You are on page 1of 3

ใบงาน กิจกรรม “ความรู้จากหนังสือ รอให้ ถึงอนุบาลก็สายเสี ยแล้ ว โดยมาซารุ อิบุกะ” 

10 คะแนน
ชื่อ-สกุล นางสาว สุ รางคนา ไชยแดง รหัส 3 ตัวหลัง 005
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

จงสรุ ปเนือ้ หาของหัวข้ อเรื่องที่ได้ รับมอบหมาย 3 เรื่องโดยเขียนเป็ นความเรียงทางวิชาการ  สามารถ


ออกแบบการเขียนนำเสนอได้ ตามที่ต้องการ  โดยระบุหัวข้ อที่รับผิดชอบก่ อนใส่ เนือ้ หา

13.เด็กเล็กจดจำทุกสิ่งที่ตนสนใจ
เด็กก็มีพลังสมองในการรับรู้สิ่งต่างๆได้ดีมาก แน่นอนว่าเด็กอ่อนเพียงจดจำในสิ่ งที่ถูกป้ อนให้
เหมือนกับหุ่นยนต์ เด็กยังไม่สามารถเลือกข้อมูลหรื อทำความเข้าใจกับสิ่ งเหล่านั้นได้ เพียงแต่รับรู ้ปลาย
ประสาทส่ วนสมองและเด็กจะเริ่ มทำอะไรด้วยตนเอง ร่ างกายจะสร้างเซลล์สมองเพิ่มขึ้น ดังนั้นพ่อแม่ควร
ให้ความรู ้จากความสนใจของเด็ก ถ้าเด็กสนใจ จะมีความสามารถในการรับรู ้ได้มากขึ้ น จดจำเรื่ องราวในสิ่ ง
สำคัญต่างๆ มีความกระตือรื อร้น ความคิดสร้างสรรค์ เมื่อเขาโตขึ้นมา จะมีบทบาทสำคัญมากต่อการทำงาน
ของสมองและสร้างอุปนิสยั ที่ดี
พ่อแม่บางคน มักจะอ่านหนังสื อนิทานหรื อเล่านิทานให้ลูกฟังหลายๆครั้ง ซึ่ งจะทำให้เด็กจำได้ท้ งั
เรื่ อง แล้วถ้าคุณพ่อคุณแม่เผลออ่านผิดลูกจะเกิดการทักท้วงทันที เพราะเด็กเล็กจะจดจำนิทานได้ท้ งั เรื่ อง
อย่างถูกต้อง โดยที่เขาไม่เข้าใจเนื้ อเรื่ องเลย ต่อมาเด็กจะติดใจนิทานเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งและอยากอ่านเองบ้าง
แต่เด็กอ่านหนังสื อไม่ออก แต่สงั เกตภาพและเปรี ยบเทียบความทรงจำในหนังสื อได้อย่างคล่องแคล่ว ใน
ระยะนี้เด็กมักสนใจถามคำถามคำนี้อ่านว่าอย่างไรและจะถามบ่อยๆแสดงว่าเด็กมีความสนใจเป็ นอย่างมาก
มีคุณแม่ท่านหนึ่งให้ลูกจดจำอักษรภาษาจีนที่ยากได้อย่างสบาย และช่วยให้ลูกเกิดความ
กระตือรื อร้นอยากอ่านหนังสื อมากขึ้น เนื่องจากภาษาญี่ปุ่นมีการใช้อกั ษรจีน ซึ่ งอักษรจะมีความซับซ้อน
เป็ นอย่างมากร่ วมกับอักษรง่ายๆ จากบทข้างต้นแสดงว่าเด็กเล็กจำอักษรยากๆอย่างอักษรจีนได้ง่ายกว่าอักษร
อย่างอักษรญี่ปนุ่ มีคุณแม่ท่าหนึ่งไปหาหนังสื อภาพสมัยก่อนที่เขียนบรรยายด้วยอักษรจีน โดยมีอกั ษรญี่ปุ่น
กำกับไว้ขา้ งๆจากร้านหนังสื อเก่าและอ่านเล่มนั้นให้ลูกฟัง พร้อมให้ดูไปด้วย เมื่ออ่านซ้ำหลายๆครั้ง เด็ก
สามารถจำเรื่ องทั้งหมด พอเด็กอยากจะอ่านเองบ้างก็สนใจที่จะอ่านหนังสื อจีนก่อน คุณแม่กส็ อนคำที่ลูก
ถาม ไม่นานนักเด็กก็สามารถชี้อกั ษรจีนที่จ ำในหนังสื อพิมพ์ที่คุณพ่อกำลังอ่านอยู่ สร้างความตื่นเต้นให้กบั
ครอบครัว และเห็นได้วา่ เด็กสามารถอ่านหนังสื อพิมพ์ได้เกือบหมด ตั้งแต่ก่อนเข้าโรงเรี ยนเสี ยอีก
ดังนั้น เด็กอายุราว 3 ขวบ สามารถจดจำอะไรหลายๆอย่างจากเรื่ องที่สนใจ
ใบงาน กิจกรรม “ความรู้จากหนังสือ รอให้ ถึงอนุบาลก็สายเสี ยแล้ ว โดยมาซารุ อิบุกะ”  10 คะแนน
ชื่อ-สกุล นางสาว สุ รางคนา ไชยแดง รหัส 3 ตัวหลัง 005

14.มีหลายสิ่ งที่จำเป็ นต้ องเรี ยนรู้ ในวัยเด็กเล็กมิฉะนั้นจะเรี ยนรู้ ไม่ ได้ ดไี ปตลอดชี พ
มีบุคคลท่านหนึ่งมีโอกาสที่ตอ้ งพูดภาษาอังกฤษบ่อยๆ เวลาพูดภาษาอังกฤษมักปวดหัวกับเรื่ องที่
ออกเสี ยงให้ถูกต้อง ที่จริ งถึงจะพูดภาษาอังกฤษด้วยสำเนียงญี่ปุ่น อีกฝ่ ายหนึ่งก็พอจะเข้าใจได้ แต่บางครั้ง
พูดอะไรออกไปอีกฝ่ ายหนึ่งพยายามทำท่าฟังให้เข้าใจบางครั้งแม้ขนาดต้องเขียนตัวสะกดให้อีกฝ่ ายเข้าใจ
เมื่อมีเหตุการณ์เช่นนี้ เขารู้สึกๆไม่ชอบภาษาอังกฤษสำเนียงญี่ปนุ่
แต่มีเด็กชายคนหนึ่งอายุ 1 ขวบ 2 เดือน ที่อาศัยอยูข่ า้ งบ้าน เขาออกเสี ยงภาษาอังกฤษได้ชดั เจนแม้แต่
เสี ยง R และ L ซึ่ งคนญี่ปุ่นแยกได้ยาก แต่เขาก็ออกเสี ยงได้เก่งมาก ความแตกต่างนี้เกิดจากการเรี ยนภาษา
อังกฤษในชั้นมัธยมต้น แต่เด็กคนนี้ฟังเสี ยงภาษาอังกฤษผ่านแผ่นเสี ยงตั้งแต่อายุไม่ถึงขวบและขณะที่เขาเพิ่ง
เริ่ มพูดภาษาญี่ปนุ่ เขาก็เรี ยนสนทนากับชาวอเมริ กนั แล้ว
แนวทางหนึ่งในการรับรู้ เริ่ มจากภาษาญี่ปนก่ ุ่ อนแล้วเรี ยนภาษาอื่นที่แตกต่างกันออกไปเพิ่มเติม ซึ่ ง
เป็ นเรื่ องที่ยากมาก ดังนั้นการฝึ กเรี ยนรู้ของเด็กอายุไม่ถึง 3 ขวบ กำลังสร้างการรับรู ้ ภาษาญี่ปนควบคู ุ่ ่ภาษา
อื่นก็จะเป็ นเรื่ องที่ง่าย ฉะนั้นเด็กก่อนอายุ 3 ขวบสามารถพูดภาษาอื่นๆไม่วา่ จะเป็ นภาษาอื่นๆเหมือนกับ
ภาษาต้นฉบับเดิมโดยไม่ยงุ่ ยาก และถ้าหากปล่อยเวลาช่วงวัย 3 ขวบไว้นาน จะสามารถรับรู ้ได้ง่ายดายก็จะ
กลายเป็ นสิ่ งที่ยากสำหรับอายุมากกว่า แม้จะใช้ความพยายามมากเท่าไหร่ ผลที่ได้กลับน้อยกว่าทั้ง
เสี ยง R และ L ก็จะแยกไม่ออก และคงพูดภาษาอังกฤษได้ไม่ดี
นอกจากภาษาต่างประเทศแล้วยังมีอีกหลายอย่างที่ตอ้ งเรี ยนรู ้ในระยะปฐมวัย มิฉะนั้นจะสายเกินไป
เช่น การฝึ กประสาทหูเพื่อแยกเสี ยง การฝึ กพูดประสาทกล้ามเนื้ อ ในการเคลื่อนไหวซึ่ งถูกกำหนดภายใน
อายุ 3 ขวบ และมีความรู้สึกทางสุ นทรี ยภาพเข้ามาด้วย
ทุกปี เมื่อถึงภาคฤดูร้อน มักมีชาวต่างชาติพร้อมด้วยครอบครัวจำนวนมากที่โรงเรี ยนสอนไวโอลิน
ของอาจารย์ ซูซูกิ ในตอนแรกไม่มีใครพูดภาษาญี่ปุ่นได้เลย แต่คนที่พดู ภาษาญี่ปนรั ุ่ บรู ้ได้เร็ วที่สุดใน
ครอบครัว คือ เด็กอายุนอ้ ยๆ ถัดไปคือพวกพี่ๆที่เรี ยนอยูร่ ะดับประถม มัธยม ส่ วนคนที่พดู ไม่เก่งที่สุดคือคุณ
พ่อคุณแม่ แม้อยูใ่ นญี่ปุ่น 1 เดือน พวกเด็กๆสามารถพูดภาษาญี่ปนได้ ุ่ อย่างยอกเยีย่ ม คุณพ่อคุณแม่ จะไป
ไหนต้องอาศัยเด็กๆเป็ นล่ามให้

ใบงาน กิจกรรม “ความรู้จากหนังสือ รอให้ ถึงอนุบาลก็สายเสี ยแล้ ว โดยมาซารุ อิบุกะ”  10 คะแนน


ชื่อ-สกุล นางสาว สุ รางคนา ไชยแดง รหัส 3 ตัวหลัง 005

15.เด็กหูพก
ิ ารถ้ าได้ รับการสอนในระยะปฐมวัยอาจจะได้ ยนิ เสี ยง

จากบทความก่อนหน้านี้ บุคคลท่านหนึ่งได้พดู ถึงเรื่ องอันน่าทึ่งของศักยภาพของเด็กเล็กและความ


สำคัญของการศึกษา ในระยะปฐมวัยในมุมมองต่างๆ แต่ในโลกนี้ยงั มีเด็กพิการทางกาย เด็กปั ญญาอ่อน เด็ก
หูหนวกเป็ นใบ้ ซึ่ งพิการแต่ก ำเนิด ดังนั้นการศึกษาในปฐมวัย มีความสำคัญแก่เด็กพวกนี้เช่นกันที่จริ งเด็ก
พิการเหล่านี้ที่พอ่ แม่ควรจะค้นหาจุดบกพร่ องของเด็กโดยเร็ วและให้การศึกษาที่เหมาะสม
ดังตัวอย่างเด็กพิการที่สามารถพูดคุยในเรื่ องการใช้ชีวิตประจำวันด้วยความพยายามของพ่อแม่
ทำให้เกิดกำลังใจและคิดว่าคือตัวอย่างที่ดีของการศึกษาปฐมวัย
อัตโตะจัง อายุ 6 ขวบ ตอนคลอดออกมาเป็ นเด็กที่แข็งแรงมาก เมื่อถึงระยะหนึ่งคุณพ่อคุณแม่เริ่ ม
สงสัยว่า “หูของลูกผิดปกติหรื อเปล่า” เมื่ออายุ 1 ขวบเศษมีเด็กบางคนพูดได้ชา้ คุณพ่อคุณแม่จึงไม่ห่วงเรื่ อง
นี้เพราะคิดว่าลูกอาจเป็ นเด็กพูดช้า แต่คุณพ่อคุณแม่เห็นอัตโตะจัง ในวัยขวบครึ่ ง ยังไม่พดู อะไรสักคำจึงพา
ไปโรงพยาบาล ผลตรวจออกมาปรากฏว่า หูของอัตโตะจังเกือบไม่ได้ยนิ เสี ยง
คุณพ่อคุณแม่กลุม้ ใจสอบถามใครต่อใครจนพบกับคุณ ทาเคชิ มัทสี ชาวา ซึ่ งเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการ
สอนเด็กหูพิการในระยะปฐมวัย จึงเริ่ มสอนอัตโตะจัง ฝึ กการฟังด้วยเครื่ องฟัง และฝึ กให้จ ำชื่อตนเอง ฝึ กให้
เข้าใจความหมายเพิ่มมากขึ้น จนบัดนี้เขาสามารถพูดคุยกับพ่อแม่โดยไม่ติดขัด
คุณทาเคชิ มัทสี ชาวา ได้บนั ทึกว่า “ผูท้ ี่สามารถค้นพบว่าเด็กคนนี้ปกติหรื อผิดปกติได้เร็ วที่สุดคือพ่อ
กับแม่ของเด็กนัน่ เอง” เมื่อเด็กอายุ 1 สัปดาห์ เวลาได้ยนิ เสี ยงดังเขาจะกระตุกแขนขาของเขา เมื่ออายุเกิน 1
เดือน หรื อ 2 เดือน เด็กจะจำเสี ยงแม่ได้ เมื่ออายุ 4 เดือน เด็กจะรู ้จกั ชื่อตนเอง
ถ้าเด็กอายุใกล้ 1 ขวบ ไม่แสดงกิริยาสนใจต่อเสี ยงเรี ยกชื่อของเขากับเสี ยงรอบข้างก็สามารถเดาได้
ว่าประสาทหูของเขาผิดปกติ เด็กทัว่ ไปจะจดจำภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้ภายในอายุ 3 ขวบ ฉะนั้นช่วงนี้
ที่เด็กหูพิการสมควรจะได้รับการฝึ กที่สุด พ่อแม่ไม่ควรคิดว่าลูกหูพิการจึงไม่จ ำเป็ นต้องฟังเสี ยงแม้แต่เด็กหู
หนวกสนิท ก็ไม่ใช่วา่ จะได้ยนิ อะไรเลย ถ้าให้เขาฟังซ้ำๆ เขาจะมีความสามารถฟังเสี ยงนี้ เพิม่ มากขึ้น แม้แต่
เด็กหูพิการ ถ้าพ่อแม่พยายามให้เขาได้รับการฝึ ก เด็กจะพัฒนาความสามารถของเขาได้ดี นี้ คือ พื้นฐานของ
การศึกษาปฐมวัย

You might also like