You are on page 1of 103

เครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้

LEAF AND BRANCH SHREDDING MACHINE

โชคอนันต์ พันหลวง
สมมิตร นวลมา
อนุรักษ์ เทศสวัสดิ์

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ปีการศึกษา 2554
LEAF AND BRANCH SHREDDING MACHINE

CHOKANAN PUNLUANG
SOMMIT NUALNMA
ANURAK TEDSAWAT

A PROJECT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF REQUIREMENTS

FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF TECHNOLOGY

MAJOR OF INDUSTRIAL MANAGEMENT TECHNOLOGY

BURAPHA UNIVERSITY 2011


ปริญญานิพนธ์ เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้แบบเคลื่อนที่
โดย นายโชคอนันต์ พันหลวง
นายสมมิตร นวลมา
นายอนุรักษ์ เทศสวัสดิ์
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธนบดี ที่สุด
จานวนหน้า 88 หน้า
ปีการศึกษา 2554

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อนุมัติปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา


ตามหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม

....................................................ประธานกรรมการสอบปริญญานิพนธ์
(อาจารย์ พรชัย ปิ่นสุวรรณ )

....................................................กรรมการสอบปริญญานิพนธ์
(อาจารย์ สุภาพ ธาราศักดิ์ )

...................................................กรรมการสอบและอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์
(อาจารย์ ธนบดี ที่สดุ )

...................................................ประธานกลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
(อาจารย์ ยศพนธ์ อินทรจันทร์ )

...................................................ผู้อานวยการ วิทยาลัยเทคนิคบ้านค่าย
(อาจารย์ กมล ชุ่มเจริญ )

...................................................ประธานสาขาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
(ดร.ภาณุวัฒน์ ด่านกลาง )
ii

บทคัดย่อ

ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา เครื่องย่อยใบไม้และกิ่งไม้ประกอบด้วยกลไกที่สาคัญ 3 ส่วน คือ ชุด


ป้อนวัตถุดิบเข้า,ชุดใบตัด หั่น ใบย่อย,และชุดส่งกาลัง โดยใช้เครื่องยนต์ 4 จังหวะ 9 แรงม้า เพื่อใช้ในการตัด
ย่อยใบไม้กิ่งไม้ซึ่งส่วนประกอบและลักษณะการทางานที่สาคัญคือภายในห้องย่อยประกอบด้วย ใบมีดตัดและ
หั่น 2 ใบ ติดตั้งในแนวรัศมีซึ่งทาจากเหล็กกล้าอย่างดีจานวน 2 ใบอยู่ด้านข้างของผนังห้องย่อย ขนาดกว้าง 50
มิลลิเมตร ยาว 90 มิลลิเมตร หนา 16 มิลลิเมตร มุมคมตัด 30 องศา หมุนด้วยความเร็วรอบ 360 รอบต่อนาที
ส่วนใบมีดย่อย ชุดที่ 2 ประกอบด้วยใบมีดเชื่อมติดตายตัวแบบสลับฟันปลา จานวน 3 ชุดๆ ละ 12 ใบ ขนาด
38 x 175 x 10 มิลลิเมตร ลักษณะช่องห่างกันเป็นระยะช่องละ 30 มิลลิเมตร แต่ละชุดทามุม 120 องศา มุมคม
ตัด 70 องศา หมุนด้วยความเร็วรอบ 360 รอบต่อนาที ด้านบนของเครื่องเป็นช่องป้อนใบไม้ ส่วนด้านข้างจะ
เป็นช่องป้อนกิ่งไม้
การทดลองหาประสิทธิภาพของเครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้ เครื่องสามารถย่อยใบไม้สดขนาด 100-200
มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 18.7 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ย่อยใบไม้แห้งขนาด 100-200 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 13.2
กิโลกรัมต่อชั่วโมง ย่อยกิ่งไม้สดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 60.1 กิโลกรัมต่อ
ชั่วโมง และย่อยกิ่งไม้แห้งขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 42.1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง
จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยรวมที่ได้จากการประเมินทั้งหมด
12 จุดประเมิน ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.82 แสดงให้เห็นว่าผูเ้ ชี่ยวชาญทั้ง 15 ท่าน มีความเห็นสอดคล้องกันว่า
เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีคุณภาพ และประสิทธิภาพในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ สามารถนาไปใช้ย่อยกิ่งไม้ ใบไม้
ได้ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพราะค่า IOC ของจุดประเมินเท่ากับ 0.82 ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวนี้ ผู้เชี่ยวชาญมี
ความเห็นสอดคล้องกันว่าเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ สามารถนาไปใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปตาม
สมมุติฐานของการวิจัย
iii

Abstract

Procedures education A Leave and Branch Shredding Machine consists of 3 important


mechanism is set to enter raw access section , set the cut leaves and branch into pieces smaller ,
and sending by using engine 4 -Stroke 9 horsepower to cut which components and features that are
important within the Sub-room consists of a blade cut and slice 2cards installed in radial steel in
from which a good number 2 leaves the sides of the wall width 50 mm. length sub room, 90 mm.
thickness 16 mm. Edge angle 30 degrees to rotate at around 360 RPM. Section 2 sets of mini
blade consists of a fixed blade connecting adjacent zigzag number 3 distinct, manageable sets
according each of 12 cards in size 38 x 10 x 175 mm. Style box away. 30 mm per channel. Each set
at 120 degrees to the upper edge 70 degrees to rotate at around 360 RPM. The top of the leaf is
entered. The sides will enter space Branch .
Trial for the performance of a Leave and Branch Shredding Machine. The fresh leaves
can be subsidiaries 100 - 200 mm . average weight is 18.7 kg. per hour. Dried subsidiaries 100-200
leaves size mm . average weight was 13.2 kg. per hour mini Branch live size diameter no more than
40 mm . weight: 60.1 kg. per hour., the average and small Branch dry size diameter no more than 40
mm . average weight was 42.1 kg. per hour.
From the assessment of the experts of the Leave and Branch Shredding Machine by
including the assessment of all 12 points of measurement value equals 0.82 IOC shows that experts
on both 15 you have a consistent opinion that the. Leave and Branch Shredding Machine. Quality
and performance in a Leave and Branch Shredding can applies Leave and Branch Shredding as
the purpose of the research, because the value of the measurement point equals 0.82 IOC which this
criterion. Experts are of the opinion that consistent Leave and Branch Shredding Machine
Be implemented objectively and in accordance with the hypothesis of research.
iv
iv

กิตติกรรมประกาศ

ในการดาเนินงานโครงการเครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้นั้นได้ประสบปัญหาต่างๆมากมายแต่ก็สามารถผ่าน
พ้นปัญหานั้นไปได้ และสามารถดาเนินงานจนสาเร็จและลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้ เนื่องจากคณะอาจารย์ภาควิชา
เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ ให้คาปรึกษาและแนะนาในการแก้ปัญหาใน
การดาเนินงานตามขั้นตอนต่างๆ ตลอดจนช่วยเอื้อเฟื้อสถานที่เครื่องมือและอุปกรณ์ในการดาเนินการสร้าง
เครื่องย่อยใบไม้ คณะผู้จัดทาโครงการเครื่องย่ อยใบไม้ กิ่งไม้ ขอขอบคุณอาจารย์ธนบดี ที่สุด อาจารย์พรชัย
ปิ่นสุวรรณ และ อาจารย์ยศพนธ์ อินทรจันทร์ ที่คอยช่วยให้คาแนะนาในการออกแบบ ตลอดจนช่วยแก้ไข
ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินงาน

สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ให้การสนับสนุนและให้คาปรึ กษาจนโครงการสร้างเครื่อง


ย่อยใบไม้ประสบความสาเร็จไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาจึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วย

โชคอนันต์ พันหลวง
สมมิตร นวลมา
อนุรกั ษ์ เทศสวัสดิ์
v

สารบัญ
หน้า

บทคัดย่อ…………………………………………………………………………………………………………….ii
Abstract……………………………………………………………………………………………………………..iii
กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………………………………..iv
สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………….v
สารบัญรูป………………………………………………………………………………………………………….viii
สารบัญตาราง……………………………………………………………………………………………………….ix

บทที่ 1 บทนา………………………………………………………………………………………………………..1
1.1 ที่มาของปัญหา……………………………………………………………………………………….. 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา………………………………………………………………..................1
1.3 ขอบเขตการศึกษา……………………………………………………………………………………..2
1.4 แผนการดาเนินการวิจัย……………………………………………………………………………….2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั …………………………………………………………………………….2

บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง………………….……………………………………………………………………….3
2.1 นิยามคาศัพท์ที่สาคัญ………………………………..………………………………………………..3
2.2 ทฤษฎีการออกแบบเพลา………………………………...……………………………………………4
2.3 ทฤษฎีความเค้น……………………………………………….……………………………………….8
2.4 ทฤษฎีการออกแบบสายพาน………………………………………………………………………….9
2.5 ทฤษฎีดีเฟล็คชั่นของคาน……………………………………………………………………………13
2.6 ทฤษฎีโรลเลอร์แบริ่ง…………………………………………………………………………………14
2.7 ทฤษฎีการออกแบบลิ่ม……………………………………………….………………………………17
2.8 ทฤษฎีเกี่ยวกับงานเชื่อม…………………………………………………………………................20
2.9 อุปกรณ์ล็อค…………………………………………………….…………………………………….25
2.10 สลักเกลียว……………………………………………….………………………………………….26
2.11 เครื่องยนต์…………………………………………………………………………………………..26
vi

สารบัญ (ต่อ)
หน้า

2.12 จาระบี…………………………………………………….…………………………………………..27
2.13 หลักการลดขนาดของวัสดุและแรงที่ทาให้วัสดุแตกหรือขาดออกจากกัน………………………….27
2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง…………………………………………………………………………………..28

บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย……………………………………………………………………………………..30
3.1 วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้…………………………………….……..………..30
3.2 การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้…………….………...………..30
3.2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง…………………………………………………………..………..31
3.2.2 การออกแบบและสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้……………….……………………………….31
3.2.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย…………………………………………………...………..32
3.2.4 การทดลองใช้และรวบรวมข้อมูล……………………………………………………………...32
3.2.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล………………………………………………………………..36

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน…………………………………….……………………..................38
4.1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ………………………………………………………..38
4.2 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยแยกออกเป็นด้านต่างๆ.…………………………...40
4.3 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ……………………42

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………45


5.1 สรุปผลการวิจัย………………………………………………………………………………………45
5.2 อภิปรายผล…………………………………………………………………………………………..45
5.3 ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………….46
vii

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

ภาคผนวก………………………………………………………………………………………………………..…47
ภาคผนวก ก ภาพประกอบการสร้างเครื่องย่อยใบไม้กงิ่ ไม้.....................................................…………...47
ภาคผนวก ข รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ………………………………………………………………………...55
ภาคผนวก ค แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชีย่ วชาญทีใ่ ช้ในการประเมินประสิทธิภาพ…………………60
ภาคผนวก ง แบบเครื่องย่อยกิ่งไม้ใบไม้......................................................……………………….65
ภาคผนวก จ คู่มือการใช้งานเครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้......................................................…...............71

บรรณานุกรม.………………………………………………………………………………………………………85
ประวัติผู้เขียน………………………………………………………………………………………………………86
viii

สารบัญรูป

รูปที่ หน้า
2.1 แสดงสายพานตัววี ……………………………………………………………..………………..............9
2.2 แสดงล้อสายพานลิ่ม ……………………………………………………………………………………...9
2.3 หน้าตัดสายพานลิ่มและล้อสายพาน …………………………………………………………..............10
2.4 แสดงคานภายใต้ uniform load …………………………………………..…………………………….13
2.5 แสดงคานภายใต้ center load ………………………………………………………………..............14
2.6 แสดงลิ่มสี่เหลี่ยมผืนผ้าและลิม่ สี่เหลี่ยมจัตุรัส ………………………………………………………….17
2.7 แสดงแรงบนรอยต่อด้วยลิ่ม …………………………………………………………..………………...18
2.8 แสดงการไหลซึมของโลหะ………………………………………………………………………...........24
2.9 แสดงจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของแนวเชื่อมจะเป็นหลุม………………………………………...........24
2.10 แสดงอุปกรณ์ล็อคโดยอาศัยแรงเสียดทาน……………………………………………………………...25
2.11 แสดงอุปกรณ์ล็อคการเคลื่อนที่โดยตรง…………………………………………………………………25
4.1 ระดับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญ…………………………………………………………………………38
4.2 ประสบการณ์ทางานของผู้เชี่ยวชาญ……………………………………………………………………39
4.3 ระดับอายุของผู้เชี่ยวชาญ……………………………………………………………………………….40
4.4 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์สร้างเครื่องย่อยฯ…….………….41
4.5 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์นาไปย่อยใบไม้ กิ่งไม้….............42
ix

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
1.1 แสดงแผนการดาเนินงานวิจัย……………………………………………………………………………2
2.1 แสดงถึงชนิดของเหล็กที่สามารถเชื่อมได้และงานที่ใช้………………………………………..............20
2.2 แสดงสัญลักษณ์ของต่องานเชื่อมและการกาหนดขนาดในแบบงาน…………………………………..21
2.3 ชนิดของการต่อ……………………………………………………………………………………….....23
3.1 ผลการทดสอบย่อยใบไม้สดขนาด 50-100 มิลลิเมตร………………………………………………….33
3.2 ผลการทดสอบย่อยใบไม้แห้งขนาด 50-100 มิลลิเมตร………………………………………………...33
3.3 ผลการทดสอบสามารถย่อยใบไม้สดขนาด 100-200 มิลลิเมตร......................................................34
3.4 ผลการทดสอบสามารถย่อยใบไม้แห้งขนาด 100-200 มิลลิเมตร....................................................34
3.5 ผลการทดสอบย่อยกิ่งไม้สด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มิลลิเมตร…………………………...35
3.6 ผลการทดสอบย่อยกิ่งไม้แห้ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มิลลิเมตร………………………….35
3.7 แสดง ค่าใช้จ่ายนามัน……………………………………………………………………………………36
4.1 ผลการประเมินเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 15 ท่าน ทัง12 จุดประเมิน………….43
4.2 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้……...………………………….....44
บทที่1

บทนำ

1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
จากการส่ารวจพบว่าพื้นที่ไม่ต่ากว่า 60% ของพื้นที่ทั่วประเทศ มีปริมาณอินทรียวัตถุต่ากว่า 1% ซึ่ง
เป็นอุปสรรคส่าคัญประการหนึ่งในการพัฒนาการเกษตรของไทยเนื่องจากสภาพดังกล่าวท่าให้พืชได้รับอาหาร
ไม่เพียงพอ แม้ว่าจะมีการใส่ปุ๋ยเคมี แต่การใช้ปุ๋ยเคมีจะได้ผลเต็มที่ก็ต่อเมื่อใช้ในพื้นที่ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุ
พอเพียง ดังนั้นการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เช่ น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ ซึ่งเป็นสิ่งจ่าเป็นในการพัฒนาการ
เกษตรของไทย เพราะปุ๋ยอินทรีย์ นอกจากจะช่วยเพิ่มอินทรีย์และเพิ่มธาตุอาหารในดินแล้ว ยังมีราคาถูกและ
สามารถจัดหาหรือจัดท่าได้ง่ายในทุกพื้นที่ ซึ่งใบไม้สดหรือใบไม้แห้งเป็นอินทรีย์วัตถุชนิดหนึ่งที่หาได้ง่ ายและ
มี เ ป็ น จ่ า นวนมาก แต่มั กเผาทิ้ งไปโดยเปล่ า ประโยชน์ ดั งนั้ น การน่ า ใบไม้ ม าเป็ น วั ตถุส่ า คั ญในการเพิ่ ม
อินทรียวัตถุในดิน โดยการท่าปุ๋ยหมักจึงเป็นแนวทางที่ควรส่งเสริมแนวทางหนึ่ง
ดังนั้น ขนาดของวัตถุที่น่ามาเป็นปุ๋ยหมัก เป็นปัจจัยส่าคัญประการหนึ่ง ที่ช่วยให้ได้ปุ๋ยที่เร็วหรือช้า
ถ้าวัตถุมีขนาดเล็กและสภาวะอื่นๆ เหมาะสม การสลายตัวของวัตถุจะเป็นไปอย่างรวดเร็วภายในหนึ่งสัปดาห์
แต่ถ้าวัตถุมีขนาดใหญ่ เช่น หญ้าทั้งต้นใบไม้ทั้งใบ ก็อาจใช้เวลาหลายเดือนหรือเป็นปี จึงจะใช้เป็นปุ๋ยได้
แต่การย่อย สับ เพื่อลดขนาดวัตถุเป็นงานที่สิ้นเปลืองเวลามาก โครงการนีจ้ ึงมุ่งศึกษาและพัฒนาเครื่องทุ่น
แรงเพื่อใช้ในการย่อยลดขนาดวัสดุการเกษตรโดยเฉพาะใบไม้สดและใบไม้แห้ง
จากเหตุที่กล่าวข้างต้นแล้วนัน้ คณะผู้ศึกษาค้นคว้าซึ่งเป็นนิสิตในหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จึงเกิดแนวคิดที่จะผลิต
เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ เพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือนและภาคเกษตรกรรมในประเทศต่อไปโดยเครื่องย่อยใบไม้
กิ่งไม้สามารถย่อยใบไม้ กิ่งไม้ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40.0 มิลลิเมตร ตัวเครื่องมีขนาดความกว้าง 65
เซนติเมตร ความยาว 125 เซนติเมตร ความสูง 127.5 เซนติเมตร ขนาดเครื่องยนต์ 9 แรงม้าและ
สามารถย่อยใบไม้ กิ่งไม้ได้ 60 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ซึ่งเป็นการช่วยเหลือส่งเสริมภาคครัวเรือนและภาค
เกษตรกรรมของไทยในการท่าปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ย
ชีวภาพ

1.2 วัตถุประสงค์ของกำรจัดทำโครงงำน
1.2.1 เพื่อสร้างเครื่องย่อยใบไม้และกิ่งไม้แบบเคลื่อนที่
2

1.3 ขอบเขตกำรศึกษำ
1.3.1 เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ที่มีขนาดความกว้าง 65 เซนติเมตร
ความยาว 125 เซนติ เ มตร ความสู ง 127.5 เซนติเ มตร สามารถย่ อยใบไม้ กิ่งไม้ ที่มี ข นาดเส้ น ผ่า น
ศูนย์กลางไม่เกิน 40.0 มิลลิเมตร ความยาวไม่เกิน 2 เมตร
1.3.2 ต้นก่าลังใช้เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ ขนาด 9 แรงม้า

1.4 แผนกำรดำเนินงำนวิจัย
ตารางที่ 1.1 แสดงแผนการด่าเนินงานวิจัย
พ.ศ.2554 พ.ศ.2555
รายละเอียด
ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย
1. เลือกหัวข้อปัญหา
2. น่าเสนอหัวข้อปัญหา
3. ส่ารวจงานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
4. สร้างเครื่องต้นแบบ
5. ศึกษารวบรวมข้อมูล
6. วิเคราะห์ปัญหา
7. สรุปและจัดท่ารายงาน
8. น่าเสนอ Project
9. ส่งเล่มปริญญานิพนธ์

1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.5.1 ได้เครื่องย่อยใบไม้และกิ่งไม้แบบเคลื่อนที่ ที่มีขนาดความกว้าง 65 เซนติเมตร
ความยาว 125 เซนติเมตร ความสูง 127.5 เซนติเมตร
บทที่ 2
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจากเอกสารตาราและงานวิจัย ซึ่งจะ


เป็นประโยชน์ทาให้การวิจัยครั้งนี้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ได้ตั้งไว้ โดยแยกเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 นิยามคาศัพท์ที่สาคัญ
2.2 ทฤษฎีการออกแบบเพลา
2.3 ทฤษฎีความเค้น
2.4 ทฤษฎีการออกแบบสายพาน
2.5 ทฤษฎีดีเฟล็คชั่นของคาน
2.6 ทฤษฎีโรลเลอร์แบริ่ง
2.7 ทฤษฎีการออกแบบลิ่ม
2.8 ทฤษฎีเกี่ยวกับงานเชื่อม
2.9 อุปกรณ์ล็อค
2.10 สลักเกลียว
2.11 เครื่องยนต์
2.12 จาระบี
2.13 หลักการลดขนาดของวัสดุและ แรงที่ทาให้วัสดุแตกหรือขาดออกจากกัน
2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 นิยามคาศัพท์ที่สาคัญ
2.1.1 เครื่องย่อยใบไม้ คือ เครื่องจักรกลที่ใช้ลดขนาดเศษใบไม้ กิ่งไม้
2.1.2 ปุ๋ยหมักคือปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยธรรมชาติ ชนิดหนึ่งที่ได้มาจากการนาเอาเศษใบไม้ และเศษวัสดุ
ธรรมชาติที่ย่อยสลายได้ มาหมักร่วมกับมูลสัตว์ ปุ๋ยเคมีหรือสารเร่งจุลินทรีย์เมื่อหมักโดยใช้ระยะเวลาหนึ่งแล้ว
เศษพืชจะเปลี่ยนสภาพจากของเดิมเป็นผงเปื่อยยุ่ยสีน้าตาลปนดานาไปใส่ในไร่นาหรือพืชสวน เช่น ไม้ผล
พืชผัก หรือไม้ดอกไม้ประดับได้
2.1.3 การย่อยใบไม้ เปลือกไม้ กิ่งไม้ขนาดเล็ก หรือวัชพืชต่าง ๆ หมายถึงการลดขนาดของใบไม้ กิ่งไม้
ขนาดเล็ก และวัชพืชต่างๆ โดยกลวิธีในการย่อยจะทาให้ใบไม้มีขนาดเล็กลงตามความต้องการ
2.1.4 การออกแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล หมายถึงการออกแบบสิ่งต่างๆ ระบบต่างๆ ของเครื่องจักรกล
ผลิตภัณฑ์ โครงสร้าง อุปกรณ์ และเครื่องมือต่างๆ สาหรับชิ้นส่วนเครื่องกลส่วนใหญ่แล้วจะใช้หลักการทาง
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์วัสดุ (Materials Sciences) และวิทยาศาสตร์ทางวิศวกรรมเครื่องกล
(Engineeringmechanics sciences)
2.1.5 คุณสมบัติทางกล (Mechanical properties of materials) หมายถึง คุณสมบัติของวัสดุที่ตอบสนอง
แรงทางกล (Mechanical force) ที่มากระทาไม่ว่าจะในลักษณะใดก็ตาม
4

2.1.6 เพลา คือ ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเป็นชิ้นส่วนที่หมุนหรือไม่หมุน ซึ่งลักษณะทั่วๆไปจะมีหน้าตัดกลม


(Circular cross Section) บนเพลาจะมีชิ้นส่วนอื่นๆ ประกอบอยู่เช่น เฟือง (Gears) ล้อสายพาน (Pulleys) และ
ชิ้นส่วนการส่งกาลังอื่นๆ เพลาอาจจะต้องรองรับภาระต่างๆ ได้แก่ Bending load, Tension load,
Tensional4load ซึ่งภาระเหล่านี้อาจจะทาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือกระทาพร้อมๆ กัน ในขณะเดียวกันใน
การออกแบบเพลาสิ่งสาคัญที่จะต้องพิจารณาความแข็งแรงสถิต (Static Strenght) และความแข็งล้า (Fatigue
Strenght)
2.1.7 แรงบิด (Torque) คือ แรงหมุนของเพลาเครื่องยนต์เป็นแรงที่ใช้เพื่อส่งกาลังของเครื่องยนต์ไปหมุน
เกียร์ เพลา และ ล้อรถ เพื่อให้รถเคลื่อนที่ไปได้ แรงบิดจะมีค่าแตกต่างกันไปที่ความเร็วรอบเครื่องยนตต่างๆ
ซึ่งขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้ผลิตว่าต้องการให้มีแรงบิดสูงสุดอยู่ที่ความเร็วรอบเครื่องยนต์ต่า ปานกลางหรือ
สูง รถที่ใช้เครื่องยนต์ที่มีแรงบิดสูงก็จะมีอัตราเร่งดีกว่ารถที่ใช้เครื่องยนต์ที่มีแรงบิดต่ากว่า
2.1.8 แรงม้า (Horse Power) คือ หน่วยอันหนึ่งสาหรับใช้วดั กาลังของเครื่องยนต์ หน่วยวัดกาลังที่นิยม
ใช้กัน คือแรงม้า (HP),แรงม้า (PS) และ กิโลวัตต์ (KW)นอกจากนี้ในบางครั้งเราจะเห็นตัวย่อ BHP ซึ่งย่อมา
จาก Brake Horse Power หมายถึง กาลังของเครื่องยนต์ที่ได้รับจากเพลาเครื่อง ซึ่งเท่ากับกาลังที่เครื่องยนต์
ผลิตได้หักออก ด้วยแรงเสียดทานภายเครื่องยนต์ ดัง สูตร BHP = IHP - FHP โดยที่ IHP คือ Indicated
Horse Power หมายถึงกาลังที่เครื่องยนต์ผลิตได้ และ FHP คือ Friction Horse Power ซึ่งหมายถึงแรงเสียด
ทานภายในเครื่องยนต์ กาลังของเครื่องยนต์สามารถคานวณได้จากสูตรHP = K x Torque x RPM โดยที่ K คือ
ค่าคงที่ T คือแรงบิด และ RPM คือความเร็วรอบของเครื่องยนต์แรงม้าสูงสุดของเครื่องยนต์แต่ละรุ่นแต่ละแบบ
จะอยู่ที่ ความเร็วรอบเครื่องยนต์แตกต่างกันไปแล้วแต่การออกแบบของผู้ผลิต แล้วแรงม้าเห็นกันในหนังสือ
หรือใน specification ต่างๆ นั้นเป็น BHP หรือ IHP คาตอบน่าจะเป็นBHP เพราะเป็นแรงม้าที่ได้มาจากการ
ทดสอบสมรรถนะของเครื่องยนต์

2.2 ทฤษฎีการออกแบบเพลา
เพลาเป็นชิน้ ส่วนเครื่องมือกลที่มีความสาคัญของระบบส่งผ่านกาลังได้รับแรงดึงและแรงกด แรงบิด หรือ
แรงดัน แรงกระทาต่อเพลานี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทาให้เพลาเสียหายเพราะความล้าได้
วัสดุที่ใช้ทาเพลาส่วนใหญ่จะเป็นเหล็กเหนียว เช่น St42 St50 St60 ในกรณีที่ต้องการความแข็งแรงสูง
และทนต่อการใช้แรงมาก อาจใช้พวกเหล็กผสม (Alloy steel)
2.2.1 กาลังงาน (power) และภาระ (load) ที่ให้เพลาส่งกาลัง
2.2.2 ความเค้นที่เกิดขึ้นกับเพลา รวมทั้งรูปร่าง วัสดุ และผิวงานสาเร็จ ซึ่งเป็นสาเหตุในการเกิดความ
เค้นขึ้น ณ ตาแหน่งต่างๆของเพลา
2.2.3 ความแกร่ง (rigidity) หมายถึง ความคงทนต่อความแอ่นตัวหรือการบิดไปของเพลาเมื่อใช้รับภาระ
2.2.4 การสั่นตัวของเพลาอันมีผลต่อเนื่องมาจากการแอ่นตัว การคานวณ กาลังงานและภาระของเพลา
สามารถคานวณได้จาก

2Tn
Wp = (2.1)
60  1000
5

เมื่อ
Wp = กาลังงานที่เพลารับหรือส่ง
T = โมเมนต์แรงบิดของเพลา
n = ความเร็วรอบของเพลา

จะเห็นว่าจุดๆหนึ่งบนเพลาจะมีโมเมนต์ดัดขึ้น 2 แบบ ซึ่งตั้งฉากกันอยู่ เพราะฉะนั้นเมือ่ ต้องการหา


โมเมนต์ดัดรวมที่เกิดขึ้นจะได้

Mb = (M x ) 2  (M y ) 2 (2.2)

เมื่อ
Mb = โมเมนต์ดัดรวม
Mx = โมเมนต์ดัดในแนวแกน x
My = โมเมนต์ดัดในแนวแกน y

เมื่อเพลาเกิดโมเมนต์ดัด จะเกิดความเค้นดัดขึ้น ในการคานวณความเค้นดัดสามารถคานวณได้จาก

MC
b = (2.3)
I
เมื่อ
b = ความเค้นดัด
Mb = โมเมนต์ดัด
C = ระยะจาก Neutral Axis ถึงผิว
I = โมเมนต์ความเฉื่อย (Moment inertia of area)

นอกจากเพลาจะได้รบั โมเมนต์ดัดแล้ว ในขณะเดียวกันจะรับโมเมนต์บดิ ด้วย ดังได้แสดงวิธีหามาแล้ว


โมเมนต์บิดนีจ้ ะทาให้เกิดเป็นความเค้นแรงบิดขึ้น ซึ่งสามารถคานวณได้จากสูตร

Tr 16T
t = = (2.4)
J d 3
เมื่อ
t = ความเค้นแรงบิด
T = โมเมนต์แรงบิด
r = รัศมีเพลา
6

J = โพล่าโมเมนต์ (polar moment inertia of area)

2.2.5 การออกแบบภายใต้โหลดสถิต (static load)


ตามวิธีการของ ASTM โดยใช้ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด และพิจารณาถึงความล้าหรือความเค้น
หนาแน่นที่เกิดขึ้นบนเพลา เนื่องจากเพลาอยู่ภายใต้ความเค้นที่เป็นวัฏจักร นอกจากนี้แรงที่กระทายังอาจจะ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ความเค้นดึง

4F
a = (2.5)
 (d 2  d i2 )

ความเค้นดัด

C m MC 32C m M d
a = = (2.6)
I  (d 4  D 4 )
ความเค้นเฉือน

16Ct Td
 xy = (2.7)
 (d 4  d i4 )

ความเค้นกดหรือความเค้นดึงรวม = a b (2.8)

เมื่อ
F = แรงดึงหรือกด
d = เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกของเพลา
di = เส้นผ่านศูนย์กลางภายในของเพลา
M = โมเมนต์ดัดของเพลา
T = แรงบิดหรือทอร์ค
r = รัศมีของเพลา, องศา
J = โมเมนต์ความเฉื่อยเชิงขั้วของพื้นที่
I = โมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน x-x หรือ y-y
 = ผลจากการโก่งงอ
Cm = ตัวประกอบความล้าเนื่องจากการดัด
Ct = ตัวประกอบความล้าเนื่องจากการบิด
 = ความเค้นเฉือนสูงสุด
7

ทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด
1
   
2 2

 =  xy     (2.9)
  2  

แทนสมการ 2.4 2.5 2.6 และ 2.7 ลงในสมการ 2.8 เป็นสมการใช้หาขนาดของเพลา

16
d3 = (2.10)

T 1  k C1T   Fd 1  k / 8  C m M 
2 2 2

1
2

เมื่อ
di
K =
d

di
ในกรณีที่ไม่มีแรง F กระทาอยู่ด้วย และเพลาที่ใช้เป็นเพลาตัน K = = 0 สมการ 2.9 จะเหลือเพียง
d
16
d3 = (2.11)

T C1T 2  C m M 2 1
2

ค่าตัวประกอบความล้าเนื่องจากการตัดและการบิด สามารถเลือกใช้ตามลักษณะของแรงที่มากระทา ซึ่ง


แสดงใน ตารางที่ ก.13
นอกจากนี้โค๊ดของ ASME ยังได้ระบุเอาไว้ว่าเพลาซึ่งมีใช้อยู่ในงานธรรมดาทั่วไป ควรจะมีค่าความเค้น
เฉือนใช้งานดังนี้

d = 55 N/mm 2 สาหรับเพลาที่ไม่มีร่องลิ่ม
d = 41 N/mm 2 สาหรับเพลาที่มีร่องลิ่ม

แต่ถ้ากาหนดวัสดุของเพลาทีบ่ อกถึงหมายเลขของโลหะหรือส่วนผสมของโลหะให้ใช้ค่าความเค้นเฉือน
ใช้งานจากสมการ 2.11 โดยเลือกใช้ค่าน้อยมาคานวณ คือ

 d = 0.3  y หรือ  d = 0.18 (2.12)

และถ้าเพลามีร่องลิ่มให้ลดค่าความเค้นเฉือนใช้งานโดยใช้เพียง 75% ของค่าในสมการ 2.10


2.4.6 ความแข็งแกร่งทางด้านการบิด
สาหรับเพลาที่มีขนาดมุมบิดเป็น (rad) จะหาค่าได้จากสมการ
8

TL
 = (2.13)
GJ
เมื่อ
L = ความยาวของเพลา
G = modulus of rigidity
 = มุมบิดของเพลา

สาหรับเพลากลมตัน
J =  d4 (2.14)
32

 =
584TL  (2.15)
Gd 4

2.3 ทฤษฎีความเค้น
ความเค้น (stress) แรงที่มากระทาผ่านพื้นที่หน้าตัดของวัสดุนั้นหรือแรงกระทาต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ เมื่อ
วัตถุถูกแรงภายนอกกระทาในสภาวะสมดุลแล้ว แรงภายนอกที่มากระทาบนวัตถุใดๆ จะมีแรงภายในต้านโดยมี
ขนาดรวมแล้วเท่ากับแรงภายนอกของท่อนวัตถุนั้น

u max = 0.5Tu (2.16)

เมื่อ
u max = ความเค้นแรงดึงสูงสุด
Tu = ความเค้นเฉือน

2.3.1 ความเค้นสามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ


1) ความเค้นดึง (tensile stress) จะเกิดขึน้ เมื่อวัตถุอยู่ภายใต้แรงดึง จะต้องตั้งฉากกับ
พื้นที่หน้าตัดที่กระทานั้น
2) ความเค้นอัด (compressive stress) จะเกิดขึ้นเมื่อวัตถุอยู่ภายใต้แรงอัด โดยแรงอัดจะต้อง
กระทาตั้งฉากกับพื้นที่หน้าตัดของท่อนวัตถุที่กระทานั้น
3) ความเค้นเฉือน (shear stress) เป็นแรงกระทาต่อวัตถุนั้น โดยพยายามทาให้วัตถุเกิดการขาด
จากกันตามแนวระนาบที่ขนานกับทิศทางของแรงนั้น
ถ้าให้
Tu max = ค่าความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้น
Fs = ค่าแรงตัดเฉือน
A = พื้นที่หน้าตัด
9

จะได้ความสัมพันธ์

Fs
Tu max = (2.17)
A

2.4 ทฤษฎีการออกแบบสายพาน
สายพานดังรูปที่ 2.1 และล้อสายพานดังรูปที่ 2.2 ทา หน้าที่ส่งถ่ายกาลังจากเครื่องยนต์ต้นกาลังไปยัง
เครื่องย่อยใบไม้เปลือกไม้ กิ่งไม้ขนาดเล็ก หรือวัชพืชต่าง ๆ ที่มีเครื่องยนต์เป็นต้นกาลังจะติดตั้ง ล้อสายพาน
ขนาดเล็ก ส่วนที่เพลาของเครื่องจะใช้ล้อสายพานขนาดใหญ่เพื่อเป็นการทดรอบให้ต่า ลงและยังเป็นการเพิ่ม
แรงบิดอีกด้วย

รูปที่ 2.1 แสดงสายพานตัววี

รูปที่ 2.2 แสดงล้อสายพานลิ่ม

สายพานที่ส่งกาลังจากเครื่องยนต์ไปยัง เพลาหมุนของชุดคมตัดใช้สายพานลิ่มซึ่งส่งกาลังได้มากโดย
ต้องการแรงดึงชั้นต้นน้อย เนือ่ งจากการเกาะยึดตัวกันระหว่างด้านข้างของสายพานที่เรียวกับร่องลิ่มของล้อ
10

สายพาน (Pulleys) ทาให้เกิดแรงเสียดทานสูงเป็นผลทาให้การทางานของสายพานมีประสิทธิภาพดีขนึ้ แม้ว่ามี


ส่วนโค้งสัมผัส เล็กน้อยและมีแรงดึงชั้นต้นต่า สามารถรับแรงกระตุกได้ดีมีขนาดกะทัดรัด และเงียบขณะทางาน
แบริ่งของเพลาไม่ต้องรับแรงมากเกินไป
การกาหนดขนาดของสายพานลิ่มจะกาหนดโดยใช้ความกว้างของพิตซ์ (Pitch width) และความหนาของ
สายพานโดยใช้ตัวอักษรแทน ซึ่งแบ่งออกเป็นสายพานลิ่มแบบแคบ (narrow V- belt) มีขนาด SPZ SPB และ
สายพานลิ่มแบบธรรมดา Y Z A B C D E ดังรูปที่ 2.3

รูปที่ 2.3 หน้าตัดสายพานลิ่มและล้อสายพาน

2.4.1 การคานวณหาขนาดของสายพาน
การหาขนาดหน้าตัดโดยประมาณอาจหาจากการใช้รปู ส่วนการหาขนาดส่วนอื่นๆ ของสายพาน
ลิ่ม คือ ความยาวพิตซ์ของสายพานลิ่ม จานวนสายพานลิ่ม และระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของเพลา
สามารถคานวณได้จากสูตรต่อไปนี้
ความยาวพิตซ์โดยประมาณของสายพานลิ่ม
D  dp
2

Lp = 2C+1.57( D p + d p )+ p
(2.18)
4C
เมื่อ
Lp = ความยาวโดยประมาณของสายพานลิ่ม
C = ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลาง
Dp = เส้นผ่านศูนย์กลาง Pulleys ตัวใหญ่
dp = เส้นผ่านศูนย์กลาง Pulleys ตัวเล็ก

ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของเพลา

C = P+ P2  q (2.19)

เมื่อ
C = ระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของเพลา
p = 0.25Lp – 0.393 (Dp+dp)
q = 0.125 (Dp+dp)2
11

จานวนเส้นของสายพานลิ่มที่ต้องใช้หาได้จากสมการ

(W p N s )
Z = (2.20)
( PR N a N1 )

เมื่อ
Z = จานวนสายพาน
Wp = กาลังที่ต้องการส่ง
Ns = ตัวประกอบชิ้นงาน
Na = ตัวประกอบแก้ไขส่วนโค้ง
N1 = ตัวประกอบแก้ไขความยาวสายพาน
PR = กาลังที่ส่งสายพานต่อเส้น

2.4.2 การทาให้เกิดแรงดึงชั้นต้นในสายพานลิ่ม
การทาให้เกิดแรงดึงชั้นต้นจะทาให้การขับด้วยสายพานมีประสิทธิภาพดีและยืดอายุการใช้งาน
ของสายพาน ถ้าออกแรงดึงชั้นต้นไม่เพียงพอจะทาให้กาลังลดน้อยลง ประสิทธิภาพต่าลงเนื่องจากการลื่น
(slip) แต่ถ้าออกแบบขั้นต้นมากจะทาให้ขอบสายพานยืดตัวมากเกิดความเค้นในสายพานมากแบบริ่ งที่รองรับ
ล้อ สายพานจะรับแรงมากเกินไป ด้วยเหตุนี้เอง จึงต้องออกแรงชั้นต้นให้เหมาะสมกับแรงภายนอกที่
กระทากับสายพาน
แรงดึงในสายพานขณะส่งกาลังคือ

Wp
F = (2.21)
V
เมื่อ
V = ความเร็วสายพาน เมตร/วินาที
Wp = กาลังที่ต้องการส่ง
F = แรงดึงสายพานขณะส่งกาลัง

แรงดึงในแนวแกน

Fw = F1 + F 2
 e f  1 
1

= Fw = F 1 +F 2 = F   (2.22)
  f1 
e 1

เมื่อ
12

Fw = แรงดึงในแนวนอน
F1 = แรงดึงสายพานด้านตึง
F2 = แรงดึงสายพานด้านหย่อน

แรงหนีศูนย์กลางเนื่องจากน้าหนักสายพาน

WAV 2
Fc = (2.23)
g

เมื่อ
Fc = แรงหนีศูนย์กลางเนื่องจากน้าหนักสายพาน
W = ความเร็วเชิงมุมของล้อสายพาน
V = ความเร็วสายพาน
g = ความเร่งเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก

แรงผลลัพธ์เนื่องจากแรงหนีศูนย์กลาง

F R
= 2.Z.F c sin  (2.24)
2

เมื่อ
F R
= แรงผลลัพธ์เนื่องจากแรงหนีศูนย์กลาง
Z = จานวนสายพาน
 = มุมสัมผัส

ดั งนั้ น แรงดึ งชั้ น ต้น ในสายพาน จึ ง หาได้ จ ากการรวมแรงดึ ง ในแนวแกนขณะส่ งก าลั งกั บ แรงลั พ ธ์
เนื่องจากแรงหนีศูนย์กลาง นั้นคือ
Fi = FW + F R (2.25)
เมื่อ
Fi = แรงดึงขั้นต้นในสายพาน

ในทางปฏิบัติมักจะใช้วิธีหาค่าประมาณของแรงดึงในแนวแกนจากสมการ

Fw = k 1 Fsin (2.26)
2

โดยที่ k 1 เป็นตัวประกอบใช้งาน ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพการทางาน ซึ่งหาได้จากตารางที่ 2.7 แล้วใช้แรงดึง


นี้เป็นแรงดึงชั้นต้น
13

ในกรณีที่ขับโดยระยะห่างระหว่างศูนย์กลางคงที่หรือไม่มีอุปกรณ์ที่ทาให้เกิดแรงดึงในสายพาน
ตลอดเวลา ก็จาเป็นจะต้องนาเอาแรงหนีศูนย์กลางมาคิดด้วย จากสมการ

  WAV 2  
FR = 2ZF c sin = 2Z   sin
2  g  2

ซึ่งเขียนได้ใหม่เป็น
FR = Zk 2 V 2 sin  (2.27)
2

แรงดึงชั้นต้นในสายพานจึงเท่ากับ

Fi = klF  Zk V  sin 2
2
2
(2.28)

2.5 ทฤษฎีดีเฟล็คชั่นของคาน
ในการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมจะมีสิ่งจากัดทางด้านสมรรถนะและคุณลักษณะของชิ้นงานและมักมี
การคาดคิ ด ไว้ ล่ ว งหน้ า ในการใช้ งานจะอยู่ ใ ต้ขี ด จ ากั ด อย่ า งใดอย่ า งหนึ่ งเช่ น ความเค้ น หรื อดี เ ฟล็ ค ชั่ น
(deflection) ในการคานวณการออกแบบหรือใช้งานจึงต้องจาเป็นต้องระมัดระวังอย่างมากเพราะฉะนั้นจึงต้อง
หาวิธีการประมาณค่าดีเฟล็คชั่นอย่างแม่นยา
2.5.1 วิธีหาค่าดีเฟล็กชั่นของคาน
กรณีที่คานรับโหลดสม่าเสมอ ดังรูปที่ 2.4

รูปที่ 2.4 แสดงคานภายใต้ uniform load

y =
wx
24 EI

2lx 2  x 3  l 3  (2.29)

เมื่อ
E = โมดูลัสความยืดหยุ่น
14

I = โมเมนต์ความเฉื่อย
W = น้าหนักที่กดบนคาน
X = ระยะของแรงกด
กรณีที่คานรับโหลดบางส่วน ดังรูปที่ 2.5

รูปที่ 2.5 แสดงคานภายใต้ center load

y AB =
FX
48EI

4 x 2  3l 2  (2.30)

เมื่อ
E = โมดูลัสความยืดหยุ่น
I = โมเมนต์ความเฉื่อย
W = น้าหนักที่กดบนคาน
X = ระยะของแรงกด

2.6 ทฤษฎีโรลเลอร์แบริ่ง
โรลเลอร์แบริ่ง หมายถึง แบริ่งชนิดที่รับแรงโดยอาศัยชิ้นส่วนของแบริ่งที่มีลักษณะเป็นผิวสัมผัสแบบกลิ้ง
(Rolling bearing) แบริ่งชนิดนี้มีแรงเสียดทานน้อยมาก ตัวอย่างเช่น บอลแบริ่ง (ball bearing) หรือตลับลูกปืน
บอลแบริ่งชนิ ดมีลูกกลิ้งหรื อแถวร่ องลึก (single-rowdeep-groove) เป็นแบริ่งที่มี การใช้ งานมากที่สุ ด
ประกอบด้วยร่องลึก เป็นทางกลิ้งสาหรับลูกปืนทรงกลม รับแรงได้ทั้งในแนวรัศมีและในแนวแกน

2.6.1 กาลังงานที่สูญเสียไปเนื่องจากความเสียดทาน คือ

2Tn
Wp =
60
fFr dn fFa dn
หรือ Wp = = (2.31)
60 60
15

เมื่อ
Wp = กาลังงานเป็นวัตต์
T = โมเมนต์บิดเนื่องจากความเสียดทาน
n = ความเร็วรอบของเพลา
d = ขนาดรูสวมของแบริ่ง
Fr = แรงที่กระทากับแบริ่งในแนวรัศมี
Fa = แรงที่กระทากับแบริ่งในแนวนอน
f = ค่าสัมประสิทธ์ความเสียดทาน

2.6.2 อายุการใช้งานของแบริ่ง
อายุการใช้งานของแบริ่งมีระยะเวลาจากันขึ้นอยู่กับค่าของความเค้นที่กระทาซ้ากัน ซึ่งอายุการใช้
งานจะแปรผันเป็นสัดส่วนกลับกันแรงในแนวรัศมี

 1 
L  k  (2.32)
p 
โดยค่าคงที่
k = 3 สาหรับบอลแบริ่ง
10
k = ประมาณ 3.33 สาหรับโรลเลอร์แบริ่ง
3
เมื่ออายุการใช้งาน L จะนับเป็นจานวนชั่วโมงที่เร็วรอบของเพลาอันหนึ่งหรือนับเป็นจานวนล้านรอบ
จากสมการจะได้ว่า

L1 P2
= (2.33)
L2 P1

2.6.3 การประเมินค่าอายุใช้งานและแรงของโรลเลอร์แบริ่ง
ทางสมาคมผู้ผลิตโรลเลอร์ (AFMBA) กากนดอายุใช้งานเป็นจานวนรอบหรือจานวนชั่วโมงที่
ความเร็วคงที่ ซึ่งแบริ่งหมุนได้ก่อนที่จะเกิดความล้าขึ้นในวงแหวนหรือลูกกลิ้ง
อายุประเมินของโรลเลอร์แบริง่ จานวนหนึ่งซึ่งมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ หมายถึง จานวน
รอบหรือจานวนชั่วโมงที่ความเร็วคงที่ ซึ่งแบริ่ง 90% จากจานวนนีส้ ามารถหมุนได้โดยไม่เกิดความเสียหาย
เนื่องจากความล้า ให้แทนด้วยอายุการใช้งาน L 10
อายุใช้งานเฉลี่ยเป็นจานวนรอบที่ 50% ของแบริ่งที่เหมือนกันจานวนหนึ่ง สามารถหมุนได้โดยไม่
เกิดความล้าขึ้น ใช้แทนด้วยอายุใช้งานซึ่งมีความสัมพันธ์กับ L 10 โดยประมาณ คือ L 50 = 5L 10
แรงสถิตประเมิน (basic static load rating) เป็นแรงในแนวรัศมีที่ทาให้เกิดระยะยุบตัวของลูกปืน
และวงแหวนรวมเท่ากับ 0.0001 เท่ากับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกปืนและใช้แทนด้วย C o ค่า C o นี้ขึ้นอยู่
กับวัสดุที่ใช้ทาแบริ่งจานวนแถวของลูกปืนในแบริ่งจานวนลูกกลิ้งต่อแถวมุมสัมผัสตลอดจนขนาดของลูกปืนและ
16

วงแหวน โดยปกติแล้วแรงสถิตประเมินจะไม่ค่อยมีผลต่อการเลือกแบริ่งมากนัก แต่ถ้าแบริ่งรับแรงสูงและอยู่นิ่ง


เป็นเวลานานก็อาจจะทาให้เกิดการยุบตัวอย่างถาวรเป็นแห่งๆได้ ในบางครั้งต้องมีการตรวจสอบว่าแรงที่มา
กระทามีค่ามากเกินกว่า C o หรือไม่
แรงพลวัตประเมิน (Basic dynamic Load rating) คือ แรงกระทาในแนวรัศมี ซึ่งแบริ่งมีลักษณะ
เหมือนกันจานวนหนึ่งจะรับได้ โดยมีอายุประเมิน L 10 เท่ากับหนึ่งล้านรอบ เมื่อวงแหวนอันในเป็นตัวหมุนและ
วงแหวนอันนอกเป็นตัวอยู่นิ่ง ใช้แทนด้วย C
แรงพลวัตประเมินโดยการเปลีย่ นแรงและอายุการใช้งานจริงมาเป็นแรงและอายุการใช้งานที่แสดง
ไว้ในแคตตาล็อก หรือในทางกลับกันคือเลือกแบริ่งจากแคตตาล็อกแล้วเปลี่ยนให้รับแรงได้เท่าที่ต้องการใช้งาน
จริง และดูว่าอายุประเมินจะได้ตามอายุการใช้งานที่ต้องการหรือไม่ ซึ่งสามารถทาได้โดยใช้สมการ 2.22

เมื่อ
L 10 = อายุใช้งานจริงมีหน่วยล้านรอบ
P = โหลดในแนวรัศมีที่แบริ่งต้องรับ
จากสมการ 2.22
k
C 
L 10 =   (2.34)
P

ถ้าต้องการ L 10 มีหน่วยเป็นชั่วโมง ให้ใช้สมการ

 10   C 
k

L 10 =    (2.35)
 60 n  P 
เมื่อ
n = ความเร็วรอบของแบริ่ง

แรงสมมูล (Equivalent force) ในการใช้งานจริงโรลลิ่งแบริง่ อาจรับแรงทั้งในแนวรัศมีและแนวแกน และ


วงแหวนในหรือนอกจะเป็นอันที่หมุนก็ได้ อีกประการหนึ่งในแตตาล็อกของผู้ปลิตจะกาหนดให้เฉพาะอายุ
ประเมินในเทอมของแรงในแนวรัศมีเท่านั้น ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ต้องเปลี่ยนแรงและเงื่อนไขจากที่ทางาน
จริงๆ มาให้เป็นแรงในแนวรัศมีโดยมีวงแหวนในเป็นตัวหมุนเรียกว่าแรงสมมูล (Equivalent force)

P = XVF r + YF a

หรือ P = VF r (2.36)

เมื่อ
P = แรงสมมูล
Fr = แรงในแนวรัศมี
17

Fa = แรงในแนวแกนหรือแรงรุน
V = ตัวประกอบการหมุน (rotation factor) มีค่าเท่ากับ 1 เมื่อวงแหวนในหมุน
และ 1.2 เมื่อวงแหวนนอกหมุน ถ้าเป็นบอลแบริ่ง ชนิด Salf aligning ใช้ค่า
เท่ากับ 1 เสมอ
X = ตัวประกอบแรงในแนวรัศมี
Y = ตัวประกอบแรงรุน

2.7 ทฤษฎีการออกแบบลิ่ม
ชิ้นส่วนเครื่องจักรกล อาทิ ล้อสายพาน เฟือง และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ส่งกาลังจากเพลาโดยที่ต้อง
ยึดแน่นกับเพลาเพื่อให้หมุนไปพร้อมกับเพลา ชิ้นส่วนประเภทนี้อาจส่งแรงบิดและมีการถอดประกอบบ่อยครั้ง
ดังนั้นจึงมักจะยึดติดกับเพลาโดยใช้ลิ่ม ลิ่มเป็นแท่งโลหะใส่ไว้ในร่องของชิ้นส่วนทั้งสองที่ยึดอยู่ด้วยกัน ซึ่ง
เรียกว่า ร่องลิ่ม ลิ่มทา หน้าที่ป้องกันการเกิดการหมุนสัมพัทธ์ขึ้นระหว่างชื้นส่วนทั้งสอง
2.7.1 ชนิดของลิ่ม
ลิ่มสี่เหลี่ยมจัตุรสั และสี่เหลี่ยมผืนผ้าลิ่มชนิดนีจ้ ะฝังอยู่ในเพลาครึ่งหนึ่ง และจะฝัง อยู่ในดุมล้อ
สายพานอีกประมาณครึ่งหนึ่งของความหนาของลิ่ม ลิ่มชนิดนี้มักใช้กับเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมทั่วไป ดังรูปที่
2.6

รูปที่ 2.6 แสดงลิ่มสี่เหลี่ยมผืนผ้าและลิม่ สี่เหลี่ยมจัตุรัส


ลิ่มแบบ A (ข) ลิ่มแบบ B (ค) ลิ่มแบบ C

2.7.2 ความเค้นที่รอยต่อด้วยลิ่ม
เมื่อใช้ลิ่มต่อ เพลากับดุมล้อเพื่อ ส่งโมเมนต์บดิ ความเค้นที่เกิดในลิ่มจะเป็นแบบ 3 มิติ
ความเค้นที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากแรง 2 ชนิด แรงจากการสวมอัดลงในร่องลิ่ม และแรงเนือ่ งจากการส่งโมเมนต์
บิด
18

ในการหาความเค้นที่เกิดในลิ่มนั้น เพื่อความสะดวกในการคานวณจึงมักจะใช้ข้อสมมติฐานดังนี้
แรงที่กระทากระจายตลอดความยาวของลิ่มมีค่าสม่าเสมอและไม่คิดแรงที่เกิดจากการสวมอัดลิ่ม
จากสมมติฐานดังที่กล่าวมา ทาให้คานวณหาขนาดของลิ่มได้ง่ายขึ้นในทางปฏิบัติการคานวณหา
ขนาดของลิ่มมักจะเป็นการคานวณหาขนาดความยาวของลิม่ ทั้งนี้เพราะลิ่มมีขนาดพื้นทีห่ น้าตัดเป็นมาตรฐาน
อยู่แล้ว ดังรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 แสดงแรงบนรอยต่อด้วยลิ่ม

 
T = F  b    h  = F  d 
 2   4  2
เมื่อคิดว่าลิ่มขาดเนื่องจากแรงเฉือน
T = F  d   bl  d  (2.37)
2 2
เมื่อ
T = โมเมนต์บิดบนเพลา, N  mm
F = แรงที่กระทากับลิ่ม, N
a = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเพลา, N
b = ความกว้างของลิ่ม, mm
l = ความยาวของลิ่ม, mm
 = ความเค้นเฉือนของลิ่ม, N/mm 2

เมื่อคิดว่าลิ่มโดนอัดแตก

Fd d 
T  hl c   (2.38)
2 4
19

เมื่อ
H = ความสูงของลิ่ม, mm
c = ความเค้นอัดบนลิ่มหรือเพลา, N/mm 2

เนื่องจากโมเมนต์บิดบนเพลามีค่าเท่ากัน

d 
bl    = hl  c  d  (2.39)
2 4

จากทฤษฎีความเค้นเฉือนสูงสุด ค่าความเค้นเฉือนที่วัสดุจะรับได้มีค่าประมาณครึ่งหนึ่งของความเค้น
อัดที่วัสดุรับได้ คือ
 = 0.5  c
เมื่อแทนค่าลงในสมการ 2.37
b=h
ถ้าลิ่มและเพลาทาจากวัสดุชนิดเดียวกัน ถือว่าลิ่มและเพลาจะรับโมเมนต์บิดเท่ากัน

bl d  d 3 
T = =   
2  16 
d 2
l = (2.40)
8b
ความยาวประสิทธิผล (effective length)

4T
Le  (2.41)
d h cd

เมื่อ
le = ความยาวประสิทธิผลของลิ่ม
 cd = ค่าความเค้นอัดใช้งานของวัสดุ, N/mm 2

ข้อควรระวังก็คือ ควรจะใช้ลมิ่ ให้ยาวกว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพลาอย่างน้อย 25% เพื่อป้องกันการ


ขัดตัวของลิ่มในร่องลิ่มเพลาและดุมล้อ
20

2.8 ทฤษฎีเกี่ยวกับงานเชื่อม
งานเชื่อม คือ การนาชิ้นงานสองชิ้นหรือมากกว่ามาประสานกัน โดยมีหลักอยู่ว่า ชิ้นงานจะต้องต่อกัน
โดยการหลอมละลายโลหะทั้งสอง ณ อุณหภูมิที่เหมาะสมโดยจะมีการเติมตัวประสานโลหะ (Filler metal)
หรือไม่เติมก็ได้
2.8.1 ประเภทของงานเชื่อมอาจแบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ
1) Fusion welding ชิ้นส่วนของงานเชื่อมนี้จะเชื่อมติดกันโดยที่โลหะบริเวณแนวเชื่อมจหลอม
ละลาย (Melted condition) เข้าติดกันโดยมีการเติมโลหะ (Filler metal) หรือไม่เติมก็ได้
2) Pressure welding ชิ้นส่วนของงานเชื่อมชนิดนี้จะเชื่อมติดกันโดยที่โลหะบริเวณแนวเชื่อมจะ
อยู่ในสภาวะที่เริ่มจะเป็นของเหลว (Plastic condition) แล้วใช้แรงกดบริเวณแนวเชื่อมให้อัดติดกัน การเชื่อม
แบบนีจ้ ะไม่มีการเติมลวดเชื่อม (Filler metal)
2.8.2 วัสดุที่สามารถเชื่อมต่อกันได้นั้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) Low carbon steel เหล็กที่มีคาร์บอนผสมต่า คือ จะมีเปอร์เซ็นต์คาร์บอนอยู่ไม่เกิน 0.3% แต่
ถ้าเกินไป ได้แก่ เหล็กชนิด High carbon steels จะเชื่อมได้ก็จะต้องใช้ลวดเชื่อม Electrode ชนิดพิเศษ
และจะต้องให้ช่างเชื่อมที่มีความชานาญพอสมควร
2) โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก Non-Ferrous metals ได้แก่ โลหะพวกทองแดง ทองเหลือง บรอนซ์
สังกะสี และอะลูมิเนียม
3) พวกพลาสติกประเภท Thermoplastic materials สามารถเชื่อมต่อกันได้โดยใช้ลมร้อน และ
ลวดเชื่อมพลาสติก

ตารางที่ 2.1 แสดงถึงชนิดของเหล็กที่สามารถเชื่อมได้และงานที่ใช้

ชนิดของเหล็กที่จะนามาเชื่อม คุณสมบัติ ลักษณะงาน


เหล็กโครงสร้าง
St33-2, St34-1, St37-1, St42-3 สาหรับงานที่รับแรงน้อย และงานที่มี St42 ความหนาของชิ้นงาน
น้อย ๆ
St34-2, St46-2, St46-3, St50-2 เชื่อมได้ทุกกรณี
St33-1, St46-2, St46-3, St50-2 ใช้เป็นชิ้นส่วนของโครงสร้างขนาดที่หนากว่า25.....35 ซ.ม.
คุณภาพขั้นที่ 2 แต่ถ้าหนากว่า 35 มม.จะได้คุณภาพขั้นที่ 3
21

ตารางที่ 2.2 แสดงสัญลักษณ์ของต่องานเชื่อม และการกาหนดขนาดในแบบงาน


22

2.8.3 ข้อมูลต่างๆในการเชื่อมเชื่อม
ในงานเชื่อมเราต้องคานึงถึงถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่จะทาให้คุณภาพของงานเชื่อมดี สาหรับข้อมูล
ต่าง ๆ มีดังนี้
1) ชนิดของโลหะที่จะนามาเชื่อม หมายถึง วัสดุชิ้นงานนัน้ เองจะต้องสามารถนามาเชื่อมได้หรือ
รู้ว่าโลหะที่เชื่อมแบบไหนจึงจะเหมาะสม
2) การเตรียมชิ้นงาน หมายถึง การเตรียมชิ้นงานก่อนเชื่อม เช่น การบากชิ้นงาน เป็นต้น สิ่ง
เหล่านี้ช่างเชี่ยวชาญควรควบคุมให้ถูกต้องด้วย
3) วิธีการเชื่อม หมายถึง ลักษณะและท่าทางในการเชื่อมต้องกระทาอย่างถูกต้อง
4) โลหะของลวดเชื่อม หมายถึง ชนิดของโลหะของ Electrode หรือ Filler-Material สามารถ
เข้าถึงชิ้นงานที่ทาการเชื่อมได้
5) ความสามรถในการเชื่อม หมายถึง ความชานาญ ความสามารถของช่างเชื่อม หรือฝีมือในการ
เชื่อม
6) การทดสอบ หมายถึง การหาข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดของงานเชื่อม ซึ่งการทดสอบจะเป้น
ปัจจัยที่บอกคุณภาพว่าดีหรือไม่ดี ส่วนสาเหตุจะเกิดจากข้อมูล ข้อที่ 1-5 ก็ได้ ตัวอย่าง เช่น เครื่องมือ ได้แก่
เครื่อง ตรวจสอบ X-RAY เป็นต้น
2.8.4 คุณภาพในการเชื่อม
สาหรับคุณภาพในการเชื่อมนี้แบ่งออกเป็น 3 ขั้น คือ
1) คุณภาพขั้นที่ 1 สาหรับงานเชื่อมชั้นนี้จะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลตั้งแต่ข้อที่ 1 ถึง ข้อที่ 6
2) คุณภาพขั้นที่ 2 สาหรับงานเชื่อมชั้นนี้จะต้องมีการตรวจสอบข้อมูลตั้งแต่ข้อที่ 1 ถึง ข้อที่ 5
3) คุณภาพขั้นที่ 3 สาหรับงานเชื่อมชั้นนี้ไม่จาเป็นจะต้องมีข้อมูลใดเลย หรือมีบ้างก็ได้
2.8.5 การออกแบบงานเชื่อม
ในการออกแบบ (Design) งานเชื่อม เราพยายามนึกถึงหลักในการออกแบบอยู่ 2 ประการ คือ
1) ราคาในการสร้างควรจะถูกที่สุด
2) ความแข็งแรง เมื่อราคาถูกแล้วชิ้นงานนั้นควรจะต้องแข็งแรงด้วย
เมื่อผู้ออกแบบงานเชื่อมออกมาแล้วเขาจะต้องตรวจสอบดูความแข็งแรงของงานอีกทีหนึ่ง แต่ใน
การออกแบบยังมีข้อควรพิจารณาดังนี้คือ
1) ชนิดของการต่อ
2) ข้อบกพร่องในการเชื่อม
3) การหักเหของแรงบริเวณตะเข็บเชื่อม
4) แรงดึงต่อตะเข็บขณะรับโมเมนต์ตัด
5) การสะสมความร้อนในแนวเชื่อม
23

ตารางที่ 2.3 ชนิดของการต่อ (Weld Joint)

ในการนาชิ้นงานมาเชื่อมต่อกัน ต้องพิจารณาถึงลักษณะการต่อซึ่งมีดังนี้

ข้อบกพร่องในการเชื่อมเนื่องจากรอยบาก (Notch Effect)


24

การเชื่อมที่ไม่ดีจะทาให้เกิดการไหลซึมของโลหะไม่ดี และจากสาเหตุอันนี้จะทาให้เกิดการสะสมของ
ความเค้น (Stress loading) ที่บริเวณแนวเชื่อม และเมื่อชิ้นงานรับภาระแบบสั่นสะเทือน (Vibration loading)
แล้วชิ้นงานจะพังได้ง่าย

รูปที่ 2.8 แสดงการไหลซึมของโลหะ

นอกจากนี้แล้ว การสะสมของความเค้น (Stress) ยังเกิดขึ้นจากการเชื่อมที่บริเวณจุดเริ่มต้นเชื่อม และ


จุดปลายแนวเชื่อม คือ มีโลหะเชื่อมอยู่น้อยกว่าปกติ ทาให้เป็นหลุม สาเหตุที่เกิดเนื่องมาจากขณะที่เราเดินลวด
เชื่อมแล้วรับเดินรีบยกลวดเชื่อม ในขณะที่เริ่มต้นเชื่อมและจุดสุดแนวเชื่อม

รูปที่ 2.9 แสดงจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของแนวเชื่อมจะเป็นหลุม


25

2.9 อุปกรณ์ล็อค
ในการยึดชิ้นงานให้ติดด้วยเกลียวทั่วไปจะต้องคิดถึง แรง 2 ชนิดที่รอยต่อ ซึ่งมีผลตรงข้ามกันคือ
2.9.1 แรงที่ทาให้รอยต่อกลวมซึ่งเกิดจากแรงในแนวแกน พยายามทาให้เกลียวคลายตัว
2.9.2 แรงที่เกิดจากความเสียดทาน
การออกแบบรอยต่อด้วยเกลียว จะออกแบบให้มแี รงเสียดทานเพื่อป้องกันเกลียวคลายตัวปกติรอยต่อ
จะต้องแน่นเมื่ออยู่ภายใต้แรงนิ่งแต่อย่างไรก็ตามรอยต่อ ส่วนมากจะอยู่ภายใต้แรงเปลี่ยนแปลงหรือมีการ
สั่นสะเทือน ทาให้รอยต่อหลวมได้ ดังนั้นจึงต้องมีอุปกรณ์ล็อคซึ่งอาจแบ่งออกได้ 2 ชนิด
1) อุปกรณ์ล็อคโดยอาศัยความเสียดทาน
2) อุปกรณ์ล็อคการเคลื่อนที่โดยตรง
ชนิดแรกป้องกันการคลายตัวของแป้นเกลียวจากสลักเกลียวหรือสตัดโดยเพิ่มความเสียดทานที่
เกลียวให้มากขึ้นดังรูปที่ 2.10

รูปที่ 2.10 แสดงอุปกรณ์ล็อคโดยอาศัยแรงเสียดทาน


26

ชนิดที่ 2 ป้องกันการคลายตัวโดยตรง ดังรูปที่ 2.11

รูปที่ 2.11 แสดงอุปกรณ์ล็อคการเคลื่อนที่โดยตรง

2.10 สลักเกลียว
ชิ้นส่วนเครื่องจักรกลบางชิ้นต้องการความสะดวกในการถอดประกอบโดยที่ชี้นส่วนต้องไม่เกิดการ
เสียหาย ได้แก่งานประเภทจับยึด ปรับแต่ง ตรวจสอบ ซ่อมแซม เปลี่ยนชิ้นส่วน เป็นต้น
คุณสมบัติทางกลของสลักเกลียว กระทรวงอุตสาหกรรมโดยสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมได้
กาหนดมาตรฐานใน มอก. 171 – 2519 ตามมาตรฐานระหว่างประเทศโดยที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระบุของ
เกลียวต้องไม่โตกว่า 39 mm
หาความเค้นของสลักเกลียว

F
d = (2.42)
As
เมื่อ
d = ค่าความเค้นใช้งาน
As = พื้นที่รับความเค้นเฉือน

เมื่อรู้ค่า แล้วก็สามารถหาขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระบุของเกลียวที่ควรจะเลือกใช้ได้การบอกขนาด
เกลียวตามมาตรฐานระหว่างประเทศ บอกโดยใช้อักษรย่อแทนชนิดของเกลียว ตามด้วยขนาด ระบุเป็น mm
ตามด้วยระยะพิตช์ เป็น mm โดยมีเครื่องหมาย x คั่นอยู่ในกรณีที่เป็นเกลียวธรรมดา ไม่ต้องแสดงระยะพิตช์
เช่นเกลียวเมตริกแบบมาตรฐานระหว่างประเทศ แบบเกลียวละเอียดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระบุ 16 mm
(ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่) เรียกว่า M16
เกลียวเมตริกแบบมาตรฐานระหว่างประเทศ แบบเกลียวละเอียดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระบุ 20 mm
ระยะพิตช์ 2 mm เรียกว่า 20 x 2
27

2.11 เครื่องยนต์
ชนิดเครื่องยนต์ เบนซิน 4 จังหวะ สูบเดียว วางเอียง 25 องศา วาล์ว
เหนือลูกสูบ
ความจุกระบอกสูบ 270 ซีซี
กระบอกสูบ x ช่วงชัก 77 58 มม.
กาลังเครื่องยนต์แบบสุทธิ 9 แรงม้า ที่ 3,600 รอบต่อนาที
ความจุถังน้ามันเชื้อเพลิง 6 ลิตร
ความจุน้ามันเครื่อง 1.1 ลิตร
อัตราส่วนกาลังอัด 8.2 : 1
แรงบิดสูงสุด 19.1 นิวตัน-เมตร ที่ 2,500 รอบต่อนาที
มาตราฐานสมาคมวิศวกรยานยนต์ 1.96 กิโลกรัม-เมตร ที่ 2,500 รอบต่อนาที
กาลังแรงม้าสูงสุด 9 แรงม้า ที่ 3,600 รอบต่อนาที
มาตราฐานสมาคมวิศวกรยานยนต์ 6.6 กิโลวัตต์ ที่ 3,600 รอบต่อนาที
กาลังแรงม้าต่อเนื่อง 8.2 แรงม้า ที่ 3,600 รอบต่อนาที
มาตราฐานสมาคมวิศวกรยานยนต์ 6 กิโลวัตต์ ที่ 3,600 รอบต่อนาที
ระบบกรองอากาศ ระบบฟองน้า และอ่างน้ามันเครือ่ งดักฝุ่น
ระบบสตาร์ท ชุดเชือกดึงสตาร์ทแบบสปริงรั้งกลับ
ระบบจุดระเบิด ทรานซิสเตอร์
ระบบระบายความร้อน พัดลมดูดอากาศ
ระบบควบคุมอัตราเร่ง แบบคันโยก และกลไกแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
ระบบหล่อลื่น แบบวิดสาด
การดับเครื่องยนต์ แบบตัดวงจรไฟฟ้าลงดิน
น้ามันเชื้อเพลิง น้ามันเบนซินไร้สารตะกั่ว (สามารถใช้ได้
กับน้ามันแก๊สโซฮอลล์ที่ผสมแอลกอฮอล์ไม่เกิน
10%หรือ E10)
สัดส่วน ( ก x ย x ส ) 380*430*410 มม.
น้าหนัก 25 กิโลกรัม

2.12 จาระบี
จาระบีเป็นผลิตภัณฑ์ทหี่ ล่อลื่น มีลักษณะกึ่งแข็ง กึ่งเหลว เหมาะสาหรับให้การหล่อลื่นในที่ ซึ่งน้ามันไม่
สามารถจะให้การหล่อลื่นได้อย่างสมบูรณ์เช่นแบริ่ง หรือลูกปืนบางชนิด แหนบ ลูกหมาก ฯลฯ จุดใช้งานเหล่านี้
ถ้าใช้น้ามันเป็นผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ย่อมมีปัญหา เรื่องการรั่วไหลหลุดกระเด็น ฝุ่น หรือสิ่งสกปรกแทรกตัวเข้าไป
เจือปน ทาให้การหล่อลื่นไม่ได้ผล จะเกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนของเครื่องจักรการใช้จาระบีจะมีคุณสมบัตใิ น
การจับเกาะชิ้นส่วนที่ต้องการหล่อลื่นได้ดี กว่าน้ามันหล่อลืน่ นอกจากนั้นยัง ทาหน้าที่เป็นตัวจับ หรือป้องกัน
28

ไม่ให้ฝุ่นผง และสิ่งสกปรกภายนอกเข้ามาทาความเสียหายกับผิว โลหะที่ใช้งานจุดที่ใช้จาระบีก็มีความสาคัญ


เช่นเดียวกับจุดหล่อลื่นจุดอื่น ๆ หากเลือกใช้จาระบีไม่ถูกต้องแล้วย่อมทาให้เกิดความเสียหาย และความ
สิ้นเปลือง ผู้ใช้จาระบีหลายรายยังไม่ค่อยรู้จักคุณสมบัติและการใช้งานที่เหมาะสม ทาให้เกิดความเข้าใจผิด
และผิดพลาดในการใช้งาน ในที่นี้จะเน้นเฉพาะจาระบีที่เป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเท่านั้น

2.13 หลักการลดขนาดของวัสดุ
หลักการที่ใช้ในการลดขนาดวัตถุมี 3 หลักการใหญ่ ๆ คือ การตัด การกดอัด และการเฉือน ซึ่ง
อาจจะประกอบด้วยแบบใดแบบหนึ่งหรือหลายแบบรวมกันก็ได้
2.1 การตัด (Cutting) เป็นการลดขนาดโดยการกดด้วยใบมีดที่มีความคมและบางผ่านไปยังวัสดุที่
ต้องการลดขนาด
2.2 การกดอัด (Pressing) เป็นการลดขนาดโดยการประยุกต์แรงให้เกิดแรงดับกับวัสดุที่ต้องการลด
ขนาดของวัสดุ โดยแรงอาจมาจากหลายทิศทาง จึงทาให้ได้วัสดุที่ไม่สม่าเสมอหลังการลดขนาด
2.3 การเฉือน (Shearing) อาศัยแรง 2 ทิศทางวิ่งออกจากวัตถุดิบ เป็นการผสมกันระหว่างการตัด
และการกดอัดหากเฉือนบางและมีความคมเรียกว่า การตัดแต่ถ้าหากหนาและทู่ เรียกว่าการอัด

แรงที่ทาให้วัสดุแตกหรือขาดออกจากกัน
วิธีย่อยวัสดุที่ทาให้วัสดุแตกหรือขาดออกจากกันอาจแบ่งได้ 5 แบบ ดังนี้ (สุเนตร , 2536)
3.1 การทุบหรือการตี (Beating) เป็นการใช้พื้นที่ของอุปกรณ์หรือเครื่องมือทุบก้อนของแข็ง
3.2 การบีบ (Pressing) เป็นการกดบีบก้อนของแข็งด้วยพื้นที่สองด้านของเครื่องมือในทิศทางตรงกัน
ข้ามหรือมากกว่านั้น
3.3 การเฉือน (Shearing) อาศัยการเสียดสีระหว่างพื้นที่สองด้านของเครื่องมือ
3.4 การกระแทก (Impact) เป็นการใช้พื้นที่ใช้งานของเครื่องมือกระทบกับก้อนของแข็ง
3.5 การตัด (Cutting) เป็นการใช้ความคมของเครื่องมือเคลื่อนผ่านวัสดุ

2.14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จักรวาล ลพบุรี ออกแบบและสร้างเครื่องย่อยกิ่งไม้/ย่อยไม้ MODEL JKW-YK06 ความสามารถในการ
ย่อย 200-500 กก./ชม. สามารถย่อย ย่อยกิ่งไม้เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2" (5 ซม.) ย่อยฟาง ย่อยกาบมะพร้าว
ย่อยพืชฉ่าน้า เช่น ผักตบชวา เครื่องย่อย+มอเตอร์ 3 HP
ปฎิพงษ์ จักรกลเกษตร ได้ออกแบบและสร้างเครือ่ งบดย่อยซากพืช รุ่น P5222H โดยใช้เครื่องยนต์
เบนซินฮอนด้า G X 270 T 3 แรงม้า หมุน 2,500 รอบต่อนาที บดได้ทั้งใบไม้สดและแห้ง ปริมาณการย่อย 30-
500 กิโลกรัมต่อชั่วโมง
สมปอง วิประทุมและวีระ โง่นแก้ว นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ออกแบบและสร้างเครื่องย่อยกิ่งไม้ใบ ด้วยมีด มอเตอร์ 2 แรงม้าผลการทดลอง
เบื้องต้น พบว่าไม้ที่ผ่านการย่อยแล้วจะมีความละเอียดเป็นชิ้นเล็กๆ ปริมาณการตัดของท่อไม้ กิ่งไม้สด ที่
ความเร็วรอบตัด 1,900 รอบต่อนาที เครื่องสามารถย่อยกิ่งไม้ขนาด 5 มิลลิเมตร ส่วนใบไม้นั้นย่อยได้ 30 กก.
ต่อชม.
29

กระทิงนครฟาร์ม ออกแบบและสร้างเครื่องย่อยกิ่งไม้เล็ก โดยใช้เครื่องยนต์ 6.5 แรงม้าใบมีดตีป่น ใบมีด


ตัดแข็งพิเศษสามารถถอดลับได้ ความสามารถในการย่อย ตีขุยมะพร้าว ย่อยไม้ขนาด 1-2 นิ้ว ได้ละเอียด
นาไปเป็นปุ๋ยเพาะกล้วยไม้ สามารถนาไปทาอาหารสัตว์ได้ ปริมาณการย่อยประมาณ 600 กิโลกรัมต่อชั่วโมง
เอกลักษณ์ ชฎาดา, ชาญชัย มงคลฤทธา และ เมษาโรจน์ คาอยู่ ได้ออกแบบสร้างเครื่องย่อย
ผักตบชวาขึ้น โดยหลักการทางานของเครื่องย่อยผักตบชวา เริ่มจากการนาผักตบชวาใส่ไปทางปากถังของ
เครื่อง เมื่อผักตบชวาไหลลงไปด้วยแรงโน้มถ่วงกระทบกับใบมีดที่หมุนด้วยความเร็ว 1400 รอบต่อนาที ก็จะ
ถูกตัด ออกเป็นชิ้นเล็กๆ เศษที่ได้จากการตัด ก็จะไหลลงสู่ก้นถังและถูก เป่าให้ไหลออกทางถาดคายเศษต่อไป
โดยเครื่องย่อยผักตบชวานี้มีกาลังการผลิตที่ประมาณ 500 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และมีขนาดเศษอยู่ที่ประมาณ 2
นิ้ว ถึง 4 นิ้ว
ชัชวาล ไชยเทพ ,นเรศ สมอคร (2543) ได้ศึกษาเรื่อง เครื่องย่อยกิ่งไม้ เพื่อใช้ในการตัดย่อยกิ่งไม้
สด ซึ่งมีสว่ นประกอบและลักษณะการทางานที่สาคัญคือ ภายในห้องย่อยประกอบด้วย ใบมีดตัด 2 ใบ ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 95 มิลลิเมตร หนา 7 มิลลิเมตร มุมคมตัด 30 องศา หมุนด้วยความเร็ว รอบ 462 รอบต่อ
นาที และด้านข้างของผนังห้องย่อยติตตั้งใบมีด ปรับระยะ 30 25010 มิลลิเมตร มุมของมีด 80 องศา
จานวน 1 ใบ ส่วนใบมีดย่อย ชุดที่ 2 ประกอบด้วยใบมีด 2 ใบ ขนาด 3025010 มิลลิเมตร ลักษณะ
ช่องห่างกันเป็นระยะช่องละ 13 มิลิเมตร ทามุม 85 องศา เพื่อคายเศษมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 137
มิลลิเมตร หนา 33 มิลลิเมตร มุมคมตัด 70 องศา หมุนด้วยความเร็วรอบ 720 รอบต่อนาที ส่วนทางด้านบน
ของเครื่องเป็นช่องป้อนกิ่งไม้ ซึ่งชุดใบมีดจะขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าขนาด 2 แรงม้า
จากการทดลองใช้งานจริงพบว่า สามารถย่อยกิ่งไม้สดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-25 มิลลิเมตร เศษ
หลังจากการตัดมีดขนาดตามที่ต้องการคิดเป็นร้อยละ 91.4 โดยน้าหนัก และได้กาลังในการผลิต ประมาณ 75
กิโลกรัมต่อชั่วโมง
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน

ในการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


สะดวกต่อ การเคลื่อนย้าย ปลอดภัยแก่ผู้ใช้งาน และเพื่อสารวจความพึง พอใจของผู้ทดลองใช้เครื่อง ย่อยใบไม้
กิ่งไม้การสร้างเครื่องต้นแบบนี้ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
1. วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
2. การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

3.1 วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


1) เครื่องกัด
2) เครื่องกลึง
3) สว่านแท่น
4) ไฟเบอร์ตัด
5) ตะไบ
6) ค้อน
7) ตลับเมตร
8) เวอร์เนียคาลิปเปอร์
9) เครื่องพับโลหะ
10) ประแจ
11) สว่านมือ
12) คีมล็อค
13) ประแจเลื่อน
14) ประแจหกเหลี่ยม
15) เครื่องเชื่อม
16) ลวดเชื่อม
3.2 การหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
ขั้นตอนการหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีดังนี้
3.2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2.2 การออกแบบและสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
3.2.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.2.4 การทดลองใช้และรวบรวมข้อมูล
3.2.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
31

3.2.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ผู้วิจัยได้ทา การเลือกแบบเจาะจง ผู้เชี่ยวชาญที่มี
ประสบการณ์อย่างน้อย 5 ปี ผู้จัดการแผนกออกแบบ 1ท่าน ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกออกแบบ 3 ท่าน ผู้ช่วย
ผู้จัดการฝ่ายผลิต 2 ท่าน ผูช้ ่วยผู้จัดการแผนกซ่อมบารุง 1ท่าน วิศวกรแผนกออกแบบ 3 ท่าน วิศวกรฝ่าย
ผลิต 2 ท่าน วิศวกรระบบคุณภาพ 1 ท่าน วิศวกรฝ่ายวางแผนผลิต 2 ท่าน รวม 15 ท่านแสดงความคิดเห็น ต่อ
เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ที่สร้างขึ้นตอบแบบประเมินเพื่อ ประเมินคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ และ
เสนอแนะความคิดเห็น

3.2.2 การออกแบบและสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


การออกแบบ ในการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีรายละเอียดการดาเนินงานจากแผนภูมิดังนี้
3.2.2.1 ศึกษาข้อมูล
การออกแบบและสร้างเครื่องย่อยกิ่งไม้ ย่อยไม้ ของ คุณจักรวาล ลพบุรี ที่เคยทาใช้อยู่
3.2.2.1.1 ขนาดของอุปกรณ์เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ อุปกรณ์ต้นแบบจะต้องมีขนาดกะทัดรัด
และมีความแข็งแรง รูปทรงของอุปกรณ์เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ จะต้องมีประสิทธิภาพ
3.2.2.1.2 ชนิดของวัสดุที่นามาสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ วัสดุที่นามาใช้ในการสร้าง จะต้อง เป็น
วัสดุที่มีคุณสมบัติเพียงพอทีส่ ามารถนามาใช้สร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ได้อย่างเหมาะสม
3.2.2.2 เขียนแบบ
3.2.2.2.1 ออกแบบ และร่างแบบ
3.2.2.2.2 นาแบบร่างของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ เสนออาจารย์ที่ปรึกษา แล้วนามาปรับปรุง
แก้ไข
3.2.2.3 เลือกวัสดุ
เลือกวัสดุที่นามาใช้ในการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ จากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นผูว้ ิจัยได้
ดาเนินการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ เพื่อใช้ในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ผูว้ ิจัยได้เลือกใช้เหล็กกล้า
3.2.2.4 สร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
โดยพิจารณาว่าเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ที่สร้างขึ้นนี้จะต้องตอบสนองวัตถุประสงค์ของการสร้างเครื่อง
ย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ครบทุกข้อ
3.2.2.5 ทดลองใช้เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
ผูว้ ิจัยได้ดาเนินการทดลองใช้เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
3.2.2.5.1 นาเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ไปทดลองใช้ แล้วบันทึก ผลการทดลองใช้ ปัญหาที่
เกิดขึ้นและข้อ บกพร่องต่างๆ
3.2.2.5.2 นาผลการทดลองใช้ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ และนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุง
แก้ไขเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
3.2.2.6 นาไปใช้งาน
นาไปใช้งาน และให้ผเู้ ชี่ยวชาญประเมิน นาเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ไปใช้ในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้โดย
การสาธิต ให้ผเู้ ชี่ยวชาญดูแล้วให้ผเู้ ชี่ยวชาญประเมินความคิดเห็น เกี่ยวกับคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
โดยใช้แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น
32

3.2.3 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ผูว้ ิจัยได้ดาเนินการสร้างเครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถามความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ
ซึ่งมีขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามดังต่อไปนี้
3.2.31 วิเคราะห์ลักษณะของข้อ มูลที่ต้องการ
เป็นขั้นแรกของการสร้างแบบสอบถาม ก็คือทาการวิเคราะห์ลักษณะของข้อมูลที่ต้องการในการวิจัย
โดยวิเคราะห์จากจุดประสงค์การวิจัย กาหนดโครงสร้างของเนื้อหาแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 3 ตอนคือ
ตอนที่ 1 เป็นข้อมูลเกีย่ วกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
ซึ่งเป็นแบบเลือกตอบ
ตอนที่ 2 เป็นข้อมูลแบบสอบถามคิดเห็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า โดยแบ่งออกเป็น 3
ระดับ
+1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
-1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินไม่ได้วัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
ตอนที่ 3 เป็นคาถามแบบปลายเปิดสาหรับผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
และให้ข้อเสนอแนะต่างๆ
3.2.3.2 กาหนดรูปแบบของคาถาม
ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามจากตารางหรืองานวิจัยอื่น ที่มีเรื่องในการวิจัยคล้ายกัน แล้วกาหนด
รูปแบบของแบบสอบถาม
3.2.3.3 เขียนแบบสอบถามฉบับร่าง
ลงมือเขียนแบบสอบถามฉบับร่าง ตามโครงสร้างของเนื้อหาของแบบสอบถาม และตามหลักในการ
สร้าง และรูปแบบที่กาหนดไว้
3.2.3.4 ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
นาแบบสอบถามไปให้ผู้เชี่ยวชาญในด้านที่จะศึกษา และด้านวัดผลพิจารณา ความถูกต้องของข้อ
คาถามแต่ละข้อ แล้วนาเอาข้อวิจารณ์เหล่านั้นมาพิจารณาแก้ไขให้เหมาะสม
3.2.3.5 ทดลองใช้ และปรับปรุง
นาแบบสอบถามไปทดลองใช้กับผู้ที่มีลักษณะคล้ายกลุ่มตัวอย่าง หรือกลุ่มประชากร จานวน 15 คน
เพื่อ พิจารณาความชัดเจนของข้อคาถามต่างๆ ปัญหาที่อาจจะพบในขณะตอบ แล้วนาข้อวิจารณ์เหล่า นั้นมา
พิจารณาแก้ไขปรับปรุงแบบสอบถามให้เหมาะสม
3.2.3.6 พิมพ์แบบสอบถามฉบับจริง
3.2.4 การทดลองใช้และรวบรวมข้อมูล
การดาเนินการทดลองใช้อุปกรณ์ต้นแบบ และเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจัยได้เก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญที่
ได้จากแบบสอบถามประเมินความคิดเห็น ของผูเ้ ชี่ยวชาญ จานวน 15 ชุด ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นหลังจากผู้เชี่ยวชาญ
ได้ประเมินความคิดเห็นต่ออุปกรณ์ต้นแบบ เพื่อใช้ในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญจะตรวจสอบอุปกรณ์
ต้น แบบเพื่อ ดูลักษณะทางกายภาพ แล้วสาธิต การย่อยใบ้ไม้ กิ่งไม้ เพื่อ ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินผลโดยใช้
แบบสอบถาม
33

ตารางแสดงผลการทดสอบการใช้เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
ตารางที่ 3.1 ผลการทดสอบย่อยใบไม้สด.

ความเร็วรอบ เวลา ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ขนาดที่ย่อยได้ น้าหนักเฉลี่ย


(รอบ/นาที) (นาที) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม)

3600 10 3 3.1 3.15 2*2 3.08


3600 20 6.2 6.0 6.1 2*2 6.1
3600 30 9 9.1 9.2 2*2 9.06
3600 40 12.5 12.4 12.1 2*2 12.3
3600 50 15.3 15.3 15.0 2*2 15.2
3600 60 18.4 18.2 18.3 2*2 18.3

ผลการทดสอบสามารถย่อยใบไม้สดขนาด 50-100 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 18.3 กิโลกรัมต่อชั่วโมง

ตารางที่ 3.2 ผลการทดสอบย่อยใบไม้แห้ง

ความเร็วรอบ เวลา ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ขนาดที่ย่อยได้ น้าหนักเฉลี่ย


(รอบ/นาที) (นาที) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม)

3600 10 2 2.1 2.2 2*2 2.1


3600 20 4.1 4 4 2*2 4.03
3600 30 6.05 6.1 6.15 2*2 6.1
3600 40 8.2 8.1 8.0 2*2 8.1
3600 50 10.1 10.1 10 2*2 10.06
3600 60 12.2 12.1 12.1 2*2 12.1

ผลการทดสอบสามารถย่อยใบไม้แห้งขนาด 50-100 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 12.1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง


34

ตารางที่ 3.3 ผลการทดสอบย่อยใบไม้สด

ความเร็วรอบ เวลา ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ขนาดที่ย่อยได้ น้าหนักเฉลี่ย


(รอบ/นาที) (นาที) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม)

3600 10 3.5 3.4 3.2 2*2 3.3


3600 20 6.7 6.5 6.6 2*2 6.6
3600 30 9.3 9.2 9.3 2*2 9.2
3600 40 12.4 12.2 12.3 2*2 12.3
3600 50 15.5 15.4 15.2 2*2 15.3
3600 60 18.6 18.7 21.1 2*2 18.7

ผลการทดสอบสามารถย่อยใบไม้สดขนาด 100-200 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 18.7 กิโลกรัมต่อชั่วโมง

ตารางที่ 3.4 ผลการทดสอบย่อยใบไม้แห้ง

ความเร็วรอบ เวลา ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ขนาดที่ย่อยได้ น้าหนักเฉลี่ย


(รอบ/นาที) (นาที) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม)

3600 10 2.3 2.4 2.2 2*2 2.3


3600 20 4.5 4.6 4.7 2*2 4.6
3600 30 6.7 6.5 6.6 2*2 6.6
3600 40 8.5 8.5 8.4 2*2 8.4
3600 50 10.6 10.5 10.5 2*2 10.5
3600 60 13 13.4 13.3 2*2 13.2

ผลการทดสอบสามารถย่อยใบไม้แห้งขนาด 100-200 มม. ได้น้าหนักเฉลี่ย 13.2 กิโลกรัมต่อชั่วโมง


35

ตารางที่ 3.5 ผลการทดสอบย่อยกิ่งไม้สด ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มิลลิเมตร ยาวไม่เกิน 2


เมตร

ความเร็วรอบ เวลา ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ขนาดที่ย่อยได้ น้าหนักเฉลี่ย


(รอบ/นาที) (นาที) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม)

3600 10 10.1 10.1 10.2 1*1 10.1


3600 20 20.2 20.1 20.2 1*1 20.1
3600 30 30.1 30.2 30.1 1*1 30.1
3600 40 40.3 40.3 40.2 1*1 40.2
3600 50 50.1 50.3 50.2 1*1 50.2
3600 60 60.2 60.2 60.1 1*1 60.1

ผลการทดสอบสามารถย่อยกิ่งไม้สดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มม. ยาวไม่เกิน 2 เมตร


ได้น้าหนักเฉลี่ย 60.1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง

ตารางที่ 3.6 ผลการทดสอบย่อยกิ่งไม้แห้ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มิลลิเมตร ยาวไม่เกิน 2


เมตร

ความเร็วรอบ เวลา ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ขนาดที่ย่อยได้ น้าหนักเฉลี่ย


(รอบ/นาที) (นาที) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (กิโลกรัม) (เซนติเมตร) (กิโลกรัม)

3600 10 7.1 7.0 7.1 1*1 7.06


3600 20 14.3 14.2 14.05 1*1 14.1
3600 30 21.4 21.2 21.1 1*1 21.2
3600 40 28.1 28.15 28.1 1*1 28.1
3600 50 35.2 35.2 35.1 1*1 35.1
3600 60 42.1 42.1 42.2 1*1 42.1

ผลการทดสอบสามารถย่อยกิ่งไม้สดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 40 มม. ยาวไม่เกิน 2 เมตร


ได้น้าหนักเฉลี่ย 42.1 กิโลกรัมต่อชั่วโมง
36

ตาราง 3.7 ค่าใช้จ่ายน้ามัน ณ วันที่ 11/4/2555

เวลา (นาที) น้ามันที่ใช้ (มล.) ราคาลิตรละ (บาท) คิดเป็นเงิน (บาท)


10 150 40 6
20 300 40 12
30 450 40 18
40 600 40 24
50 750 40 30
60 900 40 36
70 1050 40 42
80 1200 40 48
90 1350 40 54
100 1500 40 60
110 1650 40 66
120 1800 40 72

3.2.5 การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
การวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการวิจัยได้ดาเนินการตามขันตอน ดังนี้
3.2.5.1 ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
เพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างผลที่ได้จากการทดลองกับค่าทางทฤษฎีจากผู้เชี่ยวชาญ และ
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ย (IOC)
สถิติที่ใช้ในการคานวณ และวิเคราะห์ข้อมูล มีดังนี้
สูตร IOC =
เมื่อ IOC = คือ ค่าดัชนีความสอดคล้องตามสมมติฐานของการวิจัย
∑ R = คือ ค่าผลรวมของคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ
N = คือ จานวนผู้เชี่ยวชาญ
3.2.5.2 การวิเคราะห์ดาเนินการเป็นขัน้ ตอน ดังนี้
3.2.5.2.1 นาแบบสอบถาม และเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนพิจารณา
ลงความคิดเห็นว่าจุดประเมินแต่ละข้อวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้หรือไม่ โดยกาหนดคะแนนความคิดเห็นไว้ ดังนี้
+1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
-1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินไม่ได้วัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
3.2.5.2.2 บันทึก ผลการพิจารณาลงความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาวิชาแต่ละคน ในแต่
ละข้อแล้วหาคะแนนผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดเป็นรายข้อแทนค่าสูตรในสมการที่ 1
3.2.5.2.3 กาหนดคะแนนจุดตัด เพื่อที่จะหาค่าคะแนนที่ตาที่สุดทีย่ อมรับว่าแบบสอบถาม
37

สามารถวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้ และเนื่องจากเกณฑ์การยอมรับนี้ต้องไม่เปลี่ยนแปลงไปตามจุดประเมินแต่ละข้อ
ดังนั้นจึงกาหนดคะแนนจุดตัดเท่ากันหมดทุกข้อคือเท่ากับ 0.5
3.2.5.2.3 แปลความหมายดัชนีความสอดคล้องระหว่าง เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ กับจุด
ประเมิน ถ้าค่าดัชนีที่คานวณได้มากกว่า หรือเท่ากับ 0.5 แสดงว่า แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้
จริง ถ้าค่าดัชนีทคี่ านวณได้น้อยกว่า 0.5 แสดงว่า แน่ใจว่าจุดประเมินไม่สามารถวัดได้ตามที่ระบุไว้จริง
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน

จากการดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้จัดทาได้เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้
จากการทดลอง และแบบสอบถามความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อ เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ จานวน 15 ชุด
แล้วนามาวิเคราะห์ข้อ มูลว่าผูเ้ ชี่ยวชาญมีความสอดคล้องกันในระดับใด โดยแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้
จากแบบสอบถามความคิดเห็นในรูปของกราฟ และตารางประกอบคาบรรยายโดยแบ่งผลการศึกษาออกเป็น 3
ตอน ดังนี้
1. ผลการวิเคราะห์ข้อ มูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ
2. ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยแยกออกเป็นด้านต่าง ๆ
3. ผลการวิเคราะห์ความเห็น ของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อเครื่องเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ
ผลการวิเคราะห์ข้อ มูลทั่วไปของผู้เชี่ยวชาญ ผูศ้ ึกษาได้แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 3 ส่วนดังนื้

4.1.1 ระดับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญ

20%

ปริญญาโท
ปริญญาตรี
80%

รูปที่ 4.1 ระดับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญ

จากรูปที่ 4.1 พบว่าผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ จบการศึกษา


ระดับปริญญาโท จานวน 3 คน และลาดับรองลงมาเป็นระดับปริญญาตรี จานวน 12 คน ซึ่งถือได้ว่าผู้เชี่ยวชาญ
สามารถประเมินคุณภาพของเครื่องเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยใช้วจิ ารณญาณของผู้เชี่ยวชาญได้เอง
39

4.1.2 ประสบการณ์ทางานของผู้เชี่ยวชาญ

20%
47% ประสบการณ์ 5-6 ปี

20%
ประสบการณ์ 7-8 ปี
ประสบการณ์ 9-10 ปี
13%
ประสบการณ์ 10 ปีขึ้นไป

รูปที่ 4.2 ประสบการณ์ทางานของผู้เชี่ยวชาญ

จากรูปที่ 4.2 พบว่าผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มี


ประสบการณ์ในการทางาน 5-6 ปี จานวน 7 คน มีประสบการณ์ในการทางาน 7-8 ปี จานวน 2 คน มี
ประสบการณ์ในการทางาน 9-10 ปี จานวน 3 คน และมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 10 ปีขึ้นไป 3 คน
ซึ่งถือได้ว่าผู้เชี่ยวชาญมีประสบการณ์อยู่ในเกณฑ์ที่ดี
40

4.1.3 ระดับอายุของผู้เชี่ยวชาญ

0%
0%

อายุ 20-30 ปี
33%
อายุ 31-40 ปี

อายุ 41-50 ปี
67%
อายุ 50 ปีขึ้นไป

รูปที่ 4.3 ระดับอายุของผู้เชี่ยวชาญ

จากรูปที่ 4.3 พบว่าผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีอายุ


ระหว่าง 20-30 ปี จานวน 10 คน และ มีอายุระหว่าง 31-40 ปี จานวน 5 คน ซึ่งถือได้ว่าผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดมี
วัยวุฒิเพียงพอในการประเมินคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
41

4.2 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยแยกออกเป็นด้านต่าง ๆ

4.2.1 ความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

1.8 เป็นเครื่องที่ออกแบบขึ้นมาใหม่ 0.73

1.7 มีความทันสมัย 0.86

1.6 ความเหมาะสมในการออกแบบ 0.8

1.5 ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย 0.93

1.4 ความปลอดภัยในการใช้งาน 0.8

1.3 ความแข็งแรงของวัสดุ 0.86

1.2 มีขนาด และน้้าหนัก เหมาะสม 0.73

1.1 ความเหมาะสมในการเลือกใช้วัสดุ 0.8

0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1

ชุดข้อมูล1

รูปที่ 4.4 แสดงค่า IOC ระดับความเห็น ของผูเ้ ชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

จากรูปที่ 4.4 พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็น สอดคล้องกันในด้านวัตถุประสงค์เพื่อ สร้าง เครื่องย่อย


ใบไม้ กิ่งไม้ โดยผลการตอบแบบสอบถามของผู้เชี่ยวชาญมีค่า IOC อยู่ในระดับเกินกว่า 0.6 ได้แก่ ความ
เหมาะสมในการใช้วัสดุ, มีขนาดและน้าหนักเหมาะสม, ความแข็งแรงของวัสดุในการออกแบบ, ความปลอดภัย
ในการใช้งาน, ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย, ความเหมาะสมในการออกแบบ, ด้านความทันสมัยสอดคล้องกับ
สภาพปัจจุบันนัน้ เป็นเครื่องมือที่ออกแบบขึ้นมาใหม่ และคูม่ ือประกอบการใช้งานมีความชัดเจน มีค่า IOC อยู่
ในระดับ สูงกว่า 0.6 ซึ่งค่า IOC โดยรวมอยู่ในระดับ 0.82 ซึ่งหมายความว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้อง
กันว่าค่าดัชนีมีความสอดคล้องกันตามสมมติฐานของการทา โครงงาน อยู่ในระดับดี
42

4.2.2 ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อนาไปย่อยใบไม้ กิ่งไม้


ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

2.4 คู่มือการใช้งานมีความชัดเจน 0.93

2.3 มีขั้นตอนในการย่อยใบไม้ กิง่ ไม้ ที่เข้าใจง่าย 0.8

2.2 ย่อยใบไม้ กิง่ ไม้ ได้ตามที่ต้องการหรือไม่ 0.8

2.1ย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ได้ตามวัตถุประสงค์ 0.86

0.7 0.75 0.8 0.85 0.9 0.95

ชุดข้อมูล1

รูปที่ 4.5 แสดงค่า IOC ระดับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์นาไปย่อยใบไม้ กิ่งไม้

จากรูปที่ 4.5 พบว่าผู้เชี่ยวชาญมีความเห็น สอดคล้องกันในด้านวัตถุประวัตถุประสงค์เพื่อย่อยใบไม้


กิ่งไม้ โดยผลการตอบแบบสอบถามของผู้เชี่ยวชาญมีค่า IOC อยู่ในระดับ เกินกว่า 0.6 ซึ่งหมายความว่า
ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็น สอดคล้องกันว่าค่าดัชนีมีความสอดคล้องกันตามสมมติฐานของการทาโครงงาน อยู่ใน
ระดับดี

4.3 ผลการวิเคราะห์ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


หลังจากผู้เชี่ยวชาญได้ประเมินคุณภาพของ เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยใช้แบบสอบถามผลการ
ประเมิน เป็นดังนี้
จานวนผู้เชีย่ วชาญ

จุด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 Sum IOC
ประเมิน

1.1 +1 +1 0 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 12 0.8

1.2 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 0 0 +1 11 0.73

1.3 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 13 0.86
43

1.4 0 0 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 12 0.8

1.5 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 14 0.93

1.6 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 0 0 +1 12 0.8

1.7 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 13 0.86

1.8 0 0 0 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 +1 +1 +1 +1 11 0.73

2.1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 13 0.86

2.2 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 0 +1 +1 +1 +1 0 +1 12 0.8

2.3 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 0 0 +1 +1 +1 +1 12 0.8

2.4 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 +1 0 +1 +1 14 0.93

ตารางที่ 4.1 ผลการประเมินเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 15 ท่าน ทั้ง 12 จุด ประเมิน


จากตารางที่ 4.1 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ จานวน 15 ท่าน ที่ทา การประเมินเครื่องย่อย
ใบไม้ กิ่งไม้ ทั้ง 12 จุดประเมินตามแบบสอบถามที่ผู้จัดทา ได้ทา ขึ้น และได้ผลการประเมิน ดังนี้

จุดประเมิน IOC

1 0.8

2 0.73

3 0.86

4 0.8

5 0.93

6 0.8

7 0.86

8 0.73
44

9 0.86

10 0.8

11 0.8

12 0.93

IOC =  = 0.82
R
N

ตาราง 4.2 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญโดยรวมต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยรวมที่ได้จากการประเมินทั้งหมด 12


จุดประเมิน ได้ค่า IOC เท่ากับ 0.82 แสดงให้เห็นว่าผู้เชี่ยวชาญทั้ง 15 ท่าน มีความเห็นสอดคล้องกันว่าเครื่อง
ย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีคุณภาพ และประสิทธิภาพในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ สามารถนาไปใช้ย่อยกิ่งไม้ ใบไม้ ได้ตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพราะค่า IOC ของจุดประเมินเท่ากับ 0.82 ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวนี้ ผู้เชี่ยวชาญมี
ความเห็นสอดคล้องกันว่าเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ สามารถนาไปใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปตาม
สมมุติฐานของการวิจัย
บทที่ 5
สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ

การศึกษาวิจัย เรื่อง เครื่องเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยที่การ


ย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ได้ ตามต้องการ และสามารถนาไปใช้ทาปุ๋ยได้ ซึ่งมีการตั้งสมมติฐานว่า ความคิดเห็นของ
ผู้เชี่ยวชาญมีความสอดคล้องกันในด้านคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
ในการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งแบบสอบถามเป็นประมาณค่า 3 ระดับ ซึ่งระดับความคิดเห็น
ของผู้เชี่ยวชาญมีค่า IOC เท่ากับ 0.82 ซึ่งถือได้ว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกันในด้านคุณภาพของ
เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ สาหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้จัดทาสามารถสรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย

ข้อมูลจากแบบสอบถามความเห็นที่ได้ประเมิน โดยผู้เชี่ยวชาญ จานวน 15 ท่าน ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้มี


ความคิดเห็นต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ เพื่อใช้ในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ โดยผู้จัดทาสามารถแยกสรุปผลการ
ประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญออกเป็นประเด็นต่างๆได้ดังนี้
5.1.1 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ผู้เชี่ยวชาญ
มีความเห็นสอดคล้องกันว่า ความเหมาะสมในการใช้วัสดุ , มีขนาดและน้าหนักเหมาะสม, ความแข็งแรงของ
วัสดุในการออกแบบ, ความปลอดภัยในการใช้งาน, ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย, ความเหมาะสมในการ
ออกแบบ, มี ค วามทั น สมั ย สอดคล้ อ งกั บ สภาพปั จ จุ บั น , เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ อ อกแบบขึ้ น มาใหม่ และคู่ มื อ
ประกอบการใช้งานมีความชัดเจน ในระดับค่า IOC เท่ากับ 0.82 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดไว้
5.1.2 ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในด้านวัตถุประสงค์เพื่อนาไปย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ผู้เชี่ยวชาญมี
ความเห็นว่า เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีความสามารถในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีขั้นตอนการใช้งานเครื่องย่อย
ใบไม้ที่เข้าใจได้ง่าย และสามารถย่อยใบไม้ได้ตามต้องการ และสอดคล้องกันในทุกจุดประเมินในระดับค่า IOC
เท่ากับ 0.82 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดไว้

5.2 อภิปรายผล

ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มี ต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ เพื่อใช้ในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ส่วนใหญ่มี


ความเห็นสอดคล้องกันว่า เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีคุณภาพ สามารถนาไปใช้ในย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ได้จริง เฉลี่ย
แล้วมีความคิดเห็นว่าเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีคุณภาพ แน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง และ
สามารถอภิปรายผลประเด็นที่ผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง และไม่แน่ใจว่าจุด
ประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง ดังนี้
5.2.1 จุดประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญแน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ทั้งไว้ได้จริง คือจุดประเมินความ
เหมาะสมในการใช้วัสดุ ขนาดและน้าหนักเหมาะสม ความเหมาะสมในการออกแบบ ความแข็งแรงของวัส ดุใน
การออกแบบ ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย มีความทัน สมัยสอดคล้องกั บสภาพปั จ จุบัน เป็น เครื่องมือที่
ออกแบบขึ้นมาใหม่ และคู่มือประกอบการใช้งาน มีความชัดเจน ซึ่งอาจเป็นเพราะว่า เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มี
46

การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน ขนาดและน้าหนักเหมาะสม ใช้งานได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ


ในการใช้งานสูง
5.2.2 จุดประเมินที่ผู้เชี่ยวชาญไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้จริง คือจุดประเมิน ที่
บอกถึง ความปลอดภัยในการใช้งาน ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าการออกแบบความปลอดภัยของ เครื่องย่อยใบไม้ กิ่ง
ไม้ ต้องใช้คนนาใบไม้กิ่งไม้ไปใส่เครื่อง

5.3 ข้อเสนอแนะ
5.3.1 การใช้เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
คนที่จะใช้เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ต้องมีความระมัดระวังขณะที่ใช้มือป้อนใบไม้ กิ่งไม้เข้าเครื่อง
5.3.2 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
การสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้นี้ ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่า
5.3.2.1 ควรปรับปรุงให้เครื่องมีความสูงน้อยลงกว่าเดิม เพื่อให้สะดวกยิ่งขึ้นในการใส่ใบไม้
เปลือกไม้ กิ่งไม้ขนาดเล็ก และวัชพืชต่างๆ และควรเพิ่มอุปกรณ์ลดฝุ่นละออง
5.3.2.2 ควรเพิ่มตะแกรงให้เปลี่ยนได้หลายขนาด โดยมีเบอร์ใหญ่จนถึงเล็กเพื่อเพิ่มตัวเลือก
ความละเอียดในการกระบวนการย่อยและทาถาดลองชิ้นงานที่มีขนาดที่เหมาะสมสะดวกยิ่งขึ้น
5.3.3 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
วัสดุที่เลือกใช้ทาคมตัด ควรเป็นวัสดุที่มีคุณภาพมีคุณสมบัติที่เหมาะกับการทาคมตัดที่ดี เช่น แข็งแรง
ทนทาน ทนความร้อน ทนแรงเสียดสี และมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน เพราะการที่จะถอดใบมีดตัด ออกมาลับ
คมตัดนั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยากพอสมควร
ภาคผนวก ก
ภาพประกอบการสร้างเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
49

รูปที่ ก 1 แสดงรูปเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้แบบเคลื่อนที่

รูปที่ ก 2 แสดงรูปต้นกำลังเครื่องยนต์
50

รูปที่ ก 3 แสดงรูปล้อในกำรเคลื่อนที่

รูปที่ ก 4 แสดงรูปช่องป้อนกิ่งไม้
51

รูปที่ ก 5 แสดงรูปช่องป้อนเศษใบไม้

รูปที่ ก 6 แสดงรูปช่องทำงออกเศษใบไม้ กิ่งไม้


52

รูปที่ ก 7 แสดงรูปอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยจำกชุดสำยพำน

รูปที่ ก 8 แสดงรูปมือจับในกำรเคลื่อนที่
53

รูปที่ ก 9 แสดงรูปชุดล็อคล้อขณะเครื่องทำงำน

รูปที่ ก 10 แสดงรูปชุดผ่อนแรงขณะสตำร์ท
54

รูปที่ ก 11 แสดงรูปมู่เล่ตำม

รูปที่ ก 12 แสดงรูปมู่เล่ขับ
55

รูปที่ ก 13 แสดงรูปชุดใบมีด

รูปที่ ก 14 แสดงรูปชุดแบริ่ง
56
57
58
ภาคผนวก ข
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ
57

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ

ผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีรายชื่อดังต่อไปนี้

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ

นาย ทศพร วรรณสวัสดิ์กุล อายุ 30 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมการผลิต
ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 7 ปี
นาย ศราวุธ พัฒนวงศ์สุนทร อายุ 31 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมการผลิต
ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายผลิต
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 9 ปี

นาย พงศ์พัชร บัวเพ็ชร อายุ 32 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาโท สาขา การจัดการวิศวกรรม
ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกซ่อมบารุง
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 9 ปี

นาย ชาตรี ฟองเลิศนุกุล อายุ 36 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาโท สาขา การจัดการวิศวกรรม
ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายผลิต
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 13 ปี
58

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ

น.ส. ประภาพร สนั่นรัมย์ อายุ 30 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ
ตาแหน่ง วิศวกรออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
นาย จตุพร ตึกหิน อายุ 28 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ
ตาแหน่ง วิศวกรออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี

นาย กิตติ จันทร์กลิ่น อายุ 33 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาโท สาขา การจัดการวิศวกรรม
ตาแหน่ง ผู้จัดการแผนกออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 10 ปี

นาย วีรวิชญ์ บุญคง อายุ 27 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมการผลิต
ตาแหน่ง วิศวกรออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
59

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ

นาย กฤษฎา เหมพิจิตร อายุ 30 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ
ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 7 ปี
นาย วิภษู ณะ ภูภักดี อายุ 30 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมการผลิต
ตาแหน่ง ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกออกแบบ
สถานที่ทางาน บ.ออโตโมทีฟโมลด์ เทคโนโลยี จากัด
ประสบการณ์การทางาน 9 ปี

นายประจักร นิลเยี่ยม อายุ 33 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ
ตาแหน่ง วิศวกรฝ่ายผลิต
สถานที่ทางาน บ.ไทยซัมมิต อีสเทิร์นซีบอร์ด ออโตพาร์ท
ประสบการณ์การทางาน 10 ปี

นาย ฤณันตก์ การรื่นศรี อายุ 27 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมเครื่องกล
ตาแหน่ง วิศวกรฝ่ายผลิต
สถานที่ทางาน บ.ไทยซัมมิต อีสเทิร์นซีบอร์ด ออโตพาร์ท
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
60

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ

นาย สุริยพงษ์ พลเล็ก อายุ 26 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ
ตาแหน่ง วิศวกรระบบคุณภาพ
สถานที่ทางาน บ.ไทยซัมมิต อีสเทิร์นซีบอร์ด ออโตพาร์ท
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
นาย ประชาธิป ภาเลิศ อายุ 26 ปี
ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมเครื่องกล
ตาแหน่ง วิศวกรวางแผนการผลิต
สถานที่ทางาน บ.ไทยซัมมิต อีสเทิร์นซีบอร์ด ออโตพาร์ท
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี

นาย ภาณุวัฒน์ ปนะภูเต อายุ 26 ปี


ระดับการศึกษา ปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ
ตาแหน่ง วิศวกรวางแผนการผลิต
สถานที่ทางาน บ.ไทยซัมมิต อีสเทิร์นซีบอร์ด ออโตพาร์ท
ประสบการณ์การทางาน 5 ปี
ภาคผนวก ค
แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ในการประเมิน
ประสิทธิภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
62

แบบสอบถาม
เรื่อง การสร้างและหาประสิทธิภาพเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

คาชี้แจง แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


แบบสอบถามนี้จะให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตอบ และนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการวิจัยเท่านั้น
กรุณาอ่านและตอบคาถามตามสภาพ หรือความเห็นที่แท้จริง

ตอนที่ 1 ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญ
คาชีแ้ จง โปรดทาเครื่องหมาย ลงใน □ ที่ตรงกับความจริงมากที่สุด

1.อายุ
20 – 30 ปี □ 31 – 40 ปี
□ 41 – 50 ปี □ 50 ปีขนึ้ ไป

2. ระดับการศึกษา
□ ต่ากว่าปริญญาตรี □ ปริญญาตรี
□ สูงกว่าปริญญาตรี □ อื่นๆ ---------------

3. ประสบการณ์ทางด้านการปฏิบัติงาน
□ 5 – 6 ปี □ 7 – 8 ปี
□ 9 – 10 ปี □ 10 ปีขนึ้ ไป
63

แบบประเมินความสอดคล้องของการใช้เครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้

ตอนที่ 2 ความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

คาชี้แจง โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


โปรดพิจารณาว่าจุดประเมินแต่ละหัวข้อต่อไปนี้ ตรงตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ระบุไว้หรือไม่ แล้ว
วัดผลการพิจารณาของท่าน โดยทาเครื่องหมาย ( / ) ลงในช่องคะแนนที่พิจารณาตามความเห็นของท่าน

คะแนนการพิจารณา
ช่อง +1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
ช่อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าจุดประเมินวัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง
ช่อง -1 หมายถึง แน่ใจว่าจุดประเมินไม่ได้วัดได้ตรงตามที่ระบุไว้จริง

แบบประเมินความสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญ

คะแนนการพิจารณา
วัตถุประสงค์ จุดประเมิน

+1 0 -1

1.1 ความเหมาะสมในการเลือกใช้วัสดุทาเครื่อง
ย่อย
1. เพื่อสร้างเครื่องย่อย
1.2 เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ มีขนาด และน้าหนัก
ใบไม้ กิ่งไม้
เหมาะสม

1.3 ความแข็งแรงของวัสดุในการออกแบบเครื่อง
ย่อยใบไม้ กิ่งไม้
64

คะแนนการพิจารณา
วัตถุประสงค์ จุดประเมิน
+1 0 -1

1.4 ความปลอดภัยในการใช้งาน

1.5 ความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

1.6 ความเหมาะสมในการออกแบบ
เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้

1.7 มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาพปัจจุบัน

1.8 เป็นเครื่องเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


ที่ออกแบบขึ้นมาใหม่

2.เพื่อนาไปหาประสิทธิ 2.1ย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ได้ตามวัตถุประสงค์


ภาพการย่อยใบไม้ กิ่ง
ไม้
2.2 มีความสามารถในย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ได้
ตามที่ต้องการหรือไม่

2.3 มีขั้นตอนในการย่อยใบไม้ กิ่งไม้ ที่เข้าใจง่าย

2.4 คู่มือประกอบการใช้งานเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้


มีความชัดเจน
65

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ลงชื่อ ------------------------------------
( ---------------------------------------- )

ตาแหน่ง ------------------------------------
ภาคผนวก ง
แบบเครื่อง
400
67

200

400
68

1275

200

500
320
580

155
69

200

250

400
70

650

200
1195

995

600
100

580
480
71

600
1275
1195
72

ภาคผนวก จ
คู่มือการใช้งานเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
73

คู่มือการใช้งานเครื่องย่อยกิ่งไม้ใบไม้แบบเคลื่อนที่

1. รายละเอียดทั่วไป
เครื่องย่อยใบไม้และกิ่งไม้ประกอบด้วยกลไกที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ชุดป้อนวัตถุดิบเข้ำ ,ชุดใบตัด
หั่น ใบย่อย,และชุดส่งกำลัง โดยใช้เครื่องยนต์ 4 จังหวะ 9แรงม้ำ เพื่อใช้ในกำรตัดย่อยใบไม้กิ่งไม้ซึ่ง
ส่วนประกอบและลักษณะกำรทำงำนที่สำคัญคือภำยในห้องย่อยประกอบด้วย ใบมีดตัดและหั่น 2 ใบ
ติดตั้งในแนวรัศมีซึ่งทำจำกเหล็กกล้ำอย่ำงดีจำนวน 2 ใบอยู่ด้ำนข้ำงของผนังห้องย่อย ขนำดกว้ำง 50
มิลลิเมตร ยำว 90 มิลลิเมตร หนำ 16 มิลลิเมตร มุมคมตัด 30 องศำ หมุนด้วยควำมเร็วรอบ 3600 รอบ
ต่อนำที ส่วนใบมีดย่อย ชุดที่ 2 ประกอบด้วยใบมีดเชื่อมติดตำยตัวแบบสลับฟันปลำ จำนวน 3 ชุดๆ ละ
12 ใบ ขนำด 38 x 175 x 10 มิลลิเมตร ลักษณะช่องห่ำงกันเป็นระยะช่องละ 30 มิลลิเมตร แต่ละชุดทำมุม
120 องศำ มุมคมตัด 70 องศำ หมุนด้วยควำมเร็วรอบ 3600 รอบต่อนำที ด้ำนบนของเครื่องเป็นช่องป้อน
ใบไม้ ส่วนด้ำนข้ำงจะเป็นช่องป้อนกิ่งไม้
74

2. รายละเอียดทางด้านเทคนิค (Technical Data)


2.1 เครื่องย่อยใบไม้ 1 เครื่อง
2.2 ควำมกว้ำงของเครื่อง 650 มิลลิเมตร
2.3 ควำมยำวของเครื่อง 1250 มิลลิเมตร
2.4 ควำมสูงของเครื่อง 1275 มิลลิเมตร
2.5 ขนำดถำดใบไม้ 450*710 มิลลิเมตร
2.6 ขนำดเพลำขับ 54 มิลลิเมตร
2.7 ขนำดมู่เล่ขบั 130 มิลลิเมตร
2.8 ขนำดมู่เล่ตำม 410 มิลลิเมตร
2.9 ขนำดกำลังเครื่องยนต์ 9 HP
2.10 อัตรำทดรอบ 2: 1 รอบ
2.11 น้ำหนักโดยรวมของเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้ 125 กิโลกรัม

6
2
5

4
รูปที่ จ 1 แสดงส่วนประกอบของเครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้
75

รายละเอียดชิ้นส่วนเครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
1. ช่องใส่ใบไม้สดและใบไม้แห้ง
2. ช่องใส่กิ่งไม้ทั้งสดและแห้ง ที่มีขนำดควำมกว้ำง 65 เซนติเมตร ควำมยำว 125
เซนติเมตร ควำมสูง 127.5 เซนติเมตร สำมำรถย่อยใบไม้กิ่งไม้ที่มี ขนำดเส้นผ่ำน
ศูนย์กลำงไม่เกิน 40.0 มิลลิเมตร ควำมยำวไม่เกิน 2 เมตร
3. ช่องทำงออกของกิ่งไม้ใบไม้ที่ย่อยเสร็จแล้ว
4. ล้อหน้ำ
5. บำนพับที่สำมำรถถอดออกเวลำบำรุงรักษำใบมีด
6. ที่ครอบสำยพำนเพื่อป้องกันอันตรำยจำกสำยพำนเวลำเดินเครื่อง

10

รูปที่ จ 2 แสดงส่วนประกอบของเครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้

7. ที่จับของเครื่องย่อยกิ่งไม้ใบไม้แบบเคลื่อนที่
8. ที่ล็อคล้อเวลำเดินเครื่อง
9. ที่ดันสำยพำนขึน้ ขณะเดินเครือ่ ง
10. สำยพำน
76

16
11

14

15
13

17 12

รูปที่ จ 3 แสดงส่วนประกอบของเครื่องย่อยใบไม้กิ่งไม้

11. สวิทซ์ ปิด – เปิด


12. ที่วัดระดับน้ำมันเครื่อง
13. คันสตำร์ท
14. ถังน้ำมันเชื้อเพลิง
15. วำล์วปิด – เปิดน้ำมันเชื้อเพลิง
16. หม้อกรอง
17. คันเร่งเครื่องยนต์
77

การตรวจสอบก่อนใช้งานเครื่องยนต์
เพื่อควำมปลอดภัย และยืดอำยุกำรใช้งำนของอุปกรณ์สูงสุด เป็นเรื่องสำคัญมำกที่จะเสียเวลำเพียง
เล็กน้อยก่อนกำรเดินเครื่อง เพื่อตรวจสอบสภำพเครื่องเสียก่อน ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่ำได้ให้ควำมแน่ใจว่ำ
ได้ให้ควำมสนใจกับทุกๆปัญหำที่ตรวจพบเพื่อแก้ไขปัญหำนัน้ ๆแล้ว ก่อนกำรใช้งำนเครื่องยนต์

คาเตือน
กำรบำรุงรักษำเครื่องยนต์ที่ไม่เหมำะสม หรือกำรแก้ไขปัญหำก่อนกำรเดินเครื่องที่
ล้มเหลว เป็นสำเหตุให้เกิดกำรทำงำนที่ผิดพลำดและส่งผลให้ผู้ใช้บำดเจ็บอย่ำง
รุนแรง หรือเสียชีวิตได้
ให้ดำเนินกำรตรวจสอบก่อนกำรเดินเครื่องทุกครั้ง และแก้ไขปัญหำทุกๆปัญหำที่พบ

ก่อนกำรเริ่มตรวจสอบก่อนใช้งำนเครื่องยนต์ ตรวจสอบให้แน่ใจว่ำเครื่องยนต์อยู่ในแนวรำบ และสวิทช์


เครื่องยนต์อยู่ในตำแหน่งปิด ”OFF” ให้ตรวจสอบรำยกำรต่อไปนี้ก่อนใช้งำนเครื่องยนต์

ตรวจสอบสภาพทั่วๆไปของเครื่องยนต์
1. ตรวจสอบโดยทั่วไป และตีเครือ่ งยนต์ เพื่อตรวจสอบกำรรั่วไหลของน้ำมันเครื่อง หรือน้ำมันเบนซิน
2. ขจัดสิ่งสกปรกออก โดยเฉพำะบริเวณรอบๆท่อไอเสียและชุดรีคอยล์สตำร์ท
3. หำร่องรอยควำมเสียหำยต่ำงๆ
4. ตรวจสอบฝำครอบ และแผ่นป้องกันทั้งหมดอยู่ในตำแหน่ง น๊อต โบ๊ลท์ และสกรูทุกตัวอยู่ในสภำพ
ขันแน่น
ตรวจสอบเครื่องยนต์
1. ตรวจสอบระดับน้ำมันเชื้อเพลิงกำรติดเครื่องโดยมีน้ำเครื่องเต็มถัง ช่วยกำจัดหรือลดกำรขัดจังหวะ
กำรเดินเครื่องเพื่อเติมน้ำมัน
2. ตรวจสอบระดับน้ำมันเครื่อง กำรเดินเครื่องยนต์ โดยมีระดับน้ำมันเครื่องต่ำ อำจเป็นสำเหตุให้
เครื่องยนต์เสียหำยได้
3. ตรวจสอบระดับน้ำมันเครื่องใน เสื้อเกียร์ทด ของประเภทเสริมน้ำมันเครื่องจำเป็นต่อกำรทำงำน
และอำยุกำรใช้งำนที่ยำวนำนของเสื้อเกียร์ทด
4. ตรวจสอบไส้กรองอำกำศ ไส้กรองอำกำศที่สกปรกจะทำให้อำกำศเข้ำสู่คำร์บูเรเตอร์ได้น้อยลง ทำให้
ประสิทธิภำพของเครื่องยนต์ตกลง
78

5. ตรวจสอบอุปกรณ์ที่ได้รับจำกกำรส่งถ่ำยกำลังจำกเครื่องยนต์นี้ศึกษำคำแนะนำที่มำพร้อมกับ
อุปกรณ์ที่ได้รับกำรส่งถ่ำยกำลังจำกเครื่องยนต์นี้ สำหรับข้อควรระวัง และขั้นตอนที่ควรทำก่อนกำร
ติดเครื่องยนต์

วิธีการใช้งาน

1. ตรวจสอบสภาพทั่วไปของเครื่อง เช่น เครื่องยนต์ สภาพของการ์ดพู่เลย์และความปลอดภัยอื่น ๆ


2. ในส่วนเครื่องยนต์ปรับความตึงของสายพานให้ได้ตามที่กาหนด
3. สวิตซ์ ปิด-เปิด ก่อนทาการสตาร์เครื่องยนต์โดยถ้าต้องการสตาร์ทเครื่องยนต์ให้บิดสวิตซ์ไปทางด้าน
ขวามือ และถ้าต้องการดับเครื่องยนต์ให้บิด สวิตซ์ไปทางซ้ายมือเสมอ
4. ดึงมือจับสาหรับสตาร์เครื่องยนต์
5. หลังจากสตาร์เครื่องยนต์ให้ทาการปรับความเร็วรอบของเครื่องยนต์ ให้เหมาะสมกับความต้องการใช้
งาน
6. ทาการลาเลียงใบไม้หรือกิ่งไม้เข้าถาด
7. การหยุดเครื่องต้องปรับความเร็วรอบของเครื่องยนต์มาที่ต่าแห่นงความเร็วรอบต่าสุด
8. ปิดสวิตซ์เครื่องยนต์ แล้วทาความสะอาดอุปกรณ์หลังการหยุดใช้งานเครื่องยนต์

การบารุงรักษาเครื่องยนต์
ความสาคัญของการบารุงรักษาเครื่องยนต์
กำรบำรุงรักษำที่ดีเป็นสิ่งที่จำเป็น ต่อควำมปลอดภัย และไร้ปัญหำ และรวมถึงกำรลดมลภำวะด้วย เพื่อ
ช่วยดูแลเครื่องยนต์ของคุณ เป็นไปอย่ำงเหมำะสม หน้ำต่อไปนี้จะแสดงตำรำงกำรบำรุงรักษำ ขั้นตอนกำร
ตรวจสอบแบบประจำ และขั้นตอนกำรบำรุงรักษำแบบง่ำยๆที่ใช้เครื่องช่ำงพื้นฐำน สำหรับงำนให้บริกำรอื่นๆที่
ยุ่งยำก และต้องใช้เครื่องมือพิเศษ ควรดำเนินกำรโดยมืออำชีพตำรำงกำรบำรุงรักษำใช้สำหรับสภำพกำร
เดินเครื่องปกติ ในกรณีที่เดินเครื่องภำยใต้สภำพรุนแรง เช่นกำรเดินเครื่องรับภำระสูง หรืออุณหภูมิสูง หรือใช้
ในสภำพที่เปียกชื้นหรือมีฝุ่นผงมำกผิดปกติ

ความปลอดภัยในการบารุงรักษา
ข้อควรระวังด้ำนควำมปลอดภัยที่สำคัญที่สุดแสดงดังต่อไปนี้ อย่ำงไรก็ตำมเรำไม่สำมำรถเตือนถึง
อันตรำยทุกๆอย่ำงที่อำจเกิดขึ้นได้ในขณะบำรุงรักษำ มีเพียงคุณเท่ำนั้นที่จะตัดสินใจได้ว่ำจะดำเนินงำนนั้น
หรือไม่
79

ตารางการบารุงรักษา

ช่วงเวลาการให้บริการปกติ ทุกครั้งที่ เดือน ทุกๆ 3 ทุกๆ6 ทุกๆปี


(3) ดาเนินการทุกๆเดือนที่ ใช้ แรก เดือน เดือน หรือ
ระบุ หรือระยะเวลาชั่วโมง หรือ20 หรือ50 หรือ100 300ชัว่ โมง
เดินเครื่องขึ้นกับช่วงเวลาใด ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง
ถึงก่อน
น้ามันเครื่อง
ตรวจสอบระดับ เปลี่ยน   
น้ามันเครื่องเสื้อเกียร์ทด
ตรวจสอบระดับ เปลี่ยน   
หม้อกรองอากาศ
ตรวจสอบ ทำควำมสะอำด   
เปลี่ยน 
ถ้วยกรองน้ามันเชื้อเพลิง
ทำควำมสะอำด 
หัวเทียน
ตรวจสอบ-ปรับตั้ง 
เปลี่ยน 
ตัวป้องกันประกายไฟ
ทำควำมสะอำด 
รอบเดินเบา
ตรวจสอบ-ปรับตั้ง 
ระยะห่างวาล์ว
ตรวจสอบ-ปรับตั้ง 
ห้องเผาไหม้
ทำควำมสะอำด ภายหลังทุกๆ 500 ชั่วโมง
ถังน้ามันเชื้อเพลิงและตระ
แกลง
ทำควำมสะอำด 
ท่อน้ามันเชื้อเพลิง
ตรวจสอบ ทุกๆ 2 ปีเปลี่ยนเมื่อจาเป็น
80

คาเตือน
กำรไม่ทำตำมคำแนะนำในกำรบำรุงรักษำที่เหมำะสม และข้อควรระวังเป็นสำเหตุให้ผู้ใช้บำดเจ็บ
รุนแรง หรือเสียชีวิตได้ ให้ดำเนินงำนตำมขั้นตอน และข้อควรระวังตำมที่คู่มือนี้แนะนำและระบุ
ไว้ทุกครั้ง

ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย
1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่ำเครื่องยนต์ดับอยู่ ก่อนเริ่มงำนบำรุงรักษำหรือซ่อมแซมใดๆเพื่อขจัดอันตรำยที่
อำจเกิดขึ้น
2. พิษของคำร์บอนมอนนอกไซด์จำกไอเสียตรวจสอบให้แน่ใจว่ำมีกำรระบำยอำกำศที่เพียงพอ ในขณะ
เดินเครื่อง
3. ไฟไหม้จำกชิ้นส่วนที่มีควำมร้อน
4. ปล่อยให้เครื่องยนต์ และระบบไอเสียเย็นลงก่อนสัมผัส
5. บำดเจ็บจำกชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ห้ำมเดินเครื่องนอกจำกคำแนะนำที่ระบุไว้
6. อ่ำนคำแนะนำก่อนเริ่มงำน และต้องมั่นใจว่ำคุณมีเครื่องมือ และทักษะเพียงพอ
7. น้ำมันเบนซิน ใช้สำรทำระลำยที่ไม่ติดไฟเท่ำนั้น ห้ำมใช้น้ำมันเบนซินในกำรทำควำมสะอำดชิ้นส่วน
ห้ำมนำบุหรี่ ประกำยไฟ และเปลวไฟเข้ำใกล้ชิ้นส่วนที่เกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
8. ระลึกไว้เสมอว่าตัวแทนให้บริการ เป็นผู้ที่รู้จักเครื่องยนต์ของคุณเป็นอย่างดี และพร้อมจะบารุงรักษา
9. และซ่อมแซม และเพื่อให้มั่นใจในคุณภาพ และความน่าเชื่อถือได้ดีที่สุด ใช้ชิ้นส่วนอะไหล่ของแท้ หรือ
10. เทียบเท่าสาหรับการซ่อมแซมหรือเปลี่ยนแปลง
การเติมน้ามันเชื้อเพลิง
น้ามันเชื้อเพลิงที่แนะนา
เครื่องยนต์นี้ได้รับการรับรองว่าใช้ได้กับน้ามันเบนซินไร้สารตะกั่วออกเทน 91 หรือสูงกว่า

เติมน้ำมันในบริเวณที่อำกำศถ่ำยเทได้สะดวกในขณะดับเครื่องยนต์ ถ้ำเพิ่งดับเครือ่ งยนต์ รอให้


เครื่องยนต์เย็นลงเสียก่อน ห้ำมทำกำรเติมน้ำมันในสิ่งปลูกสร้ำงที่ไอระเหยของน้ำมันเบนซินอำจทำปฏิกิริยำกับ
ประกำยไฟ หรือเปลวไฟได้คณ ุ อำจใช้น้ำมันเบนซินไร้สำรตะกั่วที่ผสมเอทำนอลไม่เกิน 10%(E10) หรือเมทำ
นอล 5% โดยปริมำตร ซึ่งในเมทำนอลต้องผสมตัวทำระลำย และสำรยับยั้งกำรกัดกร่อน กำรใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
ที่ผสมเอทำนอลและเมทำนอลมำกเกินกว่ำที่ระบุ อำจทำให้เกิดปัญหำในกำรติดเครื่อง หรือประสิทธิภำพ
เครื่องยนต์ ซึ่งมันอำจทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อชิ้นส่วนโลหะ ยำง พลำสติกของระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ปัญหำ
ควำมเสียหำยของเครื่องยนต์หรือประสิทธิภำพเครื่องยนต์ อันเนื่องมำจำกกำรใช้น้ำมันเชือ้ เพลิงที่มีเปอร์เซ็นต์
ของเอทำนอลและเมทำนอลมำกเกินกว่ำระบุ กำรรับประกันจะไม่ครอบคลุมถึง
81

น้ำมันเชื้อเพลิงอำจทำควำมเสียหำยแก่สี ยำง และพลำสติกบำงประเภท โปรดระมัดระวังอย่ำทำหก


ในขณะเติมน้ำมัน อย่ำใช้น้ำมันเบนซินเก่ำหรือสกปรก หรือน้ำมันเบนซินผสมน้ำมันเครื่องหลีกเลี่ยงกำรนำสิ่ง
สกปรก ลงถังน้ำมันเชื้อเพลิง ในกำรเติมน้ำมันเชื้อเพลิง ให้อ้ำงอิงถึงผู้ผลิตอุปกรณ์ ดู

คำแนะนำในกำรเติมน้ำมันเชือ้ เพลิง

1. ดับเครื่องยนต์ ตั้งเครื่องยนต์ให้อยู่ในแนวรำบ เปิดฝำน้ำมันเชื้อเพลิงและตรวจสอบระดับน้ำมัน ถ้ำ


ระดับต่ำให้เติมเพิ่ม
2. เติมน้ำมันจนถึงระดับล่ำงของขีดจำกัดน้ำมันเชื้อเพลิงสูงสุด ห้ำมเติมเกินให้ทำกำรเช็คน้ำมันที่หกก่อน
เติมเครื่อง กำรเติมน้ำมันอย่ำให้หก อย่ำเติมจนเกินถัง ควรให้ต่ำกว่ำระดับสูงสุดของถังประมำณ 25
mm. เผื่อกำรขยำยตัวของน้ำมัน หรืออำจจะต่ำกว่ำนั้นขึ้นอยู่กับสภำพกำรเดินเครื่อง หลังจำกเติม
น้ำมันแล้ว ขันฝำถังน้ำมันกลับให้แน่นอย่ำนำน้ำมันเบนซินเข้ำใกล้ไฟที่หน้ำปัด เครื่องใช้ไฟฟ้ำ
เครื่องมือยนต์ และอื่นๆน้ำมันเชื้อเพลิงที่หกออกมิใช่แค่เพียงเป็นอันตรำยจำกไฟไหม้เท่ำนั้น ยังเป็น
สำเหตุของควำมเสียหำยทำงด้ำนสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ให้เช็ดครำบน้ำมันที่หกออกทันที

น้ามันเครื่อง
น้ำมันเครื่องเป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อประสิทธิภำพ และอำยุกำรใช้งำนของเครื่องยนต์ 4 จังหวะที่มีสำร
ชะล้ำงสิ่งสกปรก

น้ามันเครื่องที่แนะนา
ใช้น้ำมันเครื่อง 4 หวะที่มีคุณสมบัติขั้นต่ำคือมำตรฐำน API เกรดSE หรือใหม่กว่ำ (หรือเทียบเท่ำ) ให้
ทำกำรตรวจสอบสลำก API บนภำชนะบรรจุน้ำมันเครื่องทุกครั้งว่ำมีอักษร SE หรือใหม่กว่ำ (หรือ
เทียบเท่ำ)

30

5w-30.10w-30

-20 -10 0 10 20 30 40C


อุณหภูมิบรรยากาศ
แนะนำให้ใช้น้ำมันเกรด SAE 10W-30 สำหรับกำรใช้งำนทั่วไป สำหรับค่ำควำมหนืดอื่นๆในแผนภูมิ
จะใช้อุณหภูมิเฉลี่ยในพื้นที่ของท่ำนอยู่ในระดับที่ระบุไว้
การตรวจสอบระดับน้ามันเครื่อง
ตรวจสอบระดับน้ำมันเครื่องในขณะดับเครื่องยนต์ และตำแหน่งแนวรำบ
82

1. ถอดฝำปิด/ก้ำนวัดระดับน้ำมัน และเช็ดให้สะอำด
2. สวมฝำปิด/ก้ำนวัดระดับน้ำมันโดยไม่ต้องขันเกลียวเข้ำกับปำกที่เติมน้ำมันตรวจระดับน้ำมันที่แท่งวัด
ระดับน้ำมัน
3. ถ้ำระดับน้ำมันเครื่องอยู่ใกล้ หรือต่ำกว่ำระดับจำกัดล่ำงของแท่งวัดระดับน้ำมัน ให้เติมน้ำมันเครื่อง
โดยเติมถึงขีดจำกัดบน
4. ประกอบฝำปิด/ก้ำนระดับน้ำมันกลับ

การเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง
ถ่ำยน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วในขณะที่เครื่องยนต์ยังอุ่นอยู่ น้ำมันเครื่องที่อุ่นสำมำรถถ่ำยได้เร็ว และหมดจด
1. วำงภำชนะที่บรรจุให้เหมำะสมใต้เครื่องยนต์ เพื่อรองรับน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วหลังจำกนั้นให้ถอดฝำปิด/
ก้ำนวัดระดับน้ำมันเครื่อง โบ๊ลท์ถ่ำยน้ำมันเครื่องและแหวนรองออก
2. ปล่อยน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วไหลออกให้หมด หลังจำกนั้นประกอบโบ๊ลท์ถ่ำยน้ำมันเครื่อง และแหวนรอ
งวงใหม่กลับ และขันโบ๊ลท์ถ่ำยน้ำเครื่องให้แน่น
กรุณำกำจัดน้ำมันเครื่องที่ใช้แล้วโดยวิธีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เรำขอแนะนำให้คุณนำน้ำมันเครื่องที่
ใช้แล้วบรรจุในภำชนะที่ซีลกันรั่ว และส่งไปยังศูนย์รีไซเคิลท้องถิ่น หรือสถำนีให้บริกำรสำหรับกำรนำ
กลับมำใช้ใหม่ห้ำมทิ้งในถังขยะ เททิ้งบนพื้น หรือเทลงท่อระบำย
3. ณ ตำแหน่งเครื่องยนต์ในแนวรำบ ให้ทำกำรเติมน้ำมันเครื่องที่แนะนำถึงขีดจำกัดบน(ขอบล่ำงของรู
เติมน้ำมันเครื่อง)ควำมจุน้ำมันเครื่องยนต์: 1.1 ลิตร
4. ประกอบฝำปิด/ก้ำนวัดระดับน้ำมันเครื่องและขันให้แน่น

หม้อกรองอากาศ
หม้อกรองอำกำศที่สกปรก จะจำกัดปริมำณกำรไหลของอำกำศเข้ำสู่คำร์บูเรเตอร์ทำให้ประสิทธิภำพของ
เครื่องยนต์ลดลง ถ้ำเดินเครื่องในที่มีฝุ่นละอองมำกให้ทำควำมสะอำดไส้กรองให้ถี่กว่ำที่ระบุในตำรำงกำร
บำรุงรักษำ

กำรเดินเครื่องโดยปรำศจำกไส้กรองอำกำศ หรือไส้กรองอำกำศชำรุด จะทำให้มสี งิ่ สกปรกเข้ำสู่


เครื่องยนต์ และทำให้เครื่องยนต์สึกหรออย่ำงรวดเร็วควำมเสียหำยในระดับนี้จะทำให้เครือ่ งยนต์พังได้

การตรวจสอบ
ถอดฝำครอบหม้อกรองอำกำศ และตรวจสภำพไส้กรอง ทำควำมสะอำดหรือเปลี่ยนไส้กรองอำกำศที่
สกปรก ให้เปลี่ยนไส้กรองอำกำศที่ชำรุดทุกครั้ง ถ้ำเป็นหม้อกรองอำกำศชนิดอ่ำงน้ำมัน(แบบเปียก)ให้
ตรวจสอบระดับน้ำมันด้วย
83

ชนิดอ่างน้ามัน(แบบเปียก)และชนิดน้ามันไส้กรองเดี่ยว(แบบแห้ง)
1. ถอดน็อตหำงปลำและเปิดฝำปิดหม้อกรองอำกำศ และถอดฝำครอบออก
2. ถอดไส้กรองอำกำศจำกฝำครอบ ล้ำงฝำครอบ และไส้กรองด้วยน้ำสบู่อุ่นๆ เขย่ำ และปล่อยให้แห้ง
หรือทำควำมสะอำดด้วยตัวทำละลำยที่ไม่ติดไฟ และปล่อยให้แห้ง
3. จุ่มไส้กรองอำกำศในน้ำมันเครื่องสะอำด และบีบน้ำมันส่วนเกินออก ถ้ำมีน้ำมันอยู่ในไส้กรองฟอง
น้ำมันมำกเกินไป จะทำให้เครือ่ งยนต์มีควันมำก
4. ชนิดอ่ำงน้ำมัน(แบบเปียก)เท่ำนั้น:เติมน้ำมันเครื่องในตัวหม้อกรองอำกำศ ทำควำมสะอำดด้วยตัวทำ
ละลำยที่ไม่ติดไฟ และทำให้แห้ง
5. ชนิดอ่ำงน้ำมัน(แบบเปียก)เท่ำนั้น เติมน้ำมันเครื่องในตัวหม้อกรองอำกำศจนถึงเครื่องหมำย ระดับ
น้ำมัน โดยใช้น้ำมันชนิดเดียวกับที่แนะนำให้ใช้นำมั
้ นเครื่อง
6. ประกอบหม้อกรองอำกำศกลับ และขันน็อตหำงปลำให้แน่น

ถ้วยกรองน้ามันเชื้อเพลิง
การทาความสะอาด
1. เลื่อนคันก๊อกน้ำมันเชื้อเพลิงไปในตำแหน่ง OFF หลังจำกนั้นถอดถ้วยกรองน้ำมันเชื้อเพลิง และแหวน
ยำงออก
2. ล้ำงถ้วยตกตะกอนด้วยสำรทำละลำยที่ไม่ติดไฟ และทำให้แห้งสนิท
3. ใส่แหวนยำงที่คันก๊อกน้ำมันเชื้อเพลิง และประกอบถ้วยกรองน้ำมันเชื้อเพลิงและขันให้แน่น
4. เลื่อนคันก๊อกน้ำมันเชื้อเพลิงไปในตำแหน่ง ON และตรวจสอบกำรรั่วซึมเปลี่ยนแหวนยำงถ้ำพบกำร
รั่วซึม
หัวเทียน
หัวเทียนที่แนะนา : BPR6ES (NGK) W20EPR-U (DENSO)
กำรใช้หัวเทียนที่ไม่ถูกต้องสำมำรถทำให้เครื่องยนต์เสียหำยได้ถ้ำเพิ่งดับเครื่องยนต์ ปล่อยให้เย็นลงก่อน
ดำเนินกำรกับหัวเทียนสำหรับประสิทธิภำพที่ดี หัวเทียนต้องมีระยะเขี้ยวที่เหมำะสม และปรำศจำกเขม่ำ
1. ถอดปลั๊กหัวเทียนออก และทำควำมสะอำดสิ่งสกปรกรอบๆหัวเทียน
2. ถอดหัวเทียนด้วยประแจถอดหัวเทียนขนำด 21mm.
3. ตรวจสอบหัวเทียนด้วยสำยตำ เปลี่ยนใหม่ถ้ำพบควำมเสียหำย หรือมีกำรอุดตันอย่ำงมำก
หรือถ้ำแหวนซีลมีสภำพไม่ดีหรือถ้ำเขี้ยวหัวเทียนสึกหรอ
4. วัดระยะห่ำงเขี้ยวหัวเทียน โดยใช้ฟิลเลอร์เกจ ปรับตั้งระยะห่ำงโดยกำรค่อยๆดัดเขี้ยวหัว
เทียนระยะห่ำงควรอยู่ที่ 0.7-0.8 mm.
5. ค่อยๆประกอบหัวเทียนด้วยแรงมือเพื่อป้องกันกำรปีนเกลียว
6. เมื่อขันจนแน่นบ่ำแล้ว ให้ไปใช้ประขันหัวเทียนขนำด 21 mm. ขันอัดแหวนซีลเมื่อประกอบ
หัวเทียนอันใหม่ให้ขันอีกครึ่งรอบหลังจำกขันหัวเทียนด้วยมือจนนั่งบ่ำแล้ว เพื่ออัดแหวนซีล
เมื่อประกอบหัวเทียนอันเดิมให้ขันอีก 1/8-1/4 รอบหลังจำกขันหัวเทียนด้วยมือจนนั่งบ่ำแล้ว
เพื่ออัดแหวนซีล
7. ประกอบปลั๊กหัวเทียนเข้ำกับหัวเทียน
84

กำรขันหัวเทียนไม่แน่น สำมำรถทำให้เกิดควำมสูงและทำให้เครื่องยนต์เสียหำยได้ ส่วนกำรขันอัดแน่น


เกินไป ก็ทำให้เกลียวที่ฝำสูบเสียหำยได้

การทาความสะอาดและตรวจสอบตัวป้องกันประกายไฟ
ใช้แปรงขัดครำบเขม่ำคำร์บอนออกจำกตระแกลงตัวป้องกันประกำยไฟระวังอย่ำให้ตระแกลงชำรุด
เปลี่ยนตัวป้องกันประกำยไฟถ้ำมีกำรแตกหักหรือทะลุ

รอบเดินเบาการปรับแต่ง
ติดเครื่องในพื้นที่โล่งและอุ่นเครื่องยนต์ให้ถึงอุณหภูมิใช้งำน เลื่อนคันเร่งไปในตำแหน่งน้อยสุด หมุนสกรูหยุด
คันเร่งไปที่ค่ำควำมเร็วรอบเดินเบำมำตรฐำน ควำมเร็วรอบเดินเบำมำตรฐำน : 1,400+/-150 รอบต่อนำที

การดูรักษาปัญหาที่ไม่ได้คาดการณ์
ติดเครื่องยนต์ไม่ได้ สาเหตุที่เป็นไปได้ การแก้ไข
ตรวจสอบตาแหน่งควบคุม ก๊อกน้ำมันเชื้อเพลิง “OFF” เลื่อนคันก็อกไปที่ตำแหน่ง”on”
โช๊คเปิด “OPEN” เลื่อนคันโช๊คไปที่ตำแหน่งปิด
“CLOSED” เว้นแต่เครื่องยนต์
อุ่นอยู่
สวิทช์เครื่องยนต์ปิด “OFF” หมุนสวิทช์เครื่องยนต์ไปใน
ตำแหน่งเปิด “ON”
ตรวจสอบระดับน้ามันเครื่อง ระดับน้ำมันเครื่องต่ำ เติมน้ำมันเครื่องที่แนะนำ ให้ได้
ระดับกำรใช้งำน
ตรวจสอบน้ามันเชื้อเพลิง น้ำมันหมด เติมน้ำมัน
น้ำมันเชื้อเพลิงไม่ดี จัดเก็บ ถ่ำยน้ำมันในถังน้ำมัน และใน
เครื่องยนต์โดยไม่ถ่ำยน้ำมัน คำร์บูเรเตอร์ออก
เบนซินที่ไม่ดีลงไป เติมน้ำมันเบนซินใหม่ลงไป
ถอดและตรวจสอบหัวเทียน หัวเทียนเสีย อุดตันหรือมีระยะ จัดระยะเขี้ยวหัวเทียน หรือ
เขี้ยวหัวเทียนไม่เหมำะสม เปลี่ยนหัวเทียนใหม่
น้ำมันเชื้อเพลิงที่เปียกหัวเทียน ทำให้แห้ง และประกอบหัวเทียน
(น้ำท่วมเครื่องยนต์) เข้ำไปใหม่ ติดเครื่องยนต์โดยให้
คันเร่งอยู่ในตำแหน่งเปิดมำก
ที่สุด “MAX”
นาเครื่องยนต์ไปให้ตัวแทน ตะแกรงกรองน้ำมันเชื้อเพลิงอุด เปลี่ยนหรือซ่อมแซมชิ้นส่วนที่
ตัน คำร์บูเรเตอร์ทำงำน เสียหำยตำมควำมจำเป็น
ผิดพลำดระบบจุดระเบิดทำงำน
ผิดพลำด วำล์วค้ำง อื่นๆ
85

เครื่องยนต์ไม่มีกาลัง สำเหตุที่เป็นไปได้ กำรแก้ไข


ตรวจสอบไส้กรองอากาศ ไส้กรองอำกำศอุดตัน ทำควำมสะอำดหรือเปลี่ยนไส้
กรองอำกำศ
ตรวจสอบน้ามันเชื้อเพลิง น้ำมันเชื้อเพลิงไม่ดี จัดเก็บ ถ่ำยน้ำมันลงในถังน้ำมัน และใน
เครื่องยนต์โดยไม่ถ่ำยน้ำมัน คำร์บูเรเตอร์ออก เติมน้ำมัน
เบนซินออก หรือเติมน้ำมัน เบนซินลงไปใหม่
เบนซินที่ดีลงไป
นาเครื่องยนต์ไปให้ตัวแทน ตะแกรงกรองน้ำมันเชื้อเพลิงอุด เปลี่ยนหรือซ่อมแซมชิ้นส่วนที่
ตัน คำร์บูเรเตอร์ทำงำน เสียหำยตำมควำมจำเป็น
ผิดพลำดระบบจุดระเบิดทำงำน
ผิดพลำด วำล์วค้ำง อื่นๆ
47

เอกสารอ้างอิง

จักรวาล ลพบุรี , 2553. เครื่องย่อยกิ่งไม้และย่อยไม้ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :


http://www.pantipmarket.com/items/9549711 (9 กันยายน 2553).
กระทิงนครฟาร์ม , 2552. เครื่องย่อยกิ่งไม้เล็ก [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :
http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=6890.0 (4 กันยายน 2553).
เมษาโรจน์ คาอยู่ 2550. เครื่องย่อยผักตบชวา [ออนไลน์]เข้าถึงได้จาก :
http://www.patipongmachine.com ( 25 กันยายน 2553).
สมปอง วิประทุมและวีระ โง่นแก้ว, 2552. เครื่องย่อยกิ่งไม้ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :
http://www.komchadluek.net/detail/20090310/4618 ( 6 กันยายน 2553).
ปฎิพงษ์. 2545. เครื่องบดย่อยซากพืช. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :
http://www.patipongmachine.com ( 8 กันยายน 2553).
วินิจ เสิรมสิริกูล. 2545. สายพาน. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :
http://www.gmcworkshop.com/new_bosch/bosch13.asp (2 ตุลาคม 2553).
อนันต์ วงศ์กระจ่าง. 2529. การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ :
โอ.เอส.พริ้นเฮาส์.
วริทธ์ อิ้งภากรณ์, และชาญ ถนัดงาน. 2536. การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกล _. พิมพ์ครั้ง
ที่ 2. กรุงเทพฯ : ซีเอ็นยูเคชั่น.
บรรเลง ศรนิล, และประเสริฐ ก๊วยสมบูรณ์. 2526. ตารางเหล็กสาหรับผู้รับเหมาก่อสร้างและ
วิศวกร. พิมพ์ครั้งที2่ . กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์อักษรวิทยา.
86

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : นายโชคอนันต์ พันหลวง


รหัสประจาตัวนิสิต : 53550428
ปริญญานิพนธ์ : เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
สาขา : เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนไผ่งามวิทยา จ.ลาปาง
: มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแจ้ห่มวิทยา จ.ลาปาง
: ปวส. วิทยาลัยเทคนิคลาปาง จ.ลาปาง
สถานที่ทางาน : บริษัท ไทยซัมมิท ออโต้พาร์ท อินดัสทรี จากัด
87

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : นายสมมิตร นวลมา


รหัสประจาตัวนิสิต : 53550438
ปริญญานิพนธ์ : เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
สาขา : เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนระยองวิทยาคม จ.ระยอง
: ปวช. วิทยาลัยเทคนิคระยอง จ.ระยอง
: ปวส. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตนนทบุรี จ.นนทบุรี
สถานที่ทางาน : หจก.เอสทีเอสซับพลาย จ.ระยอง
88

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ : นายอนุรักษ์ เทศสวัสดิ์


รหัสประจาตัวนิสิต : 53550443
ปริญญานิพนธ์ : เครื่องย่อยใบไม้ กิ่งไม้
สาขา : เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา : มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนชลบุรี สุขบท จ.ชลบุรี
: ปวช. วิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี จ.ชลบุรี
: ปวส. วิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี จ.ชลบุรี
สถานที่ทางาน : บริษัท ออโตโมทีฟ โมลด์ เทคโนโลยี จากัด จ.ระยอง

You might also like