You are on page 1of 11

โครงงาน

เรื่ อง เครื่ องศิราภรณ์(ตัวพระ)

จัดทำโดย

นาย พัทธดนย์ สงหมด เลขที่ 2


นางสาวฐิติมนต์ สงชู เลขที่ 18
นางสาว กมลชนก ชงัดเวช เลขที่ 24

และคณะผูจ้ ดั ทำ
เสนอ

คุณครู ปนัดา กิจนุรักษ์


โรงเรี ยน ควนขนุน จังหวัด พัทลุง
โครงงาน
เรื่ อง เครื่ องศิราภรณ์(ตัวพระ)

จัดทำโดย
นาย ภูวเรศ พุม่ สะอาด เลขที่ 1
นาย พัทธดนย์ สงหมด เลขที่ 2
นาย มงคลชัย ศรสุภา เลขที่ 4
นางสาวชนัญชิดา เกิดตลอด เลขที่ 8
นางสาว สุ ภาวดี แกล้วทนงค์ เลขที่ 14
นางสาวกนกวรรณ ทองยอดอินทร์ เลขที่ 15
นางสาว กัญญาณัฐ อุปมัย เลขที่ 16
นางสาว จารุ วรรณ เทพกล่ำ เลขที่ 17
นางสาว ฐิติมนต์ สงชู เลขที่ 18
นางสาว ณัฐธิดา แสงเกิด เลขที่ 19
นางสาว ภาวิกา สุ ดแจ้ง เลขที่ 21
นางสาว กมลชนก ชงัดเวช เลขที่ 24
นางสาว กมลชนก พละพึง เลขที่ 25
นางสาว ตรี รัตน์ เหรี ยญไกร เลขที่ 26
นางสาว พรพนา ดำราม เลขที่ 28

เสนอ
คุณครู ปนัดา กิจนุรักษ์
โรงเรี ยน ควนขนุน จังหวัด พัทลุง
สารบัญ
เรื่ อง หน้า
เเนวคิดที่มาเเละความสำคัญ 1
วัตถุประสงค์ ของการศึกษาค้นคว้ า 2
เป้ าหมายของตัวชี้วดั ความสำเร็จ 2
ข้ อเสนอแนะ 2
ขั้นตอนการดำเนินงาน 3
 เตรี ยมอุปกรณ์สำหรับการทำเเบบศิราภรณ์(ตัวพระ)
 เตรี ยมอุปกรณ์สำหรับการทำดินตีลาย
 อุปกรณ์สำหรับการติดลาย
ขั้นตอนการทำเเบบศิราภรณ์ (ตัวพระ) 4-6
 ขนาดของปะเก็น
 ร่ างแบบปะเก็น
 ประกอบแบบปะเก็น
ขั้นตอนการทำดินตีลาย 7
ขั้นตอนการกะแหนะลาย 8

เเนวคิดที่มาเเละความสำคัญ
ศิราภรณ์ คือ เครื่ องประดับศรี ษะ ซึ่งปรากฏในศัพท์ และหลักฐานครั้ งแรกในกฎมณเฑียรบาลครั้งสมเด็จพระรามาธิบดี
ที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ที่ก ำหนดเครื่ องแต่งกายขององค์พระมหากษัตริ ย ์ พระอัครมเหสี และเจ้านายชั้นสูงองค์อื่นๆ ตลอด
จนขุนนางว่าต้องแต่งกายและใช้เครื่ องประดับอย่างไรในพระราชพิธีโดยปรากฎชื่อต่างกัน ในที่น้ ี เราจะกล่าวถึงเครื่ อง
ศิราภรณ์หรื อเครื่ องประดับ มาจากคำว่า "ศีรษะ" และ "อาภรณ์" หมายความถึงเครื่ องประดับสำหรับใช้สวมใส่ศีรษะเช่น
ชฎามงกุฎ ซึ่งเป็ นชื่อเรี ยกเครื่ องประดับศีรษะละครตัวพระ ที่มีววิ ฒั นาการมาจากการโพกผ้าของพวกชฏิล ชฏาที่ใช้ใน
การแสดงโขนละครในปัจจุบนั ช่างผูช้ ำนาญงานมักจะนิยมทำเป็ นแบบมีเกี้ยว 2 ชั้น มีกรอบหน้า กรรเจียกจร ติดดอกไม้
ทัด ดอกไม้ร้าน ประดับตามชั้นเชิงบาตร ซึ่งลักษณะของชฏานี้ เป็ นการจำลองรู ปแบบมาจากพระชฏาของพระมหา
กษัตริ ยใ์ นสมัยรัตนโกสิ นทร์ นอกจากชฏามงกุฏแล้ว ยังมีชฎายอดชัยที่เป็ นชฏามียอดแหลมตรง มีลูกแก้ว 2 ชั้นประดับ
เป็ นชฏาที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายในการแสดงโขนและละคร ซึ่งที่มาของชฏายอดชัยนั้น สันนิษฐานว่าเป็ นการสร้าง
เลียนแบบพระชฏายอดชัยที่เป็ นเครื่ องทรงต้น ในรู ปแบบและทรวดทรง มีความแตกต่างกันที่วสั ดุและรายละเอียดในการ
ตกแต่งเท่านั้น รัดเกล้ายอด รัดเกล้าเปลว กรอบพักตร์หรื อกระบังหน้า ปันจุเหร็ จ หรื อแม้แต่หวั โขน ก็จดั อยูใ่ นประเภท
เครื่ องศิราภรณ์เช่นกัน
ในโครงงานนี้ จะเสนอเครื่ องประดับศิราภรณ์จากกระดาษปะเก็น จัดทำขึ้นเพื่อส่ งเสริ มการอนุรักษ์และสื บสาน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและสนับสนุนให้เกิดการเรี ยนรู้พฒั นาทักษะในการประดิษฐ์เครื่ องประ
ดับศิราภรณ์ให้เป็ นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ และเพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างงานสร้างรายได้ให้กบั ตนเองและครอบครัว
ถือว่าเป็ นภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่า อีกทั้งยังเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้กบั เครื่ องประดับศิราภรณ์ให้มีราคาและเกิดความภาคภูมิใจ
สามารถใช้ประโยชน์ในวิชานาฏศิลป์ หรื อการแสดงนาฏศิลป์ ของโรงเรี ยนได้อีกด้วย

วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
1.เพื่อการศึกษาและเรี ยนรู้เกี่ยวกับเครื่ องศิราภรณ์(ตัวพระ)
2.เพื่อเรี ยนรู้วิธีการทำเครื่ องศิราภรณ์(ตัวพระ)
3.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
4.เพื่อฝึ กการทำงานเป็ นหมู่คณะ
5.เพื่อการพัฒนาต่อไปสู่อาชีพ

เป้ าหมายของตัวชี้วดั ความสำเร็ จ


ก่อให้เกิดทักษะในการสร้างเครื่ องแต่งกายนาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ศิลปะ มีอุปกรณ์ และเครื่ องแต่งกานที่สามารถใช้งาน
ได้เพิ่มมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ
เห็นสมควรว่าควรดำเนินการต่ออย่างทุกปี เพื่อให้ผเู้ รี ยนเกิดทักษะในการสร้างเครื่ องประดับและเครื่ องแต่งกายนาฏศิลป์
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.เตรียมอุปกรณ์สำหรับการทำเเบบศิราภรณ์ (ตัวพระ)
-ปะเก็น
-ดินสอ
-กรรไกร/คัดเตอร์
-ไม้บรรทัด
-กาวร้อน
2.เตรียมอุปกรณ์สำหรับการทำดินตีลาย
-แป้ งข้าวเจ้า
-กระดาษทิชชู่
-กาวลาแท็ก 32 ออน
-นํ้ามันพืชขวดเล็ก
-ปูนยาแนว (สี ตามชอบ เน้นสี เข้มเพื่อการมองเห็นลาย)
-ขวดใส่ ดิน (มีฝาปิ ดสนิดกันลมเข้า)
-ถาดนวดดิน
-หม้อสำหรับกวนดิน
3.อุปกรณ์ สำหรับการติดลาย
-แม่พิมพ์ลายและไม้กระแหนะ
-กาวลาแท็ก
-สเปรย์สีเทาดาน
-สเปรย์สีแดงแวว
-เฟล็กซ์
-ทองวิทยาศาสตร์
-เครื่ องพลอยประดับ

1.ขั้นตอนการทำเเบบศิราภรณ์(ตัวพระ)
1.1 ขนาดของปะเก็น

ตัวอักษร ความกว ้าง(เซนติเมตร) ความสูง(เซนติเมตร) จำนวนเส ้น

a 1.5 - 1

b 2.7 - 1

c 1 - 1

d 1.1 - 4

e 0.5 - 5

f 1 - 1

g 0.5 - 1

h 1.2 - 1

i 1.5 - 1

j 2 - 1

k 1 - 1

l 2 - 1

m1 15 14 1

m2 15 14 1
n 10.5 7 1

o1 13.5 18.5 1

o2 13.5 18.5 1

p 20 11 1

1.2 ร่ างแบบปะเก็น
1.2.1 นำชิ้นส่ วนต้นแบบมาร่ างตามแบบลงปะเก็น

1.2.2 เมื่อร่ างแบบเสร็ จให้ตดั ด้วยกรรไกรหรื อคัดเตอร์

1.2.3 เมื่อตัดแบบเสร็จครบตามจำนวนชิ้นให้นำชิ้นส่ วนของแบบมาประกอบแล้วติดด้วยกาวร้อน สามารถประกอบตามหัวข้อ


1.3 ประกอบแบบปะเก็น
เมื่อประกอบเสร็ จจะได้เครื่ องศิราภรณ์ (ตัวพระ) ดัง่ ภาพด้านบน

2.ขั้นตอนการทำดินตีลาย

2.1 นำกระดาษทิชชูมาฉี กเป็ นชิ้นเล็กๆ มาผสมกับกาวลาแท็ก 32 และแป้ งข้าวจ้าว ใส่ ในหม้อกวนดิน จากนั้นผสมนํ้าลงไปเล็ก
น้อย และทำการกวนจนเนื้ อดินมีความหนืด

(ใส่ รูป)

2.2 นำดินที่ได้จากการกวนมาพักไว้ในถาดจนเหลือเป็ นอุณหภูมิหอ้ ง จากนั้นนำแป้ งข้าวเจ้าและปูนยาแนวมานวดเข้ากับดิน


ที่พกั ไว้ จนทุกอย่างผสมเข้ากันเป็ นเนื้ อเดียว

2.3 นำดินที่ได้มานวดกับนํ้ามันพืชเล็กน้อย และนำไปเก็บในขวดฝาใส่ ดินที่เตรี ยมไว้เผือ่ ไม่ให้ดินแข็งเป็ นก้อน และพร้อมนำ


ไปใช้งานในขั้นตอนการกะแหนะลาย
3.ขั้นตอนการกะแหนะลาย

3.1 ทานํ้ามันพืชลงในพิมพ์ลายที่เราต้องการกดลายด้วยพูก่ นั เล็กน้อย

(ใส่ รูป)

3.2 นำดินมากดลงในพิมพ์ลายที่ทานํ้ามันพืช และใช้ไม้กระแหนะลายออกจากพิมพ์ โดยค่อยๆกระแหนะลายออกอย่างระวังไม่


ให้ลายเสี ยหาย และดินที่ใช้กระแหนะควรแบ่งออกมาจากขวดเก็บที่ละนิดหน่อยป้ องกันดินแห้ง

(ใส่ รูป)

3.3 นำดินที่กระแหนะลายแล้วมาติดที่เครื่ องศิราภรณ์(หัวพระ) ตามนำแหน่งที่ตอ้ งการจะให้เห็นลวดลวย โดยใช้กาวลาแท็กใน


การติดลาย

(ใส่ รูป)

4.ขั้นตอนการรองพื้นเทาดาน

(ใส่ รูป)

5.ขั้นตอนการพ่นสเปรย์แดงแวว
(ใส่ รูป)

6.ขั้นตอนการทาเฟล็ก
(ใส่ รูป)

7.ขั้นตอนการติดทองวิทยาศาสตร์
(ใส่ รูป)
8.ขั้นตอนการประดับพลอย
(ใส่ รูป)

You might also like