You are on page 1of 17

104

เลข ศูนย์ ᪀ (ใช้ได้ทั้งเลขโหราและเลขในธรรม)


1

เลข ศูนย์ ᪀ ทั้งเลขโหราและเลขในธรรมจะมีลักษณะเหมือนกัน คือ มีลักษณะเป็นวงกลม


แป้นมีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัว วะ โดยจะเขียนอยู่ชิดกับเส้นบรรทัดบน

วิธีการลากเส้น :
เริ่มตั้งแต่จุดที่ 1 เขียนเป็นวงกลม โดยจะเขียนเวียนซ้ายหรือเวียนขวาหรือเริ่มตรงไหน
อย่างไรก็ได้แล้วแต่ความถนัดของใครของมัน

ข้อสังเกต :
1. จะเล็กกว่าพยัญชนะทั่วไปครึ่งหนึ่ง
2. บางตำราก็อาจจะเขียนใหญ่เท่าพยัญชนะได้ แต่จะมีความเป็นวงรีแป้นมากกว่า

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


105

เลขโหรา

หนึ่ง ᪁
2

1
3
4

วิธีการลากเส้น :
เริ่มขมวดหัวในจุดที่ 1 แล้วลากขึ้นไปยังจุดที่ 2 จากนั้นหักลงด้านขวาเล็กน้อยแล้วก็ลาก
ตรงลงมายังจุดที่ 3 แล้วหักซ้ายต่อไปยังจุดที่ 4 แล้วตวัดเก็บหางขนานเส้นเดิมมายังจุดที่ 3

ข้อสังเกต :
1. มีลักษณะคล้ายสระอา แต่จะมีอัตราส่วนที่เล็กกว่าคือประมาณ 1.5:3
2. ส่วนด้านขวาจุดที่ 2 - จุดที่ 3 อาจจะตรงหรือโค้งเล็กน้อยก็ได้

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


106

สอง ᪂
2

วิธีการลากเส้น :
เริ่มขมวดหัวในจุดที่ 1 แล้วลากขึ้นไปยังจุดที่ 2 จากนั้นหักลงด้านขวาเล็กน้อยแล้วก็ลาก
ตรงลงมาเลยเส้นฐานเล็กน้อยถึงจุดที่ 3 แล้วหักซ้าย 45 องศา ลงมายังจุดที่ 4

ข้อสังเกต :
1. จุดที่ 3 - จุดที่ 4 ให้มีความยาวพอสมควรไม่ยาวน้อยไปหรือมากเกินไป

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


107

สาม ᪃
2

วิธีการลากเส้น :
เริ่มขมวดหัวในจุดที่ 1 แล้วลากขึ้นไปยังจุดที่ 2 จากนั้นโค้งวนมาเรื่อยๆ ถึงจุดที่ 3 แล้ว
หักลง 45 องศา มายังจุดที่ 4

สี่ ᪄
1

วิธีการลากเส้น :
เริ่มขมวดหัวในจุดที่ 1 แบบทวนเข็มนาฬิกาแล้วโค้งมายังจุดที่ 2 จากนั้นลากโค้งไปยัง
จุดที่ 3 แล้วลากตรงลงมาเลยแนวเส้นฐานนิดหน่อยมายังจุดที่ 4 แล้วหักซ้าย 45 องศา ลงมายัง
จุดที่ 5

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


108

ห้า ᪅
2 4

3
1

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (เป็นวงกลมไม่ต้องใหญ่มากนักจะมีรูหรือไม่ก็ได้) แล้ว
ลากไปด้านบนเล็กน้อยถึงจุดที่ 2 จากนั้นหยักลงมายังจุดที่ 3 แล้วกลับขึ้นไปถึงจุดที่ 4 แล้วหัก
ลงด้านขวาเล็กน้อยแล้วก็ลากตรงลงมาเลยเส้นฐานเล็กน้อยถึงจุดที่ 5 แล้วหักซ้าย 45 องศา ลง
มายังจุดที่ 6

ข้อสังเกต :
1. ลักษณะการหยักหัวจะไม่หยักลึกมากนัก และในจุดที่ 3 จะไม่หยักแหลมแต่จะเป็นหยัก
แบบคลื่นมากกว่า

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


109

หก ᪆

4 2

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (เป็นวงกลมไม่ต้องใหญ่มากนักจะมีรูหรือไม่ก็ได้) แบบ
ทวนเข็มนาฬิกาแล้วลากโค้งลงมาถึงจุดที่ 2 จากนั้นหักซ้ายลงมายังจุดที่ 3 แล้วเฉียง 45 องศา
ถึงจุดที่ 4 จากนั้นลากตรงขึ้นมามาเลยเส้นบรรทัดเล็กน้อยถึงจุดที่ 5 แล้วหักโค้งไปทางขวาสิ้น
สุดในจุดที่ 6

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


110

เจ็ด ᪇
2 4

3
1

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (เป็นวงกลมไม่ต้องใหญ่มากนักจะมีรูหรือไม่ก็ได้) แล้ว
ลากไปด้านบนเล็กน้อยถึงจุดที่ 2 จากนั้นหยักลงมายังจุดที่ 3 แล้วกลับขึ้นไปถึงจุดที่ 4 แล้วหัก
ลงด้านขวาเล็กน้อยแล้วก็ลากตรงลงมาเลยเส้นฐานเล็กน้อยถึงจุดที่ 5 แล้วหักขวาโค้งลงมายัง
จุดที่ 6

ข้อสังเกต :
1. การหยักหัวจะไม่หยักลึกมากนัก และในจุดที่ 3 จะไม่หยักแหลมแต่จะเป็นหยักแบบคลื่น
มากกว่า
2. ลักษณะสัณฐานคล้ายกับเลขห้า ᪅ ที่แตกต่างกันคือเลขห้า ᪅ หางจะไปทางด้านซ้าย ส่วน
เลขเจ็ด ᪇ หางจะไปทางด้านขวา

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


111

แปด ᪈
3

4
1
2

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (อาจจะให้หัวเป็นวงกลม) แล้วไปด้านซ้ายเล็กน้อยถึง
จุดที่ 2 โค้งขึ้นไปด้านบนจุดที่ 3 แล้วลากลงมาถึงจุดที่ 4 จากนั้นลากลงมาจุดที่ 5 แล้วเก็บหาง
ตวัดขนานไปกับเส้นแม่ถึงประมาณจุดที่ 4 เหมือนเดิม

ข้อสังเกต :
1. เลข 8 จะมีลักษณะคล้ายหรือเหมือนกับอักษร ᨣ เพราะฉะนั้นควรพิจารณาให้ดีว่าตัวไหน
คือเลข 8 ตัวไหนคืออักษร ᨣ วิธีสังเกตอย่างหนึ่งคือ ถ้าเป็นเลข 8 มักจะอยู่รวมกับเลข
อื่นๆ หรือจะอยู่ห่างจากอักษรตัวอื่นๆ เล็กน้อย
2. โดยส่วนมากเลข 8 จะมีอัตราส่วนที่แคบกว่าอักษร ᨣ

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


112

เก้า ᪉
3

4 2

5 6

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (เป็นวงกลมไม่ต้องใหญ่มากนักจะมีรูหรือไม่ก็ได้) แบบ
ตามเข็มนาฬิกาแล้วลากโค้งขึ้นไปถึงจุดที่ 2 จากนั้นหักซ้ายขึ้นไปยังจุดที่ 3 แล้วเฉียง 45 องศา
ถึงจุดที่ 4 จากนั้นลากตรงลงมามาเลยเส้นฐานเล็กน้อยถึงจุดที่ 5 แล้วหักโค้งไปทางขวาสิ้นสุด
ในจุดที่ 6

ข้อสังเกต :
1. เลข 9 มีลักษณะเหมือนกับเลข 6 กลับด้านลงล่าง

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


113

เลขในธรรม

หนึ่ง ᪑
3

1 4
2

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (อาจจะให้หัวเป็นวงกลม) แล้วไปด้านซ้ายเล็กน้อยถึง
จุดที่ 2 โค้งขึ้นไปด้านบนจุดที่ 3 แล้วลากลงมาถึงจุดที่ 4 ขมวดเป็นบ่วง (ไม่ต้องใหญ่มากนัก)
แล้วลากต่อไปยังจุดที่ 5

ข้อสังเกต :
1. มีลักษณะคล้ายเลข 8 โหรา จะแตกต่างกันที่ มีการขมวดในจุดที่ 4 ไปยังจุดที่ 5 โดยไม่
ต้องเก็บหาง
2. จากจุดที่ 4 ทำเป็นบ่วงแล้วอาจจะลากลงมาตามเส้นสีเหลืองได้ตามความเหมาะสม

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


114

สอง ᪒

2
3

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (ไม่ต้องใหญ่มากนัก) แล้ววนตามเข็มนาฬิกาไปหยัก
ในจุดที่ 2 จากนั้นลากต่อไปยังจุดที่ 3 แล้วลากตรงขึ้นไปเลยเส้นบรรทัดเล็กน้อยถึงจุดที่ 4 จาก
นั้นโค้ง 45 องศา ไปสิ้นสุดยังจุดที่ 6

ข้อสังเกต :
1. บางตำราอาจจะไม่ทำหยักใจจุดที่ 2 โดยสามารถทำหัวเป็นวงกลมได้ หัววงกลมไม่ต้อง
ใหญ่มากนัก

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


115

สาม ᪓

1 3
7

5
2 6

วิธีการลากเส้น :
ในช่วงแรกจากจุดที่ 1 - จุดที่ 7 มีวิธีการเขียนเหมือนกันอักษร ᩈ พอถึงจุดที่ 7 แล้วให้ขีด
ตรงขึ้นไปเลยเส้นบรรทัดเล็กน้อยถึงจุดที่ 8 จากนั้นขีดโค้งซ้ายขึ้นไป 45 องศาไปยังจุดที่ 9 แล้ว
ตวัดย้อนขนานไปกับเส้นเดิม ไปจบที่จุดที่ 7 เหมือนเดิม

ข้อสังเกต :
1. หางที่ลากขนานลงมาอาจจะสิ้นสุดในตำแหน่งเส้นบรรทัดก็ได้ หรือจะเลยจุดที่ 7 ลงมา
ได้อีกนิดหน่อย ให้พิจารณาตามความเหมาะสม

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


116

สี่ ᪔
7

1
3 4
6

5
8 9

วิธีการลากเส้น :
เริ่มด้วยการทำหัวในจุดที่ 1 (จะทำหัวเล็กกว่านี้ก็ได้) เมื่อทำหัวเสร็จแล้วก็ลากมายังจุดที่
2 แล้วก็หยักเข้าไปถึงจุดที่ 3 ลากออกมายังจุดที่ 4 จากนั้นโค้งลงมาด้านล่างซ้ายถึงจุดที่ 5
แล้วกระดกนิดหน่อยไปหยุดในจุดที่ 6 แล้วลากตรงขึ้นไปโค้งในจุดที่ 7 แล้วลากขนานลงมา
เลยเส้นฐานเล็กน้อยมายังจุดที่ 8 แล้วหักโค้งไปทางขวาสิ้นสุดในจุดที่ 9

ข้อสังเกต :
1. จากจุดที่ 1 - จุดที่ 6 จะมีวิธีเขียนเหมือนอักษร ᨴ
2. จุดที่ 7 , 8 และ 9 มีวิธีการลากเส้นเช่นเดียวกับส่วนท้ายของเลขเก้าโหรา ᪉

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


117

ห้า ᪕

11
11
10 10
1

7 7

2
3
1
1
3
4 4
6
6
5 5

8 แบบที่ 1 9 แบบที่ 2

เลขห้า ᪕ ในธรรม มีวิธีการเขียน 2 แบบหลักๆ ที่มักพบเห็นได้บ่อย

วิธีการลากเส้น แบบที่ 1 :
ขั้นตอนแรก จุดที่ 1 - จุดที่ 9 (เขียนเหมือนกับเลขสี่ ᪔ ในธรรม)
ขั้นตอนที่ 2 ต่อจากจุดที่ 7 ลากเฉียงขึ้นไปพร้อมทั้งทำเป็นบ่วงทวนเข็มนาฬิกาในจุดที่
10 เมื่อทำบ่วงเสร็จก็โค้งขึ้นไปสิ้นสุดยังจุดที่ 11 (เส้นประสีเขียว)

วิธีการลากเส้น แบบที่ 2 :
จุดที่ 1 - จุดที่ 7 เขียนเหมือนแบบแรก แต่พอถึงจุดที่ 7 ไม่ต้องเขียนลงมา ให้ขีดต่อขึ้นไป
เหมือนขั้นตอนที่ 2 ในแบบที่ 1 ได้เลยโดยไม่ต้องพักก็ได้

* ควรเลือกใช้แบบใดแบบหนึ่งทั้งระบบ ไม่ควรใช้ผสมกันเพราะจะทำให้คนอ่านสับสน

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


118

หก ᪖

10

2
3
8
4
6
5 7

วิธีการลากเส้น :
ในช่วงแรกจากจุดที่ 1 - จุดที่ 8 มีวิธีการเขียนเหมือนกันอักษร ᨭ พอถึงจุดที่ 8 แล้วให้ขีด
ตรงขึ้นไปเลยเส้นบรรทัดเล็กน้อยถึงจุดที่ 9 จากนั้นขีดโค้งซ้ายขึ้นไป 45 องศาไปยังจุดที่ 10
แล้วตวัดย้อนขนานไปกับเส้นเดิม ไปจบที่จุดที่ 8 เหมือนเดิม

ข้อสังเกต :
1. หางที่ลากขนานลงมาอาจจะสิ้นสุดในตำแหน่งเส้นบรรทัดก็ได้ หรือจะเลยจุดที่ 8 ลงมา
ได้อีกนิดหน่อย ให้พิจารณาตามความเหมาะสม

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


119

เจ็ด ᪗

1 8

2
3

4
6

5 7

วิธีการลากเส้น :
จุดที่ 1 - จุดที่ 8 มีวิธีการเขียนเหมือนกันอักษร ᨭ แต่จะมีการตวัดเก็บหางแล้วลากขนาน
เส้นเดิมและยาวลงมาถึงจุดที่ 9

ข้อสังเกต :
1. ในบางลายมืออาจจะไม่ได้ลากหางยาวลงมา ซึ่งจะเขียนเหมือนอักษร ᨭ ก็มี

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ


120

แปด ᪘
2 4

5
3
1
8

7
6

วิธีการลากเส้น :
เริ่มต้นด้วยการสร้างหัวในจุดที่ 1 (เป็นวงกลมไม่ต้องใหญ่มากนักจะมีรูหรือไม่ก็ได้) แล้ว
ลากไปด้านบนเล็กน้อยถึงจุดที่ 2 จากนั้นหยักลงมายังจุดที่ 3 แล้วกลับขึ้นไปถึงจุดที่ 4 หักลงมา
เล็กน้อยถึงจุดที่ 5 จากนั้นก็ลากตรงลงมาผ่านเส้นครึ่งบรรทัดเล็กน้อยแล้วทำเป็นบ่วงโดยวน
ทวนเข็มนาฬิกาในจุดที่ 6 แล้วลากโค้งลงไปในจุดที่ 7 หักให้แหลมโค้งไปตัดเส้นเดิมในจุดที่ 8
จากนั้นโค้งลงมาตามเส้นจนสิ้นสุดในจุดที่ 9

ข้อสังเกต :
1. ในบางลายมือ พอถึงจุดที่ 8 อาจจะไม่โค้งลงด้านล่าง แต่จะทำเหมือนส่วนท้ายของ
อักษร ᩈ ก็ได้ (ตามเส้นประสีเหลือง) หรืออาจจะทำในส่วนท้ายเหมือนกับเลขสาม ᪓ ใน
ธรรม หรือเลขหก ᪖ ในธรรม ก็ได้
2. สิ่งสำคัญที่สุดของเลขแปดในธรรมก็คือในกรอบเส้นประสีเขียว จะต้องเขียนให้ชัดเจน

ᨻᩢ᩠ᨷᩃᨠ᩠ᨡ ᨱᩋᨠ᩠ᨡ ᩁᨵᨾ᩠ᨾ᩼ᩃᩢᩣ᩠ᨶᨶᩣ

You might also like