You are on page 1of 10

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

การงานอาชีพ ป.๔
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผูเรียบเรียง : นางสุนิสา สุขวัฒนา
ผูเรียบเรียง
: นางสุนิสา สุขวัฒนา นางธัญวีร์ วัฒนากลาง
นางธัญวีร์ วัฒนากลาง
ผูตรวจ : นางปฤษณา แผตระกูล
ผูตรวจ : นางปฤษณา แผตระกูล นางสาวชลิตา วิทย์วงษ์กังวาฬ
นางสาวชลิตา วิทย์วงษ์กังวาฬ
นางสาวอุไร ยาพิมาย
นางสาวอุไร ยาพิมาย
บรรณาธิการ : ดร.สุนีย์ วิทยสัมพันธ์
บรรณาธิการ : ดร.สุนีย์ วิทยสัมพันธ์
พิมพครั้งที่ ๑ : ธันวาคม ๒๕๖๓
จำานวน : ๓,๐๐๐ เลม
ผลิตโดย : บริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จำากัด
นางสาวปญจนี วิทยสัมพันธ์
ผลิตและจัดจำาหนาย ๑๐๑/๑๔ หมูบานมณียา ๓ ซอย ๑๐ ถนนรัตนาธิเบศร์
บริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จำากัด
ตำาบลไทรมา อำาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐
นางสาวปญจนี วิทยสัมพันธ์
๑๐๑/๑๔ หมูบานมณียา ๓ ซอย ๑๐ โทร. ๐–๒๙๒๔–๖๓๑๖, ๐๘–๑๔๔๕–๙๙๖๘, ๐๘–๖๓๐๐–๔๑๑๓
ถนนรัตนาธิเบศร์ ตำาบลไทรมา อำาเภอเมือง โทรสาร ๐–๒๕๙๔–๓๙๒๓
จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ E–mail : editor@muangthaibook.com
โทร. ๐–๒๙๒๔–๖๓๑๖ Website : www.muangthaibook.com
๐๘–๑๔๔๕–๙๙๖๘ : ๙๗๘–๖๑๖–๒๘๑–๙๒๒–๓
๐๘–๖๓๐๐–๔๑๑๓ ราคา : ๖๐ บาท
โทรสาร ๐–๒๕๙๔–๓๙๒๓
E–mail : editor@muangthaibook.com
Website : www.muangthaibook.com
“หนังสือเลมนี้เปนลิขสิทธิ์ของ บริษัท ศูนยหนังสือ เมืองไทย จำากัด หามทำาซำ้า คัดลอก เลียนแบบ
ทำาสำาเนาดัดแปลง หรือวิธีการอื่นใดไปเผยแพร ไมวาจะเปนสวนหนึ่งสวนใดของหนังสือเลมนี้
นอกจากจะไดรับการยินยอมเปนลายลักษณอักษรจาก บริษัท ศูนยหนังสือ เมืองไทย จำากัด”
สารบัญ
หนา
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพ ป.๔ เลมนี้ เรียบเรียงขึ้นสำาหรับใชประกอบ
การเรียนการสอน ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ ซึ่งมีเนื้อหาตรงตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด
หนวยการเรียนรูที่ ๑ การจัดเก็บดูแลของใชสวนตัว ๑
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของสำานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๑. ความหมายของ “ของใชสวนตัว” ๒
เนื้อหาในหนังสือมีทั้งหมด ๖ หนวยการเรียนรู ประกอบดวย (๑) การจัดเก็บดูแลของใช ๒. การดูแลรักษาของใชสวนตัว ๓
สวนตัว (๒) เด็กดีมีมารยาท (๓) การปลูกไมดอกไมประดับ (๔) การซอมแซมเครื่องมือเครื่องใช ๓. การจัดเก็บโต๊ะเขียนหนังสือ ๑๑
(๕) งานประดิษฐ์ของใชของตกแตง และ (๖) อาชีพนารู พรอมทั้งกิจกรรมการเรียนรู เพื่อ ๔. การดูแลจัดเก็บกระเป๋านักเรียน ๑๒
พัฒนากระบวนการคิด เสริมทักษะความรูความเขาใจ และสามารถนำาไปใชในการดำาเนินชีวิต
๕. การจัดเก็บเอกสารสวนตัว ๑๔
และกระบวนการทำางานไดเปนอยางดี พรอมทั้งสามารถดูสื่อวีดิทัศน์สรุปสาระสำาคัญของหนวย
การเรียนรูแตละหนวย โดยสแกนคิวอาร์โคดและมีแบบทดสอบประเมินตนเองแบบออนไลน์ กิจกรรมหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๖
ฝายวิชาการ ศูนย์หนังสือ เมืองไทย และผูเรียบเรียง หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียน
รายวิชาพื้น ฐาน การงานอาชีพ ป.๔ เลมนี้ จะเปนสื่อการเรียนการสอนที่ใหความรู สงเสริม หนวยการเรียนรูที่ ๒ เด็กดีมีมารยาท ๑๙
ใหผู เรียนมีทักษะกระบวนการคิด การแกปญหา การตัดสินใจ ใหเกิดประโยชน์แกผูเรียน
ทั้งนี้ หากมีขอผิดพลาดประการใด ฝายวิชาการ ศูนย์หนังสือ เมืองไทย และผูเรียบเรียงพรอม ๑. ความหมายของมารยาท ๒๐
นอมรับคำาติชม และกรุณาแจงใหสำานักพิมพ์ทราบ เพื่อดำาเนินการปรับปรุงในโอกาสตอไป ๒. มารยาทที่ควรปฏิบัติ ๒๑
๓. มารยาทในการรับประทานอาหาร ๒๔
๔. มารยาทในการใชหองเรียน ๒๘
นางสุนิสา สุขวัฒนา ๕. มารยาทในการใชหองสมุด ๒๙
นางธัญวีร์ วัฒนากลาง ๖. มารยาทในการทำางานรวมกับผูอื่น ๓๐
และ ๗. มารยาทในที่สาธารณะ ๓๐
ฝายวิชาการ ศูนย์หนังสือ เมืองไทย ๘. มารยาทในการใชหองนำ้า ๓๑
กิจกรรมหนวยการเรียนรูที่ ๒ ๓๓
หนา หนา

หนวยการเรียนรูที่ ๓ การปลูกไมดอกไมประดับ หนวยการเรียนรูที่ ๕ งานประดิษฐของใชของตกแตง ๗๗


๓๕
๑. ความหมายและความสำาคัญของงานประดิษฐ์ ๗๘
๑. ความหมายและประเภทของไมดอกไมประดับ ๓๖
๒. วัสดุที่ใชในงานประดิษฐ์ ๗๙
๒. การใชเครื่องมือในงานเกษตรอยางปลอดภัย ๔๐ ๓. อุปกรณ์ที่ใชในงานประดิษฐ์ ๘๐
๓. กระบวนการปลูกไมดอกไมประดับ ๔๐
๔. กระบวนการทำางานประดิษฐ์ ๘๐
๔. การปลูกไมดอก ๔๑ ๕. หลักการออกแบบงานประดิษฐ์ ๘๐
๕. การปลูกไมประดับ ๔๖ ๖. ลักษณะของงานประดิษฐ์ ๘๑
กิจกรรมหนวยการเรียนรูที่ ๓ ๕๑
๗. งานประดิษฐ์จากใบตอง ๘๒
๘. งานประดิษฐ์จากกระดาษ ๘๘
กิจกรรมหนวยการเรียนรูที่ ๕ ๙๕
หนวยการเรียนรูที่ ๔ การซอมแซมเครื่องมือเครื่องใช ๕๓
๑. ความหมายและประโยชน์ของงานชาง ๕๔
๒. เครื่องมือสำาหรับงานชาง ๕๖ หนวยการเรียนรูที่ ๖ อาชีพนารู ๙๗
๓. ความสำาคัญของการซอมแซมเครื่องมือเครื่องใช ๖๐ ๑. ความหมายและความสำาคัญของอาชีพ ๙๘
๔. ขั้นตอนการซอมแซมเครื่องมือเครื่องใช ๖๐ ๒. ประเภทและลักษณะของอาชีพ ๙๙
๕. ความปลอดภัยในการทำางาน ๖๑ กิจกรรมหนวยการเรียนรูที่ ๖ ๑๐๘
๖. เทคนิคในการซอมแซมอยางงาย ๆ ๖๒
๗. การดูแลเครื่องใชไฟฟาอยางงาย ๆ ๖๒
๘. ตัวอยางการซอมแซมเครื่องมือเครื่องใชภายในบาน ๖๖ บรรณานุกรม ๑๑๐
กิจกรรมหนวยการเรียนรูที่ ๔ ๗๕
การงานอาชีพ ป.4 การงานอาชีพ ป.4

การดู แ ลรัก ษาของใชส วนตั ว เราจะดูแลของใชสวนตัว


สาระที่ ๑ ถือ เป นความรั บผิด ชอบอยางหนึ่ ง ที่เ รา ใหมีอายุการใชงาน
ควรท�าดวยตัวเอง ซึ่งของใชแตละชนิดจะมี ยาวนานไดอยางไร
การด�ารงชีวิตและครอบครัว
วิธีการดูแลรักษาแตกตางกัน เชน เสื้อผา
มาตรฐาน ง ๑.๑
เครื่องแตงกาย กระเป๋านักเรียน อุปกรณ์การเรียน เปนตน นอกจากนี้
เขาใจการท�างาน มีความคิดสรางสรรค์ มีทักษะกระบวนการท� างาน ทักษะการจัดการ ทักษะ หากของใชสวนตัวช�ารุด และสามารถซอมแซมเองได ก็นบั วาเปนการใช
กระบวนการแกปญหา ทักษะการท�างานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคณ ุ ธรรม และลักษณะนิสัย
ในการท�างาน มีจิตส�านึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อการด�ารงชีวิตและครอบครัว
เวลาวางใหเกิดประโยชน์ อีกทั้งยังชวยประหยัดคาใชจายและประหยัดทรัพยากรไดดวย

ตัวชี้วัด ๑. ความหมายของ “ของใชสวนตัว”


ง ๑.๑ ป.๔/๑ อธิบายเหตุผลในการท�างานใหบรรลุเปาหมาย
ง ๑.๑ ป.๔/๒ ท�างานบรรลุเปาหมายที่วางไวอยางเปนขั้นตอนดวยความขยัน อดทน รับผิดชอบและ ของใชสวนตัว หมายถึง สิ่งของเครื่องใชเฉพาะบุคคลที่ไมใชรวมกับผูอื่น จึงควร
ซื่อสัตย์
ง ๑.๑ ป.๔/๔ ใชพลังงานและทรัพยากรในการท�างานอยางประหยัดและคุมคา ดูแลรักษาความสะอาดใหถูกวิธี เพื่อปองกันโรคติดตอตาง ๆ และควรจัดเก็บใหเปน
ระเบียบเรียบรอย เพื่อความสะดวกในการใชงาน
ผังสาระการเรียนรู
ความหมายของ “ของใชสวนตัว” ของพวกเรา ไดแก
ของใชสวนตัว
การจัดเก็บเอกสารสวนตัว การจัดเก็บดูแลของใชสวนตัว การดูแลรักษาของใชสวนตัว

การดูแลจัดเก็บกระเป๋านักเรียน การจัดเก็บโต๊ะเขียนหนังสือ

สาระส�าคัญ
ของใชสวนตัวถือเปนสิ่งของเฉพาะตัวบุคคล ที่ไมควรใชรวมกับผูอื่น เพราะอาจท�าใหติดเชื้อโรคได เชน
แปรงสีฟน ผาเช็ดตัว ผาเช็ดหนา เสื้อผาและของใชตาง ๆ ซึ่งของสวนตัวเหลานี้จะตองมีการดูแล ท�าความ
สะอาด และจัดเก็บ รักษาอยางถูกวิธี เปนระเบียบ เพื่อใหสะดวกตอการน�ามาใชงาน
การงานอาชีพ ป.4 4 การงานอาชีพ ป.๔

การดูแลจัดเก็บของใชทุกชนิด เปนการท�างานที่ตองท�าอยางมีเปาหมาย ดังนั้น – เก็ บแปรงสีฟ นในแนวตั้ง โดยเสียบใหดานขนแปรงอยู ขางบน


จึงควรมี กระบวนการท�างานที่ชัดเจน และลงมือท�าดวยความตั้งใจเพื่อใหงานส�าเร็จ เสมอ
ตามขั้นตอนดังนี้ – เก็บแปรงสีฟนในที่ที่อากาศถายเทสะดวก และใหอยูหางจาก
โถสวมใหมากที่สุด
การวางแผน คือ การก�าหนดรายละเอียดตาง ๆ ของกระบวนการท�างาน
(๑) ไวลวงหนา ขอแนะน�า ไมควรน�าแปรงสีฟ นของตนเองสัมผัส กับของคนอื่น และ
เก็บไวในที่ที่สะอาด มีการระบายอากาศที่ดี และเปลี่ยนแปรงสีฟนทุก ๓–๔ เดือน
การปฏิบัติงานตามแผน คือ การลงมือปฏิบัตงิ านตามแผนที่ไดวางไว อยาง
(๒) ตั้งใจและอดทน เพื่อใหงานส�าเร็จ
(๒) ยาสีฟ น หลัง การใชงานควรจะปดใหสนิท ทุกครั้ง หากมี
ประเมินผลการท�างาน คือ การตรวจสอบผลจากการปฏิบัติงานวาส�าเร็จ
(๓) ตรงตามเปาหมายหรือไม หากมีขอบกพรองจะไดปรับปรุงแกไขทันที
สิ่งสกปรกเกาะติด ใหลางดวยน�้าเปลาใหสะอาด แลวเช็ดใหแหง
จากนั้นน�ามาจัดเก็บไวในกลองใกล ๆ กับแปรงสีพัน

๒. การดูแลรักษาของใชสวนตัว
(๓) ผาเช็ดหนา เมื่ อใชแลวไมควร
ของใชสวนตัวมีหลายประเภท เราจึงควรเรียนรูวิธีดแู ลรักษาความสะอาดใหถูก ใชซ�า้ ตองเปลี่ยนทุกวัน การซักท�าความสะอาด
สุขลักษณะ จัดเก็บอยางเปนระเบียบ เพื่อความสะดวกเมื่อตองการน�ามาใช สามารถเก็บ รวบรวมแลวน� า ไปซั กพรอมกัน
ทีเ ดีย วได เปนการประหยัดน�้ าและพลั งงาน
๒.๑ การดูแลรักษาของใชสวนตัว สามารถปฏิบัติไดดังนี้
ไปดวย
(๑) แปรงสีฟน เปนอุปกรณ์ที่ใชท�าความสะอาด
ฟนทุกวัน การดูแลท�าความสะอาดแปรงสีฟนจึงเปนสิ่งส�าคัญ (๔) ผาเช็ด ตัว เมื่อใชผาเช็ดตัวเสร็จ แลว
เพื่อไมใหเปนแหลงสะสมเชื้อโรค ดังนั้น จึงควรหมั่นดูแลดังนี้ ตองน�าไปผึ่งแดดหรือผึ่งลมใหแหงทุกครั้ง เพื่อ
– ล างท� า ความสะอาดแปรงสี ฟ นหลั ง ลดความอับชื้น ปองกันแบคทีเรียและเชื้อรา
แปรงฟนทุกครั้งดวยน�า้ สะอาด จากนั้นใหสะบัดน�้าออกกอน และน�าไปซักอยางนอยสัปดาห์ละ ๑–๒ ครั้ง
จะน�าเขาเก็บในที่จัดเก็บ
การงานอาชีพ ป.๔ การงานอาชีพ ป.๔

(๕) หวี หวีที่เราใชอยูเปนประจ�า (๗) หมอน จะตองมีปลอกหมอน


ควรดูแลท�าความสะอาด เพื่อลดการสะสมของ หอหุ ม โดยน� า ปลอกหมอนไปซัก ท� าความ
แบคทีเรีย ฝุน คราบมัน และเสนผมที่ขาดรวง สะอาด อยางนอยเดือนละ ๒–๓ ครั้ง และ
โดยขั้นตอนการท�าความสะอาดมีดังนี้ น�าไปผึ่งแดดอยางนอยสัปดาห์ล ะ ๑ ครั้ง
– จัดเตรียมกะละมัง แปรงสีฟน เพื่อปองกันการเกิดเชื้อรา
ที่ไ มใชแลว แชมพูส ระผม ไมปลายแหลม
ผาขนหนู และน�า้ เปลา (๘) ผาหม หลังจากตื่นนอนใหพับเก็บ ให
– ใชมือหรือไมปลายแหลมดึงเสนผมที่ตดิ อยูออกกอน เรียบรอย ส�าหรับการท�าความสะอาดควรท�า
– ใสน�้า กับ แชมพูลงในกะละมัง คนแชมพูใ หละลายแลวน�าหวี อยางนอยเดือนละ ๒–๓ ครั้ง โดยน�าไปซัก
ลงไปจุม ใชแปรงสีฟนคอย ๆ ขัดคราบสกปรกออก แตถาเปนหวีซี่หางอาจใชมือ และตากแดด ใหพิจารณาจากลัก ษณะของ
คอย ๆ ถูกไ็ ด ผาหมที่ใช
– เมื่อขัดเสร็จแลว ใหลางดวยน�า้ เปลาใหสะอาด ใชผาขนหนูซับน�า้ (๙) ที่นอน หลังจากตื่นนอน
และน�าไปผึ่งลมใหแหง ทุ กเชาควรจัดและดึงเขาที่ ใหเรี ย บรอย
ขอแนะน�า ควรท�าความสะอาดหวีอยางนอยเดือนละ ๑–๒ ครั้ง และระวัง การซักท�าความสะอาด ใหท� าอยางนอย
อยาใหหวีเปยกชื้น เพราะจะเปนแหลงสะสมของเชื้อโรคและกอใหเกิดเชื้อราดวย เดือนละ ๒–๓ ครั้ง

(๖) กิ๊บและยางมัดผม หลังการใช


งานควรดึง เสนผมที่ติด อยู ออกให
หมด หากเปยกน�้าควรซับน�้าใหแหง
จากนั้นน� ามาจัดเก็ บ ลงในกลองให
เรียบรอย
การงานอาชีพ ป.๔ การงานอาชีพ ป.๔

๒.๒ การดูแลเสื้อผาและเครื่องแตงกาย
(๘) ระมัดระวังอยาใหเสื้อผาถูกของมีคมหรือตะปูเกี่ยว
เสื้อผาและเครื่องแตงกาย เปนสิ่งที่ตองสวมใสเพื่อปกปดรางกาย ปองกัน
ความรอน–หนาวจากสภาพอากาศ ปองกันเชื้อโรคและอันตรายจากสิ่งตาง ๆ (๙) ไมควรน�าสิ่งของที่มีนา�้ หนักมากใสในกระเป๋าเสื้อหรือ
กระเป๋ากางเกง เพราะอาจท�าใหเสียรูปทรงและฉีกขาดได
วิธีดูแลรักษาเสื้อผาและเครื่องแตงกาย
(๑๐) หากเสื้อ ผาเริ่ม คับ หรือแนนเกิน ไป ควรแจงให
๑. ขณะสวมใสเสื้อผา ผูปกครองทราบ และไมสวมใสเสื้อผาชุดนั้นตอ เพราะอาจท�าให
(๑) ระมัดระวังในขณะรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่ม เสื้อผาช�ารุดหรือฉีกขาดได
เพื่อไมใหหกเลอะเสื้อผา
(๒) หากมือเปอนหรือปากเลอะ ไมควรใชเสื้อผาเช็ด เลือกสวมใส่เสือผ้าทีพอดีกับตัวเรา ไม่แน่นหรือคับจนเกินไป
เพือให้สะดวกต่อการท�ากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ�าวัน
ควรใชกระดาษช�าระหรือผาเช็ดหนาเช็ด

(๓) หลีกเลี่ยงการวิ่งหรือเดินในที่สกปรกหรือบริเวณที่มีนา�้ ขัง เพราะอาจท�าให ๒. หลังสวมเสื้อผา


น�้ากระเด็นเลอะติดเสื้อผาได
(๑) เสื้อผาที่เลอะอาหารหรือเปอนคราบสกปรกตาง ๆ ใหรีบใชน�า้ สะอาดซักลาง
(๔) ไมน�าปากกา ดินสอ หรือสีตาง ๆ มาขีดเขียนลงบนเสื้อผา รอยเปอนออกทันที เพื่อไมใหคราบฝงแนนลงในเสื้อผา จะไดท�าความสะอาดงายเมื่อ
น�ามาซัก
(๕) ใหส�ารวจดูเกาอี้หรือพื้นกอนนั่งวาสกปรกหรือไม หากจ�าเปนตองนั่งใหหา
(๒) เสื้อผาที่เปอนเหงื่อหรือเปยกน�า้ เมื่อกลับถึงบานใหรีบถอดเสื้อ ผาออกไป
ผาหรือกระดาษช�าระมาเช็ดท�าความสะอาดกอน
ผึ่งลมใหแหงกอน จากนั้นจึงน�าไปใสตะกราเพื่อเตรียมซัก เพื่อปองกันไมใหเกิดเชื้อรา
(๖) กรณีทา� กิจกรรมที่อาจท�าใหเสื้อผาเลอะ เชน งานศิลปะ งานเกษตร หรือ ตาง ๆ
ท�าอาหาร ควรสวมผากันเปอนหรือน�าชุดมาเปลี่ยนเพื่อท�ากิจกรรมนั้น ๆ (๓) การซักท�าความสะอาดเสื้อผา แบงได ๒ วิธี คือ การซักดวยมือและการซัก
(๗) ไมดึงหรือกระชากเสื้อผาขณะเลนกับเพื่อน เพราะอาจท�าใหเสื้อผาฉีกขาดได ดวยเครื่องซักผา ตามขั้นตอนดังนี้

ปองกันไวกอน
การเลนกับเพื่อนไมควรเลนดวยความรุนแรง
การงานอาชีพ ป.๔ การงานอาชีพ ป.๔

การซักด้วยมือ การซักด้วยเครืองซักผ้า ๓. การจัดเก็บเสื้อผา


๑. แยกผาขาวและผาสีออกจากกัน ๑. แยกผาขาวและผาสีออกจากกัน
๒. ใสน�้า และผงซั ก ฟอกในปริ ม าณ ๒. น�าเสื้อผาใสลงในเครื่ องซักผา โดย (๑) เสื้อ ผาที่ไมจ�าเปนตองรีด เชน
ที่พอเหมาะกับเสื้อผาที่จะซัก ไมเกินน�า้ หนักที่เครื่องระบุไว ชุดชั้นใน ผาเช็ดตัว ชุดนอน เสื้อยืด กางเกง
๓. แชผาประมาณ ๑๐–๑๕ นาที แลว ๓. ใสผงซัก ฟอกและน�้า ยาปรั บ ผานุ ม ขาสั้นส�าหรับใสอยูบาน ใหน�ามาพับจัดเก็บ
ท�าการซักโดยใชมือขยี้หรือแปรงขััด ลงในชองตามปริมาณที่พอเหมาะ โดยแยกตามประเภทของเสื้ อผา เพื่ อให
เบา ๆ ในบริเวณที่สกปรก ๔. ท�าการเลือกโปรแกรมการท�างานของ สะดวกตอการน�ามาสวมใส
๔. เมื่อซักเสร็จแลวใหลางดวยน�า้ สะอาด เครื่องซักผาใหเหมาะสมกับผาที่จะซัก
๑–๒ ครั้ง หรือจนกวาฟองจะหมด ๕. เมื่อเครื่องซักผาท�างานเสร็จแลวใหปด
(๒) เสื้ อ ผ าที่ จ� า เปนต องรี ด เช น
แลวบีบน�า้ ออกจากผาเบา ๆ พอให สวิตช์ แลวน�าเสื้อผาออกจากเครื่อง
ชุดนักเรียน ชุดไปเที่ยวนอกบาน กอนจะ
หมาด ๖. สะบัดผาเพื่อ ไมใหเสื้อ ผายับเกินไป น�าเขาไปเก็บในตูควรรีดใหเรียบรอย จาก
๕. สะบัดผาเพื่อไมใหเสื้อผายับเกินไป จากนั้นน�าไปผึ่ง แดดหรื อผึ่ง ลมในที่ นั้นจัดเก็บใหเปนระเบียบ เพื่อไมใหเสื้อผา
จากนั้นน�าไปผึ่งแดดหรือผึ่งลมในที่ อากาศถายเทสะดวก ยับ โดยใสไมแขวนเสื้อแขวนไว และจัดรูป
อากาศถายเทสะดวก ทรงของเสื้อผาใหเขาที่

หากเราดูแลรักษาเสื้อผา
และเครื่องแตงกายใหใชไดนาน
จะชวยประหยัดคาใชจาย
ประหยัดพลังงาน ภายในครอบครัวไดดวยนะ
ไมควรซักผานอยชิ้น เพราะจะท�าใหสิ้นเปลืองน�า้ และไฟฟาเกินความจ�าเปน
การงานอาชีพ ป.๔ การงานอาชีพ ป.๔

๓. การจัดเก็บโตะเขียนหนังสือ ๔. การดูแลจัดเก็บกระเป๋านักเรียน
โต๊ะเขียนหนังสือ ใชส� าหรับท�าการบาน กระเป๋านักเรียน เปนกระเป๋าส�าหรับใสอุปกรณ์การเรียน สมุด
อานหนัง สื อ รวมถึง กิจ กรรมอื่ น ๆ ดัง นั้ น หนังสือ รวมถึงสิ่งของจ�าเปนตาง ๆ เพื่อน�าไปใชในโรงเรียน ดังนั้น จึงตอง
การจัดวางโต๊ะจึงควรเลือกบริเวณที่มีแสงสวาง ดูแลจัดเก็บของใชในกระเป๋าใหถูกวิธี โดยปฏิบัติดังนี้
เพียงพอ อากาศถายเทสะดวก จัดวางสิ่งของ
แยกเปนหมวดหมู เพื่อใหสะดวกตอการใชงาน ๔.๑ จัดหนังสือและสมุดตามตามรางเรียน
และเสริมสรางนิสัยความเปนระเบียบตอตนเอง
จัดหนังสือและสมุดใหตรง วัน
เวลา ๘.๓๐
๙.๓๐
๐๙.๓๐
๑๐.๔๐
๑๐.๔๐
๑๑.๓๐
๑๑.๓๐
๑๒.๒๐
๑๒.๒๐
๑๓.๑๐
๑๓.๑๐
๑๔.๐๐
๑๔.๐๐
๑๔.๒๐
๑๔.๒๐
๑๕.๑๐

ขั้นตอนการปฏิบัติ มีดังนี้ กับ ตารางเรีย นที่โ รงเรีย นก�า หนดให จันทร์ ไทย วิทย์ คณิต สังคม อังกฤษ แนะแนว

อังคาร คณิต ไทย อังกฤษ พละ ศิลปะ


โดยควรจัดเตรียมตั้งแตเนิ่น ๆ และให สังคม

พัก ๒๐ นาที
พักกลางวัน
พุธ สังคม วิทย์ คณิต อังกฤษ ประวัติฯ สุขศึกษา

จั ดเก็บอุป กรณ์เ ครื่อ งเขียน เชน ดินสอ ปากกา ไมบรรทัด ยางลบ ตรวจอุปกรณ์ที่ตองใชในแตละวันอยาง
๑. พฤหัสบดี วิทย์ ไทย การงาน ศิลปะ คอม ลูกเสือ

ไวในกลองหรือภาชนะเพื่อสะดวกในการใชงาน สม�า่ เสมอ ศุกร์ คณิต สังคม อังกฤษ ดนตรี ไทย ชุมนุม

๒. แยกประเภทหนังสือออกเปนหมวดหมู โดยแบงเปน หนังสือเรียน หนังสือ ๔.๒ การจัดหนังสือ


การ์ตูน หนังสือทั่วไป เปนตน
จัดหนังสือใสกระเป๋าควรจัดเรียง
๓. จัดวางหนังสือ โดยวางเลมใหญอยูลางสุดและไลล�าดับจนเลมเล็กอยูบนสุด หนังสือ สมุด และแฟมสะสมงาน โดยใหเลม
และหันดานที่เปนสันหนังสือออกมา เพื่อสะดวกตอการน�าไปใชงาน เล็กที่สุดอยูดานหนาเลมใหญตามล�าดับ หันสัน
จัดพื้นที่วางบนโต๊ะส�าหรับอานและเขียนหนังสือ รวมถึ งกิจ กรรมอื่น ๆ หนังสือไปในทางเดียวกัน
๔.
อยางเพียงพอ
๔.๓ จัดเครื่องเขียน
๕. ไมน�าอาหารและเครื่องดื่มตาง ๆ มารับประทานที่โต๊ะเพราะจะท�าใหมีมด
หรือแมลงมารบกวนได จั ด อุ ป กรณ์ เ ครื่อ งเขีย นตาง ๆ
ไวในกระเป๋าดินสอ และหมั่นท�าความสะอาด
๖. จั ดหาของประดั บ ที่ห าไดงาย ๆ เชน กรอบรู ป ดอกไม มาจัดแตง
ไมใหมี สิ่ง สกปรกหรื อขยะตกคาง เพราะ
เปนการเพิ่มสีสันของโต๊ะใหสวยงาม นาใช
จะกลายเปนแหลงสะสมเชื้อโรค
การงานอาชีพ ป.๔ 14 การงานอาชีพ ป.๔

๔.๔ เตรียมกระเป๋าส�ารอง ๕. การจัดเก็บเอกสารสวนตัว


หากมี ห นั ง สื อ หรื อ สมุ ด มากเกิ น ไป
ใหแยกเลมที่มีขนาดใหญบางสวนแบงใสกระเป๋า เอกสารสวนตัว เปนเอกสารที่มีความส�าคัญ เชน บัตรประจ�าตัวประชาชน บัตร
ส�ารองอีก ๑ ใบ เพื่อ กระจายน�า้ หนักในการแบก ประจ�าตัวนักเรียน บัตรสมาชิกหองสมุด สูติบัตรหรือใบแจงเกิด ส�าเนาทะเบียนบาน
กระเป๋า รวมถึงใบประกาศนียบัตรตาง ๆ

การท�าความสะอาดกระเป๋านักเรียน การจัดเก็บเอกสารสวนตัว หมายถึง การจ�าแนกประเภท รวบรวม และจัดเก็บ


เอกสารอยางมีระเบียบ เพื่อใหสะดวกตอการน�ามาใชงาน
ขั้นตอนที่ ๑
น�าอุปกรณ์การเรียนออกจากกระเป๋า ๕.๑ เอกสารประจ�าตัว
จากนั้นน�าเศษกระดาษและขยะไปทิ้ง เอกสารประจ�าตัว คือ เอกสารที่ระบุขอมูลเกี่ยวกับตัวตนของเรา ซึ่งเอกสาร
บางอยางตองพกติดตัว เชน บัตรประจ�าตัวประชาชน บัตรประจ�าตัวนักเรียน บัตรสมาชิก
รานตาง ๆ จึง ควรจัดเก็บไวในกระเป๋าที่มีชองส� าหรับเสีย บบัตร เพื่อความสะดวก
เมื่อตองการใชงาน

ขั้นตอนที่ ๒ ท�าความสะอาดกระเป๋า ตามขั้นตอนดังนี้ ตัวอยางการจัดเก็บเอกสารประจ�าตัว

กระเป๋าหนังใหใชผาแหงหรือ ผาชุบน�้า กระเป๋ าสะพายที่ เป นผาควรน� า ไปซั ก


บิดหมาด ๆ เช็ดฝุนและคราบสกปรกออก ใหสะอาด จากนั้ นน� า ไปตากแดดหรื อ จัดเก็บเอกสารประจ�าตัวในกระเป๋าใสบัตร
แลวน�าไปผึ่งลมใหแหง ผึ่งลมใหแหง

You might also like