You are on page 1of 70

หลักการบารุงรักษา

ผศ. ดร. ก่อเกียรติ บุญชูกศุ ล


ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล
คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัฏจักรอายุของเครื่ องจักร
ความต้องการ รายละเอียด

การออกแบบ/เลือก

การจาหน่ายทิ้ง การลงทุน/จัดหา

การติดตั้ง

การลองเครื่ อง
การปรับปรุ ง

การเริ่ มใช้งาน
ความต้ องการ
⚫ คือความประสงค์ขององค์กรหรื อของลูกค้าที่ตอ้ งการผลิตภัณฑ์อย่างหนึ่ง ความต้องการ
ดังกล่าวนาไปสู่
⚫ การออกแบบกระบวนการผลิต
⚫ การแสวงหาเครื่ องจักรที่เหมาะสมมาใช้ในกระบวนการผลิตดังกล่าว
ด้วยเหตุน้ ี ความต้อ งการของกระบวนการผลิ ตจึ งเป็ นขั้นตอนแรกที่ จะนาไปสู่การหา
เครื่ องจักรมาเพื่อดาเนินการผลิตผลิตภัณฑ์น้ นั
⚫ กรณี ตวั อย่าง ความต้องการคือความสะดวก ความรวดเร็ วในการเดินทาง รวมไปถึงความ
ปลอดภัย ความแน่ นอน เครื่ องจักรที่ตอ้ งการใช้งานเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าวจึ ง
ได้แก่ ยานพาหนะต่างๆ ซึ่ งอาจเป็ นไปได้ท้ งั รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรื อแม้แต่รถจักรยาน
ถีบ
รายละเอียดจาเพาะ
⚫ หมายถึงการกาหนดรายละเอียดจาเพาะ(Specification) ของความ
ต้อ งการ เพื่ อ ให้ขอ้ มู ล ที่ ส มบู ร ณ์ และถู ก ต้อ งที่ จ ะน าไปใช้ใ นขั้น ตอนการ
ออกแบบต่อไป
⚫ สาหรับตัวอย่างยานพาหนะดังกล่าว ขั้นตอนนี้ คือการกาหนดความต้องการ
ยานพาหนะว่ า ควรมี ค วามเร็ ว สั ก เท่ า ใด บรรทุ ก คนได้ กี่ ค น ต้อ งการ
ความสามารถบรรทุ ก น้ า หนัก ได้เ ท่ า ไร อย่ า งไรก็ ต ามการก าหนดความ
ต้องการนี้จะต้องพยายามให้ครบถ้วนและเป็ นจริ งอย่างที่สุดเพือ่ ที่จะได้ไม่ซ้ื อ
ยานพาหนะที่ไม่ตรงกับความต้องการ
การออกแบบ/เลือก
⚫ หลังจากการกาหนดรายละเอียดจาเพาะ รายละเอียดจะถูกนาไปใช้
⚫ ประกอบการออกแบบเครื่ องจักร ถ้าหากเครื่ องจักรนั้นเป็ นเครื่ องจักร
ต้นแบบ
⚫ ในกรณี ที่เครื่ องจักรนั้นเป็ นเครื่ องจักรอุ ตสาหกรรมทัว่ ไปก็จะเป็ นการ
เลือกหารุ่ น/แบบที่ตรงกับความต้องการมากที่สุด
⚫ เพราะฉะนั้นในขณะนี้ เราจะสามารถเลือกยานพาหนะที่ตอ้ งการได้
แล้วทั้งรู ปแบบ รุ่ น ขนาด รวมทั้งยีห่ อ้ ด้วย
การลงทุน/จัดหา
⚫ เมื่ อ เป็ นที่ แ น่ น อนแล้ว ว่ า จะเลื อ กใช้ เ ครื่ องจัก รอะไร หรื อได้
ออกแบบเครื่ องจักรที่ ตอ้ งการเรี ยบร้ อยแล้ว สิ่ งที่ ตอ้ งทาต่อไปคื อ
การจัดซื้ อเครื่ องจักร หรื อจัดจ้างให้มีการสร้างเครื่ องจักรตามแบบที่
ทาไว้
⚫ หมายความว่า ในขั้นตอนนี้ ได้มี ก ารตกลงสั่ง ซื้ อ รถยนต์ที่ตอ ้ งการ
เป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว และกาลังคอยเวลาที่จะไปรับรถเพือ่ นามาใช้งาน
ตามที่กาหนดไว้
การติดตั้ง
⚫ เครื่ องจักรในอุตสาหกรรมส่ วนหนึ่งเป็ นเครื่ องจักรทีว่ างอยูก่ บั ที่ดว้ ย
เหตุ ผ ลของกระบวนการผลิ ต หรื อขนาดและน้ า หนัก การเลื อ ก
ต าแหน่ ง ที่ ต้ ัง และการติ ด ตั้ง เครื่ อ งจัก รดัง กล่ า วมี ความส าคัญ ต่ อ
กระบวนการผลิตและต่อประสิ ทธิ ภาพในการผลิต
⚫ สาหรับรถยนต์ในกรณี ตวั อย่างและเครื่ องจักรที่มีลก ั ษณะถูกนา
เคลื่อนที่ไปมาได้ การติดตั้งในความหมายข้างต้นอาจจะไม่มีการ
ดาเนินการใดๆก็ได้
การลองเครื่ อง
⚫ เมื่อเครื่ องจักรถูกติดตั้งเรี ยบร้ อยแล้ว ก่อนที่จะเริ่ มทาการผลิ ตจริ ง
จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องมี การทดลองเดิ นเครื่ องเพื่อที่จะตรวจสอบ
สภาพเครื่ อ ง ตรวจดู การติ ดตั้งต่ า งๆว่า เรี ยบร้ อ ยดี หรื อ ไม่ ทาการ
ปรับแต่งเครื่ องจักรเพี่อให้ได้สมรรถนะที่พึงพอใจ
⚫ เมื่อได้รับทราบว่าสามารถไปรับรถได้แล้ว ขั้นตอนที่สาคัญก็คือการ
ตรวจดูสภาพโดยรอบ เช่น สี กันชน ฯลฯ การทดลองใช้งานอุปกรณ์
ต่างๆ เพื่อที่จะดูวา่ พอใจกับรถคันนี้หรื อไม่ รวมทั้งการทดลองขับขี่
การเริ่มใช้ งาน
⚫ เมื่อเครื่ องจักรได้รับการยอมรับแล้ว จะเริ่ มถูกใช้งานในการผลิต นัน่
ก็คือการเริ่ มใช้งานรถยนต์ที่ซ้ื อมาตามวัตถุประสงค์
การปรับปรุง
⚫ หลังจากที่เครื่ องจักรผ่านการใช้งานมาระยะเวลาหนึ่ ง ชิน้ ส่ วนต่างๆ
จะเสื่ อ มสภาพไปตามเวลา ดัง นั้น ต้อ งมี ก ารเปลี่ ย นทดแทนหรื อ
ซ่ อ มแซมชิ้ น ส่ ว นดัง กล่ า วเพื่ อ ให้ เ ครื่ อ งจัก รสามารถท างานได้
เหมือนเดิม
⚫ ในกรณี รถยนต์ตวั อย่างก็เช่ นกัน การเปลี่ ยนทดแทนชิ้ นส่ วนที่หมด
สภาพ เช่น สายพาน ยางล้อ ที่ปัดน้ าฝน หรื อแม้แต่เครื่ องยนต์ เป็ น
สิ่ งที่กระทาได้เมื่อพิจารณาเห็นว่าเหมาะสมและคุม้ ค่ากว่าการเปลี่ยน
รถยนต์ใหม่ท้ งั คัน
การจาหน่ ายทิง้
⚫ หลังจากใช้งานมาเป็ นเวลาอันสมควรแล้ว จะพบว่าการเปลี่ยนทดแทนหรื อ
ซ่ อมแซมชิ้นส่ วนเครื่ องจักรเป็ นการกระทาที่ไม่คุม้ ค่า เพราะจานวนชิ้นส่ วน
ที่เสี ยหายเพิ่มขึ้น การเสื่ อมสภาพเกิดขึ้นเร็ วขึ้น รวมทั้งเครื่ องจักรจะล้าสมัย
ไม่คุม้ ค่าในการผลิตอีกต่อไป ดังนั้นเครื่ องจักรดังกล่าวต้องถูกจาหน่ายทิ้งไป
เช่นเดียวกับรถยนต์คนั ดังกล่าวด้วย
⚫ จากวัฏจักรอายุของเครื่ องจักรที่กล่าวมา ความสาคัญจะอยูท่ กี่ ารทาให้อายุของ
เครื่ องจักรนั้นยืดยาวอย่างมีประสิ ทธิภาพมากที่สุดเท่าที่จะทาได้ ซึ่งช่วงยืด
อายุเครื่ องจักรดังกล่าวจะทาได้มากที่สุดในช่วงระหว่างการเริ่มใช้งานไป
จนถึงการจาหน่ายทิ้ง และวิธีการที่ใช้เพื่อยืดอายุเครื่ องจักรในระหว่างช่วงดัง
กล่าวคือ “การบารุ งรักษา”
การบารุงรักษาคืออะไร
การบารุ งรักษาเป็ นกิจกรรมสนับสนุนที่สาคัญ เพื่อประกันว่า
เครื่ องจักร/อุปกรณ์จะสามารถทางานได้อย่างต่อเนื่อง เต็มตาม
ความสามารถที่กาหนดไว้ การดาเนินงานประกอบด้วย
⚫ การดูแลรักษา

⚫ การตรวจสภาพ

⚫ การซ่ อมแซม
ความสั มพันธ์ กบั การออกแบบ
⚫ เครื่ องจักรและอุปกรณ์ต่างๆจะเกิดการชารุ ดเสี ยหายจากการใช้งานได้ตลอดเวลา ดังนั้น
การออกแบบที่ ดีจ ะต้อ งค านึ ง ถึ ง การบ ารุ ง รั ก ษาควบคู่กัน ไป ทั้ง นี้ เพือ่ เป็ นการรั ก ษา
ประสิ ทธิภาพและยืดอายุการใช้งานของเครื่ องจักร โดยมีขอ้ พิจารณาขณะออกแบบดังนี้
ก) เลือกวัสดุทาชิ้นส่ วนเครื่ องจักรที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการทางาน เพื่อลดความ
เสี ยหายจากการเสื่ อมสภาพเร็ วเกินไป
ข) ในการประกอบเครื่ องจักรต้องวางตาแหน่งชิ้นส่ วนให้เหมาะสมกับความต้องการในการ
บารุ งรักษา ชิ้นส่ วนที่ตอ้ งทาการบารุ งรักษาบ่อยครั้งจะต้องเข้าถึงได้ง่าย
ค) หลีกเลี่ยงไม่ให้ตอ้ งรื้ อเครื่ องจักรทุกครั้งที่จะทาการบารุ งรักษา โดยเสริ มส่ วนประกอบที่
ช่วยทาให้เกิดความสะดวกในการดูแลรักษา การตรวจตราสภาพ
ง) เลื อ กใช้วิธีการเชื่ อ มต่ อที่ ถอดเข้าออกได้สะดวกกับ ส่ วนประกอบที่ ต้อ งมี การเปลี่ ยน
ทดแทนหรื อปรับแต่งบ่อยครั้ง
ความสั มพันธ์ กบั การติดตั้ง
⚫ ขั้นตอนการติดตั้งนี้ มีความสาคัญมากต่อการบารุ งรักษา ทั้งนี้ เพราะว่าโดยหลักการทาง
ธุรกิจทัว่ ไปย่อมต้องมีความพยายามที่จะประหยัดพื้นที่ และคานึงถึงความสะดวกของฝ่ าย
ผลิตเป็ นสาคัญ
⚫ ต้องระวังไม่ให้การติดตั้งกีดขวางการทางานของฝ่ ายบารุ งรักษาซึ่ งจะต้องมีการเข้าออก
พื้นที่ตลอดเวลาเพื่อการตรวจรักษาสภาพและการเข้าซ่อมแซม
⚫ พื้นที่ที่คบั แคบเกินไปทาให้เกิดการกีดขวางการทางานซ่อมบารุ ง
⚫ ในการติดตั้งเครื่ องจักร ฝ่ ายบารุ งรักษาต้องมีส่วนร่ วมในการให้ความเห็นในแง่มุมของ
การบารุ งรั กษาว่าจะมี ขอ้ ขัดข้องอย่างไร วางเครื่ องจักรแบบไหนจึ งจะสะดวกแก่การ
ทางาน ทาการตกลงกับฝ่ ายอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะติดตั้งเครื่ องจักรให้เหมาะสมสาหรับ
ทุกฝ่ ายมากที่สุด
ความสั มพันธ์ กบั การลองเครื่ องและการใช้ งาน
⚫ การลองเครื่ อง โดยปกติฝ่ายบารุ งรั กษามักจะถูกนาเข้าไปมีส่วนร่ วมในการ
ลองเครื่ องเพื่อจะได้รับรู ้สภาพของเครื่ องจักรตั้งแต่เริ่ มแรกอยูแ่ ล้ว รวมทั้งจะ
ได้เรี ยนรู ้วิธีการปรับแต่งเครื่ องจักรซึ่งจะช่วยให้สามารถเตรียมตัวสาหรับการ
บารุ งรักษาได้ดี
⚫ การใช้งาน เมื่อเครื่ องจักรถูกใช้งานในการผลิตอย่างจริ งจัง ฝ่ ายบารุ งรักษา
มีหน้าที่ที่จะต้องเข้าไปดูแลเครื่ องจักร ซึ่ งการดาเนินการดังกล่าวอาจจะทาให้
เกิดการหยุดชะงักของกระบวนการผลิตได้ ดังนั้นจะต้องมีการประสานงาน
กันระหว่างฝ่ ายผลิ ตกับฝ่ ายบารุ งรักษาอย่างดี โดยให้พิจารณาประสิ ทธิ ภาพ
สู งสุ ดของเครื่ องจักรเป็ นสาคัญ
วิวฒ
ั นาการของความคาดหวังจากการบารุ งรักษา

Third Generation
• Higher plant availability and reliability
• Greater safety

Second Generation • Better product quality

• Higher plant availability • No damage to the environment

• Longer equipment life • Longer equipment life


First Generation
• Fix it when it broke • Lower cost • Greater cost effectiveness
การเปลีย่ นแปลงรูปแบบความเสี ยหาย
วิวฒ
ั นาการของเทคนิคการบารุงรักษา

Third Generation
• Condition monitoring
• Design for reliability and
maintainability
Second Generation
• Hazard study
• Scheduled overhauls
• Failure Modes and Effects Analysis
First Generation • System for planning and
• Fix it when it broke controlling work • Multiskilling and teamwork
ประเภทการบารุงรักษา

ประเภทการบารุงรักษา

Planned Unplanned

Preventive Design-out Breakdown

Time Based Condition Based


เทคนิคการบารุงรักษา
⚫ Design-out Maintenance
⚫ On-failure Maintenance

⚫ Fixed Time Maintenance

⚫ Condition-based Maintenance
Design-out Maintenance

⚫ อาจเรี ยกว่ า Corrective Maintenance


⚫ เป็ นการปรั บปรุ งเครื่ องจักรให้ ดข
ี นึ้ ถ้ าแก้ ไขได้ ตรงจุด
⚫ ต้ องหาสาเหตุที่แท้ จริ งก่ อนแก้ ไข

⚫ ลงทุนสูง

⚫ ใช้ เวลามาก
On-failure Maintenance

⚫ เรี ยกกันทัว่ ไปอีกชื่อหนึ่งว่า Breakdown Maintenance


⚫ เป็ นการซ่อมแซมเครื่ องจักรเมื่อเกิดการชารุ ดเสี ยหายแล้ว
⚫ ข้อดี ⚫ ข้อเสี ย
⚫ ใช้ได้กบั เครื่ องจักรทุกประเภท ⚫ อาจเป็ นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต เพราะ

⚫ คิดง่ายไม่ตอ้ งวางแผน ไม่มีการเตือนภัย


⚫ ได้แสดงฝี มือถ้าแก้ไขได้ ⚫ การผลิตเกิดความเสี ยหาย
⚫ ลงทุนต่าในส่ วนของหน่วยงาน ⚫ ลงทุนสู งในการกักตุนอะไหล่/เครื่ องจักร
บารุ งรักษา สารอง
⚫ ยากที่จะหาต้นเหตุของข้อขัดข้อง
Fixed Time Maintenance
⚫ เครื่ องจักรถูกดูแลรักษาตามกาหนดเวลาหรื อจานวนผลิตภัณฑ์
⚫ ทาการดูแลชิ้นส่ วนเครื่ องจักรก่อนหมดอายุใช้งาน
⚫ ข้อดี ⚫ ข้อเสี ย
⚫ ลดโอกาสเกิดความเสี ยหายแบบฉับพลัน ⚫ ใช้งานชิ้นส่ วนได้ไม่เต็มความสามารถ

⚫ ประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะสามารถวางแผน ⚫ ไม่สามารถกาจัดข้อบกพร่ องได้


ดาเนินการระยะยาวได้ ⚫ บางครั้งอาจเกิดความเสี ยหายจากการเข้า
⚫ ใช้แรงงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ไปยุง่ กับชิ้นส่ วนมากไป
⚫ บางครั้งเกิดเหตุที่ไม่คาดฝัน
Condition-based
Maintenance
⚫ เครื่ องจักรถูกดูแลรักษาตามสภาพของมัน
⚫ เครื่ องจักรต้องแสดงสภาพออกมาให้เห็น
⚫ ต้องมีวิธีการวัดและแปลค่าปัจจัยที่วดั ได้ของสภาพเครื่ องจักร
⚫ ข้อดี ⚫ ข้อเสี ย
⚫ สามารถบอกสภาพเครื่ องจักรได้ล่วงหน้า ⚫ ลงทุนสู งสาหรับอุปกรณ์ตรวจวัด

⚫ ใช้งานชิ้นส่ วนเครื่ องจักรได้ถึงที่สุด ⚫ ต้องการบุคลากรที่มีความชานาญ เฉพาะ


⚫ หาสาเหตุของข้อขัดข้องได้ง่าย ทาง
⚫ ต้องมีการจัดการองค์กรที่สมบูรณ์
แนวทางการกาหนดวิธีการบารุงรักษา
ลักษณะเครื่องจักร/ชิน้ ส่วน วิธีการบารุ งรักษาตามลาดับทีน่ ่าจะ
เลือกปฏิบัติ
1 สามารถตรวจวัดสภาพของเครื่อง Condition-Based Maintenance
จักรได้ รู้ MTBF Fixed Time Maintenance
On-Failure Maintenance
2. สามารถตรวจวัดสภาพของเครื่อง Condition-Based Maintenance
จักรได้ ไม่รู้ MTBF On-Failure Maintenance
3. ไม่สามารถตรวจวัดสภาพของ Fixed Time Maintenance
เครื่องจักรได้ รู้ MTBF On-Failure Maintenance
4. ไม่สามารถตรวจวัดสภาพของ On-Failure Maintenance
เครื่องจักรได้ ไม่รู้ MTBF
5. เครื่องจักรเสียหายบ่อยผิดปกติ Design-Out Maintenance
หน้ าทีข่ องผ้ ูจดั การการบารุงรักษา
⚫ เลือกใช้เทคนิคที่เหมาะสมที่สุด
⚫ จัดการกับกระบวนการของความล้มเหลวที่เกิดขึ้นแต่ละชนิด

⚫ มีการใช้จ่ายในการบารุ งรักษาอย่างคุม
้ ค่า
เพื่อให้เป็ นไปตามความคาดหวังของเจ้าของและผูใ้ ช้เครื่ องจักร/
อุปกรณ์น้ นั รวมถึงสังคมโดยรวม
การจัดระบบการบารุงรักษา
⚫ การผสมผสานวิธีการบารุ งรักษาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ต้องพิจารณา
⚫ รู ปร่ างของเครื่ องจักร
⚫ ลักษณะการทางานของเครื่ องจักร
⚫ ลักษณะการทางานของระบบ
⚫ รู ปแบบความเสี ยหายของเครื่ องจักร
⚫ เงินทุน
⚫ กาลังคน
⚫ ขีดความสามารถของฝ่ ายบารุ งรักษา
ความสั มพันธ์ ระหว่ างการผลิตกับการบารุ งรักษา
การขาย

ความต้องการผลิตภัณฑ์
(คาดคะเนได้แต่มักแปรผัน)

การผลิต สภาพสิ่งแวดล้อม
ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

แผนการผลิต ระยะยาว
ระยะสัน้

รูปแบบการผลิตและความพร้อมของโรงงานที่ตอ้ งการ

เป้ าหมายของการบารุงรักษา
ปริมาณทรัพยากร จัดเตรียมความต้องการนี้ ในราคาค่าใช้จ่ายต่าทีส่ ุ ด
แผนการบารุงรักษา ระยะยาว
องค์ประกอบของค่าใช้จ่าย การบารุงรักษา
ระยะสัน้

องค์ประกอบของโรงงาน
องค์ประกอบของความปลอดภัย
สถานการณ์ ของโรงงาน
ก) โรงงานอยูใ่ นระหว่างกระบวนการผลิต เครื่ องจักรกาลังทางาน การบารุ งรักษาทาได้
โ ด ย วิ ธี ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า แ บ บ ต า ม ส ภ า พ ใ น ข ณ ะ ป ฏิ บั ติ ก า ร (On-line
Maintenance) เท่านั้น
ข) โรงงานไม่มีการผลิต เช่น ช่วงเวลากลางคืน ขณะขาดวัตถุดิบ ช่วงเวลาเปลี่ยนกะ เป็ น
ต้น ในกรณี เ หล่ า นี้ โรงงานพร้ อ มที่ จ ะให้มี ก ารบ ารุ ง รั ก ษาได้โ ดยไม่ มี ก ารสู ญเสี ย
ผลผลิต ช่องเวลาตรงนี้เรี ยกว่า ช่วงปลอดการผลิต(Production Window)
ซึ่ งสามารถใช้วิธีการบารุ งรักษาแบบตามสภาพในขณะหยุดปฏิบตั ิการ (Off-line
Maintenance) หรื อวิธีการบารุ งรักษาแบบตามกาหนดเวลาได้ โดยทัว่ ไปช่วง
ปลอดการผลิตจะมีอยูใ่ นธรรมชาติของกระบวนการผลิตแบบ batch และปรากฏอยู่
ในแผนการผลิต ดังนั้นถ้าเป็ นไปได้ฝ่ายบารุ งรักษาจะต้องกาหนดเวลางานบารุ งรักษา
ให้สอดคล้องกับช่วงปลอดการผลิตนี้
สถานการณ์ ของโรงงาน
ค) โรงงานหยุดการผลิตในช่วงเวลาที่ยงั สามารถทาการผลิตตามปกติได้เพื่อให้มีการเข้า
ทาการบารุ งรักษาตามแผนดาเนิ นการที่วางไว้ ช่ วงเวลานี้ ถูกกาหนดขึ้นเมื่อเลือกใช้
วิธีการบารุ งรักษาแบบตามกาหนดเวลาและไม่สามารถจัดให้งานบารุ งรักษาไปอยูต่ รง
กับเวลาที่เป็ นช่วงปลอดการผลิตได้ การหยุดครั้งนี้ ตอ้ งนับว่าเกิ ดการสู ญเสี ยเวลาใน
การผลิต
ง) เครื่ อ งจัก รเกิ ด ความเสี ย หายในขณะก าลัง ท าการผลิ ต และเป็ นเหตุ ก ารณ์ ที่ ไ ม่ ไ ด้
คาดคะเนเอาไว้ ไม่อยูแ่ ผนดาเนิ นการ ดังนั้นโรงงานต้องหยุดการผลิตและต้องทาการ
บารุ งรักษาแบบซ่ อมแซมอย่างฉุ กเฉิ น การหยุดการผลิตในลักษณะเช่นนี้จะต้องถือว่า
เป็ นการสู ญเสี ยเวลาในการผลิตอย่างแน่นอน และการเตรี ยมการบารุ งรักษาทาได้ยาก
จ) เป็ นเหตุการณ์ต่อเนื่องจากข้อ (4) เครื่ องจักรเกิดชารุ ดเสี ยหาย โรงงานต้องหยุดการผลิต
แต่เนื่องจากขาดทรัพยากรในการบารุ งรักษา โรงงานไม่สามารถถูกนากลับเข้าสู่ สภาพ
การผลิตตามปกติได้ ต้องรอการบารุ งรักษา ดังนั้นจึงมีการสู ญเสี ยเวลาในการผลิต
วงจรการจัดการบารุงรักษา
รอซ่อม กาลังซ่อม
(จ) (ง)
ความไม่พร้อม การใช้ทรัพยากรนอกแผน
ความไม่พร้อม
สูญเสียการผลิต (emergency or corrective maintenance)
สูญเสียการผลิต

ทรัพยากรบารุงรักษา
การบารุงรักษา แผนการบารุงรักษา
คน อะไหล่ เครือ่ งมือ
ตามตารางเวลา
(ค) การใช้ทรัพยากรในแผน
(preventive maintenance)
การป้ อนกลับเพื่อการควบคุม

กาลังผลิต ไม่มีการผลิต
(ก) (ข)
การควบคุมงานบารุงรักษา ดาเนินการแก้ไข

แผนการบารุงรักษา เปลีย่ นนโยบาย Design out เปลีย่ นแผน


การทางาน maintenance การบารุงรักษา
งานวิศวกรรมและ
การวางแผนงาน
การบารุงรักษา
การประเมิน
Breakdown และ
Break
down Work control ค่าใช้จ่าย
feed back ส่งต่อไปผูผ้ ลิต
(การควบคุมงาน)
Breakdown Preventive (1) (2) (3)
maintenance maintenance Major Recurring High cost
Breakdowns Breakdowns areas

PLANT
บันทึกประวัติ การควบคุม
PLANT ค่าใช้จ่าย

นโยบายการผลิต
(การควบคุมสภาพ PLANT)
ค่า breakdown และข้อมูลการทางานอืน่ ๆ (การควบคุมงบประมาณและค่าใช้จ่ าย)
Time Based
Maintenance
ความสูญเสี ยทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิต
Shutdown Losses
Operating Hours

Failure Losses
Scheduled
Loading Hours
Downtime
Setup and Adjustment Losses

Utilization Hours Downtime Start-up Losses

Idle Losses
Net Utilization Hours Performance

Speed Losses
Value-added
Defect
Hours
Defect Losses
จุดประสงค์ ของการทา
Planned Maintenance
⚫ เพื่อให้ได้สมรรถนะของอุปกรณ์สูงสุ ด
⚫ เพื่อให้ได้ผลิตผลสู งสุ ดจากทรัพยากรน้อยที่สุด
กิจกรรมพื้นฐานของ
Time Based Maintenance
⚫ การทาความสะอาด ⚫ การตรวจสอบสภาพทัว่ ไป
⚫ การหล่อลื่น ⚫ การเปลี่ยนชิ้นส่ วนตาม
⚫ การปรับแต่ง กาหนดเวลา
⚫ การตรวจสอบการทางาน ⚫ การซ่อมบารุ งประจาปี

กิจกรรมเหล่ านีจ้ ะกระทาตามคาบเวลาที่แน่ นอน


• ประจาวัน
• ประจาสั ปดาห์ /ประจาเดือน/ประจา 3 เดือน ฯลฯ
Mean Time To Failure MTTF
หมายถึงช่ วงเวลาการทางานระหว่ าง failure สองครั้งทีต่ ่ อเนื่องกัน

MTTF

ใช้เป็ นตัวกาหนดช่วงเวลาการเข้าบารุ งรักษา


ขั้นตอนการสร้ างระบบ PM
⚫ จัดลาดับความสาคัญของเครื่ องจักร/อุปกรณ์เพื่อเลือกใช้เทคนิคการ
บารุ งรักษาที่เหมาะสม
⚫ แยกส่ วนประกอบของเครื่ องจักร/อุปกรณ์ที่มีลาดับความสาคัญสู ง

⚫ กาหนดวิธีการบารุ งรักษาและคาบเวลาการบารุ งรักษา

⚫ กาหนดรายการ ตรวจสอบ สาหรับชิ้นส่ วนแต่ละชิ้น

⚫ สร้างแผนดาเนิ นการประจาปี ประจาเดือน และประจาวัน

⚫ สร้างมาตรฐานการบารุ งรักษา
ลาดับความสาคัญของเครื่ องจักร
⚫ หัวใจของการผลิต

⚫ คอขวดของสายการผลิต

⚫ ราคาแพง

⚫ ซ่ อมยาก เทคโนโลยีสูง

⚫ อะไหล่หายาก
การแยกส่ วนประกอบเครื่ องจักร/อุปกรณ์

ชุดสายพานลาเลียง

สายพานลาเลียง ชุดขับเคลื่อน โครงสร้าง

มอเตอร์ ล้อขับ ลูกปื น สายพานส่ งกาลัง


วิธีการบารุงรักษาและคาบเวลาการบารุงรักษา
วิธีการบารุ งรั กษา
ชิ้นส่ วน
ทาความสะอาด หล่ อลื่น ปรั บแต่ ง ตรวจสอบ เปลีย่ น ซ่ อม
มอเตอร์ ลมเป่ า W1 N/A ขันน็อต W2 D1 Y5 Y1
สายพาน ลมเป่ า W1 N/A เร่ งตึง D3 D3 M6 -
ลูกปื น N/A W1 N/A D3 Y2 N/A
ล้ อขับ เช็ด W1 N/A - M1 Y5 Y1
การวิเคราะห์ ความล้ มเหลว
การวิเคราะห์ ความล้ มเหลวเป็ นขั้นตอนสาคัญทีน่ าไปสู่ การทา corrective M/T
และการกาหนดวิธีการตรวจสอบ

ความล้มเหลว

ธรรมชาติ อุบตั ิ เหตุ

ยืดอายุ กาจัดสาเหตุ
รายการตรวจสอบ
รายการตรวจสอบ
ชิ้นส่ วน
ความร้ อน เสี ยงดัง รอยแตก สึ กหรอ การสั่ น
มอเตอร์ X X X
สายพาน X X X X
ลูกปื น X X
ล้ อขับ X X X
มาตรฐานการบารุงรักษา
⚫ จัดทามาตรฐานเพื่อให้มน
ั่ ใจว่ามีการปฏิบตั ิเหมือนกัน
⚫ ตั้งเป็ นมาตรฐานเมื่อเห็นว่าสามารถใช้ได้ผลต่อเนื่องใน
ช่วงเวลาหนึ่งแล้ว
⚫ มาตรฐานมีท้ งั วิธีปฏิบต ั ิที่ถูกต้องและคาบเวลาที่เหมาะสม
⚫ สามารถเปลี่ยนแปลงมาตรฐานใหม่ได้เสมอตามสภาพ
ปั จจุบนั ของเครื่ องจักร
CONDITION-BASED
MAINTENANCE
Condition-based
maintenance
⚫ ทาให้สามารถหยุดการผลิตเพื่อจัดการกับเครื่ องจักรที่ไม่อยูใ่ นสภาพ
ที่เหมาะสมกับการผลิตอีกต่อไป ในเวลาที่เหมาะสม
⚫ ทาให้สามารถหยุดการผลิตเพื่อจัดการกับเครื่ องจักรอาจก่อให้เกิด
อันตรายได้ทนั ท่วงที
⚫ ต้องมีการเฝ้าตรวจสภาพของเครื่ องจักรจากอาการที่มน ั แสดงออก
เพื่อพยากรณ์เวลาที่เหมาะสมที่จะหยุดการทางานของเครื่ องจักร
เครื่ องจักรที่ทา CBM ได้
⚫ ต้องมี อาการที่แสดงสภาพของตัวเอง และสามารถแปล
ความหมายนั้นได้ เช่น ความร้อน การสัน่ สะเทือน
⚫ ต้องมี วิธีการและ/หรื ออุปกรณ์ที่สามารถตรวจวัดอาการ
ของเครื่ องจักร ได้
⚫ ต้องมี บุคลากรที่สามารถนาเอาผลที่วดั มาแปลความหมาย
ได้
ข้ อดีของ CBM
⚫ ส่ วนใหญ่สามารถทาการตรวจวัดได้ในขณะที่เครื่ องจักรกาลังทางาน
ตามปกติ ทาให้ไม่เสี ยเวลาการผลิต
⚫ สามารถใช้งานชิ้นส่ วนได้จนถึงที่สุด ประหยัดอะไหล่และแรงงาน

⚫ สามารถวางแผน/ปรั บ เปลี่ ย นการผลิ ต ได้ก่ อ นหยุด เครื่ อ งจัก ร จึ ง


สามารถกลับเข้าสู่ กระบวนการผลิตได้รวดเร็ ว
⚫ ช่วยในการหาสาเหตุความเสี ยหายของเครื่ องจักรได้ง่าย

⚫ ทาให้วางแผนการซ่ อมบารุ งได้ล่วงหน้า ประหยัดค่าใช้จ่าย


CBM ต้ อง
⚫ มีระบบการจัดการที่สมบูรณ์ เป็ นภาระงานตลอดเวลา

⚫ ลงทุนอุปกรณ์วด
ั ซึ่งราคาค่อนข้างสู ง องค์กรขนาดเล็ก
จะมีปัญหาการเงิน
⚫ มีการวิเคราะห์เครื่ องจักรตลอดเวลา ต้องการบุคลากร
ที่มีศกั ยภาพสู ง
วิธีการทา CBM
⚫ Simple Inspection
⚫ Condition Checking

⚫ Trend Monitoring
Simple Inspection

⚫ การตรวจสภาพเครื่ องจักรโดยอาศัยประสาทสัมผัส
⚫ ฟัง เสี ยง
⚫ ดม กลิ่น

⚫ ดู สี

⚫ สัมผัส ความร้อน

⚫ รับรู ้ความผิดปกติได้เมื่อสภาพเครื่ องแย่มากแล้ว


Condition Checking
⚫ การเสื่ อมสภาพแบบตามเวลา

condition

failure

alarm

time
Trend Monitoring
⚫ การเฝ้าติดตามพฤติกรรมของเครื่ องจักรเพือ่ หา
⚫ Parameters ที่เป็ นตัวบ่งชี้สภาพ
⚫ ความรุ นแรงของอาการจากค่า parameters
⚫ กาหนดระดับเตือนภัย (Alarm level)
condition

failure
alarm

time
CONDITION CHECKING
TECHNIQUES
⚫ Thermal Monitoring
⚫ Lubricant Analysis
⚫ Vibration Analysis
⚫ Non-destructive Testing
⚫ Leak Test
⚫ Corrosion Analysis
⚫ Flow Analysis
⚫ Stress Analysis
⚫ Acoustic Emission Analysis
แนวทางการใช้ เทคนิคต่ างๆ
⚫ Thermal monitoring: ใช้กบั เครื่ องจักรอุปกรณ์ที่มีความร้อน
ในตัว เช่ น หม้อ ไอน้ า ท่ อ แอร์ ชิ้ น ส่ ว นที่ มี ก ารเสี ย ดสี เช่ น ลู ก ปื น และ
อุปกรณ์/ชิ้ นส่ วนที่ สร้ างความร้ อนเมื่ อมี ความผิดปกติ เช่ น มอเตอร์ ขั้วต่อ
ไฟฟ้ า ปริ ม าณความร้ อ นที่ ม ากผิ ด ปกติ แสดงให้ เ ห็ น ความผิ ด ปกติ ข อง
ชิ้นส่ วนนั้นด้วย
⚫ Lubricant analysis: ใช้กบั เครื่ องจักรที่มีการหล่อลื่น การ
วิเคราะห์ทาให้ทราบทั้งคุณภาพของน้ ามันหล่อลื่นที่ใช้งานอยู่ และสภาพการ
สึ กหรอของชิ้นส่ วนที่น้ ามันไหลผ่าน เช่น เฟื องทด ลูกสู บกับกระบอกสู บ
แนวทางการใช้ เทคนิคต่ างๆ
⚫ Vibration analysis: ใช้วดั สภาพความผิดปกติของเครื่ องจักรที่
เคลื่อนที่ในขณะทางาน เช่น มอเตอร์ ปั๊ม เครื่ องยนต์ พัดลม เฟื องทด สามารถ
ใ ช้ บ อ ก อ า ก า ร ผิ ด ป ก ติ ไ ด้ ห ล า ย อ ย่ า ง เ ช่ น unbalance,
misalignment, looseness, bearing defects
นอกจากนั้นยังใช้วิเคราะห์หาความถี่ธรรมชาติของโครงสร้างได้ดว้ ย
⚫ Leak test: การตรวจสอบรอยรั่วซึ มของระบบท่อ ทั้งท่อลม (ใช้
acoustic receiver) ท่อส่ งของเหลว (ใช้ความดันตกคร่ อม หรื อ
จากร่ องรอยแปดเปื้ อนต่างๆ)
แนวทางการใช้ เทคนิคต่ างๆ
⚫ NDT: เป็ นเทคนิคการตรวจหาความผิดปกติในเนื้อวัสดุ เช่น cracks,
voids มีหลายวิธีดว้ ยกัน ได้แก่
⚫ RT เป็ นวิธีเดียวกันกับการ x-ray ร่ างกายมนุษย์
⚫ UT ใช้การส่ งคลื่นเสี ยง (ultra sound) ผ่านชิ้นงาน แล้วดักฟั งคลื่นที่
สะท้อนกลับ
⚫ LT ใช้การแทรกซึมของสี ลงไปตามรอยร้าว แล้วจึงตรวจดูรอยสี น้ นั
⚫ MT ทาให้ชิ้นงานมีสภาพเป็ นแม่เหล็ก แล้วใช้ผงเหล็กชี้บ่งตาแหน่งข้อบกพร่ องบน
ชิ้นงาน
⚫ ET เมื่ อ ผ่ า นกระแสไฟฟ้ า เข้ า ไปในชิ้ น งาน รอยร้ า วจะท าให้ เ กิ ด eddy
current ทีสามารถตรวจจับได้
แนวทางการใช้ เทคนิคต่ างๆ
⚫ Corrosion analysis: ใช้ในการตรวจขนาดของชิ้นงาน เช่นท่อ
โดยการวิเคราะห์จากการสึ กกร่ อนของตัวอย่างเปรี ยบเทียบ(coupon)
⚫ Flow analysis: ใช้ประกอบการวิเคราะห์สมรรถนะของปั๊ม
⚫ Stress analysis: ด้วยการวิเคราะห์ความเค้นที่เกิดขึ้นในชิ้นงาน
จะทาให้ทราบสภาพทางกายภาพ (ความแข็งแรง การขยายตัว) ของชิ้นงาน
⚫ Acoustic emission: การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพภายใน
ชิ้นงาน เช่น การแตกร้าว การเลื่อนไหล จะปลดปล่อยพลังงานที่ตรวจจับได้
ออกมา
Setup of CBM Program
ศึกษาความเป็ นไปได้

เลือกเครื่ องจักร

เลือกเทคนิค

หาระดับทางานปกติ

กาหนดความถี่และระดับเตือนภัย

กาหนดรายการและลาดับการออกตรวจ

ออกตรวจปกติ

บันทึกข้อมูล

ปกติ ประเมิน
ผิดปกติ
สงสัย หาสาเหตุ
ค้นพบ
แก้ไข

ประเมินการจัดการ

ประเมินเทคนิค

ประเมินผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์
การศึกษาความเป็ นไปได้
⚫ ดูความเหมาะสมของโรงงานว่าจะสามารถใช้ CBM ได้
หรื อไม่
⚫ เปรี ยบเทียบวิธีการบารุ งรักษาทุกแบบ
⚫ การลงทุน
⚫ บุคลากร
⚫ ความคุม้ ทุน
การเลือกเครื่ องจักร
⚫ มีอาการที่แสดงสภาพ

⚫ สามารถตรวจวัดอาการนั้นได้

⚫ มีช่วงเวลาเตรี ยมตัวเพื่อการซ่ อมบารุ งนานพอ

⚫ เป็ นเครื่ องจักรที่สาคัญ

⚫ มีกาลังคนเพียงพอ
การเลือกเทคนิค
⚫ เหมาะสมกับเครื่ องจักร

⚫ แสดงสภาพที่แท้จริ ง

⚫ ให้ความหมายที่ชด
ั เจน
⚫ ใช้ง่าย
การวัดระดับการทางานปกติ
⚫ เพื่อใช้เป็ นค่าอ้างอิงพื้นฐาน
⚫ เก็บค่าอย่างน้อย 25 ค่า

⚫ หาค่าเฉลี่ยและขอบเขตจากค่าที่วดั ได้
การกาหนดความถีแ่ ละระดับเตือนภัย
⚫ คาบการตรวจต้องสั้นกว่าระยะเวลาจากการเริ่ มแสดงอาการ
ผิดปกติของเครื่ องจักรจนถึงเกิดความเสี ยหาย
⚫ คาบการตรวจต้องไม่ถี่มากจนเกินความจาเป็ น
⚫ ตั้งระดับเตือนภัยให้ห่างจากขณะเกิ ดความเสี ยหาย ให้มีเวลา
เตรี ยมตัวเพียงพอสาหรับการเข้า
⚫ อย่า ตั้ง ระดับ เตื อ นภัย ให้ ต่ า มากเกิ น ไป ท าให้ต ้อ งเข้า ซ่ อ ม
บารุ งบ่อยครั้งโดยไม่จาเป็ น
การกาหนดรายการและลาดับ
⚫ จัดทารายการเครื่ องจักร ตาแหน่ง และลาดับในการวัด

⚫ ช่วยในการวางแผนกาหนดการออกตรวจวัด

⚫ เป็ นคู่มือการออกทาการตรวจวัด

⚫ ทาให้สามารถหมุนเวียนผูป
้ ฏิบตั ิงานได้ โดยไม่ตอ้ งกลัว
ความผิดพลาด
⚫ สามารถทวนสอบข้อมูลได้
การเก็บข้ อมูล
⚫ เป็ นขั้นตอนการทางานประจา

ั ิตามแผนงานและคู่มือ
⚫ ปฏิบต

⚫ ต้องมีการเก็บข้อมูลอย่างเป็ นระบบ
⚫ ระบบอิเล็กทรอนิกส์
⚫ ระบบเอกสาร
การประเมินข้ อมูล
⚫ ประเมินข้อมูลที่เก็บได้วน
ั ต่อวัน
⚫ ใช้ประวัติที่ผา่ นมาและเกณฑ์การทางานปกติประกอบการ
ประเมินทุกครั้ง
⚫ ถ้ามีสิ่งผิดปกติตอ
้ งรี บทาการวินิจฉัยหาสาเหตุ
⚫ ถ้าไม่มีสิ่งผิดปกติให้เก็บบันทึกไว้ สาหรับการเปรี ยบเทียบ
กับการประเมินครั้งต่อไป
การวินิจฉัยสาเหตุ
⚫ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
⚫ ข้อมูลผิดปกติที่ไม่แน่ใจต้องรี บยืนยัน

⚫ ตรวจสอบสาเหตุของความเสี ยหายจากประวัติเดิม

⚫ บันทึกแนวทฤษฎีที่ใช้ประกอบการพยากรณ์สาเหตุของความ
เสี ยหายไว้เป็ นหลักฐาน
⚫ ทวนสอบการพยากรณ์กบ ั สภาพความ เสี ยหายจริ ง เก็บไว้เป็ น
ประวัติ
การบารุงรักษา
⚫ เตรี ยมการบารุ งรักษาตามแนวทางที่มีการวินิจฉัยไว้
⚫ บุคลากร
⚫ เครื่ องมือ
⚫ อะไหล่
⚫ ประวัติการซ่อมเดิม
⚫ ทาบันทึกการซ่อมบารุ ง
⚫ พัฒนาให้ใช้เวลาในการบารุ งรักษาน้อยลงเรื่ อยๆ
การประเมินผลต่ างๆ
⚫ ใช้ปรับปรุ งการทางานให้กระชับขึ้น
⚫ ใช้ลดเวลาสู ญเปล่า
⚫ เปลี่ยนแปลงเทคนิ คการตรวจวัดให้เหมาะสมขึ้น
⚫ ตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่ องจักรที่เลือกทา
CBM
⚫ ขยายการใช้ CBM ให้ครอบคลุมเครื่ องจักรอื่นๆต่อไป

You might also like