You are on page 1of 43

ระเบียบวิธีวิจยั ทางวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี 104545
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นัฐพล มหาวิค
2023/06/28
เนื้อหา
✓อธิบายแผนการเรียนรู ้ วิชาระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ และวิทยานิพนธ์ 1
เอกสารในไลน์ / MS Teams / TQF NU
✓อธิบายระบบการเรียนการสอน ก1 (ก่อนมีท่ีปรึกษางานวิจยั และหลังแต่งตัง้ )
✓โครงร่างงานวิจยั เป้าหมายหลักของเทอม 1/2566
✓การทบทวนวรรณกรรม แหล่งสืบค้น
✓การเผยแพร่ผลงาน ประชุมวิชาการ/วารสาร (requirement 1 เปเปอร์ TCI1)
แผนการเรี ยนรู ้
✓วิชาระเบียบวิธีวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ (ไม่นบั หน่วยกิต)
✓วิทยานิพนธ์ 1 ( 9 หน่วยกิต)
✓สิ่งที่ตอ้ งทา กิจกรรม
✓สัมมนา นาเสนอโครงร่างวิจยั หรือสิ่งที่สนใจ 1 ครัง้ และ อ่านเปเปอร์วิจยั หลัก 1
ครัง้ จัดขึน้ ในระหว่างภาคเรียน เพื่อช่วยเหลือนิสิต (ตามเอกสารกาหนดการ)
✓นาเสนอความก้าวหน้าในงานวิจยั 1/2566 ในช่วงท้ายของภาคเรียนที่ 1 ในรูปแบบ
โครงร่างงานวิจยั (ตามเอกสารกาหนดการ)
อธิบายระบบการเรี ยนการสอน ก1
✓ก่อนมีท่ีปรึกษางานวิจยั เทอม 1/2566 – 2/2566 อาจารย์ท่ีปรึกษาทั่วไปให้คาแนะนา นิสิต
เรียนวิชาระเบียบวิธีวิจยั จะได้พบคณาจารย์ ให้เข้าไปคุยปรึกษา เรียนรูจ้ ากงานวิจยั อาจารย์
✓พัฒนาโครงร่างกับอาจารย์ท่ีนิสิตคาดว่าจะทาวิทยานิพนธ์ดว้ ย ในขณะเดียวกัน อ่านทบทวน
วรรณกรรม เก็บความคิด กระบวนการ ทดลองด้วยตนเอง แล้วนาผลไปเสนอกับอาจารย์
ระหว่างการพัฒนาโครงร่าง ศึกษาความเป็ นไปได้
✓หากตกลงเลือกอาจารย์ท่ีปรึกษา ให้แต่งตัง้ อาจารย์ท่ีปรึกษาวิจยั แนะนาให้ภายใน เทอม
2/2566 แล้วดาเนินการพัฒนาโครงร่างให้สมบูรณ์ ขึน้ สอบโครงร่าง
✓หน้าที่ให้คาปรึกษาวิจยั จะขึน้ กับอาจารย์ท่ีปรึกษาวิจยั รวมถึงการดูแลเรื่องที่เกี่ยวข้อง
โครงร่ างงานวิจยั เป้าหมายหลักของเทอม 1/2566
✓โครงร่างงานวิจยั เป้าหมายของ 104545 & 104571
✓ก1 แบบทางานไปด้วยเรียนไปด้วย ต้องเลือกงานวิจยั ที่ตนเองมีทกั ษะอยูแ่ ล้ว หรือ ขาดทักษะ
เพียงเล็กน้อย ที่คิดว่าจะสามารถเพิ่มเติมขึน้ มาได้ในระยะเวลาอันสัน้
✓ก1 วิจยั อย่างเดียว อยูก่ บั อาจารย์ มีเวลาในการเพิ่มพูนความรู ้ การทดลอง การฝึ ก สามารถ
เลือกงานท้าทายได้
✓ทบทวนวรรณกรรม คือ จุดเริม่ ต้น ค้นหาเปเปอร์หลัก
✓หนังสือ ตารา งานวิจยั
✓ระบบการสืบค้นเอกสารงานวิจยั เปเปอร์ในวารสาร เปเปอร์งานประชุมวิชาการ วิทยานิพนธ์ทงั้
ไทยและอังกฤษ
เป้าหมายการสาเร็ จการศึกษา ก1

✓ https://shorturl.at/fpqEG
เป้าหมาย การเผยแพร่ ผลงาน แผน ก1
✓วารสารในฐานข้อมูลนานาชาติตาม
ประกาศ ก.พ.อ.
✓วารสารในฐานข้อมูลระดับชาติ TCI
ในกลุม่ 1 และกลุม่ 2
✓*** ตรวจสอบกับทางบัณฑิตวิทยาลัย
ก่อน submit วารสารทุกครัง้ !!!

✓ https://shorturl.at/fpqEG
ทบทวนวรรณกรรม
✓หาช่องว่างงานวิจยั จะเติมเต็มช่องว่างเหล่านัน้ อย่างไร ในระดับไหน (ชาติ/นานาชาติ)
✓ใครทาไปแล้วบ้าง ทาอะไรไป ทาระดับไหน ทาตัง้ แต่เมื่อไหร่ ทาอย่างไร ไล่ตงั้ แต่เริม่ ต้น จนถึง ปั จจุบนั
Review article ช่วยได้
✓หาเปเปอร์วิจยั หลักให้ได้ แล้วคิดว่าจะเอามาใช้ทาอะไร ตรงไหน ดัดแปลง หรือเพิ่มเติม ต่อยอด เปรียบเทียบ
หรือ benchmark
✓เริม่ ภาษาไทยก่อน หากมี แต่ถา้ งานวิจยั ในไทยไม่มี ก็ย่ิงดี ให้อ่านภาษาอังกฤษไปเลย แสดงว่างานของเรา จะ
มีโอกาสที่คนทาเหมือนเราน้อยในเมืองไทย
✓ทบทวนวรรณกรรม จะทาให้เราทราบว่าเรายังขาดองค์ความรูอ้ ะไร ให้ไปค้นคว้า ตารา/หนังสือ ศึกษา อ่าน
บันทึก ทาความเข้าใจ หรือ ลงคอร์สเพิ่มเติม เช่น คอร์สออนไลน์ทงั้ ฟรีและไม่ฟรี udemy / youtube
ฐานข้อมูลเอกสารงานวิจยั THAILIS
✓https://tdc.thailis.or.th/tdc/

สอนการใช้งาน
https://www.youtube.
com/watch?v=aLYBQ
wTfqTY
รายชื่อวารสารในฐานข้อมูล THAIJO-TCI

https://tci-thailand.org/list%20journal.php
ฐานข้อมูล THAIJO สาธิตการสื บค้น

https://www.tci-thaijo.org/
ฐานข้อมูล THAIJO สาธิตการสื บค้น “GIS น้ าท่วม”

https://www.tci-thaijo.org/
https://li01.tci-
thaijo.org/index.p
hp/tjst/article/vie
w/21052

• TCI กลุม่ 2 ตามเอกสารด้านบน ณ วันนีใ้ ช้จบได้ แต่ตอ้ งตรวจสอบอีกครัง้ ก่อน submit กับทางบัณฑิตวิทยาลัย
• วารสารไทย มักจะไม่บอกวัน received accepted และ published
• บางวารสาร อาจใช้เวลาอ่านนานโดยผูท้ รงคุณวุฒิ อาจทาให้ลา่ ช้าในการจบการศึกษา ต้องระวัง !!!
ฐานข้อมูล THAIJO สาธิตการสื บค้น “UAV ข้าว”

https://www.tci-thaijo.org/
เปเปอร์น้ ี ACCEPTED เร็วมาก 3 เดือน ACCEPTED
TCI กลุม่ 1 ตามเอกสารด้านบน ณ วันนีใ้ ช้จบได้ แต่ตอ้ งตรวจสอบอีกครัง้ ก่อน submit กับทางบัณฑิตวิทยาลัย ขึ้นอยูก่ บั ความไวและคุณภาพของการแก้ไขงาน
วารสาร Journal of Applied Science and Emerging Technology
บางวารสาร อาจใช้เวลาอ่านนานโดยผูท้ รงคุณวุฒิ อาจทาให้ลา่ ช้าในการจบการศึกษา ต้องระวัง !!!
วารสารในฐานข้อมูล THAIJO และ SCOPUS เป็ นวารสารระดับนานาชาติ
• วารสารนี ้ เป็ นตัวอย่างที่มี article
history บ่งชีอ้ ย่างชัดเจนไว้ว่า
• Submitted วันยื่นให้ผทู้ รงคุณวุฒิ
พิจารณา
• Revision received วันที่วารสาร
ได้รบั การแก้ไขมาจากตัวนักวิจยั หลังจาก
ให้ขอ้ คอมเม้นท์ไปแล้ว
• Accepted วันที่ทางวารสารตัดสินใจ
ว่ายอมรับให้เปเปอร์นีเ้ ผยแพร่ผลงานใน
วารสารได้ (ตรงนีส้ าเร็จการศึกษาได้แล้ว)
สามารถนาจดหมายตอบรับนี ้ ไปยื่นจบ
การศึกษาได้เลย
• Published วันที่เผยแพร่ผลงาน

https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/aer/article/view/245734
การสื บค้นใน SCOPUS ผ่าน NU LIBRARY

3
https://www.lib.nu.ac.th/web/
การสื บค้นใน SCOPUS ผ่าน NU LIBRARY
สืบค้นด้วยชื่อคน
ผลการสื บค้นใน SCOPUS ผ่าน NU LIBRARY
สืบค้นด้วยชื่อคน
ผลการสื บค้น REVIEW ARTICLE เรื่ อง SPATIAL
DATA SCIENCE URBAN REVIEW
Review article ดูปี ดูวารสาร ดูจานวนอ้างอิง ตรวจสอบความน่าเชื่อถือวารสาร
การจากัดผลการสื บค้น 5 ปี ย้อนหลัง OPEN ACESS GOLD
ผลการสื บค้น REVIEW ARTICLE เรื่ อง SPATIAL
DATA SCIENCE URBAN REVIEW
Review article ดูปี ดูวารสาร ดูจานวนอ้างอิง ตรวจสอบความน่าเชื่อถือวารสาร
กรองในสิ่งทีต่ อ้ งการเพิม่ เติม ปี ชนิดการเข้าถึง ชื่อวารสาร คาสาคัญ
ลองดาวน์โหลดมาอ่าน
• สังเกตจานวนเปเปอร์ทนี่ ามาอ้างอิง หากเป็ น
review จะมีเปเปอร์ทม่ี าก
• สามารถกดเข้าไปอ่านได้ หากห้องสมุดซือ้ ลิขสิทธิ์
อีกตัวอย่าง การค้นหา REVIEW ARTICLE ใช้คาค้น RADAR
RAINFALL BIAS REVIEW
• สังเกตว่าจานวนเปเปอร์มีไม่เยอะ อาจเพราะคาค้นไม่ตรง
หรือ มีคนทาวิจัยด้านนีน้ ้อย ไม่ค่อย active

• สองเปเปอร์นีน้ ่า
อ่านเพราะเป็ น
review
• ตารางนีด้ ี มีการรีวิวิ ใคร
ทาอะไร อย่างไร
เมื่อไหร่ ข้อมูลเป็ น
อย่างไร ผลลัพธ์
เปรียบเทียบวิธีการใดดี/
ด้อย
• นิสิตควรทาการรีวิว
เช่นนี้ ในโครงร่างของ
ตนเอง แสดงว่าต้องอ่าน
เยอะ แต่ต้องฉลาดใน
การหาแหล่งอ่าน นั่นคือ
review article แล้ว
ค่อยเจาะไปทีเ่ ปเปอร์อน่ื
ใครอ้างเปเปอร์ น้ ีบา้ ง ตามกลับไปอ่านได้ เผือ่ ได้ไอเดียเพิ่มเติม

• Sort เปเปอร์ทไี่ ด้รับการอ้างอิงสูงสุด


• เผยแพร่ในปี 2021 แต่ได้รับการอ้างอิง 40 ครั้ง
ไปแล้ว
• เปเปอร์ทส่ี องน่าอ่าน เป็ น review article
เช่นกัน ในการประมาณค่าฝนจากเรดาร์ที่
ประยุกต์ไปใช้ในงานแบบจาลองอุตุนิยมวิทยา
และอุทกวิทยา
ITC : UNIVERSITY OF TWENTE เก่งเรื่ องภูมิสารสนเทศศาสตร์ ระดับโลก
https://www.itc.nl/library/research/academic-output/ITC%20PhD%20theses/phd-theses/

• สามารถดาวน์โหลด
วิทยานิพนธ์ฉบับเต็มมา
อ่านได้ แต่เรือ่ งที่ใหม่ ๆ
มักจะยังไม่ให้ดาวน์โหลด
• ดาวน์โหลดมาอ่านได้
ตัวอย่างการสื บค้นงานวิจยั เฉพาะสาย ด้านอุตุนิยมวิทยา ของ AMERICAN
METEOROLOGICAL SOCIETY (AMS) คาค้น RADAR RAINFALL BIAS
• ลองเลือกเปเปอร์นี้
• ใครนาเปเปอร์นีไ้ ปอ้าง
ถึงบ้าง เราจะได้ตาม
trend ใหม่ ๆ เลือกปี
ใหม่ ๆ ในวารสารที่
น่าเชื่อถือ
ห้องสมุดม.นเรศวร
• จัดอบรมให้กบั นิสติ ฟรี ออนไลน์/ออนไซต์ มีใบประกาศนียบัตรมอบให้
• คอร์สแนะนา Endnote20 เอาไว้ใช้ในการจัดการ literature
review
https://app.lib.nu.ac.t
h/weblib/training/
https://app.lib.nu.ac.t
h/weblib/training/
https://app.lib.nu.ac.t
h/weblib/training/
การตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษ
• วารสารภาษาไทย TCI มักจะมีการรีวิวจากผูท้ รงคุณวุฒิใช้เวลานาน แล้วสุม่ เสี่ยงต่อการยื่นจบการศึกษา เนื่องจากมี
การตกฐาน เช่น ขณะที่ย่ืนเปเปอร์เข้าไป วารสารอยู่ใน TCI2 แต่พอเวลาผ่านไป กลับตกฐานเป็ น TCI3 ซึง่ อาจมี
ปั ญหาต่อการยื่นจบ
• วารสารภาษาอังกฤษในฐานScopus มีหลากหลาย และมากมาย ทาให้มีทางเลือกมากมายในการ submit มีตงั้ แต่
Quatile หรือ Q อ่อน ๆ ไล่ไปตัง้ แต่ Q4 ที่อาจไม่มีคา่ IF หรือ impact factor ทาให้มีโอกาส submit เข้าไป
ให้ผทู้ รงพิจารณาได้ นอกจากนัน้ เปเปอร์จะมีการระบุวนั Received ต้นฉบับ วัน Revision วัน Accepted ทา
ให้สามารถตัดสินใจได้ ว่าจะเลือกเปเปอร์ไหนที่ใช้เวลาน้อยที่สดุ
• อย่างไรก็ดี การทาต้นฉบับ (Manuscript) ในภาษาอังกฤษ มักสร้างปั ญหาให้นิสิตไทยที่เรียนหลักสูตรไทยเป็ นอย่าง
มาก เนื่องจากมีความกังวลด้านภาษา แต่หากมีตน้ ฉบับเป็ นภาษาไทยแล้ว สามารถจัดการปั ญหาด้านภาษาอังกฤษ
เหล่านีไ้ ด้ โปรดอ่านคาแนะนาในการจัดการปั ญหาด้านภาษา
การจัดการปัญหาภาษาอังกฤษในการเตรี ยมต้นฉบับ (MANUSCRIPT)

• มีหลายทางเลือก ในการแก้ปัญหากับต้นฉบับภาษาอังกฤษ ขอแค่ให้มีงานต้นฉบับในภาษาไทย


• ทางเลือกแรก หากต้นฉบับภาษาไทย เขียนอย่างชัดเจน หากภาษาอังกฤษนิสิตไม่แข็งแรง นิสิตก็สามารถหาเครือ่ งมือช่วย
แปลจากไทยเป็ นอังกฤษ หรือ เครือ่ งมือแก้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษที่นิสติ ร่างหรือแปลมาได้ มีทงั้ ฟรีและจ่ายเงิน
ยกตัวอย่างเครือ่ งมือ QuillBot หรือ Grammarly เพื่อขัดเกลาภาษา ร่วมกันกับอาจารย์ท่ปี รึกษา
• ทางเลือกที่สอง เมื่อนิสิตแปลจากภาษาไทยเป็ นอังกฤษแล้ว สามารถส่งตรวจภาษากับบริษัทหรือหน่วยงาน เช่น สถานบัน
ภาษา จุฬาลงกรณ์ https://www.culi.chula.ac.th/th
• ทางเลือกที่สาม หากมีนิสิตมีรา่ งต้นฉบับเป็ นภาษาอังกฤษ นิสิตสามารถติดต่อกองพัฒนาภาษาและกิจการต่างประเทศ
มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อเข้ารับคาปรึกษา Writing Clinic โดยทาการนัดหมาย
https://www.diald.nu.ac.th/th/clinic_select.php
• หรือ ใช้ AI ช่วยตรวจแก้แกรมม่าให้กบั ต้นฉบับภาษาอังกฤษของนิสิต ChatGPT แล้วให้อาจารย์ท่ปี รึกษาช่วยอ่าน
ตรวจแก้

You might also like