You are on page 1of 24

ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 1

ขŒาวนาโยน
บทเรียนหนองเลิงเป„อย
2 ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 3

สารบัญ
หน้า
นาโยน คือ อะไร? 1
ท�าไมต้องเลือกท�านาโยน? 2
ตัวช่วย...เพิ่มพลัง 3
วิธีการท�านาโยน 6
ลับเฉพาะ...หนองเลิงเป„อย 10
ท�านาโยนแล้ว...ได้อะไร? 16
คิดยังไงกับนาโยน? 18
ขอขอบคุณ...ผู้ใหญ่ใจดี 22
4 ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 5

นาโยน คือ อะไร?


นาโยน หรือ การปลูก
ข้าวแบบโยนกล้า (Parachute)
เป็นการท�านาแบบใหม่ที่เป็นการ
ผสมผสานกันระหว่างนาด�าและนา
หว่านน�า้ ตม เป็นวิธกี ารโยนตุม้ ต้น
กล้าที่เพาะไว้แล้ว ลงในแปลงนา
6 ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย

ท�าไมต้องเลือกท�านาโยน?
สิ่งแรกที่ชาวนาต้องคิดตัดสินใจ
เลือกวิธีท�านาโยน ก็คือ การช่วยลดต้นทุน
การผลิต เมื่อเปรียบเทียบกับการท�านาด�า
แล้ว การท�านาโยนจะช่วยลดต้นทุนการผลิต
เนือ่ งจากใช้ แรงงานน้อยกว่า หรือ ถ้าเปรียบ
เทียบกับนาหว่าน จะสามารถประหยัด ค่า
เมล็ดพันธุ์ข้าว ค่าปุ๋ย ค่ายาก�าจัดศัตรูพืช
การท�านาโยนไม่ยากอย่างทีค่ ดิ เริม่
จากการเพาะกล้านาโยนก็ท�าได้ง่าย เพียงมี
เครือ่ งโรยข้าวช่วยเรา ท�าได้เร็ว ใช้เวลาเพาะ
กล้าไม่นานวันหนึง่ สามารถเตรียมกล้าได้ 5-8
ไร่เพียงใช้แรงงานในครอบครัว 2 คน และเมือ่
ตอนกล้าประมาณ 12-15 วัน ก็สามารถน�า
ไปโยนได้ เวลาโยนกล้าก็ใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมง
และสิ่งที่ส�าคัญ คือ ช่วยในเรื่องสุขภาพ ไม่
เมื่อย ไม่เจ็บเอว เหมือนการท�านาด�า
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 7

ตัวช่วย...เพิ่มพลัง
เครือ่ งโรยข้าว บริษัทเอกชนผลิตเครือ่ งโรย
เมล็ดพันธุข์ า้ ว ส�าหรับเพาะกล้านาด�าด้วยเครือ่ งจักร
แต่ก็สามารถปรับใช้กับการเตรียมกล้านาโยนได้
เพียงน�าดินผสมกับปุย๋ หมัก หรือเมล็ดพันธุ์ใส่ลง
ในกระบะ น�าไปวางบนรางเหล็กที่เรียงถาดเพาะ
ไว้ เมื่อเครื่องโรยข้าวเคลื่อนตัว กลไกเฟ„›องจะ
หมุน ท�าให้ดินหรือเมล็ดพันธุ์ตกลงมาด้านล่าง
ที่มีถาดหลุมรองรับอยู่

ฮอรโมนไข่ เป็นปุย๋ น�า้ ทางใบ ได้มาจากการหมัก


หัวผักกาด มันเทศ ไข่ไก่ ยาคูลท์ กากน�า้ ตาล นม
สด น�า้ ตาลกลูโคส แป้งข้าวหมาก และน�า้ สะอาด
ท�าให้ ได้กรดอินทรียแ์ ละฮอร์โมน ช่วยในการเจริญ
เติบโตของพืช กระตุ้นการแตกตา การออกดอก
การติดผล ลดการหลุดร่วงของผล ฯลฯ
วิธีการใช้ ใช้ฮอร์โมนไข่ 100 มิลลิลิตรต่อน�้า 20
ลิตร ฉีดพ่นบริเวณดอกและใบของพืชในตอนเช้า
8 ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย

เชื้อราไตรโคเดอม่า
ชือ่ วิทยาศาสตร์ Trichoderma Har- อม่า ใช้เชื้อราในช่วงที่มีแดดอ่อน
zianum เป็นเชื้อราชั้นสูง เจริญได้ ในตอนเย็น เก็บรักษาเชือ้ ราในทีร่ ม่
ดีในดิน ซากของสิง่ มีชวี ิต และวัสดุ อุณหภูมปิ กติ เก็บได้ประมาณ 15 วัน
อินทรีย์ เชือ้ ราจะสร้างเส้นใยพันรัด หรือเก็บรักษาในที่เย็น 7-10 องศา
แล้วแทงเข้าสูภ่ ายในเส้นใยโรคพืช จน เซลเซียส เก็บได้นาน 30-45 วัน
ตาย นอกจากนี้ ยังช่วยแย่งอาหาร
และช่วยละลายแร่ธาตุในดินให้อยู่
ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช

วิธกี ารใช้ ส�ำหรับต้นข้าวที่โตแล้ว ใช้


เชื้อรา 1 กิโลกรัมต่อน�้ำ 200 ลิตร
ข้อแนะน�ำ หลีกเลีย่ งการใช้สารเคมี
ก�ำจัดเชื้อราร่วมกับเชื้อราไตรโคเด
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 9

เชื้อราบิวเวอเรีย หรือเชื้อราขาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Beauveria bas-
siana เป็นเชื้อราเข้าท�าลายแมลง
โดยสปอร์ที่ตกบนผิวหนังล�าตัว
แมลง เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะ
สม สปอร์จะงอกเป็นเส้นใยแทง
ทะลุผนังล�าตัวแมลงเข้าสู่เนื้อเยื่อ
ของแมลงโดยอาศัยน�้าย่อยต่างๆ
งอกเข้าสู่ช่องว่างล�าตัวแมลง จะ
ใช้ อ าหารและของเหลวภายใน
แมลงในการเจริญเติบโต แมลง
ที่ถูกท�าลายจะตัวแห้งและตายใน
ที่สุด วิธีการใช้ น�าเชื้อราผสม
น�้า 5 ลิตร คนให้สปอร์หลุดจาก
แหล่งอาหาร กรองด้วยผ้าขาว
บาง น�าสปอร์ผสมกับน�้ายาจับใบ
15 ลิตร คนให้เข้ากัน น�าไปพ่นใน
แปลง ข้อแนะน�า ฉีดพ่นเชื้อรา
ในตอนเย็นที่มีความชื้นสูง
10 ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย

วิธีการท�านาโยน
การอนุบาลกล้า

1. คัดเลือกเมล็ดพันธุข์ า้ ว แช่ในน�า้ สะอาด 24


ชั่วโมง แล้วน�ามาผึ่งลมบนเสื่อหรือมุ้งเขียว
2. เตรียมดิน ร่อนดินและปุ๋ยคอกให้มีขนาด
เท่าๆ กัน ด้วยตะแกรงหรือตะกร้า
3. เตรียมพืน้ ที่ ขนาดประมาณ 10-15 ตาราง
เมตรต่อไร่ ส�าหรับวางถาดเพาะเมล็ดพันธุข์ า้ ว
4. เตรียมเครือ่ งโรยเมล็ดพันธุข์ า้ ว โตะ ขนาด
50x200 เซนติเมตร ถาดหลุม 60-100 ถาด
ต่อไร่ (ถาดขนาด 434 หลุม)
5. วางถาดหลุม จานวน 5 ถาด บนโตะ
6. โรยดินที่เตรียมไว้ลงถาดเพาะ ½ ของ
ความลึกหลุม
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 11

7. โรยเมล็ดพันธุ์ข้าวลงในถาดเพาะ จ�านวน
2-3 เมล็ดต่อหลุม
8. โรยดินละเอียดกลบเมล็ดข้าวให้ระดับดิน
เสมอปากหลุม
9. น�าถาดเมล็ดพันธุข์ า้ วไปวางไว้แปลงเพาะ
ที่เตรียมไว้
10. คลุมถาดเพาะด้วยกระสอบป†านหรือ
วัสดุอื่นๆ (เช่น ผ้าแสลนสีด�า) เพื่อป้องกัน
เมล็ดกระเด็นออกขณะรดน�า้ หรือเมือ่ ฝนตก
11. รดน�า้ เช้าและเย็น (สังเกตให้ดนิ มีความชืน้
เสมอ) เมื่อครบ 3 วัน ยกวัสดุคลุมขึ้นสูง อีก
3 วัน น�าวัสดุคลุมออก
12. เมื่อต้นกล้ามีอายุประมาณ 12-15 วัน
หรือมีความสูงประมาณ 12-15 เซนติเมตร
จึงน�าไปโยน
12 ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย

การโยนกล้า-การดูแลรักษา
1. เตรียมแปลง ไถดะ ไถคราด ท�าเทือกให้เรียบ
เสมอ ใส่ปยุ๋ คอกรองพืน้ ขังน�า้ ในแปลงเล็กน้อย
2. โยนกล้าข้าวลงในแปลง เมื่อต้นข้าวตั้งตัว
ขังน�้าเข้าความสูงของน�้าไม่ท่วมต้นข้าว ฉีด
พ่นไตรโคเดอม่า
3. เมือ่ ต้นข้าวอายุ 30 วัน ใส่ปยุ๋ น�า้ หมัก ฉีดพ่น
ไตรโคเดอม่า รักษาระดับน�า้ ในแปลง ดูแลรักษา
ความสะอาดภายในแปลง ก�าจัดวัชพืชต่างๆ
4. เมื่อต้นข้าวแตกกอ ฉีดพ่นไตรโคเดอม่า
และฮอร์โมนไข่ หากพบแมลงศัตรูพืช ให้ฉีด
พ่นด้วยบิวเวอเรียในตอนเย็น
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 13

5. หลังจากต้นข้าวแตกกอ 15 วัน ฉีดพ่น


ไตรโคเดอม่าและฉีดพ่นฮอร์โมนไข่
6. เมื่อต้นข้าวเริ่มตั้งท้อง และเกสรเริ่มร่วง
ให้ฉดี พ่นไตรโคเดอม่า และฉีดพ่นฮอร์โมนไข่
7. บ�ารุง ดูแลรักษาต้นข้าวสม�า่ เสมอ รอเก็บ
เกี่ยวผลผลิต
14 ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย

ลับเฉพาะ...หนองเลิงเปือย
การทดลองท�ำนาโยนมาตลอด 1 ปี เรา
สังเกตและพบเห็นสิ่งต่างๆ มากมาย ขอสรุปสิ่งที่ได้
เรียนรู้ง่ายๆ ดังนี้
การท�ำนาโยน เหมาะสมกับพื้นที่ที่สามารถ
บริหารจัดการน�้ำได้ดี เพราะการท�ำนาโยนต้องใช้น�้ำ
หล่อเลีย้ งในแปลงข้าวสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ควบคุมไม่ให้วชั พืช
เกิดขึ้น หากท�ำในพื้นที่ที่มีน�้ำน้อย ผลผลิตจะไม่ดีเท่า
ที่ควร
ดินหนองเลิงเปือย หรือดินในพื้นที่ภาค
อีสาน ส่วนใหญ่เป็นดินทราย มีองค์ประกอบหลักเป็น
ซิลิกา เมื่อปลูกข้าวในพื้นที่นี้ ข้าวจะมีลักษณะเฉพาะ
มีรสชาติทดี่ ี กลิน่ หอม (หอมติดกระเป๋าเลย) อร่อย ไม่
เหมือนปลูกในภาคอื่น ถือว่าเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ

การเตรียมดิน
การเตรียมดินส�ำหรับเพาะกล้า ขั้นตอน
การเตรียมดินส�ำหรับเพาะกล้าถือเป็นขัน้ ตอนทีส่ ำ� คัญ
มาก ลักษณะดินทีเ่ หมาะสมคือ ดินโพน หรือ ดินทาม
หรือ ดินเหนียวปนร่วน การทีด่ นิ มีลกั ษณะเหนียวเล็ก
น้อย ท�ำให้ดินยึดเกาะกับรากได้ดี เวลาโยน ตุ้มกล้า
จะมีน�้ำหนัก สามารถก�ำหนดทิศทางการโยนได้ง่าย
และกล้าจะตั้งตัวได้เร็วเมื่อสัมผัสกับพื้นดินในแปลง
ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย 15

อัตราส่วนระหว่าง ดินโพน/ดินทาม/ดิน
เหนียวปนร่วน : ปุ๋ยคอก คือ 2:1
การคัดขนาดเม็ดดินก็มีความส�ำคัญไม่แพ้
กัน เม็ดดินที่ดีควรมีขนาดเท่าๆ กัน การร่อนดินรอง
ก้นหลุมหน้าแรกก็จะดี
การเตรียมดินในแปลงนา แปลงที่จะท�ำนา
ต้องมีการพักดินก่อน ป้องกันการเกิดโรคข้าวที่มากับ
ดินที่ได้ใช้ประโยชน์มาก่อน การเตรียมดินในแปลงนา
เริ่มด้วยการไถกลบตอฟาง หรือเศษวัชพืช การใส่ปุ๋ย
คอกรองพืน้ จะช่วยเพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ช่วย
ลดปริมาณการใส่ปุ๋ยในระหว่างต้นข้าวเจริญเติบโตได้
การขังน�้ำก็ส�ำคัญเช่นกัน ควรขังน�้ำในแปลงเล็กน้อย
ท�ำการไถคราด กวาดดินให้เรียบเสมอ
การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ จะช่วยแยกเมล็ด
พันธุข์ า้ วที่ไม่สมบูรณ์ออก ท�ำให้อตั ราการงอกของข้าว
มีมากกว่า โดยน�ำเมล็ดข้าวใส่ลงในน�้ำเกลือที่มีความ
เข้มข้นสูง (ท�ำให้ ไข่เป็ดลอย) เมล็ดข้าวที่ไม่สมบูรณ์
จะลอย เมล็ดที่สมบูรณ์จะจมลงด้านล่าง แล้วน�ำไป
ล้างน�้ำสะอาด ล้างความเค็มจากน�้ำเกลือออก
การกระตุ้นข้าวให้งอก ใช้วิธีการทั่วไปด้วย
การน�ำเมล็ดข้าวแช่ในน�้ำ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้วน�ำ
ผึง่ ลมบนเสือ่ หรือมุง้ เขียว เมล็ดข้าวจะได้แห้งทัว่ ถึงกัน
จ�ำนวนเมล็ดพันธุข์ า้ วภายในหลุม จ�ำนวนเมล็ดพันธุข์ า้ ว
มีผลต่อจ�ำนวนผลผลิตข้าวทีจ่ ะเกิดขึน้ ยกตัวอย่างง่ายๆ
16 ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย

คือ หากเปรียบเทียบจ�ำนวนเมล็ดพันธุ์ข้าวต่อหนึ่ง
หลุม เสมือนจ�ำนวนประชากรของประเทศ ประเทศ
ที่มีประชากรมาก การแก่งแย่งทรัพยากรต่างๆ ก็มี
จ�ำนวนมาก ประชากรก็ไม่ค่อยสมบูรณ์ เหมือนกัน
หากมีจ�ำนวนกล้าข้าวในหนึ่งหลุมมากเกินไป กล้าข้าว
ก็จะแย่งอาหารกัน ต้นกล้าจะลีบ เล็ก เมื่อน�ำไปโยน
ในแปลงนา ต้นกล้าภายในหลุมนั้นจะแตกกอน้อย
ผลผลิตข้าวก็จะน้อยตาม จ�ำนวนที่แนะน�ำคือ 2-3
เมล็ดต่อหลุม เพราะเราพบว่าต้นข้าวที่แตกกอจาก
ต้นหลัก จะให้ผลผลิตของข้าวมากกว่า
แปลงเพาะกล้า ต้องเป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเรียบ
สม�่ำเสมอ แสงแดดส่องถึง พื้นที่ที่เรียบจะท�ำให้กล้า
ข้าวแต่ละหลุมได้รบั น�ำ้ เท่ากัน การงอกจะเกิดขึน้ พร้อมๆ
กันและสูงไร่เรี่ยกัน ท�ำให้ง่ายต่อการดูแลและจัดการ
ต้นกล้า
การดูแลกล้า ในความเข้าใจพืน้ ฐาน คือ ควร
รดน�้ำกล้าข้าววันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น แต่ในความ
จริงแล้วควรดูจากดินว่ามีความชืน้ มากน้อยแค่ไหน ใน
วันที่อากาศร้อนมาก การรดน�ำ้ เพียงแค่ 2 ครั้ง อาจไม่
เพียงพอ
การย้ายกล้า ก่อนจะย้ายกล้าออกจากแปลง
ควรรดน้าให้ดนิ มีความชืน้ ก่อน เมือ่ จะถอนกล้าตอนโยน
จะทาให้กล้าหลุดออกจากหลุม ดินไม่แตก รากไม่ขาด
หลังจากย้ายกล้าออกจากแปลงเพาะแล้ว ควรโยนกล้า
ให้เสร็จภายใน 2 ชั่วโมง เพราะจะทาให้กล้าข้าวเหี่ยว
ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย 17

การโยนกล้าข้าว ขอแนะน�ำวิธีการโยนกล้า
3 วิธี ได้แก่ (1) การโยนแบบจิ้มหรือประณีต (2) การ
โยนแบบปาลูกดอก และ (3) การโยนแบบมั่ว เป็นการ
ขยุ้ม และเหวี่ยงออกจากตัว วิธีที่ 1 ถึง 3 ใช้เวลาใน
การโยนจากมากไปน้อย โดยทั้ง 3 วิธี ให้ผลผลิตข้าว
ไม่แตกต่างกัน สามารถเลือกโยนได้ตามใจชอบ
การโยนกล้าข้าวในแปลงนาที่เป็นทรายจัด
ต้องรีบโยนกล้า เพราะดินจะแห้งเร็วมาก เมื่อดินแห้ง
กล้าที่โยนไปจะไม่ตดิ กับดิน ต้องเข้าไปซ่อมด้วยการด�ำ
และในวันทีม่ ฝี นตก ลมแรง ไม่ควรโยนกล้า กล้าที่โยน
จะปลิวไปตามลม และลอยไปตามน�ำ้ กล้าจะไม่ตดิ กับ
ดินเมือ่ โยนไปเจอกับดินทีแ่ ข็งมากๆ แต่ถา้ หลีกเลีย่ งไม่
ได้ ก็จะต้องเข้าไปซ่อมแซมในจุดที่มีปัญหา
การดูแลรักษา ขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน
เพียงแค่ควบคุมระดับน�้ำภายในแปลงให้เหมาะสมกับ
ความสูงของต้น หมัน่ ก�ำจัดวัชพืช ฉีดพ่นไตรโคเดอม่าใน
ตอนเย็น จ�ำนวน 3 ครัง้ (ในช่วงแรก, ช่วงแตกกอ, หลัง
แตกกอ 15 วัน) ฉีดพ่นฮอร์โมนไข่ในตอนเช้า จ�ำนวน
3 ครั้ง (ช่วงแตกกอ, ช่วงก�ำลังตั้งท้อง, ช่วงเกสรร่วง)
ฉีดพ่นบิวเวอเรียในตอนเย็นกรณีที่มีแมลงศัตรูพืชเข้า
ท�ำลาย และอาจใช้ปุ๋ยน�้ำหมักและปุ๋ยอื่นๆ เพิ่มเติมได้
18 ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย

โรคข้าวที่พบ จากประสบการณ์ท�านาโยนมา 1 ปี โรคที่


พบคือ โรคไหม้ (Rice Blast Disease) เนื่องจากเดิมใช้
พืน้ ทีน่ เี้ ป็นแปลงเพาะเห็ดฟาง หลังจากทาเห็ดฟางเสร็จ
ท�านาโยนต่อ ไม่มีการพักดิน จึงเป็นเหตุให้เกิดโรคนี้ขึ้น
ป้องกันด้วยการฉีดพ่นไตรโคเดอม่า เพือ่ ไม่ให้โรคระบาด
ไปยังจุดอืน่ ภายในแปลง ดังนัน้ ก่อนท�านาควรมีการพัก
ดินก่อน เพื่อป้องกันโรคข้าวที่จะแฝงตัวมาในดิน
การท�านาโยนอินทรีย์ มีข้อดีคือ ช่วยให้เรา
ประหยัดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีก�าจัดวัชศัตรูพืช
เมื่อเราไม่สัมผัสกับสารเคมี ทาให้สุขภาพเราดี ผลผลิต
เราก็ดีตาม เพราะเราใช้ธรรมชาติดูแลธรรมชาติ เรา
ใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพ ไตรโคเดอม่า
บิวเวอเรีย ฮอร์โมนไข่ ต้นกล้าของเราไม่สูงมาก ไม่ล้ม
เหมือนพวกที่ใส่เคมี
การท�านาโยนดีกว‹านาดา ตรงทีก่ ารท�านาโยน
จะเพาะกล้าในถาดหลุม หลุมจะบังคับรากให้อยู่ภายใน
นั้น รากจึงไม่ลึก ไม่ยาว เกินไป เวลาเอาไปโยนจะโยน
ทั้งกระเปาะ ในลักษณะตุ้ม รากจะไม่ขาด เหมือนกับ
การถอนกล้านาดา เมือ่ กล้าไม่ได้รบั สิง่ กระทบกระเทือน
รุนแรง ทาให้กล้าที่โยนไปแล้วไม่หยุดชะงัก สามารถ
เจริญเติบโตได้ทันที
ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย 19

ท�ำนาโยนแล้ว...ได้อะไร?
หากจะถามว่าได้อะไรจากการท�ำนาโยนใน
ครัง้ นีน้ นั่ หรอ? เราก็ตอบได้ ไม่เต็มปากหรอกนะว่า เรา
ได้อะไร เท่าไหร่ เพราะเราเริ่มทดลองท�ำได้ปีเดียวเอง
แต่เพียง 1 ปี ที่เราทา สิ่งที่เราได้รับจริงๆ
คือ ต้นทุนการผลิตเราลดลง แต่ก่อนที่เราท�ำนาเรามี
ต้นทุนต่อไร่สูงถึง 3,000 บาท แต่พอเราเปลี่ยนมาท�ำ
นาโยน เราไม่ต้องใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมีในการก�ำจัดศัตรู
พืช ต้นทุนเราเหลือเพียง 1,500 บาท ลดลงมาเกือบ
เท่าตัวเลยนะ แถมยังช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมไปในตัว
ด้วยนะ นี่แหละคือสิ่งที่เราเห็นได้ชัดเจนที่สุดเลยนะ
ตอนนี้
ไม่เพียงเท่านี้ การท�ำนาโยนยังช่วยให้เรา
ก�ำหนดทิศทางการใช้แรงงานได้ หมายถึงว่า เราสามารถ
ค�ำนวณล่วงหน้าได้วา่ เรามีนาทีต่ อ้ งท�ำกี่ไร่ จะท�ำให้เสร็จ
ภายในกี่วัน และจะต้องใช้คนกี่คนโยนกล้า หากเรา
ต้องการให้เสร็จเร็ว เราก็ต้องใช้คนโยนกล้ามาก แต่
หากเราไม่รีบร้อนท�ำให้เสร็จเร็วขนาดนั้น เราก็ใช้คน
โยนกล้าน้อยลง ประหยัดแรงงานกว่านาด�ำเยอะ โดย
เฉลี่ยแล้วคน 1 คน สามารถโยนกล้าได้ 1 ไร่ต่อวัน ขึ้น
อยู่กับวิธีการโยนและความประณีตของแต่ละคนด้วย
20 ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย

นาโยนก็เหมือนท�ำนาขี้เกียจ โยนๆ ทิ้งไป ไม่ต้องเหนื่อย


“หลังสู้ฟ้า หน้าสู้ดิน” ไม่ต้องก้มหลังด�ำนา ไม่ต้องเจ็บ
เอว เหมือนแต่กอ่ น สุขภาพก็ดขี นึ้ กว่าเดิม แถมตอนเพาะ
กล้ายังมีเครื่องโรยข้าวทุนแรงอีก การเพาะกล้าเลยเป็น
เรื่องง่าย สะดวก รวดเร็ว ไม่เสียเวลาเลย
นอกจากนี้ การดูแลรักษาก็งา่ ยแสนง่าย เพียง
รักษาระดับน�้ำให้เหมาะสมตามอายุของต้นข้าว วัชพืช
ต่างๆ ก็ไม่ขึ้น แต่ถ้าขึ้น ก็เข้าไปกาจัดออกสะดวก ปุ๋ยที่
ใช้กม็ เี พียง ปุย๋ คอก ปุย๋ น�ำ้ หมัก ไตรโคเดอม่า บิวเวอเรีย
ฮอร์โมนไข่
เมือ่ มองถึงผลผลิต เราพบว่าผลผลิตข้าวด้วย
วิธีการท�ำนาโยนไม่แตกต่างกับผลผลิตจากการท�ำนาด�ำ
ผลผลิตที่ได้เท่าเดิมหรือมากกว่า
ประหยัดทั้งต้นทุน แรงงาน เวลา สุขภาพดี
ผลผลิตเท่าเดิม แถมยังรักษาสิง่ แวดล้อมไปในตัวอีกด้วย
พฤษภาคมนี้...แล้วเจอกันนะ...นาโยน
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 21

คิดยังไงกับนาโยน?
แม่กุหลาบ ภูเกษม
“…แต่กอ่ นทีอ่ าจารยยงั ไม่เขŒามา เห็นดูเขาอยู่
ในทีวหี รือว่าไปดูงาน ก็คดิ อยากทํา เพราะคิด
ว่ามันประหยัดเมล็ดพันธุ และเราก็ไม่ค่อยมี
แรงงาน จะประหยัดแรงงานดŒวย ประหยัด
ตŒนทุน คือ อยากทําอยูแ่ ลŒว เพราะว่าไปอบรม
ก็ไปดูเฉยๆ ว่าเออ ทําอย่างนีน้ ะ แต่เขาไม่พา
เราลงมือทําไง มันเลยไม่รูŒหลักการว่าจะทํา
ยังไง แค่ฟ˜งเฉยๆ รูŒสึกว่าดีมากๆ เลย คือ
ความฝ˜นเราเปšนจริงไง แต่กอ่ นนี้ไปดูวา่ เออ
เขาทํานาโยน เขาทําอย่างนี้นะ แค่เขาบอก
เฉยๆ เราก็…อืม ถŒาเราไม่ลงมือทํา มันไม่รใŒู ช่
ไหมอาจารย เราตŒองลงมือทําดŒวย เหมือน
ทํากับขŒาวนี่แหละ ถŒาเออ ของเขาทําอร่อย
สูตรมาอย่างงี้ๆ เราทําก็ไม่อร่อยเหมือนเขา
ตŒม เราตŒองไปทํากับเขาดŒวย มันถึงรูŒ พอ
อาจารยเขŒามาก็เลยเปšน ฝ˜นเราเปšนจริง …ไดŒ
ทําแลŒว รูŒสึกดีมากเลยค่ะ ชอบมากดŒวย…”
22 ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย

พ‹อทองสุข สายโรจน พ‹อประสม สุขโนนจารย


“…ชีวติ มันก็เปลีย่ นแปลง เพราะว‹ามันเฮ็ดง‹าย “…การที่มาฮูŒจักกับการเฮ็ดนาโยนก็คือ
บ‹เคยเฮ็ด มันก็เฮ็ดไดŒงา‹ ย ประหยัดเวลา หนึ่งเปšนการลดตŒนทุน ในการผลิต อัน
ลง เฮ็ดก็เฮ็ดเพลิน พอโยนไปก็เพลินๆ ไป ที่สองคือประหยัดแรงงาน อันที่สาม
ก็ลืมไป ลืมเวลาย‹างไปเลย ถŒาดําเหมือน คิดว‹าเกี่ยวเนื่องกับสุขภาพคือ บ‹ไดŒกŒมๆ
เทื่อที่แลŒวก็เจ็บหลังเจ็บเอว…” เงยๆ คืออย‹างนาดํา มีความสุขขณะที่
เฮ็ดงานนํา เพราะว‹ามันฮักษาสุขภาพ
เราดี หมายถึงว‹าเฮาบ‹ตŒองเจ็บหลังปวด
เอว อย‹างอื่นก็สิดีนํา ถŒาสุขภาพดี จิตใจ
อีหยังก็สิดีนํา…”
ขาวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปอย 23

พ่อด�ารงค จงมีเดช ขอขอบคุณ...ผู้ใหญ่ใจดี


“…เมือ่ เทคโนโลยีมนั มีมา เขาก็คดิ อะไรใหŒ มูลนิธิปดทองหลังพระ สืบสาน
มันดีขนึ้ เขาคงไม่ไดŒคดิ ทําอะไรใหŒมนั แย่ แนวพระราชดําริ
ลง เราก็ควรเอามาประยุกตใชŒใหŒมันเกิด สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปดทอง
ประโยชน เราก็อย่าไปยึดติดกับสิง่ ทีเ่ รา หลังพระ สืบสานแนวพระราชดําริ
คิดว่าเราทําแลŒวมันดีๆ แต่มนั อาจจะมีสงิ่ ศูนยประสานงานโครงการพัฒนา
ที่ดีกว่า สิ่งที่เขาคิดมา เราก็ควรยอมรับ แกŒมลิงหนองเลิงเป„อย อําเภอร่องคํา จังหวัด
บŒางเนอะ…” กาฬสินธุ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
นางกุหลาบ ภูเกษม
นายทองสุข สายโรจน
นายประสม สุขโนนจารย
นายดํารงค จงมีเดช

เมือ่ อ่านจบแลŒว ใครสนใจทํานาโยน แลŒวยังไม่เขŒาใจอะไร ตรงไหน เชิญทีก่ ลุม่ ของเราไดŒนะ


ติดต่อเราไดŒที่ “กลุ่มขŒาวนาโยนหนองเลิงเป„อย” แปลงนาพ่อทองสุข สายโรจน
24 ข้าวนาโยนบทเรียนหนองเลิงเปือย

You might also like