You are on page 1of 178

พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ

(The Gift of the Priestly Vocation)


เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ”
(Ratio Fundamentalis Institutionis
Sacerdotalis)
สมณกระทรวงพระสงฆ
(Congregation for the Clergy)
8 ธันวาคม 2016
พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
โดย สมณกระทรวงพระสงฆ
ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ
สมณกระทรวงพระสงฆ. (2564). The Gift of the Priestly Vocation
[พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ]. นครปฐม: ศูนยสง เสริมและพัฒนา
งานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม.
176 หนา
1. การอบรมพระสงฆคาทอลิก 2. กระแสเรียก 3. คณะสงฆผใู หการอบรม
สามเณราลัยแสงธรรม, ผูแ ปล. I. ชือ่ เรือ่ ง.
262.14 ส242พ
ISBN: 978-616-92511-7-0

ราคา : 200 บาท


พิมพครั้งแรก : เมษายน 2564
จํานวนพิมพ : 2,000 เลม
จัดพิมพโดย :
ศูนยสงเสริมและพัฒนางานวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม
20 หมู 6 ถ.เพชรเกษม ต.ทาขาม อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110
โทร 0-2429-0100-3 โทรสาร 0-2429-0819 www.saengtham.ac.th
พิมพที่ :
ปติพานิช 73 ซอยบางแวก 80 แขวงคลองขวาง
เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160
คํานํา
เอกสารของสภาสังคายนาวาติกันที่สองกลาววา “ความปรารถนาที่
จะฟนฟูทั่วพระศาสนจักรนั้นสวนใหญขึ้นอยูกับศาสนบริการของบรรดาพระสงฆ
ที่ไดรับพลังบันดาลใจจากจิตตารมณของพระคริสตเจา จึงประกาศอยางหนัก
แนนถึงความสําคัญของการอบรมพระสงฆ” (OT อารัมภบท) “งานอบรมพระ
สงฆในอนาคตเปนงานที่สําคัญและเรียกรองมากที่สุดงานหนึ่งเพื่ออนาคตของ
การประกาศขาวดีแกมนุษยชาติ งานอบรมของพระศาสนจักรเปนการสืบสาน
งานของพระคริสตเจา” (PDV 2) “การสงเสริมกระแสเรียกเปนหนาที่ของชุมชน
คริสตชนทั้งมวล” (OT 2)
ระบบการอบรมพระสงฆฉบับแรกตามเอกสารสังคายนาวาติกันที่
2 ไดรับการรับรองใหจัดพิมพโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเปาโล ที่ 6 ในป ค.ศ.
1970 นับเปนเวลา 5 ปภายหลังจากปดประชุมสภาสังคายนา สภาพระสังฆราช
คาทอลิกแหงประเทศไทยในเวลานั้น เห็นถึงความสําคัญเรงดวนของเอกสารดัง
กลาว จึงใหมีการแปลตนฉบับเพื่อใชเปนแนวทางการฝกอบรมสามเณรในป ค.ศ.
1975 พรอมทั้งจัดทําเชิงอรรถไวสําหรับการอบรมในบริบทของพระศาสนจักร
ไทยดวย ภาพรวมของระบบการอบรมพระสงฆฉบับแรกนี้มุงใหความสําคัญเปน
พิเศษกับมิติการอบรมดานชีวิตจิตและมิติดานสติปญญา ในขณะที่มิติดานความ
เปนมนุษยและดานงานอภิบาลมีการกลาวถึงไมมากนัก ทําใหมีเอกสารที่เกี่ยว
กับการอบรมพระสงฆตามมาอีกหลายฉบับตลอดชวงเวลา 46 ปที่ผานมา เพื่อ
เปนการสนองตอบตอพัฒนาการทางสังคมและวิธีการสอน โดยมุงใหเกิดความ
สมบูรณและสมดุลในการอบรมผูที่เตรียมตัวเปนพระสงฆ
สมณสาสนเตือนใจ “เราจะมอบผูเลี้ยงแกะใหทาน” (Pastores Dabo
Vobis) ของพระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 ซึ่งออกในป ค.ศ. 1992 กลาวถึง
การอบรมพระสงฆในสถานการณปจจุบัน นับเปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญอีกครั้งหนึ่ง
ของการอบรมพระสงฆ สมัชชาพระสังฆราชไดพิจารณาวาปญหาของพระสงฆ
มิใชเปนเรื่องอัตลักษณของพระสงฆเทานั้น แตเปนเรื่องการอบรมพระสงฆที่ตอง
มีวิสัยทัศนที่บูรณาการ และมีมุมมองที่กวางไกลตอพันธกิจในชีวิตสงฆ จึงกลาว
ถึงมิติการอบรมดานความเปนมนุษยเปนพื้นฐาน ดานชีวิตจิตเปนหัวใจ ดานสติ
ปญญาเปนเครื่องมือ ดานอภิบาลและการประกาศขาวดีเปนเปาหมาย และ
กลาวถึงการอบรมตอเนื่องของพระสงฆในบทสุดทายดวย อยางไรก็ตาม ในเวลา
นั้นยังไมมีการจัดทําระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆฉบับใหมขึ้น และยังคงมี
เอกสารเกี่ยวกับการอบรมพระสงฆออกตามมาอยางตอเนื่อง
เมื่อมาถึงสมณสมัยของพระสันตะปาปาฟรังซิส พระองคทรงสนพระทัย
ตอการเลือกสรรและการอบรมกระแสเรียกเพื่อเปนพระสงฆตั้งแตเริ่มตนสมณ
สมัยของพระองคในป ค.ศ. 2013 โดยทรงแตงตั้งเลขาธิการเพื่อสามเณราลัย
ใหดําเนินการปรับปรุงและจัดทําระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆนี้เปนฉบับ
ที่ 2 ความเพียรพยายามทํางานดังกลาวบรรลุความสําเร็จและประกาศใชโดย
สมณกระทรวงพระสงฆ 8 ธันวาคม ค.ศ. 2016 ในสวนของพระศาสนจักรไทย
แผนกสามเณราลัยและกระแสเรียก ภายใตกรรมาธิการฝายอภิบาลคริสตชน
มีการนําเสนอเอกสารนี้ตอที่ประชุมสภาพระสังฆราชคาทอลิกแหงประเทศไทย
บรรดาพระสังฆราชและผูรวมประชุมเห็นควรใหทางแผนกฯ ศึกษาเพื่อปรับใช
และพัฒนาไปสูระบบการอบรมพระสงฆของพระศาสนจักรไทยในลําดับตอไป
สาระซึ่งเปนหัวใจสําคัญของระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆฉบับใหม
คือ การมีมุมมองตอการอบรมวาเปนกระบวนการอันเดียวกันที่ตอเนื่องตั้งแตตน
จนจบ โดยแบงการอบรมออกเปน 3 ชวงเวลาไดแก ชวงแรกกอนเขาสาม
เณราลัยเปนการสงเสริมและอภิบาลกระแสเรียกในครอบครัวและในชุมชน
คริสตชน ชวงสองคือการอบรมขั้นตนในสามเณราลัยในระดับตาง ๆ และชวง
สามหลังจากบวชเปนพระสงฆตองมีการอบรมตอเนื่องตอไปตลอดชีวิต เนื้อหา
ของการอบรมทั้งหมดจึงตองมีความกลมกลืนและสัมพันธเชื่อมโยงกันโดยไมแยก
สวน ดวยเหตุผลที่การอบรมนั้นเปนกระบวนการหนึ่งเดียว เพราะเปนบุคคล
เดียวกันซึ่งไดรับการเรียกใหรับศีลบวชพระสงฆเพื่อที่จะดํารงความสัตยซื่อตอ
การเรียกนั้นไปจนตลอดชีวิต ทุกชวงเวลาในบรรยากาศของการอบรมจึงเปน
สิ่งที่จะกําหนดหนทางชีวิตที่จะดําเนินตลอดไปของผูรับการอบรม สาระสําคัญ
ประการถัดมาคือ เปาหมายทั้งหมดของการอบรมคือการบูรณาการในทุกมิติของ
ความเปนบุคคล โดยที่ไมเนนเพียงดานใดดานหนึ่งเทานั้น การอบรมเรียกรอง
ทั้งสามเณรและพระสงฆใหออกจากพื้นที่ปลอดภัยของตนเอง เพื่อมุงไปยังความ
เจริญเติบโต ความกลมกลืนและมีบูรณาการในชีวิตอยางแทจริง การอบรมนี้จึง
ตองดําเนินไปตามลําดับขั้นตอน ซึ่งนําเสนอไวหลายขั้นดังนี้ ขั้นแรกคือขั้นเตรียม
มีเปาหมายเพื่อสรางพื้นฐานที่มั่นคงของการอบรมอยางบูรณาการโดยอาศัย
กระบวนการวินิจฉัยกระแสเรียก ตอมาเปนการอบรมอยางบูรณาการในขั้นเริ่ม
ตน มีเปาหมายใหสามเณรติดตามพระเยซูเจาในฐานะการเปนศิษยของพระองค
เพื่อไปสูขั้นปรับเปลี่ยนตนเองใหเปนเหมือนกับพระองค และขั้นการอภิบาลหรือ
ขั้นสังเคราะหกระแสเรียก คือ ชวงเวลาของการสังเคราะหกระบวนการอบรม
ทั้งหมดของสามเณร เพื่อใหพวกเขาบรรลุถึงความเปนผูใหญ และมีความเขาใจ
ถึงความรับผิดชอบซึ่งจะมาพรอมกับการรับศีลบวชสูสังฆภาพอันศักดิ์สิทธิ์
ระบบพื้นฐานการอบรมยังตระหนักถึงความสําคัญของชีวิตหมูคณะ
เนื่องจากพระสงฆเกิดจากชุมชนคริสตชน เติบโตโดยอาศัยการเจริญชีวิตหมู
คณะภายในสามเณราลัย เพื่อที่จะเปนผูอภิบาลของหมูคณะของคริสตชนตอไป
ดังนั้นพระสงฆจะตองเปนบุคคลแหงความเปนหนึ่งเดียวเสมอ ทั้งตัวเขากับพระ
สังฆราช เพื่อนพี่นองสงฆ และบรรดาสัตบุรุษ การอบรมในสามเณราลัยจึงตอง
กระทําในบริบทของชีวิตหมูคณะ ในบรรยากาศของความไววางใจซึ่งกันและกัน
จุดมุงหมายของการอบรมคือการมีหัวใจของผูอภิบาล และการเปนธรรมทูต
ตามแบบอยางพระคริสตเจา จึงตองมุง ปลูกฝงจิตตารมณอนั รอนรนของการออกไป
เพื่อประกาศขาวดี การตามหาแกะที่หลงทาง การเปนพระสงฆจึงไมใชเรื่องความ
มั่นคงปลอดภัยหรือสิทธิพิเศษใด ๆ แตเปนงานของธรรมทูตที่ถอมตนรับใชและ
มอบอุทิศชีวิตทั้งครบของตนเอง นอกจากนั้นการอบรมยังมีเปาหมายเพื่อการ
เปลี่ยนแปลงบุคคลจากภายในใหเปนเหมือนพระคริสตเจา ทั้งนี้เพื่อใหกิจการที่
ปรากฎภายนอกของผูรับการอบรมนั้นสอดคลองกับความจริงที่อยูภายใน ไมเปน
แตเพียงการแสดงหรือเปนการถือกฎระเบียบเพียงภายนอกเทานั้น การอบรมนี้
เรียกรองกระบวนการของการเปดใจและการรวมเดินเคียงขางไปกับผูนําทาง ใน
ความจริงและความไววางใจ ระบบพื้นฐานการอบรมยังใหความหมายและความ
สําคัญกับเสนทางในการเปนศิษย การปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนพระคริสตเจา
การวินิจฉัยจิตและการรวมเดินเคียงขาง รวมถึงการจัดหลักสูตรการศึกษาที่ควร
ใหมีบูรณาการไปกับมิติของการอบรม เอกสารรองขอใหสภาพระสังฆราชและ
สามเณราลัยแตละแหงพัฒนาหลักสูตรการศึกษาของตนเองพรอมไปกับวิชา
ตาง ๆ ที่เอกสารนําเสนอไว
ขอขอบคุณพระเปนเจาผูเปนบอเกิดและที่มาของกระแสเรียกเพื่อเปน
พระสงฆ และทุกกระแสเรียกในพระศาสนจักร ที่พระองคทรงนําทางเราดวยพระ
จิตของพระองค ใหเกิดระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆฉบับใหมในชวงเวลาที่มี
ความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและรุนแรงของสังคมโลกและพระศาสนจักร ขอ
ขอบพระคุณมาเซอรวาเลนติน มุงหมาย ที่กรุณาจัดหาผูแปลตนฉบับจากภาษา
อังกฤษจนสําเร็จ ขอบคุณทีมงานอาจารยและผูใหการอบรมของบานเณรใหญ
แสงธรรมโดยเฉพาะ คุณพอเชษฐา ไชยเดช คุณพอสมชัย พิทยาพงศพร คุณพอ
เกรียงชัย ตรีมรรคา คุณพอไตรรงค มุลตรี คุณพอสลัน วองไว และคุณพอวิทยา
เลิศทนงศักดิ์ ที่สละเวลารวมกันทํางานเพื่อขัดเกลาสํานวนภาษาใหถูกตองและ
เขาใจงายขึ้น ขอบคุณคุณพอธีรพล กอบวิทยากุล และคุณพอวีรศักดิ์ ยงศรี
ปณิธาน ที่ชวยอานตรวจทานตนฉบับกอนจัดพิมพ
ขอขอบพระคุณพระคารดินัล ฟรังซิสเซเวียร เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช
ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อพระสงฆและผูถวายตัว ที่ใหคําแนะนําและ
สนับสนุนการทํางานของแผนกฯ ดวยดีเสมอมา รวมทั้งยังกรุณาใหการรับรอง
เอกสารฉบับแปลนี้
เอกสารฉบับนี้ถือเปนสวนหนึ่งของการทํางานอยางทุมเทและเสียสละ
ของทุกฝายที่เกี่ยวของ เพื่อใหไวเปนแนวทางการอบรมผูเตรียมตัวเปนพระสงฆ
ทั้งในระดับสากลและระดับทองถิ่น จึงเชื่อวาจะเปนประโยชนกับผูเตรียมตัว
เปนพระสงฆทั้งของสังฆมณฑล ผูที่มิไดสังกัดสังฆมณฑล บรรดาพระสังฆราช
บรรดาผูใหการอบรมในสามเณราลัย พระสงฆทุกองค ฆราวาสทุกคนผูมีสวนรวม
สนับสนุนกระแสเรียกพระสงฆในพระศาสนจักร และเปนแนวทางสําหรับการจัด
ทําระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆระดับชาติของพระศาสนจักรไทยในลําดับตอ
ไป ทางแผนกฯ ยังปรารถนาใหการแปลและเผยแพรเอกสารฉบับนี้ออกไปอยาง
กวางขวางเปนสวนหนึ่งของการเตรียมฉลอง 50 ป ของสามเณราลัยแสงธรรมซึ่ง
จะมาถึงในป ค.ศ. 2022

คุณพอเปโตร เจริญ วองประชานุกูล


แผนกสามเณราลัยและกระแสเรียก
โอกาสวันฉลองพระเยซูเจาผูเลี้ยงแกะที่ดี
วันภาวนาสากลเพื่อกระแสเรียก

25 เมษายน ค.ศ. 2021


สารบัญ

หนา
คํานํา 15
1. ความจําเปนตองมีเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับใหม 15
2. ขั้นเตรียมงาน 17
3. องคประกอบสําคัญที่มีลักษณะพิเศษและสาระพื้นฐาน 19

บทที่ 1 บรรทัดฐานทั่วไป 23
ก) ขอบเขตการบังคับใช 23
ข) การจัดเตรียมเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” 25
ค) ความรับผิดชอบของสภาพระสังฆราช 27
ง) องคกรสามเณราลัยระดับชาติและระดับทวีป 29
จ) โปรแกรมการอบรมสําหรับสามเณราลัยแตละแหง 30

บทที่ 2 กระแสเรียกพระสงฆ 31
ก) หลักการทั่วไป 31
ข) บานเณรเล็ก และรูปแบบตาง ๆ ของการเดินเคียงขางบรรดาเยาวชน 33
ค) กระแสเรียกในวัยผูใหญ 36
ง) กระแสเรียกที่เกิดขึ้นทามกลางชนพื้นเมือง 37
จ) กระแสเรียกและผูอพยพยายถิ่น 37
บทที่ 3 รากฐานของการอบรม 39
ก) หัวขอของการอบรม 39
ข) พื้นฐานและจุดประสงคของการอบรม : อัตลักษณของพระสงฆ 40
ค) การเดินทางของการอบรมเปนดั่งการเปลี่ยนแปลงตนเองใหเหมือนกับ 42
พระคริสตเจา
ง) การอบรมชีวิตภายในและความสนิทสัมพันธ 45
จ) เครื่องมือสําหรับอบรมสามเณร 48
จ.1. การเดินเคียงขางเปนรายบุคคล 48
จ.2. การเดินเคียงขางเปนหมูคณะ 50
ฉ) เอกภาพในการอบรม 52
บทที่ 4 การอบรมขั้นตน และการอบรมตอเนื่อง 53
ก) การอบรมขั้นตน และขั้นตาง ๆ 54
ก.1. ขั้นเตรียม 55
ก.2. ขั้นการศึกษาปรัชญา (หรือการเปนศิษยพระคริสต) 56
ก.3. ขั้นศึกษาเทววิทยา (หรือขั้นปรับเปลี่ยนตนเอง) 59
ก.4. ขั้นอภิบาล (หรือขั้นสังเคราะหกระแสเรียก) 62
ข) การอบรมตอเนื่อง 64

บทที่ 5 มิติตาง ๆ ของการอบรม 73


ก) การบูรณาการมิติตาง ๆ ของการอบรม 73
ข) มิติดานความเปนมนุษย 75
ค) มิติดานชีวิตจิต 80
ง) มิติดานสติปญญา 87
จ) มิติดานการอภิบาล 89

บทที่ 6 ผูอบรม 95
ก) พระสังฆราชของสังฆมณฑล 96
ข) คณะสงฆ 97
ค) สามเณร 98
ง) คณะผูใหการอบรม 98
จ) คณาจารย 102
ฉ) ผูเชี่ยวชาญ 104
ช) ครอบครัว เขตวัด และกลุมตาง ๆ ของพระศาสนจักร 104
ซ) ชีวิตผูถวายตัวและฆราวาสในการอบรมพระสงฆ 106
ฌ) การอบรมตอเนื่องสําหรับทุกคนที่เปนผูอบรม 106

บทที่ 7 การจัดระบบการศึกษา 109


ก) การศึกษาขั้นเตรียม 110
ข) การศึกษาปรัชญา 112
ค) การศึกษาดานเทววิทยา 114
ง) วิชาเกี่ยวกับศาสนบริการ 121
จ) การศึกษาเฉพาะทาง 124
ฉ) เปาหมายและวิธีการสอน 125
บทที่ 8 หลักเกณฑและบรรทัดฐาน 129
ก) รูปแบบตาง ๆ ของสามเณราลัย 129
ข) การรับเขา การใหออก และการออกจากสามเณราลัย 130
ข.1. สุขภาพกาย 130
ข.2. สุขภาพจิต 131
ข.3. การใหออก 134
ข.4. สามเณรที่ยายมาจากสามเณราลัย หรือสถาบันอบรมอื่น 134
ค) บุคคลที่มีความโนมเอียงเปนบุคคลรักรวมเพศ 135
ง) ความคุมครองผูเยาวและการเดินเคียงขางผูที่ตกเปนเหยื่อ 136
จ) การตรวจสอบ 137

สรุป 142
อางอิงทายเลม 143
อภิธานศัพท 168
คณะผูจัดทํา 174
บทภาวนาเพื่อกระแสเรียก (โดยพระสันตะปาปาฟรังซิส) 175
บทภาวนาเพื่อขอบพระคุณและขอพรพระเจา 176
เพื่อการกาวสูสุวรรณสมโภช (ค.ศ. 2022) บานเณรแสงธรรม
The Gift of the Priestly Vocation... 15
สมณกระทรวงพระสงฆ
(Congregation for the Clergy)
“พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ”
(The Gift of the Priestly Vocation)
เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ”
“Ratio Fundamentalis Institutionis Sacerdotalis”

คํานํา
1. ความจําเปนตองมีเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับใหม
(The need for a new Ratio Fundamentalis Institutionis
Sacerdotalis)
พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ ที่พระเจาประทานใหในหัวใจของผูชาย
บางคน ทําใหพระศาสนจักรมีพันธกิจตองเสนอแนวทางการอบรมอยางจริงจัง
สําหรับบุคคลเหลานี้ ดังที่พระสันตะปาปาฟรังซิสทรงระลึกถึงในคําปราศรัยตอ
ที่ประชุมของสมณกระทรวงพระสงฆ (3 ตุลาคม 2014) วา “การอบรมคือการ
ปกปองและหลอเลี้ยงกระแสเรียก เพื่อใหเกิดผลที่สมบูรณ พวกเขาเปน ‘เพชรที่
ยังไมไดเจียระไน’ ที่ตองไดรับการอบรมดวยความอดทนและเอาใจใส โดยเคารพ
มโนธรรมของแตละบุคคล เพื่อพวกเขาจะสองแสงทามกลางประชากรของ
พระเจา” [1]
ผานมากวา 30 ปแลวที่สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิกซึ่งขณะนั้นเปน
ผูมีอํานาจหนาที่ดําเนินการเรื่องนี้ ไดจัดการแกไขเอกสาร “ระบบพื้นฐานการ
อบรมพระสงฆ” เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 1985 ที่ไดประกาศใชเมื่อวันที่ 6 มกราคม
16 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
1970 [2] ดวยการปรับปรุงขอความเชิงอรรถใหสอดคลองกับการประกาศใช
ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร (25 มกราคม 1983)
นับจากนั้นมีการกลาวถึงแนวทางการอบรมพระสงฆในอนาคตมากขึ้น ทั้ง
จากพระศาสนจักรสากล และสภาพระสังฆราชตาง ๆ และพระศาสนจักรบาง
แหงโดยเฉพาะ
ดังนั้นจึงจําเปนตองระลึกถึงอํานาจการสั่งสอนของพระสันตะปาปาทั้ง
หลาย ผูนําพระศาสนจักรในยุคนี้ คือ นักบุญยอหน ปอล ที่ 2 ผูทรงริเริ่มสมณ
สาสนเตือนใจเรื่อง “เราจะมอบผูเลี้ยงแกะใหทาน” (Pastores Dabo Vobis : 25
มีนาคม 1992) พระสันตะปาปาเบเนดิกต ที่ 16 ผูเขียนสมณลิขิตสวนพระองค
“การอบรมศาสนบริกร” (Ministrorum Institutio : 16 มกราคม 2013) และ
พระสันตะปาปาฟรังซิสผูทรงสนับสนุนและแนะนําจนทําใหเกิดเอกสารฉบับนี้
โดยเฉพาะสมณสาสนเตือนใจ “เราจะมอบผูเลี้ยงแกะใหทาน” ไดกําหนด
วิสัยทัศนแบบบูรณาการของการอบรมพระสงฆในอนาคตไวอยางชัดเจน โดยคํานึง
ถึงทั้งสี่มิติอยางเทาเทียมกันที่เกี่ยวของกับตัวของสามเณร คือ มิติดานความ
เปนมนุษย ดานสติปญญา ดานชีวิตจิต และดานการอภิบาล พระสมณลิขิต
สวนพระองค “การอบรมศาสนบริกร” พยายามชี้วาการอบรมสามเณรจะพบ
ความตอเนื่องอยางเปนธรรมชาติในการอบรมตอเนื่องของพระสงฆไดอยางไร
เพื่อใหการอบรมทั้งสองแบบกลายเปนหนึ่งเดียวกัน ดวยเหตุผลนี้พระสันตะปาปา
เบเนดิกต ที่ 16 จึงตัดสินใจมอบหมายใหสมณกระทรวงพระสงฆ ซึ่งเปนผูมีอํานาจ
หนาที่ดูแลการอบรมตอเนื่องของพระสงฆอยูแลว เปนผูรับผิดชอบการอบรม
ขั้นตนในสามเณราลัยดวย พระองคจึงทรงแกไขมาตราที่เกี่ยวของของสมณ
ธรรมนูญ “ผูเลี้ยงแกะที่ดี” (Pastor Bonus : 28 มิถุนายน 1988) และโอน
สํานักงานดูแลสามเณราลัยใหไปอยูภายใตความรับผิดชอบของสมณกระทรวง
พระสงฆ ในระหวางสมณสมัยของพระสันตะปาปาฟรังซิส พระองคทรงเสนอ
อํานาจสั่งสอนอันมั่งคั่งและตัวอยางของการอภิบาลอยางสมํ่าเสมอเกี่ยวกับ
ศาสนบริการและชีวิตของพระสงฆ และทรงใหกําลังใจและสนับสนุนงานที่นํา
ไปสูเ อกสารฉบับนี้
The Gift of the Priestly Vocation... 17
ในชวงหลายปที่ผานมามีหนวยงานตาง ๆ ขององคการปกครองสวนกลาง
ของพระศาสนจักรคาทอลิกไดออกเอกสารหลายฉบับเกี่ยวกับดานตาง ๆ ของ
การอบรมพระสงฆในอนาคต สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก สมณกระทรวง
พิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ และสมณกระทรวงพระสงฆ รวมทั้งระบบการอบรม
พระสงฆระดับชาติของประเทศตาง ๆ ซึ่งเราไดนําแนวทางการอบรมเหลานี้มา
พิจารณาเพื่อจัดทําเอกสารฉบับนี้ [3]
2. ขั้นเตรียมงาน (Preparatory Stages)
สมณกระทรวงพระสงฆไดเริ่มตนจัดทํารางฉบับแรกของเอกสาร “ระบบพื้นฐาน
การอบรมพระสงฆ” นี้ในฤดูใบไมผลิของป ค.ศ. 2014 และไดสงใหผูเชี่ยวชาญ
บางคน โดยเฉพาะสมาชิกของหนวยงานพระศาสนจักร เพื่อเตรียมจัดประชุมใหญ
ของสมณกระทรวง ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 1-3 ตุลาคม 2014 ระหวางการ
ประชุมเต็มคณะไดมีการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวบทโดย
พระคารดินัลและพระสังฆราชที่เปนกรรมการ และผูเชี่ยวชาญที่ไดรับเชิญ ซึ่งมี
ขอเสนอแนะที่ชวยใหงานชิ้นนี้คืบหนาไปได
เนื้อหาจากการประชุมนี้ไดถูกนําไปใชเพื่อรางตนฉบับใหสมบูรณกวาเดิม
โดยใชขอเสนอแนะที่ไดรับจากหนวยงานตาง ๆ ขององคการปกครองสวนกลาง
ของพระศาสนจักรคาทอลิก ทั้งหนวยงานที่มีสวนในประเด็นเหลานี้ เนื่องจากเปน
อํานาจหนาที่ของตน (สมณกระทรวงประกาศพระวรสารสูมวลชน สมณ
กระทรวงสถาบันนักพรตและคณะผูถ วายตนเพือ่ การแพรธรรม และสมณกระทรวง
พระศาสนจักรตะวันออก) และหนวยงานที่เคยมีประสบการณในสาขานี้ (สมณ
กระทรวงการศึกษาคาทอลิก)
ระหวางป 2015 เราไดสงตนฉบับใหแกสภาพระสังฆราชและสถานเอกอัคร
สมณทูตตาง ๆ เพื่อขอความคิดเห็นและขยายขอบเขตการหารือและไตรตรอง
รวมทั้งประเทศตาง ๆ ที่จะนําเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ไป
18 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
บังคับใชในจิตตารมณของสภาสมัชชา (Synodality) ดังที่พระสันตะปาปาฟรังซิส
ทรงเนนยํ้าหลายครั้ง
สมณกระทรวงพระสงฆไดจัดการประชุมระหวางประเทศขึ้นเมื่อวันที่ 19
และ 20 พฤศจิกายน 2015 เพื่อฉลองโอกาสครบรอบ 50 ปของเอกสารของสภา
สังคายนา คือ สมณกฤษฎีกาเรื่อง “การอบรมเพื่อเปนพระสงฆ” (Optatam
Totius) และสมณกฤษฎีกาเรื่อง “การปฏิบัติงานและชีวิตของพระสงฆ”
(Presbyterorum Ordinis) ระหวางการประชุมนี้ พระคารดินัล พระสังฆราช
อาจารย ผูใหการอบรม และผูเชี่ยวชาญ ไดเสนอขอมูลที่มีประโยชนใหแกการ
อภิปรายเกี่ยวกับการอบรมผูสมัครรับศีลบวช
หลังจากไดพิจารณาขอคิดเห็นและขอมูลที่ไดรับมาแลว สมณกระทรวง
พระสงฆไดจัดทําฉบับรางขึ้น ฉบับรางนี้ไดผานการตรวจสอบเปนอันดับแรก
จากที่ปรึกษาจํานวนหนึ่ง จากนั้นจึงนําเสนอตอหนวยงานตาง ๆ ขององคการ
ปกครองสวนกลางของพระศาสนจักรคาทอลิก (สํานักงานเลขาธิการแหงรัฐ
สมณกระทรวงพระสัจธรรม สมณกระทรวงพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ สมณ
กระทรวงพระสังฆราช สมณกระทรวงประกาศพระวรสารสูมวลชน สมณ
กระทรวงสถาบันนักพรตและองคการแพรธรรม สมณกระทรวงการศึกษาคาทอลิก
สมณกระทรวงเพื่อแตงตั้งนักบุญ สมณกระทรวงพระศาสนจักรตะวันออก และ
สมณกระทรวงเพื่อการออกกฎระเบียบใหตรงตามกฎหมายพระศาสนจักร)
ดวยจิตตารมณความรับผิดชอบรวมกันและความรวมมือ ซึ่งไดรับการสนับสนุน
จากมาตรา 17 ของสมณธรรมนูญ “ผูเลี้ยงแกะที่ดี”
เมื่อสิ้นสุดกระบวนการปรึกษาหารือนี้ และดวยขอเสนอแนะที่ไดรับ เราจึง
รางเอกสารขั้นสุดทายเสนอตอพระสันตะปาปาฟรังซิส เพื่อขออนุมัติตามมาตรา
18 ของ สมณธรรมนูญ “ผูเลี้ยงแกะที่ดี”
The Gift of the Priestly Vocation... 19
3. องคประกอบสําคัญที่มีลักษณะพิเศษและสาระพื้นฐาน
(Characteristic Elements and Fundamental Content)
เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับนี้บรรยายถึงการเดิน
ทางของการอบรมพระสงฆเริ่มตั้งแตการศึกษาในสามเณราลัย โดยระบุองค
ประกอบสําคัญ 4 ประการของการอบรม คือ 1. เปนการอบรมหนึ่งเดียว 2. แบบ
บูรณาการ 3. มีพื้นฐานในชีวิตหมูคณะ 4. มีจิตตารมณธรรมทูต
การอบรมพระสงฆหมายถึง “การเดินทางของศิษยพระคริสต” ซึ่งเริ่มตน
ตั้งแตรับศีลลางบาป และบรรลุถึงความสมบูรณอาศัยศีลกําลัง และศีลมหาสนิท
และกลายเปนศูนยกลางชีวิตของสามเณรเมื่อเริ่มตนการอบรมในสามเณราลัย
และสืบเนื่องตอไปจนตลอดชีวิต
เราตองมองการอบรมทั้งขั้นตน (Initial) และตอเนื่อง (Ongoing) ผาน
วิ สั ย ทั ศ น ที่ บู ร ณาการทั้ ง สี่ มิ ติ ข องการอบรมที่ เ สนอโดยสมณสาสน เ ตื อ นใจ
“เราจะมอบผูเลี้ยงแกะใหทาน” เมื่อมิติเหลานี้ประสานกันจะกอรางและสราง
อัตลักษณของสามเณรและพระสงฆ ทําใหเขาสามารถ “มอบตนเปนของขวัญ
สําหรับพระศาสนจักร” ซึ่งเปนแกนแทของความรักของผูอภิบาล (Pastoral
charity) ตลอดการเดินทางของการอบรมตองไมเนนเพียงมิติเดียวจนทําใหมิติ
อื่นถูกละเลยไป แตตองเปนการเดินทางแบบบูรณาการของศิษยที่ไดรับเรียกให
เปนพระสงฆ
การอบรมนี้มีลักษณะของชีวิตหมูคณะอยางชัดเจนตั้งแตตน อันที่จริง
กระแสเรียกพระสงฆเปนพระพรที่พระเจาประทานใหแกพระศาสนจักรและแก
โลก เปนเสนทางหนึ่งสําหรับบันดาลความศักดิ์สิทธิ์ใหแกตนเองและผูอื่น และ
ไมควรมีลักษณะของปจเจกนิยม แตตองมีจุดอางอิงเปนสวนหนึ่งของประชากร
ของพระเจาเสมอ กระแสเรียกดังกลาวจะถูกคนพบและไดรับการยอมรับภายใน
หมูคณะหนึ่ง กระแสเรียกนี้ไดรับการอบรมในสามเณราลัย ในบริบทของชีวิต
หมูคณะแหงการเรียนรูอันประกอบดวยสมาชิกตาง ๆ ของประชากรของพระเจา
20 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ชีวิตหมูคณะนี้นําทางสามเณรผูผานการรับศีลบวชใหกลายเปนสวนหนึ่งของ
“ครอบครัวสงฆ” ที่รับใชชุมชนหนึ่งโดยเฉพาะ ดวยความเคารพตอพระสงฆผู
ใหการอบรม เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับนี้ตองการยํ้าวา
เพือ่ ใหงานของเขามีประสิทธิผล เขาตองตระหนักวาตนเองเปนหมูค ณะการอบรม
ที่แทจริง เขาควรปฏิบัติเชนนั้นดวยการแบงปนความรับผิดชอบสวนรวมรวมกัน
โดยใสใจหนาที่และการงานที่สมาชิกแตละคนไดรับมอบหมาย
เนื่องจากสงฆศิษยพระคริสตนั้นมาจากชุมชนคริสตชน และจะถูกสงกลับ
ไปยังชุมชนเหลานั้นเพื่อรับใชและนําทางในฐานะผูอภิบาลคนหนึ่ง การอบรมจึง
มีลักษณะของธรรมทูตอยางชัดเจน เปาหมายคือการมีสวนรวมในพันธกิจหนึ่ง
เดียวที่พระคริสตเจาทรงมอบหมายใหแกพระศาสนจักรของพระองค คือ การ
ประกาศพระวรสารในทุกรูปแบบ
ความคิดพื้นฐานคือ สามเณราลัยควรอบรมสั่งสอนศิษยธรรมทูตซึ่ง
“ตกหลุมรัก” พระอาจารย ผูเลี้ยงแกะที่ “มีกลิ่นของแกะติดตัว” ผูอยูทามกลางฝูง
แกะเพื่อนําพระเมตตาของพระเจามามอบใหแกฝูงแกะ ดังนั้นพระสงฆทุกคน
ควรรูส กึ เสมอวาเขาเปนศิษยพระคริสตทกี่ าํ ลังเดินทาง และเขาใจไดวา เขาจําเปนตอง
ไดรับการอบรมแบบบูรณาการอยางสมํ่าเสมอ การอบรมนี้เปนการปรับเปลี่ยน
ตนเองอยางตอเนื่องใหเหมือนกับพระคริสตเจา
ภายในการอบรมแบบบูรณการและตอเนื่องหนึ่งเดียวนี้มีสองขั้น กลาวคือ
ขั้นตน และขั้นตอเนื่อง เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับนี้ แบง
การอบรมขั้นตนออกเปนขั้นตาง ๆ คือ ขั้นเตรียม (Propaedeutic stage) ขั้น
ศึกษาปรัชญาหรือขั้นการเปนศิษย (Study of philosophy or discipleship
stage) ขั้นศึกษาเทววิทยาหรือขั้นการปรับเปลี่ยนตนเอง (Study of theology
or configurative stage) และขั้นการอภิบาลหรือขั้นสังเคราะหกระแสเรียก
(Pastoral or vocational synthesis stage)
The Gift of the Priestly Vocation... 21
เมื่อมองในแงนี้ การเดินทางของการอบรมไดพัฒนาขึ้นในหลายวิถีทาง
นับตั้งแตเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับป 1970 ติดตามดวย
ระยะการทดลองและการพิสูจนที่เริ่มตนโดยสมัชชาพระสังฆราชป 1990 จึงมี
“ขั้นเตรียม” ซึ่งมีอัตลักษณและมีจุดประสงคเพื่อการอบรมเฉพาะตัว บัดนี้จึง
กลายเปนขั้นที่จําเปนและเปนภาคบังคับ
สําหรับ ขั้น “การเปนศิษย” (Discipleship) และ “การปรับเปลี่ยน
ตนเอง” (Configuration) คําศัพทเหลานี้ใชควบคูกับระยะของ “การศึกษา
ปรัชญา” และ “การศึกษาเทววิทยา” ซึ่งมีจุดมุงหมายใหใชเวลาศึกษาทั้งหมด
หกป [4] ยิ่งกวานั้น ควรเนนวามิติดานสติปญญา ซึ่งกําหนดใหศึกษาวิชาปรัชญา
และเทววิทยา ไมไดเปนปจจัยเดียวที่ตองคํานึงถึงเมื่อประเมินผลการเดินทาง
ของสามเณรที่สําเร็จในแตละขั้น และความกาวหนาในการศึกษาของสามเณร
มากกวานั้นผูใหการอบรมตองวินิจฉัย (Discernment) การอบรมทุกมิติรวมกัน
เพื่อใหสามเณรที่จะผานสูการศึกษาขั้นตอไป นอกจากไมเพียงผานการสอบ
ตาง ๆ ที่จําเปนเทานั้น แตตองบรรลุวุฒิภาวะความเปนมนุษยและกระแสเรียกที่
เรียกรองสําหรับแตละขั้นอีกดวย
ขั้นสุดทาย คือ “ขั้นการอภิบาล” (Pastoral) หรือ “ขั้นสังเคราะหกระแส
เรียก” (Vocational synthesis) มีจุดมุงหมายเพื่อใหความสําคัญโดยเฉพาะแก
ชวงเวลาระหวางการสิ้นสุดการอบรมในสามเณราลัยและการรับศีลบวชเปนพระ
สงฆ โดยมีจุดประสงคเพื่อชวยใหผูสมัครไดรับความเขาใจที่จาํ เปนเพื่อเตรียม
ความพรอมสําหรับรับศีลบวช
เห็นไดชัดวา การเปนศิษย และการปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับพระ
คริสตเจา จะตองดําเนินไปตลอดชีวิต คําวา “ขั้นการเปนศิษย” และ “ขั้นการ
ปรับเปลี่ยนตนเอง” มุงความสนใจเปนพิเศษไปที่สองชวงเวลาของการอบรมขั้น
ตน ในการตระหนักถึงการเปนศิษย และความจําเปนที่ตองเขาใจวากระแสเรียก
ที่นําไปสูศาสนบริการและชีวิตสงฆ เปนการปรับเปลี่ยนตนเองอยางตอเนื่องให
เหมือนกับพระคริสตเจา
22 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
สําหรับการอบรมตอเนื่อง โดยธรรมชาติแลวไมสามารถกําหนด “ขั้น”
แบบสําเร็จรูป เพราะเหตุผลนี้จึงกลาวถึงเฉพาะบางชวงเวลา บางสถานการณ
และเครื่องมือบางอยาง ซึ่งอาจมีประโยชนสําหรับพระสงฆ และบุคคลที่ทํางาน
ดานการอบรมตอเนื่อง เพื่อใหบุคคลเหลานี้มีประสบการณและเสนอกิจกรรม
การริเริ่มสรางสรรคที่เปนรูปธรรม
องคประกอบสําคัญอีกสวนหนึ่งของเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรม
พระสงฆ” ฉบับนี้ เชนเดียวกับในฉบับป 1970 คือ การจัดการศึกษา (Ordo
Studiorum) ซึ่งเสนอรายชื่อวิชาที่ตองรวมอยูในหลักสูตรการศึกษาของสามเณร
ระหวางขั้นตาง ๆ ภายในการอบรมมิติดานสติปญญาที่กวางขึ้น และตองนํามา
ใชทั้งหมดในสามเณราลัย และในบานอบรมตาง ๆ ที่เสนอหลักสูตรการศึกษา
ปรัชญาและเทววิทยาโดยมีกําหนดเวลาภายในหกป บานอบรมดังกลาวโดย
ธรรมชาติจะเสนอหลักสูตรสําหรับขั้นเตรียม และหลักสูตรที่เกี่ยวของโดยเฉพาะ
กับศาสนบริการ
ตัวบทของเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับนี้เสนอ
แนวทางสําหรับการอบรมประเภทตาง ๆ ไดแก เทววิทยา ชีวิตจิต วิชาครู
(ครุศาสตร) กฎหมายพระศาสนจักร รวมทั้งบรรทัดฐานที่แทจริง ซึ่งสะทอน
บรรทัดฐานของประมวลกฎหมายพระศาสนจักร และกําหนดลักษณะของการ
ประยุกตใชอยางชัดเจนยิ่งขึ้นดวย [5] เอกสารฉบับนี้ไมแยกแนวทางและบรรทัด
ฐานออกจากกันอยางเครงครัด แมวาแตละขอความระบุไวชัดเจนวาเปนขอบังคับ
หรือเปนคําแนะนํา แตสององคประกอบนี้ถูกนํามารวมไวในเอกสารฉบับนี้ เพื่อ
ทําใหตัวบทมีคุณคาเพิ่มพูนดวยขอพิจารณาและทัศนคติตาง ๆ
The Gift of the Priestly Vocation... 23
บทที่ 1
บรรทัดฐานทั่วไป (General Norms)
ก) ขอบเขตการบังคับใช (Sphere of Application)
1. เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับนี้ [6] ใหประยุกตใชทั้งหมด
ในประเทศที่อยูภายใตการปกครองของสมณกระทรวงพระสงฆ เนื่องจากสมณ
กฤษฎีกา “งานธรรมทูตแหงพระศาสนจักร” (Ad Gentes) ขอ 16 และสมณ
ธรรมนูญ “ผูเลี้ยงแกะที่ดี” มาตรา 88 วรรค 2 ใหประยุกตใชเพียงบางสวน
สําหรับอาณาเขตภายในการปกครองของสมณกระทรวงประกาศพระวรสาร
สูมวลชน แมวาหนวยงานนี้มีหนาที่ “อบรมพระสงฆสังฆมณฑล” ตามแนวทาง
และบรรทัดฐานของตน แตเอกสารฉบับนี้เปนบรรทัดฐานสําหรับ “แผนการศึกษา
ทั่วไป” ของประเทศที่อยูภายใตอํานาจของสมณกระทรวงประกาศพระวรสาร
สูมวลชนดวย ยิ่งกวานั้น ระบบการอบรมพระสงฆของสถาบันผูถวายตัวและคณะ
ชีวิตแพรธรรม [7] ซึ่งสถาบันเหลานี้ขึ้นอยูกับสมณกระทรวงสถาบันนักพรต
และองคการแพรธรรม และสมณกระทรวงประกาศพระวรสารสูมวลชน รวมทั้ง
สมณองคกรพระศาสนจักรของพระเจา ตราบใดที่เกี่ยวของกับ “สมาชิก
ผูกําลังเตรียมตัวรับศีลบวช” [8] คณะพระสงฆที่ไดรับสิทธิใหยอมรับเขาสังกัด
เปนพระสงฆได รวมทั้งสังฆองคกรเฉพาะบุคคล เขตปกครองของพระศาสนจักร
เพื่อการอภิบาลกองทัพ และเขตปกครองเฉพาะบุคคล [9] ตองปรับใหสอดคลองกับ
เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” โดยดัดแปลงตามความจําเปน
ดวยเหตุนี้ เมื่อกลาวถึงอํานาจปกครองของผูใหญพระศาสนจักร (ที่มีอํานาจ
ปกครอง : Ordinary) ใหหมายความรวมถึงอัคราธิการของสถาบันนักพรตและ
องคการแพรธรรมดวย เวนแตจะเห็นไดชัดเจนจากบริบทวาหมายถึงพระสังฆราช
ประจําสังฆมณฑล
24 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
บรรทัดฐานทีก่ าํ หนดในมาตรา 56 และ 58 วรรค 2 ของสมณธรรมนูญ “ผูเ ลีย้ ง
แกะที่ดี” ระบุวาเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” นี้ไมมีผลบังคับตอ
พระศาสนจักรคาทอลิกตะวันออก ที่อยูภายใตการปกครองของสมณกระทรวง
พระศาสนจักรตะวันออก ซึ่งตองกําหนดบรรทัดฐานของตนเองในประเด็นนี้
โดยพิจารณาจากมรดกทางพิธีกรรม เทววิทยา ชีวิตจิต และวินัยของตนเอง
บานอบรมพระสงฆของขบวนการและหมูคณะใหม ๆ ของพระศาสนจักร
ใหประยุกตใชเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับนี้ ควบคูกับ
เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” (Ratio Nationalis) ที่จัดทํา
ขึ้ น โดยสภาพระสั ง ฆราชของประเทศซึ่ ง เป น สถานที่ ก  อ ตั้ ง ของสถาบั น นั้ น
ภายใตอํานาจปกครองของพระสังฆราชประจําสังฆมณฑล สําหรับการศึกษา
สาขาปรัชญาและเทววิทยาใหอยูภายใตการปกครองของสมณกระทรวงการ
ศึกษาคาทอลิก นอกจากนี้ ใหสมณกระทรวงนี้รับผิดชอบในการประสานความ
รวมมือกับผูมีอํานาจหนาที่ [10] ยิ่งกวานั้น สมณกระทรวงนี้จะรับผิดชอบในการ
ประสานความรวมมือกับเจาหนาที่บานเมือง
2. สมณกระทรวงพระสงฆ ซึ่งรับผิดชอบหนวยงานกระแสเรียกพระสงฆ
(The Pontifical Work for Priestly Vocation) [11] “แสดงความหวงใยอยาง
เปนรูปธรรมของสันตะสํานักเกี่ยวกับการอบรมบุคคลที่ไดรับเรียกใหรับศีลบวช”
และตองรับผิดชอบชวยเหลือ “ทําใหพระสังฆราชมั่นใจวาในพระศาสนจักรของ
ทานมีการสงเสริมกระแสเรียกพระสงฆอยางขยันขันแข็งในทุกรูปแบบที่เปนไป
ได และใหสามเณรไดรับการศึกษาอบรมอยางเหมาะสมในสามเณราลัย และ
ใหการอบรมในมิติดานความเปนมนุษย ดานชีวิตจิต ดานขอคําสอนทางศาสนา
และดานการอภิบาล” [12]
ดวยวิธีนี้ สมณกระทรวงพระสงฆจะสงเสริมการอภิบาลกระแสเรียก โดย
เฉพาะกระแสเรียกพระสงฆ และเสนอหลักการและบรรทัดฐานสําหรับการอบรม
พระสงฆทั้งในขั้นเบื้องตนและตอเนื่องในชีวิตพระสงฆกับพระสังฆราชหรือสภา
พระสังฆราช
The Gift of the Priestly Vocation... 25
ข) การจัดเตรียมเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ”
(Preparation of the Ratio Nationalis)
3. สภาพระสังฆราชแตละแหงตองจัดทําเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆ
ระดับชาติ” ของตนเอง โดยใชเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ”
ฉบับนีเ้ ปนพืน้ ฐาน โดยใหสอดคลองกับสมณกฤษฎีกา “การอบรมเพือ่ เปนพระสงฆ”
ขอ 1 และประมวลกฎหมายพระศาสนจักร มาตรา 242 วรรค 1 และตอง
ไดรับความเห็นชอบจากสมณกระทรวงนี้ หลังจากไดฟงความคิดเห็นของสมณ
กระทรวงการศึ ก ษาคาทอลิ ก ในประเด็ น ที่ อ ยู  ภ ายใต อํ า นาจของสมณ
กระทรวงดังกลาว ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหมนั่ ใจวาโปรแกรมการศึกษาสอดคลองและกลมกลืน
กับโปรแกรมการศึกษาของแตละประเทศ
เมื่อมีความจําเปนตองทําการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในตัวบทของเอกสาร
“ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” ที่ไดรับอนุญาตแลว เนื่องจากมีพัฒนาการ
ใหม ๆ ที่ไมคาดคิด อาจมีการแกไขตัวบทโดยยื่นขออนุญาตจากสมณกระทรวง
พระสงฆอีกครั้งหนึ่ง เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” จะตอง
ไดรับการทบทวนจากคณะกรรมการผูมีอํานาจของสภาพระสังฆราชผูไดสั่งสม
ประสบการณมานาน หรือเมื่อครบระยะเวลาใด ๆ ที่กําหนดไว และควรยื่นขอ
อนุญาตอีกครั้งหนึ่งจากหนวยงานนี้ การทบทวนและการขออนุญาตหลังจากนั้น
สามารถกระทําและตองกระทําเปนระยะ เมื่อใดที่สภาพระสังฆราชคิดวาจําเปน
หรือเมื่อสมณกระทรวงพระสงฆคิดวาเปนเวลาที่เหมาะสม [13]
4. สิทธิและหนาที่ในการจัดเตรียมเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับ
ชาติ” รวมทั้งการใหอนุญาตพัฒนาการใด ๆ โดยเฉพาะภายในอาณาเขตปกครอง
ของสภาพระสังฆราช หรือภูมิภาคนั้น ถาเหมาะสมและมีประโยชนที่จะดําเนิน
การ จะเปนสิทธิและหนาที่ของสภาพระสังฆราช และมิใชของพระสังฆราชคนใด
คนหนึ่ง [14]
26 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
สามเณราลัยทุกแหงในประเทศ ทั้งในสังฆมณฑลหรือระหวางสังฆมณฑล
(Interdiocesan seminaries) จะตองปฏิบัติตามบรรทัดฐานของระบบการ
อบรมดังกลาว [15] และการประยุกตใชเฉพาะของแตละสถาบันตองนําเขา
สูระเบียบขอบังคับ (Statutes) วินัยชีวิต (Rule of Life) และโปรแกรมอบรม
(Programme of Formation) ดวย [16]
5. เพื่อสนับสนุนการเสวนา (Dialogue) อยางตอเนื่องระหวางสันตะ
สํานักและแตละพระศาสนจักร อันเปนเครื่องหมายของความใกลชิด และเพื่อ
ขอรับคําแนะนําและการสนับสนุน สามเณราลัยระหวางสังฆมณฑลตองสง
รายงานเกี่ยวกับกิจกรรมอบรมเสนอตอสมณกระทรวงพระสงฆ ตามที่ไดกําหนด
ไวในกฎระเบียบของสามเณราลัยนั้น ๆ
The Gift of the Priestly Vocation... 27
ค) ความรับผิดชอบของสภาพระสังฆราช
(Responsibilities of the Conferences of Bishops)
6. เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” ปกปองอํานาจหนาที่
ของพระสังฆราชประจําสังฆมณฑล โดยพยายามจัดการอบรมพระสงฆทั้งประเทศ
ใหเปนหนึ่งเดียวกัน ดังนั้นจึงสงเสริมการเสวนาระหวางพระสังฆราชและบรรดา
ผูใหการอบรมพระสงฆ เพื่อประโยชนทั้งของสามเณรและสามเณราลัย [17]
7. เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” ตองอางอิงมิติตาง ๆ
ของการอบรมผูสมัครเขารับการอบรมเปนพระสงฆที่นําเสนอในเอกสารฉบับนี้
ในลักษณะที่ชวยใหผูสมัครไดรับการอบรมอยางมีบูรณาการ และไดรับการ
เตรียมพรอมอยางเหมาะสมสําหรับรับมือกับความทาทายตาง ๆ ในยุคสมัยของเรา
เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” ตองระบุขั้นตอนตาง ๆ ของการ
อบรมและโปรแกรมการศึกษา วัตถุประสงคและระยะเวลาของการศึกษา โดย
ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของกฎหมายสากล วิสัยทัศนของเอกสาร “ระบบการ
อบรมพระสงฆระดับชาติ” เกี่ยวกับการศึกษาสําหรับเปนพระสงฆ จําเปนตองมี
ความสอดคลองกลมกลืนกันสําหรับทั้งประเทศ แตในขณะเดียวกันก็ตองคํานึง
ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่อาจมีอยูดวย
เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” แตละฉบับ ตองแสดงออก
ถึงสิ่งที่คาดหมายไวในเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” และทําให
บังเกิดผลในบริบทของตน และควรประกอบดวยองคประกอบตอไปนี้
ก. อย า งน อ ยต อ งมี คํ า อธิ บ ายโดยสั ง เขปเกี่ ย วกั บ บริ บ ททางสั ง คม
วัฒนธรรม และพระศาสนจักร ซึ่งพระสงฆในอนาคตจะตองพบเมื่อ
เขาปฏิบัติศาสนบริการของเขา
ข. บทสรุปของขอตกลงใด ๆ ของสภาพระสังฆราช เกี่ยวกับการจัดการ
อยางเปนระบบของสามเณราลัยในประเทศนั้น ๆ
28 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ค. หลักฐานอางอิงเกี่ยวกับการอภิบาลกระแสเรียกและเครื่องมือสําหรับ
ใชอภิบาลที่มีอยู
ง. การอธิบายขัน้ ตาง ๆ ของการอบรม ในบริบทของสถานการณเฉพาะ
ของประเทศนั้น ๆ
จ. การอธิบายวิธีการที่จะใชในการอบรมมิติตาง ๆ (มิติดานความเปน
มนุษย ดานชีวิตจิต ดานสติปญญา และดานการอภิบาล)
ฉ. โปรแกรมการศึกษาอบรมขั้นเตรียม ขั้นศึกษาวิชาปรัชญา และขั้น
ศึกษาวิชาเทววิทยา รวมถึงการนําเสนอวิชาตาง ๆ พรอมกับระบุ
วัตถุประสงค และเนื้อหาสาระของแตละวิชา รวมทั้งหนวยกิตที่
ตองใชสําหรับแตละสาขาวิชา
8. ในการจัดเตรียมเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” สภา
พระสังฆราชแตละแหงควรใหความสนใจอยางเพียงพอกับลักษณะ และความ
ตองการโดยเฉพาะของสภาพแวดลอมทางสังคมและการศึกษาของตน ยิ่งกวานั้น
ควรสนับสนุนใหมีการรวมมือกันระหวางเขตปกครองตาง ๆ ของพระศาสนจักร
ในพื้นที่นั้น โดยใหความสนใจกับสภาวะแวดลอมในพื้นที่ เพื่อรับประกันวา
โปรแกรมอบรมนั้นจะดีที่สุดเทาที่เปนไปไดสําหรับสามเณราลัยทั้งขนาดใหญ
และขนาดเล็ก
ดวยวิจารณญาณอันรอบคอบของสภาพระสังฆราช แนวทางของการราง
และการแกไขปรับปรุงเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” ขึ้นอยูกับ
กระบวนการตอไปนี้ กอนอื่น สภาพระสังฆราชโดยบุคคลที่ไดรับแตงตั้งใหทํางานนี้
อาจหารือกับสามเณราลัยโดยตรง และองคกรระดับชาติของสามเณราลัยดวย
จากนั้นสภาพระสังฆราชจึงมอบหมายการจัดทําตัวบทพื้นฐานใหแกคณะกรรมการ
พระสงฆและสามเณราลัยของสภาพระสังฆราช ในที่สุดสภาพระสังฆราชตอง
ดําเนินการรางตัวบทสุดทาย ดวยจิตตารมณของหมูคณะและความรวมมือกัน
The Gift of the Priestly Vocation... 29
ง) องคกรสามเณราลัยระดับชาติและระดับทวีป
(National and International Seminary Organisations)
9. การสนับสนุนใหกอตั้งองคกรสามเณราลัยระดับสูงกวาสังฆมณฑล (Supra-
diocesan Seminary Organisations) เมื่อใดที่สถานการณเอื้ออํานวยให
กอตั้งได หรือในสถานที่ซึ่งไดริเริ่มกิจกรรมนี้แลว อันที่จริงองคกรในลักษณะนี้
สามารถเสนอความชวยเหลือที่เปนประโยชน เพราะสามารถเปนชองทางสื่อสาร
และความรวมมือระหวางผูใหการอบรมพระสงฆที่ทํางานในสถาบันตาง ๆ องคกร
เหลานี้สามารถสงเสริมการวิเคราะหและการพัฒนาประสบการณดานการศึกษา
และวิธีการสอนที่เหมือนกันในระดับภูมิภาค หรือการแลกเปลี่ยน และเปรียบเทียบ
ขอมูลในระดับสากลได
สมาชิกขององคกรประเภทนี้จะเลือกมาจากผูใหการอบรมของสถาบัน
ตาง ๆ เปนเรื่องสําคัญที่องคกรเหลานี้ตองทํางานภายใตการแนะนําของคณะ
กรรมการพระสงฆและสามเณราลัยของสภาพระสังฆราช ไมวาในกรณีใดและ
ดวยจิตตารมณแหงความสนิทสัมพันธในพระศาสนจักร เปนหนาที่ของสมณ
กระทรวงพระสงฆที่จะกอตั้งองคกรดังกลาวขึ้นในระดับสากล ในขณะที่สภา
พระสังฆราช หรือองคกรตาง ๆ ของสภาพระสังฆราช (เชน สมาพันธพระสังฆราช
แหงลาตินอเมริกา (CELAM) สมาพันธพระสังฆราชแหงยุโรป (CCEE) สมาพันธ
พระสังฆราชแหงเอเชีย (FABC) เปนตน) มีหนาที่กอตั้งองคกรที่ทํางานภายใน
อาณาเขต หรือทวีปของตน หลังจากไดหารือกับหนวยงานนี้แลว และอนุมัติกฎ
ขอบังคับขององคกรเหลานี้ โดยเคารพตออํานาจปกครองของพระสังฆราชของ
แตละสังฆมณฑลและสภาพระสังฆราช
ดังที่ไดเกิดขึ้นแลวในบางภูมิภาค องคกรดังกลาวจะชวยไดมากในเขตพื้นที่
ทีเ่ ขาดูแล ในการสงเสริมหลักสูตรสําหรับผูใหการอบรม และเวลาสําหรับศึกษา
หัวขอตาง ๆ ที่เชื่อมโยงกับกระแสเรียกและการอบรมพระสงฆ ผลของความริเริ่ม
เหลานี้จึงอาจจะสามารถเปนประโยชนแกสภาพระสังฆราชที่เกี่ยวของ [18]
30 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
จ) โปรแกรมการอบรมสําหรับสามเณราลัยแตละแหง
(The Programme of Formation for each Seminary)
10. พระสังฆราชประจําสังฆมณฑล (หรือพระสังฆราชที่เกี่ยวของ ใน
กรณีที่เปนสามเณราลัยระหวางสังฆมณฑล) ที่ไดรับความชวยเหลือจากหมู
คณะผูใหอบรมของสามเณราลัย มีหนาที่พัฒนาโปรแกรมของ “การอบรมแบบ
บูรณาการ” ซึ่งเรียกอีกชื่อหนึ่งวาแผนการเดินทางของการอบรม (Formation
itinerary) และการสงเสริมใหนําแผนนี้มาปฏิบัติ [19] โดยคํานึงถึงขั้นที่แตก
ตางกัน และระยะเวลาในการสอน (The pedagogical journey) ที่กําหนดไว
ภายในโปรแกรมนั้น เมื่อยึดถือเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” เปน
จุดอางอิง โปรแกรมอบรมพระสงฆนี้มีจุดมุงหมายที่จะปฏิบัติตามบรรทัดฐาน
ของเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” และวิสัยทัศนในการสอน
(The pedagogical vision) ที่เปนแรงบันดาลใจใหแกบรรทัดฐานเหลานี้ โดย
สอดคลองกับสภาพแวดลอม และความตองการของพระศาสนจักรนั้น ๆ และ
โดยคํานึงถึงภูมิหลังทางวัฒนธรรมของสามเณรทั้งหลาย สภาพความเปนจริง
ของงานอภิบาล และ “ธรรมเนียมการอบรม” ของสังฆมณฑลนั้น
The Gift of the Priestly Vocation... 31
บทที่ 2
กระแสเรียกพระสงฆ (Priestly Vocations)
ก) หลักการทั่วไป (General Principles)
11. กระแสเรียกในพระศาสนจักรเปนการแสดงใหเราเห็นความไพบูลย
สุดที่จะหยั่งรูไดของพระคริสตเจา (เทียบ อฟ 3:8) ดังนั้นจึงตองใหเกียรติ
อยางสูงสุดและบมเพาะกระแสเรียกดวยความขยันหมั่นเพียรและเอาใจใส เพื่อให
กระแสเรียกเหลานี้ผลิบานและเติบโตเต็มที่ ในบรรดากระแสเรียกมากมายที่
พระจิตเจาทรงดลใจอยางไมหยุดหยอนในประชากรของพระเจา กระแสเรียก
พระสงฆทรงเรียกบุคคลหนึ่งให “มีสวนรวมในสังฆภาพของพระคริสตเจา” [20]
และเปนหนึ่งเดียวกับพระองค “เพื่อเลี้ยงดูพระศาสนจักรในพระนามของ
พระคริสตเจาดวยพระวาจาและพระหรรษทานของพระเจา” [21] กระแสเรียกนี้
เกิดขึ้นในสถานการณตาง ๆ และในชวงระยะเวลาที่แตกตางในชีวิตมนุษย
ทั้งในวัยรุน วัยผูใหญ และแมแตในวัยเด็กดังที่เห็นไดเสมอในประสบการณ
ของพระศาสนจักร
12. กระแสเรียกสูสังฆภาพแหงศีลบวช (Ministerial priesthood)
เกิดขึ้นภายในขอบเขตที่กวางกวาของกระแสเรียกในศีลลางบาปของคริสตชน
ซึ่งทําใหประชากรของพระเจา “ที่พระคริสตเจาทรงสถาปนาขึ้นใหเปน ชีวิตสนิท
สัมพันธ ความรัก และความจริง (...) และพระองคทรงใชเปนเครื่องมือสําหรับไถ
กูมนุษยทุกคน และทรงสงออกไปทั่วโลก ใหเปนแสงสวางสองโลกและเกลือดอง
แผนดิน” (เทียบ มธ 5:13-16) [22]
13. พันธกิจของพระศาสนจักร คือ “ดูแลการกําเนิด การวินิจฉัยกระแส
เรียก และดูแลหลอเลี้ยงกระแสเรียกใหเติบโตสมบูรณ โดยเฉพาะกระแสเรียก
การเปนพระสงฆ” [23] พระศาสนจักรยินดีรับฟงเสียงของพระคริสตเจา ผูทรง
ขอใหเราทุกคนภาวนาวอนขอพระเจาผูทรงเปนเจาของนา ใหสงคนงานมา
32 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
เก็บเกี่ยวขาวของพระองค (เทียบ มธ 9:38; ลก 10:2) พระศาสนจักรจึงให
ความสนใจเปนพิเศษตอกระแสเรียกสําหรับผูถวายตัวและพระสงฆ และจําเปน
ตองจัดตั้งและสงเสริมสนับสนุนศูนยสงเสริมกระแสเรียก (Vocations Offices)
[24] ขึน้ ในสังฆมณฑล ในภูมภิ าคและในประเทศตาง ๆ เพือ่ ใหรว มมือกับหนวยงาน
กระแสเรียกพระสงฆของสันตะสํานัก (Pontifical Work for Priestly Vocations)
เพราะไดรบั เรียกใหสนับสนุนและกําหนดทิศทางการอภิบาลกระแสเรียกตาง ๆ [25]
และจัดหาทรัพยากรทีจ่ าํ เปนตองใช [26] พระสังฆราชซึง่ เปนบุคคลแรกทีร่ บั ผิดชอบ
กระแสเรียกพระสงฆ ควรสนับสนุนใหเกิดความรวมมือกันระหวางพระสงฆ ผู
ถวายตัว และฆราวาส (โดยเฉพาะบิดามารดา และครูอาจารย) และควรสงเสริม
ความรวมมือระหวางกลุมบุคคล ขบวนการ และสมาคมตาง ๆ ของฆราวาส
ภายในแผนอภิบาลโดยรวม [27]
14. ควรใหการสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ ที่สามารถสงเสริมพระพรแหง
กระแสเรียกใหมที่มาจากพระเจา เหนือสิ่งอื่นใดสงเสริมการภาวนาสวนตัวและ
ของหมูคณะ บางชวงเวลาที่กําหนดในปพิธีกรรมที่เหมาะสมสําหรับจุดประสงคนี้
โดยเฉพาะ และผูมีอํานาจในพระศาสนจักรตองกําหนดวันสําหรับการเฉลิมฉลอง
พิธีกรรมอยางมีความหมายพิเศษ เมื่อหลายปกอน พระสันตะปาปาทรงกําหนด
วันอาทิตยที่สี่ในเทศกาลปสกา ซึ่งเรียกกันวาวันอาทิตยฉลองผูเลี้ยงแกะที่ดี ให
เปนวันภาวนาเพื่อกระแสเรียกทั่วโลกในแตละป นอกจากนี้ยังควรสนับสนุน
กิจกรรมที่ตั้งเปาหมายเพื่อสรางบรรยากาศที่เกื้อกูลชีวิตจิต และเตรียมมนุษย
คนหนึ่งใหพรอมสําหรับการวินิจฉัยกระแสเรียกพระสงฆ [28]
เมื่อเขาใจดังนี้ การอภิบาลกระแสเรียกจึงมีเปาหมายที่ผูชายในกลุมอายุ
ตาง ๆ ในปจจุบันเมื่อไดเห็นการเจริญเติบโตมีวุฒิภาวะของกระแสเรียกในตัว
บุคคลที่มีประสบการณในการทํางานอยางหนึ่งหรือมากกวานั้นมาแลว [29] พระ
ศาสนจักรจึงเห็นความจําเปนที่จะใหความสนใจกับคนในกลุมอายุนี้
15. ดวยความใจกวางและจิตตารมณของพระศาสนจักร จึงควรสงเสริม
กระแสเรียกไมเพียงสําหรับสังฆมณฑล หรือประเทศของตนเทานั้น แตควรเห็น
The Gift of the Priestly Vocation... 33
แกประโยชนของพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นอื่นดวยตามความตองการของพระ
ศาสนจักรสากล เราควรรวมมือกับพระหรรษทานของพระเจา ซึ่งเรียกบางคนให
ทํางานศาสนบริการของพระสงฆในพระศาสนจักรเฉพาะถิ่น และเรียกคนอื่น ๆ
ใหทํางานศาสนบริการในสถาบันผูถวายตัว หรือในคณะชีวิตแพรธรรม และเรียก
บางคนใหทํางานพันธกิจสูปวงชน (Missio ad gentes) ดังนั้นพระศาสนจักร
จึงปรารถนาอยางยิ่งใหมีหนวยงานอภิบาลกระแสเรียก (The pastoral care
of vocations) ในทุกสังฆมณฑล ซึ่งเปนการแสดงความรวมมือและเอกภาพ
ระหวางสถาบันสงฆสังฆมณฑล และพระสงฆที่เปนสมาชิกในองคกรอื่น ๆ ที่พระ
ศาสนจักรรับรอง [30]
ข) บานเณรเล็ก และรูปแบบตาง ๆ ของการเดินเคียงขางบรรดาเยาวชน
(Minor Seminaries and Other Forms of Accompaniment for Adolescents)

16. การอภิบาลกระแสเรียกมุงที่จะใหการยอมรับและเดินเคียงขางการ
ตอบรับเสียงเรียกภายในของพระเจา กระบวนการนี้ตองสงเสริมใหบุคคลนั้นเติบโต
ทั้งคุณสมบัติดานความเปนมนุษยและคุณสมบัติดานชีวิตจิตของบุคคล และ
ตรวจสอบแรงจูงใจตาง ๆ ที่แทจริงของเขา ดวยเหตุผลเหลานี้ พระศาสนจักร
เฉพาะถิ่นแตละแหง ในความสัมพันธกับสภาพแวดลอม วิธีการตาง ๆ ที่
เหมาะสม และประสบการณที่สั่งสมมา ควรสนับสนุนสถาบันตาง ๆ ที่มี
ความสามารถในการสงเสริมและวินจิ ฉัยกระแสเรียกพระสงฆ โดยคํานึงถึงทัง้ วัย
และเงื่อนไขเฉพาะของบุคคลที่จะเขามารับการอบรมในสถาบันเหลานั้น
17. ประมวลกฎหมายพระศาสนจักรระบุวา “บานเณรเล็ก [31] และสถาบัน
อื่น ๆ ที่คลายกัน จะตองไดรับการทํานุบํารุงใหคงอยูตอไปในที่ใดที่มีอยูแลวและ
สนับสนุนสงเสริม เพื่อบมเพาะกระแสเรียก สถาบันเหลานี้จะใหการอบรมดาน
ศาสนาเปนพิเศษ รวมทั้งการอบรมสั่งสอนพรอมกับใหการศึกษาดานมนุษยศาสตร
และศาสตรตาง ๆ ที่ใดพระสังฆราชวินิจฉัยวาเหมาะสมเปนประโยชน ทานก็ควร
ใหมีการกอตั้งบานเณรเล็กหรือสถาบันคลายกันขึ้น” [32]
34 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
18. จุดประสงคของบานเณรเล็ก คือ ชวยพัฒนาความเปนมนุษยและ
ความเปนคริสตชนใหเติบโตขึ้นในตัวของเยาวชน [33] ที่แสดงใหเห็นวาในตัว
เขามีเมล็ดพันธุของกระแสเรียกพระสงฆ และพัฒนาใหเหมาะกับวัยของพวก
เขา กลาวคือ ใหพวกเขามีอิสรภาพภายใน ซึ่งพวกเขาสามารถใชเพื่อตอบสนอง
แผนการที่พระเจาทรงเตรียมไวสําหรับชีวิต
ในสถานที่ที่ไมมีบานเณรเล็ก พระศาสนจักรทองถิ่นแตละแหงไดรับหนาที่
สําคัญในการจัดใหมีการเดินเคียงขางบรรดาเยาวชน ดวยการสงเสริมกระแส
เรียกแนวทางใหม ๆ และการทดลองกิจกรรมอภิบาลกระแสเรียกอยางสรางสรรค
เพื่อชวยเหลือและนําทางการเจริญเติบโตทั้งในดานความเปนมนุษยและดาน
ชีวิตจิตของพวกเขา ตัวอยางที่อาจระบุไดคือ กลุมกระแสเรียกเยาวชน (Youth
vocations groups) หมูคณะเพื่อการวินิจฉัยกระแสเรียก (Communities for
vocational discernment) วิทยาลัยคาทอลิก และองคกรเยาวชนอื่น ๆ [34]
19. บานเณรเล็กตองพิจารณาคุณสมบัติของเด็กหนุมควบคูกับ “เครื่องหมาย
ของกระแสเรียก” ที่เจาะจง เพื่อที่จะประเมินอยางเปนรูปธรรม จะเปนประโยชน
อยางมากถาสามารถเปดเผยประสบการณที่ผานมาในอดีต เพื่อยืนยันชีวิตแหง
ความเชื่อของเด็กหนุม ตัวอยาง คือ ความผูกพันฝายจิตกับพระสงฆองคหนึ่ง การ
รับศีลศักดิ์สิทธิ์บอย ๆ จุดเริ่มตนของชีวิตภาวนา ประสบการณกับพระศาสนจักร
ระดับชุมชนวัดหรือกลุมคริสตชน ขบวนการและสมาคมตาง ๆ การมีสวนรวมใน
กิจกรรมสงเสริมกระแสเรียกที่สังฆมณฑลจัดขึ้น การรับทํางานบางอยางเพื่อรับ
ใชพระศาสนจักรที่เขาเปนสมาชิก นอกจากนี้ยังจําเปนตองพิจารณาคุณสมบัติ
ตาง ๆ ของมนุษย ซึ่งถาพัฒนาอยางเหมาะสม จะชวยเด็กหนุมใหพัฒนาสูวุฒิ
ภาวะกระแสเรียก (Vocational maturity) ดังนั้นผูใหการอบรมจึงตองตรวจ
สอบความเหมาะสมโดยรวมของผูที่จะเปนผูสมัคร (ทั้งดานชีวิตจิต ดานสุขภาพ
กาย ดานสุขภาพจิต ดานศีลธรรม และดานสติปญญา)
The Gift of the Priestly Vocation... 35
20. ระหวางการเดินทางแหงกระแสเรียกในบานเณรเล็ก จําเปนตอง
คํานึงถึงพลวัตของการเจริญเติบโตของบุคคลนั้นอยางเหมาะสมกับวัยของพวก
เขา และใสใจเปนพิเศษกับดานตอไปนี้ คือ ความจริงใจ และความซื่อสัตยตอ
ตนเองและผูอื่น พัฒนาการดานอารมณความรูสึกที่คอย ๆ เติบโต การเปดตน
ที่จะเจริญชีวิตในหมูคณะ ความสามารถสรางมิตรภาพฉันพี่นอง สํานึกความรับ
ผิดชอบเกี่ยวกับหนาที่ของตนและงานที่ไดรับมอบหมาย ความคิดสรางสรรค
และความคิดริเริ่ม การแสดงออกถึงอิสรภาพอยางถูกตอง การเปดใจใหกับการ
เดินทางของการภาวนาและการพบปะกับพระคริสตเจา
21. เพื่อสรางประสบการณความสัมพันธกับพระเยซูเจา เด็กหนุมเหลานี้
ควรเรียนรูที่จะเจริญชีวิตและพัฒนาความซื่อสัตยตอองคพระผูเปนเจา โดยไดรับ
การคํ้าจุนจากการภาวนาและพละกําลังของพระจิตเจา ดวยวิธีนี้พวกเขาจะ
เติบโตสูการรับใชอยางถอมตนหมายถึงความพรอมที่จะรับใชผูอื่นและใสใจตอ
ความดีสวนรวม ความนบนอบเชื่อฟงคือการเจริญชีวิตดวยการฟงอยางไววางใจ
ความบริสุทธิ์ของเยาวชนซึ่งเปนเครื่องหมายของความชัดเจนของความสัมพันธ
และการมอบตนเองเปนของขวัญ และความยากจนอันเปนการอบรมใหรูจักใช
วัตถุสิ่งของอยางพอเหมาะพอควรและการใชชีวิตอยางเรียบงาย
องคประกอบสําคัญของการอบรมดานชีวิตจิตนี้คือ ชีวิตดานพิธีกรรม
และศีลศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเยาวชนตองมีสวนรวมอยางมีสติมากขึ้น ตามวัยของเขา
ขณะที่เขาเติบโตขึ้น องคประกอบสําคัญอีกประการหนึ่งคือความศรัทธาภักดี
ตอพระนางมารีย และกิจศรัทธาอื่น ๆ ที่เขาปฏิบัติทุกวันหรือเปนครั้งคราว เชน
เดียวกับเรื่องอื่น ๆ ซึ่งกําหนดไวในพระวินัยของสามเณราลัยแตละแหง
22. เยาวชนควรไดรับการศึกษาตามขอบังคับของประเทศของพวกเขา
เพื่อเขามหาวิทยาลัย [35] ยิ่งกวานั้น พวกเขาควรพยายามศึกษาเพื่อใหไดวุฒิ
การศึกษาที่รัฐรับรอง ซึ่งจะเปดโอกาสใหพวกเขามีอิสรภาพและความเปนไป
ไดที่จะเลือกสถานะชีวิตอื่น หากปรากฏวาพวกเขาไมไดรับกระแสเรียกใหเปน
พระสงฆ สามเณราลัยควรเสนอการศึกษาดานอื่น ๆ เสริมดวย เชน วัฒนธรรม
36 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ศิลปะ และกีฬา เปนตน การศึกษาเหลานี้ควรดําเนินการภายในโรงเรียนของ
สามเณราลัยเอง หรือในโรงเรียนคาทอลิกอื่น หรือในสถานที่อื่น
23. เนื่องจากการศึกษาอบรมที่ทาทายเปนสิ่งสําคัญและจําเปนในชวงวัยรุน
เพราะอัตลักษณของเด็กหนุมจะเริ่มเจริญเติบโตเต็มที่ จึงตองมีผูเดินเคียงขาง
พวกเขา โดยผูใหการอบรมที่เขาใจสิ่งที่เยาวชนตองการ เปนครูที่ดี และเปน
พยานของพระวรสาร ผูใหการอบรมควรสามารถทํางานรวมกับบิดามารดา ผูมี
บทบาทสําคัญในกระบวนการเติบโตของบุตรชายของเขาในชวงชีวิตนี้มากกวา
ชวงอื่นใด พวกเขาควรไดรับการสนับสนุนและมีสวนรวมกับชุมชนในเขตวัด
ของพวกเขาดวย ยิ่งกวานั้น ผูใหการอบรมควรดูแลใหสามเณรรักษาความ
สัมพันธกับครอบครัวของพวกเขา และเพื่อนวัยเดียวกันในระดับที่เหมาะสม
ความสัมพันธเหลานี้จะชวยใหพวกเขาพัฒนาสุขภาพจิตที่ดี โดยเฉพาะในดาน
อารมณ
ค) กระแสเรียกในวัยผูใหญ (Mature Vocations)
24. ผูที่คนพบกระแสเรียกพระสงฆในวัยผูใหญ จะมาพรอมกับบุคลิกภาพ
ที่พัฒนามากกวา และเสนทางชีวิตที่ประกอบดวยประสบการณตาง ๆ ขบวนการ
ขั้นตนกอนจะรับเขาสามเณราลัย คนเหลานี้ควรเขาโปรแกรมอบรมดานชีวิตจิต
และดานพระศาสนจักร ซึ่งจะวินิจฉัยแรงจูงใจของเขาอยางจริงจังในการตอบสนอง
กระแสเรียก
เราจําเปนตองประเมินชวงเวลาระหวางการรับศีลลางบาป หรือการกลับใจ
มาเปนคริสตชน และการเขาสูสามเณราลัย [36] เพราะไมใชเรื่องแปลกที่พวกเขา
จะรูสึกสับสนระหวางการติดตามพระคริสตเจา และการเรียกใหเปนศาสนบริกรสงฆ
เชนเดียวกับกรณีของสามเณรอื่น ๆ ผูสมัครเหลานี้ควรมีผูเดินเคียงขาง
ในการเดินทางทุกมิติและจริงจัง ซึ่งควรประกอบดวย การอบรมดานชีวิตหมูคณะ
ดานชีวิตจิต และความรูดานเทววิทยาอยางหนักแนน [37] โดยใชวิธีอบรมสั่งสอน
The Gift of the Priestly Vocation... 37
ทีเ่ หมาะสม โดยคํานึงถึงประวัตสิ ว นตัวของผูส มัครแตละคนดวย สภาพระสังฆราช
มีอํานาจกําหนดบรรทัดฐานที่เหมาะสมสําหรับสถานการณในประเทศของตน
โดยประเมินวาควรกําหนดขอบเขตอายุของผูสมัคร และพิจารณาวาจะกอตั้ง
สามเณราลัยแยกตางหากสําหรับผูสมัครเหลานี้หรือไม [38]
ง) กระแสเรียกที่เกิดขึ้นทามกลางชนพื้นเมือง
(Vocations Arising among Indigenous Peoples)
25. “ควรใสใจเปนพิเศษกับกระแสเรียกในหมูป ระชากรพืน้ เมือง คนเหลานี้
ตองไดรับการอบรมที่คํานึงถึงวัฒนธรรมของพวกเขา ผูสมัครเปนพระสงฆเหลานี้
ตองไมสญู เสียรากเหงาทีม่ อี ยูใ นวัฒนธรรมของตนเอง ขณะรับการอบรมทีเ่ หมาะสม
ดานเทววิทยาและชีวิตจิตสําหรับศาสนบริการในอนาคต” [39] การมีอยูของ
กระแสเรียกดังกลาวเปนสวนประกอบสําคัญที่แสดงวาพระวรสารสามารถเขาถึง
วัฒนธรรมในภูมภิ าคเหลานี้ และเราควรเคารพความมัง่ คัง่ ของวัฒนธรรมของพวกเขา
อยางเหมาะสม เราสามารถใหความชวยเหลือดานกระแสเรียกดวยภาษาทองถิ่น
เมื่อจําเปน โดยใหความชวยเหลือในบริบทของวัฒนธรรมทองถิ่น
จ) กระแสเรียกและผูอพยพยายถิ่น (Vocations and Migrants)
26. การอพยพยายถิ่นกลายเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นทั่วไปดวยเหตุผล
ที่หลากหลาย ทั้งดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และศาสนา [40] ชุมชนคริสต
ชนตองดูแลอภิบาลครอบครัวผูยายถิ่นที่ทํางานในประเทศของพวกเขาเป น
ระยะเวลาชวงหนึ่งอยางสมํ่าเสมอ ครอบครัวเหลานี้เปนทรัพยากรมีคาสําหรับ
ชุมชนคริสตชน กระแสเรียกพระสงฆอาจเกิดขึ้นภายในครอบครัวเหลานี้ ซึ่งตอง
ไดรับการดูแลดวยการเดินเคียงขาง โดยคํานึงถึงความจําเปนในการบูรณาการ
ดานวัฒนธรรมทีละนอย [41]
38 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
27. นอกจากนี้ยังมีบุคคลที่รูสึกวาพระเจาทรงเรียก และละทิ้งประเทศของ
ตนเพื่อเขารับการอบรมเปนพระสงฆในประเทศอื่น เราจําเปนตองใสใจประวัติ
สวนตัวและภูมิหลังที่เขาจากมา และตองประเมินอยางรอบคอบถึงแรงจูงใจ
ตาง ๆ ที่เลือกกระแสเรียกนี้ ดวยการติดตอกับพระศาสนจักรในถิ่นกําเนิดของเขา
ถาทําได ไมวาในกรณีใด ระหวางกระบวนการอบรม เราจําเปนตองคนหาวิถีทาง
ที่จะสนับสนุนบูรณาการทางวัฒนธรรมไดมากพอ โดยไมประเมินคาอุปสรรค
และปญหาที่เกิดจากความแตกตางทางวัฒนธรรมตํ่าเกินไป เพราะบางครั้ง
อุปสรรคเหลานี้อาจทําใหการวินิจฉัยกระแสเรียกกลายเปนเรื่องที่คอนขาง
ซับซอน
The Gift of the Priestly Vocation... 39
บทที่ 3
รากฐานของการอบรม (The Foundations of Formation)
ก) หัวขอของการอบรม (The Subject of Formation)
28. ระหวางกระบวนการอบรมเปนพระสงฆ สามเณรเปน “ธรรมลํ้าลึก
สําหรับตนเอง” ในธรรมลํ้าลึกนี้ ความเปนมนุษยสองดานของเขาจําเปนตอง
ถูกทําใหประสานกลมกลืน เกี่ยวพันและดํารงอยูควบคูกัน ในดานหนึ่งความ
สามารถพิเศษและพรสวรรคซึ่งถูกหลอหลอมดวยพระหรรษทานเปนปจจัยกําหนด
ลักษณะเฉพาะของเขา แตในอีกดานหนึ่งเขาก็มีขอจํากัดและความออนแอ
งานอบรมคือการชวยใหบุคคลบูรณาการทั้งสองดานนี้เขาดวยกัน ภายใตการนํา
ของพระจิตเจา ในการเดินทางแหงความเชื่อและการบรรลุวุฒิภาวะโดยลําดับ
และอยางกลมกลืน หลีกเลี่ยงการแบงแยก แบงขั้ว พฤติกรรมที่เกินขอบเขต
ความคิดที่ตื้นเขินหรือลําเอียง ระยะเวลาของการอบรมเปนพระสงฆเปนระยะ
เวลาของการทดสอบการเติบโตเปนผูใหญ และการวินิจฉัยทั้งโดยสามเณรเอง
และโดยบานเณร
29. สามเณรไดรับเรียกให “ออกจากตนเอง” [42] ใหสรางวิถีทาง
ของตนในพระคริสตเจา ที่นําเขาไปหาพระบิดาและไปหาผูอื่น ใหนอมรับ
กระแสเรียกพระสงฆ อุทิศตนทํางานรวมกับพระจิตเจา เพื่อใหบรรลุผลถึงการ
สังเคราะหภายใน (Interior synthesis) ทีส่ งบและสรางสรรค ระหวางความเขมแข็ง
และความออนแอ กระบวนการการศึกษาอบรมจะชวยใหสามเณรนําบุคลิกภาพ
ของเขาทุกดานมุงไปสูพระคริสตเจา ดังนั้นจึงทําใหเขาเปนอิสระเพื่อพระเจาและ
เพื่อผูอื่นอยางรูตัว [43] อันที่จริงเสนทางแหงบูรณาการนี้จะพบความหมายและ
ความสมบูรณไดในพระคริสตเจาผูทรงถูกตรึงกางเขนและกลับคืนชีพเทานั้น ทุก
สิ่งรวมเปนหนึ่งเดียวกันในพระองค (เทียบ อฟ 1:10) เพื่อให “พระเจาทรงเปน
ทุกสิ่งสําหรับทุกคน” (เทียบ 1 คร 15:28)
40 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ข) พื้นฐานและจุดประสงคของการอบรม : อัตลักษณของพระสงฆ
(The Basis and the Purpose of Formation : Priestly Identity)
30. เพื่อใหการอบรมผูเตรียมตัวเปนพระสงฆเปนแบบบูรณาการ จําเปน
ตองพิจารณาอัตลักษณของพระสงฆดวย [44] สิ่งแรกที่ตองพิจารณาคือลักษณะ
ทางเทววิทยา เนือ่ งจากกระแสเรียกพระสงฆมรี ากฐานและตนกําเนิดมาจากพระเจา
และแผนการแหงความรักของพระองค พระเยซูเจาทรงทําพันธสัญญาใหม
ดวยการถวายพระองคเองและพระโลหิตของพระองคเปนเครื่องบูชา ดวยเหตุ
นี้จึงทรงใหกําเนิดประชากรของพระเมสสิยาห ซึ่งจะเปน “เมล็ดพันธุที่ยั่งยืน
และแนนอนของเอกภาพ เปนความหวังและความรอดพนสําหรับมนุษยชาติ”
[45] ดังที่สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สองเตือนเราวา ตองเขาใจธรรมชาติและ
พันธกิจของพระสงฆในพระศาสนจักร ประชากรของพระเจา พระกายของ
พระคริสตเจา พระวิหารของพระจิตเจา [46] ที่พระสงฆถวายชีวิตเพื่อรับใช
31. ชุมชนผูมีความเชื่อทั้งหมดไดรับการสถาปนาขึ้นดวยการเจิมของ
พระจิตเจา ใหเปนเครื่องหมายศักดิ์สิทธิ์ที่มองเห็นไดเพื่อความรอดพนของโลก
อันที่จริงประชากรของพระเจาทุกคนมีสวนรวมในงานกอบกูมนุษยใหรอดพนของ
พระคริสตเจา [47] เปนประชากรสงฆผูถวาย “เครื่องบูชาที่มีชีวิตและเปนที่
พอพระทัยของพระเจา” (เทียบ รม 12:1) [48] เอกภาพและศักดิ์ศรีของกระแส
เรียกที่ไดรับจากศีลลางบาปมากอนศาสนบริการแตละอยางที่มีความแตกตาง
กัน สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สองระบุวา “แมจะมีสาระและความเขมขน
แตกตางกัน แตสังฆภาพของผูมีความเชื่อ และสังฆภาพทางศีลบวช หรือ
สังฆภาพตามฐานานุกรม ตางเกี่ยวของกัน กลาวคือ แตละแบบมีวิถีทางของ
ตนเองในการมีสวนรวมในสังฆภาพหนึ่งเดียวของพระคริสตเจา” [49] จึงตอง
เขาใจสังฆภาพทางศีลบวช ทั้งในลักษณะจําเพาะและในรากฐานจากพระคัมภีร
และเทววิทยา วาเปนการรับใชพระสิริรุงโรจนของพระเจา และพี่นองชายหญิงใน
ความเปนสงฆแหงศีลลางบาปของพวกเขา [50]
The Gift of the Priestly Vocation... 41
32. ผูมีความเชื่อทุกคนไดรับเจิมจากพระจิตเจา และมีสวนรวมอยางแข็ง
ขันในพันธกิจของพระศาสนจักรตามพระพรพิเศษเฉพาะของตนเอง ในขณะ
เดียวกันก็เปนความจริงวา “องคพระผูเปนเจาองคเดียวกันนี้ไดทรงสถาปนา
ศาสนบริกรตาง ๆ ขึ้นมาทามกลางผูมีความเชื่อทั้งหลาย เพื่อรวมพวกเขาใหเปน
หนึ่งในรางกายเดียวกัน ซึ่งรางกายของเรามีองคประกอบหลายสวน และสวน
ตาง ๆ เหลานี้ไมมีหนาที่เดียวกัน” (รม 12:4) “ศาสนบริกรในสังคมของผูมีความ
เชื่อเหลานี้ ไดรับมอบอํานาจศักดิ์สิทธิ์จากศีลบวชใหถวายเครื่องบูชาและใหอภัย
บาป และพวกเขาปฏิบัติหนาที่สงฆสําหรับสวนรวมเพื่อมวลมนุษยในพระนาม
ของพระคริสตเจา” [51] ซึ่งหมายความวาในความเปนหนึ่งเดียวกับศีลบวช
ของพระสังฆราช พระสงฆเปนสวนหนึ่งของชุมชนพระศาสนจักรโดยมิอาจแยก
จากกันได และในขณะเดียวกัน โดยพระประสงคของพระคริสตเจาและดวยการ
สืบทอดงานของคณะอัครสาวก พระสงฆไดรับแตงตั้งใหเปนผูอภิบาลและผูนํา
ดังนั้น “พระสงฆจึงถูกกําหนดหนาที่ไวไมเพียงในพระศาสนจักร แตในแนวหนา
ของพระศาสนจักรดวย” [52]
33. ในฐานะสมาชิกคนหนึ่งของประชากรศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา พระสงฆ
ไดรับเรียกใหบํารุงเลี้ยงความกระตือรือรนเยี่ยงธรรมทูตของเขา โดยการปฏิบัติ
งานอภิบาลที่เปนความรับผิดชอบของตนดวยความถอมตนในฐานะผูนําที่ไดรับ
มอบอํานาจ ใหเปนครูสอนพระวาจาและเปนศาสนบริกรศีลศักดิ์สิทธิ์ [53] ให
ปฏิบัติหนาที่บิดาฝายจิตอยางบังเกิดผล
ดังนั้นพระสงฆในอนาคตควรไดรับการศึกษาอบรม เพื่อไมใหเขาตกเปน
เหยื่อของแนวคิดแบบ “สงฆนิยม” (Clericalism) และไมพายแพตอการประจญ
ใหดําเนินชีวิตเพื่อแสวงหาความนิยมจากคนสวนใหญ ซึ่งจะทําใหเขาบกพรองใน
ศาสนบริการในฐานะผูนําชุมชน และชักนําใหเขาคิดวาพระศาสนจักรเปนเพียง
สถาบันของมนุษย
42 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
34. ในขณะเดียวกัน ศีลบวชของพระสงฆ ซึ่งทําใหเขาเปนผูนําของ
ประชาชนดวยการประทานพระจิตเจาผานการปกมือของพระสังฆราช ไมควร
ชักนําใหเขา “ทําตัวเปนเจานายเหนือฝูงแกะ” (เทียบ 1 ปต 5:3) “อันที่จริงการ
ใชอํานาจทุกครั้งตองกระทําดวยจิตตารมณการรับใชในฐานะศาสนบริการแหง
ความรัก และอุทิศตนอยางจริงใจเพื่อความดีของฝูงแกะ” [54]
สรุปไดวากระแสเรียกพระสงฆเริ่มตนดวยการไดรับพระพรแหงหรรษทาน
ของพระเจา ซึ่งไดรับการประทับตราโดยศีลบวช พระพรนี้แสดงตนใหเห็นตาม
กาลเวลาผานทางการเปนสื่อกลางของพระศาสนจักร ซึ่งทั้งเรียกเขามาและสงออก
ไปในพระนามของพระเจา ในขณะเดียวกัน การตอบรับสวนตัวจะพัฒนาขึ้นตาม
กระบวนการ ซึ่งเริ่มตนดวยการตระหนักรูในพระพรที่ไดรับ และคอย ๆ เจริญ
เติบโตดวยความชวยเหลือจากชีวิตจิตของสงฆ จนกระทั่งกลายเปนวิถีชีวิตที่
มั่นคง พรอมดวยสิทธิและหนาที่ และพันธกิจเฉพาะที่ผูรับศีลบวชยอมรับ
ค) การเดินทางของการอบรมเปนดั่งการเปลี่ยนแปลงตนเอง
ใหเหมือนกับพระคริสตเจา
(The Journey of Formation as Configuration to Christ)
35. พระสงฆผูเปลี่ยนแปลงตนเองใหเปนเหมือนพระคริสตเจา ผูทรงเปน
ทั้งผูนํา ผูเลี้ยงแกะ ผูรับใช และเจาบาว [55] มีสวนรวมในสังฆภาพหนึ่งเดียว
ของพระองค และในพันธกิจเพื่อความรอดพนในฐานะผูรวมงานกับพระสังฆราช
ดวยเหตุนี้ พวกเขาจึงเปนเครื่องหมายถึงความรักเมตตาของพระบิดาที่มองเห็นได
ในพระศาสนจักรและในโลก ลักษณะเฉพาะของพระบุคคลของพระคริสตเจา
เหลานี้ชวยใหเราเขาใจการเปนสงฆแหงศาสนบริกรในพระศาสนจักรไดดียิ่งขึ้น
ภายใตการชีน้ าํ ของพระจิตเจา พระสงฆจะเปนแรงบันดาลใจและนําทางการอบรม
ของบรรดาสามเณร เพื่อใหพวกเขาเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับพระคริสตเจา
ดวยการจุมตนเองเขาไปในธรรมลํ้าลึกของพระตรีเอกภาพ [56]
The Gift of the Priestly Vocation... 43
36. จดหมายถึงชาวฮีบรูกลาวถึงสังฆภาพของพระคริสตเจาวาเปนการแสดงออก
ถึงพันธกิจของพระองคแกประชากรทั้งมวล [57] คุณสมบัติอันดับแรกที่เปน
ลักษณะเดนของพระคริสตเจา ผูทรงเปนมหาสมณะแท คือความใกลชิดทั้งกับ
พระเจาและมนุษย [58] พระคริสตเจา ผูทรงเปยมดวยความเมตตากรุณา ทรง
เปนสมณะ “ผูศักดิ์สิทธิ์ บริสุทธิ์ และไรมลทิน” (เทียบ ฮบ 7:26) ผูทรงถวาย
พระองคเองดวย “การครํ่าครวญและรํ่าไห” (ฮบ 5:7) “ทรงเห็นใจ และทรง
อดทน” (ฮบ 5:2) กับความออนแอทุกประการของเรา และทรงกลายเปน “ผู
บันดาลความรอดพนนิรันดรแกทุกคนที่ยอมนอบนอมเชื่อฟงพระองค” (ฮบ 5:9)
พระคริสตเจาทรงเปนพระเจาแทและมนุษยแท ทรงบันดาลใหสิ่งที่เกิดขึ้น
กอนพระองคเสด็จมาบรรลุผลสมบูรณ คือ สังฆภาพ (เทียบ ฮบ 7:1-28) พันธสัญญา
(เทียบ ฮบ 8:2-9, 28) และการถวายบูชา (เทียบ ฮบ 10:1-18) เครื่องบูชาที่
พระคริสตเจา มหาสมณะ ทรงถวายเปนเครือ่ งบูชาแบบใหมดว ยวิธเี ฉพาะ กลาวคือ
พระองคไมไดทรงถวายเลือดแพะหรือเลือดลูกวัว แตทรงถวายพระโลหิตของ
พระองคเอง เพื่อปฏิบัติตามพระประสงคของพระบิดา พระวาจาที่พระเยซูเจา
ตรัสในหองชั้นบนวา “นี่เปนกายขอเรา ที่จะถูกมอบเพื่อทาน จงทําดังนี้เพื่อ
ระลึกถึงเรา... นี่คือถวยโลหิตแหงพันธสัญญาใหม ซึ่งจะหลั่งออกเพื่อทาน”
(เทียบ ลก 22:19-20) อธิบาย “ความสัมพันธที่มีผลตอกันระหวางศีลมหาสนิท
และสังฆภาพ” วา “ศีลศักดิ์สิทธิ์สองประการนี้เกิดขึ้นพรอมกัน และมีจุดหมาย
ปลายทางที่เชื่อมโยงกันจนไมอาจแยกออกจากกันไดจนถึงสิ้นพิภพ” [59] โดย
เนื้อแทแลวศาสนบริการและชีวิตของพระสงฆหยั่งรากลึกในศีลมหาสนิท
37. พระผูทรงพลีชีวิตเปนเครื่องบูชา ทรงแสดงพระองคเองวาเปนผูเลี้ยง
แกะที่ดี [60] ผูมาเพื่อรวบรวมฝูงแกะของวงศวานอิสราเอลที่กระจัดกระจาย
และนําพวกเขาเขามาอยูในฝูงแกะแหงพระอาณาจักรของพระเจา (เทียบ มธ
9:36; มก 6:34) นี่คือภาพลักษณที่ใชกันอยางกวางขวางในประวัติศาสตรแหง
ความรอด พระคริสตเจาทรงใชภาพลักษณนี้เพื่อเผยแสดงวาพระเจาทรงเปน
44 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ผูรวบรวม เดินเคียงขาง ติดตาม และดูแลฝูงแกะของพระองค นี่คือภาพลักษณ
ของพระเจาผูเลี้ยงแกะที่เราเห็น ผูเสด็จมาเพื่อมีสวนรวมในชีวิตของเราจนถึงกับ
ยอมรับความทุกขทรมานและความตายของเราไวเอง [61]
38. พระเยซูเจา พระบุตรของพระเจา ทรงยอมรับสภาพทาส จนถึงกับ
ยอมรับความตาย (เทียบ ฟป 2:6-8) กอนจะสิ้นพระชนมบนไมกางเขน พระองค
ทรงลางเทาบรรดาศิษยของพระองค และทรงสั่งใหพวกเขาปฏิบัติเชนเดียวกัน
(เทียบ ยน 13:1-17) ความสัมพันธระหวางศาสนบริการของพระสงฆและพันธกิจ
ของพระคริสตเจาเตือนใหเราระลึกถึงบทเพลงที่สี่เกี่ยวกับผูรับใชที่ทุกขทรมาน
ของประกาศกอิสยาห (เทียบ อสย 52:13-53:12) บทเพลงผูรับใชที่ทุกขทรมาน
เปนภาพลวงหนาถึงสิ่งที่พระองคเองจะกระทําใหสําเร็จบริบูรณเพื่อมนุษยชาติ
ดวยการรวมรับความทุกขทรมานและความตายของมนุษย จนถึงกับพลีชีวิต
ของพระองคเองบนไมกางเขน (เทียบ อสย 53:4-8)
39. ศีลบวชของพระสงฆเรียกรองใหผูที่รับถวายตนเองอยางสิ้นเชิงเพื่อ
รับใชประชากรของพระเจา ในฐานะภาพลักษณของพระคริสตเจาผูท รงเปนเจาบาว
“การมอบพระองคของพระคริสตเจาใหแกพระศาสนจักรของพระองค เปนผล
มาจากความรักของพระองค ซึ่งบรรยายไววาเหมือนกับการมอบตนเองของ
เจาบาวใหแกเจาสาว” [62] พระสงฆถูกเรียกใหมีความรูสึกและทัศนคติภายใน
ตนเอง เหมือนกับที่พระคริสตเจาทรงมีตอพระศาสนจักรที่พระองคทรงรัก ดวย
การปฏิบัติศาสนบริการ ดังนั้นพระสงฆจึงถูกเรียกรองให “สามารถรักประชาชน
ดวยหัวใจที่ใหม ใจดี และบริสุทธิ์ ดวยการตัดใจจากตนเองอยางแทจริง ดวยการ
อุทิศตนอยางเต็มเปยม สมํ่าเสมอ และซื่อสัตย และในขณะเดียวกัน ดวยความ
หวงแหนเหมือนของพระเจา (เทียบ 2 คร 11:2) และแมแตดวยความออนโยน
เหมือนมารดา” [63]
40. พระสงฆจึงไดรับเรียกใหอบรมตนเอง เพื่อใหหัวใจและชีวิตของเขา
เปนเหมือนกับพระเยซูเจา ดวยวิธีนี้ เขาจะกลายเปนเครื่องหมายของความรัก
The Gift of the Priestly Vocation... 45
ที่พระเจาทรงมีตอมนุษยแตละคน ดวยการเปนหนึ่งเดียวอยางใกลชิดกับพระ
คริสตเจา พระสงฆจะสามารถเทศนสอนพระวรสาร และกลายเปนเครื่องมือ
แหงความเมตตากรุณาของพระเจา สามารถนําทางและแกไขใหถูกตอง สามารถ
ภาวนาวอนขอและดูแลชีวิตจิตของผูมีความเชื่อที่เขาไดรับมอบหมายใหดูแล
สามารถรับฟงและตอนรับ ขณะเดียวกันก็ยังตอบสนองตอขอเรียกรองและ
คําถามอันลึกซึ้งของยุคสมัยของเรา [64]
ง) การอบรมชีวิตภายในและความสนิทสัมพันธ
(A Formation for Interior Life and Communion)
41. งานอภิบาลของผูมีความเชื่อเรียกรองใหพระสงฆตองไดรับการอบรม
อยางหนักแนนและมีชีวิตจิตที่บรรลุวุฒิภาวะ พระสงฆไมสามารถเพียงแตแสดง
นิสัยที่มีคุณธรรมฉาบหนา แสดงความนบนอบเพียงภายนอกและเปนทางการตอ
หลักการที่เปนนามธรรม แตเขาไดรับเรียกใหปฏิบัติหนาที่ดวยอิสรภาพภายใน
อันยิ่งใหญ อันที่จริงเราคาดหมายวาเมื่อแตละวันผานไป พระสงฆจะซึมซับ
จิตตารมณแหงพระวรสาร เนื่องจากมิตรภาพอันมั่นคงและสวนตัวของเขากับ
พระคริสตเจา ชักนําเขาใหมีความรูสึกนึกคิดและทัศนคติเหมือนพระองค
ดังนั้นดวยความรักเมตตาที่เพิ่มพูนขึ้น พระสงฆในอนาคตตองพยายาม
พัฒนาความสามารถที่สมดุลและมีวุฒิภาวะในการสรางความสัมพันธกับเพื่อน
มนุษย อันที่จริงเขาไดรับเรียกไปสูความสงบทั้งฝายกายและฝายจิต [65] ซึ่งเมื่อ
เอาชนะการทําตนใหเปนจุดสนใจหรือการพึ่งพิงทางอารมณทุกรูปแบบแลว จะ
ชวยใหเขากลายเปนบุรุษแหงความสนิทสัมพันธ บุรุษแหงพันธกิจและการเสวนา
[66] เมื่อเขาเพงพินิจองคพระผูเปนเจา ผูทรงมอบชีวิตของพระองคเพื่อผูอื่น
เขาจะสามารถสละตนเองอยางใจกวาง และดวยการมอบชีวิตของตนเปนเครื่อง
บูชาเพื่อประชากรของพระเจา
46 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
42. เพื่อใหไดรับการอบรมตามจิตตารมณของพระวรสาร ผูมีชีวิตภายใน
จําเปนตองดูแลชีวิตจิตเปนพิเศษและดวยความซื่อสัตย ใหความสนิทสัมพันธกับ
พระคริสตเจาเปนศูนยกลางที่สําคัญที่สุดในความสนใจของเขา ผานธรรมลํ้าลึกที่
เฉลิมฉลองระหวางปพธิ กี รรม และบํารุงเลีย้ งชีวติ จิตภายในของเขาดวยการภาวนา
สวนตัว การรําพึงตามพระวาจา การภาวนาแบบเงียบที่ใชเวลานานมากขึ้น
ซึ่งเปดตัวเขาสูความสัมพันธแทกับพระคริสตเจา ทําใหสามเณรนอบนอมตอการ
ทํางานของพระจิตเจา ซึ่งจะหลอหลอมเขาทีละนอยใหกลายเปนภาพลักษณของ
พระอาจารย โดยความสัมพันธอันสนิทสนมกับองคพระผูเปนเจา และความ
สนิทสัมพันธกับพี่นองของเขา จะชวยใหสามเณรยอมรับและแกไข “จิตตารมณ
ทางโลก” กลาวคือ การหมกมุนอยูกับรูปลักษณภายนอกของตน ความเชื่อมั่น
ทางเทววิทยาหรือวินัยที่ทึกทักเอาเอง ความหลงตนเองและการทําตัวเปน
เผด็จการ ความพยายามครอบงําผูอื่น การใสใจกับพิธีกรรมที่เปนแตเพียงเรื่อง
ภายนอกและการแสดงออกภายนอก ความทะนงตน ปจเจกนิยม การไมยอมฟง
ผูอื่น และการแสวงหาความกาวหนาทางอาชีพการงานทุกรูปแบบ [67] แต
สามเณรควรไดรับการอบรมใหมีความเรียบงาย ใหรูจักยับยั้งชั่งใจ ดวยการ
เสวนาอยางสันติและความจริงใจ ในฐานะที่สามเณรเปนศิษยในโรงเรียนของ
พระอาจารย พวกเขาควรเรียนรูที่จะดําเนินชีวิตและปฏิบัติตนดวยความรักของ
ผูอภิบาล ที่มาจากการ “เปนผูรับใชของพระคริสตเจา และเปนผูจัดการดูแล
ธรรมลํ้าลึกของพระเจา” (เทียบ 1 คร 4:1)
43. การอบรมพระสงฆเปนการเดินทางแหงการเปลี่ยนแปลงตนเอง ที่
ฟนฟูทั้งหัวใจและความคิดของบุคคลนั้น เพื่อใหเขา “รูจักวินิจฉัยวาสิ่งใด
เปนพระประสงคของพระเจา สิ่งใดดี สิ่งใดเปนที่พอพระทัย และสิ่งใดสมบูรณ”
(เทียบ รม 12:2) อันที่จริงการเติบโตภายในอยางตอเนื่องระหวางการเดินทาง
แหงการอบรมควรมุงหมายที่จะทําใหพระสงฆในอนาคตเปน “บุรุษแหง
การวินิจฉัย” (Man of discernment) สามารถเขาใจความเปนจริงของชีวิต
The Gift of the Priestly Vocation... 47
มนุษยไดอาศัยแสงสวางจากพระจิตเจา ดวยวิธีนเี้ ขาจะสามารถเลือก ตัดสินใจ
และปฏิบัติตนอยางสอดคลองกับพระประสงคของพระเจา
ขอบเขตแรกของการวินิจฉัยคือชีวิตสวนตัว ที่ประกอบดวยการบูรณาการ
ประวัตชิ ีวิตและความจริงของตนเองเขาสูชีวิตจิต เพื่อใหมั่นใจไดวากระแสเรียก
เปนพระสงฆจะไมถูกกักขังอยูในอุดมคติที่เปนนามธรรม หรือเสี่ยงที่จะลดคุณคา
ใหกลายเปนเพียงกิจกรรมในภาคปฏิบัติหรือที่ถูกจัดไวเปนระบบ ซึ่งไมไดมาจาก
มโนธรรมของบุคคลนั้น การวินิจฉัยชีวิตของบุคคลหนึ่งอยางสอดคลองกับพระ
วรสารหมายถึงการบมเพาะชีวิตจิตที่ลึกซึ้งทุกวัน เพื่อใหไดรับชีวิตจิตนั้นมา และ
ตีความอยางรับผิดชอบเต็มที่ และดวยความวางใจเพิ่มขึ้นในพระเจา โดยนอมใจ
เขาหาพระองคในแตละวัน [68]
การทํ า เช น นี้ ห มายถึ ง การปรั บ ปรุ ง ตนเองอย า งถ อ มตนและต อ เนื่ อ ง
เปนบางสิ่งที่มากกวาแคการพิจารณาตนเอง เพื่อใหพระสงฆนั้นเปดใจของตน
ดวยความจริงใจตอความจริงของชีวิต และตอความตองการที่แทจริงของ
ศาสนบริการ เขาจะเรียนรูการฟงมโนธรรมที่ตัดสินความพยายามและแรงกระตุน
ภายในที่เปนแรงจูงใจใหการกระทําของเขา ดวยวิธีนี้พระสงฆจะเรียนรูการควบคุม
ตนเอง โดยใชทั้งพลังทางจิตวิญญาณและทางความคิดสติปญญาของวิญญาณ
และรางกาย เขาจะเขาใจวาสิ่งใดสามารถทําได และสิ่งใดไมทําจะดีกวา หรือสิ่ง
ใดไมควรทํา เขาจะเริ่มจัดการพลังงาน แผนการ และหนาที่ตาง ๆ ของเขา ดวย
การมีวินัยในตนเองอยางสมดุล และดวยการตระหนักอยางจริงใจในขีดจํากัดและ
ความสามารถของตน งานนี้ไมสามารถทําไดอยางนาพอใจดวยการพึ่งศักยภาพ
แบบมนุษยของตนเอง ตรงกันขามเขาตองพึ่งพระหรรษทานของพระเจาเปน
หลัก ซึ่งชวยใหเขาอยูเหนือความตองการและเงื่อนไขภายนอกของตนเอง และ
ดําเนินชีวิตในอิสรภาพของบุตรพระเจา นี่คือวิธีหนึ่งที่จะ “มองเขาไปภายใน”
และการมองชีวิตฝายจิตแบบองครวม ซึ่งกําหนดทิศทางใหชีวิตและศาสนบริการ
ทั้งหมดของเขา ดวยวิธีนี้เขาเรียนรูที่จะปฏิบัติตนอยางรอบคอบ และตัดสินผลที่
48 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ตามมาของการกระทําของเขาโดยไมมองเพียงสภาพแวดลอมที่จํากัด ซึ่งอาจ
ทําใหเขาไมอาจตัดสินสิ่งตาง ๆ ไดอยางชัดเจน
ในการเดินทางดวยความซื่อตรงตอตนเองนี้ เรียกรองการดูแลชีวิตภายใน
มากเปนพิเศษดวยการภาวนาสวนตัว การรับคําแนะนําฝายจิต การสัมผัส
กับพระวาจาของพระเจาเปนประจําทุกวัน การเพงพินิจชีวิตสงฆดวยจิตตารมณ
ความเชื่อรวมกับพระสงฆอื่น ๆ และพระสังฆราช และใชเครื่องมืออื่น ๆ
ที่จะชวยใหเขาบมเพาะคุณธรรมความรอบคอบและการตัดสินอยางเที่ยงตรง
บนเสนทางแหงการวินิจฉัยอยางตอเนื่องนี้ พระสงฆจะเรียนรูวิธีแปลความหมาย
และเขาใจแรงจูงใจของตนเอง รวมทัง้ พรสวรรค ความตองการและความออนแอ
ของเขา เพื่อใหเขา “ปลดปลอยตนเองใหเปนอิสระจากอารมณที่ไรระเบียบ
ทั้งปวง และเมื่อกําจัดอารมณเหลานี้ใหหมดไปแลว ใหเขาแสวงหาและพบ
พระประสงคของพระเจาในระเบียบชีวิตของเขาเพื่อแสวงหาความรอดพนใหแก
วิญญาณ” [69]
จ) เครื่องมือสําหรับอบรมสามเณร (Means of Formation)
จ.1. การเดินเคียงขางเปนรายบุคคล (Personal Accompaniment) [70]
44. ผูที่ไดรับมอบหมายใหอบรมสามเณร จําเปนตองเดินเคียงขางสามเณร
ในระยะตาง ๆ ของการเดินทางของเขาอยางสอดคลองกับบทบาทและความ
สามารถของแตละคน จุดประสงคของการเดินเคียงขางเปนรายบุคคล คือเพื่อ
วินิจฉัยกระแสเรียกของสามเณร และอบรมเขาใหกลายเปนศิษยธรรมทูต
45. ในกระบวนการอบรม สามเณรตองรูจักตนเอง และยอมใหผูอื่น
รูจักเขาดวย เขาตองมีความสัมพันธกับผูใหการอบรมอยางจริงใจและดวยความ
โปรงใส [71] การเดินเคียงขางเปนรายบุคคล ซึ่งมีเปาหมายคือ ความออนนอม
ตอพระจิตเจา เปนเครื่องมือของการอบรมที่จะขาดเสียมิได
The Gift of the Priestly Vocation... 49
46. สามเณรตองพบและพูดคุยกับผูใหการอบรมเปนประจําและบอยครั้ง
วิธีนี้จะทําใหสามเณรสามารถปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับพระคริสตเจาทีละ
นอย ใหเขาออนนอมตอการทํางานของพระจิตเจา การเดินเคียงขางดังกลาว
ตองรวมทุกมิติของมนุษย ตองฝกสามเณรใหฟง ใหเสวนา ใหรูความหมาย
แทจริงของความนบนอบ และใหมีอิสรภาพภายใน ผูใหการอบรมทุกคนมีหนา
ที่ชวยเหลือสามเณรใหตระหนักถึงสภาพของเขา ความสามารถพิเศษที่เขาไดรับ
มา และความออนแอของเขา เพื่อใหเขาพรอมมากขึ้นที่จะนอมรับการทํางาน
ของพระหรรษทาน
47. องคประกอบที่จําเปนประการหนึ่งในกระบวนการเดินเคียงขางคือความ
ไวใจซึ่งกันและกัน [72] แผนการอบรมควรคนหาและวาดโครงรางวิธีการที่เปน
รูปธรรมที่จะสนับสนุนและปกปองความไวใจนี้ เหนืออื่นใด ควรแสวงหาและสงเสริม
สภาวะเหลานั้นซึ่งสรางบรรยากาศอันสงบสันติของความไววางใจ และความเชื่อ
มั่นในกันและกัน กลาวคือ ความเปนพี่นอง ความเห็นใจ ความเขาใจกัน ความ
สามารถรับฟงและแบงปน และโดยเฉพาะอยางยิ่งการเปนประจักษพยานชีวิตที่
สอดคลองกัน
48. การเดินเคียงขางตองดําเนินไปตั้งแตเริ่มตนของการเดินทางการอบรม
และตลอดชีวิต แมจะตองใชแนวทางที่แตกตางหลังจากไดรับศีลบวชแลว การ
วินิจฉัยสถานการณดานกระแสเรียกของผูสมัครอยางจริงจังตั้งแตตน จะทําใหไม
ตองยืดเวลาอยางไมจําเปน เมื่อถึงเวลาตองตัดสินวาสามเณรนั้นเหมาะสมที่จะ
ทํางานศาสนบริการของพระสงฆหรือไม นี่คือวิธีที่จะนําผูสมัครไปรับศีลบวชโดย
ตรวจสอบใหแนใจกอนวาเขาสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขตาง ๆ ที่จําเปนไดหรือ
ไม [73]
49. ผูใหการอบรมไดรับการเรียกใหดูแลชีวิตของสามเณรดวยความ
รอบคอบ ผูใหการอบรมแตละคนควรมีความสามารถและศักยภาพในดานความ
เปนมนุษย [74] ชีวติ จิต [75] การอภิบาล และความเชีย่ วชาญ เพือ่ จะเดินเคียงขาง
50 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
สามเณรอยางเหมาะสม สมดุล โดยเคารพเสรีภาพและมโนธรรมของอีกฝายหนึ่ง
ซึ่งจะชวยใหเขาเติบโตทั้งในความเปนมนุษยและชีวิตจิต ยิ่งกวานั้น บุคคลที่ถูก
เลือกใหเปนผูใหการอบรมจําเปนตองไดรับการเตรียมความพรอมโดยเฉพาะ
[76] และตองอุทิศตนดวยความใจกวางใหกับงานที่สําคัญนี้ ผูใหการอบรม
ตองเปนบุคคลที่พรอมจะอุทิศเวลาทั้งหมด และยืนยันดวยชีวิตของเขาวาควร
รักและรับใชประชากรของพระเจาอยางไร ดวยการมอบตนเองอยางเต็มที่ใหแก
พระศาสนจักร [77]
จ.2. การเดินเคียงขางเปนหมูคณะ (Community Accompaniment)
50. การอบรมสั่งสอนที่ดีจะไมละเลยที่จะใสใจประสบการณและพลวัตของ
กลุมทีส่ ามเณรเขารวมเปนสมาชิก ชีวิตหมูคณะระหวางการอบรมขั้นตนตองสงผล
กระทบตอบุคคลแตละคน ตองชําระเจตนารมณของเขาใหบริสุทธิ์ และเปลี่ยน
แนวทางการดําเนินชีวิตขณะที่เขาคอย ๆ ปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับพระ
คริสตเจา การอบรมตองดําเนินไปทุกวันผานความสัมพันธระหวางบุคคล ผานหวง
เวลาของการแลกเปลี่ยนความคิด และการปรึกษาหารือ ซึ่งจะกลายเปนการ
พัฒนา “ดินที่อุดมสมบูรณ” ที่ทําใหกระแสเรียกเติบโตอยางเปนรูปธรรม
51. สภาพแวดลอมทีม่ ลี กั ษณะหมูค ณะเชนนี้ จะมีประโยชนตอ ความสัมพันธ
ในอนาคตกับพระสังฆราช กับพี่นองรวมสังฆภาพ และกับฆราวาสผูมีความเชื่อ
ประสบการณกบั ชีวติ หมูค ณะเปนองคประกอบสูงคาประการหนึง่ ทีไ่ มอาจมองขาม
ไดในการอบรมบุคคลที่จะไดรับเรียกในอนาคตใหเปนบิดาฝายจิตอยางแทจริง [78]
ในหมูคณะที่เขาไดรับมอบหมายใหดูแล ผูสมัครแตละคนที่เตรียมตัวสําหรับ
ศาสนบริการนีต้ องปรารถนาความสนิทสัมพันธที่ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น [79]
จิตตารมณความสนิทสัมพันธมีรากฐานจากความจริงที่วาพระศาสนจักร
ซึง่ เปนประชากรทีพ่ ระคริสตเจาทรงรวบรวมไวดว ยกัน ไดรบั เรียกใหมปี ระสบการณ
The Gift of the Priestly Vocation... 51
ของชีวิตหมูคณะที่เขมแข็ง เหมือนกับที่เคยปฏิบัตินับตั้งแตยุคแรกเริ่ม (เทียบ
กจ 2:42) [80] อันที่จริงเราตองระลึกวา หลังจากไดรับศีลบวชแลว พระสงฆจะ
“เปนหนึ่งเดียวกันในภราดรภาพอันศักดิ์สิทธิ์ และในแตละสังฆมณฑล พระสงฆ
จะรวมตัวเปนสังฆภาพเดียวกันภายใตพระสังฆราชของตน” [81] อาศัยคุณคา
แหงศีลบวช พระสงฆจึงกลายเปนสวนหนึ่งของครอบครัวซึ่งมีพระสังฆราชเปน
บิดา [82]
52. ในพระศาสนจักร ซึ่งเปน “บานและโรงเรียนสอนความสนิทสัมพันธ”
[83] และ “ซึ่งมีเอกภาพที่สืบเนื่องมาจากเอกภาพของพระบิดา พระบุตร และ
พระจิต” [84] พระสงฆไดรับเรียกใหเปน “บุรุษแหงความสนิทสัมพันธ”
(Man of communion) [85] ดังนั้นความสัมพันธที่เกิดขึ้นในสามเณราลัย
ระหวางผูใหการอบรมกับสามเณร และระหวางสามเณรดวยกัน จึงตองมีสํานึก
ของความเปนบิดาและพี่นอง [86] อันที่จริงความเปนพี่นองนี้สามารถสงเสริม
ไดผานการเติบโตฝายจิต ซึ่งตองใชความพยายามอยางตอเนื่องที่จะเอาชนะ
รูปแบบตาง ๆ ของปจเจกนิยม ความสัมพันธฉันพี่นองนี้ “ไมสามารถปลอย
ใหเปนไปตามยถากรรม หรือตามสถานการณ” [87] แตตองเปนการเลือกดวย
จิตสํานึกและเปนความทาทายอยางตอเนื่อง
หมูคณะในสามเณราลัยเปนครอบครัวหนึ่งอยางแทจริงที่มีบรรยากาศ
สนับสนุนมิตรภาพและภราดรภาพ ประสบการณดังกลาวจะชวยใหสามเณร
เขาใจความจําเปนเรงดวน ความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ และปญหาของครอบครัวที่
เขาจะไดรับมอบหมายใหอภิบาลดูแลในอนาคต [88] ดังนั้นจึงจะเปนประโยชน
ถาหมูค ณะสามเณราลัยจะเปดใจตอนรับและมีสว นรวมกับกลุม ตาง ๆ ตัวอยางเชน
ครอบครัวทัง้ หลาย กลุม ผูถ วายตัว บรรดาเยาวชน นักเรียน และคนยากจน เปนตน
52 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ฉ) เอกภาพในการอบรม (The Unity of Formation)
53. เนื่องจากการอบรมเปนประสบการณตอเนื่องของการเปนศิษยจึงเปน
เสนทางหนึ่งเดียวและบูรณาการ ที่เริ่มตนในสามเณราลัยและดําเนินตอไปในชีวิต
สงฆซงึ่ เปนการอบรมตอเนือ่ ง การอบรมในแตละขัน้ ตอนตองกระทําอยางระมัดระวัง
และเอาใจใส แมวา “ประสิทธิผลสวนใหญของการอบรมขึ้นอยูกับวุฒิภาวะและ
ความเขมแข็งของบุคลิกภาพของผูใหการอบรม” [89] แตตองระลึกเสมอวา
สามเณรซึ่งจะเปนพระสงฆในอนาคต เปนบุคคลสําคัญอันดับแรก “ซึ่งจําเปน
และไมอาจทดแทนไดในการอบรมตนเอง” [90]
The Gift of the Priestly Vocation... 53
บทที่ 4
การอบรมขั้นตน และการอบรมตอเนื่อง
(Initial and Ongoing Formation)
54. หลังจากการวินิจฉัยกระแสเรียกที่จําเปนครั้งแรก การอบรมที่ถือไดวา
เปนการเดินทางหนึ่งเดียวและไมแยกสวนระหวางการเปนศิษยและธรรมทูต [91]
สามารถแบงออกไดเปนสองระยะหลัก คือ การอบรมขั้นตนในสามเณราลัย และ
การอบรมตอเนื่องในชีวิตสงฆ
55. การอบรมขั้นตน คือระยะเวลากอนการรับศีลบวชเปนพระสงฆ เริ่มตน
ขั้นเตรียมตัว ซึ่งเปนสวนสําคัญของการอบรม ดังนั้นระยะเวลานี้จึงประกอบดวย
การอบรมดานตาง ๆ เพื่อเตรียมสามเณรไปสูชีวิตสงฆ เปนงานที่เรียกรอง
ความอดทนและความเอาจริงเอาจังของผูรับการอบรมที่เปดใจนอมรับการทํางาน
ของพระจิตเจา จุดประสงคของการอบรมขั้นนี้คือเพื่อสรางหัวใจความเปนสงฆ
ในตัวสามเณร
56. การอบรมตอเนื่อง เปนขอเรียกรองที่ขาดไมไดในชีวิตและการทํางาน
ของพระสงฆทุกคน อันที่จริงทาทีภายในของพระสงฆตองเดนชัดดวยการ
นอมรับพระประสงคของพระเจาอยางตอเนื่องตามแบบฉบับของพระคริสตเจา
รวมถึงการกลับใจอยางตอเนื่อง ความสามารถที่จะเขาใจชีวิตและเหตุการณตาง ๆ
ดวยสายตาแหงความเชื่อ และเหนืออื่นใดดวยความรักของผูอภิบาล ดวยการมอบ
ตนเองทั้งครบเปนของขวัญแกพระศาสนจักรตามแผนการของพระเจา
เมื่อเขาใจดังนี้ จึงไมอาจลดหรือเขาใจผิดวาการอบรมตอเนื่องเปนเพียง
“การปรับปรุงใหทันสมัย” ในดานวัฒนธรรมหรืองานอภิบาล เมื่อเทียบกับ
การอบรมขั้นตนในสามเณราลัย เพราะฉะนั้น “ควรเตรียมการอบรมตอเนื่อง
ในอนาคตตั้งแตที่บานเณรใหญ ที่ซึ่งสนับสนุนใหพระสงฆในอนาคตเปดใจและ
ปรารถนาการอบรมตอเนื่องนี้ แสดงใหเห็นความจําเปน ขอดีตาง ๆ และจิตตา
รมณของการอบรม รวมทั้งตองมีเงื่อนไขที่เหมาะสมเพื่อใหการอบรมตอเนื่องนี้
เกิดขึ้นจริง” [92]
54 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ก) การอบรมขั้นตน และขั้นตาง ๆ (Initial Formation and its Stages)
57. การอบรมขัน้ ตนสามารถแบงออกเปน 4 ขัน้ หลัก คือ ขัน้ เตรียม ขัน้ ศึกษา
ปรัชญาหรือขั้นศิษยพระคริสต ขั้นศึกษาเทววิทยาหรือขั้นปรับเปลี่ยนตนให
เหมือนพระคริสตเจา และขั้นอภิบาลหรือขั้นสังเคราะหกระแสเรียก ซึ่งจะกลาว
ถึงลักษณะตาง ๆ โดยละเอียดตอไป เราจะเปน “ศิษยพระคริสต” ตลอดชีวิต โดย
ปรารถนาเสมอที่จะปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับพระคริสตเจา ดวยการปฏิบัติ
ศาสนบริการดานการอภิบาล อันที่จริงมิติเหลานี้มีสวนสําคัญในการเดินทางของ
สามเณรแตละคนเสมอ บางครั้ง บางมิติที่กลาวมาอาจไดรับความสนใจเปนพิเศษ
ในระหวางการอบรม อยางไรก็ตาม ตองไมละเลยขั้นอื่น ๆ ดวย
58. เมื่อจบการอบรมแตละขั้น มีความสําคัญเปนอยางยิ่งที่ตองประเมิน
วาบรรลุถึงจุดมุงหมายของการอบรมแตละขั้นหรือไม โดยพิจารณาประกอบ
กับการประเมินผลเปนระยะ (แตละภาคเรียนถาเปนไปได หรืออยางนอยปละ
หนึ่งครั้ง) ซึ่งผูใ หการอบรมจะทําการประเมินเปนลายลักษณอักษร การบรรลุผล
ตามวัตถุประสงคของการอบรมไม จํ า เป น ต อ งขึ้ น อยู  กั บ ระยะเวลาของการ
ศึกษาในสามเณราลัย และโดยเฉพาะจะไมเกี่ยวของกับการสําเร็จการศึกษา
กลาวคือ บุคคลหนึ่งไมควรกลายเปนพระสงฆโดยอัตโนมัติเพียงเพราะเขาได
ผานการอบรมขั้นตาง ๆ ตามลําดับที่กําหนดไวลวงหนา โดยไมคํานึงถึงความ
กาวหนาแทจริงในการบรรลุถึงวุฒิภาวะทั้งครบ อันที่จริงการรับศีลบวชแสดงถึง
จุดมุงหมายการเดินทางฝายจิตที่บรรลุผลสําเร็จแทจริง ซึ่งชวยใหสามเณรคอย ๆ
ตระหนักถึงกระแสเรียกที่เขาไดรับ และลักษณะเฉพาะตัวที่เกี่ยวของกับอัตลักษณ
สงฆ ทําใหเขาบรรลุถึงวุฒิภาวะที่จําเปนในฐานะมนุษย คริสตชน และพระสงฆ
คณะผูใหการอบรมตองประเมินผลสามเณรดวยเหตุผลและไมมีอคติ โดย
การประเมินทั้งครบเปนระยะ โดยพิจารณาทั้งสี่มิติของการอบรม ซึ่งจะกลาว
ถึงในบทที่ 5 สามเณรจําเปนตองมีความออนนอม ตองทบทวนชีวิตของตนเอง
The Gift of the Priestly Vocation... 55
เสมอ และยอมรับการตักเตือนฉันพี่นอง เพื่อใหสอดคลองกับการทํางานของพระ
หรรรษทานมากขึ้น
ก.1. ขั้นเตรียม (The Propaedeutic Stage)
59. ประสบการณของหลายทศวรรษหลังนี้ [93] เผยใหเห็นความจําเปนตอง
จัดระยะเวลาหนึ่ง เพื่อการเตรียมตัวในเบื้องตนสําหรับการอบรมพระสงฆที่จะ
ตามมา หรือสําหรับการตัดสินใจเลือกเสนทางชีวิตแบบอื่น ตามปกติระยะเวลาของ
การเตรียมตัวนี้ไมควรนอยกวาหนึ่งปหรือมากกวาสองป
ขั้ น เต รี ย มเป น ช ว งเวลาของการอบรมที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะอั น สํ า คั ญ ยิ่ ง
วัตถุประสงคหลักคือเพื่อวางรากฐานที่มั่นคงสําหรับชีวิตจิต และเพื่อสงเสริมให
สามเณรรูจักตนเองมากขึ้นเพื่อการเติบโตสวนบุคคล สําหรับการเริ่มตน
และพัฒนาชีวิตจิต จําเปนตองนําสามเณรไปสูการภาวนาโดยอาศัยชีวิตดาน
ศีลศักดิ์สิทธิ์ การทําวัตร ความคุนเคยกับพระวาจาของพระเจา ซึ่งถือวาเปน
หัวใจและคูมือการเดินทาง ความเงียบ การรําพึงภาวนา และการอานหนังสือ
สงเสริมศรัทธา ยิ่งกวานั้น ชวงเวลานี้ยังเปนโอกาสที่ดีที่สุดที่จะทําใหสามเณร
มีความรูเกี่ยวกับคําสอนคริสตชนเบื้องตนและองครวม ดวยการศึกษาคําสอน
ของพระศาสนจักรคาทอลิก และดวยการพัฒนาพลังขับเคลื่อนของการอุทิศตน
โดยอาศัยประสบการณในสภาพแวดลอมของเขตวัดและกิจเมตตา ทายที่สุดขั้น
เตรียมนี้สามารถชวยชดเชยสิ่งใดที่ยังขาดอยูในการศึกษาทั่วไปของสามเณร (จะ
เปนประโยชนเพื่อการบรรลุถึงความสําเร็จสูงสุดของการอบรมดานวัฒนธรรม)
การศึกษาในขัน้ เตรียมจะแยกออกอยางเด็ดขาดจากการศึกษาดานปรัชญา
60. ขัน้ เตรียมอาจจะแตกตางกันไปขึน้ อยูก บั วัฒนธรรม และการมีประสบการณ
ในพระศาสนจักรทองถิ่น แตในทุกกรณีขั้นเตรียมจะตองเปนชวงเวลาที่เหมาะสม
แทจริงในการวินิจฉัยกระแสเรียกที่สมบูรณภายในชีวิตหมูคณะ และจะตองเปน
“จุดเริ่มตน” ของการอบรมขั้นตนตอไป
56 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ในการอบรมที่ใหกับสามเณร ควรใหความสําคัญกับความสนิทสัมพันธกับ
พระสังฆราชของสามเณร กับคณะสงฆ และทั้งสังฆมณฑล เนื่องจากในปจจุบันมี
กระแสเรียกจํานวนไมนอยเกิดขึ้นภายในกลุมและขบวนการตาง ๆ จึงจําเปนตอง
สรางความสัมพันธที่ลึกซึ้งกับทางสังฆมณฑลมากยิ่งขึ้น [94]
ขั้นเตรียมนี้ควรดําเนินการในหมูคณะที่แยกจากบานเณรใหญ และเมื่อใด
ที่เปนไปได ควรมีบานอบรมเฉพาะของตน ดังนั้นบานอบรมขั้นเตรียมถูกจัดตั้งขึ้น
โดยมีผูใหการอบรมประจํา ที่ใหการอบรมดานความเปนมนุษยและความเปน
คริสตชนอยางเขมขน และเพื่อการคัดสรรผูสมัครเขาบานเณรใหญอยางรอบคอบ
[95]
ก.2. ขั้นการศึกษาปรัชญา (หรือการเปนศิษยพระคริสต)
(The Stage of Philosophical studies (or Discipleship)
61. กรอบความคิดของการเปนศิษยพระคริสต ศิษยพระคริสตคือผูที่
องคพระผูเปนเจาทรงเรียกให “มาอยูกับพระองค” (เทียบ มก 3:14) ใหติดตาม
พระองค และกลายเปนธรรมทูตแหงพระวรสาร เขาจะเรียนรูในแตละวันวา
จะเขาถึงธรรมลํ้าลึกแหงพระอาณาจักรของพระเจา โดยดําเนินชีวิตในความ
สัมพันธอยางลึกซึ้งกับพระเยซูเจา การอยูกับพระคริสตเจากลายเปนการเดินทาง
ของการอบรมฝายจิต ที่เปลี่ยนชีวิตสามเณรและเปนพยานยืนยันความรักของ
พระองคในโลก
62. ประสบการณและพลวัตของการเปนศิษยพระคริสตที่ยั่งยืนตลอดชีวิต และ
รวมถึงการอบรมพระสงฆทุกขั้นตอนดังที่กลาวมาแลว เรียกรองใหมีขั้นพิเศษ
เฉพาะ ที่ตองทุมเทความพยายามทั้งหมดเพื่อชวยใหสามเณรหยั่งรากลึกในการ
ติดตามพระคริสตเจา ดวยการฟงพระวาจาของพระองค รําพึงไตรตรองพระวาจา
ในใจและนําไปปฏิบัติ ระยะนี้เปนการอบรมศิษยของพระเยซูเจาใหกลายเปน
ผูอภิบาล ดังนั้นจึงตองใสใจเปนพิเศษกับมิติความเปนมนุษย โดยใหสอดคลอง
The Gift of the Priestly Vocation... 57
กับการเติบโตดานชีวติ จิต เพือ่ ชวยใหสามเณรมีวฒ
ุ ภิ าวะในการตัดสินใจอยางเด็ดขาด
ที่จะติดตามองคพระคริสตเจาในสังฆภาพโดยศีลบวช ดวยการปฏิบัติตามคํา
แนะนําแหงพระวรสารในลักษณะที่เหมาะสมกับการอบรมขั้นนี้
63. ระหวางการเตรียมตัวสําหรับขั้นศึกษาเทววิทยา หรือขั้นปรับเปลี่ยน
ตนใหเหมือนพระคริสตเจา และนําไปสูการเลือกการเปนพระสงฆอยางเด็ดขาด
ขั้นนี้จึงใหทํางานอยางเปนระบบในเรื่องบุคลิกภาพของสามเณร โดยเปดรับการ
ทํางานของพระจิตเจา ในการเดินทางของการอบรมพระสงฆความสําคัญของ
การอบรมดานความเปนมนุษยยังคงตองดําเนินตอไปเรื่อย ๆ อยางไมสิ้นสุด แท
ที่จริงแลว ความศักดิ์สิทธิ์ของพระสงฆถูกสรางขึ้นบนความเปนมนุษยนี้เอง และ
สวนใหญขึ้นอยูกับความเปนมนุษยที่ครบครันและบรรลุวุฒิภาวะของพระสงฆ
การขาดบุคลิกภาพที่มีโครงสรางและสมดุลที่ดีจะเปนอุปสรรคสําคัญและแทจริง
ของการอบรมสามเณรใหเปนพระสงฆในขั้นตอไป
เพราะเหตุนี้ สามเณรจึงควรคุนเคยกับการฝกฝนคุณสมบัติของตน พัฒนา
จิตใจใหเขมแข็ง และควรเรียนรูคุณธรรมของมนุษย เชน “ความจริงใจ ความ
เอาใจใสตอความยุติธรรมอยางสมํ่าเสมอ ความซื่อสัตยตอคําสัญญา การมี
ความประพฤติออนโยน รูจักพูดจาอยางเหมาะสมดวยความรักตอทุกคน” [96]
คุณธรรมเหลานี้จะทําใหสามเณรเปนภาพสะทอนที่มีชีวิตถึงความเปนมนุษย
ของพระเยซูเจา และเปนสะพานที่เชื่อมมนุษยกับพระเจาใหเปนหนึ่งเดียวกัน
สุดทายเพื่อใหสามเณรเติบโตทั้งทางกายภาพ จิตใจ อารมณ และสังคม ซึ่งจําเปน
สําหรับผูอภิบาล เปนประโยชนที่จะสงเสริมการออกกําลังกายและเลนกีฬา
รวมกับการเตรียมเขาใหมีวิถีชีวิตที่สมดุล นอกจากการเดินเคียงขางของผูใหการ
อบรมและวิญญาณรักษแลว ในบางกรณีอาจชวยสามเณรดวยการเดินเคียงขาง
ดานจิตวิทยาโดยเฉพาะ เพื่อบูรณาการองคประกอบพื้นฐานในเรื่องบุคลิกภาพ
ของเขา
58 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
กระบวนการอบรมนี้ มี จุ ด มุ  ง หมายเพื่ อ อบรมบุ ค คลให รู  จั ก ความจริ ง
เกี่ยวกับตนเอง อิสรภาพ และการควบคุมตนเอง เพื่อเอาชนะปจเจกนิยม
ทุกรูปแบบ และเพื่อสงเสริมการมอบตนเองเปนของขวัญอยางจริงใจ ซึ่งทําใหเขา
รูจักอุทิศตนอยางใจกวางเพื่อผูอื่น
64. พระหรรษทานของพระเจาชวยเหลือและทําใหสามเณรบรรลุวุฒิภาวะ
ความเปนมนุษย ซึ่งจะนําไปสูการเติบโตดานชีวิตจิต การฝกฝนสุดทายนี้ชวย
ใหสามเณรสามารถเจริญชีวิตเฉพาะพระพักตรพระเจาดวยทาทีแหงการภาวนา
และดวยความสนิทสัมพันธสวนตัวกับพระคริสตเจา ซึ่งรวมกันเปนอัตลักษณของ
ศิษยพระคริสต
65. นี่คือการเดินทางที่เปลี่ยนชีวิต ซึ่งเกี่ยวของกับหมูคณะทั้งหมด ตาราง
การฝกอบรมถูกนําเสนอผานบทบาทเฉพาะของผูใหการอบรมและบทบาทของ
วิญญาณรักษ ซึ่งจะสนับสนุนสามเณรในกระบวนการเจริญเติบโต ชวยใหเขา
ตระหนักถึงความจํากัดของตน และในขณะเดียวกันก็เห็นวาเขาตองพึ่งพระ
หรรษทานของพระเจาและการตักเตือนฉันพี่นอง
66. ระยะเวลาของขั้นนี้ซึ่งตองไมตํ่ากวาสองป ควรใชเวลาอยางเพียงพอที่
จะบรรลุวัตถุประสงคที่วางไว และชวยใหสามเณรไดรับความรูที่จําเปนทั้งดาน
ปรัชญาและมนุษยศาสตร มีความสําคัญที่จะใหคุณคาการอบรมอยางถูกตอง
และเขาใจในจุดมุงหมายเฉพาะของการอบรมในขั้นนี้ และไมควรคิดวาเปนเพียง
“ขั้นบังคับ” เพื่อใหกาวไปสูขั้นการศึกษาเทววิทยา
67. เมื่อจบขั้นการศึกษาปรัชญา หรือการเปนศิษยพระคริสต สามเณร
เมื่อบรรลุถึงอิสรภาพภายในและวุฒิภาวะอยางเพียงพอแลว เขาควรมีแนวทาง
ที่จําเปนเพื่อเริ่มตนการเดินทางนั้นดวยใจสงบและดวยความยินดี ซึ่งจะนําเขา
ไปสูการปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนพระคริสตเจามากขึ้นในกระแสเรียกไปสู
ศาสนบริการผูไดรับศีลบวช อันที่จริงหลังจากขั้นนี้ เปนไปไดที่จะรับสามเณร
เปนผูสมัครบวช (คํารอง ผูสมัครบวช ฯลฯ) เมื่อพิจารณาแลววาเจตนารมณ
ของเขาไดบรรลุถึงวุฒิภาวะเพียงพอ [97] ซึ่งแสดงใหเห็นโดยคุณสมบัติที่
The Gift of the Priestly Vocation... 59
กําหนดไว พระศาสนจักรยอมรับสามเณรที่มอบตนเอง โดยเลือกและเรียกเขา
เพื่อใหเขาเตรียมตัวรับศีลบวชในอนาคต โดยเชื่อวาสามเณรไดตัดสินใจอยาง
รับผิดชอบแลว การรับเปนผูสมัครบวชจึงเปนคําเชิญใหเขาเขารับการอบรมตอไป
ใหเขาปรับเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับพระคริสตเจาผูทรงเปนผูเลี้ยงแกะที่ดี โดย
พระศาสนจักรรับรองอยางเปนทางการ
ก.3. ขั้นศึกษาเทววิทยา (หรือขั้นปรับเปลี่ยนตนเอง)
(The Stage of Theological Studies (or Configuration)
68. กรอบความคิดของขั้นปรับเปลี่ยน ดังที่ไดกลาวมาแลววา ตั้งแตแรก
ที่ไดรับกระแสเรียก ทั้งชีวิตของพระสงฆคนหนึ่งเปนการอบรมอยางตอเนื่อง เปน
ชีวิตของศิษยคนหนึ่งของพระเยซูเจา ที่นอบนอมตอการทํางานของพระจิตเจา
เพือ่ รับใชพระศาสนจักร การอบรมขัน้ ตนในปแรก ๆ ของสามเณราลัยมีจดุ มุง หมาย
ประการแรกที่จะนําทางผูสมัครใหเขาสูการติดตามพระคริสตเจา เมื่อจบขั้นนี้ซึ่ง
เรียกวาขั้นศิษยพระคริสต การอบรมจะมุงเนนการปรับเปลี่ยนสามเณรใหเหมือน
กับพระคริสตเจา ผูท รงเปนทัง้ ผูเ ลีย้ งแกะและผูร บั ใช เพือ่ วาเมือ่ รวมเปนหนึง่ เดียว
กับพระองคแลว เขาจะสามารถทําใหชีวิตของตนเปนของขวัญเพื่อผูอื่น
การปรับเปลี่ยนนี้เรียกรองใหสามเณรเพงพินิจพระบุคคลของพระเยซู
คริสตเจาอยางลึกซึ้ง พระบุตรสุดที่รักของพระบิดา ผูถูกสงมาในฐานะผูเลี้ยง
แกะของประชากรของพระเจา การปรับเปลี่ยนนี้จะทําใหความสัมพันธของ
สามเณรกับพระคริสตเจาสนิทสัมพันธและเปนสวนบุคคลมากขึ้น และขณะ
เดียวกันจะนําไปสูการตระหนักและการยอมรับอัตลักษณสงฆ
69. ขั้นการศึกษาเทววิทยา หรือขั้นปรับเปลี่ยน มีจุดมุงหมายเฉพาะ
เพือ่ อบรมดานชีวติ จิตใหเหมาะสมสําหรับการเปนพระสงฆ จะตองคอย ๆ ปรับเปลีย่ น
ชี วิ ต ให เ หมื อ นกั บ พระคริ ส ตเจ า กลายเป น ประสบการณ ที่ ทํ า ให ค วามรู  สึ ก
และทาทีของพระบุตรของพระเจาพัฒนาขึ้นในชีวิตของศิษยพระคริสต ในขณะ
60 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
เดียวกันก็ชกั นําใหสามเณรซาบซึง้ ในชีวติ พระสงฆ ซึง่ ไดรบั แรงบันดาลใจจากความ
ปรารถนา และไดรับการสงเสริมจากความสามารถที่จะอุทิศตนทํางานอภิบาล
ประชากรของพระเจา การศึกษาขั้นนี้จะวางรากฐานทีละนอยใหสามเณรเปลี่ยน
ตนเองใหคลายกับผูเลี้ยงแกะที่ดี ผูทรงรูจักแกะของพระองค ทรงพลีชีวิตเพื่อ
แกะของพระองค [98] และทรงตามหาแกะที่พลัดหลงออกไปนอกคอก (เทียบ
ยน 10:14-17)
เนื้อหาของการศึกษาขั้นนี้เรียกรองและตองการการอุทิศตนอยางมาก
ยังเรียกรองความรับผิดชอบอันแนวแนที่จะปฏิบัติคุณธรรมหลักและคุณธรรม
ทางเทววิทยา รวมทั้งคําแนะนําตามพระวรสาร [99] นอกจากนี้ยังเรียกรอง
ใหออนนอมตอการทํางานของพระเจา ผานทางพระพรของพระจิตเจา ตาม
ทัศนคติที่แทจริงของสงฆและธรรมทูต อีกทั้งเรียกรองใหคอย ๆ ทบทวนประวัติ
ของตนเอง ตามคุณลักษณะที่สอดคลองกับความรักของผูอภิบาล ซึ่งปลุกเรา ปน
แตง และสรางแรงจูงใจในชีวิตของพระสงฆ [100]
70. การอุทิศตนเปนพิเศษที่แสดงลักษณะของการปรับเปลี่ยนตนเองให
เหมือนพระคริสตเจา ผูทรงเปนผูรับใชและผูเลี้ยงแกะ สามารถสอดคลองกับขั้น
การศึกษาเทววิทยา โดยไมลดพลังการขับเคลื่อนและเนื้อหาของการศึกษาขั้น
นี้ใหออนลง จริง ๆ แลวควรมีปฏิสัมพันธที่บังเกิดผลและกลมกลืนระหวางวุฒิ
ภาวะดานความเปนมนุษยและดานชีวิตจิต ระหวางชีวิตภาวนาและการเรียนรู
ทางเทววิทยา
71. ในมุมมองของการรับใชในพระศาสนจักรเฉพาะถิ่น สามเณรไดรับ
เรียกใหมีชีวิตจิตของพระสงฆสังฆมณฑล อุทิศตนอยางสิ้นเชิงใหแกสังฆมณฑลที่
เขาสังกัดอยู หรือสังฆมณฑลที่เขาจะไปทํางานศาสนบริการ เพราะเขาจะเปน
ผูอภิบาลและผูรับใชทุกคนในบริบทเฉพาะ (เทียบ 1 คร 9:19) ในขณะที่ผูกพัน
อยูกับพระศาสนจักรเฉพาะถิ่น การขึ้นอยูกับสังฆมณฑลนี้เกี่ยวของเปนพิเศษกับ
สมณะที่ไมเปนผูถวายตน (Secular clergy) แตก็เกี่ยวของกับพระสงฆทุกคน
The Gift of the Priestly Vocation... 61
อยางแบงแยกไมไดที่ทํางานศาสนบริการในสังฆมณฑล และไมมีอคติตอพระพร
พิเศษของแตละคนดวย จึงหมายความดวยวาพระสงฆตองปรับวิธีคิดและการ
ทํางานของตนใหสอดคลอง และสนิทสัมพันธกับพระสังฆราชและเพื่อนพระสงฆ
เพื่อประโยชนสวนหนึ่งของประชากรของพระเจา [101]
ความรักตอสังฆมณฑลอันขาดเสียมิไดนี้สามารถรับความบริบูรณจาก
พระพรพิเศษอื่น ๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากการทํางานของพระจิตเจา ในทํานองเดียวกัน
พระพรแหงสังฆภาพที่ไดรับจากศีลบวชรวมถึงการอุทิศตนใหแกพระศาสนจักร
สากล และดังนั้นจึงพรอมจะปฏิบัติพันธกิจเพื่อความรอดพนซึ่งประกาศใหกับ
มนุษยทุกคน จนถึงสุดปลายแผนดิน (เทียบ กจ 1:8) [102]
72. ระหวางขั้นนี้สามเณรจะไดรับแตงตั้งเปนผูอานพระคัมภีร (Lector)
และผูชวยพิธีกรรม (Acolyte) ตามระดับวุฒิภาวะของสามเณรแตละคน และ
ในชวงเวลาที่เหมาะสมในโปรแกรมการอบรม เพื่อวาเขาจะสามารถปฏิบัติศาสน
บริการเหลานี้เปนระยะเวลาหนึ่งตามความเหมาะสม และเตรียมตนเองใหพรอม
สําหรับอนาคตในการรับใชพระวาจาและพระแทนบูชา (Service of Word and
Altar) [103] การเปนผูอานพระคัมภีร “ทาทาย” ใหสามเณรยินยอมใหพระ
วาจาของพระเจาเปลี่ยนแปลงตนเอง ซึ่งเปนเปาหมายของการภาวนาและการ
ศึกษาของเขา การแตงตั้งเปนผูชวยพิธีกรรมหมายถึงการมีสวนรวมอยางลึกซึ้งใน
ธรรมลํ้าลึกของพระคริสตเจา ผูสละพระองคเอง และประทับอยูในศีลมหาสนิท
ในที่ชุมนุม และในพี่นองชายหญิงของพระองค
ดังนั้นศาสนบริการทั้งสองนี้ ควบคูกับการเตรียมดานชีวิตจิตอยางเหมาะ
สม จะชวยใหสามเณรสามารถดําเนินชีวิตอยางเขมขนยิ่งขึ้นตามขอเรียกรองจาก
ขั้นปรับเปลี่ยนนี้ ดังนั้นระหวางขั้นนี้ ทั้งผูอานพระคัมภีรและผูชวยพิธีกรรมจึง
ควรมีโอกาสปฏิบัติศาสนบริการที่ไดรับมอบหมายอยางเปนรูปธรรม มิใชเพียงใน
ขอบเขตดานพิธีกรรมเทานั้น แตรวมถึงการสอนคําสอน การประกาศพระวรสาร
และการรับใชเพื่อนมนุษย
62 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
อยางไรก็ดี การเดินเคียงขางอยางเหมาะสมอาจเผยใหทราบวากระแส
เรียกที่ชายหนุมนั้นเชื่อวาเขาไดรับ และอาจไดรับการรับรองในขั้นแรก ในความ
เปนจริงอาจจะไมใชกระแสเรียกของศาสนบริกรพระสงฆ หรืออาจไมไดรับการ
บมเพาะอยางเหมาะสม ในกรณีนี้สามเณรควรหยุดการเดินทางในการอบรมเพื่อ
รับศีลบวช ไมวาเขาจะตัดสินใจดวยตนเอง หรือหลังจากผูใหการอบรมสั่งใหหยุด
ก็ตาม
73. เปาหมายของขั้นการศึกษาเทววิทยา หรือขั้นปรับเปลี่ยน คือการ
ฝกฝนตนเองไปสูการรับศีลบวช เมื่อจบขั้นนี้ หรือระหวางขั้นตอไป ถาพระ
สังฆราชวินิจฉัยวาเหมาะสม หลังจากไดฟงความคิดเห็นของผูใหการอบรมแลว
สามเณรจะขอรับการบวชเปนสังฆานุกร เมื่อไดรับศีลบวชแลวเขาจะเขาสูสถานะ
สมณะพรอมทั้งมีสิทธิและหนาที่ที่เกี่ยวของกับสถานภาพ และจะรับเขาสังกัดใน
พระศาสนจักรเฉพาะถิ่น หรือสังฆองคกรเฉพาะบุคคล หรือในสถาบันผูถวายตัว
[104] หรือคณะชีวิตผูแพรธรรม หรือในคณะที่ไดรับอํานาจหนาที่ที่จะเขาสังกัดได
ก.4. ขั้นอภิบาล (หรือขั้นสังเคราะหกระแสเรียก)
(The Pastoral Stage (or Vocational Synthesis)
74. ขั้นอภิบาล หรือขั้นสังเคราะหกระแสเรียก เปนระยะเวลาตั้งแตอยูใน
สามเณราลัยจนถึงการรับศีลบวชเปนพระสงฆ ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการบวชเปน
สังฆานุกรแลว การอบรมขั้นนี้มีจุดประสงคสองประการ คือ ประการแรก
เปนการเขาสูชีวิตผูอภิบาล พรอมกับความรับผิดชอบที่คอย ๆ เพิ่มขึ้น ดวย
จิตตารมณแหงการรับใช ประการที่สองเปนความพยายามเตรียมตัวสูการเปน
สงฆอยางเหมาะสม อาศัยการเดินเคียงขางเปนพิเศษ ระหวางขั้นนี้ผูสมัคร
จะไดรับการรองขอใหประกาศเจตนารมณที่จะเปนพระสงฆดวยใจอิสระ รูตัว
และไมเปลี่ยนแปลง หลังจากไดบวชเปนสังฆานุกรแลว [105]
The Gift of the Priestly Vocation... 63
75. ในขั้นนี้ผูสมัครจะไดรับประสบการณอันหลากหลายในพระศาสนจักร
เฉพาะถิ่นตาง ๆ และขึ้นอยูกับสภาพระสังฆราชจะเปนผูกําหนดโปรแกรมการ
อบรมเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการบวชเปนสังฆานุกรและพระสงฆ ตาม
ปกติการอบรมขั้นนี้จะเกิดขึ้นภายนอกสามเณราลัยและใชเวลานานพอสมควร
ชวงเวลานี้ซึ่งผูสมัครจะดําเนินชีวิตรับใชชุมชนวัด จะมีผลกระทบอยางสําคัญตอ
บุคลิกภาพของผูสมัคร ดังนั้นจึงแนะนําวาเจาอาวาส หรือผูที่รับผิดชอบเขตงาน
อภิบาลซึ่งรับสามเณรไว ควรตระหนักวาเขาไดรับมอบหมายใหอบรมสามเณร
นั้น และควรเดินเคียงขางเขาในการเขาสูศาสนบริการดานอภิบาลอยางคอยเปน
คอยไป
76. ผูใหญ (ที่มีอํานาจปกครอง) ของพระศาสนจักร (Ordinary)
พรอมกับความเห็นพองกับอธิการสามเณราลัยที่สามเณรไดรับการศึกษา
อบรม และพิจารณาจากความตองการของคณะสงฆและโอกาสที่สามเณรจะ
ไดรับการอบรม จะมอบหมายใหสามเณรแตละคนไปอยูในชุมชนหนึ่งที่เขาจะ
รับใชในงานอภิบาล [106] ระยะเวลาของการอบรมขั้นนี้จะแตกตางกันสําหรับ
สามเณรแตละคน ขึ้นอยูกับวุฒิภาวะและความเหมาะสมของผูสมัคร เหนือ
อื่นใด อยางนอยจะตองปฏิบัติตามระยะเวลาทีก่ ฎหมายพระศาสนจักรกําหนด
ระหวางการรับการบวชเปนสังฆานุกรจนถึงการรับศีลบวชเปนพระสงฆ [107]
77. การบวชเปนสังฆานุกรและพระสงฆ เมื่อการอบรมของสามเณราลัย
สิ้นสุดลง ผูใหการอบรมตองชวยผูสมัครใหยอมรับอยางนอบนอมตอการตัดสิน
ของพระสังฆราชที่มีตอเขา [108]
ผูที่ไดรับศีลบวชจําเปนตองมีเวลาเตรียมตัวอยางเหมาะสม โดยเฉพาะ
การเตรียมตัวดานชีวิตจิต [109] จิตตารมณการภาวนาที่อยูบนพื้นฐานของความ
สัมพันธกับพระบุคคลของพระเยซูเจา และจากการเห็นแบบอยางที่ดีของ
พระสงฆ ควบคูไปกับการไตรตรองพิธีบวชในบทภาวนาและอากัปกิริยาทาง
พิธีกรรมอยางละเอียดถี่ถวน ซึ่งสังเคราะหและแสดงความหมายอันลึกซึ้งของ
ศีลบวชในพระศาสนจักร
64 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
78. ครอบครัวของผูสมัครบวชรวมทั้งชุมชนวัด ควรมีสวนในการเตรียม
ตัวของผูเตรียมตัวรับศีลบวชอยางเขมขนเชนกัน อยางไรก็ตาม โปรแกรมอบรม
เฉพาะสําหรับการบวชสังฆานุกรและพระสงฆควรถูกแยกออกจากกันอยาง
ชัดเจน เนื่องจากเปนสองชวงเวลาที่แตกตางกันมาก ดังนั้นเวนแตจะมีเหตุผล
สําคัญใหปฏิบัติเปนอื่น จึงไมควรรวมการรับศีลบวชสังฆานุกร (ชั่วคราวหรือ
ถาวร) เขากับการรับศีลบวชพระสงฆ เพื่อใหความสนใจในแตละชวงเวลาอยาง
สมควร และชวยใหเกิดความเขาใจในสวนของสัตบุรุษ
79. ความเชื่อมโยงกับการอบรมตอเนื่อง กระบวนการอบรมเริ่มตั้งแตการ
รับศีลบวชเปนพระสงฆ และดําเนินตอเนื่องไปภายในครอบครัวสงฆ เปนอํานาจ
หนาที่ของพระสังฆราชในการนําพระสงฆเขาสูพลวัตของการอบรมตอเนื่อง
พรอมดวยความชวยเหลือจากบรรดาผูชวยพระสังฆราช [110]
ข) การอบรมตอเนื่อง (Ongoing Formation)
80. คําวา “การอบรมตอเนื่อง” [111] เปนสิ่งเตือนใจวาประสบการณ
ของการเปนศิษยพระคริสตของผูที่ไดรับเรียกเปนพระสงฆเปนประสบการณที่
ไมมีวันหยุดนิ่ง พระสงฆไมเพียง “เรียนรูที่จะรูจักพระคริสตเจา” แตภายใต
การทํางานของพระจิตเจา เขาจะพบวาตนเองอยูในกระบวนการปรับเปลี่ยน
ตนเองอยางคอยเปนคอยไป และอยางตอเนื่องใหเหมือนกับพระองค ทั้งใน
ตัวตนและการปฏิบัติตนของเขา ซึ่งทาทายตัวเขาใหเจริญกาวหนาภายในอยาง
ตอเนื่อง [112]
พระสงฆตองคอยหลอเลี้ยง “ไฟ” ซึ่งใหแสงสวางและความอบอุนแกการ
ปฏิบัติศาสนบริการอยางซื่อสัตย โดยระลึกวา “หัวใจและรูปแบบของการอบรม
ตอเนื่องของพระสงฆคือความรักของผูอภิบาล” [113]
81. การอบรมตอเนื่องมีจุดมุงหมายเพื่อชวยใหพระสงฆซื่อสัตยตอศาสน
บริการของตนในการเดินทางแหงการกลับใจอยางตอเนื่อง เพื่อใหพระพรที่ได
The Gift of the Priestly Vocation... 65
รับเมื่อเขารับศีลบวชลุกโชนขึ้นมาอีกครั้ง [114] การเดินทางนี้เปนสวนตอเนื่อง
ของกระบวนการสรางอัตลักษณสงฆ ที่เริ่มตนในสามเณราลัยและสําเร็จทางศีล
ศักดิ์สิทธิ์โดยการรับศีลบวชเปนพระสงฆ เพราะวางานอภิบาลทําใหอัตลักษณนี้
เติบโตเต็มที่เมื่อเวลาผานไป [115]
82. มีความสําคัญยิ่งที่สัตบุรุษจะสามารถพบกับพระสงฆที่มีวุฒิภาวะและ
ไดรับการศึกษาอบรมอยางเหมาะสม แทที่จริงแลวหนาที่นี้ “สอดคลองกับสิทธิ
ที่ชัดเจนในสวนของสัตบุรุษที่สะทอนถึงผลดานบวกจากการอบรมที่ดีและความ
ศักดิ์สิทธิ์ของพระสงฆของเขา” [116] การอบรมตอเนื่องจะตองกระทําอยางเปน
รูปธรรม นั่นคือบังเกิดในความเปนจริงของพระสงฆ ในรูปแบบที่พระสงฆทุกคน
สามารถรับการอบรมอยางมีประสิทธิผล ทั้งนี้เพราะพระสงฆเองคือบุคคลแรกที่
ตองรับผิดชอบการอบรมตอเนื่องของตน [117]
ภราดรภาพของพระสงฆเปนสภาพแวดลอมแรกของการอบรมตอเนื่อง การ
อบรมนี้ควรไดรับการสงเสริมในแตละสังฆมณฑล โดยพระสงฆคนหนึ่งหรือกลุม
หนึ่งซึ่งไดรับการเตรียมตัวเปนพิเศษมากอน และไดรับแตงตั้งอยางเปนทางการ
ใหชวยเหลือในการอบรมตอเนื่อง ทั้งนี้ควรพิจารณาพระสงฆในกลุมอายุตาง ๆ
และสถานการณเฉพาะของพี่นองสงฆประกอบดวย [118]
83. ระยะแรกของการเดินทางนี้เริ่มตนทันทีหลังจากการรับศีลบวชเปน
พระสงฆ ในระยะนี้พระสงฆไดเรียนรูผานทางการปฏิบัติศาสนบริการ ความ
ซื่อสัตยตอการพบกับองคพระผูเปนเจาเปนการสวนตัว และการเดินเคียงขางฝาย
จิตของตน รวมทั้งพรอมที่จะขอคําแนะนําจากพระสงฆที่มีประสบการณมากกวา
สิ่งสําคัญอยางยิ่งคือความสามารถในการสรางความสัมพันธในการรวมมือกัน
และการแบงปนกับเพื่อนพระสงฆวัยเดียวกัน ควรสงเสริมใหพระสงฆที่ดําเนิน
ชีวิตอยางดีและทํางานอภิบาลดวยความกระตือรือรนเปนพี่เลี้ยง เพื่อชวยใหพระ
สงฆหนุมไดสัมผัสกับการมีสวนรวมอยางจริงใจและแข็งขันในชีวิตของคณะสงฆ
ของทั้งสังฆมณฑล
66 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
พระสังฆราชมีหนาที่ “ดูแลไมใหพระสงฆบวชใหมเขาไปอยูในสถานการณ
ที่นาหนักใจหรือละเอียดออนเกินไป และหลีกเลี่ยงไมใหเขาไปทํางานในสถาน
ที่หางไกลจากเพื่อนพระสงฆ เปนการดีที่จะสงเสริมการดําเนินชีวิตรวมกันในรูป
แบบที่เปนไปได” [119] และควรสรางระบบการเดินเคียงขางสวนตัวใหพระสงฆ
หนุม เพื่อสงเสริมและรักษาคุณภาพของศาสนบริการของเขา เพื่อใหเขารับมือ
กับความทาทายแรกในงานอภิบาลดวยความกระตือรือรน เหนือสิ่งอื่นใดเจา
อาวาสควรรับผิดชอบหนาที่นี้ หรือพระสงฆคนใดก็ตามที่พระสงฆหนุมถูกสงไป
หาเปนคนแรก
84. หลังจากมีประสบการณดานงานอภิบาลบางแลว อาจมีความทาทาย
ใหม ๆ ที่เกี่ยวของกับศาสนบริการและชีวิตของพระสงฆจะเกิดขึ้นไดงาย ดังนี้
ก. ประสบการณกับความออนแอของตนเอง คือ ความขัดแยงที่อาจ
คงอยูในบุคลิกภาพของเขาสามารถปรากฏใหเห็นและจําเปนตองได
รับการแกไข ประสบการณกับความออนแอของตนเองอาจทําให
พระสงฆมีความถอมตนและไววางใจในพระเมตตาของพระเจามาก
ขึ้น เพราะพระอานุภาพแสดงออกเต็มที่เมื่อมนุษยมีความออนแอ
(เทียบ 2 คร 12:9) รวมทั้งเขาใจผูอื่นมากขึ้นดวย พระสงฆจะตอง
ไมอยูอยางโดดเดี่ยว แตควรไดรับการสนับสนุนและมีการเดินเคียง
ขางทั้งดานชีวิตจิต และ/หรือดานจิตวิทยา ในทุกกรณี เขาจะตอง
กระชับความสัมพันธกับวิญญาณรักษเพิ่มมากขึ้น เพื่อตักตวงบท
เรียนในเชิงบวกจากความยากลําบาก เพื่อใหเรียนรูที่จะมองชีวิต
ตนเองตามความจริง และเขาใจชีวิตของตนมากขึ้นดวยแสงสวาง
แหงพระวรสาร
ข. ความเสี่ยงตอความคิดที่วาตนเองเปนเพียงผูปฏิบัติหนาที่ดาน
ความศักดิ์สิทธิ์ เมื่อเวลาผานไป พระสงฆอาจเริ่มคิดวาเขาเปนเพียง
คนงานของชุมชน หรือผูปฏิบัติหนาที่ดานความศักดิ์สิทธิ์ [120]
The Gift of the Priestly Vocation... 67
โดยปราศจากหัวใจของผูเลี้ยงแกะ ทันทีที่พระสงฆสังเกตเห็นความ
คิดนี้ เปนความสําคัญยิ่งที่พระสงฆจะรับรูถึงความใกลชิดของเพื่อน
พระสงฆและอยูใกลพวกเขาใหมากขึ้น ดังที่พระสันตะปาปาฟรังซิส
ไดกลาวไววา “ไมมีประโยชนอะไร... สําหรับพระสงฆผูปฏิบัติ
เพียงเพราะเปนหนาที่ ในขณะที่เขาปฏิบัติหนาที่แตแสวงหาความ
บรรเทาใจในที่หางไกลจากพระคริสตเจา มีแตเพียงผูที่จองมองดู
สิ่งที่เปนแกนแทจริงเทานั้นจะสามารถรื้อฟนคําตอบรับพระพรที่
เขาเคยไดรับ และในชวงเวลาที่แตกตางของชีวิต เขาไมยอมหยุดที่
จะสละตนเองเปนของขวัญ ผูที่ยอมเปลี่ยนตนเองใหเหมือนกับผู
เลี้ยงแกะที่ดีเทานั้นจะพบเอกภาพ สันติสุข และพละกําลังในความ
นบนอบเพื่อรับใช” [121]
ค. ความทาทายจากวัฒนธรรมรวมสมัย คือ การเกี่ยวของอยาง
เหมาะสมของศาสนบริการสงฆกับวัฒนธรรมในปจจุบัน ที่มาพรอม
กับปญหาที่ซับซอน ทําใหพระสงฆตองเปดใจและตองมีความรูเทา
ทันเสมอ [122] เหนืออื่นใด พระสงฆตองยืนหยัดอยูกับการอบรม
ทั้ง 4 มิติ คือ มิติดานความเปนมนุษย ดานชีวิตจิต ดานสติปญญา
และดานงานอภิบาล
ง. ความลุมหลงในอํานาจและความรํ่ารวย ความลุมหลงนี้อาจเกิดขึ้น
ในรูปของการยึดติดกับตําแหนง ความหมกมุนกับการสรางพื้นที่
เพื่อความสะดวกสบายสําหรับตนเอง การตองการความกาวหนา
ในหนาทีก่ ารงาน ปรารถนาอํานาจหรือทรัพยสมบัติ ทําใหไมสนใจ
พระประสงคของพระเจา หรือความตองการของประชาชนที่เขาได
รับมอบหมายใหดูแล หรือคําสั่งของพระสังฆราช การตักเตือนฉันพี่
นองอาจชวยไดในสถานการณดังกลาว หรือแมแตคําตําหนิหรือวิธี
การอื่น ๆ ที่กระทําไปดวยความหวงใย เวนแตพฤติกรรมที่ถือวาผิดตอ
ผูอื่น ซึ่งจําเปนตองไดรับโทษ
68 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
จ. ความทาทายของการถือโสด การเจริญชีวติ ถือโสดเพือ่ พระอาณาจักร
ในบริบทที่มีสิ่งเราใหม ๆ และความตึงเครียดในชีวิตอภิบาล จะ
ไมสนับสนุนใหพระสงฆเติบโตและมีวุฒิภาวะ และอาจนําไปสู
ความถดถอยดานอารมณความรูสึก ซึ่งภายใตอิทธิพลของกระแส
สังคมที่รุนแรง อาจทําใหพระสงฆใหความสําคัญกับความตองการ
ของตนเองมากเกินไป และแสวงหาการชดเชยดวยพฤติกรรม
ตาง ๆ ทีข่ ดั ขวางความเปนบิดาของพระสงฆ และความรักของผูอ ภิบาล
ฉ. การอุทิศตนทั้งครบใหแกศาสนบริการของตน เมื่อเวลาผานไป
ความกระตือรือรนในงานธรรมทูตและความใจกวางในการทุมเท
ทํางานอภิบาลของพระสงฆอาจลดนอยลง เพราะความเหนื่อยลา
ความออนแอของรางกายตามธรรมชาติ และสุขภาพที่เปราะบาง
ที่เริ่มปรากฏอาการใหเห็น ความขัดแยง ความผิดหวังในการทํางาน
อภิบาล กิจวัตรที่เปนภาระ และความยากลําบากที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลง และองคประกอบอื่น ๆ ของสิ่งแวดลอมทางสังคม
และวัฒนธรรม
85. พระสงฆอาจตองการความชวยเหลือเนื่องจากการเจ็บปวยไดไมวา
จะอยูในวัยใด พระสงฆที่สูงอายุหรือเจ็บปวยมอบการเปนพยานใหแกชุมชน
คริสตชนและคณะสงฆ และเปนเครื่องหมายที่มีประสิทธิผลของชีวิตที่ถวายแด
พระเจา มีความสําคัญที่พระสงฆผูสูงอายุหรือเจ็บปวยตองรูสึกวาตนเองเปนสวน
หนึ่งของคณะสงฆและของชีวิตสังฆมณฑลที่ยังมีประโยชน ผานทางการที่พี่นอง
พระสงฆไปเยี่ยมเยียนบอยครั้งและแสดงความใกลชิด
86. การริเริ่มตาง ๆ เพื่อชวยเหลือพระสงฆ ซึ่งเกิดจากความหวงใยพระ
สงฆที่ปฏิบัติหนาที่ศาสนบริการในพื้นที่เดียวกัน ในสภาพแวดลอมการอภิบาล
เดียวกัน หรือทํางานในโครงการเดียวกัน เปนกิจกรรมที่นายกยอง
87. ภราดรภาพทางศีลศักดิ์สิทธิ์ กอใหเกิดการชวยเหลือที่มีคาในการ
อบรมตอเนื่องของพระสงฆ อันที่จริงการเดินทางของการเปนศิษยพระคริสต
The Gift of the Priestly Vocation... 69
เรียกรองใหเติบโตในความรักเพิ่มมากขึ้นเสมอ ซึ่งเปนการสังเคราะหของ “ความ
ครบครันของสงฆ” [123] แตพระสงฆไมอาจบรรลุถึงความครบครันนี้ไดเพียง
ลําพัง เพราะบรรดาพระสงฆเปนรูปแบบของพระสงฆหนึ่งเดียว และเอกภาพ
ของคณะสงฆสรางขึ้นจาก “ขอผูกมัดพิเศษของความรักในงานแพรธรรม ศาสน
บริการ และภราดรภาพ” [124] ดังนั้นภราดรภาพทางศีลศักดิ์สิทธิ์ที่ลึกซึ้ง [125]
ของพระสงฆทั้งหลายจึงเปนการแสดงออกประการแรกของความรัก และยังเปน
พื้นที่แรกที่ความรักนี้จะเติบโตขึ้นได ทั้งหมดนี้สามารถเปนไปไดดวยความชวย
เหลือของพระจิตเจา โดยแตละคนตองผานการตอสูฝายจิตเพื่อชําระตนเองให
หลุดพนจากปจเจกนิยมทุกรูปแบบ
88. แมจะมีหลายวิธีที่จะแสดงภราดรภาพทางศีลศักดิ์สิทธิ์ใหเห็นอยาง
เปนรูปธรรม แตควรสนับสนุนบางวิธีตั้งแตการอบรมขั้นตน
ก. การพบปะระหวางพี่นอง พระสงฆบางคนจัดการพบปะระหวาง
พี่ น  อ งเพื่ อ รวมตั ว กั น ภาวนาด ว ยการรํ า พึ ง พระวาจาพระเจ า
โดยเฉพาะในรู ป แบบของการอ า นพระคั ม ภี ร  แ บบรํ า พึ ง ภาวนา
(Lectio Divina) ศึกษาหัวขอทางเทววิทยาหรือการอภิบาลบางเรือ่ ง
อยางลึกซึ้ง แบงปนประสบการณศาสนบริการที่รับผิดชอบ ชวย
เหลือกัน หรือเพียงแตใชเวลารวมกันในความสามารถที่แตกตางกัน
ของพวกเขา การพบปะในรูปแบบตาง ๆ เหลานี้เปนการแสดงออก
อยางเรียบงายและธรรมดาที่สุดของภราดรภาพสงฆ ไมวาในกรณี
ใดก็สมควรสงเสริมกิจกรรมประเภทนี้
ข. การใหคําแนะนําฝายจิตและการสารภาพบาป ภราดรภาพทางศีล
ศักดิ์สิทธิ์กลายเปนการชวยเหลือที่มีประโยชนอยางยิ่งเมื่อใช
รูปแบบการใหคําแนะนําฝายจิต และการสารภาพบาป ซึ่งพระสงฆ
รองขอจากกันและกัน การจัดการพบปะรูปแบบนี้เปนประจําจะ
ชวยใหพระสงฆ “พยายามแสวงหาความครบครันดานชีวิตจิต
70 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ซึ่งจําเปนเพื่อใหศาสนบริการของเขามีประสิทธิผล” [126] โดยเฉพาะ
อยางยิง่ ในยามทีป่ ระสบความยากลําบาก พระสงฆจะพบวาวิญญาณ
รักษเปนพีน่ อ งของเขา ผูส ามารถชวยเขาใหวนิ จิ ฉัยตนเหตุของความ
ยากลําบากนั้น และหาทางแกไขที่เหมาะสมตอไป
ค. การเขาเงียบ การเขาเงียบเปนพื้นฐานสําคัญมากในชีวิตของพระ
สงฆ เนื่องจากจะนําเขาไปพบกับองคพระผูเปนเจาเปนการสวนตัว
ในความเงียบและการสํารวมจิต การเขาเงียบเปนเวลาพิเศษสําหรับ
วินิจฉัยทั้งชีวิตสวนตัวและงานธรรมทูต เพื่อใหทบทวนชีวิตของตน
ทีละนอยและอยางลึกซึ้ง เมื่อจัดเขาเงียบใหพระสงฆเปนกลุม ชวย
ใหการมีสวนรวมเพิ่มขึ้นและสงเสริมความสนิทสัมพันธระหวางพี่
นองพระสงฆมากขึ้น
ง. การรับประทานอาหารรวมกัน เมื่อรับประทานอาหารรวมกัน พระ
สงฆจะรูจักกันมากขึ้น ไดรับฟงกันและเขาใจกันและกัน ซึ่งเปด
โอกาสใหแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอยางมีคุณคาฉันมิตร
จ. การใชชีวิตรวมกัน พระสงฆบางคนทําใหมีการใชชีวิตรวมกัน
โดยการริเริ่มสวนตัว หรือดวยความจําเปนดานงานอภิบาล หรือ
เพราะเปนธรรมเนียมหรือการจัดการของสังฆมณฑล [127] การ
อยูในบานเดียวกันจะกลายเปน “ชีวิตรวมกัน” อยางแทจริง ผาน
การภาวนาเปนหมูคณะ การรําพึงตามพระวาจาของพระเจา และ
โอกาสอื่น ๆ สําหรับการอบรมตอเนื่อง นอกจากนี้ การอยูรวมกัน
เชนนี้ทําใหสามารถแบงปนความคิดเห็นเกี่ยวกับความพยายามและ
ประสบการณงานอภิบาลตาง ๆ ของพระสงฆแตละคน ชีวิตรวมกัน
ยังสงเสริมใหมีอารมณความรูสึกและชีวิตจิตที่สมดุลของผูที่มีสวน
รวม และสนับสนุนความเปนหนึ่งเดียวกับพระสังฆราช ดังนั้นจึง
จําเปนตองดูแลใหรูปแบบดังกลาวนี้ยังคงเปดตอคณะสงฆทั้งหมด
และตอความจําเปนดานงานอภิบาลของสังฆมณฑล
The Gift of the Priestly Vocation... 71
ฉ. สมาคมสงฆ สมาคมเหลานี้มีจุดประสงคเพื่อสงเสริมเอกภาพทั้ง
ในระหวางพระสงฆดวยกันเอง กับคณะสงฆ และกับพระสังฆราช
[128] สมาชิกของสมาคมตาง ๆ ที่พระศาสนจักรรับรอง ไดพบการ
สนับสนุนที่จําเปนจากเพื่อนพระสงฆในสมาคมเหลานั้น เพื่อ
ใหเขากาวหนาในการเดินทางไปสูความศักดิ์สิทธิ์ และไดรับการ
คํ้าจุนในการทํางานอภิบาล [129] พระสงฆบางคนเปนสมาชิกใน
ขบวนการใหม ๆ ของพระศาสนจักร ที่ซึ่งเขาพบบรรยากาศของ
ความเปนหนึ่งเดียวกันและไดฟนฟูความกระตือรือรนในการแพร
ธรรม พระสงฆบางคนยังดําเนินชีวติ ผูถ วายตัวอยูภ ายในสถาบันนักบวช
แบบฆราวาสตอไป “ซึง่ มีลกั ษณะเดนทีย่ งั เปนสงฆสงั ฆมณฑล” [130]
โดยไมตองรับเขาสังกัดเปนสมาชิกตามปกติในสถาบัน
72 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
The Gift of the Priestly Vocation... 73
บทที่ 5
มิติตาง ๆ ของการอบรม (Dimensions of Formation)
ก) การบูรณาการมิติตาง ๆ ของการอบรม
(Integrating the Dimensions of Formation)
89. สมณสาสนเตือนใจเรื่อง “เราจะมอบผูเลี้ยงแกะใหทาน” ระบุวา [131]
มีสี่มิติที่มีผลตอกันโดยดําเนินไปดวยกันตามแนวทางของการอบรม (Iter of
formation) และในชีวิตของศาสนบริกรที่ไดรับศีลบวช คือ มิติดานความเปน
มนุษย ซึ่งเปนรากฐานที่จําเปนและเปนพลังขับเคลื่อนของชีวิตสงฆทั้งหมด มิติดาน
ชีวิตจิต ซึ่งชวยหลอหลอมวิถีชีวิตทีมีคุณภาพของศาสนบริการสงฆ มิติดาน
สติปญญา ซึ่งใหเครื่องมือในการใชเหตุผลที่จําเปนเพื่อเขาใจคุณคาตาง ๆ ของการ
เปนผูอภิบาล และทําใหคุณคาเหลานั้นปรากฏใหเห็นไดในชีวิตประจําวัน และ
ถายทอดความเชื่ออยางเหมาะสม และมิติดานงานอภิบาล ซึ่งทําใหพระสงฆ
สามารถรับใชพระศาสนจักรดวยความรับผิดชอบและบังเกิดผล
แตละมิติของการอบรมมีจุดมุงหมายที่ “การเปลี่ยนแปลง” หรือ “เปลี่ยน
ดวงใจเราใหกลายเปนเหมือน” ภาพลักษณของพระหฤทัยของพระคริสตเจา
[132] ผูที่พระบิดาทรงสงมาเพื่อทําใหแผนการแหงความรักของพระองคสําเร็จ
ไป พระองคทรงสงสารเมื่อทอดพระเนตรเห็นความทุกขยากของมนุษย (เทียบ
มธ 9:35-36) พระองคทรงออกไปตามหาแกะหลงทาง (เทียบ มธ 18:12-14)
จนถึงกับทรงสละชีวิตของพระองคเพื่อแกะเหลานั้น (เทียบ ยน 10:11) พระองค
เสด็จมามิใชเพื่อใหผูอื่นรับใช แตเพื่อรับใชผูอื่น (เทียบ มธ 20:24-28) ดังที่สภา
สังคายนาวาติกันครั้งที่สองระบุวา [133] อันที่จริงกระบวนการอบรมทั้งหมดใน
การเตรียมตัวเปนพระสงฆ มีจุดมุงหมายเพื่อเตรียมความพรอมใหสามเณร “เขา
สูความสนิทสัมพันธกับความรักของพระคริสตเจาผูเลี้ยงแกะที่ดี” [134]
74 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
90. สามเณรจะไดรับเรียกผานทางศีลบวชใหรวบรวมและเปนผูนํา
ประชากรของพระเจาใหเปนหนึ่งเดียวกัน โดยสนับสนุนและสงเสริมความรวมมือ
ระหวางผูมีความเชื่อทั้งหลาย การอบรมเปนพระสงฆจึงตองเกิดขึ้นภายใน
บรรยากาศของหมูคณะซึ่งตองสามารถสงเสริมทัศนคติเหลานั้น ที่เหมาะสมและ
สามารถนําไปปฏิบัติไดในชีวิตและศาสนบริการของพระสงฆ [135]
ชี วิ ต หมู  ค ณะในสามเณราลั ย เป น บริ บ ทที่ เ หมาะสมที่ สุ ด ในการเตรี ย ม
สามเณรใหพรอมสําหรับภราดรภาพในหมูสงฆอยางแทจริง คือสภาพแวดลอม
ของมิติตาง ๆ ดังที่กลาวขางตนมารวมกันและมีผลตอกัน และเปนสถานที่ที่
บรรดาสามเณรบรรลุถึงความกลมกลืนและอยางมีบูรณาการซึ่งกันและกัน ควร
นําเครื่องมืออบรมบางอยางมาใชในการอบรมหมูคณะ และเพื่อใหรูจักสามเณร
แตละคนดีขึ้น เชน การสื่อสารอยางจริงใจและเปดเผย การแลกเปลี่ยนความคิด
เห็น การทบทวนชีวิต การตักเตือนกันฉันพี่นอง และโครงการตาง ๆ ของหมูคณะ
ชุมชนคริสตชนเปนแปลงเพาะเมล็ดพันธุกระแสเรียกพระสงฆ เนื่องจาก
สามเณรมาจากชุมชนคริสตชน เพื่อถูกสงกลับไปรับใชชุมชนคริสตชนหลังจากรับ
ศีลบวชแลว ขณะที่เปนสามเณรและเมื่อเขาบวชเปนพระสงฆแลวเขาตองมีความ
ผูกพันอันมีชีวิตกับชุมชนคริสตชน นี่คือสายสัมพันธที่ประสานทั้งสี่มิติของการ
อบรมเขาดวยกันและทําใหกลมกลืนกัน
91. พระจิตเจาทรงนําชุมชนคริสตชนมาอยูรวมกันเพื่อสงเขาออกไปปฏิบัติ
พันธกิจ ดังนั้นแรงกระตุนใหเปนธรรมทูต และการแสดงออกที่เปนรูปธรรมของ
แรงกระตุนนี้ จึงเปนของประชากรของพระเจาทุกคน [136] ตองเปน “การ
ออกเดินทาง” เสมอ [137] เนื่องจาก “ความชื่นชมยินดีของพระวรสารซึ่งเติม
เต็มชีวิตของคณะสานุศิษยคือความชื่นชมยินดีแบบธรรมทูต” [138] แรงผลัก
ดันใหแพรธรรมนี้เกี่ยวของกับบุคคลที่ไดรับเรียกเขามาสูสังฆภาพทางศีลบวช
ในรูปแบบที่พิเศษมากขึ้น เนื่องจากเปนเปาหมายและขอบเขตของการอบรม
ทั้งหมด งานธรรมทูตจึงเปนสายใยอีกเสนหนึ่งที่ผูกพันกัน (เทียบ มก 3:13-14)
ทําใหมีชีวิตชีวาและใหชีวิตแกทุกมิติดังกลาวไว ชวยใหพระสงฆผูไดรับการอบรม
The Gift of the Priestly Vocation... 75
ทั้งในมิติดานความเปนมนุษย ดานสติปญญา ดานชีวิตจิต และดานการอภิบาล
ไดปฏิบัติศาสนบริการอยางเต็มที่ เนื่องจากเขา “ไดรับเรียกใหมีจิตตารมณธรรม
ทูต กลาวคือ ใหเขามีจิตตารมณ ‘สากล’ อยางแทจริง ซึ่งเริ่มตนจากพระคริสต
เจา และขยายออกไปถึงทุกคน เพื่อใหทุกคนไดรับความรอดพน และรูความจริง
ที่สมบูรณ (1 ทธ 2:4)” [139]
92. กรอบความคิดเกีย่ วกับการอบรมแบบบูรณาการมีความสําคัญอยางยิง่
เนื่องจากผูที่จะรับใชองคพระผูเปนเจาในชุมชนคริสตชนตองทํางานดวยทุกสิ่ง
ที่เขาเปนและมีอยูทั้งหมดในตัว ผูไดรับเรียกเปน “บุคคลที่สมบูรณ” กลาวคือ
เปนบุคคลที่ไดรับเลือกใหบรรลุถึงชีวิตภายในที่สมบูรณ โดยปราศจากการแบง
แยกหรือความขัดแยงตาง ๆ ในตนเอง จึงจําเปนตองใชรูปแบบการสอนแบบ
บูรณาการเพื่อบรรลุวัตถุประสงคนี้ กลาวคือ การเดินทางที่เปดโอกาสใหหมูคณะ
การอบรม (Formative community) รวมมือกับการทํางานของพระจิตเจา เพื่อ
ใหเปนการอบรมที่ผนวกรวมมิติตาง ๆ อยางสมดุล
ดวยเหตุนี้ จึงจําเปนตองเฝาระมัดระวังไมใหแนวทางการอบรมนั้นมีวิสัย
ทัศนที่ดูเหมือนธรรมดาเกินไป หรือคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับสังฆภาพ ผูใหการอบรม
ควรใสใจในการวินิจฉัยวาไดใหขอเรียกรองในการอบรมใหกับผูที่มอบหมายใน
ความดูแลของพวกเขาเปนเพียงรูปแบบภายนอกเทานั้นหรือไม ซึ่งทัศนคติเชน
นั้นจะไมชวยใหสามเณรเติบโตในทุกมิติ แตจะทําใหเขาคุนเคยโดยไมรูตัวไม
มากก็นอยกับความนบนอบ “แบบทาสและเพื่อรับใชตนเอง” เทานั้น
ข) มิติดานความเปนมนุษย (The Human Dimension)
93. การเรียกของพระเจามีสว นและเกีย่ วของกับความเปนมนุษย “ทีแ่ ทจริง”
การอบรมเพื่ อ เป น พระสงฆ จึ ง จํ า เป น ต อ งจั ด ให มี วิ ธี ก ารที่ เ หมาะสมเพื่ อ ให
สามเณรพัฒนาวุฒิภาวะเพื่อปฏิบัติศาสนบริการของสงฆไดอยางแทจริง เพื่อมุงสู
จุดประสงคนี้ สามเณรจึงไดรบั เรียกใหพฒ ั นาบุคลิกภาพของเขา โดยมีพระคริสตเจา
ผูทรงเปนมนุษยที่สมบูรณแบบเปนแบบฉบับและแหลงพลังของเขา
76 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
เกณฑตัดสินความเหมาะสมสําหรับศาสนบริกรศีลบวชไดรับการไตรตรอง
อยางมากในพันธสัญญาใหม (เทียบ มธ 28:20; 1 ปต 5:1-4; ทต 1:5-9) [140]
ซึ่งใหความสําคัญกับมิติดานความเปนมนุษยมาตั้งแตตน บรรดาปตาจารย
ไดพัฒนาและปฏิบัติแนวทางการดูแลเอาใจใส หรือ “การบําบัดรักษา” บุรุษ
แหงความเชื่อที่ไดรับเรียกใหทํางานแพรธรรม เพราะปตาจารยเหลานี้เชื่อมั่นวา
มนุษยทุกคนจําเปนอยางยิ่งที่ตองบรรลุวุฒิภาวะ [141] ชีวิตจิตที่ถูกตองและ
กลมกลืนตองการพืน้ ฐานความเปนมนุษยทดี่ ี อันทีจ่ ริงดังทีน่ กั บุญโทมัส อาไควนัส
เตือนเราวา “พระหรรษทานจะสรางโดยใชธรรมชาติเปนพื้นฐาน” [142] พระ
หรรษทานไมไดเขามาแทนที่ธรรมชาติ แตทําใหธรรมชาติสมบูรณขึ้น [143] ดัง
นั้นจึงจําเปนตองปลูกฝงความถอมตน ความกลาหาญ สามัญสํานึก จิตใจที่สูงสง
ความสามารถตัดสินอยางถูกตองและดุลพินิจ ความอดกลั้นและความโปรงใส
ความรักในความจริงและความซื่อสัตย
94. การอบรมมิติดานความเปนมนุษยเปนรากฐานของการอบรมทุกดาน
สําหรับพระสงฆ [144] ที่สงเสริมการเจริญเติบโตของบุคคลทั้งครบ และชวยให
ทุกมิติของการอบรมบูรณาการเขาดวยกัน ในดานกายภาพหมายถึงความสนใจ
เรือ่ งสุขภาพ โภชนาการ กิจกรรมทางกายภาพ และการพักผอน ในดานจิตวิทยา
จะมุง เนนการสรางบุคลิกภาพทีม่ นั่ คง ซึง่ แสดงลักษณะดวยความสมดุลทางอารมณ
การควบคุมตนเอง และมีบูรณาการทางเพศที่ดี ในดานศีลธรรม สามเณรตอง
ไดรบั การอบรมใหมมี โนธรรมเทีย่ งตรง หมายความวาเขาจะกลายเปนบุคคลทีร่ จู กั
รับผิดชอบและตัดสินใจไดอยางถูกตอง การตัดสินอยางยุติธรรม และสามารถ
รับรูบุคคลและเหตุการณตาง ๆ โดยปราศจากอคติ การรับรูดังกลาวควรชวย
สามเณรใหสํานึกถึงการเคารพตนเองอยางสมดุล ซึ่งชวยเขาใหตระหนักรูใน
ความสามารถพิเศษของตน และเรียนรูที่จะใชความสามารถนั้นรับใชประชากร
ของพระเจา การอบรมมิติดานความเปนมนุษยควรปลูกฝงสามเณรใหเห็นคุณคา
ของความงาม โดยใหขอมูลที่ชวยใหสามเณรเขาถึงการแสดงออกทางศิลปะใน
The Gift of the Priestly Vocation... 77
รูปแบบตาง ๆ เพื่อปลูกฝงใหเขามีความเขาใจความงาม เขาควรตระหนักถึง
สภาพแวดลอมทางสังคม และไดรับความชวยเหลือใหปรับปรุงความสามารถใน
การสรางปฏิสมั พันธทางสังคม เพือ่ ใหเขาสามารถเสริมสรางชุมชนทีเ่ ขาอาศัยอยู
เพื่อใหการอบรมนี้บังเกิดผล สามเณรทุกคนจําเปนตองรับรูประวัติ
ชีวิตของตนเอง และพรอมจะบอกเลาใหผูใหการอบรมของตนทราบ ซึ่งรวมถึง
ประสบการณในวัยเด็กและวัยรุนของเขา อิทธิพลของครอบครัวและญาติ ๆ ที่มี
ตอตัวเขา ความสามารถของเขาในการสรางความสัมพันธที่มีวุฒิภาวะและความ
สมดุลกับผูอื่น หรือการขาดความสามารถนี้ และความสามารถในการรับมือกับ
ชวงเวลาโดดเดี่ยวอยางสรางสรรค ขอมูลดังกลาวจะชวยใหเลือกวิธีการอบรม
อยางเหมาะสมที่สุด ทั้งสําหรับการประเมินผลการเดินทางที่ผานมา และเพื่อให
เขาเขาใจมากขึ้นในเวลาที่เขาทอถอยหรือประสบปญหา
95. เครื่องหมายอยางหนึ่งที่แสดงวาสามเณรพัฒนาบุคลิกภาพไดอยาง
กลมกลืนคือ ความสามารถสรางความสัมพันธอยางมีวุฒิภาวะกับชายและหญิง
ในวัยตาง ๆ และในทุกสถานภาพทางสังคม สมควรพิจารณาความสัมพันธ
ระหวางสามเณรและสตรีดวย ดังที่กลาวไวในเอกสารทางการของพระศาสนจักร
ที่เราอานพบวาความสัมพันธเชนนี้มีผล “ตอสามเณรไมเพียงในชีวิตสวนตัว
ของเขา แตในกิจกรรมอภิบาลในอนาคตของเขาดวย” [145]
สภาพแวดลอมแรกที่เราคุนเคยและเห็นความสําคัญของสตรี ที่เห็นได
ชัดเจนก็คือภายในครอบครัว การมีสตรีคนหนึ่งอยูในครอบครัวจะเคียงขาง
สามเณรไปตลอดเสนทางการอบรม และมีสวนสนับสนุนการเติบโตอยางบูรณา
การตั้งแตวัยทารกเปนตนไป สามเณรจะไดรับประโยชนสําคัญอยางมากจาก
บรรดาสตรีคือ ดวยการเปนพยานดวยชีวิตของพวกเขา ใหแบบอยางของการ
ภาวนาและการรับใชงานอภิบาล จิตตารมณความเสียสละและปฏิเสธตนเอง
การดูแลเอาใจใสและความใกลชิดอันออนโยนตอเพื่อนบาน การไตรตรองใน
รูปแบบเดียวกันนี้สามารถกระทําไดผานทางการเปนพยานที่ปรากฏอยูดวย
ชีวิตของสตรีผูถวายตัว
78 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ความเขาใจและความคุนเคยกับความเปนสตรีที่มีอยูในเขตวัด และใน
หลายบริบทของพระศาสนจักร มีประโยชนและจําเปนสําหรับการอบรมมิติ
ความเปนมนุษยและมิติดานชีวิตจิตของสามเณร และควรมองในแงบวกเสมอ
ดังที่พระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 กลาววา “ดังนั้นขาพเจาจึงหวังวา... ทาน
จะไตรตรองอยางรอบคอบวาหมายถึงอะไรเมื่อเราพูดถึง ‘อัจฉริยภาพของสตรี’
ไมเพียงเพื่อใหสามารถมองเห็นสวนหนึ่งของแผนการของพระเจาไดในวลีนี้ ซึ่ง
เราจําเปนตองยอมรับและเห็นคุณคา แตเพื่อใหแสดงอัจฉริยภาพนี้ออกมาอยาง
เต็มที่มากยิ่งขึ้นไดในชีวิตของสังคมโดยรวม รวมทั้งในชีวิตของพระศาสนจักร
ดวย” [146]
96. สามเณรจะสามารถกําหนดชีวิตตนเอง และดําเนินชีวิตดวยความ
รับผิดชอบ ดวยการตระหนักถึงความออนแอของตนเองที่มีอยูในบุคลิกภาพของ
เขาเสมอ บรรดาผูใหการอบรม พระสงฆผูโปรดศีลอภัยบาป วิญญาณรักษ และ
ตัวสามเณรเอง ควรตระหนักวาในวิกฤติการณตาง ๆ ถาพวกเขาเขาใจและแกไข
อยางเหมาะสม และพรอมจะเรียนรูจากชีวิต ชวงเวลาดังกลาวตองกลายเปน
โอกาสแหงการกลับใจและการฟนฟูตนเอง ชวงเวลาเหลานั้นจะชักนําสามเณร
ใหถามตนเองอยางจริงจังเกี่ยวกับการเดินทางที่ผานมา เกี่ยวกับสภาพการณ
ปจจุบันของเขา การเลือก และอนาคตของเขา
97. การอบรมมิติดานความเปนมนุษยเปนสวนประกอบที่จําเปนสําหรับ
การประกาศพระวรสาร เนื่องจากการประกาศนี้เกิดขึ้นผานตัวบุคคล และใช
ความเปนมนุษยของเขาเปนสื่อกลาง “ทานจะเปนพยานถึงเรา... จนถึงสุดปลาย
แผนดินโลก” (เทียบ กจ 1:8) ความเปนจริงสมัยใหมทําใหเราตองไตรตรอง
พระวาจาของพระเยซูเจาเหลานี้ในรูปแบบใหม เพราะ “สุดปลายแผนดินโลก”
ไดขยายตัวออกผานสื่อมวลชนและเครือขายสังคม “นี่คือเวทีใหม เปนลาน
สาธารณะเปดทีค่ นทัง้ หลายเขามาแบงปนความคิด ขอมูลและความคิดเห็นตาง ๆ
และเปนที่ทําใหความสัมพันธและชุมชนรูปแบบใหมสามารถเกิดขึ้นได” [147]
The Gift of the Priestly Vocation... 79
เปนเวทีซึ่งผูอภิบาลในอนาคตไมอาจแยกตัวออกไป ไมวาระหวางการอบรมหรือ
ระหวางปฏิบัติศาสนบริการในอนาคต
จากมุมมองนี้ การใชสื่อมวลชน และความคุนเคยกับโลกดิจิตอลจึงเปน
สวนสําคัญในการพัฒนาบุคลิกภาพของสามเณร เพราะ “ดวยการใชเทคโนโลยี
การสื่อสารใหม ๆ พระสงฆสามารถนําผูคนมารูจักชีวิตของพระศาสนจักร และ
ชวยคนรวมสมัยใหคนพบพระพักตรของพระคริสตเจา พระสงฆจะทําเชนนี้ได
ถาเขาเรียนรูตั้งแตชวงเวลาของการอบรม วิธีใชเทคโนโลยีเหลานี้อยางเชี่ยวชาญ
และเหมาะสม ดวยความเขาใจทางเทววิทยาที่ถูกตอง และสะทอนชีวิตจิตอัน
เขมแข็งของพระสงฆ ที่ไดรับการหลอเลี้ยงจากการสนทนากับองคพระผูเปนเจา
อยางสมํ่าเสมอ” [148]
98. เนื่องจากพระบัญชาที่ไดรับจากพระคริสตเจา พระศาสนจักรมอง
ดวยความมั่นใจและเห็นความเปนไปไดที่โลกดิจิตอลเสนอใหเพื่อการประกาศ
พระวรสาร [149] มี “สถานที่” ใหม ๆ ที่คนจํานวนมากเคลื่อนไหวอยูทุกวัน นี่
คือ “พื้นที่ของดิจิตอล” (Digital peripheries) จะตองมีวัตถุประสงคในการ
สรางวัฒนธรรมที่แทจริงในการพบปะกันในพระนามของพระเยซูเจา เพื่อสราง
ประชากรหนึ่งเดียวของพระเจา “สื่อมวลชนสามารถชวยเราใหรูสึกใกลชิดกัน
และกันมากขึ้น ทําใหรูสึกไดถึงเอกภาพของครอบครัวมนุษย ซึ่งสามารถสงเสริม
ความสามัคคีและทําใหเกิดความพยายามอยางจริงจังที่จะทําใหทุกคนมีชีวิตที่มี
ศักดิ์ศรีมากขึ้น การสื่อสารที่ดีชวยเราใหใกลชิดกันมากขึ้น รูจักกันและกันดีขึ้น
และมีเอกภาพมากขึ้นในที่สุด” [150]
99. ในกรณีของคนสวนใหญที่เริ่มตนการเดินทางในสามเณราลัยเขาไป
อยูในโลกดิจิตอลและเชี่ยวชาญในการใชเครื่องมือดิจิตอลมาแลว จึงจําเปนตอง
ใสใจและระมัดระวังความเสี่ยงที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได ซึ่งมาพรอมกับการเขาไป
ในโลกดิจิตอลบอย ๆ รวมถึงการเสพติดหลากหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแกไข
ไดดวยการสนับสนุนดานชีวิตจิตและจิตวิทยาอยางเหมาะสม สามเณรควร
80 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
เติบโตขึ้นมาในสภาพแวดลอมนี้ โดยคิดเสมอวาสามเณราลัยเปนโรงเรียนอบรม
สั่งสอนความเปนมนุษยและความเชื่อ เพื่อใหพวกเขาเปลี่ยนตนเองใหสอดคลอง
กับพระคริสตเจามากขึ้น พระองคทรงนําพระองคเองเขามาอยูใกลชิดมวล
มนุษยชาติแมแตคนที่อยูหางไกล “ขอใหภาพลักษณของชาวสะมาเรียใจดี ผู
รักษาบาดแผลของชายที่บาดเจ็บ โดยชโลมบาดแผลดวยนํ้ามันและเหลาองุน
เปนแรงบันดาลใจสําหรับเรา ขอใหการสื่อสารของเราเปนนํ้ามันบรรเทาความ
เจ็บปวด และเปนเหลาองุนรสดีที่ทําใหหัวใจราเริง ขอใหแสงสวางที่เรานําไป
มอบใหผูอื่นไมเปนผลมาจากสิ่งเสริมแตงหรือสิ่งที่ทําใหตื่นตาตื่นใจ แตเปนผล
ของแสงสวางจากการเปน ‘เพื่อนมนุษย’ ที่เปยมดวยความรักและความเมตตา
ของเรา ตอผูที่บาดเจ็บและถูกทิ้งไวที่ขางถนน” [151]
100. เครือขายสังคมออนไลนควรถูกรวมเขากับชีวิตประจําวันของหมู
คณะของสามเณราลัยในลักษณะเฉพาะ (ดวยการใชอยางเฝาระวัง แตอยาง
สงบและในทางบวกดวย) สามเณรควรไดรับประสบการณวาเปนสถานที่เสนอ
โอกาสใหม ๆ ในแงของการสรางความสัมพันธระหวางบุคคล การพบปะกับผูอื่น
การมีสวนรวมกับเพื่อนมนุษยของเขา และการเปนพยานถึงความเชื่อ เราอาจ
มองสิ่งเหลานี้วาเปนการเจริญเติบโตในดานการอบรม ที่ตองคํานึงถึงทุกสถานที่
ซึ่งสามารถสรางความสัมพันธและเจริญชีวิตอยู
ค) มิติดานชีวิตจิต (The Spiritual Dimension)
101. การอบรมดานชีวิตจิตมีจุดมุงหมายเพื่อหลอเลี้ยงและสนับสนุนความ
สนิทสัมพันธกับพระเจา และกับพี่นองชายหญิงของเรา ในมิตรภาพของพระเยซูเจา
ผูทรงเปนผูเลี้ยงแกะที่ดี และดวยทาทีที่นอบนอมตอพระจิตเจา [152] ความ
สนิทสัมพันธนี้จะเสริมสรางหัวใจของสามเณร ดวยความรักที่ใจดีมีเมตตาและ
เสียสละ ซึ่งเปนจุดเริ่มตนของความรักของผูอภิบาล
The Gift of the Priestly Vocation... 81
102. หัวใจของการอบรมดานชีวิตจิตคือ การสนิทสัมพันธเปนหนึ่งเดียว
สวนตัวกับพระคริสตเจา ซึ่งเกิดและไดรับการหลอเลี้ยงผานทางวิธีเฉพาะของ
การภาวนาแบบเงียบที่ใชเวลานานมากขึ้น (สํารวมจิตภาวนา และจิตภาวนา)
[153] รวมทั้งการภาวนา การฟงพระวาจา การมีสวนรวมดวยใจศรัทธาในการ
รับศีลศักดิ์สิทธิ์ ในการรวมพิธีกรรม และในการดําเนินชีวิตหมูคณะ สามเณร
เสริมสรางความสนิทสัมพันธเปนหนึ่งเดียวสวนตัวกับพระเจา ตามแบบอยาง
ของพระคริสตเจา ผูมีแผนการชีวิตคือการปฏิบัติตามพระประสงคของพระบิดา
ของพระองค (เทียบ ยน 4:34) ในการเดินทางของการอบรม ปพิธีกรรมเสนอ
กระบวนการเรียนรูของพระศาสนจักรเกี่ยวกับธรรมลํ้าลึก เพื่อใหชีวิตจิตของ
ปพิธีกรรมซึมซับกลายเปนชีวิตภายในดวยตัวบทพระคัมภีรและการภาวนาใน
พิธีกรรม [154]
103. เราตองระลึกเสมอวา “การไมรูจักพระคัมภีรก็คือการไมรูจักพระ
คริสตเจา” [155] ดังนั้นความสัมพันธกับพระวาจาของพระเจาจึงเปนสิ่งสําคัญ
เดนชัดในกระบวนการเจริญเติบโตของชีวิตจิต [156] กอนที่พระวาจาจะถูก
เทศนสอน พระวาจาตองไดรับการตอนรับเขามาในสวนลึกของหัวใจกอน [157]
“เหนืออื่นใด ในบริบทของการประกาศพระวรสารแบบใหม ซึ่งพระศาสนจักร
ไดรับเรียกใหประกาศในวันนี้” [158] การประกาศพระวรสารแบบใหมคือจุด
อางอิงอยางตอเนื่องสําหรับชีวิตของศิษยพระคริสต และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
จิตใหเปนเหมือนกับพระคริสตเจาผูเลี้ยงแกะที่ดี สามเณรจําเปนตองไดรับการ
แนะนําอยางเปนขั้นตอนใหรูจักพระวาจาของพระเจา ผานวิธีการที่เรียกวาการ
อานพระคัมภีรแบบรําพึงภาวนา (Lectio Divina) [159] ซึ่งเปนวิธีรําพึงภาวนา
ประจําวันอยางลึกซึ้ง [160] และปฏิบัติอยางซื่อสัตยและขยันขันแข็ง จะทําให
การศึกษาเลาเรียนและการภาวนาไปดวยกัน ทําใหเกิดผลมากมายที่รับจากการ
แลกเปลี่ยนกัน และจะทําใหแนใจวาสามเณรไดเขาถึง [161] ทั้งพันธสัญญาเดิม
และพันธสัญญาใหมอยางมีบูรณาการ
82 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
104. เนือ่ งจากสามเณรจําเปนตองเปลีย่ นตนเองใหเหมือนกับพระคริสตเจา
และเพราะการดําเนินชีวิตหลังจากรับศีลบวชเปนพระสงฆแลว “เหนืออื่นใด ผู
สมัครรับศีลบวชตองไดรับการอบรมใหมีความเชื่อที่มีชีวิตชีวาอยางแทจริงใน
ศีลมหาสนิท” [162] โดยการเขารวมในพิธีบูชาขอบพระคุณประจําวัน ซึ่งโดย
ธรรมชาตินําไปสูการนมัสการศีลมหาสนิท [163] ความเชื่อที่มีชีวิตในศีลมหา
สนิทควรซึมซาบเขาไปในชีวิตของสามเณร ในลักษณะที่ทําใหความสนิทสัมพันธ
เปนหนึ่งเดียวที่มั่นคงกับองคพระผูเปนเจาจะไดเติบโตเต็มที่ [164]
105. ในชีวติ การภาวนาของพระสงฆตอ งไมขาดการทําวัตรซึง่ เปน “โรงเรียน
แหงการภาวนา” ที่แทจริงสําหรับสามเณรดวย [165] เมื่อเขาคุนเคยทีละนอย
กับการภาวนาของพระศาสนจักรผานการทําวัตร เขาจะไดลิ้มรสความมั่งคั่ง
และความงามของการภาวนานี้ [166]
106. การรับศีลอภัยบาปเปนประจําและสมํ่าเสมอ ซึ่งสามเณรควร
เตรียมตัวดวยการพิจารณามโนธรรมประจําวัน จะกลายเปนโอกาสใหเขายอมรับ
ความออนแอและบาปดวยความถอมตน และเหนืออื่นใด ทําใหเขาเขาใจและมี
ประสบการณความยินดีที่รูสึกวาองคพระผูเปนเจาทรงรักและใหอภัยเขา ยิ่งกวา
นั้น “ศีลอภัยบาปยังทําใหเกิดความรูสึกถึงการบําเพ็ญพรตและการมีวินัยภายใน
ตนเอง จิตตารมณความเสียสละและการปฏิเสธตนเอง การยอมรับงานหนักและ
กางเขน” [167]
107. การแนะนําชีวิตจิตเปนเครื่องมือพิเศษสําหรับสงเสริมการเติบโต
แบบบูรณาการของบุคคลนั้น สามเณรตองมีเสรีภาพอยางเต็มที่ในการเลือก
วิญญาณรักษจากกลุมพระสงฆที่พระสังฆราชแตงตั้งอยางเหมาะสม [168]
เสรีภาพนี้จะจริงแทเมื่อสามเณรเปดเผยตนเองดวยความจริงใจ ความวางใจ และ
ความนบนอบ สามเณรตองพบกับวิญญาณรักษตามกําหนดเวลาและเปนประจํา
มิใชเพียงครั้งคราวเทานั้น อันที่จริงคุณภาพของการเดินเคียงขางฝายจิตเปนสิ่งที่
สําคัญสําหรับประสิทธิผลของทั้งกระบวนการของการอบรมทั้งหมด
The Gift of the Priestly Vocation... 83
สามเณรควรมีทั้งพระสงฆผูโปรดศีลอภัยบาปปกติและผูโปรดศีลอภัยบาป
พิเศษ พระสงฆผูโปรดศีลอภัยบาปควรมาสามเณราลัยเปนประจํา อยางไร
ก็ตาม สามเณรสามารถเลือกผูโ ปรดศีลอภัยบาปอยางอิสระ ไมวา จากภายในหรือ
ภายนอกสามเณราลัย [169] เปนการเหมาะสมเพื่อการอบรมอยางมีบูรณาการ
สมควรที่พระสงฆวิญญาณรักษจะเปนพระสงฆผูโปรดศีลอภัยบาปประจําดวย
108. การเขาเงียบประจําป [170] เปนชวงเวลาไตรตรองอยางลึกซึ้งดวย
การพบปะกับองคพระผูเปนเจาในการภาวนาที่ยาวขึ้น ทามกลางบรรยากาศอัน
เงียบสงบและสํารวมจิต และตองดําเนินตอไประหวางชวงเวลาที่เหลือของปดวย
การสํารวมจิตเปนระยะและในการภาวนาประจําวัน ดวยวิธีนี้ ความปรารถนาจะ
อุทิศชีวิตอยางใจกวางดวยความรักของผูอภิบาลจะคอย ๆ ปรากฏและเขมแข็ง
ขึ้นในหัวใจของสามเณร และไดรับการหลอหลอมดวยการทํางานของพระจิตเจา
109. เมื่อสามเณรเริ่มตนติดตามพระอาจารยดวยความเชื่อและดวยหัวใจ
ที่เปนอิสระ เขาเรียนรูที่จะถวาย “เจตจํานงของตนดวยความนบนอบตอการรับ
ใชพระเจา และตอเพื่อนมนุษยของเขา” ตามแบบอยางของพระคริสตเจา [171]
ความนบนอบรวมเราเปนหนึ่งเดียวกับปรีชาญาณของพระเจา ซึ่งเสริมสรางพระ
ศาสนจักร และมอบหมายตําแหนงและพันธกิจใหแตละคน ดังนั้นจึงเปนหนาที่
ของผูใหการอบรมที่จะฝกอบรมสามเณรใหมีความนบนอบอยางแทจริงและมีวุฒิ
ภาวะ ดวยการใชอํานาจอยางรอบคอบ และสนับสนุนใหสามเณรยอมรับ รวมทั้ง
การยอมรับภายใน ดวยทาทีที่สงบและจริงใจ
110. การถือความบริสทุ ธิต์ ามคําแนะนําของพระวรสารจะพัฒนาวุฒภิ าวะ
ของสามเณร ทําใหเขาสามารถดําเนินชีวิตตามสภาพความเปนจริงของรางกาย
และอารมณความรูสึกของเขาภายในตรรกะแหงพระพร คุณธรรมขอนี้ “มี
อิทธิพลตอความสัมพันธทุกอยางของมนุษย และนําไปสูประสบการณ และการ
แสดงความรักที่จริงใจแบบมนุษย แบบพี่นอง และความรักตอบุคคล เปนความ
รักที่เสียสละตามแบบอยางของพระคริสตเจา และเปนความรักสําหรับทุกคน
และสําหรับแตละคน” [172]
84 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
พระศาสนจักรจารีตละตินยืนยันวาการบังคับใจตนเองดวยการถือโสดเพื่อ
อาณาจักรสวรรคนั้นเหมาะสมโดยเฉพาะสําหรับสังฆภาพ และเปนเครื่องหมาย
ของการอุทิศตนทั้งครบแดพระเจาและเพื่อนมนุษย [173] พระสงฆหยั่งรากใน
พระคริสตเจาผูทรงเปนเจาบาว และถวายตัวอยางสิ้นเชิงเพื่อการรับใชประชากร
ของพระเจาดวยการถือโสด พระสงฆจึง “สนิทสัมพันธกับพระคริสตเจาไดงาย
ขึ้นดวยหัวใจที่ไมแบงแยก เขาอุทิศตนดวยใจอิสระมากขึ้นในพระองค และผาน
ทางพระองค เพื่อรับใชพระเจาและมนุษย... ดังนั้นเขาจึงพรอมที่จะยอมรับ
‘ความเปนบิดาในพระคริสตเจา’ (อยางกวางขวางยิ่งขึ้น)... ดังนั้นผูที่เตรียมตัว
เปนพระสงฆจึงควรยินดียอมรับชีวิตถือโสดวาเปนพระพรพิเศษของพระเจา”
[174] ดวยการอบรมดานอารมณความรูสึกอยางเหมาะสม และเขาใจวานี่คือ
การเดินทางไปสูความรักที่ครบครัน “การถือโสดของพระสงฆจะไมถูกมองวา
เปนบางสิ่งที่ตองสละเพื่อพระเจา แตเปนพระพรที่ไดรับจากความเมตตาของ
พระองค ผูที่เขาสูสถานะชีวิตนี้ตองตระหนักวาเขาไมไดมาแบกภาระ แตเหนือ
อื่นใด เขาเขามารับพระหรรษทานที่ปลดปลอยเขาใหเปนอิสระ” [175]
เพื่อใหการถือโสดเปนการเลือกโดยอิสระอยางแทจริง ตองชักนําสามเณร
โดยอาศัยแสงสวางแหงความเชื่อใหเขาเขาใจวาพลังของการดําเนินชีวิตตามคํา
แนะนําแหงพระวรสารเปนพระพร [176] ในขณะเดียวกัน เขาควรสามารถ
ยกยองคุณคาของสถานะของผูสมรสอยางถูกตอง “การสมรสและการถือโสด
เปนสองสถานะของชีวิตคริสตชนแท ทั้งสองสถานะเปนการแสดงออกโดยเฉพาะ
ของกระแสเรียกของคริสตชน” [177]
ถือวาขาดความรอบคอบอยางรายแรง ที่จะยอมใหสามเณรคนใดรับศีล
บวชทั้งที่เขาไมมีวุฒิภาวะทางอารมณความรักที่เปนอิสระและมีสันติสุข เขาตอง
รักษาความบริสุทธิ์โดยการถือโสดอยางซื่อสัตยดวยการปฏิบัติคุณธรรมแบบ
มนุษยและคุณธรรมของพระสงฆ ซึ่งหมายถึงการเปดใจใหพระหรรษทานทํางาน
ในตัวเขา ไมเพียงแตการบังคับตนเองดวยนํ้าใจของตนเพียงอยางเดียว
The Gift of the Priestly Vocation... 85
ในกรณีที่รับสามเณรจากพระศาสนจักรคาทอลิกจารีตตะวันออกเขามา
ศึกษาอบรมในสามเณราลัยจารีตละติน การอบรมเรื่องการถือโสดหรือการสมรส
ของเขาตองเคารพบรรทัดฐานและประเพณีของพระศาสนจักรจารีตตะวันออก
ดวย [178]
111. สามเณรควรบมเพาะจิตตารมณความยากจนอยางเปนรูปธรรม [179]
เขาควรไดรับการอบรมใหเลียนแบบพระหฤทัยของพระคริสตเจา ผู “ทรงยอม
กลายเปนคนยากจน แมทรงรํ่ารวย” (เทียบ 2 คร 8:9) เพื่อทําใหเรารํ่ารวยขึ้น
สามเณรควรแสวงหาอิสรภาพที่แทจริงและความนอบนอมของบุตรพระเจา ให
สามารถบรรลุการควบคุมตนเองฝายจิต ซึ่งจําเปนเพื่อจะมีความสัมพันธที่เหมาะ
สมกับโลกและสิ่งของฝายโลก [180] ดวยวิธีนี้เขาจะมีวิถีชีวิตเหมือนอัครสาวก ผู
ที่พระคริสตเจาทรงสงไปดวยความวางใจในพระญาณเอื้ออาทร และ “มิใหนําสิ่ง
ใดติดตัวสําหรับการเดินทาง” (มธ 6:8-9) เขาควรมีพื้นที่พิเศษในใจสําหรับคนที่
ยากจนและออนแอที่สุด เมื่อเขาคุนเคยกับการสละสิ่งใดที่ไมจําเปนอยางเต็มใจ
และใจกวาง เขาควรเปนพยานถึงความยากจนดวยการดําเนินชีวิตอยางเรียบ
งายและสมถะ [181] เพื่อใหเขากลายเปนผูสงเสริมความยุติธรรมในสังคมอยาง
จริงใจและนาเชื่อถือ [182]
112. สามเณรควรบมเพาะความศรัทธาแทจริงเยี่ยงบุตรตอพระนาง
พรหมจารีมารีย [183] ทั้งดวยการรวมพิธีกรรมฉลองแมพระและการปฏิบัติ
กิจศรัทธา โดยเฉพาะการสวดสายประคําและบททูตสวรรคแจงสาร เพราะ
“ทุกมิติของการอบรมพระสงฆสามารถเชื่อมโยงถึงพระนางมารียได ในฐานะที่
พระนางทรงเปนมนุษยผูตอบรับกระแสเรียกของพระเจาไดดีกวามนุษยอื่นใด
พระนางมารียทรงกลายเปนทั้งผูรับใชและศิษยของพระวจนาตถ จนถึงกับทรง
ยอมใหพระวจนาตถปฏิสนธิในหัวใจและในเนื้อหนังของพระนาง เพื่อประทาน
พระองคใหแกมนุษยชาติ” [184]
86 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
นอกจากนั้น สามเณรไมควรลืมความสําคัญของความศรัทธาแทจริงตอ
นักบุญทั้งหลายดวย ทามกลางนักบุญทั้งหลาย ควรใหความสําคัญกับนักบุญ
โยเซฟ ภัสดาของพระนางพรหมจารีมารีย และองคอุปถัมภของพระศาสนจักร
สากล ผูที่ “พระเจาทรงเรียกใหรับใชพระบุคคลและพันธกิจของพระเยซูเจา
โดยตรงดวยการทําหนาที่บิดา” [185] เราควรนําเสนอแบบอยางนี้ตอสามเณร
ทั้งหลาย และใหพวกเขาคุนเคยกับทานนักบุญ เพื่อพวกเขาจะ “มองเห็นวิถีชีวิต
ที่ถอมตนและสมบูรณแบบของทานในการรับใช และมีสวนรวมในแผนการแหง
ความรอดพน” [186]
113. ความรูและการรําพึงถึงปตาจารยของพระศาสนจักร ควรเปนสวน
หนึ่งของการอบรมมิติดานชีวิตจิต [187] เนื่องจากบุคคลเหลานี้เปนพยานถึงชีวิต
ของประชากรของพระเจามานานกวาสองพันป ในตัวปตาจารยทั้งหลาย “ความ
รูสึกไดถึงความใหมของชีวิตคริสตชนมารวมกับความเชื่อที่มั่นคง ในชุมชนคริสต
ชนในสมัยปตาจารยเหลานี้ไดเกิด ‘พลังชีวิตที่อุบัติขึ้น’ ความกระตือรือรนเยี่ยง
ธรรมทูต และบรรยากาศของความรักที่ดลใจวิญญาณทั้งหลายใหกลาหาญขั้น
วีรกรรมในการดําเนินชีวิตประจําวัน” [188]
114. ยิ่งกวานั้น ควรสงเสริมและเปดโอกาสใหแกความศรัทธาและการ
ปฏิบัติกิจศรัทธา รวมทั้งการแสดงออกบางอยางของความเชื่อและความศรัทธา
แบบชาวบาน โดยเฉพาะกิจศรัทธาที่ไดรับการรับรองจากผูมีอํานาจสั่งสอนใน
พระศาสนจักร [189] ดวยวิธีนี้ พระสงฆในอนาคตจะคุนเคยกับ “แนวทางชีวิต
จิตของประชาชน” ที่เขาจะไดรับเรียกใหวินิจฉัย นําทาง และยอมรับ เพราะ
ความรักและประสิทธิผลของงานอภิบาล [190]
115. นอกจากนั้น มีความสําคัญตองบมเพาะคุณธรรมเฉพาะบางประการ
ในตัวผูที่ไดรับเรียกใหเปนพระสงฆและใหปฏิบัติศาสนบริการดานอภิบาล [191]
คือ “ความซื่อสัตย ความประพฤติที่ดีพรอม ความเสมอตนเสมอปลาย ปรีชา
ญาณ จิตตารมณการตอนรับ ความเปนมิตร จิตใจที่ดี ความหนักแนนในสิ่งที่
เปนสาระสําคัญ เปนอิสระจากการยึดมั่นในความคิดเห็นของตนเองมากเกินไป
The Gift of the Priestly Vocation... 87
การไมเห็นแกประโยชนสวนตน ความอดทน ความกระตือรือรนในกิจวัตร
ประจําวัน ความเชื่อมั่นในคุณคาของการทํางานที่ซอนเรนของพระหรรษทานซึ่ง
ปรากฏในบุคคลที่ซื่อและผูยากไร” [192] ยิ่งกวานั้น เพื่อใหเปนผูเลี้ยงแกะอยาง
แทจริงตามแบบอยางพระหฤทัยของพระเยซูเจา พระสงฆตอง “ตระหนักถึง
ความเมตตาของพระเจาที่เขาไมสมควรไดรับในชีวิตของตนและของพี่นอง เขา
ตองบมเพาะคุณธรรมความถอมตนและความเมตตาสงสารประชากรทั่วไปของ
พระเจา โดยเฉพาะบุคคลทีร่ สู กึ วาตนเองเปนบุคคลภายนอกพระศาสนจักร” [193]
ง) มิติดานสติปญญา (The Intellectual Dimension)
116. การอบรมดานสติปญญามีจุดมุงหมายเพื่อใหสามเณรมีความรูความ
สามารถที่ลึกซึ้งดานปรัชญาและเทววิทยา รวมทั้งการเตรียมตัวดานวัฒนธรรม
อยางกวาง ๆ เพียงพอใหเขาประกาศพระวรสารแกผูคนในสมัยของเราไดอยาง
นาเชื่อถือและเขาใจได การอบรมนี้ตองการใหสามเณรเสวนาอยางบังเกิดผลกับโลก
ปจจุบัน และยืนยันความจริงแหงความเชื่อดวยแสงสวางของเหตุผล ดังนั้นจึงแสดง
ใหเห็นถึงความงดงามของความเชื่อ
ผูสมัครเปนพระสงฆตองเตรียมตัวอยางใสใจและขยันขันแข็ง ดวยการ
เพิ่มพูนความรูดานปรัชญาและเทววิทยาอยางลึกซึ้ง พรอมกับพื้นฐานที่ดีเพื่อนําสู
วิชากฎหมายพระศาสนจักร สังคมศาสตร และประวัติศาสตร การเตรียมตัวนี้
เพื่อพยายาม “อธิบายเหตุผลแหงความหวัง” (เทียบ 1 ปต 3:15) เพื่อประกาศ
การเผยแสดงของพระเจา และนําชนทุกชาติมายอมรับความเชื่อ (เทียบ รม
16:26)
เหตุผลที่ชวยใหเขาใจธรรมลํ้าลึกของพระเจา และนําไปหาพระองค ทําให
เขายอมรับการเผยแสดงอยางมั่นคง พยายามเขาใจเนื้อหาของการเผยแสดง
ใหลึกซึ้งมากขึ้น และเสนอเครื่องมือและภาษาสําหรับประกาศการเผยแสดงนี้
ใหแกโลก ดังที่สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่สองระบุไว ความรูดานปรัชญาและ
88 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
เทววิทยา ชวยเรา “ใหไดยิน แยกแยะ และตีความเสียงมากมายในยุคสมัยของ
เรา และตัดสินเสียงเหลานั้นโดยแสงสวางแหงพระวาจาของพระเจา เพื่อใหความ
จริงที่เผยแสดงนั้นสามารถแทรกเขามาในหัวใจไดลึกมากขึ้น เขาใจไดมากขึ้น
และสรางประโยชนไดมากขึ้น” [194]
117. การอบรมดานสติปญญาเปนสวนหนึ่งของการอบรมพระสงฆแบบ
บูรณาการ ยิ่งกวานั้นยังชวยศาสนบริการดานอภิบาลของเขา และมีผลตอการ
อบรมมิติดานความเปนมนุษย และมิติดานชีวิตจิตของเขาดวย ซึ่งไดรับการหลอ
เลี้ยงที่เปนประโยชนจากการอบรมดานสติปญญา หมายความวาการพัฒนาทุก
สมรรถภาพและทุกมิติของบุคคลนั้น รวมทั้งมิติการใชเหตุผล ผานความรูที่ไดรับ
อันหลากหลาย จะชวยใหพระสงฆเติบโตขึ้นเปนผูรับใชและพยานของพระวาจา
ในพระศาสนจักรและในโลก แทนที่จะจํากัดอยูแตในสาขาความรูนั้น ๆ หรือ
เขาใจเพียงวาเปนเครื่องมือสําหรับแสวงหาขอมูลในสาขาตาง ๆ การอบรมสติ
ปญญาชวยใหพระสงฆฟงพระวาจาอยางลึกซึ้ง รวมทั้งฟงชุมชนพระศาสนจักร
เพื่อเรียนรูวิธีการอานเครื่องหมายแหงกาลเวลา
118. การศึกษาปรัชญาและเทววิทยาอยางลึกซึ้งและจริงจังเปนเครื่องมือ
ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด เพื่ อ ให ไ ด วิ ธี คิ ด ซึ่ ง ช ว ยให พ ระสงฆ จั ด การคํ า ถามและความ
ทาทายตาง ๆ ที่เขาพบในศาสนบริการ และแปลความหมายเหลานั้นดวยสายตา
แหงความเชื่อ กระนั้นก็ดี ในดานหนึ่งมีความจําเปนที่ไมละเลยการอบรมมิติดาน
สติปญญาที่เพียงพอและหนักแนน แตอีกดานหนึ่งเราตองระลึกวาความสําเร็จใน
การศึกษาไมอาจเปนเกณฑเดียวสําหรับกําหนดระยะเวลาของการอบรมผูสมัคร
เปนพระสงฆได เพราะแมวาการศึกษาเปนสิ่งสําคัญ แตก็เปนเพียงดานหนึ่ง
ของการอบรมอยางบูรณาการเพื่อเตรียมตัวเปนพระสงฆ เอกสาร “ระบบการ
อบรมพระสงฆระดับชาติ” แตละฉบับจะตองขยายความเกี่ยวกับองคประกอบ
สําคัญที่กลาวถึงคราว ๆ ในเอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” เกี่ยว
กับการอบรมดานสติปญญา โดยพิจารณาสภาวะแวดลอมทางวัฒนธรรมและ
ประวัติศาสตรของแตละประเทศประกอบดวย
The Gift of the Priestly Vocation... 89
จ) มิติดานการอภิบาล (The Pastoral Dimension)
119. เนื่องจากจุดประสงคของสามเณราลัยคือเพื่อเตรียมสามเณรใหกลาย
เปนผูเลี้ยงแกะตามภาพลักษณของพระคริสตเจา การอบรมพระสงฆจึงตอง
เปยมลนไปดวยจิตตารมณของผูอภิบาล การอบรมนี้จะทําใหเขาสามารถแสดง
ความเห็นอกเห็นใจแบบเดียวกัน รวมทั้งความเอื้อเฟอเผื่อแผ ความรักตอทุกคน
โดยเฉพาะคนยากจน และความกระตือรือรนที่จะทํางานเพื่อพระอาณาจักร
ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของศาสนบริการสาธารณะของพระบุตรของพระเจา ซึ่ง
อาจสรุปไดวาเปนความรักของผูอภิบาล
อยางไรก็ตาม ตองจัดการอบรมลักษณะของผูอภิบาลโดยเฉพาะดวย
[195] เพื่อชวยสามเณรใหฝกตนเองใหมีอิสรภาพภายในที่จะทํางานแพรธรรม
เพื่อเปนการรับใช สามารถมองเห็นการทํางานของพระเจาในหัวใจและชีวิตของ
ประชาชน เมื่อมองในแงนี้ เมื่อเขาเปนศาสนบริกรที่รับศีลบวช กิจกรรมดานงาน
อภิบาลจะกลายเปนโรงเรียนสอนการประกาศพระวรสารอยางตอเนื่อง ในขั้นนี้
สามเณรจะเริ่มมองเห็นตนเองวาเปนผูนํากลุม และตองอยูที่นั่นในฐานะบุรุษ
แหงความสนิทสัมพันธ เขาจะทําเชนนี้ดวยการฟงและวินิจฉัยสถานการณตาง ๆ
อยางระมัดระวัง รวมทั้งรวมมือกับผูอื่นและสนับสนุนศาสนบริการของเขาเหลา
นั้น สามเณรตองพรอมจะทํางานรวมกับสังฆานุกรถาวรและในโลกของฆราวาส
โดยเห็นคุณคาของผลงานของคนเหลานี้ นอกจากนี้ สามเณรควรไดรับการอบรม
อยางเหมาะสมเกี่ยวกับธรรมชาติการดําเนินชีวิตตามคุณคาพระวรสารของชีวิตผู
ถวายตัวในลักษณะตาง ๆ รวมทั้งพระพรพิเศษและวินัยของชีวิตผูถวายตัว เพื่อ
ใหสามารถรวมงานกับผูถวายตัวไดอยางบังเกิดผล
120. กระแสเรียกใหเปนผูอภิบาลประชากรของพระเจาทําใหจําเปนตอง
ไดรับการอบรมที่ทําใหพระสงฆในอนาคตเปนผูเชี่ยวชาญในศิลปะของการ
วินิจฉัยดานงานอภิบาล กลาวคือ สามารถรับฟงสถานการณที่แทจริงอยางลึกซึ้ง
และสามารถใชวิจารณญาณที่ดีในการเลือกและตัดสินใจตาง ๆ รูปแบบของ
90 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
การฟงตามแนวทางของพระวรสารตองเปนสิ่งสําคัญที่สุดเพื่อใหการวินิจฉัยดาน
งานอภิบาลมีประสิทธิภาพ เพราะจะทําใหผูอภิบาลเปนอิสระจากการประจญให
มีความคิดที่เลื่อนลอยไมลงไปสูภาคปฏิบัติ การทําตนใหเปนจุดสนใจ การมั่นใจ
ในศักยภาพของตนเองมากเกินไป และการแยกตัวออกจากสังคม ซึ่งจะทําใหเขา
กลายเปน “นักบัญชีฝายจิต” แทนที่จะเปน “ชาวสะมาเรียใจดี” [196] ผูที่ตั้งใจ
ฟงพระเจาและพี่นองชายหญิงของเขา ยอมรูวาพระจิตเจาทรงเปนผูนําทางพระ
ศาสนจักรไปสูความจริงทั้งมวล (เทียบ ยน 16:13) เขาจะรูดวยวา ความจริงทั้ง
มวลนี้ซึ่งสอดคลองกับธรรมลํ้าลึกแหงการรับธรรมชาติมนุษยเติบโตขึ้นมาทีละ
นอยในชีวิตจริงของมนุษยและในเครื่องหมายของประวัติศาสตร
ดวยวิธีนี้ผูอภิบาลจะเรียนรูที่จะละทิ้งสิ่งตาง ๆ ที่เขาเชื่อมั่น และจะไม
คิดวาศาสนบริการของเขาเปนรายการสิ่งที่ตองทํา หรือบรรทัดฐานที่ตองนํามา
ปฏิบัติ แตจะทําใหชีวิตของเขาเปน “สถานที่” สําหรับฟงพระเจาและพี่นองชาย
หญิงของเขาอยางจริงใจ [197]
เมื่อผูอภิบาลฟงอยางตั้งใจ ดวยความเคารพและปราศจากอคติ เขาจะ
สามารถอานชีวิตของผูอื่นได “อยางไมผิวเผินและดวนตัดสิน” เขาจะเขาไปใน
หัวใจและสภาพชีวิตของบุคคลอื่น ซึ่งสามารถแยกความแตกตางในบริบทชีวิตของ
บุคคลนั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งเขาจะเขาไปในอุปสรรคทั้งภายในและภายนอกซึ่ง
บางครั้งกอใหเกิดพฤติกรรมที่เปนปญหา เขาจะสามารถแปลความหมายดวย
ปรีชาญาณและความเขาใจสิง่ ตาง ๆ ทีม่ อี ทิ ธิพลตอชีวติ ของคนทัง้ หลาย เขาเรียนรู
วิธีที่จะมอบโอกาสดานชีวิตจิตและการอภิบาลที่สามารถทําได และซึ่งตอบสนอง
ตอชีวิตของผูมีความเชื่อและบริบททางสังคมและวัฒนธรรมรอบตัวเขา
การเพงมองของผูเลี้ยงแกะที่ดี ผูออกตามหา เดินเคียงขาง และนําทางฝูง
แกะของพระองค จะสรางลักษณะที่เยือกเย็น สุขุมรอบคอบ และเห็นอกเห็นใจ
ผูอื่นขึ้นในตัวเขา เขาจะปฏิบัติงานศาสนบริการของเขาดวยวิธีการที่เปดเผย
และเยือกเย็น และเดินเคียงขางดวยความเอาใจใสในทุกสถานการณ แมแตใน
The Gift of the Priestly Vocation... 91
สถานการณที่ซับซอนที่สุด โดยแสดงใหเห็นความงามและขอเรียกรองของความ
จริงแหงพระวรสาร โดยไมยึดติดกับกฎระเบียบหรือความเครงครัดมากเกินไป
ดวยวิธีนี้ เขาจะรูวิธีเสนอเสนทางแหงความเชื่อทีละขั้น ที่ประชาชนจะเขาใจและ
ยอมรับไดงายกวา ดังนั้นเขาจะกลายเปนเครื่องหมายของความเมตตาและความ
เห็นอกเห็นใจ โดยเปนพยานถึงโฉมหนาเยี่ยงมารดาของพระศาสนจักร โดยไม
ลดทอนขอเรียกรองของความจริงแหงพระวรสาร หลีกเลี่ยงการสรางภาระหนัก
ใหแกเขาเหลานั้น ดวยความปรารถนาที่จะนําและรวมทุกคนดวยความเห็นอก
เห็นใจ
121. เนื่องจากการอภิบาลจะแผขยายออกไปถึงคริสตชนผูไมปฏิบัติความ
เชื่อ บุคคลที่ไมมีความเชื่อ และบุคคลที่นับถือศาสนาอื่น สามเณรจึงควรเรียนรู
วิธีเสวนาและประกาศพระวรสารของพระคริสตเจาใหแกทุกคน โดยตระหนักถึง
ความคาดหมายลึก ๆ ของเขา และดวยความเคารพในเสรีภาพของเขา ดังนั้น
ผูใหการอบรมจึงควรสอนพระสงฆในอนาคตใหสราง “พื้นที่” ใหม และโอกาส
อภิบาลใหม ๆ เพื่อใหเขาออกไปพบบุคคลที่ไมไดมีสวนรวมในความเชื่อคาทอลิก
อยางสมบูรณ แตคนเหลานี้มีความตั้งใจดี พวกเขาแสวงหาคําตอบที่แทจริงและ
เขาใจไดสําหรับคําถามลึก ๆ ในใจของเขา
122. การอบรมดานการอภิบาลที่ถูกตองไมเพียงเรียกรองใหสามเณร
ทํากิจกรรมดานธรรมทูต แตใหศึกษาเทววิทยาดานการอภิบาลดวย ซึ่งจะได
รับประโยชนจากความรูเกี่ยวกับมนุษยศาสตร โดยเฉพาะจิตวิทยา ครุศาสตร
และสังคมศาสตร
123. ในความพยายามบรรลุถึง “การเติบโต” และ “รอยเทา” ของ
ผูอภิบาลสําหรับพันธกิจ ตัวอยางของพระสงฆรนุ พี่จะชวยไดมาก และเปน
แรงบันดาลใจได พระสงฆเหลานี้อาจเปนพระสงฆอาวุโส ผูอภิบาลที่เปนผูนํา
ในสังฆมณฑล รวมทั้งพระสังฆราชกิตติคุณ นี่คือการทําให “ธรรมเนียมดาน
อภิบาล” ของพระศาสนจักรทองถิ่นเปนที่รูจักและเห็นคุณคา และจะทําให
92 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
สามเณรกาวเขาสูชีวิตผูอภิบาลไดงายขึ้น เพราะ ณ ที่นั้นพวกเขาจะไดเขาสังกัด
และปฏิบัติศาสนบริการ
สามเณรควรทํางานดวยจิตตารมณคาทอลิกอยางแทจริง แมเขาจะรัก
สังฆมณฑลของเขาอยางจริงใจ แตควรพรอมที่จะทํางานรับใชพระศาสนจักร
สากล หรือพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นอื่น ๆ เขาควรรับใชอยางใจกวางและอุทิศตน
เมื่อไดรับการรองขอ หรือเมื่อตัวเขาเองปรารถนาจะทําเชนนั้น [198]
124. สามเณรควรไดรับประสบการณในงานแพรธรรมตลอดระยะเวลา
ของการอบรมในเวลา และวิถีทางที่เหมาะสมที่สุด และตองใชวันและชวงเวลา
ที่ไมไดกําหนดไวเปนเวลาเรียน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการตัดสินอยางรอบคอบของพระ
สังฆราช ประสบการณเชนนี้เปนสิ่งจําเปนที่ขาดไมไดสําหรับการอบรมผูสมัคร
เปนพระสงฆอยางมีบูรณาการ และควรดําเนินการใหเหมาะสมกับวัยและความ
สามารถตาง ๆ ของสามเณรแตละคน สามเณราลัยแตละแหงควรประสานงาน
อยางใกลชิดกับสถาบันตาง ๆ ของสังฆมณฑล เพื่อกําหนดสถานที่การทํางาน
อภิบาลของสามเณร โดยเตรียมการระหวางป และไมใหขัดกับขอเรียกรองอื่น ๆ
ของการอบรม และควรใหความสนใจเปนพิเศษกับสภาพแวดลอมที่สามเณรจะ
ปฏิบัติงานอภิบาลที่ไดรับมอบหมาย โดยเฉพาะ “ในการเลือกสถานที่และงาน
รับใชที่เหมาะสมซึ่งผูสมัครสามารถไดรับประสบการณดานงานอภิบาล เขตวัด
นั้นควรใหความสําคัญเปนพิเศษ เพราะเขตวัดเปนเซลลที่มีชีวิตของงานอภิบาล
ในทองถิ่นและงานอภิบาลพิเศษ ในที่ซึ่งเขาจะเผชิญหนากับปญหาตาง ๆ ที่เขา
เหลานั้นจะพบในศาสนบริการในอนาคต” [199]
นอกจากนี้ ควรใหความสนใจเปนพิเศษกับการเตรียมตัวสามเณรใหมี
คุณสมบัติและรูวิธีการเฉพาะในการเดินเคียงขางเด็ก ๆ เยาวชน คนปวย คนชรา
คนพิการ บุคคลที่อยูอยางโดดเดี่ยว หรือทามกลางความยากจน [200] เนื่องจาก
เปนผูอพยพยายถิ่น [201] และผูตองขัง การอภิบาลครอบครัวก็ควรไดรับความ
สนใจเปนพิเศษดวย [202]
The Gift of the Priestly Vocation... 93
ประสบการณเหลานี้ควรไดรับการแนะนําจากพระสงฆ ผูถวายตัว หรือ
ฆราวาสที่เปนผูเชี่ยวชาญและรอบคอบอยางแทจริง บุคคลเหลานี้ควรมอบ
หมายหนาที่เฉพาะใหสามเณรแตละคน และอบรมเขาวาควรรับหนาที่อยางเปน
รูปธรรมอยางไร ถาเปนไปได พวกเขาควรอยูดวยขณะที่สามเณรปฏิบัติหนาที่
เพื่อใหสามารถแนะนําและใหกําลังใจสามเณรอยางเหมาะสม และชวยเขาให
ประเมินผลงานรับใชที่เขาไดกระทําไป
94 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
The Gift of the Priestly Vocation... 95
บทที่ 6
ผูอบรม (The Agents of Formation)
125. ผูอบรมหลักของการอบรมพระสงฆคือพระตรีเอกภาพ ผูทรงปรับ
แตงสามเณรแตละคนตามแผนการของพระบิดา ทั้งผานทางการประทับอยูของ
พระคริสตเจาในพระวาจาของพระองค ในศีลศักดิ์สิทธิ์ และในตัวพี่นองชายหญิง
ในชุมชน และผานการทํางานมากมายของพระจิตเจา [203] ในการอบรม
บุคคลที่พระคริสตเจาทรงเรียก และในการวินิจฉัยกระแสเรียก สิ่งสําคัญสูงสุด
ในการทํางานของพระจิตเจาเรียกรองการรับฟงและความรวมมือซึ่งกันและกัน
ระหวางสมาชิกตาง ๆ ของชุมชนพระศาสนจักร บรรดาพระสงฆ สังฆานุกร
ผูถวายตัว และฆราวาส
126. พระศาสนจักรเฉพาะถิ่น ซึ่งในและจากพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นนั้น
ประกอบขึ้นเปนพระศาสนจักรคาทอลิกหนึ่งเดียวและเพียงหนึ่งเดียว [204]
แม ว  า การอบรมผู  ส มั ค รเป น พระสงฆ ป กติ จ ะดํ า เนิ น การภายในบริ บ ทของ
สังฆมณฑลหนึง่ หรือในสถาบันทีผ่ สู มัครสังกัด แตศาสนบริการสงฆกเ็ ปนสวนหนึง่
ของความเปนสากลของพระศาสนจักร [205] ดังนั้นจึงตองตอบสนองความ
จําเปนเรงดวนของสังฆมณฑลอื่นดวย
อยางไรก็ตาม พระศาสนจักรทองถิ่นที่ผูสมัครสังกัดเปนบริบทของการ
อบรมทีจ่ ําเปน พระศาสนจักรทองถิ่นเปนทั้งสถานที่ที่กฎเกณฑในการวินิจฉัย
กระแสเรียกถูกนํามาใช และเปนพยานถึงความกาวหนาของสามเณรวาแตละคน
มี วุ ฒิ ภ าวะทั้ ง ในความเป น มนุ ษ ย แ ละความเป น คริ ส ตชนซึ่ ง จํ า เป น สํ า หรั บ
การรับศีลบวชเปนพระสงฆ
127. สมาชิ ก ของชุ ม ชนสั ง ฆมณฑลของผู  ส มั ค รมี ส  ว นร ว มรั บ ผิ ด ชอบ
ในการอบรมพระสงฆในระดับตาง ๆ ตามวิถีทางและความเชี่ยวชาญที่แตกตาง
กันไป คือพระสังฆราชในฐานะที่เปนผูอภิบาลที่รับผิดชอบชุมชนของสังฆมณฑล
คณะสงฆซึ่งเปนที่แหงความสนิทสัมพันธฉันพี่นองในการปฏิบัติศาสนบริการ
96 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ของผูรับศีลบวช คณะผูใหการอบรมในสามเณราลัยเปนผูจัดเตรียมใหมีการ
อบรมดานชีวติ จิตและดานการอบรมสัง่ สอน บรรดาอาจารยเปนผูใ หการสนับสนุน
ดานสติปญ ญาทําใหการอบรมอยางมีบรู ณาการเปนไปได คณะผูบ ริหาร ผูช าํ นาญการ
และผูเชี่ยวชาญทั้งหลาย เปนประจักษพยานดวยความเชื่อและชีวิตรวมทั้ง
ความชํานาญของเขา และทายที่สุดคือ ตัวสามเณรเอง ซึ่งเปนบุคคลหลักใน
กระบวนการบรรลุถึงวุฒิภาวะที่สมบูรณ พรอมทั้งครอบครัวของเขา เขตวัด
บานเกิดของเขา รวมถึงสมาคม ขบวนการ หรือสถาบันอืน่ ๆ ของพระศาสนจักร
ก) พระสังฆราชของสังฆมณฑล (The Diocesan Bishop)
128. พระสังฆราชเปนบุคคลแรกที่รับผิดชอบในการรับผูสมัครเขาสาม
เณราลัยและเขารับการอบรมเปนพระสงฆ [206] ความรับผิดชอบนี้แสดงออก
โดยการเลือกอธิการและสมาชิกคณะผูใหการอบรม [207] ดวยการเตรียมการ
แกไขและรับรองธรรมนูญการอบรม โปรแกรมการอบรม และพระวินัยของ
สามเณราลัย [208]
จึงจําเปนที่พระสังฆราชควรรูจักสรางการเสวนาที่สรางความไววางใจกับ
บรรดาสามเณร เพื่อใหพวกเขาเปดเผยตนเองดวยความจริงใจ อันที่จริง “พระ
สังฆราชสังฆมณฑล หรือในกรณีที่เปนสามเณราลัยระหวางสังฆมณฑล บรรดา
พระสังฆราชที่เกี่ยวของตองออกเยี่ยมสามเณราลัยบอย ๆ ดวยตนเอง ตองเฝา
ดูแลเรื่องการอบรมสามเณรและการสอนวิชาปรัชญาและเทววิทยาที่มีอยูในสาม
เณราลัย นอกจากนั้น ยังตองรับทราบเกี่ยวกับกระแสเรียก ลักษณะนิสัย ความ
ศรัทธา และความกาวหนาของบรรดาสามเณร เฉพาะอยางยิ่ง เพื่อพิจารณาใน
การประกอบศีลบวชให” [209] พระสังฆราชตองระวังที่จะไมใชอํานาจของตน
กาวกายความรับผิดชอบของอธิการและผูใหการอบรมทานอื่น ๆ ในการวินิจฉัย
กระแสเรียกของผูสมัครและการเตรียมตัวที่เพียงพอของพวกเขา แตพระสังฆราช
“ควรติ ด ต อ เป น ส ว นตั ว บ อ ยครั้ ง กั บ บรรดาผู  ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบสามเณราลั ย
The Gift of the Priestly Vocation... 97
โดยไววางใจพวกเขา เพื่อสนับสนุนพวกเขาในการทํางาน และสงเสริมจิตตารมณ
แหงความประสานกลมกลืน ความสนิทสัมพันธ และความรวมมือกันอยางเต็ม
เปยม” [210] เราควรตระหนักเสมอวาเพื่อความดีของพระศาสนจักร ความรัก
ของผูอภิบาล และในความรับผิดชอบทุกระดับ ไมใชหมายถึงการรับใครก็ไดเขา
สามเณราลัย แตดวยการใหคําแนะนําดานกระแสเรียกอยางรอบคอบ และดวย
การนําเสนอกระบวนการอบรมที่ดี
ในกรณีของสามเณราลัยระหวางสังฆมณฑล หรือในกรณีที่สามเณร
ของสังฆมณฑลหนึ่งถูกสงตัวไปเขาสามเณราลัยของพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นอีก
แหงหนึ่ง [211] การเสวนาระหวางพระสังฆราชที่เกี่ยวของ การตกลงรวมกัน
เกี่ยวกับวิธีการอบรมที่จะนํามาใช และความไววางใจที่มอบใหกับบรรดาผูดูแล
สามเณราลัยเปนขอเรียกรองที่จําเปนเพื่อใหการอบรมประสบความสําเร็จ
ทุกการเฉลิมฉลองพิธีกรรมที่พระสังฆราชเปนประธานในอาสนวิหารเปน
การแสดงออกถึงธรรมลํ้าลึกของพระศาสนจักร และแสดงใหเห็นถึงเอกภาพของ
ประชากรพระเจา [212] จึงเปนการเหมาะสมที่สามเณรทั้งหลายจะไดมีสวนรวม
ในพิธกี รรมนัน้ ในชวงเวลาทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของปพธิ กี รรม และของชีวติ ของสังฆมณฑล
โดยคํานึงถึงขอเรียกรองของการอบรมในสามเณราลัย
ข) คณะสงฆ (The Presbyterate)
129. พระสงฆของพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นควรมีความสนิทสัมพันธและ
ความประสานกลมกลืนอยางลึกซึ้งกับพระสังฆราชประจําสังฆมณฑล โดยมีความ
หวงใยรวมกันในการอบรมของผูส มัครดวยการภาวนา ความรักทีจ่ ริงใจ การใหการ
สนับสนุน และการเยี่ยมเยียนสามเณราลัย พระสงฆแตละคนตองตระหนักใน
ความรับผิดชอบดานการอบรมของสามเณร
โดยเฉพาะสําหรับคุณพอเจาอาวาส และโดยทัว่ ไปสําหรับพระสงฆแตละองค
ที่รับสามเณรมาฝกงานอภิบาลดวย พวกเขาควรประสานงานดวยใจกวางกับ
98 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
บรรดาผูใ หการอบรมของสามเณราลัย ดวยการเสวนาอยางเปดเผยและเปนรูปธรรม
รูปแบบของการรวมมือระหวางบรรดาพระสงฆและสามเณราลัยอาจแตกตางกัน
ไปตามขั้นตาง ๆ ของกระบวนการอบรม
ค) สามเณร (The Seminarians)
130. ดังที่ไดกลาวแลววาสามเณรแตละคนเปนบุคคลหลักในการอบรม
ตนเอง และเขาไดรับเรียกสูการเดินทางแหงการเติบโตอยางตอเนื่อง ทั้งในดาน
ความเปนมนุษย ชีวิตจิต สติปญญา และการอภิบาล โดยคํานึงถึงภูมิหลัง
สวนบุคคลและของครอบครัว สามเณรก็เชนกันตองรับผิดชอบในการสรางและการ
รักษาบรรยากาศการอบรมที่สอดคลองกับคุณคาพระวรสาร
131. บรรดาสามเณรมีขอผูกมัดทั้งในระดับสวนบุคคลและระดับหมูคณะ
ในการแสดงใหเห็นวาพวกเขาซึมซับวิถีชีวิตสงฆที่แทจริงอยูภายใน ซึ่งพบไดใน
ความสุภาพถอมตนและในการรับใชพี่นอง และไมใชเปนเพียงแคการแสดงออก
ในพฤติกรรมภายนอกเทานั้น นี่คือเครื่องหมายของการเลือกที่บรรลุวุฒิภาวะ
ในการอุทิศตนเองเพื่อติดตามพระคริสตเจาในรูปแบบพิเศษ [213]
ง) คณะผูใหการอบรม (The Community of Formators)
132. คณะผูใหการอบรมประกอบดวยพระสงฆที่ไดรับเลือกและไดรับ
การเตรียมความพรอมอยางดี [214] ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติพันธกิจอัน
ละเอียดออนของการอบรมผูสมัครเปนพระสงฆรวมกัน จําเปนตองมีผูใหการอบรม
ที่ไดรับมอบหมายงานนี้โดยเฉพาะ เพื่อวาพวกเขาจะสามารถอุทิศตนทั้งครบเพื่อ
การอบรม ดวยเหตุนี้ คณะผูใหการอบรมควรพักประจําอยูในสามเณราลัย คณะ
ผูใหการอบรมควรพบกับอธิการอยางสมํ่าเสมอเพื่ออธิษฐานภาวนา วางแผน
ชีวิตของสามเณราลัย และเพื่อประเมินความเจริญเติบโตของสามเณรเปนระยะ
The Gift of the Priestly Vocation... 99
คณะผูใหการอบรมไมไดเปนเพียงปจจัยที่จําเปนของสถาบันเทานั้น แต
เหนืออื่นใด พวกเขาเปนหมูคณะผูใหการศึกษาที่แทจริงของศาสนบริการสงฆ
เมื่อสามเณรไดรับการสั่งสอนและแรงกระตุนจากแบบอยางดังกลาว พวกเขาจะ
ยินดียอมรับการอบรมที่คณะผูใหการอบรมมอบใหพวกเขาดวยความนอบนอม
และเชื่อมั่น
133. กฎหมายพระศาสนจักร [215] ระบุไววาคณะผูใหการอบรมสําหรับ
สามเณราลัยทุกแหง อยางนอยตองประกอบดวยอธิการหนึ่งคนและคุณพอ
วิญญาณรักษหนึ่งคน อยางไรก็ตาม จํานวนของคณะผูใหการอบรมตองเหมาะสม
และเปนสัดสวนเพียงพอกับจํานวนสามเณร ซึ่งอาจประกอบดวยคุณพอวิญญาณ
รักษที่มากกวาหนึ่งคน รองอธิการหนึ่งคน ผูบริหารดานการเงินหนึ่งคน และผู
ใหการอบรมทานอื่น ๆ ในฐานะผูรวมงานในการอบรมมิติตาง ๆ ตามสถานการณ
ที่เรียกรอง
134. อธิการ [216] ตองเปนพระสงฆที่มีคุณสมบัติโดดเดนในดานความ
รอบคอบ ปรีชาญาณและความสมดุล และตองมีความรูความสามารถสูง [217]
เปนผูประสานงานการจัดการศึกษาอบรมในการปกครองสามเณราลัย [218] เขา
จะเสริมสรางการทํางานรวมกันที่ลึกซึ้งและซื่อสัตยกับผูใหการอบรมทานอื่น ๆ
ดวยความรักฉันพี่นอง เขาเปนผูแทนตามกฎหมายของสามเณราลัยทั้งในสวน
ของพระศาสนจักรและของบานเมือง [219] อธิการจะตองหาวิธีการที่จําเปนเพื่อ
การวินิจฉัยและพัฒนากระแสเรียกใหมีวุฒิภาวะ โดยรวมมือกับผูใหการอบรม
แตละขั้นพรอมกับคุณพอวิญญาณรักษ
135. รองอธิการตองเปนบุคคลที่เหมาะสมกับงานดานอบรมสั่งสอน เขา
ไดรับเรียกใหชวยเหลืออธิการในการอบรมสามเณรดวยความรอบคอบ และ
ปฏิบัติหนาที่แทนในกรณีที่อธิการไมอยู ตามปกติรองอธิการ “ตองแสดงใหเห็น
ความสามารถในการอบรมสั่งสอนที่โดดเดน ความรักที่ชื่นชมยินดีในการรับใช
และจิตตารมณแหงความรวมมือ” [220]
100 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
136. พระสังฆราชตองเอาใจใสในการเลือกพระสงฆที่มีความสามารถ
และประสบการณสําหรับการแนะนําชีวิตจิต ซึ่งเปนวิธีพิเศษอีกวิธีหนึ่งในการ
เดินเคียงขางสามเณรแตละคนในการวินิจฉัยกระแสเรียกของเขา ผูแนะนํา
ชี วิ ต จิ ต หรื อ คุ ณ พ อ วิ ญ ญาณรั ก ษ ต  อ งเป น อาจารย ชี วิ ต ภายในและอาจารย
แหงการภาวนาอยางแทจริง เพื่อชวยใหสามเณรตอบรับการเรียกของพระเจา
และพัฒนาการตอบสนองตอการเรียกโดยอิสระและใจกวาง
คุณพอวิญญาณรักษ “รับผิดชอบการเดินทางฝายจิตของสามเณรในเรื่อง
ชีวิตภายใน ตลอดจนเปนผูนําและผูประสานงานเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจศรัทธา
ตาง ๆ รวมทั้งชีวิตพิธีกรรมของสามเณราลัย” [221] ในกรณีที่สามเณราลัยใด
มีวญิ ญาณรักษมากกวาหนึง่ คน ใหคนหนึง่ เปน “ผูป ระสานงานการอบรมชีวติ จิต”
เขาจะกํากับดูแลชีวิตพิธีกรรม ประสานงานเกี่ยวกับความรับผิดชอบของคุณพอ
วิญญาณรักษทานอื่น ๆ และของคุณพอผูโปรดศีลอภัยบาปจากภายนอก [222]
เขาจะเปนผูกําหนดโปรแกรมการเขาเงียบประจําปและการเขาเงียบประจําเดือน
รวมทั้งการฉลองตาง ๆ ในปพิธีกรรม เขาจะรวมมือกับอธิการในการสงเสริมการ
อบรมตอเนื่องสําหรับคุณพอวิญญาณรักษ
137. ณ ที่ใดเมื่อสถานการณเรียกรอง ผูใหการอบรมคนหนึ่งจะไดรับ
มอบหมายหนาที่ใหเปน “ผูประสานงานการอบรมดานความเปนมนุษย” เขา
ควรทํางานรวมกับผูมีความสามารถดานอื่น ๆ (ดานจิตวิทยา กีฬา การแพทย
เปนตน) เพื่อสรางบรรยากาศหมูคณะที่เหมาะสมนําไปสูการบรรลุวุฒิภาวะดาน
ความเปนมนุษยของบรรดาสามเณร
เมื่อสามเณราลัยเสนอหลักสูตรการศึกษา ผูใหการอบรมคนหนึ่งตองทํา
หนาที่ “ผูประสานงานการอบรมดานสติปญญา” เขาตองรับผิดชอบการเตรียม
โปรแกรมการศึ ก ษาที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จ ากผู  มี อํ า นาจหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบของ
พระศาสนจักร เขาตองคอยเดินเคียงขางและคอยสนับสนุนอาจารยทั้งหลาย
โดยใสใจเปนพิเศษตอการฝกอบรมดานวิชาการของเขาเหลานั้น ใหซื่อสัตยตอ
The Gift of the Priestly Vocation... 101
อํานาจการสอนของพระศาสนจักร และใหพวกเขามีชวงเวลาในการเพิ่มพูน
ความรูเปนระยะ นอกจากนี้ เขาตองประสานงานกับหนวยงานดานการบริหาร
การศึกษา และรับผิดชอบดานหองสมุด
เมื่อสามเณรเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยหรือในคณะใด “ผูประสานงานการ
อบรมดานสติปญญา” ตองสนใจและติดตามความกาวหนาของบรรดาสามเณร
เขาควรประเมิ น การบู ร ณาการด า นสติ ป  ญ ญาของบรรดาสามเณรเกี่ ย วกั บ
เนื้อหาวิชาที่ไดเรียนไป และจัดเตรียมโปรแกรมการอบรมเสริมในดานใด ๆ ที่
มหาวิทยาลัยหรือคณะนั้นไมสอน
ในบรรดาผูใหการอบรม “ผูประสานงานการอบรมดานการอภิบาล”
เปนผูดูแลการอบรมการอภิบาลทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เขาจะเปน
ผูจัดหาสถานที่อันเหมาะสมสําหรับการฝกงานอภิบาล และเปนผูจัดเตรียม
ประสบการณในงานธรรมทูต โดยเสวนากับพระสงฆ นักบวช และฆราวาส
138. ผูบริหารดานการเงิน [223] ในการปฏิบัติหนาที่ดานการบริหาร
ของเขา มีบทบาทดานการอบรมอยางแทจริงภายในหมูคณะสามเณราลัย เขาควร
ตระหนักถึงผลกระทบที่สภาพแวดลอมตาง ๆ ของชีวิตซึ่งอาจสงผลตอสามเณร
ที่กําลังรับการอบรม และควรตระหนักถึงคุณคาที่แสดงออกดวยการใชทรัพยสิน
ที่เปนวัตถุสิ่งของอยางซื่อสัตยตามคุณคาพระวรสาร เพื่อชวยบรรดาสามเณรใหมี
จิตตารมณความยากจนแบบพระสงฆ
139. คณะผูใหการอบรมตองปฏิบัติหนาที่ภายในบริบทของ “หมูคณะ
ผูอบรม” ที่กวางขึ้น และควรตระหนักวานี่คือพันธกิจของตนที่จะตองทํา
ใหสําเร็จ คําวา “หมูคณะผูอบรม” หมายถึงทุกคนที่เกี่ยวของกับการอบรม
ผูสมัครเปนพระสงฆ คือ พระสังฆราช บรรดาผูใหการอบรม คณาจารย
บุคลากรดานการบริหาร บรรดาพนักงานเจาหนาที่ ครอบครัว วัดทั้งหลาย บรรดา
ผูถวายตัว ผูเชี่ยวชาญ และเหนืออื่นใดก็คือตัวสามเณรเอง เพราะการอบรมจะ
ประสบกั บ ความยากลํ า บากถ า ผู  อ บรมทุ ก ฝ า ยไมใหความรวมมืออยางเต็มที่
[224] บุคคลทั้งหมดเหลานี้ควรตระหนักถึงบทบาทหนาที่ดานการอบรมสั่งสอนที่
102 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
พวกเขาไดรับ และควรตระหนักถึงความสําคัญของการมีชีวิตที่มีบูรณาการ
ของตน
จ) คณาจารย (The Professors)
140. พระสังฆราชจะเปนผูแตงตั้งคณาจารยของสามเณราลัย หรือในกรณี
ของสามเณราลั ย ระหว า งสั ง ฆมณฑลบรรดาพระสั ง ฆราชที่ เ กี่ ย วข อ งจะเป น
ผูแตงตั้ง หลังจากที่ไดปรึกษาหารือกับอธิการและคณาจารยบางทาน และเมื่อ
พิจารณาวาเหมาะสม เนื่องจากอาจารยตองรับผิดชอบดานการอบรม [225]
หนาที่นี้จําเปนตองไดรับการแตงตั้งเปนการเฉพาะ อาจารยและสามเณรทั้งหลาย
ไดรับเรียกใหปฏิบัติตามพระวาจาของพระเจา ซึ่งบันทึกไวในพระคัมภีรที่สืบทอด
ตอกันมาผานทางธรรมประเพณี และไดรับการตีความอยางนาเชื่อถือโดยอํานาจ
การสอนของพระศาสนจักรดวยความซื่อสัตยอันเต็มเปยม คณาจารยตองเขาใจ
ความหมายที่มีชีวิตของธรรมประเพณีผานทางงานเขียนของบรรดาปตาจารย และ
นักปราชญของพระศาสนจักรที่พระศาสนจักรเคารพยกยองอยางสูง
141. การอบรมด า นสติ ป  ญ ญาของผู  ส มั ค รเป น ความรั บ ผิ ด ชอบของ
อธิการและคณะผูใหการอบรม ดวยการมีสวนรวมของ “ผูประสานงานการอบรม
ดานสติปญญา” ผูใหการอบรมทั้งหลายจะตองมั่นใจวาไดรับความรวมมือจาก
บรรดาอาจารยและผูเ ชีย่ วชาญอืน่ ๆ และจะพบปะพูดคุยกับคนเหลานีอ้ ยางสมํา่ เสมอ
เพื่อหารือประเด็นที่เกี่ยวกับการสอน เพื่อสงเสริมการอบรมแบบบูรณาการของ
สามเณรใหบังเกิดผลมากยิ่งขึ้น อาจารยทั้งหลายควรใสใจความกาวหนาของ
สามเณรในการศึกษา ความมุงมั่นอุทิศตนของสามเณรใหแกการเรียนของตน
ในทุกวิชาที่เรียน ใหถือเปนเกณฑประการหนึ่งสําหรับการวินิจฉัยกระแสเรียก
และเปนเงื่อนไขประการหนึ่งของการเติบโตเปนลําดับในความซื่อสัตยเพื่อการ
ทํางานศาสนบริการในอนาคต
The Gift of the Priestly Vocation... 103
142. เพื่อใหการปฏิบัติงานเฉพาะของตนบรรลุผลสมบูรณ คณาจารยควร
ตระหนักวาตนเปนสวนหนึ่งของหมูคณะหนึ่งเดียวแหงการสอน [226] และเปน
ผูใหการศึกษาอบรมแท [227] เขาควรนําสามเณรไปสูเอกภาพแหงองคความรูที่
จะพบความสมบูรณในพระคริสตเจา ผูทรงเปนหนทาง ความจริงและชีวิต [228]
การสังเคราะหความรูท เี่ รียกรองจากสามเณรครอบคลุมทุกมิตขิ องชีวติ สงฆ
และไมเพียงดานวิชาการเทานั้น เมื่อคณาจารยเขามีสวนรวมและรับผิดชอบ
ในแผนการอบรมของสามเณราลัยในสวนที่เกี่ยวของกับพวกเขา คณาจารยควร
กระตุนและชวยเหลือสามเณรใหกาวหนาทั้งในดานความรูและการคนควาทาง
วิชาการ และชีวิตจิต
143. จํานวนอาจารยตองเหมาะสมและเพียงพอตอความจําเปนดานการสอน
และเพียงพอตอจํานวนของสามเณร และจะเปนการดีกวาที่คณาจารยสวนใหญเปน
พระสงฆ ผูสามารถประกันไดวาวิธีการดานงานอภิบาลในวิชาที่เขาสอนนํามาจาก
ประสบการณงานอภิบาลของเขาโดยตรง ขอแนะนํานี้ไดรับแรงบันดาลใจจาก
ขอเท็จจริงที่วา อาจารยไมเพียงแคเปนผูสื่อสารความคิดเทานั้น แตยังเปนผูชวย
สงเสริมการ “กอกําเนิด” และการสรางพระสงฆรุนใหมดวย [229]
ความชวยเหลือจากสมาชิกของสถาบันผูถวายตัวและคณะชีวิตธรรมทูต
รวมทั้งจากฆราวาส อาจจะมีคุณคามากในบางสถานการณ แมจะมีกระแส
เรียกที่แตกตางกัน อาจารยแตละคนควรสามารถนําเสนอความรูถึงพระพรพิเศษ
ของตนใหแกสามเณร โดยชวยใหสามเณรเขาใจวิถีทางที่อาจารยเปนสวนหนึ่ง
ของพระศาสนจักร และเสนอการเปนพยานที่สอดคลองกับชีวิตแหงพระวรสาร
144. อาจารยตองมีคุณวุฒิทางวิชาการที่จําเปน [230] คือสําหรับวิชา
ปรัชญาและศาสตรศักดิ์สิทธิ์ อยางนอยตองมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ หรือใบ
อนุญาตเทียบเทา สําหรับสาขาความรูอื่นตองมีปริญญาในสาขาวิชานั้น ๆ
อาจารยควรมีประสบการณและความสามารถในการสอน และตองมีความรู
เพียงพอในสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับวิชาที่เขาสอน [231]
104 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ฉ) ผูเชี่ยวชาญ (Specialists)
145. สามเณราลัยสามารถขอความชวยเหลือจากผูเชี่ยวชาญดานตาง ๆ
ได เชน สาขาแพทยศาสตร ครุศาสตร ศิลปะ นิเวศวิทยา การบริหาร และการ
สื่อสารทางสังคม
146. บนเสนทางการอบรมสูการเปนพระสงฆ การมีผูเชี่ยวชาญในบาง
สาขาวิ ช าและการได รั บ ความช ว ยเหลื อ จากพวกเขานั้ น เป น ประโยชน ยิ่ ง
เนื่ อ งจากคนเหล า นี้ มี ค วามสามารถด า นวิ ช าชี พ และสามารถสนั บ สนุ น การ
อบรมไดเมื่อจําเปน ในการคัดเลือกผูเชี่ยวชาญนอกจากพิจารณาคุณสมบัติดาน
ความเปนมนุษยและความเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพของเขาแลว จะตองพิจารณา
ความเชื่อของเขาดวย [232] บรรดาสามเณรตองรับรูและเขาใจวาการมีบรรดา
ผูเชี่ยวชาญนั้นมิใชการบังคับ แตเปนความชวยเหลือแบบมืออาชีพและมีคุณคา
สําหรับความจําเปนของพวกเขา ผูเชี่ยวชาญแตละคนตองจํากัดตนเองในความ
เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาของตน โดยไมตัดสินเกี่ยวกับความเหมาะสมของสามเณรที่
จะบวชเปนพระสงฆ
147. ในสาขาจิตวิทยา ความชวยเหลือนี้มีคาสําหรับทั้งผูใหการอบรม
และสามเณรในสองดาน คือ ในการประเมินบุคลิกภาพซึ่งแสดงใหเห็นถึงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับสุขภาพจิตของผูสมัครเปนพระสงฆ และในการเดินเคียงขางเชิง
บําบัดรักษา เพื่อทําใหมองเห็นปญหาตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น และชวยใหเติบโต
ในวุฒิภาวะดานความเปนมนุษย [233] และกฎเกณฑบางประการเกี่ยวกับการ
ประยุกตใชวิชานี้จะกลาวถึงตอไปในบทที่ 8
ช) ครอบครัว เขตวัด และกลุมตาง ๆ ของพระศาสนจักร
(The Family, the Parish and Other Ecclesial Communities)
148. โดยทั่วไปแลวกระแสเรียกเจริญงอกงามภายในบริบทของชุมชน
เปนที่ที่สามเณรไดมีประสบการณความเชื่อที่สําคัญ เพราะเหตุนี้ การอบรม
The Gift of the Priestly Vocation... 105
พระสงฆในขั้นตนตองคํานึงถึงอิทธิพลประการนี้ ทั้งครอบครัวและเขตวัดบาน
เกิด หรือเขตวัดทีส่ ามเณรเปนสมาชิก รวมทั้งหมูคณะตาง ๆ ของพระศาสนจักร
[234] ลวนมีสวนสําคัญในการคํ้าจุนและบํารุงเลี้ยงกระแสเรียกของผูที่ไดรับเรียก
ใหเปนพระสงฆ สิ่งนี้เปนความจริงทั้งในระยะเวลาของการอบรมและในชวงชีวิต
ของพระสงฆดวย [235]
อันที่จริง “สายสัมพันธของครอบครัวเปนปจจัยพื้นฐานในการเสริม
สรางสามเณรใหมีความเคารพตนเองอยางเหมาะสม จึงเปนสิ่งสําคัญที่ครอบครัว
ทัง้ หลายควรมีสว นรวมในกระบวนการอบรมของสามเณราลัยและในชีวติ พระสงฆ
เนื่องจากสายสัมพันธของครอบครัวชวยยืนยันการมีสวนรวมในกระบวนการ
อบรมของสามเณราลัยและในชีวิตพระสงฆ และทําใหสามเณรไดรับการอบรมสั่ง
สอนอยางดีในความเปนจริง” [236]
ในขณะเดียวกัน เสนทางแหงการอบรมตองสั่งสอนสามเณรใหมีอิสรภาพ
ภายในตั้งแตแรกเริ่มของการเขาสูกระบวนการอบรม ซึ่งชวยใหมีอิสระที่ถูกตอง
ในการปฏิบัติศาสนบริการ และไมยึดติดกับความคาดหวังของครอบครัว เนื่อง
จากการเรียกของพระอาจารยเรียกรองใหเรา “จับคันไถแลวไมเหลียวหลัง”
(เทียบ ลก 9:62)
149. สามเณราลั ย ไม เ พี ย งถู ก เรี ย กให รั บ หน า ที่ ด  า นการศึ ก ษาร ว ม
กับสามเณรเทานั้น แตยังมีหนาที่ที่แทจริงดานการอภิบาลครอบครัวของพวก
เขาดวย จําเปนที่สามเณรควรรูวิธีที่จะรับรูและยอมรับสถานการณของครอบครัว
ของตนตามความเป น จริ ง ด ว ยวุ ฒิ ภ าวะของความเป น มนุ ษ ย แ ละความ
เปนคริสตชน เขาตองรูวิธีจัดการปญหาที่อาจเกิดขึ้น และเมื่อใดที่ทําได
เขาควรรูวิธีแบงปนเสนทางกระแสเรียกของเขาใหแกครอบครัว ความรับผิดชอบ
ดานการอภิบาลของสามเณราลัยตอครอบครัวของบรรดาสามเณรควรชวย
พัฒนาชีวิตคริสตชนของพวกเขา และชวยใหพวกเขายอมรับกระแสเรียกการเปน
สงฆของสมาชิกคนใดคนหนึ่งในครอบครัววาเปนพระพรที่เขาควรเห็นคุณคา
และสนับสนุนตลอดชีวิต
106 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ซ) ชีวิตผูถวายตัวและฆราวาสในการอบรมพระสงฆ
(Consecrated Life and Laity in Formation)
150. การมี ฆ ราวาสและผู  ถ วายตั ว อยู  ใ นสามเณราลั ย เป น จุ ด อ า งอิ ง
สําคัญในการเดินทางของการอบรมผูสมัครเปนพระสงฆ สามเณรควรไดรับการ
อบรมใหเห็นคุณคาของพระพรพิเศษตาง ๆ ที่พบไดในกลุมตาง ๆ ในสังฆมณฑล
อันที่จริงพระสงฆไดรับเรียกใหสนับสนุนพระพรพิเศษที่หลากหลายภายในพระ
ศาสนจักร ชีวิตผูถวายตัวเปนเครื่องหมายที่เดนชัดและดึงดูดใจแหงธรรมชาติ
ที่หยั่งรากลึกของพระวรสารและของความพรอมในการรับใช ฆราวาสสามารถ
รวมมือในพันธกิจประกาศพระวรสารของพระคริสตเจาในสวนของตน และเปน
พยานสอนใจถึ ง ความมั่ น คงและการเลื อ กวิ ถี ชี วิ ต ที่ ส อดคล อ งกั บ พระวรสาร
[237]
151. การมีสตรีรวมอยูในการเดินทางแหงการอบรมของสามเณราลัยก็
มีความสําคัญในการอบรม สตรีเหลานี้อาจเปนผูเชี่ยวชาญ หรือเปนคณะผูสอน
อาจทํางานแพรธรรม หรือเปนสมาชิกครอบครัว และทํางานรับใชชุมชน การมี
สตรีอยูดวยจะชวยปลูกฝงใหสามเณรเห็นวาชายและหญิงสงเสริมกันและกันให
สมบูรณอยางไร บอยครั้งในกลุมบุคคลและผูรวมงานที่พระสงฆจะรับใชหรือรวม
ทํางานอภิบาลนั้นจะมีสมาชิกเปนสตรีมากกวา สตรีเหลานี้เปนตัวอยางสอนถึง
ความถอมตน ความใจกวาง และการรับใชโดยไมเห็นแกตัว [238]
ฌ) การอบรมตอเนื่องสําหรับทุกคนที่เปนผูอบรม
(Ongoing Formation for all Agents of Formation)
152. ความรับผิดชอบของผูอบรมอาจนิยามไดวาเปนการเปดภายใน
จิตใจที่หยั่งรากในประสบการณชีวิตจิตที่เขมขน โดยอาศัยการวินิจฉัยที่สมํ่าเสมอ
ซึ่งชวยใหเรียนรูจากชีวิตและจากสภาวะแวดลอมตาง ๆ และชวยใหคนพบการ
ทํางานของพระญาณเอื้ออาทรของพระเจาในการเดินทางของชีวิตคริสตชน
The Gift of the Priestly Vocation... 107
และชีวิตสงฆของตนเอง คุณภาพแหงการรับใชที่มอบใหแกสามเณรสามารถวัดได
จากความลุมลึกของการเปดนี้ และในขณะเดียวกัน บรรยากาศของการอบรมที่
สงบในสามเณราลัยก็ขึ้นอยูกับสิ่งนี้
ขณะปฏิบัติพันธกิจนั้น ผูใหการอบรมมีโอกาสเติบโต และสามารถคนพบ
พระพรพิเศษของการเดินเคียงขางดานกระแสเรียก และของชีวิตสงฆวาเปนการ
เรียกที่มีตอเขาเปนการสวนตัว ดวยวิธีนี้ สามเณราลัยสามารถกลายเปนโรงเรียน
ที่เตรียมความพรอมใหแกบุคคลที่จะรับผิดชอบการอบรมตอเนื่อง กลาวคือ ผูที่
เคยเปนผูใหการอบรมในสามเณราลัยควรมีไหวพริบพิเศษ และมีประสบการณ
มากมาย เพื่อวาเขาจะสามารถชวยเหลือในการอบรมตอเนื่องของพระสงฆใน
ภายหนา [239]
108 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
The Gift of the Priestly Vocation... 109
บทที่ 7
การจัดระบบการศึกษา (The Organisation of Studies)
153. “การอบรมดานสติปญญาของผูสมัครเปนพระสงฆจะพบคําอธิบาย
เฉพาะของตนในธรรมชาติแทของศาสนบริการศีลบวช และแสดงใหเห็นถึงความ
จําเปนเรงดวนของตนตอความทาทายของการประกาศพระวรสารแบบใหม
ซึ่งองคพระผูเปนเจาทรงเรียกพระศาสนจักรใหปฏิบัติภารกิจนี้” [240] เพื่อให
มั่นใจไดวาพระสงฆในอนาคตจะไดรับการอบรมดานสติปญญาอยางเพียงพอ
จึ ง ต อ งสอนทุ ก สาขาวิ ช าให มี ค วามเชื่ อ มโยงที่ ใ กล ชิ ด ต อ กั น อย า งเห็ น ได
ชัดและหลีกเลี่ยงการแยกความรูเปนสวน ๆ แตตองเปนการเดินทางที่บูรณาการ
และเปนเอกภาพ [241] ในการเดินทางนี้วิชาตาง ๆ เปนเหมือน “แผนกระเบื้อง
เล็ก ๆ ที่สําคัญในภาพโมเสก” เพื่อแสดงธรรมลํ้าลึกของพระคริสตเจาและของ
พระศาสนจักร และเพื่อใหวิสัยทัศนแบบคริสตชนที่แทจริงเกี่ยวกับมนุษยและโลก
เติบโตอยางสมบูรณ
“สถานการณปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรุนแรงอันเปนผลมาจาก
การเมินเฉยดานศาสนา และจากความไมไววางใจที่เกิดขึ้นทั่วไปเกี่ยวกับศักยภาพ
แทจริงของเหตุผลในการเขาถึงความจริงที่เปนปรนัยและเปนสากล ตลอดจน
การเปลี่ ย นแปลงที่ ม าจากป ญ หาและคํ า ถามใหม ที่ เ กิ ด จากการค น พบทาง
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงเรียกรองอยางแข็งขันที่พระสงฆตองไดรับการ
อบรมดานสติปญญาในระดับสูง เพื่อใหเขาสามารถประกาศพระวรสารของ
พระคริสตเจาที่ไมมีวันเปลี่ยนแปลงในบริบทเชนนี้ได และทําใหพระวรสาร
เปนที่นาเชื่อถือสําหรับมนุษยที่ตองการเหตุผล ซึ่งเปนความตองการที่ชอบธรรม
ยิ่งกวานั้น ยังมีปรากฏการณของพหุนิยมในปจจุบันที่เกิดขึ้นทั้งในบริบทของสังคม
มนุษยและในชุมชนพระศาสนจักรเอง ซึ่งเรียกรองความสามารถในการวินิจฉัย
อยางมีวิจารณญาณ นี่เปนอีกเหตุผลหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงความจําเปนสําหรับ
การอบรมดานสติปญญาอยางเขมงวด” [242]
110 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
154. เราจะกลาวถึงสาขาวิชาตาง ๆ ทีป่ ระกอบกันเปนโปรแกรมการศึกษา
ทั่วไปในตอนตอไป สวนในเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ”
ตองประกอบดวยการนําเสนอวิชาตาง ๆ ทั้งหมดเพื่อครอบคลุมการอบรมดาน
สติปญญาในแตละขั้นของการอบรม การนําเสนอนี้ตองระบุโดยสรุปถึงวัตถุ
ประสงคของแตละสาขาวิชา การจัดวางตําแหนงของแตละวิชาภายในหลักสูตร
การศึกษาทัง้ หมด รวมทัง้ การจัดตารางเรียนประจําปการศึกษาและประจําภาคเรียน
และจํานวนหนวยกิตสําหรับแตละหลักสูตรดวย
เนื้อหาการศึกษาของขั้นเตรียมควรมีระยะเวลาอยางนอยหนึ่งป การศึกษา
วิชาปรัชญาตองใชเวลาอยางนอยสองป หรือตามจํานวนชั่วโมงที่กําหนดสําหรับ
ภาคเรียนตามระบบการศึกษาในบางประเทศ สวนการศึกษาวิชาเทววิทยาตองใช
เวลาอยางนอยสี่ป (หรือตามจํานวนชั่วโมงที่กําหนดสําหรับภาคเรียน) ดวยวิธีนี้
การศึกษาปรัชญาและเทววิทยาจึงตองใชเวลาทั้งหมดหกปเปนอยางตํ่า [243]
(หรือสอดคลองกับโปรแกรมการศึกษาอื่น ๆ ซึ่งควรประกอบดวยเนื้อหาการ
ศึกษาซึ่งครอบคลุมเวลาเรียนภายในหกป)
วิชาที่สอนสําหรับการศึกษาขั้นเตรียม ขั้นปรัชญา และขั้นเทววิทยา พรอม
กับวิชา “ดานศาสนบริการ” ที่จะกลาวถึงตอไปนี้ ประกอบขึ้นเปนโครงสรางการ
ศึกษาที่สําคัญในสามเณราลัยตาง ๆ และในบานอบรมทุกแหง สภาพระสังฆราช
แตละแหงสามารถขยายหรือปรับเปลี่ยนวิชาเหลานี้ใหเหมาะสม โดยคํานึงถึง
ธรรมเนียมการอบรม และความจําเปนเฉพาะดานงานอภิบาล
ก) การศึกษาขั้นเตรียม (The Study of Propaedeutic Materials)
155. แมวาขั้นเตรียมเปนขั้นกอน และเปนชวงเตรียมความพรอมสําหรับ
การศึกษาดานปรัชญาและเทววิทยา แตไมไดเนนเพียงมิติดานสติปญญาเทานั้น
“แตรวมถึงการอบรมมิติดานความเปนมนุษยและชีวิตจิตดวย” [244] “และโดย
เฉพาะอยางยิ่ง เปนสิ่งสําคัญที่จะบรรลุถึงความสมดุลที่เหมาะสมระหวาง
The Gift of the Priestly Vocation... 111
องคประกอบดานความเปนมนุษย ชีวิตจิต และองคประกอบดานการศึกษา
เพื่อไมใหวิชาที่ตองศึกษามากเกินความจําเปนจนสงผลเสียตอการอบรมที่เหมาะสม
ดานศาสนาและการเปนพระสงฆ” [245]
156. เมื่อพูดถึงวิชาที่เรียนในระยะเตรียมตัว ใหคํานึงถึงสถานการณของ
สังคมและพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นที่มีการจัดการศึกษา และตองแนใจวามีความ
สมบูรณขององคประกอบที่จําเปนตาง ๆ สําหรับการอบรมดานสติปญญา เพราะ
ความรูเหลานี้จะสงเสริมการอบรมในภายหลัง
ควรเอาใจใส ด  า นการศึ ก ษาของสามเณรเพื่ อ ทํ า ให มั่ น ใจว า พวกเขา
“มีความรูที่กวางขวางเพียงพอเรื่องคําสอนเกี่ยวกับความเชื่อ” [246] และเนื้อหา
ที่เกี่ยวของกับความเขาใจในเรื่องศาสนบริการของพระสงฆ นอกจากนั้นหลังจาก
สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมแลว ควรมีขั้นตอนตาง ๆ ที่จะเพิ่มเติมความรู
ที่ขาดไปในตัวผูสมัครเปนพระสงฆเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ที่จําเปนสําหรับพวกเขา
157. ตอไปนี้เปนรายชื่อของวิชาตาง ๆ ที่ยกมาเปนตัวอยาง ซึ่งอาจรวม
ไวในการศึกษาขั้นเตรียม เชน
ก. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการอานพระคัมภีร ซึ่งชวยใหสามเณรคุน
เคยกับสวนตาง ๆ ของพระคัมภีร
ข. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับธรรมลํ้าลึกของพระคริสตเจา [247] และ
ของพระศาสนจักร ตลอดจนความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเทววิทยาแหง
สังฆภาพและพิธีกรรม ดวยการศึกษาคําสอนของพระศาสนจักร
คาทอลิกและหนังสือพิธีกรรมตาง ๆ
ค. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเอกสารตาง ๆ ของสภาสังคายนาวาติกัน
ครั้งที่สอง และเกี่ยวกับอํานาจการสอนของพระศาสนจักร โดย
เฉพาะอํานาจสั่งสอนของพระสันตะปาปา
ง. องคประกอบตาง ๆ ของชีวิตจิตพระสงฆ โดยใหความสนใจเปน
พิเศษตอแนวทางชีวิตจิตที่สําคัญ ๆ ตลอดจนชีวิตของบรรดานักบุญ
ที่เปนประจักษพยานดวยแบบอยางชีวิตสงฆ
112 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
จ. องคประกอบตาง ๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตรของพระศาสนจักร
สากล และพระศาสนจักรทองถิ่น โดยเฉพาะในมุมมองดานธรรมทูต
ฉ. ชี วิ ต ของบรรดานั ก บุ ญ และบรรดาบุ ญ ราศี จ ากสั ง ฆมณฑลหรื อ
ภูมิภาคนั้น
ช. องคประกอบตาง ๆ เกี่ยวกับวัฒนธรรมของมนุษย ดวยการอาน
ผลงานของนักประพันธระดับชาติ และของศาสนาอื่นของประเทศหรือ
ภูมิภาคนั้น
ซ. องคประกอบตาง ๆ ของจิตวิทยาที่อาจชวยใหสามเณรรูจักตนเอง
ข) การศึกษาปรัชญา (Philosophical Studies)
158. การศึกษาปรัชญา “นําไปสูความเขาใจและการอธิบายเกี่ยวกับ
บุคคล เกี่ยวกับอิสรภาพและความสัมพันธของบุคคลกับโลกและกับพระเจาใน
มุมมองที่ลึกซึ้งมากขึ้น การศึกษาดานปรัชญาอยางถูกตองเปนสิ่งสําคัญมาก
ไมเพียงเพราะมีความเชื่อมโยงระหวางคําถามสําคัญทางปรัชญาและธรรมลํ้าลึก
แห ง ความรอดพ น ที่ ศึ ก ษากั น ในวิ ช าเทววิ ท ยาภายใต ก ารชี้ นํ า ของแสงสว า ง
อันสูงสงแหงความเชือ่ แตยงั สําคัญตอการเผชิญหนากับสถานการณทางวัฒนธรรม
ที่แพรหลายอยางมาก ซึ่งใหความสําคัญกับอัตวิสัยเปนเกณฑและมาตรการ
ในการวัดความจริง... และไมควรประเมินคาความสําคัญของปรัชญาตํ่าเกินไป
ในการคํ้าประกัน ‘ความแนนอนของความจริง’ ซึ่งเปนพื้นฐานที่หนักแนน
เพียงประการเดียวเพื่อการมอบตนเองทั้งครบแดพระเยซูเจาและพระศาสนจักร”
[248]
159. ในบรรดาวิชาที่ตองศึกษาในบริบทของปรัชญา ควรใหความสําคัญ
กับปรัชญาเชิงระบบเปนพิเศษ เพราะจะทําใหมีความรูที่ถูกตองและเชื่อมโยงกัน
เกี่ยวกับมนุษย โลก และพระเจา โดยใหการสังเคราะหความคิดและมุมมอง
อยางกวางขวาง การอบรมนี้ตองถูกวางบนพื้นฐานของมรดกทางปรัชญาที่เชื่อถือ
ไดอยางถาวร ซึ่งบรรดานักปรัชญาคริสตชนคนสําคัญเปนพยานยืนยัน
The Gift of the Priestly Vocation... 113
ตองตระหนักถึงการคนควาดานปรัชญารวมสมัยของเรา โดยเฉพาะการ
คนควาที่มีอิทธิพลมากในประเทศของตน รวมทั้งความกาวหนาของศาสตรสมัย
ใหมทั้งหลาย เพื่อใหสามเณรไดรับการเตรียมตัวใหพรอมสําหรับการเสวนากับ
ผูอื่น ดวยการตระหนักถึงแนวโนมที่เดนชัดในสังคม เพื่อชวยใหการศึกษาวิชา
ปรัชญาตาง ๆ งายขึ้น บรรดาสามเณรจะตองไดรับการเตรียมตัวดวยการศึกษา
“ระเบียบวิธีการศึกษาดานปรัชญา” โดยเฉพาะ
160. ในการอบรมระยะนี้ ต  อ งให เวลามากเพี ย งพอสํ า หรั บ การศึ ก ษา
อภิปรัชญา เนื่องจาก “ลักษณะเฉพาะดานปรีชาญาณของปรัชญาบงบอกถึง
ขอบเขตแทจริงของอภิปรัชญาที่อยูเหนือขอมูลเชิงประจักษ เพื่อบรรลุถึงสิ่งที่
สัมบูรณ สูงสุด และเปนมูลฐานของการแสวงหาความจริง แมวาเราจะรูได
ทีละนอยผานเหตุการณในประวัติศาสตร” [249] ตาม “กระแสเรียกดั้งเดิม
ของปรัชญา คือ การแสวงหาความจริง และลักษณะเฉพาะดานปรีชาญาณ
และดานอภิปรัชญาของความจริง” [250] นอกจากนี้ยังจําเปนที่จะตองให
ความสนใจกับปญหาเรื่อง “พระยุติธรรมของพระเจา” และจักรวาลวิทยา ซึ่งให
วิสัยทัศนแหงความเปนจริงแบบคริสตชน
161. ตองสอน “ประวัติศาสตรของปรัชญา” อยางแข็งขัน เพื่อใหเขาใจ
แจมแจงถึงตนกําเนิดและพัฒนาการของหัวขอสําคัญที่สุด “ประวัติศาสตรของ
ปรัชญา” มีจุดมุงหมายเพื่อปลูกฝงความเขาใจถึงความตอเนื่องของการไตรตรอง
และความคิดของมนุษยเกี่ยวกับองคสัมบูรณ ความจริง และความเปนไปไดที่จะ
รูความจริง การศึกษาดานปรัชญายังเปนการเตรียมผืนดินอันอุดมเพื่อการเสวนา
และพบปะกับผูไมมีความเชื่ออีกดวย
162. เนื้อหาวิชาอื่น ๆ ที่ตองศึกษาในระยะนี้คือ มานุษยวิทยาปรัชญา
ตรรกศาสตร สุนทรียศาสตร ญาณวิทยา จริยศาสตร ปรัชญาการเมือง และ
ปรัชญาศาสนา
114 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
163. ควรใหความสนใจตามสมควรแกศาสตรเกี่ยวกับมนุษย เชน
สังคมวิทยา ครุศาสตร และจิตวิทยา ในดานที่เกี่ยวของมากที่สุดกับการอบรม
สําหรับศาสนบริการสงฆ วิชาเหลานี้จะขยายความสามารถของสามเณรใหรูจัก
วิญญาณมนุษย ทัง้ ความมัง่ คัง่ และความออนแอของมนุษย เพือ่ ฝกใหมวี จิ ารณญาณ
อันสงบและสมดุลเกี่ยวกับบุคคลและสถานการณ
164. วิธีการสอนนั้นเองตองปลุกเราใหสามเณร “รักที่จะแสวงหาความ
จริงอยางเครงครัด รักษาไว และแสดงใหเห็นถึงความจริงนั้น โดยยอมรับอยาง
ซื่อสัตยวาความรูของมนุษยมีขอบเขตจํากัด” และทําเชนนั้นจากมุมมองดาน
อภิบาล โดยใหความเอาใจใสเปนพิเศษถึง “ความสัมพันธระหวางปรัชญากับ
ปญหาแทจริงของชีวิต” [251]
ค) การศึกษาดานเทววิทยา (Theological Studies)
165. การอบรมดานเทววิทยา “ควรนําทางผูส มัครเปนพระสงฆใหมวี สิ ยั ทัศน
อันสมบูรณและมีเอกภาพเกีย่ วกับความจริงทัง้ หลายทีพ่ ระเจาทรงเปดเผยในองค
พระเยซูคริสตเจา และเกี่ยวกับประสบการณแหงความเชื่อของพระศาสนจักร
ดังนั้นจึงจําเปนตองรูความจริง ‘ทั้งหมด’ ของคริสตศาสนา โดยไมเลือกเพียง
บางอยางตามอําเภอใจ และตองรูความจริงอยางเปนระบบ” [252] ดังนั้นจึงเปน
ขั้นพื้นฐานและขั้นที่เหมาะสมของกระบวนการอบรมดานสติปญญา เพราะ
“อาศัยการศึกษา โดยเฉพาะการศึกษาเทววิทยา พระสงฆในอนาคตยอมรับ
พระวาจาของพระเจา เติบโตในชีวิตจิตของตน และเตรียมตนเองใหพรอมเพื่อ
ปฏิบัติงานอภิบาลใหสําเร็จสมบูรณ” [253]
166. การศึกษาพระคัมภีรคือจิตวิญญาณของเทววิทยา [254] และตองเปน
แรงบันดาลใจใหแกสาขาวิชาดานเทววิทยาทั้งหมด ดังนั้นจึงตองใหความสําคัญ
ที่เหมาะสมกับการอบรมพระคัมภีรในทุกระดับ เริ่มจากการอานพระคัมภีรแบบ
รําพึงภาวนา (Lectio Divina) จนถึงการอรรถาธิบายพระคัมภีร [255] เมื่อได
The Gift of the Priestly Vocation... 115
รับการแนะนําเบื้องตนที่เหมาะสมแลว สามเณรควรจะไดรับการสอนเกี่ยวกับ
วิธีการตีความพระคัมภีรอ ยางรอบคอบ ทั้งโดยความชวยเหลือของวิชาเสริมและ
หลักสูตรพิเศษ และอาจารยควรสอนสามเณรอยางเหมาะสมเกี่ยวกับธรรมชาติ
และคําตอบเกี่ยวกับปญหาหลักของการตีความพระคัมภีร บรรดาอาจารยควร
ชวยใหสามเณรมีมุมมองเกี่ยวกับพระคัมภีรในภาพรวม และชวยใหพวกเขาเขาใจ
ประเด็นสําคัญในประวัติศาสตรแหงความรอดพน และลักษณะเฉพาะของหนังสือ
พระคัมภีรแตละเลมอยางลึกซึ้ง อาจารยตองพยายามที่จะเสนอบทสังเคราะหทาง
เทววิทยาเกี่ยวกับการเผยแสดงของพระเจาแกบรรดาสามเณรใหสอดคลองกับ
อํานาจการสอนของพระศาสนจักร เพื่อวางรากฐานที่มั่นคงสําหรับชีวิตจิตและ
การเทศนสอนในอนาคตของพวกเขา
สามเณรควรได รั บ โอกาสให เรี ย นรู  ภ าษาฮี บ รู แ ละภาษากรี ก ที่ ใช ใ น
พระคัมภีร ซึ่งจะชวยใหเขาเขาใจตัวบทเดิมของพระคัมภีร นอกจากนี้ควรใหความ
สนใจเปนพิเศษตอความรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมและบริบทของพระคัมภีร โดยเฉพาะ
ประวัติศาสตรของชนชาติอิสราเอล เพื่อพัฒนาความเขาใจพระคัมภีรใหสูงขึ้น และ
เพือ่ เขาถึงความสัมพันธภายในอยางถูกตองกับบรรดาพีน่ อ งในพันธสัญญาเดิม
167. พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ตองถือวาเปนวิชาพื้นฐาน และควรไดรับการนํา
เสนอในมุมมองดานเทววิทยา ชีวิตจิต กฎหมายพระศาสนจักร และการอภิบาล
ใหมีความสอดคลองกับวิชาอื่น ๆ ดวย เพื่อใหสามเณรรูวาธรรมลํ้าลึกแหงความ
รอดพนดํารงอยู และบังเกิดผลในการประกอบพิธีกรรมอยางไร นอกจากนี้
พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ตองไดรับการพิจารณาวาเปนการแสดงออกถึงความเชื่อและ
ชีวิตจิตของพระศาสนจักรดังที่พบในตัวบทและจารีตพิธีตาง ๆ ทั้งจากพระ
ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก สามเณรควรเขาใจวาอะไรคือแกนสําคัญของ
พิธีกรรมที่ไมอาจเปลี่ยนแปลงได และเขาใจดวยวาอะไรเปนสวนหนึ่งของ
ประวัตศิ าสตร ดังนั้นจึงสามารถแกไขได แทนที่จะยึดติดกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตที่
สามารถปรับปรุงแกไขได แตอยางไรก็ตามใหปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยเรื่องของ
พิธีกรรมและกฎหมายพระศาสนจักรในเรื่องที่เกี่ยวของอยางแข็งขัน [256]
116 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
168. ควรสอนเทววิทยาขอความเชื่อรวมทั้งเทววิทยาศีลศักดิ์สิทธิ์อยางเปน
ระบบและมีแบบแผน โดยเริ่มตนดวยการพิจารณาตัวบทพระคัมภีร จากนั้นควร
ศึกษาผลงานของบรรดาปตาจารยของพระศาสนจักร ทั้งจากพระศาสนจักร
ตะวันออกและตะวันตก เพื่อแสดงใหเห็นการสงตอและพัฒนาการในความ
เขาใจความจริงที่ถูกเปดเผย และควรแสดงใหเห็นพัฒนาการทางประวัติศาสตร
ของขอความเชือ่ ประการสุดทาย สามเณรควรเรียนรูว ธิ ที จี่ ะเขาถึงธรรมลํา้ ลึกแหง
ความรอดพนในระดับลึกซึ้งยิ่งขึ้น และเขาใจความเชื่อมโยงระหวางธรรมลํ้าลึก
เหลานี้ดวยการสืบคนความจริงโดยอาศัยความคิดที่เปนเหตุเปนผล ยิ่งกวานั้น
เขาควรเรียนรูวิธีอธิบายความหมายและการเผชิญกับสถานการณชีวิตโดยอาศัย
แสงสวางแหงการเผยแสดง เรียนรูที่จะเขาใจความจริงนิรันดรภายใตสภาพความ
เปนจริงของมนุษยทเี่ ปลีย่ นแปลง และวิธสี อื่ สารความจริงเหลานัน้ ใหแกประชากร
ของพระเจาอยางเหมาะสม
ตัง้ แตเริม่ ตนของการอบรมระดับเทววิทยา ควรนําเสนอหลักคําสอนเกีย่ วกับ
แหลงกําเนิดทางเทววิทยา และเทววิทยาพื้นฐาน ดวยวิธีการที่เหมาะสม การนํา
เสนอนี้ควรจะรวมถึงทุกสิ่งที่เกี่ยวของกับการนําเขาสูความเชื่อบนรากฐานที่มี
อยูแ ละเปนเหตุเปนผล ดวยจิตตารมณทเี่ ปนสากลและดวยรูปแบบตาง ๆ ทีเ่ หมาะสม
กับสภาพการณของยุคปจจุบัน และตองคํานึงถึงองคประกอบทางประวัติศาสตร
และสังคมที่มีอิทธิพลโดยเฉพาะตอชีวิตคริสตชน
169. ทุกสาขาของเทววิทยาศีลธรรมตองยึดพระคัมภีรเปนหลัก เพื่อ
แสดงใหเห็นวาโดยเนื้อแทแลวเทววิทยาศีลธรรมเปนสวนหนึ่งของธรรมลํ้าลึก
แหงความรอดพนหนึ่งเดียว ในทํานองเดียวกัน เทววิทยาศีลธรรมจะแสดงใหเห็น
การกระทําเยีย่ งคริสตชน ทีม่ คี วามเชือ่ ความหวัง และความรักเปนรากฐาน อันเปน
การตอบรับตอการเรียกของพระเจา โดยทําใหการเรียกสูค วามศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละเสรีภาพ
ของพวกเขาปรากฏออกมาใหเห็นอยางเปนระบบ และควรอธิบายถึงความสําคัญ
ของคุณธรรมและความหมายของบาป เพื่อบรรลุถึงเปาหมายนี้จึงไมควรมองขาม
The Gift of the Priestly Vocation... 117
พัฒนาการทั้งหลายดานมานุษยวิทยาในปจจุบัน พรอมกับนําเสนอชีวิตศีลธรรม
วาเปนเสนทางที่บางครั้งเรียกรองใหปฏิบัติตาม แตนําไปสูความยินดีของชีวิต
คริสตชนเสมอ
คําสอนดานศีลธรรม ที่เรียกกันวา “กฎแหงเสรีภาพ” และ “ชีวิตตามการ
นําทางของพระจิตเจา” นี้พบความสมบูรณในเทววิทยาชีวิตจิต ซึ่งตองรวมทั้งการ
ศึกษาเทววิทยาและชีวิตจิตของพระสงฆ ของชีวิตผูถวายตัว ดวยการปฏิบัติ
ตามคําแนะนําของพระวรสาร และรวมทัง้ การศึกษาชีวติ จิตของฆราวาส จริยศาสตร
แบบคริสตชนจะหลอหลอมบรรดาศิษยพระคริสตแตละคนตามลักษณะเฉพาะ
ตัวของกระแสเรียกของเขาสูหนทางแหงความศักดิ์สิทธิ์ ในบริบทนี้ จึงจําเปน
ที่จะตองจัดหลักสูตร “เทววิทยาชีวิตผูถวายตัว” ใหรวมอยูในหลักสูตรการ
ศึกษา เพื่อใหผูอภิบาลในอนาคตสามารถรับขอมูลที่เปนแกนสําคัญ และเนื้อหา
สาระทางเทววิทยาที่เปนคุณลักษณะเฉพาะของชีวิตผูถวายตัวซึ่งเปนสวนหนึ่ง
ของชีวิตและความศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักรเอง
170. เทววิทยาดานการอภิบาล คือ “เปนการไตรตรองดานวิชาการ
เกี่ ย วกั บ พระศาสนจั ก รในฐานะที่ พ ระศาสนจั ก รถู ก สร า งขึ้ น ในแต ล ะวั น
ในประวัติศาสตรดวยอํานาจของพระจิตเจา... เทววิทยาดานการอภิบาลไมใชเพียงแค
ศิลปะอยางหนึ่งเทานั้น และไมใชคําตักเตือน ประสบการณ และวิธีการชุดหนึ่ง
แตเปนเทววิทยาในตัวเอง เพราะไดรับหลักการและบรรทัดฐานสําหรับการ
ปฏิบตั งิ านอภิบาลของพระศาสนจักรในประวัตศิ าสตรจากความเชือ่ พระศาสนจักร
ที่ ‘ใหกําเนิด’ พระศาสนจักรเองในแตละวัน ... ในบรรดาหลักการและบรรทัดฐาน
เหลานี้ สิ่งหนึ่งที่สําคัญเปนพิเศษคือการวินิจฉัยตามพระวรสารเกี่ยวกับสภาพ
การณของวัฒนธรรมทางสังคม และสถานการณในพระศาสนจักร ซึ่งการ
ปฏิบัติงานอภิบาลตองพัฒนายิ่งขึ้นในสภาพการณเหลานี้” [257]
171. ในบริบทที่มนุษยเดินทางมากขึ้น และทั้งโลกกลายเปน “หมูบานโลก”
จึงไมสามารถละเวนการศึกษาเกี่ยวกับธรรมทูตวิทยาไดเลย เพราะเปนการอบรม
118 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
แทจริงในความเปนสากลของพระศาสนจักร และเปนการสงเสริมแรงกระตุน
ใหพระศาสนจักรประกาศพระวรสาร มิใชเพียงพันธกิจสูปวงชน แตเปนการ
ประกาศพระวรสารแบบใหมอีกดวย
172. ควรจัดบทเรียนจํานวนเพียงพอใหกับการสอนคําสอนดานสังคม
ของพระศาสนจักร ทั้งนี้เพราะการประกาศและการเปนพยานถึงพระวรสาร ซึ่ง
พระสงฆไดรับเรียกใหกระทํานั้น มีผลตอสังคมมนุษยอยางมีนัยสําคัญ และ
เหนือสิ่งอื่นใดการประกาศและการเปนพยานถึงพระวรสารยังมีเปาหมายเพื่อ
สรางพระอาณาจักรของพระเจา พระสงฆจงึ ตองมีความรูอ ยางลึกซึง้ ถึงความเปนจริง
และการตีความความสัมพันธของมนุษย สังคม และการเมือง ซึ่งกําหนดชีวิต
ของปจเจกบุคคลและชนชาติตาง ๆ โดยแสงสวางแหงพระวรสาร ในมุมมองนี้
พระสงฆจะพบหัวขอสําคัญเกี่ยวกับชีวิตของประชากรของพระเจา ซึ่งไดรับการ
อธิบายไวอยางมากมายโดยอํานาจการสอนของพระศาสนจักร [258] เชน การ
แสวงหาความดีสว นรวม คุณคาของความเปนนํา้ หนึง่ ใจเดียวกันและการชวยเหลือกัน
ทามกลางชนชาติตาง ๆ การใหการศึกษาแกเยาวชน การทํางานพรอมกับสิทธิ
และหนาที่ที่เกี่ยวของ ความหมายของอํานาจทางการเมือง คุณคาของความ
ยุติธรรมและสันติภาพ โครงสรางทางสังคมที่สนับสนุน และการเดินเคียงขาง
ผูที่ขัดสนที่สุด
ระหวางระยะเวลาทีผ่ า นมานี้ ผูเ ชีย่ วชาญและนักวิจยั ในสาขาตาง ๆ ไดหนั มา
สนใจวิกฤติที่กําลังเกิดขึ้นกับโลก ซึ่งสะทอนออกมาอยางหนักหนวงในอํานาจ
การสอนของพระศาสนจักรในยุคปจจุบันเกี่ยวกับ “ปญหาของระบบนิเวศ” การ
ปกปองสิ่งสราง และการดูแลรักษาโลก ซึ่งเปนบานของเราทุกคน เปนสวนหนึ่ง
ของวิสัยทัศนของคริสตชนเกี่ยวกับมนุษยและความเปนจริง และเปนพื้นฐาน
ของระบบนิเวศที่ดีของความสัมพันธของมนุษย ดังนั้นวันนี้จึงเรียกรองใหมี
“การกลับใจภายในอยางลึกซึ้ง แตเราตองยอมรับดวยวา คริสตชนบางคนที่
ปฏิบัติศาสนกิจและภาวนา กลับเคยชินที่จะไมสนใจหวงใยสิ่งแวดลอมโดยการ
The Gift of the Priestly Vocation... 119
อางสัจนิยม และปฏิบัตินิยม สวนคนอื่น ๆ ก็เพิกเฉย ไมตัดสินใจที่จะเปลี่ยน
ความเคยชินของเขา และปฏิบัติตนไมสอดคลองกัน ดังนั้นเขาจึงตองการ
‘การกลับใจทางนิเวศวิทยา’ ซึง่ เรียกรองใหบงั เกิดผลจากการไดพบพระเยซูคริสตเจา
ในความสัมพันธกับโลกที่ลอมรอบตัวเขา การดําเนินชีวิตกระแสเรียกของผู
ปกปองผลงานของพระเจา เปนสวนสําคัญในชีวิตที่เปยมดวยคุณธรรม สิ่งนี้
มิใชเปนทางเลือก หรือเปนเพียงมิติรองของประสบการณคริสตชน” [259] ดังนั้น
จึงจําเปนที่พระสงฆในอนาคตควรมีความรูสึกไวในเรื่องนี้เปนอยางยิ่ง และ
ผานทางการแนะนําทีจ่ าํ เปนทางเทววิทยาและทางอํานาจสอนของพระศาสนจักร
ซึ่งชวยให “ตระหนักถึงความยิ่งใหญ ความเรงดวน และความงดงามของความ
ทาทายที่อยูตอหนาเรา” [260] เรื่องนี้ตองนํามาปรับใชกับศาสนบริการของพระ
สงฆในอนาคต เพื่อทําใหเขาเปนผูสงเสริมเกี่ยวกับการดูแลเอาใจใสที่เหมาะสม
สําหรับทุกสิ่งที่เกี่ยวของกับการปกปกรักษาสิ่งสรางทั้งหลาย
173. ประวัติศาสตรของพระศาสนจักรตองแสดงใหเห็นตนกําเนิดและ
พัฒนาการของพระศาสนจักร ในฐานะประชากรของพระเจาทีแ่ ผขยายในกาลเวลา
ดวยการพิจารณาหลักฐานตาง ๆ ทางประวัติศาสตรดวยมุมมองทางวิชาการ
เมื่อนําเสนอประวัติศาสตรของพระศาสนจักร เราควรคํานึงถึงพัฒนาการของ
คําสอนทางเทววิทยา และสถานการณจริงดานสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
รวมทั้งพัฒนาการของความคิดเห็นตาง ๆ และรูปแบบของความคิดที่มีอิทธิพล
มากที่สุด โดยไมละเวนที่จะสืบคนการพึ่งพาอาศัยกันและพัฒนาการที่มีผลตอกัน
ของสิ่งเหลานี้ ประการสุดทาย ควรเนนการพบกันอันนาพิศวงระหวางการกระทํา
ของพระเจาและมนุษย โดยใหความหมายที่แทจริงของพระศาสนจักรและธรรม
ประเพณีแกสามเณร ในทํานองเดียวกันบรรดาสามเณรควรรูประวัติศาสตรของ
พระศาสนจักรในประเทศของตนดวย
174. ควรสอนกฎหมายพระศาสนจักรโดยเริ่มจากมุมมองที่ถูกตองแหง
ธรรมลํ้าลึกของพระศาสนจักรในแสงสวางแหงคําสอนของสภาสังคายนาวาติกัน
120 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ครั้งที่สอง [261] เมื่ออธิบายหลักการและบรรทัดฐานตาง ๆ ตองชี้ใหเห็นวา
ระเบียบและวินัยของพระศาสนจักรตองตอบสนองตอพระประสงคของพระเจาที่
จะชวยใหมนุษยรอดพนไดอยางไร โดยมีความรอดพนของวิญญาณทั้งหลายเปนดัง
กฎสูงสุด ดวยเหตุนี้ โดยยกคํากลาวที่ใชเพื่อการประกาศใชกฎหมายพระศาสน
จักรป ค.ศ. 1983 จึงสามารถยืนยันไดวากฎหมายทั้งหมดของพระศาสนจักร คือ
“ความพยายามอันยิ่งใหญในการแปล... คริสตศาสนจักรวิทยาของสภาสังคายนา
ออกมาเปนภาษากฎหมาย อยางไรก็ตาม หากไมสามารถแปลภาพลักษณของ
พระศาสนจั ก รตามคํ า สอนของสภาสั ง คายนาได อ ย า งสมบู ร ณ ด  ว ยภาษา
กฎหมาย กระนั้นก็ดี เราควรพบจุดอางอิงสําคัญในภาพลักษณนี้เสมอเทาที่
เปนไปได” [262] กฎหมายพระศาสนจักรจึงมีไวเพื่อการรับใชการทํางาน
ของพระจิตเจาในพระศาสนจักร และสนับสนุนความพยายามในการทํางานอภิบาล
ใหมปี ระสิทธิผลดวยการวินิจฉัยสถานการณของพระศาสนจักรอยางถูกตอง
ดังนั้นจึงเปนการเหมาะสมที่จะสงเสริมการศึกษากฎหมายพระศาสน
จักรระหวางการอบรมขั้นตน จนกระทั่งพระสงฆเขาใจวาการเยียวยารักษาปญหา
ตาง ๆ หรือ “บาดแผล” โดยเฉพาะอยางยิ่งในบริบทของการอภิบาลครอบครัว
นั้น สามารถพบไดในกฎหมายพระศาสนจักร โดยการสนับสนุน “ความดีของ
สัตบุรุษอยางตอเนื่องตามพระพรและพันธกิจของแตละบุคคล” [263]
175. ในขณะเดียวกัน ควรถือวาสาขาวิชาอื่น ๆ ก็เปนสวนหนึ่งของการ
ศึกษาเทววิทยาดวย เชน คริสตศาสนสัมพันธ และประวัติศาสตรของศาสนาตาง ๆ
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ศาสนาตาง ๆ ที่แพรหลายในแตละประเทศ ยิ่งกวานั้น ให
ตระหนักวา “เราประกาศขาวดีดวยเชนกันเมื่อเราพยายามที่จะเผชิญกับความ
ทาทายตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได” [264] ดังนั้นเราจําเปนตองใหความสนใจ
อยางยิง่ กับบุคคลทีเ่ ราประกาศความเชือ่ ตอคําถามทัง้ หลาย และความทาทายทีเ่ กิด
ขึ้นจากวัฒนธรรมทางโลก กลาวคือ การกีดกันทางเศรษฐกิจ การบูชาเงิน ความ
ชั่วรายซึ่งกอใหเกิดความรุนแรง การใหความสําคัญแกรูปลักษณภายนอกเหนือ
The Gift of the Priestly Vocation... 121
กวาชีวิต ลัทธิปจเจกนิยมในยุคหลังนวยุค และในกระแสโลกาภิวัฒน รวมทั้ง
ความเปนจริงของสัมพัทธนิยมดานจริยธรรม และความไมสนใจตอศาสนา [265]

ง) วิชาเกี่ยวกับศาสนบริการ (Ministerial Subjects)


176. เหนือสิ่งอื่นใดความรูในวิชาเกี่ยวกับศาสนบริการเหลานี้เรียกรองใหผู
ที่จะเปนศาสนบริกรในอนาคต [266] ซึ่งจะตองปฏิบัติในบริบทเฉพาะ และในชวง
เวลาหนึ่งของยุคสมัย สามเณราลัยทุกแหงมีหนาที่จัดการเรียนการสอนวิชาเหลา
นี้แกสามเณรตลอดระยะเวลาแหงการอบรมใหสอดคลองกับเวลาและวิธีการที่
เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” แตละฉบับจะกําหนดขึ้นมา
การจัดรายวิชาเหลานี้และการลงลึกในเนื้อหาของวิชานั้น ๆ จะเปนการสรางการ
สนับสนุนที่มีประโยชน และสําคัญแกชีวิต และการเติบโตดานความเปนมนุษย
และชีวิตจิตของผูที่จะเปนพระสงฆในอนาคต ตลอดจนเปนประโยชนและสําคัญ
สําหรับศาสนบริการของเขาดวย
177. และโดยเฉพาะอยางยิ่ง จะเปนการดีที่จะศึกษา “ศิลปะแหงการ
เฉลิมฉลอง” รวมทั้งสอนใหสามเณรรูวิธีมีสวนรวมในธรรมลํ้าลึกศักดิ์สิทธิ์อยาง
เกิดผล และรูวิธีเฉลิมฉลองพิธีกรรมในภาคปฏิบัติดวยความเคารพและซื่อสัตย
ตอหนังสือพิธีกรรม
ควรใหความสนใจเปนพิเศษแกการเทศน [267] เนื่องจากเปน “เกณฑ
สํ า หรั บ วิ นิ จ ฉั ย ความใกล ชิ ด และความสามารถของผู  อ ภิ บ าลที่ สื่ อ สารให แ ก
ประชาชนของเขา” [268] เราจะเห็นประโยชนของการเตรียมความพรอมนี้ไดใน
ศาสนบริการตาง ๆ เชน การเทศนระหวางพิธีกรรม และการสอนคําสอน ซึ่ง
เปนงานอันตอเนื่องของพระสงฆในการสงเสริมการเติบโตของชุมชนที่เขาไดรับ
มอบหมายใหดูแล การเตรียมตัวเพื่อประกาศคําสอนของคริสตศาสนาไมไดเปน
เพียงเรื่องเทคนิควิธี เนื่องจาก “ผูเทศนคนหนึ่งตองรําพึงพระวาจา และยังตอง
คิดคํานึงถึงประชากรของเขาดวย... เขาตองสามารถเชื่อมโยงคําสอนในพระคัมภีร
122 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
เขากับสถานการณของมนุษย เขากับประสบการณที่เรียกรองแสงสวางจากพระ
วาจาของพระเจา” [269]
178. เพื่อชวยใหสามเณรพรอมและไดรับการเตรียมตัวเพื่อการเฉลิม
ฉลองศีลแหงการคืนดี วิชาเฉพาะเรื่องการ “เริ่มตนเขาสูศาสนบริการแหงศีล
อภัยบาป” มีความสําคัญอยางยิ่ง และชวยเขาใหเปลี่ยนหลักการของเทววิทยา
ศีลธรรมมาใชในเหตุการณจริง และใหคําแนะนําตอคําถามที่พบในศาสนบริการ
อันละเอียดออนนี้ดวยจิตที่เมตตากรุณา [270] ในบริบทนี้ เนื่องจากพระสงฆตอง
อภิบาลผูมีความเชื่อ การอบรมสามเณรใหรูจักวินิจฉัยจิตตาง ๆ และการใหคํา
แนะนําฝายจิต ควรไดรับความสนใจในฐานะที่เปนสวนสําคัญของศาสนบริการ
สงฆ
179. เนื่องจากบอยครั้งประชากรของพระเจาจะแสดงความเชื่อออกมาในรูป
แบบของกิจศรัทธาที่ “แสดงความกระหายหาพระเจา ซึ่งมีแตคนซื่อและคน
ยากจนเทานั้นสามารถรูจักได” [271] และเปน “แหลงของเทววิทยาทองถิ่นซึ่ง
เรียกรองความสนใจของเรา โดยเฉพาะในเวลาทีเ่ รากําลังหวังพึง่ การประกาศพระ
วรสารแบบใหม” [272] พระสงฆในอนาคตตองคุนเคย เห็นคุณคา และเขาใจ
ความหมายที่แทจริงของกิจศรัทธาเหลานี้ ดวยวิธีนี้ สามเณรจะเรียนรูที่จะแยก
แยะวาอะไรคือการประยุกตพระวรสารเขาสูวัฒนธรรม ที่กลายเปนทรัพยมีคา
แทจริงสําหรับพระศาสนจักร ออกจาก “การยึดติดกับกิจศรัทธาที่ไมสมบูรณครบ
ครันหรือผิด ซึ่งแยกตัวออกจากการเผยแสดงที่แทจริงของพระคัมภีร” [273]
สามเณรจะตองไดรับการแนะนําใหอานชีวประวัตินักบุญ เพราะเปนการขยาย
ความของหัวขอนี้ โดยอางอิงชีวิตของนักบุญผูมีชื่อเสียงทั้งหลาย
180. เพื่อเตรียมตัวใหพรอมมากขึ้นสําหรับทํางานศาสนบริการของ
พระสงฆ สามเณรตองไดรับการฝกอบรมอยางเอาใจใสใหรูจักบริหารจัดการ
ทรัพยสินตามบรรทัดฐานของกฎหมายพระศาสนจักร ดวยความสุขุม ไมมีจิตใจ
ผูกพันกับทรัพยสิน และดวยความโปรงใสทางดานศีลธรรม ควบคูกับการใชทักษะ
The Gift of the Priestly Vocation... 123
ที่จําเปน [274] การฝกอบรมนี้เปดโอกาสใหสามเณรเปนประจักษพยานตาม
คุณคาพระวรสารอยางชัดเจน ซึ่งเปนเรื่องที่คริสตชนรับรูไดเปนพิเศษ และสนับ
สนุนใหสามเณรทํางานอภิบาลไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น การอบรมนี้ตอง
ประกอบดวยการศึกษากฎหมายแพงเกี่ยวกับประเด็นนี้ โดยใหความสนใจเปน
พิเศษกับหนาที่ของเจาอาวาส และความจําเปนที่จะใหฆราวาสเขามารวมงาน
181. สามเณรตองไดรับการอบรมใหเห็นคุณคาของศิลปะศักดิ์สิทธิ์ โดย
ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมที่สามเณรไดรับการอบรม ความสนใจในดานนี้จะทํา
ใหพระสงฆในอนาคตมีขอมูลมากขึ้นสําหรับใชสอนคําสอน และชวยใหมี
ความรูมากขึ้นเกี่ยวกับประวัติศาสตรและ “ขุมทรัพย” ที่เขาตองอนุรักษ และ
มรดกของพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นที่เขาจะเขาไปทํางาน เราควรระลึกวาความ
เขาใจและการเห็นคุณคาของศิลปะและความงามอยางเหมาะสมนั้นมีคุณคาอยู
ในตัวเอง ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใชกับงานอภิบาลไดอยางชัดเจน นอกจากนี้
ความรูเกี่ยวกับดนตรีศักดิ์สิทธิ์ [275] จะสงเสริมการอบรมโดยรวมของสามเณร
และทําใหเขามีแหลงขอมูลอีกอยางหนึ่งสําหรับประกาศพระวรสารและทํางาน
อภิบาล
182. เนื่องจากคําสั่งสอนในพระศาสนจักรใหความสนใจมากกับหัวขอ
การสื่อสารทางสังคมตาง ๆ [276] และเราพบวา “สื่อรูปแบบใหม” เปนพื้นที่ที่นา
สนใจสําหรับใชประกาศพระวรสาร สามเณราลัยจึงตองอบรมใหสามเณรมีความ
ตระหนักรูในดานนี้โดยเฉพาะ จึงจําเปนตองเขาใจไมเพียงความคิดทางดานเทค
นิคและอุปกรณตาง ๆ แตตองชวยใหสามเณรคุนเคยกับการใชเครื่องมือสื่อสาร
เหลานี้อยางสมดุลและมีวุฒิภาวะโดยไมมีใจผูกพันมากเกินไปหรือเสพติด
183. ประการสุดทาย การสอนภาษาตาง ๆ ในสามเณราลัยเปนสิ่งสําคัญ
เสมอ และตองแนะนําอยางจริงจังใหสามเณรรูภาษาสมัยใหมอยางนอยหนึ่ง
ภาษา โดยใหความสําคัญกับภาษาที่ใชพูดในประเทศตาง ๆ ที่พวกเขาจะปฏิบัติ
ศาสนบริการสงฆ นอกจากนี้ เราไมอาจมองขามปญหาเกี่ยวกับการโยกยาย
124 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ถิ่นฐานหรือการทองเที่ยวในการอบรมสามเณร และสามเณรตองมีความสามารถ
ดานภาษามากพอดวย
นอกจากศึกษาภาษาฮีบรูและกรีกที่ใชในพระคัมภีรแลว สามเณรควร
ศึกษาภาษาละตินตั้งแตเริ่มตนการอบรม เพราะภาษาละตินจะชวยใหเขาถึง
แหลงขอมูลของอํานาจการสอน และประวัติศาสตรของพระศาสนจักรได
184. สามเณรควรศึกษาวิชาศาสนบริการดังกลาว และวิชาอื่น ๆ ที่
พิจารณาแลววามีประโยชนหรือจําเปนสําหรับศาสนบริการสงฆระหวางชวง
เวลาของการอบรม โดยคํานึงถึงความเกี่ยวของของวิชาเหลานั้นกับโปรแกรม
อบรม และมีความสอดคลองกับยุคสมัยและวิธีการที่ระบุในเอกสาร “ระบบ
การอบรมพระสงฆระดับชาติ”
จ) การศึกษาเฉพาะทาง (Specialised Studies)
185. นอกจากการศึกษาในสถาบันที่จําเปนสําหรับการอบรมของพระสงฆ
ทุกคนแลว บางคนอาจถูกเรียกรองใหตอ งเตรียมตัวเปนพิเศษสําหรับงานธรรมทูต
นอกจากความเปนไปไดที่จะพัฒนาความเชี่ยวชาญบางดานซึ่งจะมีประโยชน
สําหรับงานอภิบาลแลว ยังตองเตรียมความพรอมใหพระสงฆที่จะไดรับมอบ
หมายงานหรือหนาที่ที่เรียกรองการเตรียมตัวเปนพิเศษยิ่งขึ้น โดยใหศึกษา
หลักสูตรหรือในสถาบันที่สอดคลองกัน
ดังนัน้ นอกจากศึกษาศาสตรตา ง ๆ ทางศาสนาทีค่ นุ เคยแลว ก็อาจพิจารณา
ความคิดริเริ่มอื่น ๆ ที่พระศาสนจักรเฉพาะถิ่นสงเสริม พระศาสนจักรเหลานี้
อาจจั ด การอบรมในบางสาขาที่ สํ า คั ญ สํ า หรั บ สถานการณ อ ภิ บ าลบางอย า ง
และเพื่อแสวงหาเครื่องมือพรอมทั้งความรูที่จะชวยในศาสนบริการที่เจาะจง
มากขึ้น เชน เสนอหลักสูตรเพื่อฝกอบรมบุคคลที่จะทํางานในศาลพระศาสนจักร
ผูใหการอบรมในสามเณราลัย บุคคลที่จะทํางานในสาขาสื่อมวลชน บุคคลที่
เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยสินของพระศาสนจักร และบุคคลที่เกี่ยว
ของในการสอนคําสอน
The Gift of the Priestly Vocation... 125
เพื่อบรรลุถึงเปาหมายนี้ หลังจากรวบรวมขอมูลที่จําเปน และประเมินความ
ตองการของพระศาสนจักรเฉพาะถิ่นภายใตความรับผิดชอบของพวกทานแลว
บรรดาพระสังฆราชจะสามารถเลือกบุคคลที่เห็นวาเหมาะสมกับงานเหลานี้
โดยพิจารณาจากบุคลิกลักษณะ คุณธรรม และความสามารถ
ฉ) เปาหมายและวิธีการสอน (The Goals and Methods of Teaching)
186. แมจะมีวธิ กี ารมากมายใหเลือก แตการสอนตองมีเปาหมายดังตอไปนี้
ก) เพื่อชวยใหสามเณรเลือกคําถามที่เปนสาระสําคัญออกมาจากขอมูล
มากมายที่เขาไดรับ และกระตุนความรอนรนที่ดีขึ้นในหัวใจ ซึ่งเปด
จิตของมนุษยใหแสวงหาพระเจา
ข) เพื่ อ ให เ กิ ด เอกภาพและการสั ง เคราะห ใ นการอบรมมิ ติ ด  า นสติ
ปญญา ดวยการสรางความกลมกลืนกันระหวางการศึกษาดานพระ
คัมภีร ดานเทววิทยา และดานปรัชญา โดยเฉพาะอยางยิ่ง สามเณร
ตองไดรับความชวยเหลือในการจัดระเบียบและประสานความรู
ที่ไดรับมา เพื่อปองกันการเรียนรูอยางแยกสวนไมปะติดปะตอ ไร
ระเบียบ และสับสน [277]
ค) เพื่อใหการสั่งสอนนั้นชัดเจนและถูกตอง ซึ่งพยายามถายทอดความ
รูที่ดียิ่งขึ้นถึงธรรมลํ้าลึกของพระเจา และพระศาสนจักรของพระองค
ความจริงเกี่ยวกับความเชื่อ และการลําดับความจริงเหลานั้น [278]
ความรูเกี่ยวกับมนุษยและโลกรวมสมัย
ง) เพื่อสงเสริมการเสวนาและแลกเปลี่ยนความรูระหวางสามเณร
ดวยกัน และระหวางสามเณรและอาจารยของเขา โดยอาศัยความ
สามารถอภิปรายดวยตรรกะและเหตุผล
จ) เพื่อเสนอมุมมองเชิงประวัติศาสตรใหแกสามเณร เพื่อใหเขาเขาใจ
ความเชื่อมโยงระหวางความเชื่อและพัฒนาการทางประวัติศาสตร
126 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
โดยใหเขาเรียนรูที่จะแสดงเนื้อหาความรูดานปรัชญาและเทววิทยา
ดวยภาษาที่เหมาะสม
187. แนวทางปฏิบัติ เกี่ยวกับวิธีการสอน ใหพิจารณาประเด็นตอไป
นี้ประกอบดวย
ก) ในหลักสูตรของสถาบัน ผูสอนควรนําเสนอสาระสําคัญของวิชา ให
คําแนะนําเรื่องการศึกษาเปนสวนตัว และรายชื่อหนังสือที่เกี่ยวของ
กับการศึกษาแกสามเณร
ข) อาจารยตองเอาใจใสในการสอนขอคําสอนคาทอลิก โดยกลาวถึง
ความมั่งคั่งของอํานาจการสอนของพระศาสนจักร และใหความ
สนใจเปนพิเศษตออํานาจสั่งสอนของพระสันตะปาปา และสภา
สังคายนาสากลตาง ๆ เพื่อตอบสนองความทาทายของการประกาศ
พระวรสารแบบใหม และความเปนจริงในปจจุบัน
ค) ควรจัดสัมมนาระหวางสาขาวิชา เพื่อใหการศึกษาทั่วไปบังเกิดผลมาก
ขึ้น และเพื่อสงเสริมความรวมมืออยางสรางสรรคระหวางคณาจารย
และสามเณรในระดับวิชาการและสติปญญา
ง) ควรสนับสนุนใหสามเณรศึกษาสวนตัว โดยมี “ครูพิเศษ” คอยชี้แนะ
เพื่ อ ให ส ามเณรเรี ย นรู  วิ ธี ก ารที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ การค น คว า หา
ความรูทางวิชาการ และเมื่อไดรับการสงเสริมและใหกําลังใจ
อยางเหมาะสมแลว บรรดาสามเณรจะสามารถซึมซับการสั่งสอน
ที่เขาไดรับมาอยางเพียงพอ
จ) สามเณรควรไดรับคําแนะนําใหศึกษาปญหาตาง ๆ ดานการอภิบาล
โดยใชวธิ กี ารทางวิชาการ เพือ่ ใหเขาเขาใจความเชือ่ มโยงอยางใกลชิด
ระหวางชีวิต ความศรัทธา และความรูที่เขาไดรับจากการบรรยาย
[279]
The Gift of the Priestly Vocation... 127
ฉ) ถาสภาพระสังฆราชคิดวาเหมาะสมก็สามารถจัดการอบรมระยะ
หนึ่งภายนอกสามเณราลัยได บางครั้งอาจเปนการอบรมในประเทศ
อื่น เพื่อเรียนรูภาษาที่มีประโยชน และเพื่อใหรูจักชีวิตของพระศาสน
จักรที่อยูในวัฒนธรรมที่ตางจากของสามเณร
การศึกษาจะบังเกิดผลอยางแทจริงได ตองมีโครงสรางการจัดการพื้น
ฐานทีจ่ ําเปน และมีครูที่ไดรับการฝกมาเปนอยางดีในจํานวนที่เพียงพอ [280] มี
หองสมุดที่จัดการอยางมีระเบียบและดําเนินการอยางดี โดยบุคลากรที่มีความรู
ความสามารถเปนผูดูแล และการเขาถึงอินเตอรเน็ตเพื่อใชเปนเครื่องมือสืบคน
ขอมูลและการสื่อสาร ก็เปนสิ่งจําเปนเชนกัน
สามเณรตองใหขอพิสูจนถึงความกาวหนาในการศึกษาดวยการสอบ
ทั้งปากเปลาและขอเขียน และดวยการทํารายงาน ตามบรรทัดฐานที่สภาพระ
สังฆราชกําหนด
128 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
The Gift of the Priestly Vocation... 129
บทที่ 8
หลักเกณฑและบรรทัดฐาน (Criteria and Norms)
ก) รูปแบบตาง ๆ ของสามเณราลัย (Various Forms of Seminary)
188. เหนือสิ่งอื่นใดควรระลึกวาสามเณราลัยเปนหมูคณะแหงการอบรมมาก
กวาอาคารสถานที่ ไมวาจะตั้งขึ้นในที่ใดก็ตาม ดังนั้นพระสังฆราชที่คิดวามี
ความเหมาะสมที่จะกอตั้งหรือธํารงรักษาสามเณราลัยประจําสังฆมณฑลเอาไว
[281] โดยประเมินสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสถานการณของพระ
ศาสนจักร ควรพิจารณาวามีจํานวนกระแสเรียกและผูใหการอบรมเพียงพอที่จะ
ทําใหมั่นใจวาสามเณราลัยเปนหมูคณะสําหรับอบรมผูเตรียมตัวเปนพระสงฆ
[282] และตองมีอาจารยจาํ นวนเพียงพอทีจ่ ะใหการศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพได นอกจาก
นี้ยังตองคํานึงถึงการสนับสนุนดานการเงินของสถาบันดวย
เมื่อใดที่สถานการณไมเอื้ออํานวยใหทําเชนนี้ได ก็จําเปนตองหาทางออก
ที่เหมาะสม โดยหารือกับพระสังฆราชในแขวงพระศาสนจักร หรือสภาพระสังฆราช
ซึ่ ง อาจนํ า ไปสู  ก ารส ง สามเณรไปศึ ก ษาในสามเณราลั ย ของพระศาสนจั ก ร
เฉพาะถิ่นแหงอื่น หรือเปดสามเณราลัยระหวางสังฆมณฑล โดยไดรับการรับรอง
จากสมณกระทรวงพระสงฆ สําหรับทั้งการกอตั้งและกฎระเบียบของสามเณราลัย
ดังกลาว [283]
สามเณรที่ถูกสงไปศึกษาในสถาบันอื่นนอกสามเณราลัยของตน ควรไดรับ
การเอาใจใสดูแลเปนพิเศษ ในกรณีนี้พระสังฆราชของสังฆมณฑลตองมั่นใจวา
พวกเขาอยูในหมูคณะดานการอบรมที่แทจริง ตองหลีกเลี่ยงสถานการณที่
สามเณร หรือผูสมัครกลุมเล็ก ๆ มีที่พักอาศัยประจําในสถานที่สวนบุคคล ซึ่งทําให
พวกเขาไมสามารถพัฒนาชีวิตจิตหรือชีวิตหมูคณะไดอยางเหมาะสม
พระสังฆราชของสังฆมณฑลตองมอบหมายสามเณรที่ไดรับอนุญาตให
อาศัยอยูนอกสามเณราลัย ใหอยูในการดูแลของพระสงฆที่เหมาะสมคนหนึ่ง ผูที่
จะหมั่นดูแลการอบรมดานชีวิตจิตและวินัยของสามเณรอยางขยันขันแข็ง [284]
130 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ข) การรับเขา การใหออก และการออกจากสามเณราลัย
(Admission, Dismissal and Departure from the Seminary)
189. “พระศาสนจักรมีสิทธิที่จะพิสูจนยืนยันความเหมาะสมของพระ
สงฆในอนาคต รวมทั้งการใชวิธีการพิสูจนทางแพทยและจิตวิทยา” [285] พระ
สังฆราชเปนผูรับเขาสามเณราลัย และดวยความชวยเหลือจากหมูคณะผูให
การอบรม พระสังฆราชตองประเมินคุณสมบัติดานความเปนมนุษย ศีลธรรม
ชีวิตจิต และสติปญญาของบรรดาผูสมัคร รวมทั้งสุขภาพดานรางกาย สุขภาพจิต
และเจตนาที่ถูกตองของเขา [286] ในแงนี้จึงตองพิจารณาถึงแนวทางสําหรับ
การใชผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยา [287] รวมทั้งการยายมาจากสามเณราลัย
หรือสถาบันการอบรมอีกแหงหนึ่ง [288] และความเปนไปไดที่ผูสมัครจะมีแนว
โนมเปนบุคคลรักรวมเพศ [289] โดยทั่วไป “การคัดเลือกผูสมัครขั้นแรกเพื่อรับ
เขาสามเณราลัยจะตองกระทําอยางรอบคอบ เพราะขณะที่สามเณรกาวหนาไป
ตามเสนทางที่มุงหนาไปสูสังฆภาพ สามเณรมักคิดวาการอบรมแตละขั้นเปนผล
สืบเนื่องและเปนการสานตอกาวแรกนี้” [290]
ข.1. สุขภาพกาย (Physical Health)
190. นับตั้งแตชวงเวลาของการรับเขาสามเณราลัย สามเณรตองแสดงให
เห็นวาเขามีสุขภาพดีพอจะปฏิบัติศาสนบริการในอนาคตไดตามบรรทัดฐานที่
กําหนดโดยสภาพระสังฆราช และระบุไวในเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆ
ระดับชาติ” โดยเฉพาะอยางยิ่ง เขาตองแสดงผลการตรวจสุขภาพทั่วไปเพื่อ
ยืนยันวาเขามีสุขภาพดีและรางกายแข็งแรง รวมทั้งเอกสารใด ๆ เกี่ยวกับโรคที่
เคยเปน การผาตัดในอดีต หรือการรักษาพิเศษที่ไดรับในอดีต พระสังฆราช
และอธิการสามเณราลัยของสังฆมณฑลเทานั้นที่เขาถึงขอมูลในเอกสารเหลา
นี้ และการเปดเผยขอมูลดังกลาวจะอยูภายใตบังคับของกฎหมายบานเมืองและ
ของพระศาสนจักรที่บังคับใชของแตละประเทศ
The Gift of the Priestly Vocation... 131
ในดานนี้เราตองพิจารณาอยางรอบคอบถึงขอกําหนดของสมณกระทรวง
พระสัจธรรมเกี่ยวกับการประเมินสภาพของบุคคลที่เปนโรคเซลิแอค (Celiac
disease) หรือผูที่ติดสุราเรื้อรัง หรือสภาวะอื่นที่คลายกัน [291] สภาพระ
สังฆราชตองคํานึงถึงขอกําหนดของสมณกระทรวงพระสัจธรรม เกี่ยวกับปญหา
ดานสุขภาพอื่น ๆ ที่เปนผลรายตอการปฏิบัติศาสนบริการศักดิ์สิทธิ์ ดังนั้นจึงได
รับมอบหมายใหกําหนดบรรทัดฐานเกี่ยวกับประเด็นเหลานี้
สามเณรตองมีสุขภาพที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง และจะตองไดรับการพิสูจน
ยืนยันตลอดระยะเวลาการอบรม
ข.2. สุขภาพจิต (Psychological Health)
191. ถือเปนกฎที่จะไมรับบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตใด ๆ เขาสาม
เณราลัยไมวาจะปรากฏอาการหรือไมก็ตาม (เชน โรคจิตเภท โรคจิตหวาดระแวง
โรคไบโพลาร (โรคอารมณแปรปรวนสองขั้ว) โรคกามวิปริต เปนตน) ที่อาจ
บัน่ ทอนความรอบคอบในการตัดสินใจของบุคคล และสงผลตอความสามารถของ
บุคคลนั้นที่จะปฏิบัติตามขอผูกมัดแหงกระแสเรียกและศาสนบริการของเขา
[292]
192. ในอดีตพระศาสนจักรและสันตะสํานักไดกลาวถึงการพึ่งผูเชี่ยวชาญ
ดานจิตวิทยาในการอบรมพระสงฆมาแลว [293] ความรูดานจิตวิทยาไดแสดง
ใหเห็นแลววาชวยผูใหการอบรมไดมาก เนื่องจากผูใหการอบรมตองรับผิดชอบ
การวินิจฉัยกระแสเรียก ความรูดานจิตวิทยานี้ยังชวยใหรูจักอุปนิสัยและบุคลิก
ภาพของผูสมัครไดมากขึ้น และชวยใหสามารถปรับการอบรมอยางเหมาะสมกับ
ความจําเปนของผูสมัครแตละคนไดมากขึ้น “จะเปนประโยชนสําหรับอธิการ
และผูใหการอบรมอื่น ๆ ที่สามารถพึ่งพาความรวมมือกับผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยา
ผูเชี่ยวชาญดังกลาวไมสามารถเปนสวนหนึ่งของคณะผูใหการอบรมได” [294]
เนื่ อ งจากการอบรมเพื่ อ ศาสนบริ ก ารของสงฆ เ ป น งานที่ ล ะเอี ย ดอ อ นและมี
132 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ลักษณะเฉพาะ การเลือกผูเชี่ยวชาญดังกลาวจึงตองกระทําอยางระมัดระวังและ
รอบคอบ “ดังนั้นจึงตองคิดเสมอวาผูเชี่ยวชาญเหลานี้ นอกจากตองมีวุฒิภาวะ
ทั้งดานความเปนมนุษยและดานชีวิตจิตอันเดนชัดแลว ยังตองไดรับแรงบันดาล
ใจจากการศึกษาเกี่ยวกับมนุษยในดานตาง ๆ ที่สอดคลองกับทรรศนะของคริสต
ชนอยางเห็นไดชัดเกี่ยวกับความเปนบุคคลของมนุษย เพศ กระแสเรียกสูการเปน
สงฆและการถือโสด ดวยวิธีนี้ การเขามาชวยของพวกเขาจึงควรคํานึงถึงธรรม
ลํ้าลึกของมนุษยในการสนทนาสวนตัวของเขากับพระเจาตามวิสัยทัศนของพระ
ศาสนจักร” [295]
193. การรับผูสมัครเขาสามเณราลัยจะตองกระทําในบรรยากาศของ
ความไววางใจซึ่งกันและกันและเปดเผยตอกัน ผูสมัครตองแจงใหพระสังฆราช
และอธิการสามเณราลัยทราบเกี่ยวกับปญหาตาง ๆ ดานจิตวิทยาในอดีต และ
การบําบัดที่เขาเคยไดรับ ซึ่งเปนองคประกอบประการหนึ่งที่ตองประเมินรวมกับ
คุณสมบัติอื่น ๆ ที่ผูสมัครตองมี ไมวาในกรณีใด ผูสมัครควรไดรับการประเมิน
ทางจิตวิทยา ทั้งในเวลาที่รับเขาสามเณราลัย และหลังจากนั้น เมื่อเห็นวาเปน
ประโยชนกับผูใหการอบรม
194. ตองตระหนักวาการพึ่งผูเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาจะดําเนินการไดก็ตอ
เมื่อบุคคลที่เกี่ยวของไดใหความยินยอมลวงหนาเปนลายลักษณอักษร [296]
โดยไดรับขอมูลกอนตัดสินใจอยางอิสระ [297] ในขณะเดียวกัน “ผูสมัครเปน
พระสงฆไมสามารถกําหนดเงือ่ นไขสวนตัวของตนเองได แตตอ งยอมรับดวยความ
ถอมตนและความรูคุณ ในบรรทัดฐานและเงื่อนไขที่พระศาสนจักรเองไดวางไว
ใหเปนความรับผิดชอบของพระศาสนจักร” [298] เพื่อคุมครองความเปนสวนตัว
ของตน “ผูสมัครสามารถเลือกผูเชี่ยวชาญอยางอิสระจากบรรดาผูเชี่ยวชาญที่
ผูใหการอบรมระบุ หรือที่ผูสมัครเลือกเองและผูใหการอบรมยอมรับ ในกรณี
ที่เปนไปได ผูสมัครควรไดรับหลักประกันถึงความเปนอิสระในการเลือกผูเชี่ยว
ชาญที่หลากหลายซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กําหนด” [299]
The Gift of the Priestly Vocation... 133
195. เมื่อไดจัดทํารายงาน และปฏิบัติตามกฎหมายบานเมืองที่มีผลบังคับ
แลว ผูเชี่ยวชาญตองสงผลการประเมินใหแกบุคคลที่เกี่ยวของโดยตรง และเฉพาะ
บุคคลทีไ่ ดรับมอบอํานาจโดยตําแหนงใหรับขอมูลนี้เทานั้น “เมื่อผูเชี่ยวชาญ
ไดประเมินทางจิตวิทยาและพิจารณาขอบงชี้ที่ผูใหการอบรมเสนอใหแลว เขาจะนํา
เสนอผลการประเมิน ซึ่งไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูสมัคร
แลวเทานั้น พรอมกับความคิดเห็นของเขาเพื่อใหเขาใจบุคลิกภาพของผูรับการ
ประเมิน และปญหาที่เขากําลังเผชิญอยู หรือตองเผชิญ เขาจะระบุถึงความ
เปนไปไดที่สามารถคาดการณไดลวงหนาเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพของผู
สมัครดวย โดยยึดตามผลการประเมินและความเชี่ยวชาญของเขา ยิ่งกวานั้น
ถาจําเปน เขาจะเสนอรูปแบบและแนวทางในการชวยเหลือทางจิตวิทยาดวย”
[300] จะตองใหความเอาใจใสเปนพิเศษในสิ่งที่ไดกลาวไวแลววา บุคคลที่ไดรับ
มอบอํานาจใหรับทราบขอมูลจากผูเชี่ยวชาญคือ พระสังฆราช (ของสังฆมณฑล
ของผูสมัคร และพระสังฆราชผูรับผิดชอบสามเณราลัย ถาเปนสามเณรจากตาง
สังฆมณฑล) อธิการ (ของสามเณราลัยที่ใหการอบรม และอธิการของสามเณรา
ลัยของสังฆมณฑลดวย ถาเปนสามเณรจากตางสังฆมณฑล) และวิญญาณรักษ
196. สภาพระสังฆราชแตละแหงจะมีหนาที่กําหนดบรรทัดฐานสําหรับ
บรรจุไวในเอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ” โดยกําหนดรูปแบบ
ของการประเมินทางจิตวิทยาที่จะตองดําเนินการ บรรทัดฐานเหลานี้จะระบุดวย
ว า จะต  อ งเก็ บ เอกสารเกี่ ย วกั บ สุ ข ภาพกายและสุ ข ภาพจิ ต ของสามเณร
ไวเปนเวลานานเทาใด โดยเคารพกฎหมายบานเมืองที่บังคับใชในแตละประเทศ
และจะตองคํานึงถึงผลที่อาจเกิดตามมา รวมทั้งการรับผิดทางอาญาจากการเปด
เผยขอมูลที่อยูในเอกสารดังกลาว แมวากระทําไปโดยไมตั้งใจก็ตาม
134 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ข.3. การใหออก (Dismissal)
197. เมื่อใดที่หมูคณะผูใหการอบรมคิดวาจําเปนตองใหสามเณรคนหนึ่ง
ออกในชวงเวลาใด ๆ ของการอบรม หลังจากไดหารือกับพระสังฆราชแลว โดย
ทั่วไปใหแจงการตัดสินใจนี้เปนลายลักษณอักษร และทําสําเนาเก็บไวหนึ่งฉบับ
หนังสือนี้ตองใหคําอธิบายอยางรอบคอบ โดยสรุปสั้น ๆ เปนอยางนอย แตตอง
ชัดเจนเพียงพอ [301] เกี่ยวกับสภาวะแวดลอมที่นําไปสูการตัดสินใจนั้น พรอมกับ
บทสังเคราะหของการวินิจฉัยกระแสเรียกที่ไดดําเนินการไปแลว
ข.4. สามเณรที่ยายมาจากสามเณราลัย หรือสถาบันอบรมอื่น
(Seminarians Coming from Other Seminaries or Institutes of
Formation)
198. ตามปกติเมื่อบุคคลหนึ่งถูกใหออก หรือลาออกจากสามเณราลัย
แหงหนึง่ และขอเขาสามเณราลัย หรือบานอบรมอีกแหงหนึง่ เขาตองยืน่ หนังสือ
รองขอถึงพระสังฆราช อธิบายประวัติสวนตัวและกระแสเรียกของเขา และเหตุผล
ของการใหออกหรือลาออกครั้งกอนจากสถาบันอบรมอีกแหงหนึ่ง [302] อธิการ
ของสามเณราลัยทีบ่ ุคคลนี้ตองการเขารับการอบรมตองรวบรวมเอกสาร รวมทั้งผล
การประเมินทางจิตวิทยาสําหรับระยะเวลาที่บุคคลนี้อยูในสถาบันอบรมแหง
นั้น ตามความประสงคของสภาพระสังฆราช [303] โดยทั่วไปสิ่งนี้เปนสถาน
การณละเอียดออนที่ผูใหการอบรมทั้งหลายตองใชการวินิจฉัยอยางระมัดระวัง
และรอบคอบมากที่สุด กอนจะรับบุคคลนั้นเขาสามเณราลัย
The Gift of the Priestly Vocation... 135
ค) บุคคลที่มีความโนมเอียงเปนบุคคลรักรวมเพศ
(Persons with Homosexual Tendencies)
199. ในกรณีของบุคคลที่มีแนวโนมเปนบุคคลรักรวมเพศ และตอง
การเขารับการอบรมในสามเณราลัย หรือคนพบสถานการณดังกลาวระหวางการ
อบรม พระศาสนจักรดวยความมั่นคงในอํานาจการสอนของตนเอง [304] “แม
วาพระศาสนจักรเคารพบุคคลดังกลาว แตไมส ามารถยอมรับบุคคลทีม่ พี ฤติกรรม
หรือมีแนวโนมฝงลึกที่จะเปนบุคคลรักรวมเพศ หรือบุคคลที่สนับสนุนสิ่งที่เรียกกัน
วา ‘วัฒนธรรมรักรวมเพศ’ เขาสามเณราลัย หรือใหรับศีลบวชได อันที่จริง
บุคคลดังกลาวจะพบตนเองในสถานการณที่เปนอุปสรรคอยางรายแรงสําหรับ
พวกเขาที่จะมีความสัมพันธที่ถูกตองกับชายและหญิง เราจึงตองไมมองขาม
ผลดานลบที่อาจเกิดขึ้นจากการโปรดศีลบวชใหแกบุคคลที่มีแนวโนมฝงลึก
ที่จะเปนบุคคลรักรวมเพศ” [305]
200. “แตยอมเปนกรณีที่แตกตาง ถาเราพบวากําลังดําเนินการเกี่ยวกับ
บุคคลที่มีแนวโนมที่จะเปนบุคคลรักรวมเพศ ซึ่งเปนเพียงการแสดงออกของ
ปญหาชั่วคราว เชน บุคคลที่ยังไมพนวัยรุน อยางไรก็ตาม ผูสมัครตองเอาชนะ
แนวโนมดังกลาวไดอยางชัดเจนอยางนอยสามปกอนบวชเปนสังฆานุกร” [306]
ยิ่งกวานั้น ตองระลึกวาสามเณรตองเปดเผยตอผูใหการอบรมของเขา (ตอ
พระสังฆราช อธิการ วิญญาณรักษ และผูใหการอบรมอื่น ๆ) ในความสัมพันธ
ของการสนทนาที่จริงใจและอยางไววางใจซึ่งกันและกัน ถาเขามีความไมแนใจ
หรือมีความยากลําบากใจในประเด็นนี้
ในบริบทนี้ “ถาผูสมัครคนหนึ่งมีพฤติกรรมรักรวมเพศ หรือแสดงแนวโนม
เปนบุคคลรักรวมเพศแบบฝงลึก วิญญาณรักษ รวมทั้งพระสงฆผูฟงสารภาพ
บาปของเขา มีหนาที่หามปรามเขาดวยมโนธรรมไมใหกาวไปสูการรับศีลบวช...
จะถือเปนความไมสุจริตใจอยางรายแรง ถาผูสมัครปดบังความเปนบุคคลรัก
รวมเพศของเขา เพื่อมุงหนาจะรับศีลบวชโดยไมสนใจสิ่งใด ทัศนคติหลอกลวง
136 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ดังกลาวไมสอดคลองกับเจตนารมณแหงความจริง ความซื่อสัตย และความเปด
เผย ที่ตองเปนลักษณะเฉพาะของบุคคลที่เชื่อวาเขาไดรับเรียกใหรับใชพระคริสต
เจาและพระศาสนจักรของพระองคในสังฆภาพทางศีลบวช” [307]
201. สรุปไดวาสามเณรตองไดรับการตักเตือน และตองไมปดบังสามเณร
วา “ความปรารถนาที่จะเปนพระสงฆเพียงอยางเดียวไมเพียงพอ และไมใชสิทธิ
ของใครที่จะรับศีลบวช แตเปนสิทธิของพระศาสนจักร... ที่จะวินิจฉัยถึงความ
เหมาะสมของบุคคลที่ปรารถนาจะเขาสามเณราลัย ที่จะเดินเคียงขางเขาระหวาง
ชวงการอบรม และเรียกเขามาสูฐานันดรศักดิ์สิทธิ์ ถาพิจารณาแลววาเขามี
คุณสมบัติที่จําเปน” [308]
ง) ความคุมครองผูเยาวและการเดินเคียงขางผูที่ตกเปนเหยื่อ
(The Protection of Minors and the Accompaniment of
Victims)
202. พึงใสใจใหมากที่สุดเกี่ยวกับการคุมครองผูเยาวและผูใหญที่อยูใน
สภาวะเปราะบาง (Vulnerable adults) [309] โดยเฝาระวังวาบุคคลที่ขอเขา
สามเณราลัย หรือบานการอบรม หรือบุคคลที่กาํ ลังรองขอรับศีลบวช ไมเคย
ของเกี่ยวในทางใดกับอาชญากรรม หรือมีพฤติกรรมที่มีปญหาในดานนี้
ผูใหการอบรมตองจัดการใหมั่นใจไดวาบุคคลที่เคยผานประสบการณอัน
เจ็บปวดในดานนี้จะไดรับการดูแลเดินเคียงขางเปนพิเศษ และอยางเหมาะสม
ใหบรรจุบทเรียน การสัมมนา หรือหลักสูตรเฉพาะเกี่ยวกับการคุมครอง
ผูเยาวไวในโปรแกรมอบรมขั้นตน และการอบรมตอเนื่อง โดยเสนอขอมูลอยาง
เพียงพอและดวยวิธีการที่เหมาะสม และใหความสนใจในเรื่องการจัดการกับการ
แสวงหาประโยชนและความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได เชน การคาเด็ก การใช
แรงงานเด็ก และการลวงละเมิดทางเพศตอผูเยาวหรือผูใหญที่อยูในสภาวะ
เปราะบาง
The Gift of the Priestly Vocation... 137
เพือ่ จุดประสงคนี้ จะเปนการเหมาะสมและบังเกิดผล ถาสภาพระสังฆราช
หรื อ พระสั ง ฆราชผู  รั บ ผิ ด ชอบสามเณราลั ย มี ก ารเสวนากั บ สมณองค ก รเพื่ อ
การปกปองผูเยาว [310] ซึ่งมีอํานาจ “เสนอตอ (พระสันตะปาปา) ความคิด
ริเริ่มที่เหมาะสมที่สุดสําหรับคุมครองผูเยาว และผูใหญที่อยูในสภาวะเปราะบาง
เพื่อเราจะทําทุกสิ่งที่ทําไดเพื่อใหมั่นใจไดวาอาชญากรรมที่เคยเกิดขึ้นมากอนนั้น
จะไมเกิดขึ้นซํ้าอีกในพระศาสนจักร คณะกรรมการนี้ตองสงเสริมใหพระศาสน
จักรเฉพาะถิ่นรับผิดชอบ โดยรวมมือกับสมณกระทรวงพระสัจธรรม เพื่อคุมครอง
เด็กและผูใหญที่อยูในสภาวะเปราะบางทุกคน” [311]
จ) การตรวจสอบ (The Scrutinies)
203. ดวยการตรวจสอบอยางถูกตองและรอบคอบ พระสังฆราช “ดวย
การคาดการณลวงหนาอยางสุขุม และดวยการตรวจสอบ... พระสังฆราชควร
พิสูจนวาผูสมัครแตละคนเหมาะสมจะไดรับศีลบวช และมีความมุงมั่นตั้งใจจะ
ดําเนินชีวิตตามขอเรียกรองตาง ๆ ของการเปนพระสงฆคาทอลิก ทานไมควร
เรงรีบในประเด็นที่ละเอียดออนเชนนั้น และในกรณีที่ไมแนใจ พระสังฆราชควร
ชะลอการอนุมัติบวชจนกวาจะขจัดความคลางแคลงใจทั้งหมดเกี่ยวกับความ
เหมาะสมของผูสมัคร” [312]
204. การวินิจฉัยความเหมาะสมของผูสมัครนี้เรียกวา “การตรวจสอบ”
(Scrutiny) ที่ตองดําเนินการไปในแตละขั้น ซึ่งมีอยูหาขั้นตามแนวทางการอบรม
เปนพระสงฆ ไดแก การรับเปนผูสมัครรับศีลบวชเปนสังฆานุกรและพระสงฆ
ศาสนบริการ (ของผูอานพระคัมภีร และผูชวยพิธีกรรม) สังฆานุกร [313] และ
พระสงฆ [314] การตรวจสอบนี้ไมไดเปนเพียงรูปแบบตามมาตรฐานและตาม
สูตรทั่วไปแบบในระบบสํานักงาน แตเปนการใหอํานาจในการประเมินกระแส
เรียกของบุคคลหนึ่งและพัฒนาการของกระแสเรียกนั้น โดยบุคคลที่ไดรับมอบ
อํานาจใหทําเชนนั้นไดโดยอาศัยตําแหนงหนาที่และในนามของพระศาสนจักร
138 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
การตรวจสอบมีจุดประสงคเพื่อพิสูจนยืนยันวาผูสมัครคนหนึ่งมีคุณสมบัติดัง
กลาวขางตนอยางแทจริง รวมทั้งสถานการณสวนตัวในขั้นตาง ๆ ตามแนวทาง
การอบรม การประเมินผลตองกระทําเปนลายลักษณอักษร และระบุถึงการ
ประเมินแรงจูงใจดานบวกหรือดานลบ โดยเสนอเหตุผลเกี่ยวกับการเดินทางของ
การอบรมที่ผานมาของผูสมัครจนถึงปจจุบัน
205. ขณะที่จะตองพิสูจนยืนยันองคประกอบบางอยางเมื่อถึงขั้นหนึ่งโดย
เฉพาะ ในการตรวจสอบทุกครั้ง คณะผูใหการอบรมตองสงมอบเอกสารตอไปนี้
ใหพระสังฆราชสังฆมณฑลที่สามเณรนั้นเปนสมาชิก:
ก) คําขอของผูสมัครที่เขียนดวยลายมือของตนเอง
ข) รายงานอยางละเอียดจากอธิการ (ของสามเณราลัยที่ผูสมัครไดรับ
การอบรม และในกรณีของสามเณราลัยระหวางสังฆมณฑล ตองมี
รายงานจากสามเณราลัยของสังฆมณฑล หรือ ของผูรับผิดชอบ
กระแสเรียกของสังฆมณฑลดวย) รวมทั้งการประเมินเกี่ยวกับผล
ที่เกิดขึ้นในชวงเวลากอนหนานั้น พรอมกับขอมูลทุกอยางที่คิดวา
จะชวยใหเขาใจสถานการณมากขึ้น และเพื่อใหหมูคณะผูใหการ
อบรมใชในการประเมิน โดยใหคํานึงถึงขอกําหนดในกฎหมายพระ
ศาสนจักร มาตรา 240 วรรค 2
ค) รายงานจากพระสงฆเจาอาวาสของเขตวัดบานเกิดของผูสมัคร หรือ
เขตวัดที่เขามีภูมิลําเนา
ง) รายงานที่ขอจากบุคคลที่ผูสมัครถูกสงตัวไปทํางานอภิบาล และ
อาจมีประโยชนที่จะไดรับความคิดเห็นจากสตรีที่รูจักผูสมัคร
เพื่อใหมีการประเมินผลและวิจารณญาณของสตรีรวมอยูดวย
206. กอนจะโปรดศีลบวช จําเปนตองพิสจู นยนื ยันวาผูส มัครไดรบั การอบรม
ตามชวงเวลาที่กําหนด ผูสมัครมีคุณสมบัติที่จําเปนทั้งในดานความเปนมนุษย
และชีวิตจิต ไมมีขอขัดขวางหรือความผิดกฎเกณฑใด ๆ [315] เขาไดรับศีล
The Gift of the Priestly Vocation... 139
ศักดิ์สิทธิ์ที่จําเปนแลว และไดผานการฝกปฏิบัติจิต (Spiritual exercises)
ซึ่งตองทําใหครบถวนตามขอเรียกรองสําหรับรับศีลบวช [316] โดยทั่วไปตอง
ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของกฎหมายพระศาสนจักร มาตรา 1052 วรรค 1 เสมอ
ผูส มัครตองแสดงใหเห็นความเหมาะสมและใหเหตุผลอยางชัดเจน หรืออาจกลาว
ไดวา “มีขอพิสูจนดานบวกที่ทําใหมั่นใจในความเหมาะสมของผูสมัคร” [317]
และไมใชเพียงวาไมมีสถานการณที่เปนปญหา
ดังที่ทราบกันดีวาพระสังฆราชมีความรับผิดชอบสูงสุดและเด็ดขาดตาม
กฎหมายพระศาสนจักรสําหรับการอนุญาตใหรบั ศีลบวช แตกม็ พี นั ธะทางศีลธรรม
ที่จะพิจารณาดวยความเอาใจใสอยางยิ่งตอผลการประเมินครั้งสุดทายของ
คณะผูใหการอบรม ที่จัดทําโดยอธิการ ซึ่งเปนผูรวบรวมผลทั้งหมดที่พบเห็น
ระหวางระยะเวลาการอบรมหลายป ประสบการณแสดงวาเมื่อสมณประมุข
ไมยอมรับคําวินิจฉัยดานลบของคณะผูใหการอบรม นั่นเปนสาเหตุใหเกิดความ
ทุกขอยางยิ่งในหลายกรณี ทั้งสําหรับตัวผูสมัครเอง และพระศาสนจักรทอง
ถิ่น พระสังฆราชไมควรระบุวันโปรดศีลบวชสังฆานุกร และไมควรยินยอมให
จัดเตรียมพิธีบวชสังฆานุกร กอนจะมั่นใจวาผูสมัครไดผานการศึกษาทั้งหมดที่
จําเปนอยางถูกตองสมบูรณแลว หมายความวาผูสมัครไดสอบผานหลักสูตรทั้ง
การศึกษาปรัชญาและเทววิทยา รวมทั้งการศึกษาในปที่หา [318]
207. ประเด็นตอไปนี้ตองไดรับการพิจารณาโดยเฉพาะ
ก) ผลที่ไดจากการประกาศตามกฎหมายพระศาสนจักรในสถานที่ซึ่งผู
สมัครใชเปนภูมิลําเนา
ข) การปฏิบัติตามกฎวาดวยอายุของผูที่สามารถรับศีลบวชได (เทียบกฎ
หมายพระศาสนจักร มาตรา 1031 วรรค 1)
ค) การเวนชวงเวลาระหวางศาสนบริการแตละขั้น ระหวางการเปนผูชวย
พิธีกรรม และสังฆานุกร โดยปฏิบัติตามกฎหมายพระศาสนจักร
มาตรา 1035 และการกําหนดอื่นใดของสภาพระสังฆราช
140 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
ง) การพิสูจนยืนยันถึงขอขัดขวาง (เทียบ กฎหมายพระศาสนจักร
มาตรา 1042 คือ การสมรส กิจกรรมตองหามสําหรับสมณะ การเปน
คริสตชนใหม และสถานการณ เชน เปนบุคคลที่กลับมาสูความเชื่อ
หรือการปฏิบัตศิ าสนกิจ ไดทิ้งวัดนานหลายป ตามคําวินิจฉัยของ
พระสังฆราช) และความผิดกฎเกณฑ (Irregularities) ตาง ๆ
(เทียบ กฎหมายพระศาสนจักร มาตรา 1041 วรรค 2-6 คือ การ
ละทิ้งความเชื่อ คําสอนนอกรีต หรือการแยกตัวออกจากพระศาสน
จักรคาทอลิก การพยายามสมรส แมจะเปนการสมรสตามกฎหมาย
บานเมืองเทานั้นก็ตาม ผูที่ฆาคนโดยเจตนา หรือมีสวนรวมในการ
ทําแทง การทําใหตนเองพิการ หรือพยายามฆาตัวตาย บุคคลผูที่
ทํากิจการของศีลบวช ซึ่งสงวนไวสําหรับขั้นพระสังฆราช หรือ
สําหรับขั้นพระสงฆ)
จ) กอนจะโปรดศีลบวชเปนพระสงฆ ผูสมัครตองปฏิบัติหนาที่สังฆานุ
กรมาไดระยะหนึ่งแลว
208. ขอกําหนดสําหรับการรับศีลบวชเปนสังฆานุกร หรือพระสงฆ ที่
สามารถยกเวนได คือ
ก) อายุ พระสังฆราชสามารถยกเวนไดไมเกินหนึ่งป แตตองขออนุญาต
จากสมณกระทรวงพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ ถาตองการยกเวนเกิน
หนึ่งป [319]
ข) หลักสูตรการอบรม การงดเวนจากระยะเวลาขั้นตํ่าของการอบรมใน
บานเณรใหญ [320] และเกี่ยวกับวิชาที่เปนสวนประกอบของการ
จัดการศึกษาของสมณกระทรวงพระสงฆ [321]
209. การตัดสินความเหมาะสมของผูสมัครในการรับศีลบวชสังฆานุกร
เพื่อเตรียมเปนพระสงฆ ตองรวมถึงการวินิจฉัยความเหมาะสมสําหรับการเปน
พระสงฆดวย โดยพิจารณาตามกฎหมายพระศาสนจักรมาตรา 1030 ที่สําคัญ
The Gift of the Priestly Vocation... 141
ควรระลึกวาการประเมินสําหรับโปรดศีลบวชเปนสังฆานุกรเพื่อเตรียมเปน
พระสงฆเปนการบงบอกความเปนไปไดถึงการตัดสินความเหมาะสมสําหรับ
เปนพระสงฆ ไมควรรับผูใดเปนสังฆานุกรเพื่อการทดลอง แมจะเปนขอสันนิษฐาน
วาผูที่ไดรับศีลบวชเปนสังฆานุกรยอมเหมาะสมที่จะรับศีลบวชเปนพระสงฆ
แตพระสังฆราชอาจแสดงความเห็นในทางตรงกันขาม โดยเสนอเหตุผลที่ชัดเจน
ทั้งกรณีพฤติกรรมที่เคยมีมากอน ซึ่งไมไดนํามาพิจารณาในเวลาที่อนุญาตใหรับ
ศีลบวชเปนสังฆานุกร และพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในภายหลังตามกฎหมายพระศาสนจักร
มาตรา 1030
210. พระสังฆราชตองตัดสินอยางรอบคอบวาจะอนุญาตใหผูสมัครได
รับศีลบวช หรือจะปฏิเสธ โดยพิจารณาผลการประเมินของบรรดาผูใ หการอบรม
เปนการเหมาะสมที่พระสังฆราชระบุการตัดสินใจในรูปแบบของคําประกาศ
ที่ตองระบุเหตุผลตาง ๆ โดยอยางนอยอาจเปนขอสรุปสั้น ๆ เพื่อสนับสนุน
การตัดสินใจของทาน [322]
142 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
สรุป
สภาสังคายนาวาติกันครั้งที่ 2 ไดนําเสนอใหบรรดาพระสงฆมองดู
พระนางมารียเปนรูปแบบที่สมบูรณของชีวิตพระสงฆ ภาวนาวิงวอนตอพระนาง
ในฐานะ “พระมารดาแหงมหาสมณะนิรันดร ราชินีแหงคณะอัครสาวก และองค
อุปถัมภแหงศาสนบริการของพระสงฆ” และยังเชิญชวนบรรดาพระสงฆให “รัก
และเคารพ (พระนาง) ดวยความจงรักภักดีและความเคารพยกยองเยี่ยงบุตร”
(Presbyterorum Ordinis, 18)
เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ” ฉบับใหมนี้มอบไวเพื่อ
ประโยชนของบรรดาพระสงฆ ผูซึ่งชีวิตและการอบรมของพวกเขาอยูภายใต
ความคุมครองของพระนางมารีย ผูทรงเปนพระมารดาแหงความเมตตา และ
พระมารดาของบรรดาพระสงฆ
พระสันตะปาปาฟรังซิสทรงรับรองสมณกฤษฎีกาบริหารทั่วไปที่นําเสนอ
และมีคําสั่งใหจัดพิมพขึ้น
ใหไว ณ กรุงโรม ที่สมณกระทรวงพระสงฆ 8 ธันวาคม 2016 โอกาส
สมโภชพระนางพรหมจารีมารียผูปฏิสนธินิรมล

Beniamino Cardinal Stella


Prefect
Joël Mercier Jorge Carlos Patrón Wong
Titular Archbishop of Rota Archbishop, Bishop emeritus
of Papantla
Secretary Secretary for Seminaries
Mgr. Antonio Neri
Undersecretary
The Gift of the Priestly Vocation... 143
อางอิงทายเลม
[1] FRANCIS, Address to the Plenary of the Congregation for Clergy (3 October
2014): L’Osservatore Romano, 226 (4 October 2014), 8.
[2] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Ratio Fundamentalis Institutionis
Sacerdotalis (6 January 1970): AAS 62 (1970), 321-384.
[3] These documents will be mentioned in detail, and taken into account in a
specific way, in the text which follows.
[4] Cf. C.I.C., can. 250.
[5] Cf. ibid., can. 31, § 1.
[6] The document is a general executive decree, ex can. 31, § 1 C.I.C., which, in
applying the canonical norms regarding formation, replaces the Ratio Fundamentalis
Institutionis Sacerdotalis of 6 January 1970, and its revised edition of 19 March
1985; cf. SECOND VATICAN ECUMENICAL COUNCIL, Decree on the Formation of
Priests, Optatam Totius (28 October 1965), n. 1: AAS 58 (1966), 713.
[7] Cf. JOHN PAUL II, Apostolic Constitution Pastor Bonus (28 June 1988), articles 88,
§ 2 and 108, § 2: AAS 80 (1988), 882 and 887.
[8] C.I.C., can. 659, § 3.
[9] Cf. BENEDICT XVI, Apostolic Constitution Anglicanorum Coetibus (4 November
2009): AAS 101 (2009), 985-990.
[10] The respective competencies of the two Dicasteries were established by
BENEDICT XVI, Apostolic Letter motu proprio Ministrorum Institutio (16 January
2013), art. 6: AAS 105 (2013), 134: “The Congregation for Catholic Education is
competent to structure the academic curricula of philosophy and theology,
after consultation with the Congregation for the Clergy in areas of its respective
competence”.
[11] Cf. PIUS XII, Motu proprio Cum Nobis (4 November 1941), n. 13: AAS 33 (1941),
479; Ministrorum Institutio, art. 7: AAS 105 (2013), 134.
144 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[12] Ministrorum Institutio, articles 4-5: AAS 105 (2013), 133-134, which modified
articles 93, § 2 and 94 of the Apostolic Constitution Pastor Bonus.
[13] Cf. C.I.C., can. 242, § 1.
[14] Cf. ibid.
[15] Cf. ibid., can. 242, § 2.
[16] Cf. ibid., can. 243.
[17] Cf. ibid., can. 242, § 2.
[18] Cf. Optatam Totius, n. 5: AAS 58 (1966), 716-717.
[19] Cf. CONGREGATION FOR BISHOPS, Directory for the Pastoral Ministry of Bishops
Apostolorum Successores (22 February 2004), n. 90: Enchiridion Vaticanum 22
(2006), 1768-1769.
[20] Optatam Totius, n. 2: AAS 58 (1966), 714-715.
[21] SECOND VATICAN ECUMENICAL COUNCIL, Dogmatic Constitution on the Church
Lumen Gentium (21 November 1964), n. 11: AAS 57 (1965), 15.
[22] Ibid., n. 9: AAS 57 (1965), 13.
[23] JOHN PAUL II, Post-Synodal Apostolic Exhortation Pastores Dabo Vobis, n. 34:
AAS 84 (1992), 713.
[24] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION–PONTIFICAL WORK FOR
PRIESTLY VOCATIONS, Pastoral Guidelines for the Promotion of Vocations to the
Priestly Ministry (25 March 2012), n.13.
[25] Cf. PONTIFICAL WORK FOR PRIESTLY VOCATIONS, Developments in the Pastoral
Care for Vocations in the Particular Churches (6 January 1992); Pastoral Guidelines
for the Promotion of Vocations to the Priestly Ministry.
[26] Cf. Optatam Totius, n. 2: AAS 58 (1966), 714-715; SECOND VATICAN
ECUMENICAL COUNCIL, Decree on the Ministry and Life of Priests Presbyterorum
Ordinis (7 December 1965), n. 11: AAS 58 (1966), 1008-1009; Decree on the
Renewal of Religious Life Perfectae Caritatis (28 October 1965), n. 24: AAS 58
(1966), 711-712; Decree on the Pastoral Office of Bishops in the Church Christus
Dominus (28 October 1965), n. 15: AAS 58 (1966), 679-680; Decree on the
The Gift of the Priestly Vocation... 145
Missionary Activity of the Church Ad Gentes (7 December 1965), nn. 16 and 39:
AAS 58 (1966), 966-967 and 986-987.
[27] Cf. C.I.C. can. 233, § 1; Optatam Totius, n. 2: AAS 58 (1966), 714-715;
Presbyterorum Ordinis, n. 11: AAS 58 (1966), 1008-1009; Lumen Gentium, n. 11:
AAS 57 (1965), 15-16; Christus Dominus, n. 15: AAS 58 (1966), 679-680; Ad Gentes,
n. 39: AAS 58 (1966), 986-987; Perfectae Caritatis, n. 24: AAS 58 (1966), 711-712;
SECOND VATICAN ECUMENICAL COUNCIL, Pastoral Constitution on the Church in
the Modern World Gaudium et Spes (7 December 1965), n. 52: AAS 58 (1966),
1073-1074; Decree on the Apostolate of the Laity Apostolicam Actuositatem (18
November 1965), n. 11: AAS 58 (1966), 847-849; PIUS XII, Apostolic Exhortation to
the Clergy of the Entire World on the Development of Holiness in Priestly
Life Menti Nostrae (23 September 1950), Ch. III: AAS 42 (1950), 683.
[28] FRANCIS, Apostolic Exhortation Evangelii Gaudium (24 November 2013), n. 107:
AAS 105 (2013), 1064-1065: “Wherever there is life, fervour and a desire to bring
Christ to others, genuine vocations will arise. Even in parishes where priests are not
particularly committed or joyful, the fraternal life and fervour of the community
can awaken in the young a desire to consecrate themselves completely to
God and to the preaching of the Gospel. This is particularly true if such a living
community prays insistently for vocations and courageously proposes to its young
people the path of special consecration”.
[29] Cf. C.I.C., cann. 233, § 2; 385; cf. Menti Nostrae, Ch. III: AAS 42 (1950), 684;
Apostolorum Successores, n. 87: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1773; S.
CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Circular Letter Vocationes Adultorum,
to the Presidents of Conferences of Bishops on the Formation of Mature Vocations
(14 July 1976): Enchiridion Vaticanum 5 (2000), 2097-2108.
[30] Cf. Optatam Totius, n. 2: AAS 58 (1966), 714-715; Presbyterorum Ordinis, nn.
10-11: AAS 58 (1966), 1007-1010; Apostolorum Successores, n. 91: Enchiridion
Vaticanum 22 (2006), 1787-1789.
146 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[31] Cf. Optatam Totius, n. 3: AAS 58 (1966), 715-716; Pastores Dabo Vobis, n. 63:
AAS 84 (1992), 768-769.
[32] C.I.C., can. 234, § 1; cf. also Apostolorum Successores, n. 86: Enchiridion
Vaticanum 22 (2006), 1770-1772.
[33] Cf. Apostolorum Successores, n. 86.
[34] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 64: AAS 84 (1992), 769-770.
[35] Cf. C.I.C., can. 234, § 2.
[36] Cf. ibid., can. 1042, n. 3.
[37] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 64: AAS 84 (1992), 769-770; Vocationes Adultorum,
n. 12: Enchiridion Vaticanum 5 (2000), 2102.
[38] Cf. Apostolorum Successores, n. 87.
[39] JOHN PAUL II, Post-Synodal Apostolic Exhortation Ecclesia in America (22
January 1999), n. 40: AAS 91 (1999), 776.
[40] Cf. FRANCIS, Post-Synodal Apostolic Exhortation Amoris Laetitia (19 March
2016), n. 46, Libreria Editrice Vaticana 2016.
[41] Cf. PONTIFICAL COUNCIL FOR THE PASTORAL CARE OF MIGRANTS AND ITINERANT
PEOPLES, Instruction Erga Migrantes Caritas Christi (3 May 2004), n. 45: Enchiridion
Vaticanum 22 (2006), 2480-2481.
[42] Cf. FRANCIS, Address to Seminarians and Novices from Various Countries of
the World on the Occasion of the Year of Faith (6 July 2013): Insegnamenti I/2
(2013), 13.
[43] Cf. S. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Guidelines for Formation
in Priestly Celibacy (11 April 1974), n. 38: Enchiridion Vaticanum 5 (2000), 275-276
[English Translation: Origins 4 : 5 (27 June 1974), 66-76]; and CONGREGATION FOR
CATHOLIC EDUCATION, Guidelines for the Use of Psychology in the Admission
and Formation of Candidates for the Priesthood (29 June 2008), n. 9: Enchiridion
Vaticanum 25 (2011), 1268-1269.
[44] Cf. CONGREGATION FOR THE CLERGY, Directory for the Ministry and Life of
Priests (11 February 2013), Ch. I.
The Gift of the Priestly Vocation... 147
[45] Lumen Gentium, n. 9: AAS 57 (1965), 13.
[46] Cf. ibid., n. 17: AAS 57 (1965), 21.
[47] Cf. ibid., n. 10: AAS 57 (1965), 14-15; C.I.C., can. 204, § 1.
[48] Cf. 1Pt 2:4-9.
[49] Lumen Gentium, n. 10: AAS 57 (1965), 14.
[50] Cf. ibid., nn. 10 e 18: AAS 57 (1965), 14-15 and 21-22; Presbyterorum Ordinis, n.
2: AAS 58 (1966), 991-993; Catechism of the Catholic Church, nn. 1547 and 1592.
[51] Presbyterorum Ordinis, n. 2: AAS 58 (1966), 992.
[52] Pastores Dabo Vobis, n. 16: AAS 84 (1992), 681.
[53] Cf. CONGREGATION FOR THE CLERGY, The Priest and the Third Christian
Millennium. Teacher of the Word, Minister of the Sacraments and Leader of the
Community (19 March 1999), Enchiridion Vaticanum 18 (2002), 289-376.
[54] Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 25; cf. also Mt 20:25-28
and Mk 10:42-45; FRANCIS, General Audience (26 March 2014): L’Osservatore
Romano 70 (27 March 2014), 8.
[55] Cf. Presbyterorum Ordinis, n. 2: AAS 58 (1966), 991-993; Pastores Dabo Vobis, n.
3: AAS 84 (1992), 660-662; Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 6.
[56] Cf. Presbyterorum Ordinis, n. 2: AAS 58 (1966), 991-993.
[57] Cf. BENEDICT XVI, Meeting with Parish Priests of the Diocese of Rome
(18 February 2010): Insegnamenti VI/1 (2010), 243.
[58] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 13: AAS 84 (1992), 677-678.
[59] JOHN PAUL II, Letter to Priests for Holy Thursday (28 March 2004): Insegnamenti
XXVII/1 (2004), 390.
[60] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 22: AAS 84 (1992), 690-691.
[61] Cf. BENEDICT XVI, Encyclical Letter Spe Salvi (30 November 2007), n. 6: AAS 99
(2007), 990-991.
[62] Pastores Dabo Vobis, n. 22: AAS 84 (1992), 691.
[63] Ibid.
[64] FRANCIS, Address to the Rectors and Students of the Pontifical Colleges and
148 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
Residences of Rome (12 May 2014): L’Osservatore Romano 108 (14 May 2014), 5:
“Sometimes, the pastor must go in front in order to indicate the way; at other
times, must be among them to find out what is happening; and many times behind,
to help those who are falling behind and also to follow the scent of the sheep
that know where the good grass is”; cf. also ID., General Audience, 26 March
2014: L’Osservatore Romano 70 (27 March 2014), 8; Address to the Priests of the
Diocese of Rome (6 March 2014): L’Osservatore Romano 54 (7 March 2014), 8.
[65] Cf. ID., Address to the Participants in the Convention Sponsored by the
Congregation for the Clergy on the 50th Anniversary of the Conciliar Decree
‘Optatam Totius’ and ‘Presbyterorum Ordinis’ (20 November 2015): L’Osservatore
Romano 267 (21 November 2015), 8.
[66] Cf. Pastores Dabo Vobis, n.18: AAS AAS 84 (1992), 684-686.
[67] Cf. Evangelii Gaudium, nn. 93-97: 105 (2013), 1059-1061.
[68] This is “the fundamental question of our priestly life: Where is my heart
directed? It is a question we need to keep asking, daily, weekly...Where is my
heart directed?”, FRANCIS, Homily for the Jubilee of Priests and Seminarians
(3 June 2016). L’Osservatore Romano 126 (4 June 2016), 8.
[69] IGNATIUS OF LOYOLA, Spiritual Exercises, 1.
[70] Cf. FRANCIS, Evangelii Gaudium, nn. 169-173: AAS 105 (2013), 1091-1092.
[71] Cf. FRANCIS, Address to Seminarians and Novices from Various Countries
of the World on the Occasion of the Year of Faith (6 July 2013): Insegnamenti
I/2 (2013), 9.
[72] Cf. Guidelines for the Use of Psychology in the Admission and Formation of
Candidates for the Priesthood, n. 12: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1273-1277.
[73] Cf. ibid., nn. 8 and 11: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1262-1267.
[74] Cf. ibid., nn. 3-4.
[75] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Circular Letter Concerning Some
More Urgent Aspects of Spiritual Formation in Seminaries (6 January 1980): Enchiridion
Vaticanum 7 (2001), 45-90. [English Translation: Origins 9:38 (6 March 1980) 610-619].
The Gift of the Priestly Vocation... 149
[76] Cf. ID., Directives Concerning the Preparation of Seminary Educators (4
November 1993): Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3151-3284. [English Translation:
Origins 23:22 (27 January 1994) 557-571]; cf. also Pastores Dabo Vobis, n. 66: AAS
84 (1992), 772-774.
[77] Cf. Directives Concerning the Preparation of Seminary Educators, nn. 4.19.29-
32.66: Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3155; 3184; 3200-3207; 3260-3262. [English
Translation: Origins 23:22 (27 January 1994) 557-571]; Apostolorum Successores, n.
89: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1777-1780.
[78] Cf. FRANCIS, Address to Seminarians and Novices from Various Countries of
the World on the Occasion of the Year of Faith (6 July 2013): Insegnamenti I/2
(2013), 8.
[79] Cf. Pastores Dabo Vobis, nn. 17; 22-23; 43.59: AAS 84 (1992), 682-684; 690-694;
731-733; 761-762.
[80] Cf. Acts 2:42.
[81] Presbyterorum Ordinis, n. 8: AAS 58 (1966), 1003.
[82] Cf. Christus Dominus, nn. 16 and 28: AAS 58 (1966), 680-681 and 687;
Apostolorum Successores, nn. 76 and 107: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1740-
1742 and 1827-1828.
[83] JOHN PAUL II, Apostolic Letter Novo Millennio Ineunte (6 January 2001), n. 43:
AAS 93 (2001), 297.
[84] CYPRIAN, De dominica Oratione 23: CSEL III A, p. 285.
[85] Pastores Dabo Vobis, n. 18: AAS 84 (1992), 684.
[86] Cf. ibid., n. 60: AAS 84 (1992), 764-762; FRANCIS, Address to Seminarians and
Novices from Various Countries of the World on the Occasion of the Year of Faith
(6 July 2013): Insegnamenti I/2 (2013), 11.
[87] FRANCIS, Meeting with Diocesan Priests in the Cathedral of Cassano all’Jonio
(21 June 2014): L’Osservatore Romano 140 (22 June 2014), 7.
[88] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Directives on the Formation of
150 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
Seminarians Concerning Problems Related to Marriage and the Family (19 March
1995), n. 33. [English translation: Origins 25: 10 (August 10, 1995) 161-167].
[89] Pastores Dabo Vobis, n. 66: AAS 84 (1992), 772-774.
[90] Ibid., n. 69: AAS 84 (1992), 778.
[91] FRANCIS, Letter to Participants in the Extraordinary General Assembly of the
Italian Episcopal Conference (8 November 2014): L’Osservatore Romano 258
(12 November 2014), 7: “The formation of which we speak is an experience of
permanent discipleship, which draws one close to Christ and allows one to be
ever more conformed to Him. Therefore, it has no end, for priests never stop being
disciples of Jesus, they never stop following Him. Thus, formation understood as
discipleship sustains the ordained minister his entire life and regards his entire
person and his ministry. Initial and ongoing formation are two aspects of one
reality: the path of the disciple priest, in love with his Lord and steadfastly
following Him”.
[92] Pastores Dabo Vobis, n. 71: AAS 84 (1992), 783.
[93] The propaedeutic stage follows the preliminary discernment of a vocation
and the first vocational accompaniment outside the Seminary. Cf. Pastores Dabo
Vobis, n. 62: AAS 84 (1992), 767-768. The Congregation for Catholic Education
recommended, already by 1980, that this initial stage should be offered: “The need
to intensify the preparation of aspirants to Major Seminary has become pressing,
not only from an intellectual point of view but also, and more especially, from the
human and spiritual perspectives”, CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION,
Information Document the Propaedeutic Period (10 May 1998), III, n. 1. The
Congregation for the Evangelisation of Peoples, in a Circular letter of 25 April 1987,
expressed its hope that the propaedeutic period might be “a prolonged period
of vocational discernment, of growth in the spiritual life and community life and,
if needs be, a period in which cultural preparation can be supplemented with a
view to the study of philosophy and theology”: Enchiridion Vaticanum 10 (1989),
1214.
The Gift of the Priestly Vocation... 151
[94] Cf. The Propaedeutic Period, III, n. 5.
[95] FRANCIS, Address to the Plenary of the Congregation for the Clergy (3 October
2014): L’Osservatore Romano 226 (4 October 2014), 8: “one must carefully study
the evolution of a vocation! See whether it comes from the Lord, whether the
man is healthy, whether the man is well-balanced, whether the man is capable
of giving life, of evangelizing, whether the man is capable of forming a family and
renouncing this in order to follow Jesus”.
[96] Optatam Totius, n. 11: AAS 58 (1966), 720.
[97] Cf. PAUL VI, Apostolic Letter Ad Pascendum (15 August 1972), I, a) and c): AAS
64 (1972), 538-539.
[98] Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 8: “It can therefore be said that
the configuration to Christ through sacramental consecration defines the priest
within the People of God, making him participate in his own way in the sanctifying,
magisterial and pastoral power of Jesus Christ himself, Head and Pastor of the
Church. Becoming increasingly like unto Christ, the priest is– thanks to Him, and to
himself– a co-worker in the salvation of his brethren: it is no longer he who loves
and exists, but Christ in him (cf. Gal 2:20)”.
[99] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 27: AAS 84 (1992), 710.
[100] Cf. ibid, n. 23: AAS 84 (1992), 691-694.
[101] FRANCIS, Address to the Priests of the Diocese of Caserta (26 July 2014):
L’Osservatore Romano 171 (28-29 July 2014), 5: “the spirituality of the diocesan
priest is to be open to diocesan life [...] It means a relationship with the Bishop,
which must be realized and must grow continuously [...] Secondly, the diocesan
life involves a relationship with the other priests, with all the presbytery. There
is no spirituality of the diocesan priest without these two relationships: with the
Bishop and with the presbyter. And they are needed”.
[102] Cf. Presbyterorum Ordinis, n. 10: AAS 58 (1966), 1007-1008; Pastores Dabo
Vobis, n. 17: AAS 84 (1992), 682-684.
152 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[103] Cf. PAUL VI, Apostolic Letter Ministeria Quaedam (15 August 1972), V-VI: AAS
64 (1972), 532-533.
[104] C.I.C., can. 265.
[105] Cf. Optatam Totius, n. 12: AAS 58 (1966), 721.
[106] Cf. ibid., n. 21: AAS 58 (1966), 726.
[107] Cf. C.I.C., cann. 1031, §1 and 1032, §2.
[108] Cf. BENEDICT XVI, Post-Synodal Apostolic Exhortation Sacramentum Caritatis
(22 February 2007), n. 25: AAS 99 (2007), 125-126.
[109] Cf. C.I.C., can. 1039.
[110] Cf. Apostolorum Successores, n. 83: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1764-
1766.
[111] Over the course of time, the concept of ongoing formation has been
deepened both in society and in the Church. An important moment in this process
was the ‘Letter to Priests’ (especially no. 10) issued by John Paul II on 8 April
1979: Insegnamenti II (1979), 857-859: “we must all be converted a new every
day. We know that this is a fundamental exigency of the Gospel, addressed to
everyone (cf. Mt 4:17; Mk 1:15), and all the more do we have to consider it as
addressed to us [...] We must link prayer with continuous work upon ourselves:
this is the formatio permanens [...] this formation must be both interior, that is to
say directed towards the deepening of the priest’s spiritual life, and must also be
pastoral and intellectual (philosophical and theological)”. For a general overview
and synthesis on this point, see General Directory for the Ministry and Life of
Priests, nn. 87-115.
[112] Cf. FRANCIS, Address to the Plenary of the Congregation for the Clergy (3
October 2014): L’Osservatore Romano 226 (4 October 2014), 8.
[113] Pastores Dabo Vobis, n. 70: AAS 84 (1992), 781.
[114] Cf. ibid., AAS 84 (1992), 778-782.
[115] Cf. ibid.,n. 71: AAS 84 (1992), 782-783.
The Gift of the Priestly Vocation... 153
[116] Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 87.
[117] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 79: AAS 84 (1992), 796.
[118] Cf. Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 108.
[119] Ibid., n. 100.
[120] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 72: AAS 84 (1992), 783-787.
[121] FRANCIS, Letter to the Participants in the Extraordinary General Assembly of
the Italian Episcopal Conference (8 November 2014): L’Osservatore Romano 258
(12 November 2014), 7; cf. Presbyterorum Ordinis, n. 14: AAS 58 (1966), 1013-1014.
[122] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 78: AAS 84 (1992), 795-796.
[123] Presbyterorum Ordinis, n. 14: AAS 58 (1966), 1013.
[124] Ibid., n. 8: AAS 58 (1966), 1004.
[125] Ibid.: AAS 58 (1966), 1003.
[126] BENEDICT XVI, Address to Participants in the Plenary of the Congregation for
the Clergy (16 March 2009): Insegnamenti V/1 (2009), 392.
[127] Cf. C.I.C., can. 280; Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 38.
[128] Cf. C.I.C., can. 278, §§ 1-2.
[129] Cf. Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 106.
[130] Pastores Dabo Vobis, n. 81: AAS 84 (1992), 799.
[131] Cf. ibid., nn. 43-59: AAS 84 (1992), 731-762.
[132] Cf. Optatam Totius, n. 4: AAS 58 (1966), 716; Pastores Dabo Vobis, n. 57: AAS
84 (1992), 757-759.
[133] Cf. Optatam Totius nn. 4 and 19: AAS 58 (1966), 716 and 725-726.
[134] Pastores Dabo Vobis, n. 57: AAS 84 (1992), 757-758.
[135] Ibid., n. 65: AAS 84 (1992), 770: “the Church as such is the communal subject
which has the grace and responsibility to accompany those whom the Lord calls
to become his ministers in the priesthood”.
[136] Cf. Evangelii Gaudium, nn. 119-121: AAS 105 (2013), 1069-1071.
154 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[137] Ibid., n. 20: AAS 105 (2013), 1028.
[138] Ibid., n. 21: AAS 105 (2013), 1028.
[139] Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 16.
[140] For example, cf. Mt 28:20; 1Pt 5:1-4; Tit 1:5-9.
[141] For example, one can think of GREGORY NAZIANZEN, Oratio II: PG 35, 27.
[142] THOMAS AQUINAS, Summa Theologiae, I, q. 2, a. 2 ad 1.
[143] Cf. ibid., I, q. 1, a. 8 ad 2.
[144] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 43: AAS 84 (1992), 731-732.
[145] A Guide to Formation in Priestly Celibacy, n. 60.
[146] JOHN PAUL II, Letter to Women (29 June 1995), n. 10: Insegnamenti XVIII/1
(1995), 1879; cf. A Guide to Formation in Priestly Celibacy, n. 59.
[147] BENEDICT XVI, Message for the XLVII World Communications Day (12 May
2013): AAS 105 (2013), 181.
[148] ID., Message for the XLIV World Communications Day (16 May 2010): AAS 102
(2010), 115-116.
[149] FRANCIS, Message for the XLVIII World Communications Day (1 June 2014):
AAS 106 (2014), 115: “Keeping the doors of our churches open also means keeping
them open in the digital environment so that people, whatever their situation in
life, can enter, and so that the Gospel can go out to reach everyone”.
[150] Ibid., AAS 106 (2014), 113.
[151] Ibid., AAS 106 (2014), 116.
[152] Cf. Presbyterorum Ordinis, n. 12: AAS 58 (1966), 1009-1011.
[153] Cf. Catechism of the Catholic Church, nn. 2709-2719.
[154] “The entire liturgical year, in regard not only to the liturgical celebration
but to life itself, should be a spiritual journey to participate intimately in the
mystery of Christ”: SACRED CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Instruction
on Liturgical Formation in Seminaries (3 June 1979), n. 32: Enchiridion Vaticanum
6 (2001), 1590.
The Gift of the Priestly Vocation... 155
[155] JEROME, Commentarii in Isaiam, Prologus: CCL 73, 1.
[156] BENEDICT XVI, Post-Synodal Apostolic Exhortation Verbum Domini (30
September 2010), n. 82: AAS 102 (2010), 753: “Those aspiring to the ministerial
priesthood are called to a profound personal relationship with God’s word,
particularly in lectio divina, so that this relationship will in turn nurture their
vocation: it is in the light and strength of God’s word that one’s specific
vocation can be discerned and appreciated, loved and followed, and one’s
proper mission carried out, by nourishing the heart with thoughts of God, so that
faith, as our response to the word, may become a new criterion for judging and
evaluating persons and things, events and issues”.
[157] Cf. ORIGIN, Homilia in Lucam, XXXII, 2: PG 13, 1884.
[158] Pastores Dabo Vobis, n. 47: AAS 84 (1992), 74
[159] Cf. ibid., n. 47: AAS 84 (1992), 740-742; Verbum Domini, nn. 86-87: AAS 102
(2010), 757-760.
[160] Cf. SECOND VATICAN ECUMENICAL COUNCIL, Dogmatic Constitution on Divine
Revelation Dei Verbum (18 November 1965), n. 21: AAS 58 (1966), 828.
[161] Cf. Verbum Domini, n. 82 : AAS 102 (2010), 753-754.
[162] JOHN PAUL II, Angelus (1 July 1990), n. 2: Insegnamenti XIII/2 (1990), 7. cf.
C.I.C, can. 246, § 1.
[163] Cf. Sacramentum Caritatis, nn. 66-67: AAS 99 (2007), 155-156; AUGUSTINE,
Enarrationes in Psalmos, 98, 9: CCL 39, 1385.
[164] Pastores Dabo vobis, n. 48: AAS 84 (1992), 743:“They should, moreover,
be trained to consider the eucharistic celebration as the essential moment
of their day, in which they will take an active part and at which they will
never be satisfied with a merely habitual attendance”.
[165] Cf. Instruction on Liturgical Formation in Seminaries, nn. 28-31: Enchiridion
Vaticanum 6 (2001), 1583-1588; C.I.C., can. 276, § 2, n. 3.
[166] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 26: AAS 84 (1992), 697-700; cf. also Instruction on
156 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
Liturgical Formation in Seminaries, n. 31: Enchiridion Vaticanum 6 (2001), 1587-
1588.
[167] Pastores Dabo Vobis, n. 48: AAS 84 (1992), 744.
[168] Cf. C.I.C., can. 239, § 2.
[169] Cf. ibid., can. 240, § 1.
[170] Cf. ibid., can. 246, § 5.
[171] Presbyterorum Ordinis, n. 15: AAS 58 (1966), 1014.
[172] Pastores Dabo Vobis, n. 50: AAS 84 (1992), 746.
[173] Cf. Presbyterorum Ordinis, n. 16: AAS 58 (1966), 1015-1017; C.I.C., can. 247,
§ 1.
[174] Presbyterorum Ordinis, n. 16: AAS 58 (1966), 1015-1016.
[175] A Guide to Formation in Priestly Celibacy, n. 16; n. 58: “Seminarians ought
to be guided in discovering the theology of chastity, showing the relationship
between the practice of this virtue and the great virtues of Christianity. The
apostolic fruitfulness of consecrated virginity should be shown, noting how every
experience of good or evil contributes positively or negatively to our sense of
being, our personality and, consequently, also our apostolic action”.
[176] Pastores Dabo Vobis, n. 29: AAS 84 (1992), 704: “It is especially important that
the priest understand the theological motivation of the Church’s law on celibacy.
Inasmuch as it is a law, it expresses the Church ’s will, even before the will of the
subject expressed by his readiness. But the will of the Church finds its ultimate
motivation in the link between celibacy and sacred ordination, which configures
the priest to Jesus Christ the head and spouse of the Church. The Church, as the
spouse of Jesus Christ, wishes to be loved by the priest in the total and exclusive
manner in which Jesus Christ her head and spouse loved her. Priestly celibacy,
then, is the gift of self in and with Christ to his Church and expresses the priest’s
service to the Church in and with the Lord”.
[177] A Guide to Formation in Priestly Celibacy, n. 6.
The Gift of the Priestly Vocation... 157
[178] C.C.E.O., cann. 343 and 373-375.
[179] Cf. Presbyterorum Ordinis, n. 17: AAS 58 (1966), 1017-1018; cf. Also, Evangelii
Gaudium, n. 198: AAS 105 (2013), 1103; FRANCIS, Address to Seminarians and
Novices from Various Countries of the World on the Occasion of the Year of Faith
(6 July 2013): Insegnamenti I/2 (2013), 9.
[180] Pastores Dabo Vobis, n. 30: AAS 84 (1992), 706: “Poverty alone ensures that
the priest remains available to be sent wherever his work will be most useful and
needed even at the cost of personal sacrifice”.
[181] Cf. AMBROSE, De officiis ministrorum, II, 28 : PL 16, 139-142.
[182] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 30: AAS 84 (1992), 705-707.
[183] Cf. C.I.C., can. 246, § 3.
[184] Pastores Dabo Vobis, n. 82: AAS 84 (1992), 802.
[185] JOHN PAUL II, Apostolic Exhortation Redemptoris Custos (15 August 1989), n.
8: AAS 82 (1990), 14.
[186] Ibid., n. 1: AAS 82 (1990), 6.
[187] Cf. Optatam Totius, n. 16: AAS 58 (1966), 723-724; CONGREGATION FOR
CATHOLIC EDUCATION, Instruction on the Study of the Fathers of the Church in the
Formation of Priests (10 November 1989), n. 45. [English Translation: cf. Origins 19:
34 (25 January 1990) 549-561].
[188] Instructionon the Study of the Fathers of the Church in the Formation of
Priests, n. 44.
[189] Cf. CONGREGATION FOR DIVINE WORSHIP AND DISCIPLINE OF THE SACRAMENTS,
Directory on Popular Piety and the Liturgy. Principles and Directives (17 December
2001), nn. 61-64.
[190] Cf. PAUL VI, Apostolic Exhortation Evangelii Nuntiandi (8 December 1975),
n. 48: AAS 68 (1976), 37-38; Evangelii Gaudium, nn. 122-126: AAS 105 (2013), 1071-
1073.
[191] Cf. C.I.C., cann. 244-245, § 1.
158 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[192] Pastores Dabo Vobis, n. 26: AAS 84 (1992), 700.
[193] Directory for the Ministry and Life of Priests, n. 46.
[194] Gaudium et Spes, n. 44 : AAS 58 (1966), 1065.
[195] Pastores Dabo Vobis, n. 58: AAS 84 (1992), 759-760: “The seminary which
educates must seek really and truly to initiate the candidate into the
sensitivity of being a shepherd, in the conscious and mature assumption of
his responsibilities, in the interior habit of evaluating problems and establishing
priorities and looking for solutions on the basis of honest motivations of
faith and according to the theological demands inherent in pastoral work”;
C.I.C., can. 258.
[196] Cf. Evangelii Gaudium, n. 33: AAS 105 (2013), 1034; Amoris Laetitia, n.
300; FRANCIS, Homily for the Jubilee of Priests and Seminarians (3 June 2016),
L’Osservatore Romano 126 (4 June 2016), 8.
[197] ID. Angelus (17 July 2016): L’Osservatore Romano 163 (18-19 July 2016), 1: “A
guest is not merely to be served, fed, looked after in every way. Most importantly
he ought to be listened to [...] A guest should be welcomed as a person, with a
story, his heart rich with feelings and thoughts, so that he may truly feel like he
is among family”.
[198] Cf. Evangelii Gaudium, n. 273: AAS 105 (2013), 1130.
[199] Pastores Dabo Vobis, n. 58: AAS 84 (1992), 760.
[200] Cf. Evangelii Gaudium, n. 270: AAS 105 (2013), 1128.
[201] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, The Pastoral Care of Migrants
in the Formation of Priests (25 January 1986).
[202] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Directives on the Formation
of Seminarians Concerning Problems Related to Marriage and the Family (19
March 1995). [English Translation: Origins 25: 10 (10 August 1995), 161-167].
[203] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 65: AAS 84 (1992), 770-772.
[204] C.I.C., can. 368: “Particular churches, in which and from which the one and
only Catholic Church exists, are first of all dioceses...”.
The Gift of the Priestly Vocation... 159
[205] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 18: AAS 84 (1992), 684-686.
[206] Cf. ibid., n. 65: AAS 84 (1992), 770-772; cf. also Directives on the Preparation
of Seminary Formators, n. 1: Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3151-3152;
Apostolorum successores, n. 88: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1774-1776.
[207] Cf. C.I.C., can. 239.
[208] Cf. ibid., cann. 242-243.
[209] Ibid., can. 259, § 2.
[210] Apostolorum Successores, n. 89: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1780.
[211] Cf. C.I.C., can. 237.
[212] Cf. CONGREGATION FOR DIVINE WORSHIP, Caerimoniale Episcoporum, Typical
Edition, 1984, nn. 11-13, promulgated by decree Recognitis ex Decreto, of 14
September 1984: AAS 76 (1984), 1086-1087.
[213] Cf. BENEDICT XVI, Homily for the Ordination to the Priesthood of 15 Deacons
of the Diocese of Rome (7 May 2006): Insegnamenti II/1 (2006), 550-555.
[214] Cf. Directives on the Preparation of Seminary Formators, n. 1: Enchiridion
Vaticanum 13 (1996), 3151-3152.
[215] Cf. C.I.C., can. 239.
[216] Cf. Directives on the Preparation of Formators in Seminaries, n. 43: Enchiridion
Vaticanum 13 (1996), 3224-3226.
[217] Cf. ibid., n. 60: Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3252-3253.
[218] Cf. C.I.C., can. 260.
[219] Cf. ibid., can. 238, § 2.
[220] Directives on the Preparation of Formators in Seminaries, n. 45: Enchiridion
Vaticanum 13 (1996), 3228.
[221] Ibid., n. 44: Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3227.
[222] Cf. C.I.C., can. 240, §1.
[223] Cf. Directives on the Preparation of Formators in Seminaries, n. 45: Enchiridion
Vaticanum 13 (1996), 3228.
160 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[224] Cf. C.I.C., can. 233, § 1.
[225] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 67: AAS 84 (1992), 774-775.
[226] Cf. ibid., n. 67: AAS 84 (1992), 774-775.
[227] Cf. Directives on the Preparation of Formators in Seminaries, n. 45: Enchiridion
Vaticanum 13 (1996), 3229-3232.
[228] Cf. ibid.
[229] Cf. Optatam Totius, n. 5: AAS 58 (1966), 716-717; Directives on the Preparation
of Formators in Seminaries, n. 27: Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3196-3197.
[230] Cf. C.I.C., can. 253, § 1.
[231] Cf. Directives on the Preparation of Formators in Seminaries, n. 62: Enchiridion
Vaticanum 13 (1996), 3256.
[232] Cf. ibid., n. 64: Enchiridion Vaticanum 13 (1996), 3258.
[233] Cf. Guidelines for the Use of Psychology in the Admission and Formation of
Candidates for the Priesthood: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1239-1289.
[234] Cf. CONGREGATION FOR THE DOCTRINE OF THE FAITH, Letter Iuvenescit
Ecclesia to the Bishops of the Catholic Church Regarding the Relationship Between
Hierarchical and Charismatic Gifts in the Life and Mission of the Church (15 May
2016): L’Osservatore Romano 135 (15 June 2016), 1, 4-5; ibid. 136 (16 June2016), 7.
[235] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 68: AAS 84 (1992), 775-778.
[236] Amoris Laetitia, n. 203.
[237] Ibid., n. 162: “Those called to virginity can encounter in some marriages a
clear sign of God’s generous and steadfast fidelity to his covenant, and this can
move them to a more concrete and generous availability to others”.
[238] Cf. Pastores Dabo Vobis, n.66: AAS 84 (1992), 772-774; JOHN PAUL II, Post-
Synodal Apostolic Exhortation Christifideles Laici (30 December 1988), nn. 49 and
51: AAS 81 (1989), 487-489 and 491-496.
[239] Cf. Pastores Dabo Vobis., nn. 70-81: AAS 84 (1992), 778-800.
[240] Ibid., n. 51: AAS 84 (1992), 748.
The Gift of the Priestly Vocation... 161
[241] Cf. C.I.C., can. 254, § 1.
[242] Pastores Dabo Vobis, n. 51: AAS 84 (1992), 749.
[243] Cf. C.I.C., can. 250.
[244] The Propaedeutic Period, III, n. 1.
[245] Ibid., III, n. 6.
[246] Pastores Dabo Vobis, n. 62: AAS 84 (1992), 767.
[247] Cf. The Propaedeudic Period, III, n. 2. In general, an introductory course on
the mystery of Christ that will allow the seminarians to appreciate the reason for
ecclesiastical studies, their structure, and their pastoral ends. At the same time,
along with the attentive reading of the Word of God, it also seeks to help the
seminarians to acquire a solid foundation for their faith, to understand their priestly
vocation more deeply and to embrace it with greater maturity.
[248] Pastores Dabo Vobis, n. 52: AAS 84 (1992), 750.
[249] CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Decree on the Reform of
Ecclesiastical Studies of Philosophy (28 January 2011), n. 4: AAS 104 (2012),
219; cf. also SACRED CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Circular Letter on
the Study of Philosophy in Seminaries (20 January 1972), Enchiridion Vaticanum 4
(1971-1973), nn. 1516-1556.
[250] Decree on the Reform of Ecclesiastical Studies of Philosophy, n. 3: AAS 104
(2012), 219.
[251] Optatam Totius, n. 15: AAS 58 (1966), 722.
[252] Pastores Dabo Vobis, n. 54: AAS 84 (1992), 753.
[253] Ibid., n. 51: AAS 84 (1992), 749.
[254] Cf. Dei Verbum, n. 24: AAS 58 (1966), 828-829.
[255] BENEDICT XVI, Post-Synodal Apostolic Exhortation Verbum Domini, n. 35: AAS
102 (2010), 714-715: “a profound gulf is opened up between scientific exegesis and
lectio divina. This can give rise to a lack of clarity in the preparation of homilies. It
must also be said that this dichotomy can create confusion and a lack of stability in
162 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
the intellectual formation of candidates for ecclesial ministries. In a word, ‘where
exegesis is not theology, Scripture cannot be the soul of theology, and conversely,
where theology is not essentially the interpretation of the Church’s Scripture, such
a theology no longer has a foundation’. Hence we need to take a more careful
look at the indications provided by the Dogmatic Constitution Dei Verbum in this
regard”.
[256] Cf. C.I.C., can. 838.
[257] Pastores Dabo Vobis, n. 57: AAS 84 (1992), 758-759.
[258] For example, cf. LEO XIII, Encyclical Letter Rerum Novarum (15 May 1891):
ASS 23 (1890-1891) 641-670; JOHN XXIII, Encyclical Letter Mater et Magistra (15 May
1961): AAS 53 (1961), 401-464; PAUL VI, Encyclical Letter Popolorum Progressio (26
March 1967): AAS 59 (1967), 257-299; JOHN PAUL II, Encyclical Letter Centesimus
Annus (1 May 1991): AAS 83 (1991), 793-867; BENEDICT XVI, Encyclical Letter
Caritas in Veritate (29 June 2009): AAS 101 (2009), 641-709.
[259] FRANCIS, Encyclical Letter Laudato Si’ (24 May 2015), n. 217: L’Osservatore
Romano 137 (19 June2015), 6.
[260] Ibid. n. 15: L’Osservatore Romano 137 (19 June 2015), 4.
[261] Cf. Optatam Totius, n. 16: AAS 58 (1966), 723-724.
[262] JOHN PAUL II, Apostolic Constitution Sacrae Disciplinae Leges (25 January
1983): AAS 75 (1983), Pars II, p. XI.
[263] FRANCIS, Apostolic Letter Motu proprio Mitis Iudex Dominus Iesus (15 August
2015); L’Osservatore Romano 204 (9 September 2015), 3.
[264] Evangelii Gaudium, n. 61: AAS 105 (2013), 1045.
[265] Cf. ibid., nn. 52-75: AAS 105 (2013), 1041-1051.
[266] Cf. C.I.C., can. 256, § 1.
[267] Cf. CONGREGATION FOR DIVINE WORSHIP AND THE DISCIPLINE OF THE
SACRAMENTS, Homiletic Directory (29 June 2014); cf. Evangelii Gaudium, nn. 135-
144: AAS 105 (2013), 1076-1080; FRANCIS, Apostolic Letter Misericordia et Misera
The Gift of the Priestly Vocation... 163
(20 November 2016), n. 6: L’Osservatore Romano 268 (21-22 November 2016), 8-9.
[268] Evangelii Gaudium, n. 135: AAS 105 (2013), 1076.
[269] Ibid., n. 154: AAS 105 (2013), 1084-1085.
[270] Cf. for example, CONGREGATION FOR THE CLERGY, The Priest, Minister of
Divine Mercy. An Aid to Confessors and Spiritual Directors (9 March 2011).
[271] Evangelii Nuntiandi, n. 48: AAS 68 (1976), 37-38.
[272] Evangelii Gaudium, n. 126: AAS 105 (2013), 1073.
[273] Directory on Popular Piety and the Liturgy, n. 1.
[274] Cf. FRANCIS, Address to Rectors and Students of the Pontifical Colleges and
Residences of Rome (12 May 2014); l.c. 5; C.I.C., can. 282.
[275] Cf. SACRED CONGREGATION FOR RITES, Instruction Musicam Sacram, on Music
in the Liturgy (5 March 1967): AAS 59 (1967), 300-320.
[276] Cf. SECOND VATICAN ECUMENICAL COUNCIL, Decree on the Media of Social
Communications Inter Mirifica (4 December 1963): AAS 56 (1964), 97-138, along
with the messages of the Popes for World Communications Day.
[277] Cf. Pastores Dabo Vobis, n. 54: AAS 84 (1992), 753-754.
[278] Cf. C.I.C. cann. 750. 752-754.
[279] Cf. ibid., can. 254, § 2.
[280] Cf. ibid., can. 253, §§ 1-2.
[281] Cf. ibid., can. 237, § 1.
[282] Cf. ibid., can. 239, § 1-2.
[283] Cf. ibid., can. 237, § 2.
[284] Cf. ibid., can. 235, § 2.
[285] Guidelines for the Use of Psychology in the Admission and Formation of
Candidates for the Priesthood, n.11: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1271-1272;
C.I.C., can. 241, § 1.
[286] Cf. C.I.C., can. 241, § 1.
164 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[287] Cf. Guidelines for the Use of Psychology in the Admission and Formation of
Candidates for the Priesthood: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1239-1289.
[288] Cf. CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Instruction to the Episcopal
Conferences on the Admission to Seminary of Candidates Coming from Other
Seminaries or Religious Families (9 October 1986 and 8 March 1996); SACRED
CONGREGATION FOR CATHOLIC EDUCATION, Circular Letter, Ci Permettiamo, to the
Pontifical Representatives Concerning the Admission of Ex-Seminarians in Other
Seminaries (9 October 1986): Enchiridion Vaticanum 10 (1989), 694-696.
[289] Cf. ID., Instruction Concerning the Criteria for the Discernment of Vocations
with regard to Persons with Homosexual Tendencies in view of their Admission to
the Seminary and to Holy Orders (4 November 2005), n. 2: AAS 97 (2005), 1009-
1010.
[290] CONGREGATION FOR DIVINE WORSHIP AND THE DISCIPLINE OF THE
SACRAMENTS, Circular Letter Entre las Más Delicadas a los Exc. mos y Rev.
mos Señores Obispos Diocesanos y Demás Ordinarios Canónicamente
Facultados para Llamar a Las Sagradas Ordenes, Sobre los Escrutinios Acerca de
laIdoneidad de los Candidados (10 November 1997), n. 7: Notitiae 33 (1997), 497.
[291] Cf. CONGREGATION FOR THE DOCTRINE OF THE FAITH, Circular Letters of 19
June 1995 and 24 July 2003.
[292] Cf. by analogy with can. 1095, nn. 2-3, concerning the defect of the discretion
of judgement and the incapacity to assume the essential obligations of marriage.
[293] Cf. Monitum, of the SACRED CONGREGATION OF THE HOLY OFFICE (15 July
1961): AAS 53 (1961), 571.
[294] Guidelines for the Use of Psychology in the Admission and Formation of
Candidates for the Priesthood, n.6: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1258-1260.
[295] Ibid.
[296] Ibid., n. 12: “If the candidate, faced with a motivated request by the
formators, should refuse to undergo a psychological consultation, the formators
The Gift of the Priestly Vocation... 165
will not force his will in any way. Instead, they will prudently proceed in the
work of discernment with the knowledge they already have”: Enchiridion
Vaticanum 25 (2011), 1277.
[297] Cf. ibid., nn. 12 and 15: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1276-1277 and
1282-1283.
[298] Ibid., n. 11: Enchiridion Vaticanum 25 (2011): 1272.
[299] Ibid., n. 12: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1276.
[300] Ibid., n. 15: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1283.
[301] Cf. C.I.C., can. 51.
[302] Guidelines for the Use of Psychology in the Admission and Formation of
Candidates for the Priesthood, n.16: “It is contrary to the norms of the Church to
admit to the seminary or to the house of formation persons who have already
left or, a fortiori, have been dismissed from other seminaries or houses of
formation, without first collecting the due information from their respective
bishops or major superiors, especially concerning the causes of the dismissal
or departure. The previous formators have the explicit duty of furnishing exact
information to the new formators”: Enchiridion Vaticanum 25 (2011), 1284; cf. can.
241, § 3.
[303] Cf. Instruction to the Episcopal Conferences on the Admission to Seminary of
Candidates Coming from Other Seminaries or Religious Families.
[304] Cf. Catechism of the Catholic Church, nn. 2357-2358.
[305] Instruction Concerning the Criteria for the Discernment of Vocations with
regard to Persons with Homosexual Tendencies in view of their Admission to the
Seminary and to Holy Orders, n. 2: AAS 97 (2005), 1010.
[306] Ibid.
[307] Ibid., n. 3: AAS 97 (2005), 1012.
[308] Ibid., n. 3: AAS 97 (2005), 1010.
166 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
[309] Cf. FRANCIS, Letter to the Prefect of the Congregation for the Clergy (9 June
2016).
[310] Instituted by Pope FRANCIS, with the Chirograph Minorum Tutela Actuosa (22
March 2014); its Statutes were promulgated on 21 April 2015.
[311] FRANCIS, Chirograph Minorum Tutela Actuosa (22 March 2014). At the
conclusion of its Plenary in October 2015, the Commission issued a Note
regarding the work it has completed and, above all, specifying its proper ends and
competencies, where we read: “Particular areas of focus of these working groups
include research into the assessment and ongoing formation of candidates
to the priesthood and religious life [...] The Commission does not address
individual cases, it does not exercise oversight, and is not a decision-
making body”, Press Release from the Commission for the Protection of Minors (12
October 2015).
[312] Apostolorum Successores, n. 89: Enchiridion Vaticanum 22 (2006), 1778.
[313] Cf. C.I.C., can. 1051.
[314] Cf. Entre las Más Delicadas, n. 4 : l.c., 496.
[315] Cf. C.I.C., cann. 1041-1042. Two circular letters of the Congregation for
Catholic Education have insisted on the duty of Bishops and of other Church
bodies to inform candidates as soon as possible about the canonical discipline
on impediments and irregularities; cf. the Circular Letter of 27 July 1992 (Prot.
No.1560/90/18), and the Circular Letter of 2 February 1999 (Prot. No. 1560/90/33).
[316] The following requirements must be completed for Sacred Ordination, both
diaconal and presbyteral: the request of the candidate written in his own hand and
addressed to the Bishop, in which he states his awareness and freedom in receiving
Orders and assuming its duties (both for diaconate and for priesthood); spiritual
exercises, lasting at least five days (cf. can. 1039 C.I.C.); making the profession of
faith and taking the oath of fidelity, preferably in public, before the Ordinary of the
place or his Delegate, and the signing of the act.
The Gift of the Priestly Vocation... 167
[317] Entre las Más Delicadas, n. 2 : l.c., 495.
[318] Cf. C.I.C., can. 1032, § 1.
[319] Cf. ibid., can. 1031, § 4 e CONGREGATION FOR DIVINE WORSHIP AND THE
DISCIPLINE OF THE SACRAMENTS, Notice È Noto (24 July 1997): Notitiae 35 (1997),
281-282.
[320] Cf. C.I.C., can. 235, § 1.
[321] Cf. Ministrorum Institutio, art. 6: AAS 105 (2013), 134.
[322] Cf. Entre las Más Delicadas, Appendix III, n. 10 : l.c., 498.
168 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
อภิธานศัพท (Glossary)
A
Acolyte ผูชวยพิธีกรรม
Acquired recollection prayer สํารวมจิตภาวนา
An educating community ชีวิตหมูคณะแหงการเรียนรู
C
Catholic colleges วิทยาลัยคาทอลิก
Celiac disease โรคเซลิแอค คือ โรคที่ระบบภูมิคุมกันตอบสนอง
ตอกลูเตน ซึ่งเปนโปรตีนชนิดหนึ่งที่มีอยูในพืช
จําพวกขาวบารเลย ขาวสาลี และขาวไรย เมื่อ
รับประทานโปรตีนชนิดนี้จะกระตุนใหระบบภูมิ
คุมกันของผูปวยทําลายผนังลําไส จนทําใหลําไส
ไมสามารถดูดซึมสารอาหารตาง ๆ ได จึงสงผล
ใหผูปวยมีปญหาในระบบขับถาย เชน ปวดทอง
ทองรวง ทองอืด เปนตน หากเกิดในเด็กก็อาจ
มีผลตอพัฒนาการของเด็กดวย
Clericalism แนวคิดแบบ “สงฆนิยม”
Configuration to Christ กระบวนการอบรมที่ชวยใหสามเณรคอย ๆ
ปรับเปลี่ยนตนเอง (รูปแบบวิถีชีวิต) ใหเหมือนกับ
พระคริสตเจา
Contemplative prayer จิตภาวนา
Cosmology จักรวาลวิทยา
The Gift of the Priestly Vocation... 169
D
Dialogue การเสวนา
Discernment การวินิจฉัย
Divine Office การทําวัตร
Docibilitas ความออนนอม
E
Ecclesiastical Province แขวงพระศาสนจักร
Evangelical discernment การวินิจฉัยตามพระวรสาร
F
Forma mentis วิธีคิด
Functionary Priest พระสงฆผูปฏิบัติเพียงเพราะเปนหนาที่
G
General Plan of Studies แผนการศึกษาทั่วไป
Good Shepherd Sunday วันอาทิตยฉลองผูเลี้ยงแกะที่ดี
H
Hierarchical priesthood สังฆภาพตามฐานานุกรม
Human sciences มนุษยศาสตร
I
Initial Formation การอบรมขั้นตน
Interior synthesis การสังเคราะหภายใน
170 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
Irregularities ความผิดกฎเกณฑ
L
Lectio Divina การอานพระคัมภีรแบบรําพึงภาวนา
Lector ผูอานพระคัมภีร
Liturgy of the Hours พิธีกรรมทําวัตร
M
Man of communion บุรุษแหงความสนิทสัมพันธ
Man of discernment บุรุษแหงการวินิจฉัย
Mature vocations กระแสเรียกในวัยผูใหญ
Military Ordinariates เขตปกครองของพระศาสนจักรเพื่อการอภิบาล
กองทัพ
Ministerial priesthood สังฆภาพแหงศีลบวช
Missio ad gentes พันธกิจสูปวงชน
Missionary disciple ศิษยธรรมทูต
Missionary zeal ความกระตือรือรนเยี่ยงธรรมทูต
Motu proprio สมณลิขิตสวนพระองค
O
Office for Seminaries สํานักงานดูแลสามเณราลัย
Ongoing Formation การอบรมตอเนื่อง
Ordinary ผูใหญ (ที่มีอํานาจปกครอง) ของพระศาสนจักร
The Gift of the Priestly Vocation... 171
Ordo Studiorum การจัดการศึกษา
P
Pastoral charity ความรักของผูอภิบาล
Pastoral tradition ธรรมเนียมดานอภิบาล
Personal Ordinariates เขตปกครองเฉพาะบุคคล (ที่อดีตเปนนิกาย
แองกลิคัน และกลับเขามาอยูในพระศาสนจักร
คาทอลิก)
Personal Prelatures สังฆองคกรเฉพาะบุคคล
Priest-disciple สงฆศิษยพระคริสต
R
Ratio Fundamentalis เอกสาร “ระบบพื้นฐานการอบรมพระสงฆ”
Ratio Nationalis เอกสาร “ระบบการอบรมพระสงฆระดับชาติ”
Roman Curia องคการปกครองสวนกลางของพระศาสนจักร
คาทอลิก
S
Sacramental fraternity ภราดรภาพทางศีลศักดิ์สิทธิ์
Scrutiny การตรวจสอบ
Secular clergy สมณะที่ไมเปนผูถวายตน
Secular Institutes สถาบันนักบวชแบบฆราวาส
Sequela Christi การติดตามพระคริสตเจา
Spiritual Direction การแนะนําชีวิตจิต
172 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
Spiritual Director ผูแนะนําชีวิตจิต วิญญาณรักษ จิตตาภิบาล
Spiritual exercises การฝกปฏิบัติจิต
Spiritual Formation การอบรมดานชีวิตจิต
Synodality จิตตารมณของสภาสมัชชา เปนวิธีการทํางาน
ของพระศาสนจักรในยุคปจจุบันคือ การแสวงหา
มองดู หาแนวทางแกไข และรับผิดชอบ
แกปญหาดวยกัน เปนการกาวเดินไปดวยกัน
T
The Absolute องคสัมบูรณ
The family of the presbyterate ครอบครัวสงฆ
The Human Dimension มิติดานความเปนมนุษย
The Intellectual Dimension มิติดานสติปญญา
The missionary impulse แรงกระตุนใหเปนธรรมทูต
The Pastoral Dimension มิติดานการอภิบาล
The priest formators พระสงฆผูใหการอบรม
The Spiritual Dimension มิติดานชีวิตจิต
Theodicy ปญหาเรื่อง “พระยุติธรรมของพระเจา”
V
Vocational assistance ความชวยเหลือดานกระแสเรียก
Vocational maturity วุฒิภาวะกระแสเรียก
The Gift of the Priestly Vocation... 173
Vocations Offices ศูนยสงเสริมกระแสเรียก
Vulnerable adults ผูใหญที่อยูในสภาวะเปราะบาง
174 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
คณะผูจัดทํา
1. คุณพอเจริญ วองประชานุกูล
2. คุณพอสมชัย พิทยาพงศพร
3. คุณพอธีรพล กอบวิทยากุล
4. คุณพอเชษฐา ไชยเดช
5. คุณพอเกรียงชัย ตรีมรรคา
6. คุณพอไตรรงค มุลตรี
7. คุณพอวีรศักดิ์ ยงศรีปณิธาน
8. คุณพอสลัน วองไว
9. คุณพอวิทยา เลิศทนงศักดิ์

ที่ปรึกษา
1. คุณพอเปโตร อูรบานี
2. คุณพอมิเกล กาไรซาบาล เอส. เจ.
3. คุณพอชีวิน สุวดินทรกูร
4. คุณพอชาติชาย พงษศิริ
5. คุณพอสันติ ปตินิตยนิรันดร
The Gift of the Priestly Vocation... 175
บทภาวนาเพื่อกระแสเรียก
(โดยพระสันตะปาปาฟรังซิส)
ขาแตพระเจาแหงการเก็บเกี่ยว
โปรดอวยพรบรรดาเยาวชนดวยพระคุณความกลาหาญที่จะตอบสนองตอกระแสเรียก
ของพระองค โปรดเปดหัวใจพวกเขาสูอุดมการณและกิจการที่ยิ่งใหญ
โปรดดลใจบรรดาศิษยหนุม สาวของพระองค ใหรกั และแบงปนระหวางกัน เพือ่ กระแสเรียก
จะไดงอกงามในผืนดินดี เปนประชากรที่ซื่อสัตยของพระองค
โปรดปลูกฝงความมั่นใจและทําใหพระหรรษทานซึมซาบในชีวิตนักบวช การประกอบ
พันธกิจภายในเขตวัด และครอบครัว เพื่อเชื้อเชิญผูอื่นใหเขามาดําเนินชีวิตผูถวายตน
ซึ่งเปนหนทางอันทรงเกียรติดวยความกลาหาญ
โปรดรวบรวมลูกทุกคนใหเปนหนึ่งเดียวกับพระเยซูเจา โดยอาศัยการอธิษฐานภาวนา
และศีลศักดิ์สิทธิ์ เพื่อที่ลูกจะไดรวมมื
 อกับพระองคในการกอสรางพระอาณาจักรแหง
พระเมตตาและความจริง พระอาณาจักรแหงความยุติธรรมและสันติสุขดวยเทอญ
อาแมน
176 ...พระพรแหงกระแสเรียกพระสงฆ
บทภาวนาเพื่อขอบพระคุณและขอพรพระเจา
เพื่อการกาวสูสุวรรณสมโภช (ค.ศ. 2022) บานเณรแสงธรรม

ขาแตพระบิดาเจาสวรรค พระองคทรงประทานพระบุตรสุดที่รักของพระองค
ใหเปนแสงสวางสองโลก และเปนแสงธรรมนําทางใหมนุษยแลเห็น รัก รูจัก และมุงหา
พระองค เพื่อรับความรอดพน
พวกลูกขอสรรเสริญพระองค ที่ไดประทานพระพรแหงกระแสเรียกและการ
อบรมเพื่อเปนพระสงฆ ขอขอบพระคุณพระองคที่โปรดใหพระศาสนจักรคาทอลิกแหง
ประเทศไทยมี “บานเณร” นาม “แสงธรรม” เปนดังครรภมารดาของพระศาสนจักรที่
ใหกําเนิดพระสงฆจนถึงปจจุบัน
โอกาสที่บานเณรแสงธรรมกําลังกาวสูการเฉลิมฉลอง 50 ปแหงพระพร
โปรดทวีความเชื่อ ความรัก ความหวัง สันติสุข ความกระตือรือรน และการอุทิศตน
แกบรรดาสามเณร คณะผูใหการอบรม และทุก ๆ คน เพื่อรัก สงเสริม ภาวนา และ
สนับสนุนกระแสเรียก โปรดใหบานแหงนี้เปนดังบานแหงนาซาแร็ธ เพื่อใหกําเนิดพระ
สงฆตามแบบอยางพระคริสตเจา ประกาศก สงฆ และผูอภิบาล
ขาแตพระเจา โปรดใหสามเณรเติบโต เขมแข็งดุจพระคริสตเจาผูเดินทาง
สูนครเยรูซาเล็ม เพื่อเปนเครื่องบูชา ผูถวายบูชา และสงฆนิรันดร ใหทุกคนซื่อสัตย
มั่นคงในการเปนพระพร เปนแสงแหงธรรม สองแสงของพระคริสตเจา เพื่อรับใชพระ
ศาสนจักรและสังคม
พวกลูกวอนขอ ทั้งนี้ อาศัยพระบารมีพระเยซูคริสตเจาองคแสงสวางนิรันดร
ผูทรงครองราชยรวมกับพระองค และพระจิต ตลอดนิรันดร อาแมน

You might also like