิวสฺสาติ
ทิวสสฺส ทิวา นาม มชฺฌนฺหาติกฺกโม, ตสฺมึ ทิวสสฺสาป ทิวาภูเต อติกฺกนฺต-
มตฺเต มชฺฌนฺหิเก นิกฺขมีติ อตฺโถ.
[ดวยเหตุนั้น ทานจึงกลาววา พระผูมีพระภาคเจาเสด็จออกจาก
กรุงราชคฤหตอนบาย. บรรดาบทเหลานั้น บทวา ทิวา ทิวสฺส ไดแก เวลา
เลยเที่ยงไป ชื่อวา เวลาบาย. อธิบายวา สันธานคฤหบดีนั้น ออกไป ในเวลา
บาย คือพอเลยเที่ยงแมแหงวันนั้นไป]

ในฎีกาเภสัชชขันธกะ มหาวรรค อธิบายวา ทิวา ทิวสฺส หมายถึง


บาย คือพอเลยเที่ยงไป วา
ทิวา ทิวสฺสาติ ทิวสฺส ทิวา มชฺฌนฺหิเก อติกฺกนฺตมตฺเต.
[บทวา ทิวา ทิวสฺส ไดแก บาย คือพอเลยเที่ยววันไป]

ในฎีกาสามัญญผลสูตร แหงสีลขันธวรรค ทีฆนิกาย อธิบายวา ทิวา


ทิวสฺส หมายถึง เวลาเที่ยงวัน
ทิวา ทิวสฺสาติ ทิวสสฺสาป ทิวา, มชฺฌนฺหกิ กาเลติ อตฺโถ
[บทวา ทิวา ทิวสฺส ไดแก กลางวัน แมแหงวัน หมายความวา ใน
เวลาเที่ยงวัน]

พึงสังเกตวา อรรถกถาฎีกาที่นำมาแสดงนี้ ทานอธิบาย ทิวา ทิวสฺส


วา มชฺฌนฺหาติกฺกโม แปลวา เลยเที่ยงวันไป, มชฺฌนฺหิเก อติกฺกนฺตมตฺเต
๕๖ ดิลกพุทธินี
แปลวา พอเลยเที่ยงไป ซึ่งหมายถึงบ ายนั่น เอง แตบางแหงก็อธิบายวา
มชฺฌนฺหิกกาเล แปลวา ในเวลาเที่ยง
ในคำอธิบายนี้ คำวา มชฺฌนฺห แปลวา เที่ยงวัน นั้นพอเห็นเขาใจ
ได แตคำวา มชฺฌนฺหิก ซึ่งก็คือ มชฺฌนฺห นั่นแหละ แตมีปจจัยคือ ณิก หรือ
อิ ก เพิ ่ ม เข า มา จึ ง เกิ ด ป ญ หาว า มชฺ ฌ นฺ ห ิ ก แปลว า เที ่ ย งวั น หรื อ มี
ความหมายอยางอื่นเพิ่มเขามา
มชฺฌนฺหิก แปลวา เที่ยงวัน มีความหมายเดียวกับ มชฺฌนฺห โดย
ณิก หรือ อิก ที่เพิ่มเขามานั้น เปนสกัตถคือมีความหมายเทาเดิม ฉะนั้น
มชฺฌนฺหิก จึงประกอบดวย มชฺฌ แปลวา กลาง + อห แปลวา วัน แปลง
เปน นฺห และ ณิก ปจจัยสกัตถ ดังที่ทานอธิบายไวใน ปาจิตติยโยชนาปาิ วา
มชฺ ฌ นฺ ห ิ ก นฺ ติ อหสฺส มชฺ ฌ ํ มชฺ ฌ นฺ หํ , อหสทฺ ท สฺ ส นฺ ห าเทโส,
มชฺฌนฺหํ เอว มชฺฌนฺหิกํ
[บทวา มชฺฌนฺหิกํ วิเคราะหวา ทามกลางแหงวันชื่อวา มชฺฌนฺห,
แปลง อห ศัพทเปน นฺห, มชฺฌนฺห นั่นเอง ชื่อวา มชฺฌนฺหิก]
อย า งไรก็ ต าม สำนวนนี ้ อาจประกอบรู ป ต า งกั น บ า ง แต มี
ความหมายเหมือ นกั น ไดแ ก ทิว า ทิ ว เส, ทิ ว า ทิ ว สฺส , ทิ ว า ทิ ว สสฺส,
ทิว สฺ ส ทิว เส, ทิ ว าทิว สฺ ส ก็ได ดังที่ทานอธิบายไวในสีลขัน ธวรรคฎีกา
แหงทีฆนิกายวา
ทิ ว า ทิ ว เสติ ทิ ว สสฺ สป ทิ ว า. สามฺ ย ตฺ เ ถ เหตํ ภุ ม ฺ ม วจนํ ทิ ว า
ทิว สสฺ สาติ อฺ ตฺ ถ ทสฺ สนโต. ทิ วสฺ ส ทิ ว เสติ ป  ว ฏติ อการนฺ ตสฺสป
ทิ ว สทฺ ท สฺ ส วิ ช ฺ ช มานตฺ ต า. เนปาติ ก มฺ ป  ทิ ว าสทฺ ท มิ จ ฺ ฉ นฺ ติ สทฺ ท วิ ทู ,
มชฺฌนฺหิกเวลายนฺติ อตฺโถ. สา หิ ทิวสสฺส วิเสโส ทิวโสติ.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕๗
[บทว า ทิวา ทิวเส ไดแก ในกลางวัน แม แหงวัน. จริงอยู คำวา
ทิวเส นั้น เปนสัตตมีวิภัตติ ในอรรถฉัฏฐีวิภัตติ เพราะปรากฏอุทาหรณในที่
อื่นวา ทิวา ทิวสสฺส. แมคำวา ทิวสฺส ทิวเส ก็ใชได เพราะ ทิว ศัพท แมที่
เปน อ การันต ก็มีปรากฏอยู. แตนักไวยากรณ ประสงคให ทิวา เปนนิบาต.
หมายความว า ในเวลาเที ่ ย งวั น . ก็ เ วลานั ้ น เป น ส ว นพิ เ ศษแห ง วั น
จึงชื่อวา ทิวส]
อาจารยบางทานอธิบายไววา ทิวา หรือ ทิว แปลวา วัน หมายถึง
กลางวัน, ระหวางวัน ซึ่งตรงขามกับ สายํ เย็น หรือ รตฺติ ราตรี สวน ทิวส
หรือ ทิว หมายถึง วัน คือ ๒๔ ชั่วโมง ซึ่งไมใชเดือน หรือป นี้เปนอัตโนมติ
ซึ่งสอดคลองกับพจนานุกรมบาลีอังกฤษ ทานอาจารยพุทธทั ตตะ แปล
ทิวส วา day. (วัน) และ ทิวา วา day (วัน) ; by day. ซึ่งหมายถึง during
the day : in daylight (ระหวางวัน, กลางวัน) ถาถือตามมตินี้ จึงควรใช
ศัพทคูกันวา ทิวา – รตฺติ
๕๘ ดิลกพุทธินี

กาเลน กาลํ
ตลอดกาล ตามกาล หมายถึงอะไร?
-๏-

บทยอ

กาเลน กาลํ แปลตามศัพทวา ตลอดกาล ตามกาล ในอรรถกถา-


ฎีกามักมีคำอธิบายวา กาเล กาเล แปลวา ในเวลา ในเวลา หรือ สมเย
สมเย แปลวา ในสมัย ในสมัย คือ เอเกกสฺมึ กาเล ในแตละเวลา กิสฺมึจิ
กาเล ในบางสมัย ไมใชทั้งหมด แตเลือกบางเวลาที่เหมาะเทานั้น ฉะนั้น
ในบางแหงจึงแปลวา ยุตฺตกาเล คือ ในกาลอันสมควร
สำนวนนี้ เทียบกับภาษาอังกฤษวา from time to time หมายถึง
occasionally คือ เปนครั้งคราว หรือ sometimes, but not regularly
แปลวา บางเวลา, แตไมใชทั้งหมด
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕๙
บทนำ

การเรียนภาษาบาลีในหลักสูตรบาลีสนามหลวง ทานสอนใหแปล
ทั้งโดยพยัญชนะ และโดยอรรถ การแปลโดยพยัญชนะคือการแปลตามหลัก
บาลีไวยากรณ แปลตามศัพทที่ปรากฏ สวนแปลโดยอรรถ คือการแปลใหได
ความหมายกระทัดรัด ดวยภาษาที่สอื่ กันเขาใจงาย
ศัพ ท บ างชุด นัก เรียนสามารถแปลโดยพยั ญ ชนะได โ ดยไม ยาก
แต พอจะแปลโดยอรรถ ก็ นึก สงสั ยวา จะแปลอย างไร เช น นั กเรียนพบ
สำนวนวา กาเลน กาลํ แปลโดยพยัญชนะวา ตลอดกาล ตามกาล แตจะ
แปลโดยอรรถวาอยางไร? ตลอดกาล ตามกาล คือเวลาไหน?
บทวา กาเลน กาลํ จัดเปนรุฬหีศัพท คือเปนประเภทสำนวน ที่เขา
ใช พู ด และหมายรู ร วมกั น อย า งนั ้น คล า ยในภาษาไทยว า สองต อ สอง
หมายถึง คนสองคน ฝายละหนึ่งคน อยูกันแตลำพังสองคน หนึ่งตอหนึ่ง
หมายถึง คนสองคน ฝา ยละหนึ ่ งคน ก็ ไ ด ซึ ่ งกล าวอยางหนึ ่ ง หมายถึง
อีกอยางหนึ่ง มีความหมายไมตรงกับศัพท
ในกรณีหนุมสาวอยูกันลำพังในที่ลับ ก็ใชสำนวนซึ่งผูพูดและผูฟง
หมายรูรวมกันจนลงตัวกันวา สองตอสอง ในกรณีนี้ ก็ไมใช หนึ่งตอหนึ่ง

บทขยาย
บทวา กาเลน กาลํ วาตามรูปที่ปรากฏ ศัพทเดิมเปน กาล เปน อ
การันต ในปุงลิงค บทวา กาเลน ประกอบดวย นา ตติยาวิภัตติ แปลวา
ตามกาล บทวา กาลํ ประกอบดวย อํ ทุติยาวิภัตติ แปลวา ตลอดกาล
๖๐ ดิลกพุทธินี
แต ท ั ้ง สองบทประกอบวิ ภั ตติ ไ ม ตรงกั บ อรรถที ่ ต องการ บทว า
กาเลน กาลํ นั้น ประกอบดวยตติยาและทุติยาวิภัตติตามลำดับก็จริง แตใช
ในอรรถของสัตตมีวิภัตติ จึงมีคำอธิบายวา กาเล กาเล ในกาล ในกาล หรือ
สมเย สมเย ในสมัย ในสมัย จัดเปนวิจฉา เปนคำซ้ำในภาษาบาลี หมายถึง
กิสฺมิฺจิ กาเล ในแตละเวลา เอเกกสฺมึ กาเล ในเวลาหนึ่งๆ ซึ่งเปนสวน
หนึ ่ง ที ่เ หมาะสม เลือ กกลา วจากทั ้ ง หมด ฉะนั ้ น บางแห ง จึ ง อธิ บ าย
ยุตฺตกาเล ในเวลาอันสมควร เทานั้น ไมใชทั้งหมด
อีกนั ยหนึ่ง คำอธิบายวา กาเล กาเล ซึ่งเปน วิจฉานั้น หมายถึง
ทุกๆ เวลา ตามสมควร ซึ่งเปนประจำอยางนั้น เชน ทุกกึ่งเดือน ทุกๆ ๑๐
วัน เปนตนก็ได นี้เปนคำอธิบายที่ไดจากอรรถกถาฎีกา ตอไปจะประมวล
ขอมูลในคัมภีรมาแสดง สำหรับผูสนใจขอมูลซึ่งเปนตนแหลง
อรรถกถาที ฆ นิ ก าย ๑/๑๙๖ ว า กาเลน กาลนฺ ติ กาเล กาเล,
อนฺวฑฺฒมาสํ วา อนุทสาหํ วาติ อตฺโถ
[ขอวา กาเลน กาลํ ไขความวา ในเวลา ในเวลา อธิบายวา ทุกๆ
กึ่งเดือน หรือทุกๆ ๑๐ วัน]
อรรถกถาทีฆนิกาย ๓/๓๕ วา กาเลน กาลนฺติ กาเล กาเล
[ขอวา กาเลน กาลํ ไขความวา ในเวลา ในเวลา]
อรรถกถาอังคุตตรนิกาย ๒/๒๕๕ วา กาเลน กาลนฺติ กาเล กาเล,
ยุตฺตกาลนฺติ อตฺโถ
[ขอวา กาเลน กาลํ ไขความวา ในเวลา ในเวลา, อธิบายวา เวลา
อันสมควร]
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๖๑
อรรถกถาขุททกนิกาย ๑/๒๑๔ วา กาเลน กาลนฺ ติ กาเล กาเล
อนฺตรนฺตรา, ตสฺมึ ตสฺมึ สมเยติ อตฺโถ
[ข อ ว า กาเลน กาลํ ไขความว า ในเวลา ในเวลา ในระหว า ง
ในระหวาง, อธิบายวา ในสมัยนั้นๆ]
อรรถกถาปญจปกรณ แหงอภิธรรม ๑/๓๕ วา กาเลน กาลนฺติ
เอตฺถ ภุมฺม วเสน อตฺโถ เวทิตพฺโพ, เอเกกสฺ มึ กาเลติ วุตฺตํ โหติ. สมเยน
สมยนฺติ อิทํ ปุริมสฺเสว เววจนํ.
[ขอวา กาเลน กาลํ นั้น พึงทราบความหมาย ดวยสามารถแหง
สัตตมีวิภัตติ, มีคำอธิบายวา ในกาลหนึ่งๆ. คำวา สมเยน สมยํ นี้เปนไวพจน
ของคำวา กาเลน กาลํ กอนนั้นแล]
ฎีกามัชฌิมนิกาย วา กาเลน กาลนฺติ กาเล กาเล, กิสฺมิฺจิ กาเลติ อตฺโถ.
[ขอวา กาเลน กาลํ ไขความวา ในเวลา ในเวลา, อธิบายวา ในแต
ละสมัย]
ฎีกาอังคุตตรนิกาย วา กาเลน กาลนฺติ เอตฺถ กาเลนาติ ภุมฺมตฺถ-
กรณวจนํ. กาลนฺติ จ อุปโยควจนนฺติ อาห กาเล กาเลติ.
[ขอวา กาเลน กาลํ นี้ คำวา กาเลน เปนตติยาวิภัตติ ใชในอรรถ
สัตตมีวิภัตติ. และคำวา กาลํ เปนทุติยาวิภัตติ ฉะนั้น ทานจึงกลาวอธิบาย
วา กาเล กาเล]
ฎี กาทีฆนิกาย วา กาเลน กาลนฺ ติ รุ ฬฺ ห ี ปทํ เอโก เอกายติอาทิ
วิยาติ วุตฺตํ กาเล กาเลติ.
[ขอวา กาเลน กาลํ เปนรุฬหีบท เชนคำวา เอโก เอกาย สองตอ-
สอง ฉะนั้น ทานจึงกลาวอธิบายไววา กาเล กาเล]
๖๒ ดิลกพุทธินี
ในพจนานุกรมบาลี-อังกฤษ (Pali-English Dictionary) หนา ๙๙
ทานพุทธธัตตมหาเถระ อธิบาย กาเลน กาลํ วา from time to time ซึ่งมี
ความหมายวา occasionally คือ เปนครั้งคราว หรือ sometimes, but
not regularly แปลวา บางเวลา, แตไมใชทั้งหมด

อภิปราย
กาเลน กาลํ เป นสำนวน มี ค วามหมายวา กาเล กาเล ในเวลา
ในเวลา คือ กสฺมึจิ กาเล ในบางคราว ซึ่งประกอบวิภัตติไมตรงกับอรรถที่
ตองการ จึงเกิดคำถามวา ถาอยางนั้น ทำไมไมประกอบวิภัตติใหตรงกับ
อรรถที่ตองการ คือประกอบเปน กาเล กาเล ในกาล ในกาล หรือระบุ
กสฺมึจิ กาเล ในบางคราว ทำใหแน ใหตรงตัวลงไปเลย
ตอบวา ที่ทานใช กาเลน กาลํ เพราะเปนสำนวนที่ใชกันมาและ
หมายรูรวมกันอยางนั้น ถาแตงหรือแปลตามตัว ก็ไมตรงกับสำนวนที่ใชกัน
ถือวาผิดความนิยม เชน สำนวนไทย เขาพูดกันวา หนุมสาวอยูกันสองตอ
สอง หมายถึง หนุมสาวสองคนอยูกันเพียงลำพัง ฝายละ ๑ คน อาจมีผูแยง
วา ทั้งหนุมและสาวอยูกันเพียง ๒ คน คือฝายละ ๑ ทำไมไมใชสำนวนวา
หนึ่งตอหนึ่ง ในกรณีนี้ ถาขืนใชสำนวนวา หนุมสาวอยูกันหนึ่งตอหนึ่ง ก็จะ
มีความหมายอีกอยางหนึ่งซึ่งตางออกไป ซึ่งไมตรงกับสาระสำคัญที่ตองการ
วา อยูกันเพียงลำพังในที่ลับ กลายเปนใชภาษาผิดความนิยมไป
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๖๓

อกา อทา อคา อหา


ตัวอยางและองคประกอบ
-๏-

ในตั ว อย า งฉั น ท ภ าษามคธ ที่ ก องบาลี ส นามหลวง แต ง เป น


ตัวอยางเชน ฉันทภาษามคธ ป ๒๕๕๓ และ ป ๒๕๕๔ ปรากฏกิริยาบทวา
อกา ซึ่งดูแปลกตา เพราะไมปรากฏแพรหลาย ตัวอยางฉันท ป ๒๕๕๓ วา

เอโส วิเสเสนป มิตฺตภาวโต


เอเตส สมฺมานคารวํ อกา
ยํ ราชกิจฺจํ ปฏิพทฺธกํ สิยา
เอตํนุรูเปน อกาสิ สาธุกํ
๖๔ ดิลกพุทธินี
ความจริง กิริยาบทที่ทำตัวรูปลักษณะนี้ ไมใช อกา เทานั้น แตยังมี
บทอื่น ๆ เชน อทา (ทา) อคา (คม) อหา (หร) แต มีใชไมม ากนัก แตถึง
อยางไรก็ตาม เมื่อสนามหลวงมีใชเปนตัวอยางแลว ก็ควรศึกษาคนควาให
ไดความรูท ั่วถึง หรือจะถือเปนเกร็ดความรูก็ได
อกา ตามมติปทรูปสิทธิ อธิบายสูตรที่ ๕๒๒ วา อกา ประกอบดวย
อ อาคม กร ธาตุ ในความทำ แปลง กร เปน กา ลง อา หิ ยัตตนีวิภั ตติ
แปลวา ไดกระทำแลว
อทา ประกอบดวย อ อาคม ทา ธาตุ ในความให ลง อา หิยัตตนี
วิภ ัต ติ ตามมติ สั ท ทนีติ ธาตุ มาลา ว า ทา ธาตุ แ จกรู ป ได ต า งๆ เฉพาะ
หิยัตตนีวิภัตติ ปรากฏรูปวา อทา แปลวา ไดใหแลว สอดคลองกับพระบาลี
เชน อทา ทานํ ปุรินฺทโท (พระอินทรไดใหทานแลว)
อคา ตามมตินิรุตติทีปนี อธิบายสูตรที่ ๖๔๔ วา อคา ประกอบดวย
อ อาคม คมุ ธาตุ ในความไป แปลง ที่สุดธาตุเปน อา ลง อา หิยัตตนีวิภัตติ
แปลวา ไดไปแลว ลบสระหนา เชน โส อคา เชนในชาดกวา อคา เทวาน
สนฺติเก แมไมลง อ อาคม ไดรูปเปน คา ก็มีบาง เชน วายโส อนุปริย คา
(มารไดกลายเปนลมหลีกไป) แมบทวา อชฺฌคา, อุปชฺฌคา ก็นัยนี้
อหา ตามมติปทรูปสิทธิ อธิบายสูตรที่ ๔๘๘ วา อหา ประกอบ อ
อาคม หร ธาตุ ในความนำไป ลง อา หิยัตนีวิภัตติ แปลง ร แหง หร เปน
อา แปลวา ไดนำไปแลว เชน โส อหา (เขาไดนำไปแลว)
ดวยวิธีการทำตัวรูปอยางนี้ จึงมีอาจารยผูรูไวยากรณผูกประโยค
ขึ้น โดยใชเทคนิคการเลนคำ เฉพาะ คม ธาตุน ั้น วา โค เค คา แปลวา
โค เที่ยวไปบนแผนดิน หรือ พระจันทรโคจรไปบนทองฟา
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๖๕

นีตตฺถ, เนยฺยตฺถ
คำคู ทีค่ วรทราบ
-๏-

ในหนั ง สื อ ชื่ อ ดู “ธรรมกาย” แท ข องพระพุ ท ธเจ า เข า ใจ


“อนัต ตา” ใหต รงตามจริง สมเด็ จ พระพุ ทธโฆษาจารย (ป.อ.ปยุต ฺโต)
ไดอธิบายหลักการสำคัญทางพระพุทธศาสนาในแงมุมตางๆ ซึ่งเปนปกติ
แหงงานอยางนั้น และในหนังสือนั้น หนา ๑๙-๓๕ มี เรื่อง นี ตตฺ ถ และ
เนยฺยตฺถ เขาไปอยูในคำอธิบายนั้นดวย เมื่ออานแลวก็เห็นวาเปนความรูที่
นาสนใจและมีประโยชน ทั้งยังเกี่ยวของกับนักเรียนบาลีดวย เพราะปรากฏ
ในหนังสือเรี ยนบาลีตามหลั กสู ตรบาลี สนามหลวง แต ก อนจะพิ จารณา
๖๖ ดิลกพุทธินี
ขอความที่ปรากฏในหนังสือเรียน ควรทราบ นีตตฺถ และ เนยฺยตฺถ ตามมติ
ที่เจาประคุณสมเด็จฯ ประมวลมาไวกอน
นีตตฺถ แปลวา มีเนื้อความอันนำไปแลว หมายถึง ขอความหรือ
คำพูดที่บอกนัย ที่ไขความ หรือชี้แจงความหมายไวชัดแลว
เนยฺยตฺถ แปลวา มีเนื้อความอันพึงนำไป หมายถึง ขอความหรือ
คำพูดที่ยังตองบอกนัย ที่ตองไขความ หรือตองชี้แจงแสดงความหมาย ตอง
บอกขอบเขตความหมาย คือมีเนื้อความยังไมชัด
ในหนังสือนั้น เจาประคุณสมเด็จฯ ไดยกตัวอยางในภาษาไทยที่พอ
เทียบเคียงกันได เชน คำวา ทุกคน ในบางแหงเปน นีตตฺถ คือมีความหมาย
ชัดเจน ซึ่ งรู ก ัน ได แตในบางแห ง เปน เนยฺ ยตฺ ถ ต องอธิ บายหรื อจำกั ด
ความหมาย ขอใหพิจารณากรณีตัวอยางตอไปนี้
กรณีที่ ๑. เขาไดฟงมาวา “ทุกคน เกิดมาแลว ตองตาย”
กรณีที่ ๒. ที่โรงงานอุตสาหกรรม หัวหนาสั่งวา “พรุงนี้ ใหทุกคน
มาถึงโรงงาน ๑ ชั่วโมงกอนงานตามปกติ”
คำวา ทุกคน ในกรณีที่ ๑ เปน นีตตฺถ คือมีเนื้อความชัดเจน บอก
ชัดวาทุกคนที่เกิดมา ตองตายหมด ตรงเต็มความหมายจริงๆ
คำวา ทุกคน ในกรณีที่ ๒ เปน เนยฺยตฺถ คือมีความที่ตองบอกนัย
ไขความ คือไมใชทุกคนจริง แตอาจเปนเพียงทุกคนในโรงงานนั้น หรือใน
แผนกนั้น หรือในขอบเขตความประสงคของผูพูดเทานั้น
พระพุ ทธพจน คือ คำสอนของพระพุ ท ธเจ า หรื อ ประมวลหลัก
พระพุทธศาสนา บางแหงเปน นีตตฺถ มีความหมายชัด คลุมความ ตรงเต็ม
ความหมาย บางแหง เปน เนยฺยตฺ ถ คื อ มีค วามหมายในขอบเขตเฉพาะ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๖๗
ซึ่งตองอธิบายหรือจำกัดความ เชน คำวา สพฺเพ ธมฺมา (ธรรมทั้งปวง) บาง
แหงเปน นีตตฺถ มีความหมาย วา ธรรมทั้งหมด ไมมียกเวน ตรงตามเต็ม
ความหมาย แตบางแหงเปน เนยฺยตฺถ มีความหมายวา ธรรมทั้งหมด แตไม
ทั้งหมดจริง เวนโลกุตตรภูมิ เปนตน ซึ่งตองไขความ เชนวา ธรรมทั้งหมด
ในที่นี้ หมายเอาภูมิ ๓ เปนตน
นี้เปนสาระสำคัญที่ไดจากหนังสือ ดู “ธรรมกาย”ฯ แตควรตรวจดู
ความหมายที่ปรากฏในคัมภีรตางๆ บาง
ในพจนานุกรมพระไตรปฎกบาลีเถรวาท เลม ๑๔ หนา ๑๐๑๘๗
และ ๑๐๒๕๓ โดย ศ.ดร.อุ ท ิ ส ศิ ร ิ ว รรณ และคณะ อธิ บ ายไว เก็ บ
สาระสำคัญและแปลไดความวา
นีตตฺถ ประกอบดวย นีต+อตฺถ วิเคราะหวา นีโต อตฺโถ นีตตฺโถ,
นี โ ต อตฺ โ ถ ยสฺ ส าติ นี ต ตฺ โ ถ (เนื ้ อ ความอั น นำไปแล ว ชื ่ อ ว า นี ต ตฺ ถ ,
เนื้อความอันนำไปแลว แหงบทใด เหตุนั้น คำนั้นชื่อวา มีเนื้อความอันนำไป
แลว) มีคำอธิบายจากอรรถกถาอังคุตตรนิกายวา นีตตฺถนฺติ อนิจฺจํ ทุกฺขํ
อนตฺตาติ เอวํ กถิตตฺถํ (นีตตฺถ ไดแก คำที่มีเนื้อความอันทานกลาวไวแลว
อยางนี้วา ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา) จากเนตติอรรถกถาวา นีตตฺถนฺติ
ยถารุต วเสน าตพฺพตํ [ควรเป น าตพฺพ ตฺ ถํ ], (นี ตตฺ ถ ไดแ ก คำที ่ มี
เนื้อความอันจะพึงทราบไดดว ยอำนาจแหงพระพุทธพจนที่ตรัสไวแลว) และ
จากฎี ก ามัช มั ชฌิ ม นิ ก ายว า ยถารุ ตวเสน คเหตพฺ พตฺ ถํ นี ต ตฺ ถํ (คำที ่ มี
เนื้อความอันพึงถือเอาดวยอำนาจแหงพระพุทธพจนที่ตรัสไวแลว)
จากที่แสดงมานี้ สรุปไดวา นีตตฺถ หมายถึง ขอความที่นำไปแลว
คือกลาวชัด ตรงความหมายแลว
๖๘ ดิลกพุทธินี
เนยฺยตฺถ ประกอบดวย เนยฺย + อตฺถ วิเคราะหตามนัยแหงคัมภีร
ปาจิตยาทิโยชนา วา เนยฺโย อธิปฺปายํ เนตฺว า าโต อตฺโถ อิมสฺสาติ
เนยฺยตฺโถ (เนื้อความอันบุคคลพึงนำไป คือนำคำอธิบายไปจึงจะรูได ของ
บทนี้ เหตุนั้น บทนี้ จึงชื่อวา เนยฺยตฺถ) มีคำอธิบายจากเนตติอรรถกถาวา
เนยฺยตฺถนฺติ นิทฺธาเรตฺวา คเหตพฺพตฺถํ (คำที่มีเนื้อความอันทานแสดงไข
แลว จึงพึงถือเอาได)
จากที่แสดงมานี้ สรุปไดวา เนยฺยตฺถ หมายถึง ขอความอันพึงนำไป
คือตองมีคำอธิบายกอนจึงจะถือเอาสาระสำคัญได ขอความที่ยังไมชัดเจน
ตองจำกัดความ บอกนัยกอนจึงจะชัดเจน
คำว า นี ต ตฺถ และ เนยฺ ย ตฺ ถ ปรากฏในหนั ง สื อ เรี ยนบาลี ต าม
หลักสูตรบาลีสนามหลวง เชน ในมังคลัตถทีปนี ๑/๒๒๔ ใน สารตฺถทีปนี
๑/๑๗๗, ๓๔๗ และ ใน ปรมตฺถมฺชุสา ๒/๑๔๑ และควรศึกษาจากคัมภีร
อื่นๆ นอกนี้ เชน เนตติหารัตถทีปนี อุปจาร และ นย, โดยทานอาจารย
พระธัมมานันทเถระ, หนา ๗๕-๗๖.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๖๙

โชตกะ
อุปสัคสองอรรถ
-๏-

ใน จูฬธาตุปจจยโชติกา อธิบายคำวา อุปนีต จับสาระสำคัญไดวา


อุป ที่อยูหนา นี ธาตุ ใชเปนเพี ยงนิบาต คือปทปูรณะ ไมมีความหมาย
พิเศษอะไร แตมีความหมายเดิมนี้ไมยาก แตอีกนัยหนึ่งอธิบายวา อุป เปน
เพียงโชตกะ
อีกตัวอยางหนึ่ง ในสมันตปาสาทิกาอรรถกถาวินัย ปรากฏคำวา
อภิ ล กฺข ิ ต ซึ ่ง ในชั ้นฎี ก า คือ ในสารั ตถที ป นีฎ ี ก า อธิ บ ายว า อภิ ศั พ ท
เปนเพียงโชตกะ จึงเกิดคำถามวา อุปสัคที่ใชเปนโชตกะ คืออะไร ?
๗๐ ดิลกพุทธินี
ในภาษาบาลี ขอความเดียวหรือธาตุเดียวอาจมีหลายความหมาย
ซอนอยู เชนคำวา สมย คำเดียว มีความหมายวา เวลา ลัทธิ ความรู การได
การประชุม เปนตน ซอนอยู แมธาตุเดียวกัน ก็มีหลายความหมาย เชน ภู
ธาตุ มีความหมายวา มี เปน เสวย ครอบงำ เปนตน ซอนอยู ชิ ธาตุ มี
ความหมายวา แพ และชนะ ซอนอยู
เพื่อใหบางความหมายปรากฏออกมา จึงตองใชอุปสัคเปนเครื่อง
สองอรรถ เชน ชิ ธาตุ โดยทั่วไปแปลวา ชนะ เชน ชิตํ แปลวา ชนะแลว
แตความจริงใน ชิ ธาตุน ั้น มีอรรถวา พายแพ ซอนอยู  เพื่อใหอรรถว า
พายแพนั้น ปรากฏตัวออกมาจึง ใช ปรา สองอรรถพายแพ เชน ปราชิต
แปลวา แพแลว
สมย โดยทั่ว ไปแปลวา สมั ย แต ม ี ความหมายว า ได และตรัสรู
เปนตน ซอนอยู เพื่อใหอรรถวา ไดและตรัสรูนั้นปรากฏตัวออกมา จึงใช
อภิ สองอรรถ ไดและตรัสรู เชน อภิสมย แปลวา ได และรู เชนในคำวา
อตฺถาภิสมยา (เพราะไดประโยชน) ธมฺมาภิสมโย (การรูธรรม)
วาตามมติน ี้ อรรถตางๆ ซอนอยูในธาตุหรือในบทนั้นๆ อยู แลว
ไมไดอยูที่อุปสัค กลาวอีกนัยหนึ่งคือ อุปสัค ไมไดมีความหมายในตัว แตทำ
หนาที่เปนเพียงสองอรรถเทานั้น เหมือนสิ่งของมีอยูในหองมืดก็จริง แตก็
มองไมเห็น ไมปรากฏ ตอเมื่อมีประทีปสองจึงมองเห็น และปรากฏ เรียก
อุปสัคที่ทำหนาที่สองอรรถนี้วา โชตกะ ไมใช วาจกะ ที่กลาวอรรถเอง
ใน ปทวิจารทีปนี หนา ๒๕๗ แสดงอุปสัคเปนโชตกะไววา
สนฺตเมว หิ นีลาทึ วณฺณํ ทีปาทโย วิย
ธาตุมฺหิ สนฺตเมวตฺถํ อุปสคฺคา ปกาสกา
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๗๑
อุป สัคทำหนา ที ่แ สดงความหมายซึ่ งมี อยู แลวในตัวธาตุ
(เพียงแตยังไมปรากฏ) เหมือนกับประทีปทำหนาที่สองใหเห็นภาพ
ตางๆ มีสีเขียวเปนตน (ในที่มืด) ซึ่งเปนภาพที่มีอยูแลวนั่นเทียว

อรรถแหงธาตุนั้น แมไมมีอุปสัค ก็แสดงออกมาก็ไดบาง เชน ชิ ธาตุ


มีอรรถวา แพ ซอนอยู ซึ่งตองใช ปรา ในการสองอรรถ ถึงแมไมมี ปรา สอง
อรรถ ธาตุนั้นก็สามารถมีอรรถแหงความแพออกมาก็ไดบาง เชน ปฺาสํ
ชิโน แปลวา ผูพายแพ ๕๐ กหาปณะ
อรรถแหงธาตุที่มีนั้น อาจมีหลายความหมาย ซึ่งบางความหมาย
อาจมีความหมายตรงกันขาม หรือมีความหมายคลอยตามกัน หรือมีเพียง
ความหมายเดียว อุปสัคที่สองอรรถตางออกมา ฉะนั้น ในคันถาภรณมัญชรี
หนา ๑๔๓ จึงจัดอุปสัค เปน ๓ ไดแก
๑. ธาตวัต ถพาธกะ คื อ อุ ป สั ค เบี ย ดเบี ยนอรรถของธาตุ เช น
อาคจฺฉติ (ยอมมา)
๒. ธาตวัตถานุวัตตกะ คืออุปสัคที่คลอยตามอรรถของธาตุ เชน
อธิเสติ (ยอมนอน)
๓. ธาตวัตถวิเสสกะ คืออุปสัคที่ทำอรรถของธาตุใหแปลกออกไป
เชน อุคฺคจฺฉติ (ยอมขึ้น)
ความจริง อรรถแหงธาตุที่ตรงกันขามกัน คลอยตามกัน และเปน
ปกติ เสมื อ นถู ก อุ ป สั ค เบี ย ดเบี ย น ทำให ค ล อ ยตามกั น หรื อ ทำให มี
ความหมายเปนปกตินั้น ไมใชเพราะอุปสัค แตเปนเพราะธาตุนั้นเอง ที่มี
ความหมายตรงกันขาม หรือคลอยตามกันอยูในตัว อุปสัคเปนเพียงตัวสอง
อรรถที่ตรงขาม คลอยตามกัน หรือปกตินั้นออกมา
๗๒ ดิลกพุทธินี

อนฺโต, อพฺภนฺตร
ภายใน
-๏-

อนฺ โ ต ที่ เ ป น นามนามมี ห ลายความหลาย แต ที่ เ ป น นิ บ าตมี


ความหมายวา ภายใน (อพฺภนฺตรตฺโถ) ซึ่งถือวามีความหมายเดียวกันหรือ
ตรงกันกับ อพฺภนฺตร ทั้ง อนฺโต และ อพฺภนฺตร ใชเปนคำอธิบายกันและกัน
บาง แตไมควรใชแทนกันไดในทุกกรณี เชน อนฺโตเคห ไมปรากฏรูปวา
อพฺภนฺตรเคห สวน อพฺภนฺตรวาต ปรากฏรูปวา อนฺโตวาต บาง อนฺโตโสโก
อธิบายวา อพฺภนฺตรโสโก บาง อนฺโตทาโห อธิบายวา อพฺภนฺตรทาโห บาง
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๗๓
อพฺภนฺตร ที่แปลวา ภายในแหงสวน, สวนภายใน, ก็คือ ภายใน
นั่นแล เปนอัพยยีภาวสมาส ประกอบดวย อภิ และ อนฺตร วิเคราะหตาม
นัยจูฬธาตุปจจยโชติกาวา อนฺตรสฺส โกาสสฺส อนฺโต อพฺภนฺตรํ (ภายใน
แหงอันตระ คือแหงสวน ชื่อวา อพฺภนฺตร) และประกอบวิภัตติไดบาง เชน
อพฺภนฺตเรน, อพฺภนฺตเร
มีขอสังเกตวา อนฺโต และ อพฺภนฺตร ใชเปนคำอธิบายกันและกัน
ได แ ก ในกรณี อนฺ โ ต เป นคำที ่ ต องการคำอธิ บ าย ก็ ม ี อพฺ ภ นฺ ต ร เป น
คำอธิบาย ในทางตรงกันขาม ในกรณี อพฺภนฺตร เปนคำที่ตองการคำอธิบาย
ก็มี อนฺโต เปนคำอธิบาย เชน
ในอรรถกถามหานิทเทส ให อพฺภนฺตร เปนคำอธิบายของ อนฺโต วา
อนฺโตโสโกติ อพฺภนฺตรโสโก ฯ อนฺโตทาโหติ อพฺภนฺตรทาโห ฯ
ในฎีกาอังคุตตรนิกาย อธิบายคำวา อนฺโตชน ดวยคำวา อพฺภนฺตร
ดังขอความวา อนฺโตชนสฺมินฺติ อพฺภนฺตรภูเต ปุตฺตทาราทิชเน (อนฺโตชนสฺมึ
ไดแก ชนมีบุตรและทาระ เปนตน อันเปนคนใน)
บางแหงใช อนฺโต และ อพฺภนฺตร เชน คำวา ลมภายใน ในวิมติ-
วิโนทนีฎีกาและวิสุทธิมรรค ภาค ๑ อนุสสติกัมมัฏฐานนิเทศ ปรากฏรูปวา
อพฺภนฺตรวาโต (ลมภายใน) แตในฎีกามัชฌิมนิกาย และวิสุทธิมรรค ภาค
๑ สมาธินิเทศ ปรากฏรูปวา อนฺโตวาตา (ลมภายใน)
สวนในฎีกาทีฆนิกาย ใช อนฺโต เปนคำอธิบายของ อพฺภนฺตร เชน
อพฺภนฺตเรติ อตฺตภาวสฺส อนฺโต (บทวา อพฺภนฺตเร ไดแก ภายในอัตภาพ)
๗๔ ดิลกพุทธินี

อาชานีย
อนีย ปจจัย ในอรรถกัตตุวาจก ?
-๏-

ในธรรมบทภาค ๔ เรื่อง ภิกษุ ๕๐๐ รูป ในประโยคลากินน้ำหาง


ปรากฏศัพทวา อาชานียสินฺธวานํ แปลกันวา มาสินธพอาชาไนย นักเรียน
สงสัยวา อาชานีย ประกอบดวยเครื ่อ งประกอบอะไรบาง และมาชนิด
ดังกลาวนี้ คือมาอะไร ?
คำวา มาสินธพ เปนชื่อมาชนิดหนึ่งซึ่งมีถิ่นเกิดในแดนที่เรียกว า
สินธุหรือสินธว เชนในอรรถกถาชาดกวา สินฺธวาติ สินฺธวชาติกา [มาสินธพ
ไดแก มาที่เกิดในที่ชื่อวา สินธว] แตในบางแหงวา เกิดในรัฐชื่อวา สินธว
เชนในอรรถกถาจูฬนิเทสวา สินฺธวาติ สินฺธวรเ ชาตา อสฺสา. [ที่ชื่อวา
มาสินธพ ไดแก มาที่เกิดในรัฐชื่อวาสินธว] ในภาษาไทยแปลง ว เปน พ
จึงเรียกวา สินธพ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๗๕
สวนคำวา อาชานีย แปลทับศั พทวา อาชาไนย หมายถึง ฉลาด
รอบรู  แสนรู  เรียนรู เร็ว เปนคุ ณบทที่ข ยายบทอื ่ น เช น บุ รุ ษ อาชาไนย
หมายถึง คนที่เปนบัณฑิตรอบรู ชางอาชาไนย หมายถึง ชางแสนรู แมคำวา
อาชานียสินฺธว ที่แปลวา มาสินธพอาชาไนย ก็หมายถึง มาพันธุดีที่แสนรู
ซึ่งมีถิ่นเกิดในลุมน้ำสินธุ
พิจารณาในดานความหมายทั่วไปที่ปรากฏในอรรถกถาฎีกาเปนตน
อาชานีย หมายถึง ฉลาด รอบรู เรียนรูไดดี เชน
ในอรรถกถาพราหมณสังยุต อธิบายไววา อาชาไนย หมายถึง ผูรู
เหตุและไมใชเหตุ ดังขอความวา อาชานีโยติ การณาการณชานนโก [บทวา
อาชานีย ไดแก ผูรเู หตุและมิใชเหตุ]
ในอรรถกถาเทวตาสังยุตเลาวา อาชานีโยติ หตฺถี วา โหตุ อสฺสาทีสุ
อฺตโร วา, โย การณํ ชานาติ, อยํ อาชานีโยว จตุปฺปทานํ เสโติ
อตฺโถ. [คำวา อาชาไนย หมายถึง ชางหรือสัตวอยางใดอยางหนึ่ง มีมา
เปนตน ซึ่งรูจักเหตุ หมายถึง สัตวตัวประเสริฐกวาสัตวสี่เทาทั้งหลาย] เชน
มาชื่อคุฬวัณณ ของพระเจากูฏกัณณ ซึ่งเปนมาแสนรู
มีเรื่องเลาวา พระราชา ดำริจักเสด็จไปเจติยบรรพต จึงเสด็จออก
ประตูทางทิศตะวันออกไปถึงฝงแมน้ำกลัมพะ มายืนที่ฝง ไมอยากจะขาม
น้ำไป พระราชาจึงรับสั่งเรียกคนฝกมามาเฝาตรัสถามถึงมาไมอยากขามน้ำ
เปน เพราะคนฝกม าได สอนอยา งนั ้นหรื อ ผู  ฝ กกราบทู ลว า ตนไดฝกมา
เชนนั้น มานั้นคิดวา ถาขามน้ำไป หางก็จะเปยก เมื่อหางเปยก ก็อาจจะทำ
ใหน้ำกระเด็นตกลงที่พระวรกายของพระราชาซึ่งไมเปนการสมควร จึงไม
อยากจะลงไปในน้ำ ฉะนั้น จึงทูลเชิญใหทรงจับหางมา นำเสด็จไปโดยเร็ว.
๗๖ ดิลกพุทธินี
สวนในฎีกาเทวตาสังยุตอธิบายวา อาชานีโยติ สมฺมาปติตํ ทุกฺขํ
สหนฺ โต อตฺต นา กาตพฺพกิริยํ ธี โร หุ ต ฺว า นิ ตฺ ถารโก [คำวา อาชาไนย
หมายถึง สัตวที่ทนทุกขทตี่ กไปดวยดีแลว เปนสัตวรู นำพางานที่ตนควรทำ
ไปได]
พิจารณาในแงของศัพท คำวา อาชานีย มีประเด็นที่นาสนใจตรงที่
อนีย ปจจัย ซึ่งโดยทั่วไป อนีย ตพฺพ ใชในอรรถกัมมวาจก เหตุกัมมวาจก
และภาววาจก แตในที่นี้ใชเปนกัตตุวาจก ซึ่งเปนสวนพิเศษ
วาโดยทั่วไปตามหลักบาลีไวยากรณ อนีย ตพฺพ ปจจัยใชเปนกัมม-
วาจก ซึ่งรวมถึงเหตุกัมมวาจก และภาววาจก เทานั้น โดยมีข อกำหนด
แหงกัจจายนสูตร ที่ ๕๔๐ ปทรูปสิทธิสูตรที่ ๕๔๕ วา ภาวกมฺเมสุ ตพฺพานียา.
[ตพฺพ และ อนีย ปจจัย ใชในอรรถกรรมและภาวะ] แตในทางเทคนิค ถามี
ตัวอยางในพระบาลีที่ใช อนีย หรือ ตพฺพ เปนกัตตุวาจก ใหทำโยควิภาค
คือแบงสูตร หมายถึง นำขอกำหนดแหงสูตรนั้น มาใชบางสวน ไมนำมา
ทั้งหมด ในที่นี้ใหตัดขอความวา ภาวกมฺเมสุ ออก ไมนำมากลาว เหลือไว
แตเ พี ย งข อ กำหนดวา ตพฺพ านี ย า ก็ เ ป น อั น ใช อนี ย ตพฺ พ ป จ จั ย ใน
อรรถกัตตุวาจกได แม อนีย ปจจัย ในคำวา อาชานีย นี้ ก็ใชเปนกัตตุวาจก
ดวยวิธีแบงสูตรวา ตพฺพานีย
ในจูฬธาตุปจจยโชติกาอธิบายวา อา ภุโส การณาการณํ ชานาตีติ
อาชานีโย, อาชานิโย วา, อาปุพฺพ - าธาตุ, ตพฺพานียาติ โยควิภาเคน
อนีโย กตฺตุสาธเน, รสฺโส วา. ธมฺมปทมหาฏีกายํ อาสุํ สีฆํ อสฺสทมฺมสารถิโน
อธิปฺปายํ ชานาตีติ อาชานิโย, [อาปุพฺพ - า อวโพธเน, นาวิกรโณ,
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๗๗
ณฺโย, อิอาคโม] อิติ วิคคฺ โห กโต. อาชาเนยฺโยติป ปาโ, อิสฺเส, ยสฺส
ทฺวิตฺตํ.
[สัตวใดยอมรูเหตุและมิใชเหตุ อยางทั่วถึง แรงกลา เหตุนั้น สัตวนั้น
ชื่อวา อาชานีย หรือ อาชานิย, อา บทหนา - า ธาตุ, อนีย ปจจัย ในกัตตุ-
สาธนะ ดวยการแบงสูตรวา ตพฺพานีย, หรือรัสสะเปน อนิย. ในธรรมบท-
มหาฎีกา ทำวิเคราะห วา สัตวใดยอมรูความประสงคของสารถีฝกมาอยาง
รวดเร็ว เหตุนั้น สัตวนั้น ชื่อวา อาชานิย, [อา บทหนา - ญา ธาตุ ในความรู,
นา ปจจัยประจำหมวดธาตุ, ณฺย ปจจัย, อิ อาคม]. ปาฐะวา อาชาเนยฺโย
ก็มีบาง, แปลง อิ เปน เอ, ซอน ยฺ]
ความจริง อนีย ตพฺพ ปจจัย ใชวิเคราะหเปนกัมมรูปและภาวรูป
แตปรากฏอุทาหรณเปนกัตตุรปู อยูบาง เชน ภวิตพฺโพ (ภโว) อุปฺปชฺชิตพฺพํ
(ภยํ)
อุปฺป ชฺชิตพฺพ [อุ+ปท+ย+ตพฺ พ] ใชเปนกัตตุวาจก ดังคำอธิบาย
ในปญจิกา โยชนาอภิธัมมัตถวิภาวินี ภาค ๑ หนา ๓๒๓ วา
อุปฺปชฺเชยฺยาติ อุปปฺ ชฺชิตพฺพํ โทมนสฺสํ ฯ อุปุพฺโพ ปท คติมฺหิ
ตพฺพานิยาติ โยควิภาเคน กตฺตริ ตพฺโพ ทิวาทิโต โย ตสฺส จวคฺค...ตฺวนฺตสฺส
ยถาคมมิกาโร ปรเทฺวภาโว าเน ฯ
[โทมนัสใด พึงเกิดขึ้น เหตุนั้น โทมนัสนั้น ชื่อวา พึงเกิดขึ้น ฯ อุ
บทหนา ปท ธาตุ ในความถึง ตพฺพ ปจจัย ในอรรถกัตตุวาจก โดยการแบง
สูตรวา ตพฺพานิยา ย ปจจัย หลังธาตุหมวด ทิว ธาตุ แปลง ย เปน ช ดวย
สูตร รูป.๔๔๗ วา ตสฺส จวคฺค...ตฺวนฺตสฺส, ลง อิ อาคมหลังธาตุ ดวยสูตร รูป.
๕๔๗ วา ยถาคมมิกาโร, ซอน ปฺ ดวยสูตร รูป.๔๐ วา ปรเทฺวภาโว าเน]
๗๘ ดิลกพุทธินี

กิลาสุโน
แจกแบบไหน ทำตัวอยางไร
-๏-

กอนจะตอบคำถามว า กิลาสุโน ศัพท เดิมเปนการันต อะไร แจก


แบบไหน ประกอบดวยเครื่องปรุงอะไร มีวิเคราะหและวิธีทำตัวรูปอยางไร
ขอใหทราบที่มาของศัพทนี้กอน
กิลาสุโน ปรากฏในวินัยปฎกบาลีวา สาริปุตฺต, วิปสฺสี ภควา จ สิขี
ภควา จ เวสฺสภู กิลาสุโน อเหสุํ สาวกานํ วิตฺถาเรน ธมฺมํ เทเสตุํ.
[ดูกอนสารีบุตร พระผูมีพระภาคพระนามวาวิปสสี พระนามวาสิขี
และพระนามว าเวสสภู ทรงขวนขวายนอ ย เพื ่อ จะทรงแสดงธรรมโดย
พิสดารแกสาวกทั้งหลาย]
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๗๙
กิลาสุโน ศัพทเดิมเปน กิลาสุ เปน อุ การันต แจกแบบ อุ การันต
ในปุงลิงค เชน ป.เอก. ชนฺตุ, พหุ. ชนฺตโว ชนฺตุโน ชนฺตู ชนฺตุโย แตแบบ
แจกดั ง กล า วนี ้ ไม ไ ด น ำมาแสดงในบาลี ไ วยากรณ ท ี ่ ศ ึ ก ษากั น ทั ่ ว ไป
ในแบบเรียนบาลีไวยากรณตามหลักสูตรบาลีสนามหลวง นำมาแสดงเพียง
ป.เอก. ครุ, พหุ. ครโว ครู เทานั้น สวน ครุโน ครุโย ไมนำมาแสดง
นัยหนึ่ง คือในหนังสือ ศัพทวิเคราะห โดยพระมหาโพธิวงศาจารย
(ปจจุบัน คือพระพรหมวชิรปญญาจารย) วา กิลาสุโน ประกอบดวย กุ บท
เคียง ลส ธาตุ กนฺติยํ ในความชอบใจ ณุ ปจจัยในกิตก และ โย วิภัตติ

วิ. กุจฺฉิตํ ลสนฺตีติ กิลาสุโน


[ชนเหลาใดชอบใจวัตถุอันบัณฑิตเกลียด
เหตุนั้น ชนเหลานั้นชื่อวา กิลาสุ]

วิธีทำตัวรูปโดยสังเขป แปลง อุ ที่ กุ เปน อิ, พฤทธิ์ อ ที่ ล เปน


อา, (ศัพทวิเคราะห, ๒๕๕๘, หนา ๒๓๓),

เฉพาะบทเคียงหรือบทหนา คือที่มาของ กิ นั้น อีกนัยหนึ่ง เห็นตาง


ออกไป คือใน พจนานุกรมพระไตรปฎกบาลีเถรวาท เลม ๘ โดย ศ.ดร.อุทิส
ศิริวรรณ และคณะ หนา ๕๑๑๔ วาเปน กึ บทหนา มีอรรถวานอย ลส ธาตุ
กนฺติยํ ในความชอบใจ และ ณุ ปจจัย เชนเดียวกับนัยแรก แตวิเคราะห
ตางกันเล็กนอย ซึ่งเปนวิเคราะหเดียวกับที่ปรากฏในอภิธานฎีกาวา

วิ. อปฺป ลสตีติ กิลาสุ


[ผูใดยอมชอบใจนอย เหตุนั้น ผูนั้นชื่อวา กิลาสุ]
๘๐ ดิลกพุทธินี
ทั้ง ๒ นัย แปลง โย วิภัตติ เปน โน ดวยขอกำหนดแหงสัททนีติ
สุตตมาลา, สูตรที่ ๒๙๔ วา ลโต ยถาสมฺภวํ โวโน จ (หลัง อุ อู ปุงลิงคชื่อ
วา ล แปลง โย วิภัตติ เปน โว โน ตามที่เปนไปไดบาง)
พึงสังเกตวา ในสูตรมีการประกอบ จ ศัพทไวดวย เพื่อเปนเครื่อง
บอกหามแปลง โย เปน โว และ โน ในสัพพนามบางศัพทที่เปน อุ การันต
เชน อมู ปุริสา ติ นฺติ (บุรุษเหลาโนน ยืนอยู)
อีกนัยหนึ่ง จะแปลง โย เปน โน ดวยขอกำหนดแหง กัจจายนสูตร
ที่ ๑๑๙ และปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๑๕๕ วา ลโต โวกาโร จ (หลัง อุ วัณณะ
ชื่อ ล แปลง โย เปน โว ก็ได) แตในทางเทคนิคใหถือวาแปลง โย เปน โน
โดยอนุโลม คือแปลงดวย การ ศัพทในสูตร
จากที่แสดงมานี้ เปนการมองในแงศัพท คือวากันไปตามพยัญชนะ
แสดงความหมายตามรูปศัพท ซึ่งชวนใหเขาใจไดวา พระพุทธเจาโปรดสิ่งที่
ไมดี สิ่งที่นาเกลียด แตความจริง ไมใชอยางนั้น ดังจะแสดงตอไป
พิจารณาในแงความหมาย คำวา กิลาสุ ปรากฏในวินัยปฎกบาลี
ซึ่ง เรื่ องราวในที่น ั้ น บอกโดยสรุป ความว า พระสารี บุ ต รเกิด ปริว ิ ตกถึ ง
พรหมจรรย ค ื อ ศาสนาของพระพุ ท ธเจ า พระองค ไ หนตั ้ ง มั ่ น ยาวนาน
พระองคไหนไมตั้งมั่นยาวนาน จึงไปทูลถามพระพุทธเจา
พระพุทธเจาตรัสวา พระศาสนาของพระพุทธเจาพระนามวาวิปสสี
สีขี และเวสสภู ไมตั้งมั่นยาวนาน เพราะพระองคทรง กิลาสุโน (ขวนขวาย
นอย) ที่จะแสดงธรรมโดยพิสดารแกสาวกทั้งหลาย
ในที่นี้ชวนมองไดวา พระพุทธเจาทรงทอพระทัย หรือหนักเขาอาจ
มองไดวา ทรงมีความเพียรยอหยอน ทรงขี้เกียจ เกียจคราน ซึ่งเปนกิเลส
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๘๑
อยางหนึ่ง และมีความหมายไมดี ฉะนั้น ในบางแหงจึงแปลกันวา ขวนขวาย
นอย ที่จริงพระพุทธเจาทรงทำลายกิเลสหมดสิ้น ไมไดทรงขี้เกียจ แตทรง
แสดงธรรมดวยความอุตสาหะ ฉะนั้น ในอรรถกถาอธิบายไวชัดวา ไมใชทรง
ขี้เกียจเกียจคราน พระพุทธเจาทั้งหลายไมมีความเกียจคราน หรือมีความ
เพียรยอหยอน ดังขอความในอรรถกถาวา
ตตฺถ กิลาสุโน อเหสุนฺติ น อาลสิยกิลาสุโน น หิ พุทฺธานํ อาลสิยํ วา
โอสนฺนวีริยตา วา อตฺถิ.
[บรรดาบทเหลานั้น บทวา กิลาสุโน อเหสุํ ความวา พระพุทธเจา
ทั้งหลายทรงยิน ดีในกรรมอันบัณฑิตเกียจ ดวยอำนาจความเกียจคราน
ก็หามิได แทจริงพระพุทธเจาทั้งหลาย ไมทรงมีความเกียจครานหรือมีความ
เพียรยอหยอน]
ในอรรถกถาวินัยนั้น ยังอธิบายตอไปอีกวา แทจริง พระพุทธเจา
ทั้งหลาย ทรงแสดงธรรมแกผูฟงคนเดียว สองคน หรือทั้งจักรวาลก็ตาม
ก็ทรงแสดงดวยความอุตสาหะเทากันทั้งนั้น ทรงเห็นวาบริษัทนอย จะทรง
ยอหยอนความเพียรก็หาไม ทรงเห็นวาบริษัทมาก จะทรงแสดงดวยความ
เพียรมากกวาก็หาไม เหมือนราชสีห พระราชาแหงหมูเนื้อ ลวงไป ๗ วันจึง
โคจรออกไป เมื่อเห็นเหยื่อเล็กก็ตาม ใหญก็ตาม ก็แลนไปด วยความเร็ว
เทากันทั้งนั้น เพราะอะไร เพราะสัตวทั้งหลายจะแลนไปดวยคิดวา เราอยา
ละความเร็ว ฉันใด พระพุทธเจาก็ฉันนั้น ทรงแสดงธรรมแกบริษัทนอยก็
ตาม มากก็ ตาม ดว ยความอุ ตสาหะเท ากั น ทั ้ ง นั ้ น เพราะอะไร เพราะ
พระองคทรงแสดงธรรมดวยดำริวา เราอยาละความเคารพธรรม เพราะวา
พระพุทธเจาทั้งหลายทรงหนักในธรรม เคารพธรรม.
๘๒ ดิลกพุทธินี
สำหรับพระพุทธเจาของเราทั้งหลาย ทรงแสดงธรรมโดยพิสดาร
เหมือนทำมหาสมุทรใหเต็ม แตพระพุทธเจา ๓ พระองคนั้น ไมไดทรงแสดง
อยางนั้น เพราะอะไร เพราะสัตวทั้งหลายมีธุลีในดวงตานอย. เลากันวา ใน
กาลแหงพระพุทธเจา ๓ พระองคนั้น สัตวทั้งหลายมีอายุยืน มีธุลีในดวงตา
นอย. พวกเขาฟง แมเพียงคาถาเดียวที่ประกอบดวยสัจจะ ๔ ก็ตรัสรูธรรม
เพราะฉะนั้น พระวิปสสีพุทธเจาเปนตน จึงไมทรงแสดงธรรมอยางพิสดาร.
จากขอมูลนี้ สรุปไดขั้นหนึ่งวา ที่พระวิปสสีพุทธเจาเปนตน ทรง
เปน กิลาสุโน (ขวนขวายนอย) ไมใชเพราะทรงเกียจคราน หรือทอพระทัย
เสียพระทัย แตเปนเพราะสมัยนั้นคนมีธุลีคือกิเลสในดวงตานอย คือฉลาด
เรียนรูธรรมเร็ว แสดงธรรมเพียงคาถาเดียว ก็รูเรื่องแลว จึงไมตองทรง
ขวนขวายอะไรมาก นี้ เรียกวาทรงเปน กิ ลาสุ โ น ฉะนั ้ น ในฎี ก าวิน ัยจึง
อธิบายตอไปวา กิลาสุโน คือ อปฺโปสฺสุกา แปลวา ทรงขวนขวายนอย ดัง
ขอความวา
กิลาสุโน อเหสุนฺติ อปฺโปสฺสุกฺกา อเหสุํ, นิรุสฺสาหา อเหสุนฺติ อตฺโถ.
สา ปน นิร ุ สฺ สาหตา น อาลสิ ย วเสนาติ อาห “น อาลสิ ยกิ ล าสุ โ น”ติ,
อาลสิยวเสน กิลาสุโน นาเหสุนฺติ อตฺโถ. ตตฺถ การณมาห “น หี ”ติอาทิ.
อาลสิยํ วาติ อิมินา ถีนมิทฺธวสปฺปวตฺตานํ อกุสลานํ อภาวมาห.
[ขอวา กิลาสุโน อเหสุํ ความวา พระวิปสสีพุทธเจาเปนตน ทรงเปน
ผูขวนขวายนอย หมายความวา ไมตองพยายาม, ก็ความไมตองพยายามนั้น
ไมใชเพราะทรงเกียจคราน ฉะนั้น ในอรรถกถาทานจึงวา พระพุทธเจ า
ทั้งหลายทรงยิน ดีในกรรมอันบัณฑิตเกียจ ดวยอำนาจความเกียจคราน
ก็หามิได, หมายความวา ทรงขวนขวายนอย ดวยอำนาจแหงความเกียจ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๘๓
ครานก็หาไม. ในอรรถกถานั้น ทานแสดงเหตุผลสำทับไว จึงกลาววา น หิ
เปนตน ดวยคำวา อาลสิยํ วา เปนตนนี้ พระอรรถกถากลาววาพระพุทธเจา
ทั้งหลายเหลานั้นไมมีอกุศล ที่เปนไปดวยอำนาจแหงถีนมิทธะ]
จากที่แสดงมานี้ ในแงความหมาย คำวา กิลาสุโน หมายถึง ทรง
ขวนขวายนอย ไมใชเพราะทรงเกียจคราน แตเพราะบริษัทมีธุลีในดวงตา
นอย คือฉลาดมาก พระพุทธเจาทรงแสดงธรรมเพียงเล็กนอยก็รตู าม
๘๔ ดิลกพุทธินี

เอก ศัพท
มีกี่ความหมาย ?

เอก ศัพทมีหลายความหมาย แตในบาลีไวยากรณที่ศึกษากันตาม


หลักสูตรบาลีสนามหลวงนี้ จัด เอก ศัพท เปน ๒ ไดแก เอกสังขยา เปน
เอกวจนะ อยางเดียว และ เอกสัพพนาม เปนได ๒ วจนะ นักเรียนสงสัยวา
เอโก ที่เปนเอกวจนะนั้น จะทราบไดอยางไรวา เปน เอกสังขยา หรือเอก
สัพพนาม
เอโก ที่ แ ปลวา หนึ่ง คือ จำนวนนั บ ๑ ซึ ่ งเริ่ ม นั บก อน ๒ ไม ใช
จำนวน ๒ จำนวน ๓ เปนตน นี้เปนสังขยา เปนเอกวจนะอยางเดียว เอก
ศัพท ในกรณี กำหนดไดแนวา หนึ่ง ไมใชสอง เปนตน เอก ที่เปนสังขยา
เชน
เอโกว โข, ภิกฺขเว, ขโณ จ สมโย จ พฺรหฺมจริยวาสาย.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๘๕
แม เอก ในคำวา เอกํ สมยํ ภควา เปนตน ก็จัดเปนเอกสังขยา
สวน เอโก ที่แปลวา หนึ่ง ในความหมายวา ใชแทนสิ่งที่กลาวถึง
ใชแยกตาง จำแนกออกใหทราบ เชน มีคนหลายคน แตละคนก็ตางกัน เชน
ทำกิริยาตางกัน คนหนึ่งทำอยาง อีกคนหนึ่งก็ทำอีกอยาง ต างๆ กั นไป
ในกรณีนี้ เอก จัดเปนเอกสัพพนาม ซึ่งสามารถเปนพหุวจนะ ก็ได เชน มี
คนหลายคน พวกหนึ่ งก็ทำอยาง อี กพวกหนึ่ งก็ท ำอีก อย าง เอก ที ่ เปน
สัพพนาม เชน
สสฺสโต อตฺตา จ โลโก จ, อิทเมว สจฺจํ โมฆมฺนฺติ อิตฺเถเก
อภิวทนฺตี...
ในอรรถกถา เปนตน บางแหง เรียก เอก ในกรณีนี้วา อฺ (อื่น)
คือเปนสัพพนามนั่นเอง
ไมใชเทานี้ ความจริง เอก ศัพท ยังมีความหมายอื่นๆ อีก ไดแก
๑) เส คือประเสริฐ, เลิศ, เอก, เปนหนึ่ง, หรือ ปธาน เปนหลัก
เชน เจตโส เอโกทิภาวํ
๒) อสหาย คือไมมีเพื่อน, เดี่ยว, เดียว เชน เอโก วูปกโ
๓) สมาน, ตุลฺย คือเสมอ, เดียวกัน, เทากัน เชน เอกาสเน (อาสนะ
เดี ย ว) หมายถึ ง อาสนะของผู  ม ี พ รรษาเท า กั น (สมานวสฺ ส ิ ก าสเน),
เอกลกฺขณา (ลักษณะเดียวกัน) หมายถึง ลักษณะเหมือนกัน (สมานลกฺขณา)
บรรดาความหมายที่กลาวนี้ เมื่อใดก็ตามที่ใช เอก ศัพท เปนสังขยา
เปนเอกวจนะอยางเดียว สวนความหมายอื่นๆ ที่เหลือนั้น เปนพหุวจนะก็
ได สอดคลองกับปทรูปสิทธิ อธิบายสูตร ๒๒๖ วา เมื่อใดเอกศั พทเป น
๘๖ ดิลกพุทธินี
สังขยา เปนเอกวจนะอยางเดียวเทานั้นในทุกแหง ในความหมายอื่น เปน
พหุวจนะก็ไดบาง
ใน สุโพธาลังการมัญ ชรี (หนา ๔๑๗) แสดงอรรถแหง เอก ศัพท
ไวมากมาย ดังขอความวา
เอโก ตีสุ สงฺขฺยาตุลฺยา- ตุลฺยาสหายมิสฺสเน
เสฺสจฺจมุขฺเยสุ อปฺปมฺหิ เกวเลป จาติ
[เอก ศัพท เปนไปในลิงคทั้งสาม ยอมปรากฏในอรรถว า สังขยา
(จำนวน), ตุลยะ (เสมอกัน) อตุลยะ (ไมมีที่เปรียบ) อสหายะ (ไมมีสหาย)
มิส สนะ (ผสม) เสฏฐะ (ประเสริ ฐ ) อั ญ ญะ (อื ่ น ) สั จ จะ (จริ ง ) มุ ข ยะ
(ประธาน) อัปปะ (นัอย) และเกลวะ (ลวนๆ)]
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๘๗

โอวรก หองนอย
คืออะไร ?

โอวรก แปลกั นมาวา ห อ งน อย ปรากฏในตำราเรี ยนบาลีต าม


หลักสูตรบาลีสนามหลวงหลายแหง เชน ธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๓ หนา ๑๔๕
วา โอวรกํ ปวิสิตฺวา (เขาไปแลว สูหองนอย) นักเรียนสงสัยวา หองนอย คือ
อะไร ตางอะไรกับ คพฺภ ที่แปลวา หอง ?
โอวรก ที่แ ปลวา หองนอย นั้น หมายถึง หองอยูขางในห องอี ก
ชั้นหนึ่ง ฉะนั้น คำวา หองนอย จึงไมใชนอยเพราะขนาด แตไดชื่อวาหอง
นอยเพราะเทียบกับหองใหญ หรือเพราะไปอยูในหองอีกชั้นหนึ่ง โดยนัยนี้
๘๘ ดิลกพุทธินี
หองนอย จึงหมายถึง หองซึ่งมีผนังกั้น ๒ ชั้น เมื่อจะเขาหองนอยก็ตองเขา
ไปในห องใหญ ห รือ ห องนอกก อ น จึ ง เข า ไปในห องน อ ยนั ้ น อี กชั ้ น หนึ่ง
สำหรับหองนอยนี้ อาจมีขนาดตั้ง ๑๒ ศอก หรือบางกรณี โอวรก ที่แปลวา
หองนอย อาจหมายถึง เรือนสำหรับนอนซึ่งตั้งอยูในหองอีกชั้นหนึ่ง
อย างไรก็ ตาม คำวา โอวรก กั บคำวา คพฺ ภ ในบางแห ง ใช เปน
คำอธิบ ายกั นและกัน ถื อ เป น ไวพจน ก ั น ฉะนั ้ น คำว า โอวรก จึ ง อาจ
หมายถึง หองทั่วไป ซึ่งไมใชหอง ๒ ชั้นก็ไดบาง ประมวลคำอธิบายในคัมภีร
มาแสดงดังนี้
โอวรก หมายถึง หองข า งในห อ ง เชน ใน สารัต ถที ป นี ฎี กา วา
โอวรโก นาม คพฺภ สฺส อพฺ ภนฺตเร อฺ โ คพฺ โภติ ป วทนฺ ติ [อาจารย
ทั้งหลาย กลาววา ชื่อวา หองนอย ไดแก หองอื่นที่อยูขางในหอง]
ใน วินยาลังการฎีกาวา ตตฺถ โอวรโก นาม คพฺภสฺส อพฺภนฺตเร
อฺโ คพฺโภติ วทนฺติ, คพฺภสฺส วา ปริยายวจนเมตํ. [อาจารยทั้งหลาย
กลาววา บรรดาบทเหลานั้น ชื่อวา หองนอย ไดแก หองอื่น ในภายในหอง,
อีกอยางหนึ่ง คำวา โอวรก นั่น เปนชื่อของหองโดยปริยาย]
โอวรก หมายถึง เรือนนอน ใน มหานิทเทสอรรถกถา วา โอวรกานีติ
คพฺเภ ปติติ สยนฆรานิ. [ชื่อวา โอวรก ไดแก เรือนนอนที่สรางไวในหอง]
อภิธานัปปทีปกาฎีกา วา โอวรโก เคหวิเสโส (ชื่อวา โอวรโก ไดแก
เรือนพิเศษ)
พิ จ ารณาในแง ศ ั พ ทศาสตร คำว า โอวรก เป น ปุ ง ลิ ง ค แ ละ
นปุงสกลิง ค ประกอบดวย อว ธาตุ ในความรั กษา อร ป จจั ย ก สกัตถ
แปลง อ เปน โอ เปนปุงลิงคและนปุงสกลิงค
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๘๙
ในจูฬธาตุปจจยโชติกา วิเคราะหและอธิบายไววา อวติ รกฺขตีติ
โอวรโก คพฺโภ, อว รกฺขเน, อโร, สกตฺเถ โก, อสฺโส. อิทํ นปุํสกลิงฺคมฺป
ทพฺพํ กุลานํ โอวรกานิ คุฬฺหานิ จ ปฏิจฺฉนฺนานิ จาติ ปโยคทสฺสนโต.
[สิ่งใดยอมปกปอง รักษา เหตุนั้น สิ่งนั้น ชื่อวา โอวรก ไดแก หอง, อว ธาตุ
ในความรักษา, อร ปจจัย, ก สกัตถ, แปลง อ เปน โอ. พึงทราบวาศัพทนี้
เปนนปุงสกลิงคบาง เพราะปรากฏตัวอยางวา กุลานํ โอวรกานิ คุฬฺหานิ จ
ปฏิจฺฉนฺนานิ จ]
๙๐ ดิลกพุทธินี

ติลสํคุ ิกา, ติลสกฺขลิกา


ขนมแดกงา

ติลสํคุิกา, ติลสงฺคุิกา, ติลสงฺคุลิกา, ติลสงฺกุลิกา, ติลสกฺขลิกา


แปลวา ขนมแดกงา สวนการดาดวยวาทะวาขนมแดกงานี้ เรียกเปนบาลีวา
ติลสํคุิกวาท จัดเปนคำดาอยางหนึ่ง นักเรียนสงสัยวา คำวา ขนมแดกงา
เปนคำดาไดอยางไร ? เพราะที่จริง คำวา แดก ในชื่อขนมนี้ เปนคำหยาบ
ในภาษาไทย คำไทยจะกลายเปนคำดากันในภาษาบาลีไดอยางไร ?
คำนี้มาในเรื่องพระสุธรรมดาจิตตคฤหบดี ปรากฏในคัมภีรหลาย
แหง มีเรื่องยอวา พระสุธรรมเปนนักกอสราง เขาไปรับภัตตาหารที่บาน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๙๑
จิตตคฤหบดีประจำ เดิมทีจิตตคฤหบดี เมื่อจะนิมนตพระรูปเดียวหรือเปน
คณะก็ตาม จะตองเรียนพระสุธรรมใหทราบก อน แตตอมา มีพระเถระ
ผูใหญมีพระสารีบุตรเปนตนมาถึงถิ่น คฤหบดีไมไดเรียนพระสุธรรมใหทราบ
นิมนตพระมหาเถระทั้งหลายไปฉันและจัดแจงของฉันของเคี้ยวไวมากมาย
เพื่อถวายพระมหาเถระหลายรูป ทานพระสุธรรมทราบขาว จึงขัดเคืองไป
ตอวาจิตตคฤหบดีวา วัตถุอะไรๆ ในทานที่ทานจัดนั้นก็มีพรอมทุกอยาง
ขาดแตขนมแดกงา
ที่จริงคำวา ติลสงฺคุลิ กา เปน ชื่อเรียกขนมชนิดหนึ่งซึ่งทำปนงา
คำวา ปน (สงฺคุลิก) นี้เอง คนไทยนำไปแปลเพื่อใหเขากับเรื่องวา “แดก”
ในชั้นเดิม ขนมแดกงา, ขนมปนงา โดยตัวมันเอง ทั้งสวนผสมและวิธีทำ
ไมใชคำดา ไมใชคำหยาบ แตเพราะการใชชื่อขนมนี้ไปพาดพิงถึงเรื่องอื่น
จึงกลายเปนคำดากระทบชาติตระกูล
วากันวา ตนวงศของทานจิตตคฤหบดีมีขนมชนิดหนึ่ง (ปูววิกติ)
แตในคัมภีรฉบั บพม าวา ตนวงศทานเปน คนคาขายขนม (ปูวํ ปูเวน วา
กยวิ ก ฺกโย) ฉะนั้ น การดา ดวยวาทะว าขนมแดกงานี้ จึ งกลายเปนคำดา
เพราะกระทบกระเทียบ หรือพาดพิงถึงบรรพบุรุษของคฤหบดี
ติลสํคุิกา ติลสงฺคุิกา ติลสงฺกุลิกา และ ติลสงฺคุลิกา ที่จริงเปน
คำเดี ยวกัน ตางกันเพียงตัวอักษร กล าวคือมีการอาเทศนิคหิต ในคำวา
ติลสํคุิกา เปน งฺ จึงไดรูปเปน ติลสงฺคุิกา สวนอักษร ล ฬ ใชสลับกันไป
มาไดบาง โดยอนุโลมตามหลักในปทรูปสิทธิวา ลฬานมวิเสโส (ล และ ฬ ไม
ตางกัน) สวนคำวา ติลสกฺขลิกา เปนไวพจน หรือเปนคำอธิบายของคำวา
๙๒ ดิลกพุทธินี
ติลสํคุิกา เปนตน ประมวลหลักฐานมาแสดงไวเพียงเปนตัวอยางสำหรับ
ผูสนใจศึกษาตอไป
อรรถกถาจูฬวรรควา เอกา จ โข อิธ นตฺถิ ยทิทํ ติลสํคุิกาติ ยา
อยํ ติลสกฺขลิกา นาม วุจฺจติ, สา นตฺถีติ อตฺโถ. ตสฺส กิร คหปติโน วํเส
อาทิมฺหิ เอโก ปูวิโย อโหสิ. เตน นํ เถโร ชาติยา ขุํเสตุกาโม เอวมาห.
[คำวา เอกา จ โข อิธ นตฺถิ ยทิทํ ติลสํคุกิ า มีคำอธิบายวา ขนมนี้
เขาเรียกกันวา ขนมแดกงา, ขนมนั้นไมมี. ไดยินวา ผูคาขายขนม ไดมีใน
ตนวงศของคฤหบดีนั้น. เพราะเหตุนั้น พระเถระประสงคจะดาคฤหบดีนั้น
กระทบชาติ จึงกลาวอยางนั้น]
จากขอความที่นำมาแสดงนี้ พึงสังเกตวา คำวา ติลสกฺขลิกา เปน
คำอธิบายของคำวา ติลสํคุิกา นี้วาตามอรรถกถาฉบับพมาซึ่งรวมอยูใน
คัมภีรชุดฉัฏฐสังคีติ แตขอความเดียวกันนี้ ในอรรถกถาฉบับอักษรไทย
ตางกันเล็กนอย กลาวคือคำวา ปูวิโย ที่แปลวา การคาขาย คือ ผูคาขาย
ขนม นั้น ในอรรถกถาฉบับอักษรไทยวา ปูววิกติ แปลวา ขนมแปลกชนิด
หนึ่ง, การทำขนม, ผูทำขนม
ขนมแดกงา หมายถึง ขนมกอนปนงา ดังคำอธิบายในฎีกาวินัยวา
ติล สกฺขลิกาติ ติเ ลน สํส า สกฺ ขลิ กา [ติ ลสกฺ ขลิกา ไดแ ก ขนมกอน
ปนงา]
ติล สงฺ กุล ิ กา ประกอบดวยคำว า ติ ล แปลว า งา คำว า สงฺ ก ุล า
แปลวา ปน, คลุก, ผสม และ ณิก สกัตถ แปลวา ขนมปนงา จัดเปนขนม
ขบเคี้ยวอยางหนึ่ง สวนในโยชนาวินัย (๒/๓๗๕) อธิบายวา ติเลหิ มิสฺสา
สงฺกุลา ติลสงฺกุลา ติลมิสฺสา ขชฺชวิเสสาติ อตฺโถ ฯ ติลสงฺกุลา เอว ติล-
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๙๓
สงฺกุลิกา สกตฺเถ ณิกปฺปจฺจโย ฯ อฺตฺถ ปน ติลสงฺคุิกาติป อตฺถิ ฯ
[ขนมคลุก คื อ ปนงา ชื ่อ วา ติล สงฺ กุ ล า อธิ บ ายว า ขนมขบเคี ้ ย วปนงา.
ติลสงฺกุลา นั่น เอง ชื่อวา ติลสงฺกุลิกา ลง ณิก ปจจัยสกัตถ. แตในที่อื่ น
ปรากฏวา ติลสงฺคุกิ า ก็มีบาง]
สวนคำวา ปูว ิโย ในเรื่องว า ตน วงศของคฤหบดีเปน ปูวิโย คือ
คนขายขนม หรือมีขนมพิเศษ นั้น มีคำอธิบายอยางนอย ๒ นัย ไดแก
๑. ปูวิโย หมายถึง การคาขายขนมหรือผูคาขายขนม ในฎีกาวินัย
วา ปูวิโยติ ปู วํ ปูเวน วา กยวิกฺกโย [ที่ชื่ อวา ปูวิโย ไดแก
ผูคาขายซึ่งขนมหรือคาขายดวยขนม]
๒. ปูวิโย หมายถึง ผูทำขนม ดังทีโ่ ยชนาวินัยวา ปูวํ กโรตีติ ปูวิโย
[บุคคลใด ยอมทำขนม เหตุนั้น บุคคลนั้นชื่อวา ปูวิโย]

จากที่แสดงมานี้ ไดขอสรุปวา ตนวงศคือบรรพบุรุษของคฤหบดี


เปนผูคาขายขนม ผูทำขนม หรือผูมีขนม เมื่อกลาวถึงขนมแดกงา จึงเปน
การพูดพาดพิงกระทบถึงชาติกำเนิดของทาน นับเปนคำดาอยางหนึ่ง
๙๔ ดิลกพุทธินี

บทชุมนุมเทวดา
จัดเปนคาถาชนิดไหน ?

บทชุม นุมเทวดา ซึ่งปจจุบันนิยมใหพระรูปที่ ๓ สวดเปนทำนอง


สรภัญญะกอนจะเจริญพระพุทธมนตในพระราชพิธี รัฐพิธี และงานมงคล
ทั่วไปเปนคาถาชนิดไหน
บทชุมนุมเทวดา เปนคาถากลาวคำเชิญชวนเทวดาใหมาชุมนุมกัน
เพื่อฟงธรรม ในโอกาสที่พระสงฆสวดพระปริตรคือเจริญพระพุทธมนตเจ็ด
ตำนานหรือสิบสองตำนานในที่มงี านมงคลทั่วไป ในพระราชพิธี รัฐพิธี หรือ
ในพระราชฐาน เมื่อประมวลแลว มี ๔ ชนิดคาถา ไดแก
๑) ภุชังคัปปยาตคาถา ๓) สัทธราคาถา
๒) ปฐยาวัตตคาถา ๔) สามัญคาถา
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๙๕
สำหรับเจ็ดตำนาน
ภุชังคัปปยาตคาถา
สรชฺชํ สเสนํ สพนฺธุํ นรินฺทํ,
ปริตฺตานุภาโว สทา รกฺขตูติ.
ผริตวฺ าน เมตฺตํ สเมตฺตา ภทนฺตา,
อวิกฺขติ ฺตจิตฺตา ปริตฺตํ ภณนฺตุ.
สัทธราคาถา
สคฺเค กาเม จ รูเป, คิริสิขรตเฏ, จนฺตลิกฺเข วิมาเน,
ทีเป รเ จ คาเม, ตรุวนคหเน, เคหวตฺถุมฺหิ เขตฺเต,
ภุมฺมา จายนฺตุ เทวา, ชลถลวิสเม, ยกฺขคนฺธพฺพนาคา,
ตินฺตา สนฺติเก ยํ, มุนิวรวจนํ, สาธโว เม สุณนฺตุ.
สามัญคาถา
ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา,
ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา,
ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา ฯ

ชุ ด นี้ นิ ย มใช ส ำหรั บ สวดก อ นเจริ ญ พระพุ ท ธมนต เ จ็ ด ตำนาน


ในพระราชพิธี รัฐพิธี หรือในพระราชฐาน แตในงานมงคลทั่วไปในที่อื่น ๆ
ซึ่งเปนงานราษฎร เริ่มที่ ผริตฺวาน เมตฺตํ...
ถาเจริญพระพุทธมนตสิบสองตำนาน ปฏิบัติเหมือนเจ็ดตำนาน
แตเพิ่ม สมนฺตา จกฺกวาเฬสุ... อีกหนึ่งคาถา ดังจะแสดงตอไป
๙๖ ดิลกพุทธินี
สำหรับสิบสองตำนาน
ภุชังคัปปยาตคาถา
สรชฺชํ สเสนํ สพนฺธุํ นรินฺทํ,
ปริตฺตานุภาโว สทา รกฺขตูติ.
ผริตวฺ าน เมตฺตํ สเมตฺตา ภทนฺตา,
อวิกฺขติ ฺตจิตฺตา ปริตฺตํ ภณนฺตุ.
ปฐยาวัตตคาถา
สมนฺตา จกฺกวาเฬสุ อตฺราคจฺฉนฺตุ เทวตา
สทฺธมฺมํ มุนิราชสฺส สุณนฺตุ สคฺคโมกฺขทํ.
สัทธราคาถา
สคฺเค กาเม จ รูเป, คิริสิขรตเฏ, จนฺตลิกฺเข วิมาเน,
ทีเป รเ จ คาเม, ตรุวนคหเน, เคหวตฺถุมฺหิ เขตฺเต,
ภุมฺมา จายนฺตุ เทวา, ชลถลวิสเม, ยกฺขคนฺธพฺพนาคา,
ตินฺตา สนฺติเก ยํ, มุนิวรวจนํ, สาธโว เม สุณนฺตุ.
สามัญคาถา
ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา,
ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา,
ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา ฯ

ชุดนี้ นิยมใชสำหรับสวดกอนเจริญพระพุทธมนต สิบสองตำนาน


ในพระราชพิธี รัฐพิธี หรือในพระราชฐาน แตในงานมงคลทั่วไปในที่อื่น ๆ
ซึ่งเปนงานราษฎร เริ่มที่ ผริตฺวาน เมตฺตํ...
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๙๗
ภุชังคัปปยาตคาถา

ภุชังคัปปยาตคาถา แปลวา คาถาที่ดำเนินไปไมขาดสาย เหมือนงู


เลื้อยตอเนื่องเรื่อยไป วิ. ภุชงฺคานํ วิย ปยาตํ คมนํ ยสฺส ตํ ภุชงฺคปฺปยาตํ
[การดำเนินไปไมขาดสายของคาถาใด เหมือนการดำเนินไปไมขาดสายของ
งู คาถานั้น ชื่อวา ภุชังคปยาตคาถา] จัดอยูในประเภทชคตีฉันท เพราะมี
๑๒ พยางค ใน ๑ บาท จึง มี ๔ คณะ ได แ ก ย ย ย และ ย คณะ ตาม
ขอกำหนดแหงคัมภีรวุตโตทัย สูตร ๘๐ วา ภุชงฺคปฺปยาตํ ภเว เวทเยหิ
[ภุชังคัปปยาต เปนอันทานกำหนดแลวดวย ย คณะ ๔ คณะ] ในสูตรนี้
คำวา เวทเยหิ คำวา เวท แปลวา ๔ ย แปลวา ย คณะ แจกดวย หิ ตติยา
วิภัตติ และอักษร หิ นั้น เปนปาทันตครุ กำหนดเสียงครุลหุ วา ๑ ๒ ๒, ๑
๒ ๒, ๑ ๒ ๒, ๑ ๒ ๒

ปฐยาวัตตคาถา

ปฐยาวัตตคาถา แปลไดหลายนัย เชน คาถาอันจะพึงกลาวและ


เปนวาจาที่รายดวยจตุราวัตร วิ. ปิตพฺพโต ปฺยา จ สา จตุราวตฺเตน
ปริวตฺตพฺพโต วตฺตฺจาติ ปฺยาวตฺตํ [คาถานั้นชื่อวาปฐยา เพราะเปน
วาจาอันบุคคลพึงกลาว และชื่อวาวัตร เพราะเปนวาจาที่รายดวยดวยจตุรา
วัตร เหตุนั้น จึงชื่อวา ปฐยาวัตร] จัดอยูในประเภทอนุฏุภาฉันท เพราะมี
๘ พยางคใน ๑ บาท มีขอกำหนดอยางงายวา พยางคที่ ๒ และ ๓ ในทุก
บาท หามสั้นคู คือหาม ส และ น คณะ ตำแหนงที่ ๕ ๖ ๗ บาทคี่กำหนด
เปน ย คณะ คือ ๑ ๒ ๒ บาทคูกำหนดเปน ช คณะ คือ ๑ ๒ ๑
๙๘ ดิลกพุทธินี
สัทธราคาถา

สัทธราคาถา แปลวา คาถาที่กอใหเกิดความพึงใจในการฟงเพราะมี


จังหวะหยุดในพยางคที่ ๗ สามครัง้ เทากัน วิ. สทฺธํ ราตีติ สทฺธรา [คาถาใด
ยอมถือเอาความพึงใจ เหตุนั้น คาถานั้น ชื่อวา สัทธรา] จัดเปนปกติฉันท
จำนวน ๒๑ พยางค ตามขอกำหนดแหงวุตโตทัย สูตร ๑๐๕ วา มฺรา ภฺนา
โย โยตฺร เยนตฺติมุนิยติยุตา สทฺธรา กิตตฺ ิตายํ ปกติ. [คาถาที่มี ม ร ภ น ย
ย และ ย คณะ มีจังหวะหยุด ๗ พยางค ๓ ครัง้ นี้ ทานเรียกวา สัทธรา, เปน
ปกติฉันท], ในสูตรนี้ ขอวา เยนตฺติมุนิยติยุตา ตัดบทเปน เยน ติมุนิยติยุตา
ซอน ตฺ ดวยอำนาจฉันท, คำวา ติ แปลวา ๓ มุนิ แปลวา ๗ ในสูตรนี้ แปล
โดยพยัญชนะวา มฺรา ม และ ร คณะทั้งหลาย ภฺนา ค และ น คณะทั้งหลาย
โย ย คณะ โย ย คณะ เยน (ยคเณน เจ สหิตา) หากประกอบกับ ย คณะ
ติมุนิยติยุตา ประกอบดวยยติ ๗ พยางค ๓ ครัง้ อตฺร (ฉนฺทสิ) ในฉันทนั้น
สทฺธรา กิตตฺ ิตายํ ปกติ (คาถานี้ บัณฑิตกลาววา สัทธรา จัดเปนปกติฉันท)
มีขอกำหนดเสียงครุลหุวา ๒ ๒ ๒, ๒ ๑ ๒, ๒ ๑ ๑, ๑ ๑ ๑, ๑ ๒ ๒, ๑ ๒
๒, ๑ ๒ ๒.

สามัญคาถา
สามัญคาถา คือคาถาสามัญ ไมอยูในชื่อคาถาทั้งหลายที่ประมวลไว
ในคัมภีรวุตโตทัยเปนตน หมายความวา ในบาลีเปนตนมีคาถามากมาย ซึ่ง
ถูกจัดประมวลเขาเปนหมวดหมู แตมีคาถาพวกหนึ่งที่ไมไดจัดเขาหมวดหมู
เรียกคาถาเหลานี้วา สามัญคาถา คือคาถาที่ไมเขาลักษณะคาถาอยางอื่น
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๙๙

สูกรมัททวะ
คืออะไร ?

มี ผ ู  ถ ามว า สู ก รมั ท ทวะ ที่ น ายจุ น ทะถวายพระพุ ท ธเจ า ก อ น


ปรินิพพาน คืออะไร ?
ผูเขียนนี้ตอบวา มติเรื่อง สูกรมทฺทว มีหลายอยาง แตมติที่เรียนกัน
ตอ ๆ มา เชน ในหลักสูตรนักธรรมวา เนื้อสุกรออน ทานผูถามนั้น ทักทวง
วา ไมใช แตเปนขาวสุกที่ปรุงกับปญจโครสและถั่ว
ความจริง ก็บอกไวกอนตอบแลววา มีหลายมติ ทั้งคำตอบที่ผูเขียน
นี้ตอบ ก็เปนมติหนึ่ง และที่ทานทักทวงแลวเสนอคำตอบอื่น ก็เปนมติหนึ่ง
ซึ่งยกไวกอนยังไมตองพิจารณา แตควรตรงไปดูที่คัมภี รเลย เมื่อดูใหทั่ว
ตลอดแลว ก็จะไดคำตอบที่ชัดเอง และควรทราบเรื่องราวทั่วไป ซึ่งเปน
บริบทของเรื่องกอน
๑๐๐ ดิลกพุทธินี
สูกรมทฺทว พบในพระไตรปฎกบาลี ไมมาก ในราว ๑๐ แหง คือพบ
ในมหาปรินิพพานสูตร ในทีฆนิกาย มหาวรรค ๕ แหง และในจุน ทสูตร
ปาฏลิคามิยวรรค ขุททกนิกาย อุทาน ๕ แหง จึงควรตั้งตนคนหาที่นี่

เรื่องยอ
ในพุทธประวัติตอนพระพุทธเจาใกลปรินิพพาน เหตุการณเกิดที่
เมือ งปาวา ในวั นกอ นพุทธปรินิพพานและในวั น พุ ทธปริ น ิ พ พาน ดั งที่
ปรากฏในมหาปรินิพพานสูตร (ที.ม.๑๐/๑๑๖/๑๔๗ สฺยามร) และในจุนทสูตร
ขุททกนิกาย อุทาน (ขุ.อุทาน. ๒๕/๑๖๒/๒๐๙ สฺยามร) เรื่องยอวา
พระพุทธเจาประทับที่โภคนครตามประสงคแลว เสด็จพรอมคณะ
สงฆไปประทับที่สวนมะมวงนายจุนทะผูเปนบุตรชางทองเมืองปาวา ณ ที่
นั้นพระองคทรงแสดงธรรมแกนายจุนทะใหราเริงอาจหาญเกิดกำลังใจแลว
เขาจึงทูลนิมนตให พระพุ ทธเจาและพระสงฆร ับ ภั ตตาหารในวั น รุ  ง ขึ้ น
พระพุทธเจาทรงรับนิม นต ฝายนายจุนทะก็ จั ดแจงของเคี ้ยวของฉันอั น
ประณีต และจั ดแจง สู กรมัททวะ เปน อันมากไว เหตุ การณ ต อมา เมื่ อ
พระพุทธเจาเสด็จไปที่บานเขาแลว โปรดใหถวาย สูกรมัททวะ แกพระองค
เทานั้น ไมใหถวายแกพระรูปอื่น แลวรับสั่งใหนายจุนทะนำ สูกรมัททวะ ที่
เหลือไปฝงกลบ หลังจากนั้นพระพุทธเจาเสวยแลว ก็ทรงพระประชวรคือ
เกิดโรคโลหิตปกขันทิกาพาธอยางรุนแรง และปรินิพพานในเวลาตอมา

บาลี
เรื่องราวตรงนี้ ปรากฏเปนขอความภาษาบาลีในพระไตรปฎกบาลี
นั้น และนำมาใหดูพอเปนตัวอยาง เชน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๐๑
อถ โข จุนฺโท กมฺมารปุตฺโต ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน สเก นิเวสเน
ปณีตํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยาทาเปตฺวา ปหูตฺจ สูกรมทฺทวํ ภควโต กาลํ
อาโรจาเปสิ...
นิสชฺช โข ภควา จุนฺทํ กมฺมารปุตตฺ ํ อามนฺเตสิ “ยํ เต, จุนฺท,
สูกรมทฺทวํ ปฏิยตฺต,ํ เตน มํ ปริวิส. ยํ ปนฺํ ขาทนียํ โภชนียํ ปฏิยตฺต,ํ เตน
ภิกฺขุสงฺฆํ ปริวิสา”ติ. (ที.ม.๑๐/๑๑๗/๑๔๗ สฺยามร)

พระไตรปฎกฉบับแปลไทย
ขอความตรงนี้ พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับหลวง (ที.ม.๑๐/๑๑๗/
๑๐๔) แปลไววา
นายจุนท กัมมารบุตร ใหตระเตรียมของเคี้ยวของฉันอันประณีต
และสุกรมัททวะเปนอันมาก ในนิเวศนของตน โดยลวงราตรีนั้นไป ใหกราบ
ทูลกาลแดพระผูมีพระภาค...
ครั้นพระผูมีพระภาคประทับนั่งแลวรับสั่งกะนายจุนท กัมมารบุตร
วา ดูกรนายจุนทะ ทานจงอังคาสเราดวยสุกรมัททวะที่ทานตระเตรียมไว
จงอังคาสภิกษุสงฆดวยของเคี้ยวของฉัน อยางอื่นที่ทานตระเตรียมไว

สวนพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับ มจร. (ที.อ.๑๐/๑๘๙/๑๓๘) วา


ครั้นราตรีนั้นผานไป นายจุนทกัมมารบุตรไดเตรียมของขบฉันอัน
ประณีตและสูกรมัททวะ จำนวนเพียงพอไวในนิเวศนของตน ใหคนไปกราบ
ทูลเวลาแดพระผูมีพระภาค...
๑๐๒ ดิลกพุทธินี
ประทับนั่งบนพุทธอาสนทปี่ ูลาดไวแลว รับสั่งเรียกนายจุนทกัมมาร
บุ ต รมาตรัส วา “จุ น ทะ ท า นจงประเคนสูก รมั ท ทวะที ่ เ ตรีย มไว แ ก เ รา
ประเคนของขบฉันอยางอื่นที่เตรียมไวแกภิกษุสงฆ...”

ในพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับ มจร. นี้ ไดทำเชิงอรรถบอกไว


สูกรมัททวะ ความหมายตามมติของเกจิอาจารย ๓ พวก คือ
๑. หมายถึงปวัตตมังสะ เนื้อสุกรหนุม
๒. หมายถึ งขาวสุ กอ อ นที่ ปรุ งด วยนมสด นมสม เนยใส
เปรียง เนยแข็ง และถั่ว
๓. หมายถึงวิธีปรุงอาหารชนิดหนึ่ง
จากขอความที่นำมาแสดงนี้ มีขอสังเกตวา ในบาลีเดิมซึ่งเปนตน
แหลงใช สูกรมทฺทว ในพระไตรปฎกฉบับแปล ๒ ฉบับที่ยกมาเปนตัวอยาง
ไมแ ปลศั พ ท น ี ้ แต ใชว ิธ ี ทั บ ศัพ ท แต ฉ บั บหลวงสะกดด ว ยสระ อุ เป น
สุกรมัททวะ สวนฉบับ มจร. สะกดดวยสระ อู เปน สูกรมัททวะ คือรักษา
รูปบาลีไว และที่เชิงอรรถในฉบับ มจร. นั้นก็บอกนัยอยูในตัววา คำแปล
แหง สูกรมัททวะ มีหลายนัย จึงใชวิธีแปลทับศัพท ไมระบุนัยใดนัยหนึ่ง
ตอไปก็ควรไปตรวจดูอรรถกถา เปนตน ซึ่งเปนคำอธิบาย

อรรถกถา
ในอรรถกถามหาปรินิพพานสูตร อธิบายไววา
สูกรมทฺทวนฺติ นาติตรุณสฺส นาติชิณฺณสฺส เอกเชกสูกรสฺส
ปวตฺตมํส.ํ ตํ กิร มุทุ เจว สินทิ ฺธฺจ โหติ, ตํ ปฏิยาทาเปตฺวา สาธุกํ
ปจาเปตฺวาติ อตฺโถ. เอเก ภณนฺติ – “สูกรมทฺทวนฺติ ปน มุทโุ อทนสฺส
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๐๓
ปฺจโครสยูสปาจนวิธานสฺส นาเมตํ, ยถา ควปานํ นาม ปากนาม”นฺติ. เกจิ
ภณนฺติ – “สูกรมทฺทวํ นาม รสายนวิธิ, ตํ ปน รสายนสตฺเถ อาคจฺฉติ, ตํ
จุนฺเทน – ‘ภควโต ปรินิพฺพานํ น ภเวยฺยา’ติ รสายนํ ปฏิยตฺต”นฺติ. ตตฺถ ปน
ทฺวิสหสฺสทีปปริวาเรสุ จตูสุ มหาทีเปสุ เทวตา โอชํ ปกฺขิปสุ.
อรรถกถาฉบับแปล โดย มมร. ๙๑ เลม วา
[บทวา สูกรมทฺทวํ ไดแก ปวัตตมังสะ ของสุกรที่ใหญที่สุดตัวหนึ่ง
ไมหนุมนัก ไมแกน ัก. นัยวา ปวัตตมังสะนั้นนุมสนิท. อธิบายวา ใหจัด
ปวั ต ตมั ง สะนั้ น ทำให ส ุ ก อย า งดี . อาจารย พ วกหนึ่ ง กล า วว า ก็ ค ำว า
สูกรมัททวะนี้เปนชื่อของขาวสุกออน ที่จัดปรุงดวยปญจโครส (ขีร นมสด
ทธิ นมสม ฆตํ เนยใส ตกฺกํ เปรียง และ โนนีตํ เนยแข็ง) และถั่ว เหมือน
ของสุก ชื่อวา ควปานะ ขนมผสมน้ำนมโค. อาจารยบางพวกกลาววา วิธี
ปรุงรส ชื่อวาสูกรมัททวะ ก็สูกรมัททวะนัน้ มาในรสายนศาสตร. สูกรมัททวะนัน้
นายจุนทะตบแตงตามรสายนวิธี ดวยประสงควาการปรินิพพานจะยังไมพึง
มีแกพระผูมีพระภาคเจา. แตเหลาเทวดาในมหาทวีปทั้ง ๔ ซึ่งมีทวีปนอย
๒,๐๐๐ ทวีปเปนบริวาร ใสโอชะลงในสูกรมัททวะนั้น]

ในอรรถกถาจุนทสูตร ขุททกนิกาย อุทาน วา


สูกรมทฺทวนฺติ สูกรสฺส มุทสุ ินิทฺธํ ปวตฺตมํส”นฺติ มหาอกถายํ
วุตตฺ ํ. เกจิ ปน “สูกรมทฺทวนฺติ น สูกรมํสํ, สูกเรหิ มทฺทติ วํสกีโร”ติ วทนฺติ.
อฺเ “สูกเรหิ มทฺทติ ปฺปเทเส ชาตํ อหิฉตฺตก”นฺติ. อปเร ปน “สูกรมทฺทวํ
นาม เอกํ รสายน”นฺติ ภณึส.ุ ตฺหิ จุนฺโท กมฺมารปุตฺโต “อชฺช ภควา
ปรินิพฺพายิสฺสตี”ติ สุตวฺ า “อปฺเปว นาม นํ ปริภุฺชิตฺวา จิรตรํ ติเยฺยา”ติ
สตฺถุ จิรชีวิตุกมฺยตาย อทาสีติ วทนฺติ.
๑๐๔ ดิลกพุทธินี
อรรถกถาฉบับแปล โดย มมร. ๙๑ เลม วา
[บทวา สูก รมทฺทวํ นี ้ทานกลาวไว ในมหาอรรถกถาวา เนื ้ อ สุ กร
ทั่วไป ที่ออนนุมสนิท. แตอาจารยบางพวกกลาววา บทวา สูกรมทฺทวํ ความ
วา ไมใชเนื้อสุกร แตเปนหนอไมไผ ที่พวกสุกรแทะดุน. อาจารยพวกอื่น
กลาววา เห็ด ที่เกิดในถิ่นที่พวกสุกรแทะดุ น. สวนอาจารยอีกพวกหนึ่ง
กลาววา บอเกิดแหงรสชนิดหนึ่ง อันไดนามวา สุกรออน. อาจารยพวกหนึ่ง
กลาววา ก็นายจุนทะบุตรของนายชางทอง สดับคำนั้นวา วัน นี้ พระผูมี
พระภาคเจาจักเสด็จปรินิพพานแลว คิดวา ไฉนหนอ พระผูมีพระภาคเจา
จะพึงเสวยเนื้อสุกรออนนี้แลว พึงดำรงอยูตลอดกาลนาน ดังนี้แลว จึงได
ถวายเพื่อประสงคจะใหพระศาสดาดำรงพระชนมายุไดตลอดกาลนาน.
จากคำอธิบ ายที ่อ รรถกถามหาปริน ิ พ พานสู ตรและจุ น ทสู ต รนี้
แสดงใหเห็นวา คำวา สูกรมัททวะ มีหลายความหมาย ประมวลแลวมี ๕
มติ รวมที่พระไตรปฎกฉบับ แปล มจร. ทำเชิงอรรถบอกไว นั้น แลวดว ย
สูกรมัททวะ ตามอรรถกถานี้จึงมี ๕ มติ ไดแก
๑. ปวัตตมังสะ คือเนื้อสุกรตัวหนึ่งซึ่ งเปนตัวประเสริฐ ตัวใหญ
ไมเด็กนัก ไมแกนัก ซึ่งมีเนื้อนุมสนิท มตินี้ ตองศึกษาตอไปอีก
วา ปวัตตมังสะ คืออะไร
๒. มุ ท ุ โ อทนะ ข า วสุ ก อ อ น ปรุ ง ด ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ น ม ๕ อย า ง
ที่เรียกวา ปญจโครส และถั่ว
๓. วํสกีระ แขนงไผ หนอไผ หนอไมซึ่งถูกสุกรดุดย่ำ
๔. อหิฉัตตกะ เห็ดหัวงู ที่เกิดบริเวณที่ถูกสุกรดุดย่ำ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๐๕
๕. รสายนวิธิ วิธีปรุงอาหารชนิดหนึ่ง ซึ่งจัดเขาในศาสตรวาดวย
การปรุงอาหาร อาจารยพวกอื่นวาอายุวัฒนะขนานหนึ่ง
แตเมื่อพิจารณาโดยนัยที่อักษรตองการสื่อแลว มติที่ ๓ และ ๕ นี้
อรรถกถาไมคอยเชื่อถือเทาไรนัก เพราะทานใชคำวา เกจิ ซึ่งบอกนัยวา
เปนเพียงความเห็น ไมควรถือตาม
มีข อสังเกตเล็กนอยวา คำวา เกจิ ที่ใชในภาษาบาลีเดิ ม ที่ ใชใน
ภาษาไทย มีความหมายตรงกันขาม เกจิ ในภาษาบาลีเดิม มุงถึงอาจารย
บางพวกที่ไมนาเชื่อถือ ซึ่งเปนความเห็นสวนตัวทาน ไมควรถือตาม เกจิ ใน
ภาษาไทย มุงถึงอาจารยบางพวกซึ่งเปนที่เคารพนับถือวาขลัง

ปวัตตมังสะ คืออะไร ?

ในมติทั้ง ๓ นี้ มติแรกวา สูกรมัททวะ คือ ปวัตตมังสะ ของสุกรตัว


หนึ่งซึ่งเปนตัวประเสริฐ ตัวใหญ ไมเด็กนัก ไมแกนัก ซึ่งมีเนื้อนุมสนิท จึง
เกิดปญหาวา ปวัตตมังสะ คืออะไร
ปวัตต ตามศัพทแปลวา ไปแลว, เปนไปแลว ในอรรถกถาเภสัช-
ขันธกะ ไขความวา ปวัตตมังสะ หมายถึง เนื้อที่ตายแลว ดังขอความวา
ปวตฺตมํสนฺติ มตสฺส มํสํ. [ปวัตตมังสะ ไดแก เนื้อแหงสัตวที่ตายแลว]

ฎีกา
ในฎีกามหาปรินิพพานสูตร อธิบายไววา สูกรมัททวะ คือเนื้อออน
ของหมูปา นายจุนทะซึ่งเปนโสดาบันทั้งคนอื่นๆ ก็จัดแจงอาหารที่เหมาะ
สำหรับพระผูมีพระภาคเจาและพระสงฆ ฉะนั้น อรรถกถาวา เตรียมปวัตต
๑๐๖ ดิลกพุทธินี
มังสะไว ที่วาเนื้อสูกรไมเด็กนักไมแกนักนั้น เปนวิธีพูดอยางหนึ่ง ที่จริงก็คือ
เนื้อนุมและสนิทดี เพราะเปนเนื้อนั้นเปนเนื้อนุมและเพราะปรุงพิเศษจึงได
ชื่อวา มัททวะ แปลวา ออน ดังขอความวา
สูกรมทฺทวนฺติ วนวราหสฺส มุทุมํสํ. ยสฺมา จุนฺโท อริยสาวโก
โสตาปนฺโน, อฺเ จ ภควโต, ภิกฺขุสงฺฆสฺส จ อาหารํ ปฏิยาเทนฺตา
อนวชฺชเมว ปฏิยาเทนฺต,ิ ตสฺมา วุตฺตํ “ปวตฺตมํส”นฺติ. ตํ กิราติ
“นาติตรุณสฺสา”ติอาทินา วุตฺตวิเสสํ. ตถา หิ ตํ “มุทุ เจว สินิทธฺ ฺจา”ติ วุตตฺ ํ.
มุทุมํสภาวโต หิ อภิสงฺขรณวิเสเสน จ “มทฺทว”นฺติ

เพราะยังไมมีฎีกาแปลใชกันทั่วถึง ผูเขียนนี้จงึ แปล พอเปนแนว


สูกรมัททวะ ไดแก เนื้อนุมแหงหมูปา. เพราะนายจุนทะเปนพระ
อริยสาวกเปนพระโสดาบัน, และคนอื่น ๆ ทั้งหลาย เมื่อจะจัดแจงอาหาร
ถวายพระผูมีพระภาคเจาและภิกษุ สงฆ ก็ยอมจัดแจงอาหารที ่ไมมีโทษ
เทานั ้น, ฉะนั้ น พระอรรถกถาจารย จึงกล าวว า ปวัต ตมั งสะ. คำที ่ ทาน
พระอรรถกถาจารยกลาววา ตํ กิร เปนตน เปนการพูดอธิบายพิเศษออกไป
อีกวา ไมเด็กนัก เปนตน. ความจริง เนื้อนั้น อันทานกลาวไววา ออนนุม
และสนิท. ก็เพราะเปนเนื้อที่ออนนุมและปรุงพิเศษ จึงไดชื่อวา มัททวะ

จากขอ ความในฎีกามหาปริ นิ พพานสู ตรนี ้ มี ข อ สัง เกตว า ท า น


อธิบายสูกรวา วนวราหสฺส แปลวา แหงหมูปา ซึ่งบอกชัดวาเปนเนื้อสุกร
นั่นเอง และยังชี้แจงวา เนื้อที่เขาจัดนั้นตองเปนเนื้อที่เหมาะ เพราะนาย
จุนทะเปนโสดาบัน จะไปฆาใหตายไดอยางไร จึงตองเปน ปวตฺตมํส คือเนื้อ
ที่ตายแลว
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๐๗
ผูสนใจเรื่องสูกรมัททวะนี้ พึ งดูเพิ่มเติมที่หนังสือ กรณีเงื่อนงำ :
พระพุ ทธเจ า ปรินิ พ พานดว ยโรคอะไร? ซึ ่ ง เป น งานนิ พนธ ข อง สมเด็จ
พระพุทธโฆษาจารย (ป.อ.ปยุตฺโต) หนา ๕๒-๖๒

บทสรุป
จากที่แสดงมานี้ สรุปไดวา สูกรมัททวะ คือเนื้อสุกรหรือหมูปาที่ไม
เด็กนักไมแกนักเนื้อนุมสนิทดีของสุกรชั้นดีที่ตายแลว มตินี้เปนที่ยอมรับ
และศึกษาเลาเรียนกันมาโดยลำดับ
สวนมติอื่น ๆ ซึ่งเปนของเกจิอาจารย เชนเห็นวา สูกรมัททวะ คือ
มุทุโอทนะ ขาวสุกออน ปรุงดวยผลิตภัณฑนม ๕ อยาง ที่เรียกวา ปญจ-
โครส และถั่ว วํสกีระ แขนงไผ หนอไผ หนอไมซึ่งถูกสุกรเหยียบย่ำแลว
อหิฉัตตกะ เห็ดหัวงู ที่เกิดบริเวณที่ถูกสุกรเหยียบย่ำ และ รสายนวิ ธิ
วิธีปรุงอาหารชนิดหนึ่ง ซึ่งเปนอายุวัฒนะอยางหนึ่ง จัดเขาในศาสตรวาดวย
การปรุงอาหาร
๑๐๘ ดิลกพุทธินี

ปาปุณาติ๑

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.

ไดตรวจหนังสือพจนานุกรมธาตุบาลีทั้งหลายบรรดามี ที่ผูรู บาลี


ทั้ง หลายได จั ดพิ มพข ึ้ นมา แยกธาตุ ศั พท อาขยาตดั งกล า วแตกต า งกั น
หลายเลมระบุเปน อป แตอีกหลายเลมกลับเปน อาป เมื่อเปนเชนนี้ รังแต
จะกอใหเกิดความสับสนสำหรับนักเรียน เนื่องจากไมอางเหตุผลที่ระบุไว
เชนนั้น อยา งไรก็ ตาม ธาตุ เปน รากศัพท ของบทบาลี ตลอดจนถึงศัพท
ตาง ๆ ในภาษาไทย ก็ลวนมีรากศัพท ที่มาจากธาตุในภาษาบาลีไม ม าก
ก็นอย ดังนั้น จึงจำเปนอยางยิ่งจะตองศึกษาโดยละเอียด

๑ พระมหาสงวน สุทฺธิาโณ ป.ธ.๗


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๐๙
ที่จริงแลว ศัพทอาขยาตนั้นวิจิตรพิสดารอยางมาก มีหลายศัพท
ทีเดียวอาจแยกไดหลายธาตุ ในเมื่อมีคัมภีรธาตุรองรับ ไมจัดวาผิดแตอยางใด
ดุจอาขยาตขางบนนี้ ก็มีคัมภีรธาตุรับรองยืนยัน โดยระบุชัดเจนมาจากธาตุ
อะไร ถึงแมแตละคั ม ภีรจ ะมีม ติที ่ ต างกัน แต ก็ เป น มติ ท ี ่ถ ู ก ต องทั ้งนั้น
เนื่องจากปราชญผูทรงวิทยาคุณไดประพันธขึ้น จึงคนขอมูลเทาที่คนไดมา
นำเสนอ ดังนี้
๑) คัมภีรกัจจายนะ ไวยากรณบาลีแมแบบไวยากรณบาลี อีกทั้ง
ผูศึกษาก็รูจักดี หนา ๓๒๖ ไดระบุ “ปาปุณาติ = ป-อป+อุณา+ติ” อีกทั้ง
พระมหากั จจายนะเถระ ผูรจนาคั ม ภีร ยั งได แ สดงอุ ทาหรณ ไว ในสู ตร
๔๔๘๑ ในตอนทายเลม มีการเรียงอนุกรมธาตุ เปนตน เพื่อแจงใหทราบถึง
ศัพทอาขยาตทั้งหมด ซึ่งเมื่อแยกธาตุปจจัยจะไดทราบทันทีเปนธาตุอะไร
โดยระบุธาตุแหงศัพทดังกลาวนั้นเปน อป ธาตุ รวมถึงยังมีวงเล็บ (อาป)
ตอทายไวอีก๒
๒) คัมภี รนยาสะ หรือ มุขมัตตทีปนี๓ ผลงานของพระวชิรพุทธิ
แหงลังกา แตงในชวงพุทธศตวรรษที่ ๑๕ อธิบายสูตรกัจจายนไวยากรณ

๑ สฺวาทิโต ณุ ณา อุณา จ. [กจฺ.สุตฺต ๔๔๘]

สุอิจฺเจวมาทิโต ธาตุคณโต ณุ-ณา-อุณาอิจฺเจเต ปจฺจยา โหนฺติ กตฺตริ.


อภิสุโณติ, อภิสุณาติ, สวุโณติ, สวุณาติ, อาวุโณติ, อาวุณาติ, ปาปุโณติ, ปาปุณาติ.
๒ ที่จริงแลว ไมควรจะมีวงเล็บ (อาป) เนื่องจากคัมภีรอธิบายกัจจายนะ เชน นยาสะ และ

รูปสิทธิ ลวนระบุเปน อป ธาตุ.


๓ ปาปุณาตีติ ปปุพฺพสฺส อป ปาปุณเนตีมสฺส ลทฺธธาตุสฺาทิสฺส วุตฺตนเยน ติวิภตฺตึ

กตฺวา อิมินา อุณาปจฺจเย กเต รูป.


๑๑๐ ดิลกพุทธินี
โดยเนนการบอกลักษณะของสูตร และแสดงวิธีการประกอบศัพทตามกฎที่
กลาวในสูตรนั้น ๆ ไดอธิบายศัพทดังกลาวมาจาก อป ธาตุ
๓) คัมภีรปทรูปสิทธิ๑ คัมภีรอธิบายกัจจายนะเชนกัน พระพุทธัป-
ปยะ ชาวทมิฬ แตงในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๕ ถึงตนพุทธศตวรรษที่
๑๖ ณ แควนโจฬะ ทางตอนใตของประเทศอินเดีย ก็อธิบายเชนเดียวกับ
คัมภีรนยาสะ รวมทั้งยังยกตัวอยางมาแสดงอีกดวย
๔) คัมภีรธาตุมัญชูสา รจนาโดยพระสีลวังสะ พระเถระชาวลังกา
ในรัชสมัยพระเจาปรากรมพาหุที่ ๑ (พ.ศ. ๑๖๙๖-๑๗๒๙) ทานพำนักอยูที่
วัดยักขัททิเลณะ (วัดถ้ำเขายักษ) เมืองหัตถิเสละ ใกลเมืองอนุราธบุรี และ
เปนอาจารยของพระสังฆรักขิตเถระผูรจนาคัมภีรสโุ พธาลังการ เปนตน
คัมภีรนี้มี ๑๔๘ คาถา หรือเมื่อรวมคันถารัมภคาถา ๓ บท และ
นิคมนคาถา ๔ บท ก็มีทั้งหมด ๑๕๓ คาถา คาดวาเปนคัมภีรธาตุฉบับแรก
ในภาษาบาลี ระบุไวดุจคัมภีรที่เอยมา ในคาถา ๑๑๗๒
๕) คัม ภี ร  ส ัท ทนี ติ ธาตุม าลา ๓ คั ม ภี ร ไวยากรณ บ าลี ที่ ยิ ่ง ใหญ
ในบรรดาวรรณกรรมบาลีพระอัคควงศ พระเถระชาวพมาในสมัยพุกาม

๑ อป ปาปุณเน. ปปุพฺโพ สรโลเป “ทีฆนฺ”ติ ทีโฆ, อุณาปจฺจโย. สมฺปตฺตึ ปาปุณาติ,

ปาปุณนฺติ, ปาปุณาสิ, ปาปุณาถ, ปาปุณามิ ปาปุณาม. [ปทรูปสิทฺธิ, คำอธิบายสูตร ๕๑๒]


๒ อป สมฺภุ จ ปาปุณเน [ธาตุมัญชูสา, คาถา ๑๑๗]
๓ อป ปาปุเณ สมฺภุ จ. ปาปุโณติ, ปาปุณาติ. ปตฺโต. สพฺพฺุตํ สตฺถา ปตฺโต.

สมฺปตฺโต ยมสาธนํ. สมฺภุณาติ, น กิฺจิ อตฺถํ อภิสมฺภุณาติ. สมฺภุณนฺโต, อภิสมฺภุณมาโน.


ตตฺถ ปตฺโตติ ปสทฺโท อุปสคฺโค “ปปฺโปตี”ติ เอตฺถ ปสทฺโท วิย. ตถา หิ
“ปตฺโต”ติ เอตฺถ ปาปุณีติ อตฺเถ ปปุพฺพสฺส อป-ธาตุสฺส ปกาเร ลุตฺเต ตปจฺจยสฺส ทฺวิภาโว ภวติ.
ตตฺถ น อภิสมฺภุณาตีติ น สมฺปาปุณาติ, น สาเธตีติ วุตฺตํ โหติ. [นีติ.ธาตุ. หนา ๓๒๘]
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๑๑
เปนผูรจนา ทานมีชีวิตอยูในรัช สมัยของพระเจ าจะสวา (พ.ศ. ๑๗๗๗-
๑๗๙๓) ก็ไดอธิบายดุจคัมภีรที่กลาวมา
๖) คัมภีรกัจจายนวัณณนา๑ พระมหาวิชิตาวี พระเถระชาวพมา
เปนผูรจนาในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๒๑ กลับระบุ “อาป” ตางจากกัจจายนะ
และคัมภีรอธิบายอื่น ๆ ทั้งที่เปนคัมภีรในสายกัจจายนะ
๗) คัมภีรโมคคัลลานะ๒ คัมภีรไวยากรณมีชื่อเสียง พระโมคคัลลานะ
พระเถระชาวสิง หลในรัช สมัยพระเจา ปรากรมพาหุ ที่ ๑ (พ.ศ.๑๖๙๖ -
๑๗๒๙) เปนผูรจนา ไดระบุทั้งสองธาตุ กลาวคือ
“อาป, อป” เพียงแตอยูคนละกัณฑแหงคัมภีร ธาตุแรกอยูกัณฑที่
๕ ขาทิกัณฑ อีกทั้งคัมภีรอธิบายอันมีชื่อวา “โมคคัลลานปญจิกา”๓ ก็ระบุ
ไวชัด ส วนอีกธาตุอยูในกัณฑท ี ่ ๗ ณฺว าทิ ก ัณ ฑ ๔ ซึ ่ งเป น กั ณฑ สุ ด ท า ย
ตางจากคัมภีรที่ผานมาซึ่งระบุเพียงธาตุเดียว

๑ ปาปุณาตีติ ปปุพฺพสฺส อาป = ปาปุเณตีมสฺส วุตฺตนเยน ติวิภตฺติมฺหิ กเต อิมินา

อุณาปจฺจเย กเต รูป. รูปสิทฺธิยํ ปน อป=ปาปุเณ พฺยฺชเน เจติ อการสฺส ทีฆวเสน วุตฺตํ.
[กจฺจายนวณฺณนา คำอธิบายสูตร ๔๔๘]
๒ สกาปานํ กุกฺกู เณ. [โมคฺ. ๕/๑๒๑]

สกอาปานํ กุกฺกู อิจฺเจเต อาคมา โหนฺติ ณกาเร.


สกฺกุณนฺโต. ปาปุณนฺโต. สกฺกุโณติ ปาปุโณติ.
เณติ กึ? สกฺโกติ. ปาเปติ.
๓ สก = สตฺติยํ, อาป = ปาปุณเน, เนฺต ติมฺหิ จ “กฺยาทีหิ กณา”ติ ๕/๒๔ กฺณา, เนฺต

“พฺยฺชเน ทีฆรสฺสา”ติ ๑/๓๓ รสฺโส. สกฺโกติ “ตนาทิโตฺว”ติ ๕/๒๖ โอ “สรมฺหา เทฺว”ติ ๑/๓๔
กสฺส ทฺวิภาโว. ปาเปติ ปปุพฺพสฺส ปโยชกพฺยาปาเร ณิมฺหิ เอตฺเต จ. [ปญจิกา, ๕/๑๒๑]
๔ จมาปปาวปา โป. [โมค. ๗/๑๑๔]
๑๑๒ ดิลกพุทธินี
๘) คัมภีรนิรุตติทีปนี๑ ไวยากรณบาลีสายโมคคัลลานะ พระญาณ-
ธชะ พระเถระชาวพม า (ชาวพม า เรี ย กว า แลดี ส ยาดอ) เป น ผู  ร จนา
เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๖ ซึ่งตรงกับรัชสมัยรัชกาลที่ ๕ ก็ไดระบุถึงธาตุไว
ทายคัมภีร ทำใหผูอานคนหาโดยสะดวก มีปรากฏเฉพาะ อาป ธาตุเทานั้น
๙) คัมภีรธาตวัตถสังคหะ รจนาโดยพระวิสุทธาจารย พระเถระ
ชาวพมา ไดแตงจบเมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๒ มีทั้งหมด ๔๓๓ คาถา หรือมี
๔๔๕ คาถาเมื่อรวมนิคมคาถาอีก ๑๒ บท และมีธาตุทั้งหมด ๑๖๓๗ ธาตุ

หนปลายธาตุเหลานี้ ลง ‘ป’ ปจจัย


จม อทเน อป ปาปุณเน ปา รกฺขเณ วป พีชนิกฺเขเป เอเตหิ โป โหติ.
จมนฺติ อทนฺติ เอตฺถาติ จมฺปา นครํ. อเปสิ อีสกมตฺตมคมาสีติ อปฺป อพหุ.
อปายํ ปาติ รกฺขตีติ ปาป กิพฺพิสํ. วปนฺติ เอตฺถาติ วปฺโป เกทาโร.
๑ สกาปานํ กุกฺกุ กฺเณ. [นิรุตฺติทีปนี, หนา ๔๔๙]

สก, อาปธาตูนํ กานุพนฺธา กุการ,อุการา กเมน อาคมา โหนฺติ กฺณมฺหิ ปจฺจเย


ปาปุโณติ, ปาปุณนฺติ, สมฺปาปุณนฺต,ิ
ปริปุพฺโพ ปริยตฺติยํ, ปริยาปุณาติ, ปริยาปุณนฺติ.
สํปุพฺโพ – สมาปุณาติ, ปริสมาปุณาติ, นิ านํ คจฺฉตีติ อตฺโถ.
กฺเณติ กึ?
ปปฺโปติ.
กมฺเม – ปาเปติ, ปาปยติ, ปาเปนฺต,ิ ปาปยนฺติ.
กมฺเม – ปาปยติ, ปาปยนฺติ.
อีอาทิมฺหิ – ปาปุณ,ิ ปาปุณสึ ุ อิจฺจาทิ.
สก – สตฺติยํ, สกฺกุโณติ, สกฺกุณาติ.
กฺเณติ กึ ?
สกฺโกติ, สกฺกุณนฺติ.
อีอาทิมฺหิ – อสกฺกุณ,ิ สกฺกุณิ, อสกฺกุณึสุ, สกฺกุณึสุ.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๑๓
จัดวาเปนคัมภีรธาตุที่สมบูรณที่สุดในปจจุบัน คาถาที่ผูกขึ้นก็มีความกระชับ
และชัดเจน ความหมายของธาตุก็มีความสมบูรณมากกวาคัมภีรธาตุอื่น ๆ
คัมภีรนี้มีทั้ง อป ทั้ง อปฺป๑ ซึ่งเปนไปในความถึง, บรรลุ หมวด ตนฺ
ธาตุ และมีรูปศัพทวา อโปสิ, อปฺโปติ แตทานไมไดแสดงรูปศัพท ปาปุณาติ
เปน ตน ในหมวด สุ ธาตุ เนื ่องจาก อป ธาตุ ที่ เปนสฺวาทิ คณิกะ [หมวด
สุ ธาตุ] ปรากฏชัดอยูแลว
สวน อาป๒ ธาตุนั้น ไดแสดงเอาไว แตไปทางเอิบอาบ-ซึมซับ-แผ
กระจายไป หมวด ภู,สุ และ จุรฺ ธาตุ อีกทั้งปรากฏรูปศัพทวา อาปติ, อา
ปุณาติ, อาปยติ, อาโป, พฺยาปติ๓ ซึ่งไมใชรูปศัพทและความหมายที่ประสงค
ตองการ ถึงแมจะเปนธาตุตัวเดียวกันก็ตาม
๑๐) คัมภีรธาตุปาฐะ รจนาโดยพระชนกาภิวงศ พระเถระชาวพมา
ผูรจนาคัมภีรภาษาฎีกาตาง ๆ พำนักอยูที่วัดคันธาราม จังหวัดอมรปุระ
ชาวพมาเรี ยกท า นว า คัน ธาโยงซายาดอ (อาจารย วั ดคั น ธาโยง) เกิ ดที่

๑ อป’ปฺปา ตา ปาปุเณ’พิ [ธาตวตฺถสงฺคหคาถา, ๑๑]

อป, อปฺป = ปาปุเณ ถึง, บรรลุ หมวด ตน ธาตุ.


อโปสิ อีสตฺตมคมีติ อปฺป, อพหุ = นอย, ไมมาก
อปฺโปติ ตํ ตํ านํ วิสรติ ปปฺโปตีติ วา อาโป = น้ำ, ธาตุน้ำ
เฉพาะ อป ธาตุ ยังเปน สฺวาทิคณิกะไดดวย อุทาหรณ เชน “ปาปุณติ, ปาปุณาติ”
แตเนื่องจาก อป ธาตุที่เปนสฺวาทิคณิกะนี้ มีปรากฏชัดเจนอยูแลว ดังนั้น ในคาถาทานจึงไมแสดงอรรถ
เพิ่มไวอีก และที่ทานละขอความนั้นไว ก็เพื่อเปนการรักษาฉันทนั่นเอง [ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ,
หนา ๑๓].
๒ อาโป พฺยาปเน ภูสฺวาจุ [ธาตวตถสงฺคหคาถา, ๑๘]

อาป ธาตุ = เอิบอาบ-ซึมซับ-แผกระจาย หมวด ภู,สุ,จุร ธาตุ.


๓ ธาตวัตถสังคหะปาฐะนิสสยะ, หนา ๒๐.
๑๑๔ ดิลกพุทธินี
หมูบานตะไย จังหวั ดชเวโภ ใน พ.ศ. ๒๔๔๑ มรณภาพใน พ.ศ. ๒๕๒๐
ไดรจนาคัมภีรธาตุนี้โดยนำธาตุที่มีปรากฏในคัมภีรปทรูปสิทธิและธาตุที่ใช
มากมาผูกไวตามลำดับอักษรแบบรอยแกว เพื่อเปนแบบทองจำกอนเรียน
อาขยาตกัณฑ ธาตุที่แสดงในคัมภีรนี้มีทั้งหมด ๔๑๘ ธาตุ
คัมภีรนี้แสดงทั้ง อป ทั้ง อาป๑ เขาใจวาพระเถระผูรจนา ยอมจะ
เชี่ ย วชาญชำนาญคั ม ภี ร  จึ ง ได ร ะบุ ท ั ้ ง สองธาตุ เ ลยที เ ดี ย วดุ จ คั ม ภี ร -
โมคคัลลานะ นับเปนการปองปรามวิวาทะอันจะบังเกิดขึ้นในหมูนักศึกษา
เกี่ยวกับการแยกธาตุเปนแน เปนกุศโลบายอันดีเยี่ยมโดยแท.

๑ ปปุพฺโพ อป อาป จ ปาปุณเน. [ธาตุปาฐะ, หนา ๖๓]


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๑๕
ตารางคัมภีรแสดง อาป, อป ธาตุ

ที่ รายชื่อ อาป ธาตุ อป ธาตุ หมายเหตุ


๑ กัจจายนะ √
๒ นยาสะ หรือ มุขมัตตทีปนี √
๓ ปทรูปสิทธิ √
๔ ธาตุมัญชูสา √
๕ สัททนีติ ธาตุมาลา √
๖ กัจจายนวัณณนา √
๗ โมคคัลลานะ √ √
๘ นิรุตติทปี นี √
๙ ธาตวัตถสังคหะ √ √ อรรถธาตุแตกตาง

๑๐ ธาตุปาฐะ √ √
๑๑๖ ดิลกพุทธินี
ปาปุณาติ

= ป บทหนา อป ธาตุ + อุณา ปจจัย + ติ วิภัตติ


= ป บทหนา อาป ธาตุ + อุณา ปจจัย + ติ วิภัตติ

เมื่อสรุปแลว ยอมสามารถแยกธาตุไดถึง ๒ ธาตุ ดังหลักฐานที่


กลาวมาขางตน ขึ้นอยูกับจะยึดมติคัมภีรอะไร สวนใหญจะยึดมติกัจจายนะ
และคัมภีรอธิบายสายกัจจายนะ รวมทั้งสัททนีติ ธาตุมาลา จนมองขามมติ
โมคคั ลลานะและคั มภีร อ ธิบายไป ทั้ ง ที ่ คั ม ภี ร เหล านี ้ ท รงคุ ณค าสำคัญ
นักปราชญลวนยกยองและใชอางอิง ผูใครศึกษาไมควรจะมองขาม
อนึ ่ ง ปาปุ ณ นฺ โ ต, ปาปุ ณ มาโน, ปาปุ ณ ิ ต ฺ ว า, ปริ ย าปุ ณ ิ ต ฺ ว า,
ปปฺโปติ, ปริยาปุณาติ, สมฺปาปุณาติ ปาปุณิตพฺโพ, ปาปุณนํ เปนตน
ลวนมีรากศัพทมาจากธาตุ [Root] ดังกลาว
สวนคำแปลนั้น เชื่อวาผูอานลวนแปลไดทั้งนั้น จึงของด.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๑๗

บรรณานุกรม
***

พระมหากัจจายนะ, กจฺจายนพฺยากรณ, กรุงเทพฯ : วิริยะพัฒนา, ๒๕๔๐.


พระคัน ธสาราภิวงศ แปลและอธิบ าย, ปทรูปสิทธิ มัญชรี เลม ๑, นครปฐม:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส,
๒๕๔๗.
............, “ธาตุและคัมภีรธาตุ” ใน พจนานุกรมธาตุ. กรุงเทพฯ : เอกพิมพไท,
๒๕๔๑.
............, พระอภิธ รรมเปนพระพุ ท ธพจน และ ประวั ต ิคั ม ภีร  สั ท ทาวิ เ สส,
กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๗.
พระธรรมกิตติ, พาลาวตาร, ลำปาง : จิตวัฒนาการพิมพ, ๒๕๔๑.
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), กรณีเงื่อนงำ : พระพุทธเจาปรินิพพานดวยโรค
อะไร, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพฯ : พิมพสวย, ๒๕๔๔.
พระญาณธชเถระ รจนา, สมควร ถวนนอก ปริวรรต, นิรุตติทีปนี, นครปฐม :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส,
๒๕๔๘.
พระพุทธัปปยเถระ แหงชมพูทวีปตอนใต รจนา, ปทรูปสิทฺธิ, กรุงเทพฯ : ชมรม-
นิรุตติศึกษา, ๒๕๔๓.
พระมหาสมปอง มุทิโต, อภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : บริษัท
ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗.
พระโมคคัลลานะ, โมคฺคลฺลานปฺจิกา, เอกสารพิมพดีด, วัดทามะโอ ลำปาง,
๒๕๒๑.
พระวชิรพุทธิ, นฺยาสปกรณ, เอกสารพิมพดีด, วัดทามะโอ ลำปาง, ๒๕๒๒.
พระวิชิตาวี, กัจจายนวัณณนา, กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๗.
๑๑๘ ดิลกพุทธินี
พระวิสุทธาจารมหาเถระ รจนาที่พมา, “ธาตฺ วตฺ ถสงฺคห” ใน ปฺจมู ลคนฺถ.
กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ๒๕๔๔.
พระวิสุทธาจารมหาเถระ รจนาที่พมา, พระราชปริยัติโมลี (อุปสโม) และคณะ
ปริวรรต, ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระสัทธัมมโชติปาลเถระ รจนา, พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร ปริวรรต, กัจจายน-
สุตตนิเทส, กรุงเทพฯ: ไทยรายวัน, ๒๕๔๕.
พระสิริมังคลาจารย, จกฺกวาฬทีปนี, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ: สำนักหอสมุด-
แหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๘.
พระอริ ย วงศ รจนา, พระมหานิ ม ิ ต ร ธมฺ ม สาโร แปล, คั น ถาภรณมั ญ ชรี ,
กรุงเทพฯ: พิทักษอักษร, ๒๕๔๕.
พระอั ค ควั ง สเถระ รจนา, พระธรรมโมลี (สมศั ก ดิ์ อุ ป สโม) ตรวจชำระ,
สัท ทนี ติ สุ ต ตมาลา, นครปฐม: มหาวิ ทยาลั ยมหาจุ ฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕.
............, สัททนี ติ ธาตุ มาลา, นครปฐม: มหาวิ ท ยาลั ยมหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖.
พระอัคควังสมหาเถระ รจนา, พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร ปริวรรต, สทฺท-
นีติปฺปกรณํ (สุตฺตมาลา), กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙.
พระอัครวังสเถระ รจนา, พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และจำรูญ ธรรมดา แปล,
สั ท ทนี ต ิ ป ทมาลา, นครปฐม: มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖.
พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, กรุงเทพฯ: สำนักเรียนวัดปากน้ำ,
๒๕๔๐.
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ:
นานมีบุคสพับลิเคชั่น, ๒๕๔๖.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๑๙
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ป.อ.ปยุตฺโต), “ธรรมกาย” แทของพระพุทธเจา
เข า ใจ “อนั ต ตา” ให ต รงตามจริ ง , พิ ม พ ค รั ้ ง ที ่ ๕, นครปฐม :
วัดญาณเวศกวัน, ๒๕๖๖.
สทฺทปารคูหิ โปราณิเกหิ อาจริยวเรหิ รจิตานิ, เอกตฺตึส จูฬสทฺทปฺปกรณานิ
ประมวลจูฬสัททศาสตร ๓๑ คัมภีร, กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอไอ เซ็นเตอร
จำกัด, ๒๕๕๑.
สิริมหาจตุรงคพล มหาอำมาตย (ชาวพมา) รจนา, พระศรีสุทธิพงศ (อุปสโม)
ปริวรรต, อภิธานปฺปทีปกาฏีกา, กรุงเทพฯ : วัดปากน้ำ, ๒๕๒๗.
สุภาพรรณ ณ บางชาง, รองศาสตราจารย, ดร., ไวยากรณบาลี, พิมพครั้งที่ ๒,
กรุงเทพฯ: มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
แสง มนวิทูร, ศาสตราจารย, ร.ต.ท., บาลีมหาไวยากรณ, กรุงเทพฯ : คุรุสภา,
๒๕๑๘.


๑๒๐ ดิลกพุทธินี

ภาคผนวก
ผลงานการประพันธ งานแปล และรวบรวม-เรียบเรียง
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
-๏-

ดินสีอรุณ : นิทานธรรมบท สำนวนอีสาน


จายผญาธรรม : พุทธศาสนสุภาษิต บาลี-ไทย-อีสาน
เอิ้นสั่งเสียงผญา : มรณกถา เพื่อความไมประมาท
หลักสัมพันธไทย : สำหรับทองจำ
ประโยคโบราณ : ในธัมมปทัฏฐกถา ภาคที่ ๑-๘
มงคลวิเสสกถาปกาสินี : สำนวนตัวอยาง วิชา แตงไทยเปนมคธ
เลือดลางบัลลังกทอง : นิทานธรรมบท สำนวนอีสาน
คาถาธัมมปทัฏฐกถา : ภาคที่ ๕-๘ แปลโดยพยัญชนะ
มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕
อรรถวิคหานุกรม : อรรถวิเคราะหที่ปรากฏในปฐมสมันตปาสาทิกา
สัททัตถโชติกา : ศัพท-สำนวนวิสุทธิมรรค ภาคที่ ๑-๒
บาลีไวยากรณ : อักขรวิธี วจีวิภาค และวากยสัมพันธ
วากยสัมพันธ : หลักสำหรับทองจำและบันทึกชวยจำ
มังคลัตถวิลาสินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๔
ปวัตติกาลทีปนี : เลาเรือ่ ง “ชมรมบาลีศกึ ษา” วัดญาณเวศกวัน
ปกิณณกทีปนี : บทความบาลี เพื่อนักเรียนบาลี
สำนักเรียนวัดอรุณราชวราราม : งานรักษาขอมูลเชิงประวัติ
สารัตถธารินี : บันทึกบาลี เพื่อนักเรียนบาลี
วิเสสภาคินี : บันทึกไวใหนักเรียนบาลี
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๑๒๑
ฉันทลักษณะ : วิธีแตงฉันทภาษามคธ
วัดเจาปูภูเหล็ก (วัดหินตั้ง) : เรือ่ งเลา เทาที่นึกได
บาลีวิจักขณา : เรียนบาลีแลวสงสัย ชวยกันวิจัย ทำใหกระจาง
คัณฐยานุโยค : รวมขอเขียนเกี่ยวกับบาลี
จูฬธาตุปจจยโชติกา : พจนานุกรมบาลี-ไทย
วาณีโพธิกา : เทคนิคการแตงไทยเปนมคธ
ดิลกพุทธินี : เกร็ดความรูเ กีย่ วกับภาษาบาลี


๑๒๒ ดิลกพุทธินี
บันทึก

......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................
......................................................................................................................

You might also like