You are on page 1of 192

Calculus for Social Science I

Borworn Khuhirun
สารบัญ

1 [Pleaseinsertintopreamble][Pleaseinsertintopreamble][Pleaseinsertintopreamble][Pleaseinsertintopreamble][Pleas
(Limits and Continuity) 3
1.1 ลิมิต (Limits) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3
1.2 ลิมิตที่อนันต์ (Limit at Infinity) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 17
1.3 ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Limits involving Trigonometric Functions) . . . . . . . . . . . . . . 20
1.4 ความต่อเนื่อง (Continuity) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 25

2 อนุพันธ์ (Derivatives) 34
2.1 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน (Derivatives of Functions) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 34
2.2 กฏอนุพันธ์ (Derivative Rules) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 40
2.3 อนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยปริยาย (Derivatives of Implicit Functions) . . . . . . . . . . . . . . . . . 57
2.4 อนุพันธ์อันดับสูง (Higher Order Derivatives) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 65

3 การประยุกต์ของอนุพันธ์ (Applications of Derivative) 68


3.1 อนุพันธ์ในการร่างกราฟและการประยุกต์ (Derivative in Graphing and Applications) . . . . . . . 68
3.2 อัตราสัมพัทธ์ (Related Rate) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 94
3.3 ผลต่างเชิงอนุพันธ์ (Differentials) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 99
3.4 ทฤษฎีบทของรอลและทฤษฎีบทค่ามัชฌิม (Rolle’s Theorem and Mean-Value
Theorem) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 104
3.5 กฏของโลปิตาล (L’Hôspital’s Rule) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 105

4 ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (Integrations and Techniques of Integration) 116


4.1 ปฏิยานุพันธ์ (Antiderivatives) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 116
4.2 ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต (Indefinite Integral) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 118
4.3 การหาปริพันธ์โดยการแทนค่า (Integration by Substitution) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 122
4.4 ทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส (The Fundamental Theorem of Calculus) . . . . . . . . . . . . . 127

5 ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (Definite Integrals and its Application) 132


5.1 ปริพันธ์จำกัดเขต (Definite Integral) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 132
5.2 พื้นที่ระหว่างเส้นโค้ง (Area between Two Curves) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 138

6 ฟังก์ชันหลายตัวแปร (Multivariable Functions) 150


6.1 ฟังก์ชันสองตัวแปรหรือฟังก์ชันหลายตัวแปร (Function of Two or More Variables) . . . . . . . . 150
6.2 ลิมิตและความต่อเนื่อง (Limit and Continuity) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 153
6.3 อนุพันธ์ย่อย (Partial Derivatives) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 160
6.4 กฎลูกโซ่ (Chain Rule) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 174
สารบัญ 2

6.5 การหาอนุพันธ์ได้ ผลต่างเชิงอนุพันธ์รวม และการประยุกต์


(Differentiability, Differentials and Applications) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 182
บทที่ 1

ลิมิตและความต่อเนื่อง (Limits and Continuity)

1.1 ลิมิต (Limits)

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f และ a, L ∈ R เรากล่าวว่า ลิมิตของฟังก์ชัน f (x) เมื่อ x เข้าใกล้ a มีค่าเท่ากับ L


เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ
x→a

ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ a (แต่ x 6= a) แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้ L

ตัวอย่าง 1.1.1. จงหาค่าของ lim (2x + 1)


x→3

x 2.9 2.99 2.999 2.9999 3.0001 3.001 3.01 3.1

2x + 1

x−1
ตัวอย่าง 1.1.2. จงหาค่าของ lim f (x) เมื่อกำหนดให้ f (x) = √
x→1 x−1

x 0.9 0.99 0.999 0.9999 1.0001 1.001 1.01 1.1

f (x)
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 4

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f และ a, L ∈ R เรากล่าวว่า ลิมิตของฟังก์ชัน f (x) เมื่อ x เข้าใกล้ a ทางซ้าย


มีค่าเท่ากับ L เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ
x→a−

ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ a และ x < a แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้ L

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f และ a, L ∈ R เรากล่าวว่า ลิมิตของฟังก์ชัน f (x) เมื่อ x เข้าใกล้ a ทางขวา


มีค่าเท่ากับ L เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ
x→a+

ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ a และ x > a แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้ L

ทฤษฎีบท 1.1.1. กำหนดฟังก์ชัน f และ a, L ∈ R จะได้ว่า

lim f (x) = L ก็ต่อเมื่อ lim f (x) = L และ lim f (x) = L


x→a x→a− x→a+

ตัวอย่าง 1.1.3. กำหนดกราฟของฟังก์ชัน f (x) ดังภาพ

จงหาค่าของ

1. lim f (x) 6. lim f (x)


x→−2− x→−1

2. lim f (x) 7. f (−1)


x→−2+
8. lim f (x)
x→1−
3. lim f (x)
x→−2
9. lim f (x)
x→1+
4. lim f (x)
x→−1− 10. lim f (x)
x→1
5. lim f (x) 11. f (1)
x→−1+
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 5

ตัวอย่าง 1.1.4. กำหนดฟังก์ชัน f โดย 


3 ,x ≤ 1
f (x) =
x + 1 ,x > 1

จงพิจารณาว่า lim f (x) นั้นมีค่าหรือไม่ ถ้ามี จงหาค่า lim f (x)


x→1 x→1
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 6

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f และ a ∈ R

• ในกรณีที่ ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ a (แต่ x 6= a) แล้ว f (x) มีค่าเพิ่มขึ้นอย่าง


ไม่มีขอบเขต เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
lim f (x) = +∞
x→a

• ในกรณีที่ ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าเข้าใกล้ a (แต่ x 6= a) แล้ว f (x) มีค่าลดลงอย่าง


ไม่มีขอบเขต เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
lim f (x) = −∞
x→a

นอกจากนี้ lim f (x) = +∞, lim f (x) = −∞, lim f (x) = +∞ และ lim f (x) = −∞ สามารถ
x→a− x→a− x→a+ x→a+
นิยามได้ในทำนองเดียวกัน

ตัวอย่าง 1.1.5. กำหนดกราฟของฟังก์ชัน f (x) ดังภาพ

จงหาค่าของ

1. lim f (x)
x→0−

2. lim f (x)
x→0+

3. lim f (x)
x→0

4. f (0)
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 7

ทฤษฎีบท 1.1.2. (Properties of Limit)


ให้ a, k ∈ R, n ∈ Z>0 , f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่ง lim f (x) = L1 และ lim g(x) = L2 จะได้ว่า
x→a x→a

1. lim k = k
x→a

2. lim x = a
x→a

3. lim kf (x) = k lim f (x) = kL1


x→a x→a

4. lim [f (x) + g(x)] = lim f (x) + lim g(x) = L1 + L2


x→a x→a x→a

5. lim [f (x) − g(x)] = lim f (x) − lim g(x) = L1 − L2


x→a x→a x→a
  
6. lim [f (x)g(x)] = lim f (x) lim g(x) = L1 L2
x→a x→a x→a

f (x) lim f (x) L1


7. lim = x→a = โดยที่ lim g(x) = L2 6= 0
x→a g(x) lim g(x) L2 x→a
x→a
 n
8. lim [f (x)]n = lim f (x) = Ln1
x→a x→a
p q √
9. lim n f (x) = n lim f (x) = n L1 โดยที่ lim f (x) = L1 > 0 ในกรณีที่ n เป็นจำนวนเต็มบวกคู่
x→a x→a x→a

นอกจากนี้ สมบัติข้างต้นยังคงเป็นจริงในกรณี lim และ lim เช่นกัน


x→a− x→a+

ตัวอย่าง 1.1.6. จงหาค่าของ

1. lim (x2 − 4x + 3)
x→5

2. lim 3 x4 + 3x − 5
x→2

[f (x)]3
3. lim เมื่อ lim f (x) = 2 และ lim g(x) = 4
x→5 g(x) − 3 x→5 x→5
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 8

บทนิยาม. ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป

n
X
f (x) = ai xi = an xn + an−1 xn−1 + . . . + a1 x + a0
i=0

โดยที่ n ∈ Z≥0 , an , an−1 , . . . , a1 , a0 ∈ R และ an 6= 0


f (x)
นอกจากนี้ เราเรียกฟังก์ชันที่อยู่ในรูป p(x) = โดยที่ f (x), g(x) เป็นฟังก์ชันพหุนามซึ่ง g(x) 6= 0
g(x)
ว่าฟังก์ชันตรรกยะ (Rational Function)

ตัวอย่าง 1.1.7. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันพหุนามหรือไม่

1. f (x) = sin x

2. f (x) = x5 + 3x + 1
1
3. f (x) = x2 − 2x 2

4. f (x) = πx3 + 4

5. f (x) = x3 + x2 − x + 1 − x−1
x2 − 1
6. f (x) =
x−1

ทฤษฎีบท 1.1.3. (Substitution Theorem)

1. ถ้า f (x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม แล้ว lim f (x) = f (a)


x→a

f (x) f (a)
2. ถ้า p(x) = เป็นฟังก์ชันตรรกยะ และ g(a) 6= 0 แล้ว lim p(x) = p(a) =
g(x) x→a g(a)

ตัวอย่าง 1.1.8. จงหาค่าของ

1. lim (x3 + 3x − 7)
x→2

x2 − 5
2. lim
x→−1 x3 + x − 4
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 9

ตัวอย่าง 1.1.9. จงหาค่าของ


x2 + 6x + 5
1. lim
x→−1 x2 − 3x − 4

x−1
2. lim √
x→1 x − 1

x4 − 1
3. lim
x→1+ x − 1
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 10

ตัวอย่าง 1.1.10. จงหาค่าของ


x2 − 6x + 9
1. lim
x→3 x−3
2x + 8
2. lim
x→−4 x2 + x − 12
x2 − 3x − 10
3. lim
x→5 x2 − 10x + 25
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 11

ตัวอย่าง 1.1.11. กำหนดฟังก์ชัน f โดย


 1

 , x < −2
x + 2

f (x) = x2 + 5 , −2 ≤ x ≤ 3
√



x + 13 ,x > 3

จงหาค่า

1. lim f (x)
x→−2

2. lim f (x)
x→0

3. lim f (x)
x→3
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 12

√ √
ข้อสังเกต. ( x)2 = x ในขณะที่ x2 = |x|

ตัวอย่าง 1.1.12. จงหาค่าของ


x3 − 1
1. lim
x→1 x − 1
√ √
3
x+2− 32
2. lim
x→0 x
(x + 8)2 − 64
3. lim
x→0 x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 13

ตัวอย่าง 1.1.13. จงหาค่าของ


x
1. lim √
x→0 1− x+1

x+3−2
2. lim √
x→1 x−1

x3 + x2 + x
3. lim
x→0− x2
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 14

ทฤษฎีบท 1.1.4. (Squeeze Theorem)


กำหนดให้ f, g และ h เป็นฟังก์ชันซึ่ง f (x) ≤ g(x) ≤ h(x) ทุกค่า x ที่เข้าใกล้ a (แต่ x 6= a) จะได้ว่า

ถ้า lim f (x) = lim h(x) = L แล้ว lim g(x) = L


x→a x→a x→a

ตัวอย่าง 1.1.14. จงหาค่าของ


 
1
1. lim x sin
x→0 x

2. lim x3 ecos(1/x)
x→0
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 15

บทนิยาม. ค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value) ของ x ∈ R เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ |x| นิยามโดย



x ,x ≥ 0
|x| =
−x ,x < 0

ตัวอย่าง 1.1.15. จงหาค่าของ


x
1. lim
x→0 x

|x|
2. lim
x→0 x
−x + 2
3. lim
x→2 |x − 2|
|x2 − 4|
4. lim
x→2− x − 2

|1 + x − 2x2 |
5. lim √
x→1+ x+3−2
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 16

ตัวอย่าง 1.1.16. จงหาค่าของ


e2x − 1
1. lim
x→0 ex − 1

4x − 1
2. lim
x→0 2x − 1
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 17

1.2 ลิมิตที่อนันต์ (Limit at Infinity)

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f และ L ∈ R

• ในกรณีที่ ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้ L


เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
lim f (x) = L
x→+∞

• ในกรณีที่ ทุกๆ x ที่อยู่ในโดเมนของ f ถ้า x มีค่าลดลงเรื่อยๆ แล้ว f (x) มีค่าเข้าใกล้ L


เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
lim f (x) = L
x→−∞

ตัวอย่าง 1.2.1. กำหนดกราฟของฟังก์ชัน f (x) ดังภาพ

จงหาค่าของ

1. lim f (x)
x→+∞

2. lim f (x)
x→−∞

ทฤษฎีบท 1.2.1. ให้ r ∈ Q>0 จะได้ว่า


1
1. lim =0
x→+∞ xr

1
2. lim = 0 ถ้า xr เป็นจำนวนจริง เมื่อ x < 0
x→−∞ xr
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 18

ตัวอย่าง 1.2.2. จงหาค่าของ


3x3 + 1
1. lim
x→+∞ −x3 − x2

x−3
2. lim
x→+∞ x2 + x

−2x2 − 1
3. lim
x→+∞ 3x

2x2 + 1
4. lim
x→+∞ 3x − 5

ex + e−x
5. lim
x→+∞ ex − e−x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 19

ข้อสังเกต. เราสามารถแปลง lim f (x) ให้เป็น lim f (u) ได้โดยการแทนค่า u = −x


x→−∞ u→+∞

ตัวอย่าง 1.2.3. จงหาค่าของ



1. lim ( x2 − 1 − x)
x→+∞

3x3 + 1
2. lim
x→−∞ −x3 − x2

1 + x2
3. lim
x→−∞ x − 1

3x2 + 6
4. lim
x→−∞ 5 − 2x

x3 − |x|
5. lim
x→−∞ |x3 − 2x2 − x + 2|
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 20

1.3 ลิมิตของฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Limits involving Trigonometric Functions)


ข้อสังเกต. (Trigonometric Identities)
sin x
1. tan x =
cos x
cos x
2. cot x =
sin x
1
3. sec x =
cos x
1
4. cosec x =
sin x
5. sin2 x + cos2 x = 1

6. 1 + tan2 x = sec2 x

7. 1 + cot2 x = cosec 2 x
1 − cos(2x)
8. sin2 x =
2
1 + cos(2x)
9. cos2 x =
2
10. sin 2x = 2 sin x cos x

ทฤษฎีบท 1.3.1. 1. lim sin x = 0


x→0

2. lim cos x = 1
x→0

sin x
3. lim =1
x→0 x

sin 2x
ตัวอย่าง 1.3.1. จงหาค่าของ lim
x→0 x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 21

sin kx
ทฤษฎีบท 1.3.2. lim =k
x→0 x

1 − cos x
ตัวอย่าง 1.3.2. จงหาค่าของ lim
x→0 x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 22

ตัวอย่าง 1.3.3. จงหาค่าของ


 
tan x cos x
1. lim −
x→0 2x 1 − sin x
x + tan x
2. lim
x→0 sin x
cosec 2x
3. lim
x→0 cot x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 23

ตัวอย่าง 1.3.4. จงหาค่าของ


4x2
1. lim x

x→0 1 − cos2
2

x2 − 3 sin x
2. lim
x→0 x
1 − cos 3x
3. lim
x→0 cos2 5x −1
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 24

ตัวอย่าง 1.3.5. จงหาค่าของ


x2 cos 2x
1. lim
x→0 1 − cos x

1 − cos x
2. lim
x→0+ x
tan3 x
3. lim
x→0 1 − sec2 x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 25

1.4 ความต่อเนื่อง (Continuity)

บทนิยาม. เรากล่าวว่าฟังก์ชัน f ต่อเนื่อง (Continuous) ที่ x = c ถ้าเงื่อนไขต่อไปนี้เป็นจริง

1. f (c) หาค่าได้

2. lim f (x) หาค่าได้


x→c

3. lim f (x) = f (c)


x→c

ตัวอย่าง 1.4.1. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ต่อเนื่องที่ x = 2 หรือไม่


x2 − 4
1. f (x) =
x−2

2
x − 4

, x 6= 2
2. g(x) = x − 2
3

,x = 2

2
x − 4

, x 6= 2
3. h(x) = x − 2
4

,x = 2
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 26

ตัวอย่าง 1.4.2. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ต่อเนื่องที่ x = 1 หรือไม่

1. f (x) = x3 + 2x + 4

x2 + 3x − 3 ,x < 1
2. f (x) =
4 − 3x ,x ≥ 1

x2 + 4 ,x ≤ 1
3. f (x) =
1 − x2 ,x > 1
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 27

ตัวอย่าง 1.4.3. จงหาค่า k 6= 0 ที่ทำให้ฟังก์ชัน

 tan kx

,x < 0
f (x) = x
−3x + 2k 2 ,x ≥ 0

ต่อเนื่องที่ x = 0
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 28

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f เรากล่าวว่า

• f ต่อเนื่องทางซ้าย (Continuous from the left) ที่ x = c ถ้า lim f (x) = f (c)
x→c−

• f ต่อเนื่องทางขวา (Continuous from the right) ที่ x = c ถ้า lim f (x) = f (c)
x→c+

ข้อสังเกต. ถ้า f ต่อเนื่องที่ x = c แล้วจะได้ว่า f ต่อเนื่องทางซ้ายและต่อเนื่องทางขวาที่ x = c



2x + 3 , x ≤ 4
ตัวอย่าง 1.4.4. จงพิจารณาว่า f (x) = ต่อเนื่องทางขวาที่ x = 4 หรือไม่
7 + 16 , x > 4
x
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 29

ทฤษฎีบท 1.4.1. ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c และ k ∈ R จะได้ว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ต่อเนื่องที่ x = c

1. f + g

2. f − g

3. kf

4. f g
f
5. โดยที่ g(c) 6= 0
g

ตัวอย่าง 1.4.5. กำหนดฟังก์ชัน


 
2
 x + 3x − 18

, x 6= 3 |x|
 ,x < 2
f (x) = x−3 และ g(x) = x2 + x + 7
2x + 3

,x = 3

 ,x ≥ 2
x

จงพิจารณาว่า f − g ต่อเนื่องที่ x = 3 หรือไม่


บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 30

ตัวอย่าง 1.4.6. กำหนดฟังก์ชัน


 
3 , x 6= 4 x2 − 10 , x ≥ 4
f (x) = และ g(x) =
2x − 5 ,x = 4 x + 2 ,x < 4

จงพิจารณาว่า f + 3g ต่อเนื่องที่ x = 4 หรือไม่


บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 31

ทฤษฎีบท 1.4.2. กำหนดให้ g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c และ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = g(c) จะได้ว่า

(f ◦ g)(x) = f (g(x))

เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c

ข้อสังเกต. พิจารณาฟังก์ชัน f ที่ x = c เราสามารถจำแนกความไม่ต่อเนื่อง (Discontinuity) ของฟังก์ชันออกเป็น 2


ประเภทได้ดังนี้

1. ความไม่ต่อเนื่องที่สามารถแก้ไขได้ (Removable Discontinuity)


สาเหตุ : มี 2 สาเหตุ ดังนี้

• lim f (x) หาค่าได้ แต่ f (c) ไม่มีค่า


x→c

• lim f (x) หาค่าได้ แต่ lim f (x) 6= f (c)


x→c x→c

วิธีแก้ไข : กำหนดค่า f (c) = lim f (x)


x→c

2. ความไม่ต่อเนื่องที่ไม่สามารถแก้ไขได้ (Non-removable Discontinuity)


สาเหตุ : lim f (x) หาค่าไม่ได้
x→c

ตัวอย่าง 1.4.7. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ สามารถแก้ไขความไม่ต่อเนื่องที่ x = 2 ได้หรือไม่ ถ้าแก้ไขได้


จงแก้ไขความไม่ต่อเนื่องนั้น
x2 − 4x + 4
1. f (x) =
x−2

x + 5 , x 6= 2
2. f (x) =
3 ,x = 2

x − 3 ,x ≤ 2
3. f (x) =
5 − x2 ,x > 2
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 32

ตัวอย่าง 1.4.8. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้ สามารถแก้ไขความไม่ต่อเนื่องที่ x = 2 ได้หรือไม่ ถ้าแก้ไขได้


จงแก้ไขความไม่ต่อเนื่องนั้น
x2 − 4
1. f (x) =
x3 − 8

2x − 3 , x ≤ 2
2. f (x) =
x2 ,x > 2

3x2 + 5 , x 6= 2
3. f (x) =
7 ,x = 2
บทที่ 1. ลิมิตและความต่อเนื่อง (LIMITS AND CONTINUITY) 33

ตัวอย่าง 1.4.9. จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน  2x


e −1


 ex − 1 ,x < 0
f (x) =
 sin x


,x > 0
x
สามารถแก้ไขความไม่ต่อเนื่องที่ x = 0 ได้หรือไม่ ถ้าแก้ไขได้ จงแก้ไขความไม่ต่อเนื่องนั้น
บทที่ 2

อนุพันธ์ (Derivatives)

2.1 อนุพันธ์ของฟังก์ชัน (Derivatives of Functions)

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f เมื่อค่า x เปลี่ยนแปลงจาก x1 เป็น x2 โดยที่ x1 6= x2 จะได้ว่าค่า y = f (x)


เปลี่ยนแปลงจาก f (x1 ) เป็น f (x2 )

นอกจากนี้ อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย (Avarage Rate of Change) ของ y = f (x) จาก x1 ถึง x2 คือ

f (x2 ) − f (x1 )
x2 − x1

ตัวอย่าง 2.1.1. จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของฟังก์ชัน f (x) = x2 จาก x1 = 2 ถึง x2 = 6


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 35

f (x + h) − f (x)
บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f ซึ่ง lim มีค่า เรานิยามอนุพันธ์ของ f เทียบกับ x (Derivative
h→0 h
df
of f with respect to x) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ f 0 หรือ คือ
dx

f (x + h) − f (x)
f 0 (x) = lim
h→0 h

นอกจากนี้ เรากล่าวว่าฟังก์ชัน f หาอนุพันธ์ได้ที่ x0 (Differentiable at x0 ) ถ้า f 0 (x0 ) หาค่าได้

ข้อสังเกต. ในกรณีที่เราเขียนฟังก์ชัน f ในรูป y = f (x) อนุพันธ์ของ f เทียบกับ x สามารถเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์


dy
y 0 หรือ
dx
ตัวอย่าง 2.1.2. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f (x) = x2 เทียบกับ x โดยใช้บทนิยาม
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 36

ตัวอย่าง 2.1.3. กำหนดฟังก์ชัน f (x) = |x| จงหา f 0 (0) โดยใช้บทนิยาม


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 37

ตัวอย่าง 2.1.4. กำหนดฟังก์ชัน 


5x − 2 , x ≥ 3
f (x) =
2x − 1 , x < 3

จงหา f 0 (3)
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 38

ทฤษฎีบท 2.1.1. ถ้าฟังก์ชัน f หาอนุพันธ์ได้ที่ x0 แล้ว f จะต่อเนื่องที่ x0

บทนิยาม. สมการเส้นตรง (Linear Equation) คือสมการที่อยู่ในรูป y = mx + b โดยที่ m คือความชัน (Slope)


และ b คือจุดตัดแกน Y (Y -intercept)
นอกจากนี้ สมการเส้นตรงซึ่งมีความชัน m ผ่านจุด (x0 , y0 ) สามารถเขียนได้ในรูป

y − y0 = m(x − x0 )

ทฤษฎีบท 2.1.2. กำหนดฟังก์ชัน f ซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ x0 จะได้ว่า

f 0 (x0 ) คือความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง (Tangent Line) y = f (x) ที่จุด (x0 , f (x0 ))

ตัวอย่าง 2.1.5. จงหาสมการเส้นสัมผัสของฟังก์ชัน f (x) = x2 ที่ x = −2


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 39

d√ 1 √
ตัวอย่าง 2.1.6. เราทราบว่า x = √ จงหาสมการเส้นสัมผัสของฟังก์ชัน f (x) = x ที่ x = 1
dx 2 x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 40

2.2 กฏอนุพันธ์ (Derivative Rules)

ทฤษฎีบท 2.2.1. (Derivative Rules)


กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ c ∈ R จะได้ว่า
dc
1. Constant Rule: =0
dx
d d
2. Constant Multiple Rule: cf (x) = c f (x)
dx dx
d n
3. Power Rule: x = nxn−1 เมื่อ n ∈ R
dx
d d d
4. Sum Rule: [f (x) + g(x)] = f (x) + g(x)
dx dx dx
d d d
5. Difference Rule: [f (x) − g(x)] = f (x) − g(x)
dx dx dx
d d d
6. Product Rule: [f (x)g(x)] = f (x) g(x) + g(x) f (x)
dx dx dx
  g(x) d f (x) − f (x) d g(x)
d f (x) dx dx
7. Quotient Rule: =
dx g(x) [g(x)]2

ตัวอย่าง 2.2.1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = −2x5 + x3 − 5x + 9

2. f (x) = x + 2x
√ 7
3. f (x) = 3
x−
x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 41

ตัวอย่าง 2.2.2. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


4
1. f (x) = x 13

2. f (x) = (x3 − x + 2)(x4 − 2x2 + 5x − 1)


2x + 3
3. f (x) =
x2 − 1
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 42

ทฤษฎีบท 2.2.2. (Chain Rule)


กำหนดให้ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ f เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ g(x) จะได้ว่า

(f ◦ g)(x) = f (g(x))

เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้ที่ x และ

d
[f (g(x))] = (f ◦ g)0 (x) = f 0 (g(x))g 0 (x)
dx

ข้อสังเกต. จากกฏลูกโซ่ข้างต้น เมื่อกำหนดให้ y = f (u) และ u = g(x) จะได้ว่า y = f (g(x)) = (f ◦ g)(x) และ

dy dy du
= ·
dx du dx

dy
du

du
dx

ตัวอย่าง 2.2.3. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = x2 + 2x + 1

2. f (x) = (x + 1)2
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 43

ตัวอย่าง 2.2.4. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = (x2 + 112)44


2
2. f (x) =
(−x + 2)3
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 44

ทฤษฎีบท 2.2.3. (Derivative of Trigonometric Functions)


d
1. sin x = cos x
dx
d
2. cos x = − sin x
dx
d
3. tan x = sec2 x
dx
d
4. cot x = − cosec 2 x
dx
d
5. sec x = sec x tan x
dx
d
6. cosec x = − cosec x cot x
dx

ตัวอย่าง 2.2.5. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = sin x2

2. f (x) = sin2 x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 45

ตัวอย่าง 2.2.6. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = sin(2x + 1)

2. f (x) = tan(x2 − x)

3. f (x) = cos3 (x2 )


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 46

ตัวอย่าง 2.2.7. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = x7 sec(2x + 1)

2. f (x) = sec3 (x3 − 1)



3. f (x) = x3 + cosec x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 47

ตัวอย่าง 2.2.8. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = (1 + x5 cot x)−8



2. f (x) = sin( 1 + cos x)
1 + cosec x2
3. f (x) =
1 − cot x2
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 48

บทนิยาม. ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน (Inverse Trigonometry Functions) คือฟังก์ชันซึ่งนิยามดังต่อไปนี้


π π
1. y = arcsin x ก็ต่อเมื่อ x = sin y และ y ∈ [− , ]
2 2

2. y = arccos x ก็ต่อเมื่อ x = cos y และ y ∈ [0, π]


π π
3. y = arctan x ก็ต่อเมื่อ x = tan y และ y ∈ (− , )
2 2

4. y = arccot x ก็ต่อเมื่อ x = cot y และ y ∈ (0, π)


π π
5. y = arcsec x ก็ต่อเมื่อ x = sec y และ y ∈ [0, ) ∪ ( , π]
2 2
π π
6. y = arccosec x ก็ต่อเมื่อ x = cosec y และ y ∈ [− , 0) ∪ (0, ]
2 2
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 49

ทฤษฎีบท 2.2.4. (Derivative of Inverse Trigonometric Functions)


d 1
1. arcsin x = √
dx 1 − x2
d −1
2. arccos x = √
dx 1 − x2
d 1
3. arctan x =
dx 1 + x2
d −1
4. arccot x =
dx 1 + x2
d 1
5. arcsec x = √
dx |x| x2 − 1
d −1
6. arccosec x = √
dx |x| x2 − 1

ตัวอย่าง 2.2.9. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = arcsin(3x − 1)

2. f (x) = arctan x2 − 1
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 50

ตัวอย่าง 2.2.10. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1 4
 
1
1. f (x) = − arcsin
x x

2. f (x) = arcsec 3x2


x2
3. f (x) =
1 + arccot x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 51

ตัวอย่าง 2.2.11. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = x2 (arcsin x)3


1
2. f (x) =
arctan x

 
1
3. f (x) = x arccosec + 1 − x2
x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 52

บทนิยาม. กำหนดให้ a ∈ R>0 ซึ่ง a 6= 1 เรานิยาม

• ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลฐาน a (Exponential Function with Base a) คือฟังก์ชันซึ่งอยู่ในรูป y = ax

• ฟังก์ชันลอการิทึมฐาน a (Logarithm Function with Base a) คือฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชัน


เอกซ์โพเนนเชียลฐาน a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ y = loga x

และจะได้ว่า y = loga x ก็ต่อเมื่อ x = ay

 1 x P∞ 1
บทนิยาม. เรานิยาม e = lim 1+ หรือ e = โดยที่ n ∈ Z≥0 และจะได้ว่า e ≈ 2.718281 . . .
x→+∞ x n=0 n!
นอกจากนี้ เรานิยาม

• ฟังก์ชันลอการิทึมธรรมชาติ (Natural Logarithm Function) คือฟังก์ชัน loge เขียนแทนด้วย


สัญลักษณ์ ln

• ฟังก์ชันลอการิทึมสามัญ (Common Logarithm Function) คือฟังก์ชัน log10 เขียนแทนด้วย


สัญลักษณ์ log

และจะได้ว่า y = ln x ก็ต่อเมื่อ x = ey
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 53

ทฤษฎีบท 2.2.5. กำหนดให้ a ∈ R>0 ซึ่ง a 6= 1 และ x, y ∈ R>0 จะได้ว่า

1. loga (xy) = loga x + loga y


 
x
2. loga = loga x − loga y
y

3. loga xp = p loga x เมื่อ p ∈ R

4. loga a = 1

5. loga 1 = 0

6. ln(xy) = ln x + ln y
 
x
7. ln = ln x − ln y
y

8. ln xp = p ln x เมื่อ p ∈ R

9. ln e = 1

10. ln 1 = 0

ทฤษฎีบท 2.2.6. กำหนดให้ a ∈ R>0 ซึ่ง a 6= 1 และ x ∈ R จะได้ว่า

1. ln ex = x

2. eln x = x เมื่อ x ∈ R>0

3. ax = ex ln a

ทฤษฎีบท 2.2.7. กำหนดให้ a ∈ R>0 ซึ่ง a 6= 1 และ x ∈ R>0 จะได้ว่า


ln x
1. loga x =
ln a
d x
2. a = ax ln a
dx
d 1
3. loga x =
dx x ln a
d x
4. e = ex
dx
d 1
5. ln x =
dx x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 54

ตัวอย่าง 2.2.12. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = x ln x

2. f (x) = log5 (7x3 + 8x − 4)


3
3. f (x) = x2 ex
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 55

ตัวอย่าง 2.2.13. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = ln2 (7x3 − x)

2. f (x) = ex tan x
5−x
3. f (x) =
x2
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 56

ตัวอย่าง 2.2.14. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

ex − e−x
1. f (x) =
ex + e−x
2. f (x) = ln(1 − xex )

3. f (x) = ln(arccos x)
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 57

2.3 อนุพันธ์ของฟังก์ชันโดยปริยาย (Derivatives of Implicit Functions)

บทนิยาม. ฟังก์ชันเด่นชัด (Explicit Functions) คือฟังก์ชันที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป y = f (x) ได้อย่างชัดเจน


และกล่าวว่า f ว่าเป็น ฟังก์ชันโดยปริยาย (Implicit Functions) ถ้า f ไม่เป็นฟังก์ชันเด่นชัด

ตัวอย่าง 2.3.1. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันประเภทใด

1. 2x2 + 3x − y = 0

2. x3 + 4x2 y + 5xy + 1 = 0

3. x2 + xy 2 + 3xy − 5 = 0

ข้อสังเกต. (Implicit Differentiation)

1. พิจารณา y = f (x) ว่าเป็นฟังก์ชันของตัวแปร x


d
2. ใส่ ทั้งสองข้างของสมการ
dx

3. หาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการ โดยใช้กฏลูกโซ่เมื่อมีตัวแปร y
dy
4. จัดรูปสมการเพื่อให้ได้คำตอบ
dx

ตัวอย่าง 2.3.2. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. x3 + 4x2 y + 5xy + 1 = 0

2. x2 + xy 2 + 3xy − 5 = 0
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 58

ตัวอย่าง 2.3.3. จงหาสมการเส้นสัมผัสของฟังก์ชัน x2 + xy 2 + 3xy − 5 = 0 ที่ x = 1


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 59

ตัวอย่าง 2.3.4. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้



1. xy − y = 2xy − 2

2. sin xy = 1
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 60

ตัวอย่าง 2.3.5. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. exy tan x = x + y

2. y cos x2 = xey
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 61

ตัวอย่าง 2.3.6. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. x cos y = y 2

2. y + arctan y = x2

3. exy + yey = 1
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 62

ตัวอย่าง 2.3.7. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = 22

2. f (x) = x2

3. f (x) = 2x

ข้อสังเกต. (Logarithmic Differentation)

1. ใส่ ln ทั้งสองข้างของสมการ

2. ใช้สมบัติของ ln

3. หาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการ

ตัวอย่าง 2.3.8. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = xx

2. f (x) = xln x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 63

ตัวอย่าง 2.3.9. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = xsin x

2. f (x) = (x3 − 2x)ln x

3. f (x) = (ln x)tan x


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 64

ตัวอย่าง 2.3.10. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้


1
(2x + 1)5 (x − 2) 2
1. f (x) =
(x2 + 3)7
2
(x − 5)3 (x + 1) 3
2. f (x) = √
3
2x + 1(4x − 1)2 (3x + 5)4
2 √
3. f (x) = (x + 2)3 ex 3 x
บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 65

2.4 อนุพันธ์อันดับสูง (Higher Order Derivatives)

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน y = f (x) เราพิจารณา f 0 (x) ว่าเป็นฟังก์ชันของ x และสามารถหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน


f 0 (x) เทียบกับ x ได้ เราเรียกอนุพันธ์ของ f 0 (x) เทียบกับ x นี้ว่า อนุพันธ์อันดับสอง (Second Derivative) ของ
f เทียบกับ x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ต่อไปนี้

d2 f d2 y
f 00 , y 00 , ,
dx2 dx2

• อนุพันธ์อันดับสาม (Third Derivative) ของ f เทียบกับ x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ต่อไปนี้

d3 f d3 y
f 000 , y 000 , ,
dx3 dx3

• สำหรับ n ∈ Z≥4 นั้น อนุพันธ์อันดับที่ n (nth Derivative) ของ f เทียบกับ x เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์


ต่อไปนี้
dn f dn y
f (n) , y (n) , ,
dxn dxn

ตัวอย่าง 2.4.1. จงหาอนุพันธ์อันดับสามของฟังก์ชัน f (x) = x3 − 6x2 − 5x + 3


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 66

ตัวอย่าง 2.4.2. จงหาอนุพันธ์อันดับสี่ของฟังก์ชัน f (x) = 5x8 − 2x5 + 3x3 + 1 + ln 2x


บทที่ 2. อนุพันธ์ (DERIVATIVES) 67

ตัวอย่าง 2.4.3. จงหาอนุพันธ์อันดับสองของฟังก์ชันต่อไปนี้


2
1. f (x) = e−3x
x+1
2. f (x) =
x
3. x2 y + y 2 = 0
บทที่ 3

การประยุกต์ของอนุพันธ์ (Applications of Derivative)

3.1 อนุพันธ์ในการร่างกราฟและการประยุกต์ (Derivative in Graphing and Applications)

บทนิยาม. กำหนดให้ y = f (x) และ I ⊆ R เป็นช่วงบนจำนวนจริง จะได้ว่า

1. f เป็น ฟังก์ชันเพิ่ม (Increasing Function) บน I ถ้า

f (x1 ) < f (x2 ) สำหรับทุก x1 , x2 ∈ I ซึ่ง x1 < x2

2. f เป็น ฟังก์ชันลด (Decreasing Function) บน I ถ้า

f (x1 ) > f (x2 ) สำหรับทุก x1 , x2 ∈ I ซึ่ง x1 < x2

3. f เป็น ฟังก์ชันไม่เพิ่ม (Non-increasing Function) บน I ถ้า

f (x1 ) ≥ f (x2 ) สำหรับทุก x1 , x2 ∈ I ซึ่ง x1 < x2

4. f เป็น ฟังก์ชันไม่ลด (Non-decreasing Function) บน I ถ้า

f (x1 ) ≤ f (x2 ) สำหรับทุก x1 , x2 ∈ I ซึ่ง x1 < x2

5. f เป็น ฟังก์ชันค่าคงที่ (Constant Function) บน I ถ้า

f (x1 ) = f (x2 ) สำหรับทุก x1 , x2 ∈ I


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 69

ทฤษฎีบท 3.1.1. กำหนดฟังก์ชัน f ซึ่งต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด (a, b)

1. ถ้า f 0 (x) > 0 สำหรับทุก x ∈ (a, b) แล้ว f เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วงปิด [a, b]

2. ถ้า f 0 (x) < 0 สำหรับทุก x ∈ (a, b) แล้ว f เป็นฟังก์ชันลดบนช่วงปิด [a, b]

3. ถ้า f 0 (x) = 0 สำหรับทุก x ∈ (a, b) แล้ว f เป็นฟังก์ชันค่าคงที่บนช่วงปิด [a, b]

ตัวอย่าง 3.1.1. กำหนดฟังก์ชัน f (x) = x2 − 4x + 3 จงหาช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และ ช่วงที่ทำให้ f เป็น-


ฟังก์ชันลด
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 70

ตัวอย่าง 3.1.2. กำหนดฟังก์ชัน

1. f (x) = x3

2. f (x) = 3x4 − 4x3 − 12x2 + 5

จงหาช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และ ช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันลด


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 71

ตัวอย่าง 3.1.3. กำหนดฟังก์ชัน

1. f (x) = x3 − 3x2 + 1

2. f (x) = 5 + 12x − x3

จงหาช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และ ช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันลด


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 72

ตัวอย่าง 3.1.4. กำหนดฟังก์ชัน

1. f (x) = (2x + 1)3

2. f (x) = x4

3. f (x) = x3 − 3x2 + 1

จงหาช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม และ ช่วงที่ทำให้ f เป็นฟังก์ชันลด


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 73

บทนิยาม. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด I เรากล่าวว่า

• f เว้าบน (Concave Up) ช่วงเปิด I ถ้า f 0 เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วงเปิด I

• f เว้าล่าง (Concave Down)ช่วงเปิด I ถ้า f 0 เป็นฟังก์ชันลดบนช่วงเปิด I

ทฤษฎีบท 3.1.2. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งหาอนุพันธ์อันดับสองได้บนช่วงเปิด I จะได้ว่า

• ถ้า f 00 (x) > 0 สำหรับทุก x ∈ I แล้ว f เว้าบน บนช่วงเปิด I

• ถ้า f 00 (x) < 0 สำหรับทุก x ∈ I แล้ว f เว้าล่าง บนช่วงเปิด I

ตัวอย่าง 3.1.5. กำหนดฟังก์ชัน f (x) = x2 − 4x + 3 จงหาช่วงที่ทำให้ f เว้าบน และ ช่วงที่ทำให้ f เว้าล่าง


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 74

บทนิยาม. จุดเปลี่ยนเว้า (Inflection Point) ของฟังก์ชัน f คือจุดที่มีการเปลี่ยนจากเว้าบนไปเป็นเว้าล่าง หรือ


เปลี่ยนจากเว้าล่างไปเป็นเว้าบน

ตัวอย่าง 3.1.6. กำหนดฟังก์ชัน

1. f (x) = x3

2. f (x) = x4 − 5x3 + 9x2

จงหาช่วงที่ทำให้ f เว้าบน, ช่วงที่ทำให้ f เว้าล่าง และจุดเปลี่ยนเว้า


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 75

ตัวอย่าง 3.1.7. กำหนดฟังก์ชัน

1. f (x) = x3 − 3x2 + 1

2. f (x) = 5 + 12x − x3

จงหาช่วงที่ทำให้ f เว้าบน, ช่วงที่ทำให้ f เว้าล่าง และจุดเปลี่ยนเว้า


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 76

ตัวอย่าง 3.1.8. กำหนดฟังก์ชัน

1. f (x) = (2x + 1)3

2. f (x) = x4

3. f (x) = x3 − 6x2 + 12x − 5

จงหาช่วงที่ทำให้ f เว้าบน, ช่วงที่ทำให้ f เว้าล่าง และจุดเปลี่ยนเว้า


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 77

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f เรากล่าวว่า

• f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (Relative Maximum) ที่ x0 ถ้ามีช่วงเปิด (a, b) ที่ x0 ∈ (a, b) ซึ่ง f (x0 )
เป็นค่ามากที่สุดในช่วงเปิด (a, b) นั้น นั่นคือ

f (x0 ) ≥ f (x) สำหรับทุก x ∈ (a, b)

เราเรียก f (x0 ) ว่าเป็นค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (Relative Maximum) ของ f และเรียก (x0 , f (x0 )) ว่าเป็น
จุดสูงสุดสัมพัทธ์ (Relative Maximum Point) ของ f

• f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ (Relative Minimum) ที่ x0 ถ้ามีช่วงเปิด (a, b) ที่ x0 ∈ (a, b) ซึ่ง f (x0 )
เป็นค่าน้อยที่สุดในช่วงเปิด (a, b) นั้น นั่นคือ

f (x0 ) ≤ f (x) สำหรับทุก x ∈ (a, b)

เราเรียก f (x0 ) ว่าเป็นค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ (Relative Minimum) ของ f และเรียก (x0 , f (x0 )) ว่าเป็น
จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ (Relative Minimum Point) ของ f

• f มีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ (Relative Extremum) ที่ x0 ถ้า f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ x0 หรือ f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์


ที่ x0 ในที่นี้ เราเรียก f (x0 ) ว่าเป็นค่าสุดขีดสัมพัทธ์ (Relative Extremum) ของ f และเรียก (x0 , f (x0 ))
ว่าเป็นจุดสุดขีดสัมพัทธ์ (Relative Extremum Point) ของ f
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 78

ตัวอย่าง 3.1.9. จงหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์และจุดสุดต่ำสัมพัทธ์ทั้งหมดของฟังก์ชัน f ซึ่งมีโดเมนเป็น R ดังภาพ

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f เราเรียก c ซึ่งอยู่ในโดเมนของ f ว่าจุดวิกฤติ (Critical Point) ของ f ถ้าหนึ่งใน-


เงื่อนไขต่อไปนี้เป็นจริง

1. f 0 (c) = 0

2. f 0 (c) หาค่าไม่ได้

ในกรณีนี้ เราเรียก f (c) ว่าค่าวิกฤติ (Critical Value) ของ f


นอกจากนี้ เราเรียกจุดวิกฤติ c ที่ f 0 (c) = 0 ว่าจุดนิ่ง (Stationary Point)

ตัวอย่าง 3.1.10. จงหาจุดวิกฤติของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = 3x4 − 6x2


1 4
2. f (x) = 4x 3 − x 3
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 79

ตัวอย่าง 3.1.11. จงหาจุดวิกฤติของฟังก์ชันต่อไปนี้

x2
1. f (x) =
x3 + 8
ex
2. f (x) =
x+1
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 80

ทฤษฎีบท 3.1.3. ถ้าฟังก์ชัน f มีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ที่ c แล้ว c เป็นจุดวิกฤติของ f

ข้อสังเกต. จากทฤษฎีบท 3.1.3 จะเห็นว่า

ถ้า c เป็นจุดวิกฤติของ f แล้วไม่จำเป็นว่า f มีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ที่ c

ข้อสังเกต. ฟังก์ชัน f สามารถมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (ต่ำสุดสัมพัทธ์) หลายค่าได้ หรือ ไม่มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (ต่ำสุดสัมพัทธ์)


ได้เช่นกัน
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 81

ทฤษฎีบท 3.1.4. (First Derivative Test)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องซึ่งหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด (a, b) และ c ∈ (a, b) เป็นจุดวิกฤติของ f
จะได้ว่า

1. ถ้า f 0 (x) < 0 บน (a, c) และ f 0 (x) > 0 บน (c, b) แล้ว f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ c

2. ถ้า f 0 (x) > 0 บน (a, c) และ f 0 (x) < 0 บน (c, b) แล้ว f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ c

3. ถ้า f 0 (x) > 0 บน (a, c) ∪ (c, b) แล้ว f ไม่มีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ที่ c

4. ถ้า f 0 (x) < 0 บน (a, c) ∪ (c, b) แล้ว f ไม่มีค่าสุดขีดสัมพัทธ์ที่ c

ทฤษฎีบท 3.1.5. (Second Derivative Test)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องซึ่งหาอนุพันธ์อันดับสองได้บนช่วงเปิด (a, b) และ c ∈ (a, b) เป็นจุดวิกฤติ-
ของ f จะได้ว่า

1. ถ้า f 00 (c) < 0 แล้ว f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่ c

2. ถ้า f 00 (c) > 0 แล้ว f มีค่าต่ำสุดสัมพัทธ์ที่ c

3. ในกรณีที่ f 00 (c) = 0 หรือ f 00 (c) หาค่าไม่ได้ ไม่มีข้อสรุป

ข้อสังเกต. (วิธีการหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์หรือจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของฟังก์ชัน)

1. หาจุดวิกฤติทั้งหมดของฟังก์ชัน f

2. เลือกวิธีการทดสอบอนุพันธ์อันดับหนึ่งหรือการทดสอบอนุพันธ์อันดับสอง

3. ในกรณีที่เลือกใช้วิธีการทดสอบอนุพันธ์อันดับสอง แล้วมีจุดวิกฤติที่หาข้อสรุปไม่ได้ ให้กลับไปใช้การทดสอบอนุ-


พันธ์อันดับหนึ่ง

ตัวอย่าง 3.1.12. จงหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์และจุดสุดต่ำสัมพัทธ์ทั้งหมดของฟังก์ชัน f (x) = x3 − 3x2 − 9x + 5


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 82

ตัวอย่าง 3.1.13. จงหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์และจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ทั้งหมดของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = x4 − 2x2

2. f (x) = 3x5 − 5x3


x2 + 4
3. f (x) =
x2 − 1
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 83

ตัวอย่าง 3.1.14. จงหาจุดสูงสุดสัมพัทธ์และจุดต่ำสุดสัมพัทธ์ทั้งหมดของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = 1 + 8x − 3x2

2. f (x) = x4 − 12x3

3. f (x) = x4 − 4x3 + 4x2

4. f (x) = x4 − 2x3 + 2x − 1

5. f (x) = 4x3 − 9x4


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 84

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f , I เป็นช่วงบนโดเมนของ f และ x0 ∈ I เรากล่าวว่า

• f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (Absolute Maximum) ที่ x0 ถ้า f (x0 ) เป็นค่ามากที่สุดในช่วง I นั้น นั่นคือ

f (x0 ) ≥ f (x) สำหรับทุก x ∈ I

เราเรียก f (x0 ) ว่าเป็นค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (Absolute Maximum) ของ f และเรียก (x0 , f (x0 )) ว่าเป็น
จุดสูงสุดสัมบูรณ์ (Absolute Maximum Point) ของ f

• f มีค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ (Absolute Minimum) ที่ x0 ถ้า f (x0 ) เป็นค่าน้อยที่สุดในช่วง I นั้น นั่นคือ

f (x0 ) ≤ f (x) สำหรับทุก x ∈ I

เราเรียก f (x0 ) ว่าเป็นค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ (Absolute Minimum) ของ f และเรียก (x0 , f (x0 )) ว่าเป็น
จุดต่ำสุดสัมบูรณ์ (Absolute Minimum Point) ของ f

• f มีค่าสุดขีดสัมบูรณ์ (Absolute Extremum) ที่ x0 ถ้า f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ที่ x0 หรือ f มีค่าต่ำสุด-


สัมบูรณ์ที่ x0 ในที่นี้ เราเรียก f (x0 ) ว่าเป็นค่าสุดขีดสัมบูรณ์ (Absolute Extremum) ของ f และเรียก
(x0 , f (x0 )) ว่าเป็นจุดสุดขีดสัมบูรณ์ (Absolute Extremum Point) ของ f

ข้อสังเกต. กำหนดฟังก์ชัน f , I เป็นช่วงบนโดเมนของ f และ x0 ∈ I จะได้ว่า

1. ถ้า f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (ต่ำสุดสัมบูรณ์) ที่ x0 ∈ I แล้ว f มีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ (ต่ำสุดสัมพัทธ์) ที่ x0 ∈ I เช่นกัน

2. f สามารถมีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (ต่ำสุดสัมบูรณ์) ได้เพียงค่าเดียว หรือ ไม่มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (ต่ำสุดสัมบูรณ์)


ได้เช่นกัน

3. f สามารถมีค่าสูงสุดสัมบูรณ์ (ต่ำสุดสัมบูรณ์) ได้ที่หลายตำแหน่ง (ทุกตำแหน่งให้ค่าเดียวกัน)

ตัวอย่าง 3.1.15. จงหาจุดสูงสุดสัมบูรณ์และจุดต่ำสุดสัมบูรณ์ทั้งหมดของฟังก์ชัน f (x) = x2 บนช่วง I = [0, 2]


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 85

ทฤษฎีบท 3.1.6. (Extreme-Value Theorem)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] จะได้ว่า f มีค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์บน [a, b]

ทฤษฎีบท 3.1.7. กำหนดฟังก์ชัน f จะได้ว่า

ถ้า f มีค่าสุดขีดสัมบูรณ์บนช่วงเปิด (a, b) แล้วตำแหน่งที่ให้ค่าสุดขีดสัมบูรณ์นั้นเป็นจุดวิกฤติ

ข้อสังเกต. (วิธีการหาจุดสูงสุดสัมบูรณ์หรือจุดต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน f ซึ่งต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b])

1. หาจุดวิกฤติทั้งหมดของฟังก์ชัน f บนช่วงเปิด (a, b)

2. หาค่าของฟังก์ชัน f ที่จุดวิกฤติทั้งหมดที่ได้จากข้อ 1 และ f (a), f (b)

3. ค่าที่มากที่สุดที่ได้จากข้อ 2 คือค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของ f บนช่วงปิด [a, b]


ค่าที่น้อยที่สุดที่ได้จากข้อ 2 คือค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของ f บนช่วงปิด [a, b]

ตัวอย่าง 3.1.16. จงหาจุดสูงสุดสัมบูรณ์และจุดต่ำสุดสัมบูรณ์ทั้งหมดของฟังก์ชัน f (x) = 8x − x2 บนช่วง I = [0, 6]


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 86

ตัวอย่าง 3.1.17. จงหาจุดสูงสุดสัมบูรณ์และจุดต่ำสุดสัมบูรณ์ทั้งหมดของฟังก์ชันต่อไปนี้


4 1
1. f (x) = 6x 3 − 3x 3 บนช่วง I = [−1, 1]

2. f (x) = 4x2 − 12x + 10 บนช่วง I = [1, 2]

3. f (x) = 2x3 + 15x2 + 36x บนช่วง I = [1, 5]


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 87

ตัวอย่าง 3.1.18. จงหาจุดสูงสุดสัมบูรณ์และจุดต่ำสุดสัมบูรณ์ทั้งหมดของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = (x − 2)3 บนช่วง I = [1, 4]

2. f (x) = 2x3 + 3x2 − 12x บนช่วง I = [−3, 2]


x−2
3. f (x) = บนช่วง I = (−1, 5]
x+1
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 88

ข้อสังเกต. (ขั้นตอนการแก้โจทย์ประยุกต์ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุด)

1. วาดรูปประกอบความเข้าใจ

2. กำหนดตัวแปรแทนค่าปริมาณต่างๆ

3. สร้างสมการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรจากข้อ 2

4. ลดทอนตัวแปรที่สร้างให้เหลือเพียงตัวแปรเดียว

5. หาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันที่ได้จากข้อ 4

ตัวอย่าง 3.1.19. ป้อมต้องการล้อมรั้วเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยที่รั้วยาวทั้งหมด 100 เมตร ตู่ควรล้อมรั้วให้มีความกว้างและ


ความยาวเท่าใด จึงจะล้อมได้พื้นที่มากที่สุด
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 89

ตัวอย่าง 3.1.20. จงหาปริมาตรที่มากที่สุด ของกล่องสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ไม่มีฝาปิด โดยสร้างขึ้นจากการตัดมุมทั้งสี่มุมของ


กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 16 นิ้ว ยาว 30 นิ้ว ออกเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 90

ตัวอย่าง 3.1.21. 1. จงหาเลขสองจำนวนที่ทำให้ผลคูณของเลขสองจำนวนนี้มีค่ามากที่สุด โดยที่ผลบวกของเลขจำ-


นวน หนึ่งกับสามเท่าของเลขอีกจำนวนหนึ่งคือ 60

2. จงหาจุดที่อยู่บนเส้นโค้ง y = x2 ที่อยู่ใกล้กับจุด (4, 0) มากที่สุด

3. อุ๋มต้องการสร้างกล่องไม่มีฝาปิดซึ่งมีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยที่กล่องนี้มีความจุ 32 ลูกบาศก์เมตร ถ้าค่าวัสดุที่ใช้


ราคาตารางเมตรละ 10 บาท อุ๋มจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเท่าใด จึงจะประหยัดที่สุด

4. ช้างต้องการสร้างกล่องซึ่งมีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยที่กล่องนี้มีความจุ 96 ลูกบาศก์เมตร ถ้าค่าวัสดุด้านข้างกล่อง


ราคาตารางเมตรละ 3 บาท วัสดุด้านฐานราคาตารางเมตรละ 4 บาท และวัสดุฝาบนราคาตารางเมตรละ 5 บาท
จงหาความสูงของกล่องนี้ที่ทำให้ช้างประหยัดที่สุด

5. สามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 10 เมตร และมีพื้นที่มากที่สุด จะมีความยาวของเส้นรอบรูปเป็น


เท่าใด

ข้อสังเกต. เราสามารถร่างกราฟของฟังก์ชัน f ได้ โดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

1. จุดวิกฤติ

2. ช่วงฟังก์ชันเพิ่ม ช่วงฟังก์ชันลด

3. ช่วงเว้าบน ช่วงเว้าล่าง

4. จุดเปลี่ยนเว้า

5. จุดสูงสุดสัมพัทธ์ จุดต่ำสุดสัมพัทธ์

6. จุดสูงสุดสัมบูรณ์ จุดต่ำสุดสัมบูรณ์

7. จุดตัดแกน x (แทนค่า y = 0)

8. จุดตัดแกน y (แทนค่า x = 0)
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 91

ตัวอย่าง 3.1.22. จงร่างกราฟของฟังก์ชัน f (x) = x3 − 3x + 2

• f 0 (x) =

• f 00 (x) =

• จุดวิกฤติของ f คือ

• f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม บนช่วง

• f เป็นฟังก์ชันลด บนช่วง

• f เว้าบน บนช่วง

• f เว้าล่าง บนช่วง

• จุดเปลี่ยนเว้าของ f คือ

• จุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ f คือ

• จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือ

• จุดสูงสุดสัมบูรณ์ของ f คือ

• จุดต่ำสุดสัมบูรณ์ของ f คือ

• จุดตัดแกน x ของ f คือ

• จุดตัดแกน y ของ f คือ

f 0 (x)
f 00 (x)

Graph
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 92

ตัวอย่าง 3.1.23. จงร่างกราฟของฟังก์ชัน f (x) = 3x4 − 4x3 + 2

• f 0 (x) =

• f 00 (x) =

• จุดวิกฤติของ f คือ

• f เป็นฟังก์ชันเพิ่ม บนช่วง

• f เป็นฟังก์ชันลด บนช่วง

• f เว้าบน บนช่วง

• f เว้าล่าง บนช่วง

• จุดเปลี่ยนเว้าของ f คือ

• จุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ f คือ

• จุดต่ำสุดสัมพัทธ์ของ f คือ

• จุดสูงสุดสัมบูรณ์ของ f คือ

• จุดต่ำสุดสัมบูรณ์ของ f คือ

• จุดตัดแกน x ของ f คือ

• จุดตัดแกน y ของ f คือ

f 0 (x)
f 00 (x)

Graph
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 93

ตัวอย่าง 3.1.24. จงร่างกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = 1 + 9x − 3x2 − x3

2. f (x) = 3x4 − 6x3 + 2x

3. f (x) = 2x3 − 3x2 − 36x + 5

4. f (x) = 2 − x + 2x2 − x3

5. f (x) = x4 − 6x2 + 5

6. f (x) = x4 − 2x3 + 2x − 1

7. f (x) = 4x3 − 9x4

8. f (x) = x(x2 − 1)2


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 94

3.2 อัตราสัมพัทธ์ (Related Rate)

ข้อสังเกต. (ขั้นตอนการทำโจทย์อัตราสัมพัทธ์)

1. วาดรูปประกอบความเข้าใจ

2. กำหนดตัวแปรแทนค่าปริมาณต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา

3. สร้างสมการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรจากข้อ 2

4. หาอนุพันธ์เทียบกับเวลา โดยใช้สมการจากข้อ 3

5. แทนค่าที่ทราบเพื่อหาอัตราการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ

ข้อสังเกต. กำหนดตัวแปรดังต่อไปนี้

1. s แทนระยะทาง

2. v แทนความเร็ว

3. a แทนความเร่ง

จะได้ว่า
ds dv
=v และ =a
dt dt
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 95

ตัวอย่าง 3.2.1. น้ำไหลออกจากภาชนะรูปกรวยฐานกลมสูง 20 เมตร ซึ่งมีฐานรัศมี 10 เมตร ด้วยอัตรา 5 ลูกบาศก์เมตร


ต่อวินาที จงหาอัตราการลดลงของระดับน้ำ เมื่อระดับน้ำสูง 8 เมตร
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 96

ตัวอย่าง 3.2.2. เครื่องบินลำหนึ่งบินไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ว 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง โดยบินสูงจากพื้นดิน


3 กิโลเมตร ชายคนหนึ่งยืนอยู่บนพื้นดิน จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ ระยะห่างระหว่างชายคนนี้กับเครื่องบิน
เมื่อเครื่องบินอยู่ห่างจากชายคนนี้เป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 97

ตัวอย่าง 3.2.3. ชายคนหนึ่งสูง 6 ฟุตเดินออกจากโคมไฟสูง 20 ฟุตด้วยความเร็ว 8 ฟุตต่อวินาที

1. เงาของชายคนนี้ยาวขึ้นหรือสั้นลงด้วยอัตรากี่ฟุตต่อวินาที

2. เงาของศีรษะของชายคนนี้เคลื่อนที่ออกจากเสาโคมไฟด้วยอัตรากี่ฟุตต่อวินาที
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 98

ตัวอย่าง 3.2.4. 1. โยนก้อนหินลงในสระน้ำ ทำให้น้ำในสระกระเพื่อมเป็นคลื่นวงกลม ซึ่งมีรัศมีเพิ่มขึ้นด้วยอัตรา


3 ฟุตต่อวินาที จงหาว่าพื้นที่ของคลื่นวงกลมจะเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นด้วยอัตราเท่าใด ขณะที่เวลาผ่านไป 10 วินาที

2. บอลลูนรูปทรงกลมรั่ว ทำให้บอลลูนแฟบลง ซึ่งรัศมีของทรงกลมลดลงด้วยอัตราคงที่ 15 เซนติเมตรต่อนาที


จงหาว่าอากาศออกจากบอลลูนด้วยอัตราเท่าใด ขณะที่บอลลูนมีรัศมี 9 เซนติเมตร

3. บันไดยาว 5 เมตรวางพิงกำแพง ถ้าปลายด้านล่างของบันไดถูกดึงออกจากกำแพงด้วยอัตรา 2 เมตรต่อวินาที


จงหาว่าปลายด้านบนของบันไดจะเคลื่อนลงด้วยอัตราเท่าใด ขณะที่ปลายด้านบนอยู่สูงจากพื้น 3 เมตร

4. เครื่องบินบินเงยขึ้นเป็นมุม 30 องศากับแนวราบ ความสูงของเครื่องบินเพิ่มขึ้นด้วยอัตราเท่าใด ถ้าเครื่องบินบิน-


ด้วยความเร็ว 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

5. ถังน้ำรูปกรวยกลมตรงรัศมี 10 เซนติเมตร สูง 24 เซนติเมตร ซึ่งจุดยอดอยู่ด้านล่าง น้ำไหลเข้าถังด้วยอัตรา 20


ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อวินาที จงหาว่ารัศมีของน้ำในถังจะเพิ่มขึ้นด้วยอัตราเท่าใด ขณะที่น้ำในถังรัศมี 3 เซนติเมตร

6. One rainy day, a girl broke up with her boyfriend after being together for eight long years. They
decided to separate at the place where everything about them began, at the same time. The boy is
due north crying and running at a rate of 5 ft/sec and the girl is walking due east at a rate of 1 ft/sec
thinking is she made the right decision. How fast are the separating from each other 5 seconds after
they started moving to a new life without each other?
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 99

3.3 ผลต่างเชิงอนุพันธ์ (Differentials)

บทนิยาม. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ x เราพิจารณาสัญลักษณ์ dy และ dx ซึ่งเรียกว่า


ผลต่างเชิงอนุพันธ์ (Differentials) และจะได้ว่า

dy
f 0 (x) =
dx

นั้นเป็นอัตราส่วนของผลต่างเชิงอนุพันธ์ dy และ dx
นอกจากนี้ ถ้า dx 6= 0 จะได้ว่า
dy = f 0 (x)dx

บทนิยาม. กำหนดตัวแปร t ถ้าค่าของ t เปลี่ยนแปลงจาก t = tเก่า ไปยัง t = tใหม่ เรานิยามส่วนเปลี่ยนแปลง


(Increment) ของ t คือ
∆t = tใหม่ − tเก่า

ตัวอย่าง 3.3.1. กำหนดให้ตัวแปร t มีค่าเปลี่ยนแปลงจาก t = 1 ไปยัง t = 0.7 จะได้ว่า

∆t = 0.7 − 1 = −0.3

ตัวอย่าง 3.3.2. กำหนดให้ตัวแปร t มีค่าเปลี่ยนแปลงจาก t = −2 ไปยัง t = 5 จะได้ว่า

∆t = 5 − (−2) = 7
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 100

ข้อสังเกต. กำหนดฟังก์ชัน y = f (x) สมมุติว่าตัวแปร x มีการเปลี่ยนแปลง โดยที่ส่วนเปลี่ยนแปลงคือ ∆x นั่นคือ

ค่าของ x เปลี่ยนแปลงจาก x ไปยัง x + ∆x

ดังนั้นค่าของ y จึงมีการเปลี่ยนแปลงจาก f (x) ไปยัง f (x + ∆x) จึงได้ว่า

∆y = f (x + ∆x) − f (x)

นอกจากนี้ เราทราบว่า f 0 (x) คือค่าของความชันที่ตำแหน่ง x และ

f (x + ∆x) − f (x) ∆y
f 0 (x) = lim = lim
∆x→0 ∆x ∆x→0 ∆x

นั่นคือ เมื่อ ∆x → 0
∆y
f 0 (x) ≈
∆x
ดังนั้น ถ้า ∆x มีค่าน้อยๆ จะได้ว่า

f 0 (x)∆x ≈ ∆y
= f (x + ∆x) − f (x)

จึงสรุปได้ว่า
f (x + ∆x) ≈ f (x) + f 0 (x)∆x เมื่อ ∆x มีค่าน้อยๆ
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 101

ข้อสังเกต. (หลักการประมาณค่าของฟังก์ชันโดยใช้ผลต่างเชิงอนุพันธ์)
ในการประมาณค่า f (x + ∆x) เราต้องคำนึงถึงสองปัจจัยต่อไปนี้

1. ∆x มีค่าน้อยๆ

2. f (x) หาค่าได้ง่าย

ตัวอย่าง 3.3.3. จงประมาณค่า 65
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 102

ตัวอย่าง 3.3.4. จงประมาณค่า esin 0.1


บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 103

ตัวอย่าง 3.3.5. จงประมาณค่าดังต่อไปนี้



3
1. 27.16
1
2. √
24.99

4
3. 17
3
4. 624 4

5. 3.024
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 104

3.4 ทฤษฎีบทของรอลและทฤษฎีบทค่ามัชฌิม (Rolle’s Theorem and Mean-Value


Theorem)

ทฤษฎีบท 3.4.1. (Rolle’s Theorem)


ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด (a, b) จะได้ว่า ถ้า f (a) = 0 และ
f (b) = 0 แล้วจะมี c ∈ (a, b) ที่ทำให้ f 0 (c) = 0

ทฤษฎีบท 3.4.2. (Mean-Value Theorem)


ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และหาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด (a, b) จะได้ว่า ถ้า f (a) = 0 และ
f (b) = 0 แล้วจะมี c ∈ (a, b) ที่ทำให้
f (b) − f (a)
f 0 (c) =
b−a
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 105

3.5 กฏของโลปิตาล (L’Hôspital’s Rule)

0
ทฤษฎีบท 3.5.1. (L’Hôspital’s Rule for Form )
0
กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่คลุม x = a แต่ไม่จำเป็นต้องหาอนุพันธ์ได้ที่
x = a โดยที่
lim f (x) = 0 และ lim g(x) = 0
x→a x→a

f 0 (x)
จะได้ว่า ถ้า lim มีค่าเป็นจำนวนจริง, −∞ หรือ +∞ แล้ว
x→a g 0 (x)

f (x) f 0 (x)
lim = lim 0
x→a g(x) x→a g (x)

นอกจากนี้ ทฤษฎีบทนี้ยังคงเป็นจริงในกรณีที่ x → a− , x → a+ , x → −∞ และ x → +∞

ตัวอย่าง 3.5.1. จงหาค่าของ


x2 − 4
1. lim
x→2 x − 2

1 − cos x
2. lim
x→0 sin x

ex − 1
3. lim
x→0 x3
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 106

ตัวอย่าง 3.5.2. จงหาค่าของ


tan x
1. lim
x→0− x2
1 − cos x
2. lim
x→0 x2
−4
x3
3. lim
x→+∞ sin 1
x
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 107

ข้อสังเกต. เราใช้เครื่องหมาย ∞ แทน −∞ หรือ +∞ ตัวอย่างเช่น

lim f (x) = ∞ หมายถึง “ lim f (x) = −∞ หรือ lim f (x) = +∞ "


x→a x→a x→a


ทฤษฎีบท 3.5.2. (L’Hôspital’s Rule for Form )

กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่คลุม x = a แต่ไม่จำเป็นต้องหาอนุพันธ์ได้ที่
x = a โดยที่
lim f (x) = ∞ และ lim g(x) = ∞
x→a x→a

f 0 (x)
จะได้ว่า ถ้า lim มีค่าเป็นจำนวนจริง, −∞ หรือ +∞ แล้ว
x→a g 0 (x)

f (x) f 0 (x)
lim = lim 0
x→a g(x) x→a g (x)

นอกจากนี้ ทฤษฎีบทนี้ยังคงเป็นจริงในกรณีที่ x → a− , x → a+ , x → −∞ และ x → +∞

ตัวอย่าง 3.5.3. จงหาค่าของ


x
1. lim
x→+∞ ex

cot x
2. lim
x→0 cot 2x

ln x
3. lim
x→0+ cosec x
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 108

ตัวอย่าง 3.5.4. จงหาค่าของ


e3x
1. lim
x→+∞ x2

cot x
2. lim
x→0+ ln x
ln(sin x)
3. lim
x→0+ ln(tan x)
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 109

ข้อสังเกต. (Indeterminate Form of Type 0 · ∞)


0 ∞
เราสามารถหาลิมิตที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนด 0 · ∞ ได้โดยแปลงให้อยู่ในรูป หรือ
0 ∞
ตัวอย่าง 3.5.5. จงหาค่าของ

1. lim x ln x
x→0+

2. limπ (1 − tan x) sec 2x


x→ 4

3. lim sec 3x cos 5x


x→ π2 −
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 110

ตัวอย่าง 3.5.6. จงหาค่าของ

1. lim x2 ln x
x→0+

2. lim tan x ln x
x→0+

3. lim (x − π) cot x
x→π
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 111

ข้อสังเกต. (Indeterminate Form of Type ∞ − ∞)

• รูปแบบไม่กำหนด ∞ − ∞ มี 4 รูปแบบ ดังนี้

(+∞) − (+∞) , (−∞) − (−∞) , (+∞) + (−∞) , (−∞) + (+∞)

0 ∞
ซึ่งเราสามารถหาลิมิตของรูปแบบไม่กำหนดข้างต้นได้ โดยการแปลงให้อยู่ในรูป หรือ
0 ∞

• รูปแบบต่อไปนี้ไม่เป็นรูปแบบไม่กำหนด ∞ − ∞

(+∞) + (+∞) = +∞
(−∞) + (−∞) = −∞
(+∞) − (−∞) = +∞
(−∞) − (+∞) = −∞

ตัวอย่าง 3.5.7. จงหาค่าของ


 
1 1
1. lim −
x→0+ x sin x
 
x 1
2. lim −
x→1+ x − 1 ln x
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 112

ตัวอย่าง 3.5.8. จงหาค่าของ


 
1 1
1. lim − x
x→0+ x e −1
 
1 cos 3x
2. lim −
x→0+ x2 x2
 
1 1
3. lim − 3
x→0+ x3 x sec x
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 113

ข้อสังเกต. (Indeterminate Forms of Type 00 , ∞0 and 1∞ )


เราสามารถหาลิมิตที่อยู่ในรูปแบบไม่กำหนด 00 , ∞0 และ 1∞ ได้ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. พิจารณาฟังก์ชันในรูป y = f (x)g(x)

2. ใส่ ln ทั้งสองข้างของสมการ ทำให้ได้ว่า


h i
ln y = ln f (x)g(x) = g(x) ln[f (x)]

3. หาลิมิตของรูปแบบไม่กำหนด 0 · ∞ ค่าที่ได้คือลิมิตของ ln y

4. หาค่าลิมิตของ y โดยใช้สมบัติของ ln
1
ตัวอย่าง 3.5.9. จงหาค่าของ lim (1 + sin x) x
x→0
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 114

ตัวอย่าง 3.5.10. จงหาค่าของ

1. lim xsin x
x→0+

2. lim (e2x − 1)x


x→0+
1
3. lim x x
x→+∞
บทที่ 3. การประยุกต์ของอนุพันธ์ (APPLICATIONS OF DERIVATIVE) 115

ตัวอย่าง 3.5.11. จงหาค่าของ

1. lim (x + 1)cot x
x→0
1
2. lim (1 + 3x) 2x
x→0+
π
3. lim (tan x) 2 −x
x→ π2 −
บทที่ 4

ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (Integrations and Techniques of Integration)

4.1 ปฏิยานุพันธ์ (Antiderivatives)

บทนิยาม. กำหนดฟังก์ชัน f และช่วง I ⊆ R เรากล่าวว่าฟังก์ชัน F เป็นปฏิยานุพันธ์ (Antiderivative) ของ f


บนช่วง I ถ้า

F 0 (x) = f (x) สำหรับทุก x∈I

ตัวอย่าง 4.1.1. จงหาปฏิยานุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x) = x2

2. f (x) = e2x
1
3. f (x) =
1 + x2
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 117

ข้อสังเกต. ปฎิยานุพันธ์ของฟังก์ชันนั้นมีได้หลายคำตอบ โดยคำตอบนั้นต่างกันในส่วนของค่าคงที่

ทฤษฎีบท 4.1.1. กำหนดให้ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงเปิด I จะได้ว่า

F (x) + C เป็นปฏิยานุพันธ์ของฟังก์ชัน f บนช่วงเปิด I สำหรับทุก C ∈ R


บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 118

4.2 ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต (Indefinite Integral)

บทนิยาม. ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต (Indefinite Integral) ของฟังก์ชัน f คือเซตของปฏิยานุพันธ์ทั้งหมดของ f เขียน


แทนด้วยสัญลักษณ์ ˆ
f (x) dx

นอกจากนี้ ถ้า F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f จะได้ว่า


ˆ
f (x) dx = F (x) + C โดยที่ C ∈ R เป็นค่าคงที่

ข้อสังเกต. ในบางกรณี เราสามารถย่อสัญลักษณ์ปริพันธ์ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้


ˆ ˆ
• dx แทน 1 dx
ˆ ˆ
dx 1
• แทน dx
x2 x2

ทฤษฎีบท 4.2.1. (Properties of Indefinite Integral)


กำหนดฟังก์ชัน f, g และ c ∈ R จะได้ว่า
ˆ ˆ
1. Constant Multiple Rule: cf (x) dx = c f (x) dx
ˆ ˆ ˆ
2. Sum Rule: [f (x) + g(x)] dx = f (x) dx + g(x) dx
ˆ ˆ ˆ
3. Difference Rule: [f (x) − g(x)] dx = f (x) dx − g(x) dx
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 119

ทฤษฎีบท 4.2.2. (Integration Formulas)

DIFFERENTIATION FORMULA INTEGRATION FORMULA


ˆ
d
1. [x] = 1 dx = x + C
dx
ˆ
d xn+1 xn+1
 
2. = xn (n 6= −1) xn dx = +C (n 6= −1)
dx n + 1 n+1
ˆ
d
3. [sin x] = cos x cos x dx = sin x + C
dx
ˆ
d
4. [− cos x] = sin x sin x dx = − cos x + C
dx
ˆ
d
5. [tan x] = sec2 x sec2 x dx = tan x + C
dx
ˆ
d
6. [− cot x] = cosec 2 x cosec 2 x dx = − cot x + C
dx
ˆ
d
7. [sec x] = sec x tan x sec x tan x dx = sec x + C
dx
ˆ
d
8. [− cosec x] = cosec x cot x cosec x cot x dx = − cosec x + C
dx
ˆ
d x
9. [e ] = ex ex dx = ex + C
dx
ˆ
d ax ax
 
10. = ax (a > 0, a 6= 1) ax dx = +C (a > 0, a 6= 1)
dx ln a ln a
ˆ
d 1 1
11. [ln |x|] = dx = ln |x| + C
dx x x
ˆ
d 1 1
12. [arcsin x] = √ √ dx = arcsin x + C
dx 1 − x2 1 − x2
ˆ
d 1 1
13. [arctan x] = dx = arctan x + C
dx 1 + x2 1 + x2
ˆ
d 1 1
14. [arcsec |x|] = √ √ dx = arcsec |x| + C
dx x x2 − 1 x x2 − 1
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 120

ตัวอย่าง 4.2.1. จงหาค่าของ


ˆ
1. (1 − x + 3x2 ) dx
ˆ
1
2. dx
2x
ˆ

3. x dx
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 121

ตัวอย่าง 4.2.2. จงหาค่าของ


ˆ
cos x
1. dx
sin2 x
ˆ 2
x − 2x4
2. dx
x4
ˆ
x2
3. dx
x2 + 1
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 122

4.3 การหาปริพันธ์โดยการแทนค่า (Integration by Substitution)

ข้อสังเกต. ในส่วนนี้ เราจะหาปริพันธ์โดยใช้วิธีการแทนค่า (วิธีการเปลี่ยนตัวแปร) โดยเริ่มจากปริพันธ์ไม่จำกัดเขตในรูป


ˆ
f (g(x))g 0 (x) dx

เมื่อกำหนดให้

u = g(x) จะได้ว่า du = g 0 (x)dx

จึงได้ว่า ˆ ˆ
0
f (g(x))g (x) dx = f (u) du

ข้อสังเกต. (ขั้นตอนการหาปริพันธ์โดนการแทนค่า)

1. พิจารณาส่วนประกอบของฟังก์ชันที่จะหาปริพันธ์

2. กำหนดให้ u = g(x) จะได้ว่า du = g 0 (x)dx

3. แทนค่า u = g(x) และ du = g 0 (x)dx เพื่อเปลี่ยนตัวแปร x ทุกตัวให้เป็นตัวแปร u

4. หาปริพันธ์ตามปกติ

5. แทนค่า u = g(x) เพื่อให้ผลลัพธ์อยู่ในรูปตัวแปร x

6. สำหรับการหาปริพันธ์จำกัดเขตในรูป
ˆ b
f (g(x))g 0 (x) dx
a

เราสามารถแทนขอบเขตของการหาปริพันธ์ (x มีค่าจาก a ถึง b) ได้ 2 วิธี ดังนี้

• แทนค่าที่ตัวแปร x: ˆ ˆ b
b
0 0
f (g(x))g (x) dx = f (g(x))g (x) dx
a a

• แทนค่าที่ตัวแปร u: เนื่องจาก u = g(x) จะได้ว่า u มีค่าจาก g(a) ถึง g(b) ดังนั้น


ˆ b ˆ g(b)
0
f (g(x))g (x) dx = f (u) du
a g(a)
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 123

ตัวอย่าง 4.3.1. จงหาค่าของ


ˆ
1. (x − 8)23 dx
ˆ
2. 2x(x2 + 1)50 dx
ˆ
3. sin(x + 9) dx
ˆ
4. cos 5x dx
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 124

ตัวอย่าง 4.3.2. จงหาค่าของ


ˆ
dx
1. 1
( 3 x − 8)5
ˆ
dx
2.
1 + 3x2
ˆ √x
e
3. √ dx
x
ˆ p
3
4. x4 3 − 5x5 dx
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 125

ตัวอย่าง 4.3.3. จงหาค่าของ


ˆ
1. tan x dx
ˆ
2. cot x dx
ˆ 1
x
3. √ dx
0 2 − x2
ˆ
dx
4. √
2 − x2
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 126

ตัวอย่าง 4.3.4. จงหาค่าของ


ˆ
ex
1. √ dx
1 − e2x
ˆ
1
2. √ dx
25 − 9x2
ˆ
dx
3.
x ln x
ˆ
sec2 x
4. √ dx
1 − tan2 x
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 127

4.4 ทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส (The Fundamental Theorem of Calculus)

ทฤษฎีบท 4.4.1. (The Fundamental Theorem of Calculus, Part I)


ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f บนช่วงปิด [a, b] จะได้ว่า
ˆ b
f (x) dx = F (b) − F (a)
a

ข้อสังเกต. เราแทนผลต่าง F (b) − F (a) ด้วยสัญลักษณ์ [F (x)]ba

ทฤษฎีบท 4.4.2. (The Fundamental Theorem of Calculus, Part II)


ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และ c ∈ [a, b] จะได้ว่าฟังก์ชัน F : [a, b] → R ซึ่งนิยามโดย
ˆ x
F (x) = f (t) dt
c

เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f นั่นคือ F 0 (x) = f (x) สำหรับทุก x ∈ [a, b]

หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ˆ x 
d
f (t) dt = f (x)
dx c

ˆ x 
d 3
ตัวอย่าง 4.4.1. จงหาค่าของ t dt
dx 1
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 128

ˆ xp
ตัวอย่าง 4.4.2. กำหนดฟังก์ชัน F (x) = t2 + 9 dt จงหาค่าของ F (4) และ F 0 (4)
4
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 129

ˆ x2 +1
d
ตัวอย่าง 4.4.3. จงหาค่าของ sin5 t dt
dx −7

ให้ ˆ x
F (x) = sin5 t dt และ g(x) = x2 + 1
−7

จะได้ว่า ˆ x2 +1
F (g(x)) = sin5 t dt
−7

โดยกฏลูกโซ่ จะได้ว่า
ˆ x2 +1
d
sin5 t dt = (F (g(x)))0 = F 0 (g(x))g 0 (x)
dx −7
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 130

ˆ x2
d
ตัวอย่าง 4.4.4. จงหาค่าของ ln t dt
dx 2
บทที่ 4. ปริพันธ์และเทคนิคการหาปริพันธ์ (INTEGRATIONS AND TECHNIQUES OF INTEGRATION) 131

ˆ 5
d
ตัวอย่าง 4.4.5. จงหาค่าของ t3 dt
dx cos x
บทที่ 5

ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (Definite Integrals and its Application)

5.1 ปริพันธ์จำกัดเขต (Definite Integral)

บทนิยาม. พิจารณาช่วงปิด [a, b] ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น n ช่วง

[x0 , x1 ], [x1 , x2 ], . . . , [xn−1 , xn ]

โดยที่
a = x0 < x1 < x2 < . . . < xn−1 < xn = b

และกำหนดให้ ∆xi = xi − xi−1 สำหรับทุก i = 1, 2, . . . , n นั่นคือ

∆x1 = x1 − x0 , ∆x2 = x2 − x1 , . . . , ∆xn = xn − xn−1

เรานิยาม ผลบวกรีมันน์ (Riemann Sum) ของฟังก์ชัน f บนช่วงปิด [a, b] คือ


n
X
S= f (x∗i )∆xi
i=1

โดยที่ x∗i ∈ [xi−1 , xi ] สำหรับทุก i = 1, 2, . . . , n


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 133

บทนิยาม. ฟังก์ชัน f หาปริพันธ์ได้ (Integrable) บนช่วงปิด [a, b] ถ้าลิมิต


n
X
lim f (x∗i )∆xi
max ∆xi →0
i=1

หาค่าได้ โดยที่ค่าที่ได้นั้นไม่ขึ้นกับการแบ่งช่วงปิด [a, b] และไม่ขึ้นกับการเลือก x∗i


ในกรณีนี้ เราใช้สัญลักษณ์
ˆ b n
X
f (x) dx = lim f (x∗i )∆xi
a max ∆xi →0
i=1

ทฤษฎีบท 5.1.1. กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] จะได้ว่า f หาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [a, b] และ


ˆ b
A= f (x) dx
a

คือพื้นที่สุทธิ (Net Signed Area) ระหว่างฟังก์ชัน f กับช่วงปิด [a, b]


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 134

ตัวอย่าง 5.1.1. จงหาปริพันธ์ต่อไปนี้


ˆ 2
1. x − 1 dx
0
ˆ 1
2. x − 1 dx
0
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 135

ทฤษฎีบท 5.1.2. (Properties of the Definite Integral)

1. ถ้า a อยู่ในโดเมนของฟังก์ชัน f จะได้ว่า


ˆ a
f (x) dx = 0
a

2. ถ้า f เป็นฟังก์ชันซึ่งหาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [a, b] จะได้ว่า


ˆ a ˆ b
f (x) dx = − f (x) dx
b a

ทฤษฎีบท 5.1.3. (Properties of the Definite Integral)


กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่งหาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [a, b] และ c ∈ R จะได้ว่าฟังก์ชัน cf, f + g และ
f − g หาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [a, b] และจะได้ว่า
ˆ b ˆ b
1. cf (x) dx = c f (x) dx
a a
ˆ b ˆ b ˆ b
2. [f (x) + g(x)] dx = f (x) dx + g(x) dx
a a a
ˆ b ˆ b ˆ b
3. [f (x) − g(x)] dx = f (x) dx − g(x) dx
a a a
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 136

ทฤษฎีบท 5.1.4. (Properties of the Definite Integral)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งหาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [s, t] และ a, b, c ∈ [s, t] จะได้ว่า
ˆ b ˆ c ˆ b
f (x) dx = f (x) dx + f (x) dx
a a c

ทฤษฎีบท 5.1.5. (Properties of the Definite Integral)

1. ถ้า f เป็นฟังก์ชันซึ่งหาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [a, b] โดยที่ f (x) ≥ 0 สำหรับทุก x ∈ [a, b] จะได้ว่า


ˆ b
f (x) dx ≥ 0
a

2. ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่งหาปริพันธ์ได้บนช่วงปิด [a, b] โดยที่ f (x) ≥ g(x) สำหรับทุก x ∈ [a, b]


จะได้ว่า ˆ ˆ
b b
f (x) dx ≥ g(x) dx
a a
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 137

ทฤษฎีบท 5.1.6. (The Fundamental Theorem of Calculus, Part I)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และ F เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f บนช่วงปิด [a, b] จะได้ว่า
ˆ b
f (x) dx = F (b) − F (a)
a

ข้อสังเกต. เราใช้สัญลักษณ์ [F (x)]ba แทน F (b) − F (a)

ทฤษฎีบท 5.1.7. (The Fundamental Theorem of Calculus, Part II)


กำหนดให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] และ c ∈ [a, b] จะได้ว่า
ถ้า F : [a, b] → R เป็นฟังก์ชันซึ่งนิยามโดย
ˆ x
F (x) = f (t) dt
c

แล้ว F เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด (a, b) และ F 0 (x) = f (x) นั่นคือ


ˆ x 
d
f (t) dt = f (x)
dx c

ˆ xp
ตัวอย่าง 5.1.2. 1. กำหนดให้ F (x) = t2 + 9 dt จงหา F (4) และ F 0 (4)
4
ˆ x2 +1
d
2. จงหาค่าของ sin5 t dt
dx −7
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 138

5.2 พื้นที่ระหว่างเส้นโค้ง (Area between Two Curves)

ทฤษฎีบท 5.2.1. กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [a, b] โดยที่ f (x) ≥ g(x) สำหรับทุก
x ∈ [a, b] จะได้ว่า พื้นที่ซึ่ง

• ถูกปิดล้อมด้านบนโดยเส้นโค้ง y = f (x)

• ถูกปิดล้อมด้านล่างโดยเส้นโค้ง y = g(x)

• ถูกปิดล้อมทางซ้ายด้วยเส้นตรง x = a

• ถูกปิดล้อมทางขวาด้วยเส้นตรง x = b

คือ ˆ b
A= [f (x) − g(x)] dx
a
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 139

ตัวอย่าง 5.2.1. จงหาพื้นที่ซึ่ง

• ถูกปิดล้อมด้านบนโดยเส้นโค้ง y = x + 6

• ถูกปิดล้อมด้านล่างโดยเส้นโค้ง y = x2

• ถูกปิดล้อมทางซ้ายด้วยเส้นตรง x = 0

• ถูกปิดล้อมทางขวาด้วยเส้นตรง x = 2
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 140

ข้อสังเกต. (หลักในการหาพื้นที่ระหว่างเส้นโค้ง)

1. หาจุดตัดของสมการ

2. ร่างกราฟของสมการ

3. แรเงาพื้นที่ที่ถูกปิดล้อม

4. พิจารณาว่าสมการใดปิดล้อมด้านบน ปิดล้อมด้านล่าง ปิดล้อมทางซ้าย และปิดล้อมทางขวา

5. ใช้สูตรการหาพื้นที่ที่ถูกปิดล้อม

ตัวอย่าง 5.2.2. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง y = x2 และ y = x + 6


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 141

ตัวอย่าง 5.2.3. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง x2 = y และ x = y − 2


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 142

ตัวอย่าง 5.2.4. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมดังภาพ


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 143

ตัวอย่าง 5.2.5. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง y = ex , y = −x2 , x = −1 และ x = 2


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 144

ตัวอย่าง 5.2.6. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง x = y 2 และ y = x − 2


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 145

ทฤษฎีบท 5.2.2. กำหนดให้ w และ v เป็นฟังก์ชันเป็นฟังก์ชันของตัวแปร y ซึ่งต่อเนื่องบนช่วงปิด [c, d] โดยที่


w(y) ≥ v(y) สำหรับทุก y ∈ [c, d] จะได้ว่า พื้นที่ซึ่ง

• ถูกปิดล้อมทางซ้ายโดยเส้นโค้ง x = v(y)

• ถูกปิดล้อมทางขวาโดยเส้นโค้ง x = w(y)

• ถูกปิดล้อมด้านล่างด้วยเส้นตรง y = c

• ถูกปิดล้อมด้านบนด้วยเส้นตรง y = d

คือ ˆ d
A= [w(y) − v(y)] dy
c

ตัวอย่าง 5.2.7. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง x = y 2 และ y = x − 2


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 146

ตัวอย่าง 5.2.8. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง y 2 = 4x และ y = 2x − 4


บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 147


ตัวอย่าง 5.2.9. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง y = x, y = 12 − x และ y = 1
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 148


ตัวอย่าง 5.2.10. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้ง y = x − 1, x + 2y = 4 และ y = 2
บทที่ 5. ปริพันธ์จำกัดเขตและการประยุกต์ (DEFINITE INTEGRALS AND ITS APPLICATION) 149

ตัวอย่าง 5.2.11. จงหาพื้นที่ซึ่งถูกปิดล้อมโดยเส้นโค้งดังต่อไปนี้

1. y = x2 − x − 4 และ y = x − 1

2. 2y 2 = x + 4 และ x = y 2

3. 3y − x = 6, x + y = −2 และ x + y 2 = 4
x
4. y = และ y 2 = 8 − x
2

5. y = −x, y = x และ y = 2
√ −1
6. y = x, y = x และ x = 4
4
7. y = x, xy 2 = 1 และ y = 2

8. y = −x, x = 2 − y 2 และแกน X
 x 2
9. y = 6 − x และ y = 9 −
2
√ 3 x
10. y = x, y = − และแกน X
2 2
11. y = x2 + 2x และ y = x3 − 4x
บทที่ 6

ฟังก์ชันหลายตัวแปร (Multivariable Functions)

6.1 ฟังก์ชันสองตัวแปรหรือฟังก์ชันหลายตัวแปร (Function of Two or More Variables)

บทนิยาม. ฟังก์ชันสองตัวแปร f (x, y) คือกฏการส่งค่า (x, y) ไปยังจำนวนจริง โดยที่แต่ละจุด (x, y) อยู่ในเซต


D ที่ถูกกำหนดไว้ ซึ่งเราเรียกว่าโดเมน (Domain)

1
ตัวอย่าง 6.1.1. พื้นที่สามเหลี่ยม = × ความยาวฐาน × ความสูง
2

บทนิยาม. ฟังก์ชันสามตัวแปร f (x, y, z) คือกฏการส่งค่า (x, y, z) ไปยังจำนวนจริง โดยที่แต่ละจุด (x, y, z)


นั้นอยู่ในโดเมน D ที่ถูกกำหนดไว้

ตัวอย่าง 6.1.2. ปริมาตรกล่อง = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง



ตัวอย่าง 6.1.3. ให้ f (x, y) = 3x2 y − 1 จงหา f (1, 4), f (t2 , t) และ f (ab, 9b)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 151

บทนิยาม. โดเมนธรรมชาติ (Natural Domain) คือโดเมนที่ใหญ่ที่สุดที่เป็นไปได้ ที่ทำให้ค่าของฟังก์ชันออกมาเป็น-


จำนวนจริง

ทฤษฎีบท 6.1.1. ข้อจำกัดเบื้องต้นในการหาโดเมนธรรมชาติ

1
−→ x 6= 0
x

x −→ x≥0
ln x −→ x>0

ตัวอย่าง 6.1.4. จงหาโดเมนธรรมชาติของฟังก์ชันดังต่อไปนี้


1 1
1. f (x, y) = +
xy y − 2
p
2. f (x, y) = 1 − x2 − y 2

3. f (x, y) = ln(x2 − y)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 152

ข้อสังเกต. ฟังก์ชันสองตัวแปร z = f (x, y) สามารถเขียนกราฟในสามมิติได้ เมื่อพิจารณา

(x, y, z) = (x, y, f (x, y)) ∈ R3 .

ตัวอย่าง 6.1.5. จงร่างกราฟของฟังก์ชันสองตัวแปรดังต่อไปนี้

1. f (x, y) = 1 − x − 12 y
p
2. f (x, y) = 1 − x2 − y 2
p
3. f (x, y) = − x2 + y 2
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 153

6.2 ลิมิตและความต่อเนื่อง (Limit and Continuity)

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร ซึ่งหาค่าได้บนเซตที่มี (x0 , y0 ) อยู่ภายใน (แต่ f ไม่จำเป็นต้องมีค่าที่


(x0 , y0 )) เราจะกล่าวว่า lim f (x, y) = L ก็ต่อเมื่อ
(x,y)→(x0 ,y0 )

p
ทุก  > 0 มี δ > 0 ซึ่งทำให้ |f (x, y) − L| <  โดยที่ 0 < (x − x0 )2 + (y − y0 )2 < δ

ตัวอย่าง 6.2.1. จงแสดงว่าลิมิตดังต่อไปนี้ไม่มีค่า


x
1. lim
(x,y)→(0,0) y

x2
2. lim
(x,y)→(0,0) y 4

xy
3. lim
(x,y)→(0,0) x2 + y2

x2 − 1
4. lim
(x,y)→(1,1) y − 1
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 154

บทนิยาม. ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial Functions) คือฟังก์ชันซึ่งอยู่ในรูป

1. f (x) = an xn + an−1 xn−1 + . . . + a1 x + a0 (ฟังก์ชันตัวแปรเดียว)

aij xi y j
P
2. f (x, y) = (ฟังก์ชันสองตัวแปร)
i=0,1,...,n
j=0,1,...,m

ทฤษฎีบท 6.2.1. (Substitution Theorem)


ให้ f เป็นฟังก์ชันพหุนาม จะได้ว่า

1. lim f (x) = f (x0 ) (ฟังก์ชันตัวแปรเดียว)


x→x0

2. lim f (x, y) = f (x0 , y0 ) (ฟังก์ชันสองตัวแปร)


(x,y)→(x0 ,y0 )

ทฤษฎีบท 6.2.2. ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งมีค่าลิมิตที่ (x0 , y0 ) จะได้ว่า

1. lim (f (x, y) ± g(x, y)) = lim f (x, y) ± lim g(x, y)


(x,y)→(x0 ,y0 ) (x,y)→(x0 ,y0 ) (x,y)→(x0 ,y0 )

2. lim kf (x, y) = k( lim f (x, y)) เมื่อ k ∈ R


(x,y)→(x0 ,y0 ) (x,y)→(x0 ,y0 )

3. lim (f (x, y)g(x, y)) = ( lim f (x, y))( lim g(x, y))
(x,y)→(x0 ,y0 ) (x,y)→(x0 ,y0 ) (x,y)→(x0 ,y0 )

lim f (x, y)
f (x, y) (x,y)→(x0 ,y0 )
4. lim = เมื่อ lim g(x, y) 6= 0
(x,y)→(x0 ,y0 ) g(x, y) lim g(x, y) (x,y)→(x0 ,y0 )
(x,y)→(x0 ,y0 )

ตัวอย่าง 6.2.2. จงหาลิมิตของฟังก์ชันต่อไปนี้


x−y
1. lim (y + )
(x,y)→(1,1) xy

x4 − y 4
2. lim
(x,y)→(0,0) x2 − y 2

x2 − 81y 4
3. lim
(x,y)→(0,0) x + 9y 2

sin(x2 + y 2 )
4. lim
(x,y)→(0,0) x2 + y 2
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 155

บทนิยาม. ฟังก์ชันสองตัวแปร f มีความต่อเนื่อง (Continuous) ที่ (x0 , y0 ) ก็ต่อเมื่อ

lim f (x, y) = f (x0 , y0 )


(x,y)→(x0 ,y0 )

นอกจากนี้

1. ถ้า f มีความต่อเนื่องทุกจุดบนโดเมน D เราจะกล่าวว่า f ต่อเนื่องบน D (Continuous on D)

2. ถ้า f มีความต่อเนื่องทุกจุดบนระนาบ xy เราจะกล่าวว่า f ต่อเนื่องทุกที่ (Continuous everywhere)

ตัวอย่าง 6.2.3. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันดังต่อไปนี้มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 ) = (0, 0) หรือไม่


 4 4
 x − 16y

, (x, y) 6= (0, 0)
2
x + 4y 2
1. f (x, y) =

0 , (x, y) = (0, 0)
 2 2
 sin(x + y ) , (x, y) 6= (0, 0)

2. f (x, y) = x2 + y 2

1 , (x, y) = (0, 0)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 156

xy
ตัวอย่าง 6.2.4. ฟังก์ชัน f (x, y) = ต่อเนื่องที่ (−1, 2) หรือไม่ จงอธิบาย
x2 + y 2
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 157

ตัวอย่าง 6.2.5. จงหาโดเมน D ที่ใหญ่ที่สุดซึ่งทำให้ฟังก์ชันต่อไปนี้ต่อเนื่องบน D

1. f (x, y) = 3x2 y 5
x3 y 2
2. f (x, y) =
1 − xy
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 158

ทฤษฎีบท 6.2.3. (Composition of Continuous Functions)

1. ถ้า h(x, y) มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 ) และ g(u) มีความต่อเนื่องที่ u0 = h(x0 , y0 ) จะได้ว่า g(h(x, y))
มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 )

2. ถ้า f (x, y) มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 ) และ x(t), y(t) มีความต่อเนื่องที่ t0 โดยที่ x(t0 ) = x0 และ
y(t0 ) = y0 จะได้ว่า f (x(t), y(t)) มีความต่อเนื่องที่ t0

ตัวอย่าง 6.2.6. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันดังต่อไปนี้มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 ) = (0, 0) หรือไม่

1. f (x, y) = 4x2 y 5

2. f (x, y) = sin(4x2 y 5 )

3. f (x, y) = 4(sin2 x)(cos5 y)


บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 159

ทฤษฎีบท 6.2.4. ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งมีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 ) และ k ∈ R จะได้ว่า

1. f ± g, f g มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 )
f
2. ถ้า g(x0 , y0 ) 6= 0 จะได้ว่า มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 )
g

ตัวอย่าง 6.2.7. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันดังต่อไปนี้มีความต่อเนื่องที่ (x0 , y0 ) = (0, 0) หรือไม่

1. f (x, y) = sin(4x2 y 5 ) + 4x2 y 5


(x + 15)(y + 1)
2. f (x, y) =
4(sin2 x)(cos5 y)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 160

6.3 อนุพันธ์ย่อย (Partial Derivatives)

บทนิยาม. ให้ f (x, y) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรและ (x0 , y0 ) อยู่ในโดเมนของ f อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x


(Partial Derivative of f with respect to x) ที่ (x0 , y0 ) นิยามโดย

∂f f (x + h, y0 ) − f (x, y0 )
fx (x0 , y0 ) = (x, y0 ) = lim
∂x x=x0 h→0 h

ในทำนองเดียวกัน อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ y ที่ (x0 , y0 ) นิยามโดย

∂f f (x0 , y + h) − f (x0 , y)
fy (x0 , y0 ) = (x0 , y) = lim
∂y y=y0 h→0 h

∂f ∂z
ข้อสังเกต. ให้ f (x, y) = z เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร เราใช้สัญลักษณ์ fx , , แทน อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ
∂x ∂x
x นอกจากนี้เราใช้สัญลักษณ์

∂f ∂f ∂z ∂f ∂z
, , , (x0 , y0 ), (x0 , y0 ), fx (x0 , y0 )
∂x x=x0 ,y=y0 ∂x (x0 ,y0 ) ∂x (x0 ,y0 ) ∂x ∂x

แทนอนุพันธ์ของ f เทียบกับ x ที่ (x0 , y0 )


∂f ∂z
ในทำนองเดียวกัน เราใช้สัญลักษณ์ fy , , แทน อนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ y นอกจากนี้เราใช้สัญลักษณ์
∂y ∂y

∂f ∂f ∂z ∂f ∂z
, , , (x0 , y0 ), (x0 , y0 ), fy (x0 , y0 )
∂y x=x0 ,y=y0 ∂y (x0 ,y0 ) ∂y (x0 ,y0 ) ∂y ∂y

แทนอนุพันธ์ของ f เทียบกับ y ที่ (x0 , y0 )

ข้อสังเกต. เราสรุปวิธีการหาอนุพันธ์ย่อยของฟังก์ชันสองตัวแปร f (x, y) ได้ดังนี้

1. หาอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ x ให้พิจารณาตัวแปร y เป็นค่าคงที่

2. หาอนุพันธ์ย่อยของ f เทียบกับ y ให้พิจารณาตัวแปร x เป็นค่าคงที่

ในกรณีของฟังก์ชันสามตัวแปร w = f (x, y, z) เราสามารถหาอนุพันธ์ของ f เทียบกับ x, y และ z ได้ดังต่อไปนี้


∂f ∂w
1. fx , , คืออนุพันธ์ของ f เทียบกับ x โดยที่พิจารณาให้ y และ z เป็นค่าคงที่
∂x ∂x
∂f ∂w
2. fy , , คืออนุพันธ์ของ f เทียบกับ y โดยที่พิจารณาให้ x และ z เป็นค่าคงที่
∂y ∂y
∂f ∂w
3. fz , , คืออนุพันธ์ของ f เทียบกับ z โดยที่พิจารณาให้ x และ y เป็นค่าคงที่
∂z ∂z
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 161

∂f ∂f
ตัวอย่าง 6.3.1. จงหา (x0 , y0 ) และ (x0 , y0 ) ของฟังก์ชัน f และ (x0 , y0 ) ดังต่อไปนี้
∂x ∂y
1. f (x, y) = 2x3 y 2 + 2y + 4x, (x0 , y0 ) = (1, 3)

2. f (x, y, z) = xe−y + 5z, (x0 , y0 , z0 ) = (2, 0, 0)

3. f (x, y) = sin(y 2 − 4x), (x0 , y0 ) = (2, 5)

4. f (x, y) = x2 yexy , (x0 , y0 ) = (1, 0)


x+z
5. f (x, y, z) = , (x0 , y0 , z0 ) = (2, 1, 1)
x−y
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 162

∂f ∂f ∂f
ตัวอย่าง 6.3.2. จงหา (x0 , y0 , z0 ), (x0 , y0 , z0 ) และ (x0 , y0 , z0 ) ของฟังก์ชัน
∂x ∂y ∂z
f (x, y, z) = x3 y 2 z 4 + 2xy + z ที่ตำแหน่ง (x0 , y0 , z0 ) = (−1, 1, 2)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 163

∂f ∂f ∂f
ตัวอย่าง 6.3.3. จงหา , และ ของฟังก์ชัน f (ρ, θ, φ) = ρ2 cos φ sin θ
∂ρ ∂θ ∂φ
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 164

ข้อสังเกต. การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน n ตัวแปร y = f (x1 , x2 , . . . , xn )


∂f ∂y
1. fx1 , , คืออนุพันธ์ของ f เทียบกับ x1 โดยที่พิจารณา x2 , x3 , . . . , xn เป็นค่าคงที่
∂x1 ∂x1
∂f ∂y
2. fx2 , , คืออนุพันธ์ของ f เทียบกับ x2 โดยที่พิจารณา x1 , x3 , . . . , xn เป็นค่าคงที่
∂x2 ∂x2

..
.

∂f ∂y
n. fxn , , คืออนุพันธ์ของ f เทียบกับ xn โดยที่พิจารณา x1 , x2 , . . . , xn−1 เป็นค่าคงที่
∂xn ∂xn
∂f
ตัวอย่าง 6.3.4. จงหา โดยที่ i = 1, 2, . . . , n ของฟังก์ชัน n ตัวแปร f ดังต่อไปนี้่
∂xi
x1 + x2 + . . . + xn
1. f (x1 , x2 , . . . , xn ) =
n
2. f (x1 , x2 , . . . , xn ) = ex1 +x2 +...+xn
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 165

ข้อสังเกต. ให้ f (x) เป็นฟังก์ชันหนึ่งตัวแปรและ x0 อยู่ในโดเมนของ f จะได้ว่า f 0 (x0 ) คือความชันของเส้นโค้ง


y = f (x) ที่จุด x0

บทนิยาม. ให้ f (x, y) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรและ (x0 , y0 ) อยู่ในโดเมนของ f จะได้ว่า


∂f
1. (x0 , y0 ) คือความชันของพื้นผิว z = f (x, y) ในทิศทางของ x (Slope of the Surface in the
∂x
x-direction) ที่จุด (x0 , y0 )
∂f
2. (x0 , y0 ) คือความชันของพื้นผิว z = f (x, y)ในทิศทางของ y (Slope of the Surface in the
∂y
y-direction) ที่จุด (x0 , y0 )
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 166

ตัวอย่าง 6.3.5. จงหาความชันของพื้นผิว z = f (x, y) ในทิศทางของ x และ y ที่จุด (x0 , y0 ) ของฟังก์ชันต่อไปนี้

1. f (x, y) = x2 y + 5y 3 , (x0 , y0 ) = (1, −2),

2. f (x, y) = sin(xy), (x0 , y0 ) = (1, π).


บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 167

บทนิยาม. ฟังก์ชันเด่นชัด (Explicit Functions) คือฟังก์ชันที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป y = f (x1 , x2 , . . . , xn )

บทนิยาม. ฟังก์ชันโดยปริยาย (Implicit Functions) คือฟังก์ชันที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป


y = f (x1 , x2 , . . . , xn )

ข้อสังเกต. 1. ฟังก์ชันสองตัวแปรโดยปริยาย f คือฟังก์ชันที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป z = f (x, y)

2. ฟังก์ชันสามตัวแปรโดยปริยาย f คือฟังก์ชันที่ไม่สามารถเขียนในรูป w = f (x, y, z)

ตัวอย่าง 6.3.6. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันสองตัวแปร f (x, y) ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเด่นชัดหรือไม่

1. z = 3x3 + ln(4x sin y)

2. xy 2 z 2 = 1
1
3. tan(x2 5y z) =
2
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 168

ข้อสังเกต. (Implicit Differentiation)


∂z ∂f
ในการหาอนุพันธ์ย่อยเทียบกับตัวแปร x ซึ่งคือ =
∂x ∂x
1. พิจารณาว่าตัวแปร z = f (x, y) เป็นฟังก์ชันของตัวแปร x และ y

2. ใส่ ทั้งสองข้างของสมการ
∂x

3. หาอนุพันธ์ย่อยเทียบ x ทั้งสองข้างของสมการ โดยใช้กฏลูกโซ่


∂z
4. จัดรูปสมการเพื่อให้ได้ ตามต้องการ
∂x
∂z ∂z
ตัวอย่าง 6.3.7. กำหนดให้ z = f (x, y) จงหา (x0 , y0 ) และ (x0 , y0 ) ของฟังก์ชันและ (x0 , y0 ) ดังต่อไปนี้
∂x ∂y
1. x2 − xy 2 + z 3 = 0, (x0 , y0 ) = (1, −3)
p
2. z = x2 + 3y 2 , (x0 , y0 ) = (2, 1)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 169

∂z ∂z
ตัวอย่าง 6.3.8. กำหนดให้ z = f (x, y) จงหา และ ของฟังก์ชันต่อไปนี้
∂x ∂y
1. x2 y + xz 3 = 5

2. cos(xyz) = 1

3. ln(yz 2 ) + xz = 6
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 170

2 1 2
ตัวอย่าง 6.3.9. จงหาความชันของพื้นผิวทรงกลม x2 + y 2 + z 2 = 1 ในทิศทางของ y ที่ตำแหน่ง ( , , ) และ
3 3 3
2 1 −2
( , , )
3 3 3
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 171

p
ตัวอย่าง 6.3.10. จากทฤษฎีบทของพิทาโกรัส ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก D = x2 + y 2 เมื่อ x และ y เป็นด้าน-
ประกอบมุมฉาก จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของระยะ D เทียบกับ x โดยที่พิจารณาให้ y เป็นค่าคงที่ เมื่อกำหนดให้
x = 3 และ y = 4
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 172

บทนิยาม. ให้ f (x, y) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร อนุพันธ์ย่อยอันดับสอง (Second-order Partial Derivatives) ของ


f มี 4 รูปแบบดังต่อไปนี้

∂2f ∂  ∂f 
1. = = fxx หาอนุพันธ์ย่อยเทียบกับ x สองครั้ง
∂x2 ∂x ∂x
∂2f ∂  ∂f 
2. = = fyy หาอนุพันธ์ย่อยเทียบกับ y สองครั้ง
∂y 2 ∂y ∂y
∂2f ∂  ∂f 
3. = = fxy หาอนุพันธ์ย่อยเทียบกับ x ก่อน แล้วจึงเทียบกับ y
∂y∂x ∂y ∂x
∂2f ∂  ∂f 
4. = = fyx หาอนุพันธ์ย่อยเทียบกับ y ก่อน แล้วจึงเทียบกับ x
∂x∂y ∂x ∂y

เราเรียกอนุพันธ์ย่อยในกรณีที่ 3 และ 4 ว่า อนุพันธ์ย่อยอันดับสองแบบผสม (Mixed Second-order Partial


∂f ∂f
Derivatives, Mixed Second Partials) นอกจากนี้ เราเรียก และ ว่า อนุพันธ์ย่อยอันดับหนึ่ง (First-order
∂x ∂y
Partial Derivatives)

ตัวอย่าง 6.3.11. จงหาอนุพันธ์ย่อยอันดับสองของฟังก์ชันสองตัวแปร f ดังต่อไปนี้

1. f (x, y) = x2 y 3 + x4 y

2. f (x, y) = xy 2 + ln x + sin 2y
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 173

ทฤษฎีบท 6.3.1. ให้ f เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร ถ้า fxy และ fyx มีความต่อเนื่องบนแผ่นกลมเปิด (Open Disk)
แล้วจะได้ว่า fxy = fyx บนแผ่นกลมเปิดนั้น

ข้อสังเกต. นอกจากนี้ เรายังสามารถขยายบทนิยามของอนุพันธ์ย่อยอันดับสอง ให้เป็นอนุพันธ์ย่อยอันดับสาม อนุ-


พันธ์ย่อยอันดับสี่ และอนุพันธ์ย่อยอันดับสูง ได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้

∂3f ∂  ∂2f 
1. = = fxxx
∂x3 ∂x ∂x2
∂3f ∂  ∂2f 
2. = = fxyy
∂y 2 ∂x ∂y ∂y∂x
∂4f ∂  ∂3f 
3. = = fxyxy
∂y∂x∂y∂x ∂y ∂x∂y∂x

ตัวอย่าง 6.3.12. จงหา fxxy และ fyyx ของฟังก์ชัน f (x, y) = y 3 ex + y


บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 174

6.4 กฎลูกโซ่ (Chain Rule)

ข้อสังเกต. ในกรณีที่ y = f (x) เป็นฟังก์ชันหนึ่งตัวแปรที่หาอนุพันธ์ได้ที่ขึ้นกับตัวแปร x และ x = g(t) เป็นฟังก์ชัน-


หนึ่งตัวแปรที่หาอนุพันธ์ได้ที่ขึ้นกับตัวแปร t จะได้ว่า

dy dy dx
=
dt dx dt

dy
dx

dx
dt

ทฤษฎีบท 6.4.1. ให้ x = x(t) และ y = y(t) เป็นฟังก์ชันหนึ่งตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ ได้ที่ t และ z = f (x, y)
เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ (x, y) = (x(t), y(t)) จะได้ว่า z = f (x(t), y(t)) สามารถหาอนุพันธ์-
ได้ที่ t และ
dz ∂z dx ∂z dy
= +
dt ∂x dt ∂y dt

ดังที่เห็นได้จากแผนภูมิต้นไม้ (Tree Diagram) ต่อไปนี้

∂z ∂z
∂x ∂y

x y

dx dy
dt dt

t t
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 175

dz
ตัวอย่าง 6.4.1. กำหนดให้ z = x2 y, x = t2 , y = t3 จงหา โดยวิธีดังต่อไปนี้
dt
1. ใช้กฎลูกโซ่

2. แทนค่าโดยตรง
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 176

1 dz
ตัวอย่าง 6.4.2. กำหนดให้ z = 3 cos x − sin(xy), x = , y = 3t จงหา โดยใช้กฎลูกโซ่
t dt
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 177

ทฤษฎีบท 6.4.2. ให้ x = x(t), y = y(t) และ z = z(t) เป็นฟังก์ชันหนึ่งตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ t และ


w = f (x, y, z) เป็นฟังก์ชันสามตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ (x, y, z) = (x(t), y(t), z(t)) จะได้ว่า
w = f (x(t), y(t), z(t)) สามารถหาอนุพันธ์ได้ที่ t และ

dw ∂w dx ∂w dy ∂w dz
= + +
dt ∂x dt ∂y dt ∂z dt

ดังที่เห็นได้จากแผนภูมิต้นไม้ (Tree Diagram) ต่อไปนี้

w
∂w ∂w ∂w
∂x ∂y ∂z

x y z

dx dy dz
dt dt dt

t t t

p dw π
ตัวอย่าง 6.4.3. กำหนดให้ w = x2 + y 2 + z 2 , x = 2 cos θ, y = 3 sin θ, z = 4 cos(4θ) จงหา เมื่อ θ =
dθ 2
โดยใช้กฎลูกโซ่
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 178

ทฤษฎีบท 6.4.3. ให้ x = x(u, v) และ y = y(u, v) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ย่อยอันดับหนึ่งได้ที่


(u, v) และ z = f (x, y) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งหา อนุพันธ์ได้ที่ (x, y) = (x(u, v), y(u, v)) จะได้ว่า
z = f (x(u, v), y(u, v)) มีอนุพันธ์ย่อยอันดับหนึ่งที่ (u, v) นอกจากนี้

∂z ∂z ∂x ∂z ∂y ∂z ∂z ∂x ∂z ∂y
1. = + 2. = +
∂u ∂x ∂u ∂y ∂u ∂v ∂x ∂v ∂y ∂v

ดังที่เห็นได้จากแผนภูมิต้นไม้ (Tree Diagram) ต่อไปนี้

z
∂z ∂z
∂x ∂y

x y

∂x ∂x ∂y ∂y
∂u ∂v ∂u ∂v

u v u v

u ∂z ∂z
ตัวอย่าง 6.4.4. กำหนดให้ z = exy , x = 2u + v, y = จงหา และ โดยใช้กฎลูกโซ่
v ∂u ∂v
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 179

ทฤษฎีบท 6.4.4. ให้ x = x(u, v), y = y(u, v) และ z = z(u, v) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ย่อย


อันดับหนึ่งได้ที่ (u, v) และ w = f (x, y, z) เป็นฟังก์ชันสามตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่
(x, y, z) = (x(u, v), y(u, v), z(u, v)) จะได้ว่า w = f (x(u, v), y(u, v), z(u, v)) มีอนุพันธ์ย่อยอันดับหนึ่งที่
(u, v) นอกจากนี้

∂w ∂w ∂x ∂w ∂y ∂w ∂z ∂w ∂w ∂x ∂w ∂y ∂w ∂z
1. = + + 2. = + +
∂u ∂x ∂u ∂y ∂u ∂z ∂u ∂v ∂x ∂v ∂y ∂v ∂z ∂v

ดังที่เห็นได้จากแผนภูมิต้นไม้ (Tree Diagram) ต่อไปนี้

w
∂w ∂w ∂w
∂x ∂y ∂z

x y z

∂x ∂x ∂y ∂y ∂z ∂z
∂u ∂v ∂u ∂v ∂u ∂v

u v u v u v

∂w ∂w
ตัวอย่าง 6.4.5. กำหนดให้ w = exyz , x = 3u + v, y = 3u − v และ z = u2 v จงหา และ โดยใช้กฎลูกโซ่
∂u ∂v
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 180

ทฤษฎีบท 6.4.5. ให้ x1 = x1 (t), x2 = x2 (t), . . . , xn = xn (t) เป็นฟังก์ชันหนึ่งตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ t และ


y = f (x1 , x2 , . . . , xn ) เป็นฟังก์ชัน n ตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ (x1 , x2 , . . . , xn ) = (x1 (t), x2 (t), . . . , xn (t))
จะได้ว่า y = f (x1 (t), x2 (t), . . . , xn (t)) สามารถหาอนุพันธ์ได้ที่ t และ

dy ∂y dx1 ∂y dx2 ∂y dxn


= + + ... +
dt ∂x1 dt ∂x2 dt ∂xn dt

ข้อสังเกต. เราสามารถสรุปกฎลูกโซ่ทั้งหมดที่ผ่านมาได้ดังนี้

1. พิจารณาว่าตัวแปรแต่ละตัวขึ้นกับตัวแปรใดบ้าง

2. วาดเขียนแผนภูมิต้นไม้

3. หาเส้นทางทั้งหมด เริ่มจากตัวที่จะหาอนุพันธ์ ไปยังตัวที่ถูกเปรียบเทียบ

4. เขียนสูตรกฎลูกโซ่ ถ้าเป็นอนุพันธ์ให้ใช้ d ถ้าเป็นอนุพันธ์ย่อยให้ใช้ ∂


∂w
ตัวอย่าง 6.4.6. กำหนดให้ w = x2 + y 2 − z 2 , x = ρ sin φ cos θ, y = ρ sin φ sin θ และ z = ρ cos φ จงหา
∂θ
โดยใช้กฎลูกโซ่
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 181

dw
ตัวอย่าง 6.4.7. กำหนดให้ w = xy + yz, y = sin x และ z = ex จงหา โดยใช้กฎลูกโซ่
dx
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 182

6.5 การหาอนุพันธ์ได้ ผลต่างเชิงอนุพันธ์รวม และการประยุกต์


(Differentiability, Differentials and Applications)

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร เรานิยามส่วนเพิ่ม (Increment) ของ f คือค่าการเปลี่ยนแปลงของ f


จากตำแหน่งตั้งต้น (x0 , y0 ) ไปยังตำแหน่งใหม่ (x0 + 4x, y0 + 4y) ซึ่งก็คือ

4f = f (x0 + 4x, y0 + 4y) − f (x0 , y0 )

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร เรากล่าวว่า f สามารถหาอนุพันธ์ได้ (Differentiable) ที่ตำแหน่ง (x0 , y0 )


ถ้า

1. fx (x0 , y0 ) และ fy (x0 , y0 ) หาค่าได้


4f − fx (x0 , y0 ) 4 x − fy (x0 , y0 ) 4 y
2. lim p =0
(4x,4y)→(0,0) (4x)2 + (4y)2

ตัวอย่าง 6.5.1. จงแสดงว่า f (x, y) = x2 + y 2 สามารถหาอนุพันธ์ได้ที่ (0, 0)


บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 183

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสามตัวแปร เรานิยามส่วนเพิ่ม (Increment) ของ f คือค่าการเปลี่ยนแปลงของ f


จากตำแหน่งตั้งต้น (x0 , y0 , z0 ) ไปยังตำแหน่งใหม่ (x0 + 4x, y0 + 4y, z0 + 4z) ซึ่งก็คือ

4f = f (x0 + 4x, y0 + 4y, z0 + 4z) − f (x0 , y0 , z0 )

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสามตัวแปร เรากล่าวว่า f สามารถหาอนุพันธ์ได้ (Differentiable) ที่ตำแหน่ง


(x0 , y0 , z0 ) ถ้า

1. fx (x0 , y0 , z0 ), fy (x0 , y0 , z0 ) และ fz (x0 , y0 , z0 ) หาค่าได้


4f −fx (x0 ,y0 )4x−fy (x0 ,y0 )4y−fz (x0 ,y0 ,z0 )4z
2. lim √ =0
(4x,4y,4z)→(0,0,0) (4x)2 +(4y)2 +(4z)2

ข้อสังเกต. ในทำนองเดียวกันกับตัวอย่าง 6.5.1 เราสามารถแสดงได้ว่าฟังก์ชันสามตัวแปร f (x, y, z) = x2 + y 2 + z 2


หาอนุพันธ์ได้ที่ (0, 0, 0)

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสองตัวแปร

1. ถ้า f หาอนุพันธ์ได้ทุกจุดในบริเวณ R เรากล่าวว่า f หาอนุพันธ์ได้บน R

2. ถ้า f หาอนุพันธ์ได้ทุกจุดบนระนาบ xy เรากล่าวว่า f หาอนุพันธ์ได้ทุกที่

เราสามารถให้นิยามในทำนองเดียวกันนี้สำหรับฟังก์ชันสามตัวแปรได้เช่นกัน

ทฤษฎีบท 6.5.1. ถ้า f หาอนุพันธ์ได้ที่ตำแหน่งใด แล้ว f จะต่อเนื่องที่ตำแหน่งนั้น

ข้อสังเกต. จากตัวอย่างที่ผ่านมา สามารถสรุปได้ว่า

1. f (x, y) = x2 + y 2 มีความต่อเนื่องที่ (0, 0)

2. f (x, y, z) = x2 + y 2 + z 2 มีความต่อเนื่องที่ (0, 0, 0)

ทฤษฎีบท 6.5.2. ถ้า f เป็นฟังก์ชันซึ่งอนุพันธ์ย่อยอันดับหนึ่งทั้งหมดนั้นหาค่าได้และต่อเนื่องที่ตำแหน่งใด แล้ว


f หาอนุพันธ์ได้ที่ตำแหน่งนั้นเช่นกัน

ข้อสังเกต. เราสรุปทฤษฎีบท 6.5.1 และทฤษฎีบท 6.5.2 เป็นแผนภาพได้ดังนี้

−−
f (x, y)หาอนุพันธ์ได้ที่(x0 , y0 ) )−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−−
−*
− f (x, y)ต่อเนื่องที(่ x0 , y0 )
∂f ∂f
∂x
(x0 ,y0 ) และ ∂y
(x0 ,y0 ) หาค่าได้
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 184

ตัวอย่าง 6.5.2. จงแสดงว่าฟังก์ชัน f (x, y, z) = x + yz หาอนุพันธ์ได้


บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 185

บทนิยาม. ให้ z = f (x, y) เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งสามารถหาอนุพันธ์ได้ที่ (x0 , y0 ) ผลต่างเชิงอนุพันธ์รวม


(Total Differential) ของ f (หรือของ z) คือ

df = fx (x0 , y0 )dx + fy (x0 , y0 )dy (= dz)

โดยที่ df เป็นฟังก์ชันของตัวแปร dx และ dy


ในการใช้งานจริง เราจะละดัชนี (x0 , y0 ) ทำให้ได้สมการในรูป

df = fx (x, y)dx + fy (x, y)dy (= dz)

ข้อสังเกต. เราใช้ผลต่างเชิงอนุพันธ์รวมประมาณการเปลี่ยนแปลงของค่าฟังก์ชันสองตัวแปร z = f (x, y) เมื่อตำแหน่ง-


ตั้งต้น (x0 , y0 ) เปลี่ยนแปลงไปยังตำแหน่งใหม่ (x0 + 4x, y0 + 4y) โดยใช้สูตร 4f ≈ df ดังนี้

4f ≈ df
= fx (x0 , y0 )dx + fy (x0 , y0 )dy
= fx (x0 , y0 ) 4 x + fy (x0 , y0 ) 4 y

โดยแทนค่า dx = 4x และ dy = 4y เมื่อการเปลี่ยนแปลงมีค่าน้อยๆ


นอกจากนี้ สูตรการประมาณค่าข้างต้นสามารถเขียนในรูป 4z ≈ dz ได้เช่นกัน

ตัวอย่าง 6.5.3. จงหาค่าการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชัน f (x, y) = xy 2 เมื่อมีการเปลี่ยนตำแหน่งจาก (0.5, 1.0) ไปยัง


(0.503, 1.004) โดยใช้วิธีประมาณค่าและหาโดยตรง
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 186

2x + y
ตัวอย่าง 6.5.4. จงประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชัน f (x, y) = จากตำแหน่ง (1, 3) ไปยัง (1.03, 2.99)
x + 3y
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 187

บทนิยาม. ให้ w = f (x, y, z) เป็นฟังก์ชันสามตัวแปรซึ่งสามารถหาอนุพันธ์ได้ที่ (x0 , y0 , z0 ) ผลต่างเชิงอนุพันธ์รวม


(Total Differential) ของ f (หรือของ w) คือ

df = fx (x0 , y0 , z0 )dx + fy (x0 , y0 , z0 )dy + fz (x0 , y0 , z0 )dz (= dw)

โดยที่พิจารณา df เป็นฟังก์ชันของตัวแปร dx, dy และ dz


ในการใช้งานจริง เราจะละดัชนี (x0 , y0 , z0 ) ทำให้ได้สมการในรูป

df = fx (x, y, z)dx + fy (x, y, z)dy + fz (x, y, z)dz (= dw)

ข้อสังเกต. สำหรับฟังก์ชันสามตัวแปร w = f (x, y, z) เมื่อตำแหน่งตั้งต้น (x0 , y0 , z0 ) เปลี่ยนแปลงไปยังตำแหน่งใหม่


(x0 + 4x, y0 + 4y, z0 + 4z) เราประมาณการเปลี่ยนแปลงโดยใช้สูตร 4f ≈ df ดังนี้

4f ≈ df
= fx (x0 , y0 , z0 )dx + fy (x0 , y0 , z0 )dy + fz (x0 , y0 , z0 )dz
= fx (x0 , y0 , z0 ) 4 x + fy (x0 , y0 , z0 ) 4 y + fz (x0 , y0 , z0 ) 4 z

โดยแทนค่า dx = 4x, dy = 4y และ dz = 4z เมื่อการเปลี่ยนแปลงมีค่าน้อยๆ


นอกจากนี้ สูตรการประมาณค่าข้างต้นสามารถเขียนในรูป 4z ≈ dz ได้เช่นกัน

ตัวอย่าง 6.5.5. จงประมาณค่าการเปลี่ยนแปลงของฟังก์ชัน f (x, y, z) = ln(x + yz) จากตำแหน่ง (2, 1, −1) ไปยัง
(2.02, 0.97, −1.01)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 188

ข้อสังเกต. จากสูตรการประมาณการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ผลต่างเชิงอนุพันธ์รวมของฟังก์ชันสองตัวแปร f (x, y)


ที่ตำแหน่ง (x0 , y0 ) ไปยัง (x0 + 4x, y0 + 4y)

4f ≈ fx (x0 , y0 ) 4 x + fy (x0 , y0 ) 4 y

เมื่อแทนค่า x = x0 + 4x, y = y0 + 4y จะได้ว่า

4f ≈ fx (x0 , y0 )(x − x0 ) + fy (x0 , y0 )(y − y0 )

และเนื่องจาก

4f = f (x0 + 4x, y0 + 4y) − f (x0 , y0 )


= f (x, y) − f (x0 , y0 )

จึงได้ว่า
f (x, y) ≈ f (x0 , y0 ) + fx (x0 , y0 )(x − x0 ) + fy (x0 , y0 )(y − y0 )

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสองตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ (x0 , y0 ) การประมาณเชิงเส้นเฉพาะที่ (Local Linear


Approximation) ของ f ที่ (x0 , y0 ) คือสมการ

L(x, y) = f (x0 , y0 ) + fx (x0 , y0 )(x − x0 ) + fy (x0 , y0 )(y − y0 )

ข้อสังเกต. เราใช้สมการ L(x, y) ในบทนิยาม 6.5 ในการประมาณค่าของฟังก์ชัน f ที่ตำแหน่ง (x, y) ซึ่งใกล้กับ


(x0 , y0 ) ได้
p
ตัวอย่าง 6.5.6. ให้ L(x, y) เป็นการประมาณค่าเชิงเส้นเฉพาะที่ของฟังก์ชัน f (x, y) = x2 + y 2 ที่ตำแหน่ง (3, 4)
p
จงเปรียบเทียบค่า f (3.04, 3.98) = (3.04)2 + (3.98)2 กับ L(3.04, 3.98)
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 189

บทนิยาม. ให้ f เป็นฟังก์ชันสามตัวแปรซึ่งหาอนุพันธ์ได้ที่ (x0 , y0 , z0 ) การประมาณเชิงเส้นเฉพาะที่ (Local


Linear Approximation) ของ f ที่ (x0 , y0 , z0 ) คือสมการ

L(x, y, z) = f (x0 , y0 , z0 ) + fx (x0 , y0 , z0 )(x − x0 ) + fy (x0 , y0 , z0 )(y − y0 ) + fz (x0 , y0 , z0 )(z − z0 )

ข้อสังเกต. เราใช้สมการ L(x, y, z) ในบทนิยาม 6.5 ในการประมาณค่าของฟังก์ชัน f ที่ตำแหน่ง (x, y, z) ซึ่งใกล้กับ


(x0 , y0 , z0 )
4x
ตัวอย่าง 6.5.7. จงหา L(x, y, z) การประมาณค่าเชิงเส้นเฉพาะที่ของฟังก์ชัน f (x, y, z) = ที่ตำแหน่ง (1, 1, 1)
y+z
บทที่ 6. ฟังก์ชันหลายตัวแปร (MULTIVARIABLE FUNCTIONS) 190

ตัวอย่าง 6.5.8. จงหา L(x, y, z) การประมาณค่าเชิงเส้นเฉพาะที่ของฟังก์ชัน f (x, y, z) = xyz+2 ที่ตำแหน่ง (1, 1, 1)


บรรณานุกรม

[1] Anton, Howard, et al. Calculus Early Transcendentals (10th Edition). John Wiley & Sons, Inc., Hoboken,
NJ, 2012.

You might also like