You are on page 1of 128

°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√

คูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน
คณิตศาสตร เลม ๑
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔

ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔


จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 974 - 01 - 3572 – 7


พิมพครั้งที่สอง
พ.ศ. ๒๕๔๘

องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
‡ÎµœÎµ

­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸ (­­ªš.) ŗo¦´¤°®¤µ¥‹µ„


„¦³š¦ªŠ«¹„¬µ›·„µ¦Ä®o¡´•œµ®¨´„­¼˜¦„µ¦«¹„¬µ ´Êœ¡ºÊœ“µœ ¡»š›«´„¦µ 2544 °Š„¨»n¤­µ¦³
„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o‡–·˜«µ­˜¦r „¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼oª·š¥µ«µ­˜¦r ¦ª¤š´ÊŠ­µ¦³„µ¦°°„Â¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸
¨³­µ¦³Áš‡ÃœÃ¨¥¸­µ¦­œÁš«Äœ„¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o„µ¦Šµœ°µ¸¡Â¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸ ˜¨°—‹œ
‹´—šÎµ­ºÉ°„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o˜µ¤®¨´„­¼˜¦—´Š„¨nµª

‡¼n¤º°‡¦¼Á¨n¤œ¸ÊÁž}œ­nªœ®œ¹ÉŠ °Š­ºÉ°„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o˜µ¤®¨´„­¼˜¦ °Š„¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o


‡–·˜«µ­˜¦r čo ž ¦³„°„µ¦Á¦¸ ¥ œ„µ¦­°œ‡ª‡¼n „´  ®œ´ Š ­º ° Á¦¸ ¥ œ­µ¦³„µ¦Á¦¸ ¥ œ¦¼o ¡ºÊ œ “µœ
‡–·˜«µ­˜¦r Á¨n¤ 1 ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 4 Á¡ºÉ°Ä®o‡¦¼Ÿ¼o­°œÄoÁž}œÂœªšµŠÄœ„µ¦‹´—„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o
‡–·˜«µ­˜¦rÄ®oŸ¼oÁ¦¸¥œ¦¦¨»¤µ˜¦“µœ„µ¦Á¦¸¥œ¦¼oš¸É„ε®œ—Ūo

Ĝ„µ¦‹´—šÎµ‡¼n¤º°‡¦¼Á¨n¤œ¸Ê ­­ªš. ŗo¦´‡ªµ¤¦nª¤¤º°°¥nµŠ—¸¥·ÉŠ‹µ„‡–³°µ‹µ¦¥r‹µ„


æŠÁ¦¸¥œÂ¨³¤®µª·š¥µ¨´¥ ­­ªš. ‹¹Š ° °‡»–š»„šnµœÅªo – š¸Éœ¸Ê ¨³®ª´ŠÁž}œ°¥nµŠ¥·ÉŠªnµ‡¼n¤º°‡¦¼
Á¨n¤œ¸Ê‹³Áž}œž¦³Ã¥œr­Îµ®¦´‡¦¼Ÿ¼o­°œ‡–·˜«µ­˜¦rÄ®o­µ¤µ¦™œÎµÅžÄo®¦º°ž¦´ÄoÄ®oÁ®¤µ³­¤
„´«´„¥£µ¡ °ŠŸ¼oÁ¦¸¥œ
®µ„¤¸ °o Á­œ°Âœ³Ä—š¸‹É ³šÎµÄ®o‡¤¼n °º ‡¦¼Á¨n¤œ¸­Ê ¤¼¦–r¥Š·É œ¹Ê Þ¦—‹oŠ ­­ªš. š¦µ—oª¥
‹´„ °‡»–¥·ÉŠ

(œµ¥¡·«µ¨ ­¦o°¥›»®¦Éε)
Ÿ¼o°Îµœª¥„µ¦
­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸
‡Îµ¸Ê‹Š

­µ µ‡–·˜«µ­˜¦r¤´›¥¤«¹„¬µ ­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸
(­­ªš.) ŗo¦´¤°®¤µ¥‹µ„„¦³š¦ªŠ«¹„¬µ›·„µ¦Ä®o¡´•œµ®¨´„­¼˜¦„¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o
‡–·˜«µ­˜¦r nªŠ´Êœš¸É 3 (¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 1-3) ¨³nªŠ´Êœš¸É 4 (¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 4-6) Ĝ®¨´„­¼˜¦
„µ¦«¹„¬µ ´Êœ¡ºÊœ“µœ ¡»š›«´„¦µ 2544 œ°„‹µ„œ´Êœ¥´ŠÅ—o¡´•œµ­ºÉ°„µ¦Á¦¸¥œ„µ¦­°œ‡–·˜«µ­˜¦r
Á¡ºÉ°Äož¦³„°®¨´„­¼˜¦ °ŠnªŠ´Êœš¸É 3 ¨³ 4 °¸„—oª¥
®œ´Š­º°Á¦¸¥œÂ¨³‡¼n¤º°‡¦¼­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r °ŠnªŠ´Êœš¸É 4 ‹³¤¸—oª¥„´œ
š´ÊŠ®¤—°¥nµŠ¨³ 4 Á¨n¤ „¨nµª‡º°®œ´Š­º°Á¦¸¥œ­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r 4 Á¨n¤ ¨³
‡¼n¤º°‡¦¼­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r 4 Á¨n¤ ×¥š¸ÉÁ¨n¤š¸É 1 ™¹Š 4 Á¦¸¥„ªnµ ®œ´Š­º°Á¦¸¥œ
­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 4 Á¨n¤ 2 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 4
Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 5 ¨³Á¨n¤ 2 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 5 ˜µ¤¨Îµ—´ š´ÊŠœ¸Ê­™µœ«¹„¬µ­µ¤µ¦™
œÎµÅžž¦´ÄoÄ®oÁ®¤µ³­¤„´®¨´„­¼˜¦ °Š­™µœ«¹„¬µ š¸É°µ‹‹´—®¨´„­¼˜¦­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ
‡–·˜«µ­˜¦r °ŠnªŠ´Êœš¸É 4 Áž}œ 5 ®¦º° 6 £µ‡„µ¦«¹„¬µ„Èŗo
‡¼n¤º°‡¦¼‡–·˜«µ­˜¦rÁ¨n¤œ¸Ê‹´—šÎµ ¹ÊœÁ¡ºÉ°Äož¦³„°„µ¦Á¦¸¥œ„µ¦­°œ‡ª‡¼n„´®œ´Š­º°Á¦¸¥œ
­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 4 Ž¹ÉŠÄœÂ˜n¨³šœ´ÊœÅ—oœÎµÁ­œ°
o°Á­œ°Âœ³Á„¸É¥ª„´ÁœºÊ°®µ­µ¦³Â¨³ª·›¸„µ¦­°œ „·‹„¦¦¤Á¡ºÉ°Á­¦·¤­¦oµŠš´„¬³„¦³ªœ„µ¦
˜´ª°¥nµŠ o°­°ž¦³‹Îµš ¦ª¤š´ÊŠÁŒ¨¥Â f„®´—Äœ®œ´Š­º°Á¦¸¥œ
‡–³Ÿ¼o ‹´ — šÎµ®ª´ Š ªn µ ‡¼n ¤º ° ‡¦¼ Á ¨n ¤ œ¸Ê ‹ ³Áž} œ ž¦³Ã¥œr ˜n ° „µ¦Á¦¸ ¥ œ„µ¦­°œ‡–· ˜ «µ­˜¦r
°¥nµŠÅ¦„È—¸®µ„šnµœŸ¼očo‡¼n¤º°‡¦¼Á¨n¤œ¸Ê¤¸ o°Á­œ°Âœ³ž¦³„µ¦Ä— Þ¦—‹oŠÄ®o­µ µ‡–·˜«µ­˜¦r
¤´›¥¤«¹„¬µ ­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸š¦µ Á¡ºÉ°ž¦´ž¦»ŠÁ°„­µ¦Ä®o
­¤¼¦–r¥·ÉŠ ¹Êœ˜n°Åž

(œµŠ­µª‹µ¦»ª¦¦– ­Šš°Š)
®´ª®œoµ­µ µ‡–·˜«µ­˜¦r¤´›¥¤«¹„¬µ
­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸
สารบัญ
หนา

บทที่ 1 เซต 1

บทที่ 2 การใหเหตุผล 28

บทที่ 3 จํานวนจริง 52

บทที่ 4 เลขยกกําลัง 104


บทที่ 1
เซต
( 10 ชั่วโมง )

เนื้อหาสาระเรื่อง เซต ถือวาเปนเนื้อหาที่มีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปน


รากฐานและเครื่องมือที่สําคัญในการเรียนรูคณิตศาสตรทุกสาขา เรื่องเซตที่กลาวถึงในหนังสือเรียน
จะเปนพื้นฐานที่เพียงพอตอการนําไปใช โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังตอไปนี้

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต สามารถหายูเนียน อินเตอรเซกชัน คอมพลีเมนต และผลตาง
ของเซต
2. เขียนแผนภาพแทนเซตและนําไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซตได

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
2

ขอเสนอแนะ
1. เนื่องจากสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนสาระที่จําเปนสําหรับ
ผูเรียนทุกคน สําหรับสาระที่เปนเนื้อหาวิชาที่จัดไวในหนังสือเรียนคณิตศาสตรรายวิชาพื้นฐาน
ไดจัดทําไวสําหรับใหผูเรียนที่มีพื้นฐานปานกลางและสูง สามารถอานและทําความเขาใจ
ดวยตนเองได สําหรับผูเรียนที่มีพื้นฐานทางคณิตศาสตรไมคอยดี ผูสอนอาจจะตองใชวิธีการ
สอนที่ ทําให ผู เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ใ ห ไ ด ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ที่กําหนดไว และจะต อง
ระมัดระวังในการยกตัวอยางที่ไมซับซอนเกินความสามารถของผูเรียน เชน กําหนดใหผูเรียน
เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก โดยกําหนดให
1) A = {x⏐x3 = 343}
2) B = {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5}

จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาการหาคําตอบในขอ 1) ผูเรียนจะตองมีความเขาใจในเรื่อง


เลขยกกําลังและตองมีความสามารถในการคิดคํานวณมากกวาการหาคําตอบในขอ 2) ซึ่งโดย
แทจริงแลวจุดประสงคของการเรียนรูในเรื่องนี้คือ ตองการวัดความรูของผูเรียนวาสามารถเขียน
เซตแบบแจกแจงสมาชิกจากเซตทีก่ าํ หนดใหแบบบอกเงือ่ นไขไดหรือไม แตไมตอ งการวัดความรู
ที่เกี่ยวกับทักษะการคํานวณแตอยางใด ดังนั้นผูสอนจึงควรตองระมัดระวังในการยกตัวอยางใหแก
ผูเรียนที่มีพื้นฐานทางคณิตศาสตรไมคอยดีแตสําหรับผูเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตรสูง
ผูสอนอาจยกตัวอยางที่ซับซอนกวา เพื่อพัฒนาความสามารถของผูเรียนได

2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข ควรใหผูเรียนมีอิสระในการตอบ ซึ่งคําตอบของผูเรียนไมจําเปน


ตองตรงกับคําตอบที่ผูสอนคิดไว เนื่องจากการบอกเงื่อนไขนั้นสามารถบอกไดหลายแบบ เชน
F = {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนคี่} หรือ F = {x⏐x เปนจํานวนคี่บวก}

3. การใชสัญลักษณแทนเซตวาง มีขอควรระวัง ดังนี้


{} และ ∅ เปนสัญลักษณแทนเซตวาง
แต {0} ไมเปนเซตวาง เพราะมีสมาชิก 1 ตัว คือ 0
{{ }} ไมเปนเซตวาง เพราะมีสมาชิก 1 ตัว คือ { }
เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องนี้ดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางเปรียบเทียบเซตวางกับสิ่งที่เปน
รูปธรรม เชน เปรียบเทียบเซตวางกับกลองเปลาซึ่งเหมือนกันในแงที่วา เซตวางคือเซตที่ไมมี
สมาชิก และกลองเปลาคือกลองที่ไมมีอะไรบรรจุอยูภายในเลย แตถานํากลองเปลาใบหนึ่งใสลง
ไปในกลองเปลาอีกใบหนึ่งแลวจะพบวา กลองเปลาใบหลังจะไมเปนกลองเปลาอีกตอไป ทั้งนี้
เพราะมีกลองเปลาใบแรกบรรจุอยูภายใน
3

4. การสอนเรื่องสมาชิกของเซตและจํานวนสมาชิกของเซต อาจมีตัวอยางเซตที่มีสมาชิกบางตัวเปน
เซตบาง เชน {1, 2, {3, 4}} เปนเซตที่มีสมาชิก 3 ตัว คือ 1, 2 และ {3, 4}

5. การสอนเรื่องเซตจํากัดและเซตอนันตนั้น ควรยกตัวอยางเฉพาะเซตที่นาสนใจและมีประโยชน
ที่จะทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องนี้ไดดีขึ้น เชน เซตของนักเรียนในหองเปนเซตจํากัด เซตของ
เสนผมของคนคนหนึ่งเปนเซตจํากัด เซตของจํานวนเต็มที่มีคาระหวาง 0 และ 10 เปนเซต
จํากัด เซตของจํานวนเต็มบวกเปนเซตอนันต เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต 0 ถึง 10 เปน
เซตอนันต
ผูเ รียนมักจะเขาใจวา เซตทีม่ สี มาชิกเปนจํานวนมาก ๆ เปนเซตอนันต เชน เซตของเสนผม
เซตของเม็ดทราย เปนตน แตที่แทจริงแลวเซตในทํานองเดียวกับตัวอยางดังกลาวเปนเซตจํากัด
ซึ่งผูสอนอาจอธิบายวา เซตเหลานั้นสามารถนับจํานวนสมาชิกไดและมีสมาชิกไมเกินจํานวนนับ
จํานวนหนึ่ง ดังนั้น เราสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซตนั้นได อยางไรก็ดีในการสอนผูสอน
ควรหลีกเลี่ยงการยกตัวอยางเซตประเภทนี้ แตถาเลี่ยงไมไดก็ควรชี้แจงใหผูเรียนเขาใจใหถูกตอง
วาเปนเซตจํากัดที่มีจํานวนสมาชิกมากมายไมสะดวกแกการนับ

6. ในการกลาวถึงสมาชิกในเซตครั้งใด ถากําหนดเอกภพสัมพัทธใหแลว จะกลาวถึงสิ่งใด


นอกเหนือไปจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธไมได (ผูสอนควรจะชี้แจงดวยวา เมื่อกลาวถึงเซต
ของจํานวน ถาไมไดกลาวถึงเอกภพสัมพัทธไวใหถือวา เอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง)

7. การเขียนแผนภาพแทนเซตนั้นในหนังสือเรียนมักจะใชรูปวงรี หรือรูปวงกลม ซึ่งไดกลาวไวใน


หนังสือเรียนแลวเชนกันวา จะเปนรูปใดก็ไดที่มีลักษณะเปนรูปปด ดังนั้น ผูเรียนอาจเขียนแทน
เซตโดยใชรูป ∆ หรือ หรือรูปปดใดก็ได

8. ในการแกโจทยปญหาที่เกี่ยวกับยูเนียน อินเตอรเซกชัน และคอมพลีเมนตของเซตจํากัด ควรให


ผูเรียนเขียนแผนภาพของเวนน - ออยเลอร กํากับดวยทุกครั้ง เพราะการเขียนแผนภาพจะชวยให
ผูเ รียนไดเห็นแนวทางในการแกปญ
 หา อีกทัง้ ยังเปนพืน้ ฐานตอการศึกษาสาระอืน่ ๆ ของคณิตศาสตร
4

กิจกรรมเสนอแนะ
ผูสอนอาจใชกิจกรรมตอไปนี้ประกอบการเรียนการสอนเรื่อง แผนภาพของเวนน-ออยเลอร
หรือใหผเู รียนแกปญ
 หาในกิจกรรมหลังจากเรียนเกีย่ วกับการดําเนินการของเซตแลว ผูส อนอาจนําเสนอ
เปนใบกิจกรรม โดยใหผูเรียนทําเปนกลุมหรือเดี่ยว ซึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมของผูเรียน
ในกิจกรรมนี้มุงหวังใหผูเรียนสามารถอธิบายวิธีการหาคําตอบหรือวิธีการแกปญหา ซึ่งจะ
เปนการเสริมสรางทักษะกระบวนการแกปญหาและการสื่อสารของผูเรียน
กิจกรรม
1. จงเขียนจํานวน 1 ถึง 12 ลงในแผนภาพแทนเซต A, B และ C โดยมีเงื่อนไขดังนี้
1) จํานวนคี่เปนสมาชิกของเซต A
2) จํานวนคูเปนสมาชิกของเซต B
3) จํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว เปนสมาชิกของเซต C

A B

C U

แนวทางการหาคําตอบ
1) เขียนเซต A, B, C แบบแจกแจงสมาชิก ไดดังนี้
A = { 1, 3, 5, 7, 9, 11 }
B = { 2, 4, 6, 8, 10, 12 }
C = { 3, 6, 9, 12 }
2) นําเซตแตละเซตเขียนลงในแผนภาพที่กําหนดให โดยพิจารณาวาแตละเซตมีสมาชิกรวม
กันหรือไม ซึ่งจะไดคําตอบดังนี้
A B
1 5 2
11 4 10
7 3 6 8
9 12

C U
5

2. จงเขียนจํานวน 4 ถึง 10 ในแผนภาพแทนเซต A, B และ C โดยใหผลรวมของจํานวนที่เปน


สมาชิกในแตละเซตเทากับ 30 และอธิบายวิธีการหาคําตอบ

A B
1
2
3
C U

แนวทางการหาคําตอบ
จากเงือ่ นไขทีโ่ จทยกาํ หนดวา แตละเซตตองมีผลรวมของจํานวนทีเ่ ปนสมาชิกของเซต เทากับ 30
ดังนั้นสามารถหาเซต A, B, C ไดดังนี้
จากแผนภาพพบวา เซต A ประกอบดวยสมาชิก 2 ตัว คือ 1, 2 ซึ่งมีผลรวมเทากับ 3
แตเงื่อนไขตองการใหมผี ลรวมของจํานวนทีเ่ ปนสมาชิกเทากับ 30 ดังนัน้ ตองหาสมาชิกทีเ่ หลือของ
เซต A ซึ่งมีผลรวมเทากับ 27 ดังรูป (1) หรือ (2)

A B A B
1 9 1
10 9
8 8 10
2 2

C U C U
(1) (2)
สวนการหาสมาชิกของ เซต B และ เซต C ก็ทําไดในทํานองเดียวกัน โดยจะไดคําตอบ ดังรูป (3)
หรือ (4)

A B A B
1 9 1
9
10 8 5 8 10 7
2 6 2 65
7
4 3 4 3
C U C U
(3) (4)
6

แบบทดสอบประจําบท

แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่องเซต ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบทดสอบ
ใหเหมาะสมกับผูเรียนได

ตัวอยางแบบทดสอบ

1. จงยกตัวอยางเซตของสิ่งของหรือกลุมคนที่ทานพบในชีวิตประจําวันมา 2 เซต โดยเขียนแบบ


แจกแจงสมาชิก และเขียนแบบบอกเงื่อนไข

2. ถาทานและเพื่อนมีเงินในกระเปาเปนจํานวนที่ตางกัน เปนไปไดหรือไมวา เซตของชนิดของ


ธนบัตรในกระเปาของทานและเพื่อนจะเปนเซตที่เทากัน จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ

3. ให A = {1, 2, 3, …, 10}


1) จงยกตัวอยางสับเซตของ A มา 3 เซต
2) {1} เปนสมาชิกของเซต A หรือเปนสับเซตของเซต A

4. ให U = {m, n, o, p, q, r, s, t, u, v, w}
A = {m, n, p, q, r, t}
B = {m, o, p, q, s, u}
C = {m, o, p, r, s, t, u, v}
จงหา A ∩ B , B ∩ C , A ∩ C และ A ∩ B ∩ C

5. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}, B = {2, 4, 6, 8} และ C = {3, 4, 5, 6}


จงหาเซตตอไปนี้พรอมเขียนแผนภาพแทนเซต
1) A ∪ B 5) B – C
2) A ∪ C 6) C – A
3) A ∩ B 7) (A ∪ B) ∪ C
4) B ∪ C 8) A ∪ (B ∪ C)
7

6. จากแผนภาพที่กําหนดให จงแรเงาเพื่อแสดงบริเวณที่แทนเซตตอไปนี้
1) A ∪ B 2) A ∩ B 3) A – B

A B

7. กําหนดให U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} , A = {0, 2, 3} และ B = {0, 2}


จงหา A – B, A′ , B′

8. ให A∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
A– B = {1, 2}
A∩ C = {1, 3, 5}
B∪ C = {1, 3, 4, 5, 6}
จงหา A, B และ C

9. ให A และ B แทนเซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนเต็ม จงยกตัวอยางของเซต A และ B ในแตละขอ


ที่มีสมบัติดังตอไปนี้
1) A = A – B
2) A ∩ B = ∅
3) A ∪ B = A

10. กําหนดให = {-5, -4, -3, …, 7, 8}


U
A = {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 4 } และ B = {x⏐x เปนจํานวนคู}
1) จงเขียนแผนภาพของเวนน – ออยเลอร แสดง U , A และ B
2) จงหา n(A ∩ B) และ n(A ∪ B)

11. จากการสอบถามนักเรียน 80 คน เกี่ยวกับการใชเวลาวาง พบวา มี 15 คน ที่ชอบทั้งเลนกีฬา


เลนดนตรี และดูภาพยนตร มี 40 คน ที่ชอบเลนดนตรีและชอบดูภาพยนตร มี 30 คน ที่ชอบเลน
กีฬาและดูภาพยนตร ถามีนักเรียน 60 คน ที่ชอบดูภาพยนตร มี 50 คน ที่ชอบเลนดนตรีและมี
นักเรียน 40 คน ที่ชอบเลนกีฬา ถามวามีนักเรียนกี่คนที่
1) ชอบเลนกีฬาอยางเดียว 2) ชอบเลนดนตรีอยางเดียว 3) ชอบดูภาพยนตรอยางเดียว
8

12. ถาในแตละสัปดาหทานจะตองเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 วัน และเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 วัน และ


จะตองเรียนทัง้ วิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษในวันเดียวกันสัปดาหละ 1 วัน ถามวา
1) ทานเรียนวิชาคณิตศาสตรอยางเดียว สัปดาหละกี่วัน
2) ทานเรียนวิชาภาษาอังกฤษอยางเดียว สัปดาหละกี่วัน
3) ถาจํานวนใน 1 สัปดาห หมายถึง 5 วันที่ทานไปโรงเรียน ทานมีวันที่ไมตองเรียนวิชาใด
วิชาหนึ่งในสองวิชานี้หรือไม
ใหเขียนแผนภาพแทนเซตเพื่อหาคําตอบขางตน

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
1. ตัวอยางเซตของสิ่งของ หรือกลุมคนที่ทานพบในชีวิตประจําวัน ไดแก
A = {x⏐x เปนอุปกรณทใี่ ชในการเย็บผา}
หรือ A = {จักรเย็บผา, เข็มเย็บผา, กรรไกร, ดาย}
B = {x⏐x เปนวิชาที่ตองสอบเขาเรียนคณะวิทยาศาสตรในสถาบันอุดมศึกษา}
หรือ B = {คณิตศาสตร, เคมี, ชีวะ, ฟสิกส, ภาษาอังกฤษ, สังคมศาสตร, ภาษาไทย}

2. ตัวอยางคําตอบ
อรอุมาและสันตินัดไปทานขาวกลางวันทีร่ านอาหารแหงหนึ่ง โดยอรอุมามีเงินในกระเปา
มูลคา 1,250 บาท สวนสันติมีเงินในกระเปามูลคา 2,100 บาท
ให a แทนธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท
b แทนธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท
c แทนธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท
ให A แทนเซตของชนิดของธนบัตรในกระเปาของอรอุมา
ซึ่งประกอบดวย ธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท 2 ใบ แทนดวย a, a
ธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท 2 ใบ แทนดวย b, b
ธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท 1 ใบ แทนดวย c
ให B แทนเซตของชนิดของธนบัตรในกระเปาของสันติ
ซึ่งประกอบดวย ธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท 3 ใบ แทนดวย a, a, a
ธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท 5 ใบ แทนดวย b, b, b, b, b
ธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท 2 ใบ แทนดวย c, c
จะไดวา A = {a, b, c}
B = {a, b, c}
ดังนั้น A = B
9

3. ให A = {1, 2, 3, …, 10}


1) ตัวอยางสับเซตของเซต A สามเซต ไดแก
(1) B = {1, 2, 3}
(2) C = {8, 9}
(3) D = {5}
2) {1} เปนสับเซตของเซต A

4. ให U = {m, n, o, p, q, r, s, t, u, v, w}
A = {m, n, p, q, r, t}
B = {m, o, p, q, s, u}
C = {m, o, p, r, s, t, u, v}
เขียนสมาชิกของแตละเซตในแผนภาพไดดังนี้

A n B U
q
m
r t p sou w
v
C

A ∩B = {m, p, q}
B∩C = {m, p, o, s, u}
A∩ C = {m, p, r, t}
A∩B∩C = {m, p}

5. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}, B = {2, 4, 6, 8} และ C = {3, 4, 5, 6}


1) A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 6, 8}
A U
1
2 3
4
8 6 5
B C
10

2) A ∪ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6}

A U
1
2 3
4
8 6 5
B C

3) A ∩ B = {2, 4}

A U
1
2 3
4
8 6 5
B C

4) B ∪ C = {2, 3, 4, 5, 6, 8}

A U
1
2 3
4
8 6 5
B C

5) B – C = {2, 8}

U
1 A
2 3
4
8 6 5
B C
11

6) C – A = {5, 6}
A U
1
2 3
4
8 6 5
B C

7) (A ∪ B) ∪ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}

A U
1
2 3
4
8 6 5
B C

8) A ∪ (B ∪ C) = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}

A U
1
2 3
4
8 6 5
B C

6. 1) A ∪ B 2) A ∩ B 3) A – B

A B A B A B

U U U
12

7. กําหนดให U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} , A = {0, 2, 3} และ B = {0, 2}

A B A B
3 02 3 02
1 4 5 U 1 4 5 U

A – B = {3} A′ = {1, 4, 5}

A B
B′ = {1, 3, 4, 5}
3 02
1 4 5 UU

8. ให A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
A – B = {1, 2}
A ∩ C = {1, 3, 5} A B
2 6 4
B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6}
3
1 5
เขียนแผนภาพแทนเซตขางตนไดดังนี้
จากแผนภาพ A = {1, 2, 3, 5, 6}
B = {3, 4, 5, 6} C
C = {1, 3, 5}
(อาจมีคําตอบอื่นนอกเหนือจากที่เฉลย)

9. ให A และ B แทนเซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนเต็ม


1) A = A–B
A = {1, 2, 3, 4}
B = {5, 6}
A–B = {1, 2, 3, 4} ซึ่งเทากับเซต A
2) A ∩ B = ∅
A = {1, 2, 3, 4}
B = {7, 8}
A∩B = ∅
13

3) A∪B = A
A = {1, 2, 3, 4}
B = {1, 2, 3}
A∪B = {1, 2, 3, 4} ซึ่งเทากับเซต A

10. กําหนดให U = {-5, -4, -3, …, 7, 8}


A = {x⏐ x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 4 } หรือ A = {5, 6, 7, 8}
B = {x⏐ x เปนจํานวนคู} หรือ B = {-4, -2, 0, 2, 4, 6, 8}

1) เขียนแผนภาพของเวนน – ออยเลอร แสดง U, A และ B ไดดังนี้

1 3 U
A B
5 6 -4 -2
7 8 0 24
-1 -3 -5

2) จากแผนภาพ
จะได n(A ∩ B) = 2
และ n(A ∪ B) = 9

11. จากการสอบถามนักเรียน 80 คน เกี่ยวกับการใชเวลาวาง พบวา มี 15 คน ที่ชอบทั้งเลนกีฬา


เลนดนตรีและดูภาพยนตร มี 40 คน ที่ชอบเลนดนตรีและชอบดูภาพยนตร มี 30 คน ที่ชอบเลน
กีฬาและดูภาพยนตร ถามีนักเรียน 60 คน ที่ชอบดูภาพยนตร มีนักเรียน 50 คน ที่ชอบเลนดนตรี
และมีนักเรียน 40 คน ที่ชอบเลนกีฬา
ให A แทนนักเรียนที่ชอบเลนกีฬา A U
10
B แทนนักเรียนที่ชอบเลนดนตรี 15
C แทนนักเรียนที่ชอบดูภาพยนตร 15
10 25 5
B C
จากแผนภาพ พบวา
จํานวนนักเรียนที่ชอบเลนกีฬาอยางเดียว เทากับ 40 – 15 – 15 หรือ 10 คน
จํานวนนักเรียนที่ชอบเลนดนตรีอยางเดียว เทากับ 50 – 15 – 25 หรือ 10 คน
จํานวนนักเรียนที่ชอบดูภาพยนตรอยางเดียว เทากับ 60 – 25 – 15 – 15 หรือ 5 คน
14

12. ในแตละสัปดาหจะตองเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 วัน และเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 วัน และจะตอง


เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษในวันเดียวกันสัปดาหละ 1 วัน
ให A = {D1, D2, D3} แทนเซตของวันที่ตองเรียนวิชาคณิตศาสตร
B = {D3, D4, D5} แทนเซตของวันที่ตองเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
n(A) = 3 n(B) = 3 n(A ∩ B) = 1

ก. ใชแผนภาพ
U
A B
D1 D4
D3
D2 D5

จากแผนภาพ n(A ∪ B) = 5
ข. โดยใชสูตร
จากสูตร n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
n(A ∪ B) = 3 + 3 – 1 หรือ 5
1) จํานวนวันที่เรียนวิชาคณิตศาสตรอยางเดียวเทากับ n(A) – n(A ∩ B) = 3 – 1 หรือ 2 วัน
2) จํานวนวันที่เรียนภาษาวิชาอังกฤษอยางเดียวเทากับ n(B) – n(A ∩ B) = 3 – 1 หรือ 2 วัน
3) เนื่องจาก n(A ∪ B) = 5 หมายถึง จํานวนวันที่ตองเรียนวิชาคณิตศาสตร หรือวิชาภาษา
อังกฤษในหนึ่งสัปดาหเทากับ 5
ดังนั้น จึงไมมีวันใดในสัปดาหที่ไมเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษเลย

เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 1.1
1. 1) {จันทบุรี}
2) {a, e, i, o, u}
3) {10, 11, 12, 13, 14, …, 99}
4) {2, 4, 6, 8}
5) {101, 102, 103, …}
6) {-99, -98, -97, …, -1}
7) {4, 5, 6, 7, 8, 9}
8) { } หรือ ∅
15

2. 1) B มีสมาชิก 1 จํานวน
2) C มีสมาชิก 7 จํานวน
3) D มีสมาชิก 9 จํานวน
4) G ไมมีสมาชิก หรือจํานวนสมาชิกเทากับศูนย

3. 1) N = {x⏐x เปนจํานวนเต็มคี่บวกตั้งแต 1 ถึง 5}


2) P = {x⏐x เปนจํานวนเต็ม}
3) R = {x⏐x = a2 และ a เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย}
4) T = {x⏐x = 10n และ n เปนจํานวนเต็มบวก}

4. 1) เปนเซตอนันต
2) เปนเซตจํากัด
3) เปนเซตอนันต
4) เปนเซตจํากัด
5) เปนเซตอนันต
6) เปนเซตอนันต

5. 1) เนื่องจาก ไมมีจํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง 3 และ 4


ดังนั้น {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง 3 และ 4} เปนเซตวาง
2) เนื่องจาก ไมมีจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และนอยกวา 2
ดังนั้น {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และนอยกวา 2} เปนเซตวาง
3) เนื่องจาก มีสมาชิก 2 ตัว คือ 5 และ 7
ดังนั้น {x | x เปนจํานวนเฉพาะที่มากกวา 3 และนอยกวา 10} ไมเปนเซตวาง

6. 1) A = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “กรรมกร”} หรือ A = {ก, ร, ม}


B = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “มรรคา”} หรือ B = {ม, ร, ค}
C = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “มกราคม”} หรือ C = {ม, ก, ร, ค}
D = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “รากไม”} หรือ D = {ร, ก, ม}
ดังนั้น A=D
2) E = {7, 14, 21, ..., 343}
F = {x⏐x = 7n และ n เปนจํานวนนับที่มีคานอยกวา 50}
หรือ F = {7, 14, 21, ..., 343}
ดังนั้น E=F
16

1
3) A = {x⏐x = 1− และ n เปนจํานวนนับ} หรือ A = { 0, 1 , 2 , 3 , 4 ,... }
n 2 3 4 5
B= { 0, 1 , 2 , 3 , 4 ,... }
2 3 4 5
ดังนั้น A = B
4) A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {5, 4, 3, 2, 1}
จะเห็นวา สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B
และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A
ดังนั้น A = B
5) C = {0, 1, 3, 7}
D = {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มีคานอยกวา 10} หรือ D = { …, 5, 6, 7, 8, 9}
เนื่องจาก 9 ∉ C แต 9 ∈ D
ดังนั้น C ≠ D
6) E = {12, 14, 16, 18} และ F = {14, 16, 12, 18}
จะเห็นวา สมาชิกทุกตัวของเซต E เปนสมาชิกของเซต F
และ สมาชิกทุกตัวของเซต F เปนสมาชิกของเซต E
ดังนั้น E = F
7) K = {x⏐x เปนจํานวนเต็มคูที่นอยกวา 10} หรือ K = { …, – 2, 0, 2, 4, 6, 8}
L = {2, 4, 6, 8}
เนื่องจาก – 2 ∈ K แต – 2 ∉ L
ดังนั้น K ≠ L
8) M = {x⏐x เปนจํานวนเต็ม และ x2 = 36} หรือ M = {– 6, 6}
N = {6}
เนื่องจาก – 6 ∈ M แต – 6 ∉ N
ดังนั้น M ≠ N

แบบฝกหัด 1.3
1. (1) ผิด (4) ผิด
(2) ถูก (5) ผิด
(3) ถูก (6) ผิด
17

2. (1) สับเซตทั้งหมดของ {1} คือ ∅, {1}


(2) สับเซตทั้งหมดของ {1, 2} คือ ∅, {1}, {2}, {1, 2}
(3) สับเซตทั้งหมดของ {-1 , 0 , 1} คือ ∅, {-1} , {0} , {1} , {-1,0} , {0,1} , {-1,1} , {-1,0,1}

3. (1) เพาเวอรเซตของ {5} คือ {∅, {5}}


(2) เพาเวอรเซตของ {0, 1} คือ {∅, {0}, {1}, {0, 1}}
(3) เพาเวอรเซตของ {2 ,3 ,4} คือ {∅, {2}, {3}, {4}, {2 ,3}, {2 ,4}, {3 ,4}, {2,3,4}}

4. สับเซตทั้งหมดของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {1}, {2}, {3}, {4}


สับเซตทั้งหมดของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว ไดแก {1, 2}, {1, 3}, {1, 4}, {2, 3}, {2, 4}, {3, 4}

5.
U
1) A = {1, 2, 3, 4, …, 10} 2 4 6
8 10 A
B = {1, 3, 5, 7, 9} 135 B
7 9

2) A = {1, 2, 3, 4, …, 10}
2 4 6 U
B = {1, 3, 5, 7, 9} 8 10
79 A
C = {1, 3, 5} B
135 C

3) A = {1, 2, 3, 4, …, 10}
B = {1, 3, 5} 7 8 9 10 A U

C = {2, 4, 6} 135 24 6
B C
18

แบบฝกหัด 1.4
1. 1) A = {2, 3, 7} 3) A′ = {2, 3, 6}

1 4 5 6 2 3 6
A 1 4 A
237 5 7
U U

2) A = {3, 4, 5} และ B = {1, 3, 5, 7}

A B
4 35 1 7
2 6 U

2. 1) A∩B = ∅ 5) C′ = {0, 1, 2, 7, 8}
2) B∪C = {1, 3, 4, 5, 6, 7} 6) C′ ∩ A = {0, 2, 8}
3) B∩C = {3, 5} 7) C′ ∩ B = {1, 7}
4) A∩C = {4, 6} 8) (A ∩ B) ∪ B = {1, 3, 5, 7}

3.
A B

1) B′

A B

U
19

2) A ∩ B′
A B

3) A′

A B

4) A′ ∪ B

A B

5) A′ ∪ B′
A B

U
20

4.
A B
1 2 4 6 7
3 5 8
U

1) A′ 2) (A ∪ B)′

A B A B
6
7
8
U U

3) A′ ∪ B 4) A′ ∩ B

A B A B
4 67 6
7
5 8 8
U U

5.
U
A B

จาก n(U ) = 100, n(A) = 40, n(B) = 25 และ n(A ∩ B) = 6 จะได


n(A – B) = n(A) – n(A ∩ B)
= 40 – 6 = 34 A U

B
21

n(B – A) = n(B) – n(A ∩ B) A U


= 25 – 6 = 19
B

n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) A U


= 40 + 25 – 6 = 59
B

n(A′) = n(U ) – n(A) A U


= 100 – 40 = 60
B

n(B′) = n(U ) – n(B) A U

= 100 – 25 = 75
B
n(A ∪ B)′ = n(U ) – n(A ∪ B) A U
= 100 – 59
= 41 B

เซต A–B B–A A∪B A′ B′ (A ∪ B)′


จํานวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41

6. A BU

C
กําหนดจํานวนสมาชิกของเซตตาง ๆ ในแผนภาพดังตาราง

เซต U A B C A∩B A∩C B∩C A∩B∩C


จํานวนสมาชิก 50 25 20 30 12 15 10 5
22

1) A ∪ C
n(A ∪ C) = n(A) + n(C) – n(A ∩ C) A B
= 25 + 30 – 15
= 40
C U
2) A ∪ B ∪ C
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) A B
– n(A ∩ C) – n(B ∩ C)
+ n(A ∩ B ∩ C)
= 25 + 20 + 30 – 12 – 15 – 10 + 5 C U

= 43

3) (A ∪ B ∪ C)′
n(A ∪ B ∪ C)′ = n(U ) – n (A ∪ B ∪ C) A B
= 50 – 43
= 7
C U

4) n(B – (A ∪ C)) = n(B) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C)


A B
+ n(A ∩ B ∩ C)
= 20 – 12 – 10 + 5
= 3 C U

5) n((A ∩ B) – C) = n(A ∩ B) – n(A ∩ B ∩ C) A B


= 12 – 5
= 7
C U

7. ให A แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มชา
B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มกาแฟ
A∩B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ
A∪B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มชาหรือกาแฟ
n(A) = 60 คน n (A ∩ B) = x คน
n(B) = 70 คน
n (A ∪ B) = 120 คน
23

n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)


120 = 60 + 70 – x
x = 130 – 120
x = 10
ดังนั้น จํานวนพอบานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟเทากับ 10 คน

8. ให U แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตาง ๆ
A แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ
B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดแขวนเพดาน
A ∩ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ และชนิดแขวนเพดาน
A ∪ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ หรือชนิดแขวนเพดาน
n(A) = 60%
n(B) = 45%
n(A ∩ B) = 15%
n(A ∪ B) = x%

1) จํานวนลูกคาทีไ่ มใชพัดลมทัง้ สองชนิด หาไดดังนี้


n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) A A BB
= 60% + 45% – 15%
= 90%
จํานวนลูกคาทีไ่ มใชพัดลมทัง้ สองชนิด คือ C U
U

n(A ∪ B)′ = n( U ) – n(A ∪ B) = 100% – 90% หรือ 10%

2) จํานวนลูกคาทีใ่ ชพัดลมแบบใดแบบหนึ่งเพียงชนิดเดียว หาไดดังนี้


จํานวนลูกคาทีใ่ ชพัดลมชนิดตั้งโตะเพียงชนิดเดียว คือ A B
n(A ∪ B) – n(B) = 90% – 45%
= 45% U

จํานวนลูกคาทีใ่ ชพัดลมแขวนเพดานเพียงชนิดเดียว คือ A U

n(A ∪ B) – n(A) = 90% – 60%


= 30% B
ดังนั้น ลูกคาที่ใชพัดลมเพียงชนิดเดียว มี 45% + 30% หรือ 75%
24

9.
U
A B

ให U แทนเซตของผูปวยทั้งหมดทีท่ ําการสํารวจ


A แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่
B แทนเซตของผูปวยที่เปนมะเร็งในปอด
A ∪ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรีห่ รือเปนมะเร็งในปอด
A ∩ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรีแ่ ละเปนมะเร็งในปอด
(A ∪ B)′ แทนเซตของผูปวยที่ไมสูบบุหรี่ และไมเปนมะเร็งที่ปอด
n ( U ) = 1,000 คน
n(A) = 312 คน
n(B) = 180 คน
n(A ∪ B)′ = 660 คน
n(A ∩ B) = x คน
(A ∪ B)′ U
A B

n(A ∪ B) = n( U ) – n(A ∪ B)′ = 1,000 – 660 = 340


n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
340 = 312 + 180 – x
x = 492 – 340 = 152
ดังนั้น จํานวนผูที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งที่ปอดเทากับ 152 คน คิดเปนรอยละ 152
× 100
312
หรือ 48.72% ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทงั้ หมด
25

10. A B U

ให U แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่ทําการสํารวจ
A แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตร
B แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาสังคมศึกษา
C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาภาษาไทย
A ∩ B แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและสังคมศึกษา
B ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาสังคมศึกษาและภาษาไทย
A ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย
A ∩ B ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานททั้งสามวิชา
A ∪ B ∪ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา
n (A ) = 37 คน n(A ∩ B) = 15 คน
n(B) = 48 คน n(B ∩ C) = 13 คน
n(C) = 45 คน n(A ∩ C) = 15 คน
n(A ∩ B ∩ C) = 5 คน
n(A ∪ B ∪ C) = x คน
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
x = 37 + 48 + 45 – 15 – 13 – 7 + 5
x = 100
ดังนั้น มีจํานวนผูที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชาเทากับ 100 คน

11. ให U แทนเซตของผูถือหุนในตลาดหลักทรัพยที่ถูกสํารวจทั้งหมด


A แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก
B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข
C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ค
A∩B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ข
B∩C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข และ ค
A∩C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ค
A ∩ B ∩ C แทนเซตของผูถือหุนทั้งสามบริษัท
26

จากจํานวนผูถือหุนที่สํารวจ หาผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของทั้งสามบริษัทไดดังนี้

A BU

C
n (U ) = 3,000 คน
n(A) = 200 คน n(B) = 250 คน n(C) = 300 คน n(A ∩ B) = 50 คน
n(B ∩ C) = 40 คน n(A ∩ C) = 30 คน
n(A ∩ B ∩ C) = 0
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
n(A ∪ B ∪ C) = 200 + 250 + 300 – 50 – 40 – 30 + 0 = 630
จํานวนผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชทั้งสามบริษัทนี้มีจํานวนหาไดจาก
n(A ∪ B ∪ C)′ = n(U ) – n(A ∪ B ∪ C) = 3,000 – 630 = 2,370 คน

12. ให U แทนผูใชบริการขนสงทางรถไฟ รถยนต หรืออื่น ๆ ที่ถูกสํารวจ


A แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟ
B แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถยนต
C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางเรือ
A ∩ B แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟและรถยนต
B ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถยนตและเรือ
A ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟและเรือ
A ∩ B ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทั้งทางรถไฟ รถยนต และเรือ
(A ∪ B ∪ C)′ แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางแบบอื่น ๆ ที่ไมใช รถไฟ รถยนต เรือ
n (U ) = x คน n(A ∩ B) = 50 คน
n(A) = 100 คน n(B ∩ C) = 25 คน
n(B) = 150 คน n(A ∩ C) = 0 คน
n(C) = 200 คน n(A ∩ B ∩ C) = 0 คน
n(A ∪ B ∪ C)′ = 30 คน
27

n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)


= 100 + 150 + 200 – 50 – 25 – 0 + 0
A BU
= 375 คน
∴ จํานวนผูใชบริการขนสงที่ถูกทําการสํารวจ คือ
n(U ) = n(A ∪ B ∪ C) + n(A ∪ B ∪ C)′
x = 375 + 30 = 405 คน C
บทที่ 2
การใหเหตุผล
( 8 ชั่วโมง )

การใหเหตุผลเปนสาระใหมของวิชาคณิตศาสตรในชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4 – 6) ซึ่ง


เปนเนือ้ หาทีม่ คี วามสําคัญ เพราะการดําเนินชีวติ ของคนเราตองขึน้ อยูก บั เหตุผล ไมวา จะเปนความเชือ่
การโตแยง การตัดสินใจ ตองใชเหตุผลประกอบทัง้ สิน้ อีกทัง้ ยังเปนพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญในการหาความรู
ของศาสตรตางๆ
สาระเรื่องการใหเหตุผลที่จะกลาวถึงในหนังสือเรียนประกอบดวยเรื่อง การใหเหตุผลแบบ
อุปนัย และการใหเหตุผลแบบนิรนัย โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังตอไปนี้

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. เขาใจและใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได
2. บอกไดวาการอางเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไมโดยใชแผนภาพแทนเซต

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
29

ขอเสนอแนะ

1. การใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการใหเหตุผลเพื่อหาขอสรุป โดยการสังเกตหรือการทดลองหลายๆ
ครั้ง ผูสอนควรเริ่มสอนจากตัวอยางที่งาย ๆ กอน เพื่อที่จะใหผูเรียนเกิดความเขาใจในความหมาย
ของการใหเหตุผลแบบอุปนัย เชน
ใหผูเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้
1, 2, 4, 8, …
ผูสอนอาจถามผูเรียนวา พจนถัดไปของแบบรูปนี้คือจํานวนใด หรือสองพจนถัดไป
ของแบบรูปนี้คือจํานวนใด เมื่อผูเรียนตอบคําถามแลวผูสอนควรใหผูเรียนแสดงเหตุผลดวยวา
คําตอบที่ผูเรียนตอบนั้นไดมาอยางไร ถาผูเรียนใหเหตุผลวาเกิดจากสังเกตแบบรูปของขอมูลที่มีอยู
ผูสอนควรจะสรุปดวยวาการสังเกตของผูเรียนเพื่อหาคําตอบนั้นเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย

2. การเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบอุปนัย นอกจากผูสอนจะยกตัวอยางการใหเหตุผลที่เกี่ยวของ


กับวิชาคณิตศาสตรแลว ผูสอนควรยกตัวอยางการใหเหตุผลที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันและ
ใหผูเรียนฝกการยกตัวอยางดวย เพื่อผูเรียนจะไดเห็นถึงความสําคัญของเนื้อหาสาระ อีกทั้งไดฝก
ทักษะกระบวนการใหเหตุผลและมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

3. หลังจากที่ผูสอนสอนเรื่องการใหเหตุผลแบบอุปนัยแลว ผูสอนควรสรุปใหผูเรียนมีความเขาใจวา
การสรุปผลจากการสังเกตเหตุการณหรือการทดลองหลาย ๆ ครั้ง ผลสรุปที่ไดอาจจะไมจริงเสมอ
ไป ซึ่งอาจขึ้นอยูกับ ลักษณะของขอมูล ความคิดหรือประสบการณเดิมของผูใหเหตุผล เชน
น้ําฝนสังเกตเห็นไขเปดที่คุณแมซื้อมาจากตลาดมีสีขาว แลวน้ําฝนสรุปวาไขเปดทุกฟองมีสีขาว
ซึ่งเปนผลสรุปที่ผิดเพราะมีไขเปดบางฟองมีสีเทาอมเขียว

4. ในการสอนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย ผูสอนควรสอนใหผูเรียนเขาใจวา การใหเหตุผล


แบบนิรนัยนั้นเราตองยอมรับวา เหตุ เปนจริงเสมอ ถึงแมวาเหตุนั้นจะขัดกับความเปนจริงทาง
โลก ก็ตาม เชน ขอความ “ คนทุกคนเปนลิง ” “ แมวทุกตัวลอยน้ําได ”

5. การเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย หลังจากแนะนําใหผูเรียนรูจักตัวอยางของการใหเหตุผล


แบบนิรนัยแลว กอนที่ผูสอนจะสอนเรื่อง การอางเหตุผล (สําหรับเรื่องการอางเหตุผลของ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานนี้จะมีความแตกตางจากเรื่องการอางเหตุผลที่ผูสอนเคยสอนมาใน
30

รายวิชา ค011 (หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533)


โดยการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของขอความจะใชแผนภาพแทนเซตของเวนน – ออยเลอร
ตรวจสอบ) ผูสอนควรสอนใหผูเรียนฝกการเขียนแผนภาพแทนขอความ ซึ่งเปนไปตามรูปแบบที่
กําหนดไวในหนังสือเรียนจนเกิดความเขาใจ แลวจึงสอนวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของขอความ เชน
ขอความ นักเรียนทุกคนเปนคนฉลาด
B
ให A แทนเซตของนักเรียน A
B แทนเซตของคนฉลาด
เขียนแผนภาพแทนขอความ ไดดังนี้

ขอความ ปลาบางตัวบินได M N
ให M แทนเซตของปลา
N แทนเซตของสัตวที่บินได
เขียนแผนภาพแทนขอความ ไดดังนี้

6. การตรวจสอบผลสรุปของขอความที่สมเหตุสมผลนั้น จะตองตรวจสอบแผนภาพทุกแผนภาพที่
เปนไปไดทุกกรณี สวนขอความที่มีผลสรุปไมสมเหตุสมผล ไมจําเปนตองวาดแผนภาพทั้งหมด
ทุกกรณี เพียงยกตัวอยางกรณีที่ผลสรุปนั้นไมสอดคลองเพียงกรณีเดียวก็พอ

กิจกรรมเสนอแนะ

ผูสอนสามารถใชกิจกรรมนี้เสริมสรางทักษะการใหเหตุผลและการแกปญหา ซึ่งอาจใช
ประกอบการเรียนการสอนไดทั้งกอนหรือหลังการเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย

ฟ ฟ ล ล ฟ ล
(1) (2) (3)
31

มีกลองอยู 3 ใบ แตละใบมีลูกบอลอยู 2 ลูก ซึ่งอาจเปนสีฟาทั้ง 2 ลูก หรือสีเหลือง


ทั้ง 2 ลูก หรือสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก

กลองแตละใบมีปายติดดังนี้

(1) ฟ ฟ หมายถึง มีลูกบอลสีฟาอยู 2 ลูก


(2) ล ล หมายถึง มีลกู บอลสีเหลืองอยู 2 ลูก
(3) ฟ ล หมายถึง มีลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก

แตไมมีกลองใดเลยที่ติดปายตรงกับความเปนจริง เปนไปไดหรือไมวา
ถาหยิบลูกบอลจากกลองใดก็ไดมา 1 ลูก แลวสามารถบอกไดวา ที่ถูกตองแลวกลองใด
ควรจะมีลูกบอลสีอะไร และจะตองหยิบลูกบอลจากกลองใดจึงจะไดคําตอบที่ถูกตอง
เมื่อทราบคําตอบแลว ใหติดปายที่ถูกตองดวย

วิธีการดําเนินกิจกรรม
ผูสอนใหผูเรียนทดลองหยิบลูกบอล 1 ลูก จากกลองใดก็ไดที่ผูสอนเตรียมไวใหแลวชวย
กันหาขอสรุปวา ลูกบอลที่อยูในกลองที่เหลือควรจะเปนสีใด เมื่อผูเรียนไดคําตอบแลวผูสอนจึงใหผู
เรียนออกมาแสดงเหตุผล จากนั้นผูสอนและผูเรียนจึงคอยสรุปที่มาของคําตอบอีกครั้ง หรือผูสอนใช
คําถามเพื่อแนะนําใหผูเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองดังนี้

1. ผูเรียนสามารถสรุปขอมูลใดไดบางจากสิ่งที่โจทยกําหนดให

ฟ ฟ ล ล ฟ ล
(1) (2) (3)

คําตอบ เนื่องจากไมมีกลองใดที่ติดปายตรงกับความเปนจริง สรุปไดวา


1) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ฟ ฟ ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ล ล หรือ ฟ ล ก็ได
2) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ล ล ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ฟ ฟ หรือ ฟ ล ก็ได
3) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ฟ ล ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ฟ ฟ หรือ ล ล ก็ได
32

2. ถาหยิบลูกบอลจากกลองที่ (1) หรือ (2) จะบอกไดหรือไมวา ลูกบอลอีกลูกในกลอง


ควรเปนสีใด (ใหผูเรียนแสดงเหตุผล)
3. ถาใหผูเรียนหยิบลูกบอลจากกลองที่ (3) ซึ่งมีปาย ฟ ล ติดไว
ถาผูเรียนหยิบไดลูกบอลสีฟา ฟ ความจริงแลวกลองนี้จะตองมีลูกบอลสีใด
คําตอบ จากคําตอบของขอที่ 1. จะไดวากลองนี้ควรจะมีลูกบอลสีฟา 2 ลูก

ฟ ล หยิบไดลูกบอลสีฟา
ฟ ฟ
ปายผิด ปายที่ถูกตอง

4. เมื่อหาไดแลววา กลองที่มีปาย ฟ ล ที่ถูกตอง จะตองเปน ฟ ฟ อีก 2 กลองที่เหลือ


ควรจะมีลูกบอลสีใดบาง

ฟ ฟ ล ล
(1) (2)

คําตอบ กลองที่เหลือในภาพขางบนจะตองเปนกลองที่มี
(1) ลูกบอลสีเหลือง 2 ลูก ล ล
และ (2) ลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก ฟ ล
จากขอสรุปขอที่ 1. กลองที่มีปาย ล ล จะตองไมใชกลองที่มีลูกบอลสีเหลือง
2 ลูก เพราะปายที่ติดไวผิด
ดังนั้น ที่ถูกตองแลว กลองที่ติดปาย ล ล จะตองมีลูกบอลสีฟา 1 ลูก
และสีเหลือง 1 ลูก

ล ล ฟ ล
ปายผิด ปายที่ถูกตอง
33

จากขอสรุปขางตนและขอสรุปขอที่ 1. จะไดกลองที่เหลือที่มีปาย ฟ ฟ จะตองมีลูกบอลสี


เหลือง 2 ลูก

ฟ ฟ ล ล
ปายผิด ปายที่ถูกตอง
สรุปผลดังนี้

ฟ ล ล ล ฟ ฟ

ฟ ฟ ล ฟ ล ล

5. ครูใหผูเรียนชวยกันสรุปคําตอบในกรณีที่ผูเรียนหยิบไดลูกบอลสีเหลืองจากกลองที่มีปาย
ฟ ล และใหหาวากลองที่เหลือจะตองมีลูกบอลสีอะไรบาง และติดปายใหมใหถูกตอง

แบบทดสอบประจําบท

แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง การใหเหตุผล ผูสอนสามารถเลือกและปรับ
แบบทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียนได
34

ตัวอยางแบบทดสอบ

1. จงใชวิธีการใหเหตุผลเพื่อหาคําตอบตอไปนี้
1) จงเขียนคําตอบในชองวาง พรอมทั้งอธิบายเหตุผลที่ใชในการหาคําตอบและพิจารณาวา
เปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย
11 × 11 = 121
11 × 12 = 132
11 × 13 = 143
11 × 14 = ___
11 × 15 = ___
11 × 16 = ___
11 × 17 = ___
11 × 18 = ___

2) จงหาวาจํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยูในแถวที่ 5 ถึงแถวที่ 10 มีจํานวนเทาไร พรอมทั้งอธิบาย


เหตุผลที่ใชในการหาคําตอบและพิจารณาวาเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย
แถวที่ (1) มี 1 รูป
แถวที่ (2) มี 3 รูป
แถวที่ (3) มี......รูป
แถวที่ (4) มี......รูป
แถวที่ (5) มี......รูป

2. จงหาจํานวน c จากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให โดยใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย


1) -5, 5, -5, 5, c
2) 4, 2, 0, -2, c
3) 6, 12, 18, 24, c
4) 64, 32, 16, 8, c
5) -17, -12, -7, -2, c

3. ถาจํานวนเต็มที่เปนจํานวนคี่ หมายถึง จํานวนที่หารดวย 2 ไมลงตัว


ทานใชเหตุผลแบบใดในการหาขอสรุปวา 11 เปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่
35

4. จงยกตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยมาอยางละ 1 ตัวอยาง ตามที่ทานเขาใจ

5. จงยกตัวอยางเหตุการณในชีวิตประจําวัน ที่ทําใหทานหรือคนในครอบครัว หรือคนรูจักเคยใช


การใหเหตุผลแบบอุปนัย หรือ นิรนัยมาชวยในการหาขอสรุปเพื่อชวยในการตัดสินใจ

6. เหตุ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา
2. งูไมมีขา
ขอสรุป งูเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
จงหาวาขอสรุปขางตนสมเหตุสมผลหรือไม โดยใชแผนภาพแทนเซต

7. จงตรวจสอบวาผลสรุปตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม โดยใชแผนภาพ
1) เหตุ 1. คนที่ชอบดูภาพยนตรทุกคนไมชอบดูการแขงขันกีฬา
2. อภิรดีชอบดูภาพยนตร
ผล อภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา
2) เหตุ 1. คนที่คาขายทุกคนเปนคนขยัน
2. คนที่ขยันเปนคนรวย
ผล คนที่คาขายเปนคนรวย

8. สมมติวา ทานพบวา เพื่อนของทานทุกคนที่ตั้งใจเรียนจะไมคุยระหวางเรียน สุภิตา เปนเพื่อน


ในชั้นเรียนของทานที่ไมคุยระหวางเรียน ทานจะสรุปไดหรือไมวาสุภิตาเปนคนตั้งใจเรียน
จงอธิบายวิธีการหาขอสรุปโดยใชแผนภาพแทนเซต

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ

1. 1) โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย จะได
11 × 11 = 121 เหตุผล จากผลลัพธของการคูณของสามสมการ
11 × 12 = 132 แรก เลขโดดในหลักหนวยของผลลัพธคือเลขโดด
11 × 13 = 143 ในหลักหนวยของตัวคูณ เลขโดดในหลักสิบ
11 × 14 = 154 ของผลลัพธจะมากกวาเลขโดดในหลักหนวยอยู 1
11 × 15 = 165 และเลขโดดในหลักรอยคือ 1
11 × 16 = 176
11 × 17 = 187
11 × 18 = 198
36

2) แถวที่ (1)มี 1 รูป


แถวที่ (2)มี 3 รูป
แถวที่ (3)มี 5 รูป
แถวที่ (4)มี 7 รูป
แถวที่ (5) มี 9 รูป
เหตุผล
แถวที่ 1 มีรูปสามเหลี่ยม 1 รูป
เพิ่ม 2 รูป
แถวที่ 2 มีรูปสามเหลี่ยม 3 รูป
เพิ่ม 2 รูป
แถวที่ 3 มีรูปสามเหลี่ยม 5 รูป
เพิ่ม 2 รูป
แถวที่ 4 มีรูปสามเหลี่ยม 7 รูป
ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยูในแถวที่ 5 จะตองมากกวาจํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยู
ในแถวที่ 4 อยู 2 ซึ่งเทากับ 7 + 2 หรือ 9 รูป
สรุปวา แถวที่ 5 จะตองมีรูปสามเหลี่ยม 9 รูป
แถวที่ 6, 7, 8, 9 และ 10 จะมีรูปสามเหลี่ยม 11, 13, 15, 17 และ 19 รูป ตามลําดับ

2. โดยการใหเหตุผลแบบอุปนัย จะได
แบบรูป เหตุผลแบบอุปนัย
1) -5, 5, -5, 5, -5 พิจารณาจากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให พบวา
จํานวนที่อยูในลําดับที่ 1, 3 จะเทากับ -5
ดังนั้น c อยูในลําดับที่ 5 จึงควรมีคาเทากับ -5
2) 4, 2, 0, -2, - 4 จํานวนแตละจํานวนไดจากจํานวนที่อยูขางหนาลบดวย 2
ดังนั้น c = –2 –2 หรือ - 4
3) 6, 12, 18, 24, 30 จํานวนแตละจํานวนไดจากจํานวนที่อยูขางหนาบวกดวย 6
ดังนั้น c = 24 + 6 = 30
4) 64, 32, 16, 8, 4 จํานวนแตละจํานวนไดจากการนําจํานวนที่อยูขางหนามาหารดวย 2
ดังนั้น c = 8 ÷ 2 หรือ 4
5) -17, -12, -7, -2, 3 จํานวนแตละจํานวนไดจากการนําจํานวนที่อยูขางหนาบวกดวย 5
ดังนั้น c = –2 + 5 = 3

หมายเหตุ การใหเหตุผลอาจแตกตางจากตัวอยางของคําตอบขางตนได
37

3. ถาจํานวนเต็มที่เปนจํานวนคี่ หมายถึง จํานวนที่หารดวย 2 ไมลงตัว


เนื่องจาก 11 ÷ 2 ไดผลลัพธเทากับ 5 เศษ 1
ดังนั้น 11 หารดวย 2 ไมลงตัว สรุปไดวา 11 เปนจํานวนคี่
การสรุปวา 11 เปนจํานวนคี่เปนการสรุปโดยอางอิงสิ่งที่ยอมรับวาเปนจริง
ดังนั้น การสรุปขางตนจึงเปนการสรุปโดยใชเหตุผลแบบนิรนัย

4. ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย
41 – 1 = 3 หรือ 3×1
2
4 – 1 = 15 หรือ 3×5
43 – 1 = 63 หรือ 3 × 21
44 – 1 = 255 หรือ 3 × 75
45 – 1 = 1023 หรือ 3 × 341

จะเห็นวา จํานวนที่อยูทางดานขวาของเครื่องหมาย = จะมี 3 เปนตัวประกอบทุกจํานวน


จากตัวอยางขางตน ใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยสรุปไดวา จํานวนที่มีคาเทากับ 46 – 1
จะมี 3 เปนตัวประกอบ นั่นคือ 46 – 1 = 4,095 หรือ 3 × 1,365

ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย
เหตุ 1. คนทุกคนตองการมีเพื่อน
2. อั้มเปนคน
ผล อั้มตองการมีเพื่อน

5. ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย
เพื่อนบานที่เคยเปนโรคเกี่ยวกับกระดูกหลายคนไปพบแพทยที่รักษาโรคกระดูกที่โรงพยาบาล
แหงหนึ่งแลว ทุกคนบอกวาหมอรักษาไดผลดี ฉันจึงตัดสินใจพาคุณยายซึ่งเปนโรคเกี่ยวกับกระดูก
ไปพบแพทยที่รักษาโรคกระดูกที่โรงพยาบาลแหงนั้น

ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย
ขณะนี้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําสําหรับเงินตนไมเกิน 500,000 บาท เทากับ 2.75% ตอป
ถาฉันนําเงิน 1 แสนบาทไปฝากในบัญชีฝากประจํา จะไดรับดอกเบี้ย 2,750 บาท เมื่อฝากครบ 1 ป
(ถาธนาคารไมเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย)
38

6. เหตุ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา
2. งูไมมีขา
ขอสรุป งูเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

ให A แทนเซตของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
B แทนเซตของสัตวไมมีขา
c แทนงู
A B A B
• c •c

แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2

จากแผนภาพที่ 1 สรุปไดวา งูเปนสัตวไมมีขาที่ไมเลี้ยงลูกดวยนม


จากแผนภาพที่ 2 สรุปไดวา งูเปนสัตวไมมีขาที่เลี้ยงลูกดวยนม
แผนภาพที่ 1 ขัดแยงกับขอสรุป ดังนั้น ขอสรุปขางตนจึงไมสมเหตุสมผล

7. 1) เหตุ 1. คนที่ชอบดูภาพยนตรทุกคนไมชอบดูการแขงขันกีฬา
2. อภิรดีชอบดูภาพยนตร
ผล อภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา
A B
ให A แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตร
•c
B แทนเซตของคนที่ชอบดูการแขงขันกีฬา
c แทนอภิรดี
จากแผนภาพ พบวา ขอสรุปที่วาอภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา สมเหตุสมผล

2) เหตุ 1. คนที่คาขายทุกคนเปนคนขยัน
2. คนที่ขยันเปนคนรวย
ผล คนที่คาขายเปนคนรวย
R
A
ให M แทนเซตของคนที่คาขาย M
A แทนเซตของคนที่ขยัน
R แทนเซตของคนที่รวย
จากแผนภาพ พบวา ขอสรุปที่วาคนที่คาขายเปนคนรวย สมเหตุสมผล
39

8. ถาเพื่อนทุกคนที่ตั้งใจเรียนจะไมคุยระหวางเรียน สุภิตาไมคุยระหวางเรียน
ให A แทนเซตของคนที่ตั้งใจเรียน
B แทนเซตของคนที่ไมคุยระหวางเรียน
c แทนสุภิตา
B
• c
• c A B
A

แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2
จากแผนภาพที่ 1 สรุปไดวา สุภิตาไมคุยระหวางเรียน และสุภิตาตั้งใจเรียน
จากแผนภาพที่ 2 สรุปไดวา สุภิตาไมคุยระหวางเรียน แตสุภิตาไมตั้งใจเรียน
เนื่องจาก แผนภาพทั้งสองขัดแยงกัน จึงไมสามารถสรุปวา สุภิตาเปนคนที่ตั้งใจเรียน

เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 2.1
1. การใหเหตุผลในคําตอบที่ไดแสดงไวเปนเพียงตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัยในการ
หาคา a อาจมีเหตุผลอื่นนอกเหนือจากที่ไดแสดงไวไดอีก
1) 12, 22, 32, 42, a
จากจํานวนแรกคือ 12 = (1 × 10) + 2
22 = (2 × 10) + 2
32 = (3 × 10) + 2
42 = (4 × 10) + 2
จะได a = (5 × 10) + 2 หรือ 52

2) 12, 10, 8, 6, a
จากจํานวนแรกคือ 12 = 6×2
10 = 5×2
8 = 4×2
6 = 3×2
จะได a = 2×2 หรือ 4
40

3) 5, 3, 1, -1, -3, a
จากจํานวนแรกคือ 5 = 7–2
3 = 5–2
1 = 3–2
-1 = 1–2
-3 = –1 – 2
จะได a = –3 – 2 หรือ -5

4) 1, -1, 1, -1, 1, a
เหตุผล พิจารณาแบบรูปที่กําหนดใหพบวา จํานวนในลําดับที่เปนจํานวนคี่ คือ 1
และจํานวนในลําดับที่เปนจํานวนคู คือ -1
เนื่องจาก a อยูในลําดับที่ 6 ซึ่งเปนจํานวนคู ดังนั้น a ควรเทากับ -1

5) 1, 4, 9, 16, 25, a
จากจํานวนแรกคือ 1 = 12
4 = 22
9 = 32
16 = 42
25 = 52
จะได a = 62 หรือ 36

6) -15, -5, 5, 15, a


จากจํานวนแรกคือ -15
-5 = -15 + 10
5 = -5 + 10
15 = 5 + 10
จะได a = 15 + 10 หรือ 25

7) 1, -1, -3, -5, a


จากจํานวนแรกคือ 1
-1 = 1–2
-3 = –1 – 2
-5 = –3 – 2
จะได a = –5 – 2 หรือ -7
41

8) -5, -3, -1, 1, a


จากจํานวนแรกคือ -5
-3 = –5 + 2
-1 = –3 + 2
1 = –1 + 2
จะได a = 1 + 2หรือ 3

9) 1, 6, 11, 16, a
จากจํานวนแรกคือ 1
6 = 1+5
11 = 6+5
16 = 11 + 5
จะได a = 16 + 5หรือ 21

10) 8, 14, 20, 26, a


จากจํานวนแรกคือ 8
14 = 8+6
20 = 14 + 6
26 = 20 + 6
จะได a = 26 + 6หรือ 32

2. พิจารณาผลคูณที่กําหนดใหตอไปนี้
1×9 = 9 6 × 9 = 54 11 × 9 = 99
2 × 9 = 18 7 × 9 = 63 12 × 9 = 108
3 × 9 = 27 8 × 9 = 72 13 × 9 = 117
4 × 9 = 36 9 × 9 = 81 14 × 9 = 126
5 × 9 = 45 10 × 9 = 90 15 × 9 = 135
จากผลคูณที่ไดพบวา เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณที่ไดมาบวกกัน
ผลบวกที่ไดจะหารลงตัวดวย 9 เสมอ เชน 15 × 9 = 135
เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณมาบวกกัน
จะได 1 + 3 + 5 = 9 ซึ่งหารดวย 9 ลงตัว
โดยใชเหตุผลแบบอุปนัยจะสรุปไดวา เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณ
ของจํานวนเต็มบวกใด ๆ กับ 9 มาบวกกัน ผลบวกที่ไดจะหารลงตัวดวย 9 เสมอ
42

3. 1) พิจารณาผลคูณของจํานวนที่มี 142,857 ตอไปนี้


142,857 × 1 = 142,857
142,857 × 2 = 285,714
142,857 × 3 = 428,571
142,857 × 4 = 571,428
จากการสังเกตจํานวนที่เปนผลคูณพบวา ผลคูณที่ไดประกอบดวยเลขโดด 1, 4, 2, 8, 5
และ 7 เสมอ

2) โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย ผลคูณของ 142,857 × 5 และ 142,857 × 6 ควรจะประกอบ


ดวยตัวเลขโดดชุดเดียวกับตัวคูณ 142,857 เมื่อหาผลคูณขางตนพบวา 142,857 × 5 = 714,285
และ 142,857 × 6 = 857,142

3) เนื่องจาก 142,857 × 7 พบวา 7 × 7 = 49 ซึ่งทําใหผลคูณมีจํานวนที่อยูในหลักหนวย


แทนดวยเลข 9 ซึ่ง 9 ไมอยูในชุดตัวเลข 142857
142,857 × 8 พบวา 7 × 8 = 56 ซึ่งทําใหผลคูณมีจํานวนที่อยูในหลักหนวยแทนดวย
เลข 6 ซึ่ง 6 ไมอยูในชุดตัวเลข 142857
ดังนั้น คําตอบที่ไดจากการคูณ 142,857 ดวย 7 หรือ 8 โดยใชขอสรุปขางตนไมเปนจริง

หมายเหตุ 142,857 × 7 = 999,999


และ 142,857 × 8 = 1,142,856

4. พิจารณาผลคูณตอไปนี้
1) 37 × 3 = 11
37 × 6 = 22
37 × 9 = 33
37 × 12 = 44
จากผลคูณในแบบรูปขางตนพบวา
37 × 3 × 1 = 111
37 × 3 × 2 = 222
37 × 3 × 3 = 333
37 × 3 × 4 = 444
43

2) จากแบบรูปขางตน และใชเหตุผลแบบอุปนัย จะไดวา


37 × 3 × 5 = 555
37 × 3 × 6 = 666
37 × 3 × 7 = 777
37 × 3 × 8 = 888
37 × 3 × 9 = 999

5. 1) 9 × 9 + 7 = 88
98 × 9 + 6 = 888
987 × 9 + 5 = 8,888
9,876 × 9 + 4 = 88,888
98,765 × 9 + 3 = 888,888

2) 34 × 34 = 1,156
334 × 334 = 111,556
3,334 × 3,334 = 11,115,556
33,334 × 33,334=1,111,155,556

3) 2 = 4–2
2+4 = 8–2
2+4+8 = 16 – 2
2 + 4 + 8 + 16 = 32 – 2
2 + 4 + 8 + 16 + 32 = 64 –2
3(2)
4) 3 =
2
6(3)
3+6 =
2
9( 4)
3+6+9 =
2
12(5)
3 + 6 + 9 + 12 =
2
15(6)
3 + 6 + 9 + 12 + 15 = 2
44

5) 5(6) = 6(6 – 1)
5(6) + 5(36) = 6(36 – 1)
5(6) + 5(36) + 5(216) = 6(216 – 1)
5(6) + 5(36) + 5(216) + 5(216 × 6) = 6(1,296 – 1)
หรือ 5(6) + 5(6 × 6) + 5(6 × 6 × 6) + 5(6 × 6 × 6 × 6) = 6(6 × 6 × 6 × 6 – 1)

6. 1) 1 + 2 + 3 + … + 148 + 149 + 150 มีจํานวน 151 ทั้งหมด 75 จํานวน


151
151
151

จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 150 = 151 × 75 หรือ 11,325

2) 1 + 2 + 3 + … + 298 + 299 + 300 มีจํานวน 301 ทั้งหมด 150 จํานวน


301
301
301

จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 300 = 301 × 150 หรือ 45,150

3) 1 + 2 + 3 + … + 498 + 499 + 500 มีจํานวน 501 ทั้งหมด 250 จํานวน


501
501
501

จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 500 = 501 × 250 = 125,250

4) 1 + 2 + 3 + … + 998 + 999 + 1,000 มีจํานวน 1,001 ทั้งหมด 500 จํานวน


1,001
1,001
1,001

จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 1,000 = 1,001 × 500 = 500,500


45

7. 1) 2 + 4 + 6 + … + 96 + 98 + 100 มีจํานวน 102 ทั้งหมด 25 จํานวน


102
102
102

จะไดวา 2 + 4 + 6 + … + 1,000 = 102 × 25 หรือ 2,550

2) 1 + 2 + 3 + … + 122 + 123 + 124 + 125 มีจํานวน 125 ทั้งหมด 62 จํานวน


125
125
125

จะไดวา 1 + 2 + 3 + ... + 125 = (125 × 62) + 125 หรือ 7,875

3) 1 + 2 + 3 + ... + (n – 1) + n เมื่อ n เปนจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่ จะเทากับ


n −1
[(n – 1) + 1] บวกกัน จํานวน แลวบวกกับ n
2
1 + 2 + 3 + ... + n = [(n – 1) + 1] ⎛⎜ n − 1 ⎞⎟ + n
⎝ 2 ⎠
⎛ n −1⎞
= n⎜ ⎟+n
⎝ 2 ⎠

8.

1 3 6 10 15 21
จากจํานวนสามเหลี่ยมที่กําหนดให จะหาจํานวนสามเหลี่ยมถัดไปอีกสองจํานวนไดดังนี้
1) จํานวนสามเหลี่ยมที่อยูถัดจาก 21 อีก 2 จํานวน ไดแก จํานวน 28 และ 36 ซึ่งแสดง
ดวยภาพไดดังนี้

28 36
46

2) จํานวนจุดในแตละแถวตามแนวนอนจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 จุด จากรูปที่อยูกอนเปน 2, 3, 4, 5,


6, 7, 8 หรือแถวที่ n จะมีจํานวน n จุดเมื่อ n เปนจํานวนนับ

3) พิจารณาวา 72 เปนจํานวนสามเหลี่ยมหรือไม ไดดังนี้


พิจารณาจากจํานวนแรกคือ 1 จะพบความสัมพันธของจํานวนดังนี้
3 = 1+2
6 = 3+3
10 = 6 + 4
15 = 10 + 5
21 = 15 + 6
28 = 21 + 7
36 = 28 + 8
45 = 36 + 9
55 = 45 + 10
66 = 55 + 11
78 = 66 + 12
จากการหาผลบวกขางตน พบวา 72 ไมใชจํานวนสามเหลี่ยม

9. 1) ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ จะหารดวย 2 ลงตัวเสมอ ไมเปนจริง เพราะ


1 และ 11 เปนจํานวนนับ
1 × 11 = 11
แต 11 หารดวย 2 ไมลงตัว
2) จํานวนนับใด ๆ ที่มีคามากกวา 4 จะเขียนไดในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไป
สองจํานวน หรือมากกวาสองจํานวน ไมเปนจริง เพราะ
8 เปนจํานวนนับ และ 8 มีคามากกวา 4
แต 8 ไมสามารถเขียนในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไปไดโดยพิจารณาจากผลบวก
ของจํานวนตอไปนี้
พิจารณาผลบวกของจํานวนถัดไปที่มีคาเทากับ 9 และ 10 มีดังนี้
1 + 2 + 3 + 4 = 10
2 + 3 + 4 = 9 และ 4 + 5 = 9
แตผลบวกของจํานวนนับที่มีคาเทากับ 8 มีดังนี้
47

8= 4+4
= 3+5
= 2+6
= 1+7
3) กําลังสองของจํานวนนับใด ๆ จะเปนจํานวนคูเสมอ
ไมเปนจริง เพราะ
1 เปนจํานวนนับ และ 12 = 1
แต 1 ไมเปนจํานวนคู

10. (4)
(3)
(2)
(1)
1)

(4)
(3)
(1) (2)
2)

แบบฝกหัด 2.2
1. เหตุ 1) กบทุกตัววายน้ําได
2) สัตวที่วายน้ําได จะบินได
ผล กบทุกตัวบินได

ให A แทน เซตของกบทุกตัว


C B A
B แทน เซตของสัตวที่วายน้ําได
C แทน เซตของสัตวที่บินได

จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา กบทุกตัวบินได สมเหตุสมผล
48

2. เหตุ 1) จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนเต็ม
2) จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนจริง
ผล จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนจริง
B C ให A แทน เซตของจํานวนนับ
B แทน เซตของจํานวนเต็ม
A
C แทน เซตของจํานวนจริง

จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนจริง สมเหตุสมผล

3. เหตุ 1) คนที่มีสุขภาพดีทุกคนเปนคนที่มีความสุข
2) ก มีความสุข
ผล ก มีสุขภาพดี
B B ให A แทนเซตของคนมีสุขภาพดี
•c A
A B แทนเซตของคนมีความสุข
•c
c แทน ก
(1) (2)
จากแผนภาพ (1) ก เปนคนมีความสุข แต ก สุขภาพไมดี
จากแผนภาพ (2) ก เปนคนมีความสุข และ ก มีสุขภาพดี
แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา ก มีความสุข แลว ก มีสุขภาพดี จึงไมสมเหตุสมผล

4. เหตุ 1) จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว ทุกจํานวนเปนจํานวนคู


2) 7 หารดวย 2 ลงตัว
ผล 7 เปนจํานวนคู
B
A ให A แทนเซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว
•c
B แทนเซตของจํานวนคู
c แทน 7
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา 7 เปนจํานวนคู สมเหตุสมผล
49

5. เหตุ 1) สุนัขบางตัวมีขนยาว
2) มอมเปนสุนัขของฉัน
ผล มอมเปนสุนัขที่มีขนยาว
A ให A แทนเซตของสุนัข
B
B แทนเซตของสิ่งที่มีขนยาว
•c
c แทนมอม
(1)
A จากแผนภาพ (1) พบวา มอมเปนสุนัข แตขนไมยาว
B
จากแผนภาพ (2) พบวา มอมเปนสุนัขขนยาว
c•
แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
(2) ดังนั้น ผลสรุปที่วา มอมเปนสุนัขที่มขี นยาว ไมสมเหตุสมผล

6. เหตุ 1) มาทุกตัวมี 4 ขา
2) ไมมีสัตวทมี่ ีสี่ขาตัวใดทีบ่ ินได
ผล ไมมีมาตัวใดบินได
B C ให A แทนเซตของมา
A
B แทนเซตของสัตวที่มี 4 ขา
C แทนเซตของสัตวที่บินได

จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา ไมมีมาตัวใดบินได สมเหตุสมผล

7. เหตุ 1) ไมมีจํานวนเฉพาะตัวใดหารดวย 2 ลงตัว


2) 21 หารดวย 2 ไมลงตัว
ผล 21 เปนจํานวนเฉพาะ
A ให A แทนเซตของจํานวนเฉพาะ
B
B แทนเซตของจํานวนทีห่ ารดวย 2 ลงตัว
•c c แทน 21
(1) จากแผนภาพ (1) จะเห็นวา 21 ไมเปนจํานวนเฉพาะ
A B จากแผนภาพ (2) จะเห็นวา 21 เปนจํานวนเฉพาะ

c แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา 21 เปนจํานวนเฉพาะไมสมเหตุสมผล
(2)
50

8. เหตุ 1) วันที่มีฝนตกทั้งวัน จะมีทอ งฟามืดครึ้มทุกวัน


2) วันนี้ทองฟามืดครึ้ม
ผล วันนี้มีฝนตกทัง้ วัน
•c B B
A A ให A แทนเซตของวันที่มีฝนตกทั้งวัน
•c
B แทนเซตของวันที่มีทองฟามืดครึ้ม
(1) (2) c แทนวันนี้

จากแผนภาพ (1) พบวา วันนี้เปนวันที่ทอ งฟามืดครึ้ม แตฝนไมไดตกทั้งวัน


จากแผนภาพ (2) พบวา วันนี้ฝนตกทั้งวัน และทองฟามืดครึ้ม
แผนภาพ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา วันนี้ฝนตกทั้งวัน ไมสมเหตุสมผล

9. เหตุ 1) แมวบางตัวมีสองขา
2) นกทุกตัวมีสองขา
ผล นกบางตัวเปนแมว
ให A แทนเซตของแมว
B แทนเซตของสัตวที่มีสองขา
C แทนเซตของนก

A B A B A B
C C C

(1) (2) (3)


จากแผนภาพ (1) พบวา นกทุกตัวเปนแมว
จากแผนภาพ (2) พบวา นกบางตัวเปนแมว
จากแผนภาพ (3) พบวา นกทุกตัวไมเปนแมว
แผนภาพที่ (3) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา นกบางตัวเปนแมว ไมสมเหตุสมผล

10. เหตุ 1) ชายไทยทุกคนตองรับการเกณฑทหาร เมื่ออายุครบ 21 ปบริบูรณ


2) มานะเปนชายไทย
ผล มานะจะตองเขารับการเกณฑทหารเมื่ออายุ 21 ปบริบูรณ
51

A ให A แทน เซตของผูที่ตองเขารับการเกณฑทหาร


B B แทน เซตชายไทยที่อายุครบ 21 ปบริบูรณ
•c
c แทน มานะ
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา มานะตองเขารับการเกณฑทหารเมื่ออายุครบ 21 ปบริบูรณ สมเหตุสมผล
บทที่ 3
จํานวนจริง
( 14 ชั่วโมง )

ในบทเรียนนีม้ งุ ใหผเู รียนมีความรูเ กีย่ วกับจํานวนจริงเพิม่ ขึน้ จากชวงชัน้ ที่ 3 โดยจะใหเห็นวา
เซตของจํานวนจริงประกอบดวยจํานวนชนิดตางๆ สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
การเทากันและการไมเทากันของจํานวนจริง การแกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง
และคาสัมบูรณ โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังนี้

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบจํานวนจริงได
2. เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนจริง
3. เขาใจสมบัติของจํานวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก การคูณ การเทากันและการไมเทากัน และนําไป
ใชได
4. แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได
5. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสัมบูรณของจํานวนจริงได

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
53

ขอเสนอแนะ
1. การสอนบทนี้นอกจากจะใหผูเรียนไดเห็นวา จํานวนชนิดใดอยูในเซตใดแลว ควรจะชี้แจงให
ผู เ รี ย นเห็ น ว า จํานวนแต ล ะจํานวนอาจเขี ย นให อ ยู ใ นรู ป ที่ แ ตกต า งกั น ได ห ลายรู ป แบบ
เชน 4 อาจเขียนอยูในรูป 82 หรือ 16 หรือ ⏐- 4⏐ หรือ (− 4 ) 2 เปนตน

a
2. จํานวนที่เขียนในรูป b
เมื่อ a, b เปนจํานวนเต็ม ตัวสวนคือ b จะเปนศูนยไมไดเพราะถาตัว
สวนเปนศูนยจะเปนการหารดวยศูนยซึ่งในระบบจํานวนจริงกําหนดใหตัวหารตองไมเปนศูนย
ถาใหตัวหารเปนศูนย จะเกิดขอขัดแยงดังตัวอยางตอไปนี้
ให a และ b เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย และ a = b
จาก a = b
ab = b2 (คูณดวยจํานวนที่เทากัน)
ab – a2 = b2 – a2 (หักออกดวยจํานวนที่เทากัน)
a(b – a) = (b + a)(b – a) (สมบัติการแจกแจง)
a = b+a (หารดวย b – a ทั้งสองขาง)
a = a+a (a = b)
a = 2a
1 = 2 (สมบัติการตัดออกสําหรับการคูณ)
จะเห็นวา การที่ผลลัพธออกมาเชนนี้เนื่องจาก การนํา b – a ซึ่งเทากับ 0 หารทั้งสองขาง
ของสมการ

3. จํานวนอตรรกยะจํานวนหนึ่งที่ผูเรียนมักจะตอบวา เปนจํานวนตรรกยะคือ π เนื่องจากการ


คํานวณในชวงชั้นตน ๆ มักจะใหผูเรียนแทนคา π ดวย 227
จึงทําใหผูเรียนสวนมากเขาใจผิด
22
ไปวา π = 7
ดังนั้น ผูเรียนจึงสรุปวา π เปนจํานวนตรรกยะ ซึ่งไมถูกตอง ในบทนี้มี
จุดประสงคจะใหผูเรียนสามารถจําแนกชนิดของจํานวนไดอยางถูกตอง ดังนั้น ผูสอนจะตองให
ผูเรียนระมัดระวังและชี้ใหเห็นวา คาที่ใชในการคํานวณไมวาจะเปน 22
7
หรือ 3.1416 ก็ตาม
ลวนเปนคาประมาณของ π ดวยเหตุผลในทํานองเดียวกันนี้ ผูเรียนจะเห็นวาแมจะใช 1.414
แทน 2 ในการคํานวณ แตแทจริงแลว 2 เปนจํานวนอตรรกยะ
54

4. เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามและการแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เปนเนื้อหาสาระที่
จัดไวใหเปนพื้นฐานสําหรับผูเรียนที่เรียนคณิตศาสตร เฉพาะรายวิชาพื้นฐานในชวงชั้นที่ 3
ผูเรียนที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติมในชวงชั้นที่ 3 มาแลว อาจจะไดเรียนเนื้อหานี้แลว
ดังนั้นผูสอนในเนื้อหาสาระนี้ควรพิจารณาผูเรียนวามีพื้นฐานความรูของเนื้อหาสาระนี้มากนอย
เพียงใด ถาผูเ รียนไดเรียนเนือ้ หาสาระนีแ้ ลว ผูส อนอาจจะเพียงทบทวนใหผเู รียนหรือปรับบทเรียน
ใหมีความเหมาะสมกับผูเรียน

5. ผูเรียนบางคนอาจจะสับสนกับเรื่องคาสัมบูรณของจํานวนจริง a ใด ๆ ที่อธิบายไววา
เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ
a เมื่อ a เปนจํานวนจริงบวกหรือศูนย
⏐a⏐ =
- a เมื่อ a เปนจํานวนจริงลบ
ผูเรียนควรเขาใจวา ⏐a⏐ มีคาเปนจํานวนบวกหรือศูนยเสมอ กลาวคือ
เมื่อ a เปนจํานวนบวก เชน 5.25 จะได ⏐5.25⏐ = 5.25
เมื่อ a เปนศูนย จะได ⏐0⏐ = 0
เมื่อ a เปนจํานวนลบ เชน - 8 จะได ⏐- 8⏐ = – (-8) = 8
ผูสอนควรใหผูเรียนมีความเขาใจวา เมื่อ a เปนจํานวนจริงใด ๆ ⏐a⏐ ตองไมเปนจํานวนลบ

6. เรื่องคาสัมบูรณของจํานวนจริง การใหความหมายของคาสัมบูรณของจํานวนจริงใด ๆ ดวยระยะ


ของจุดที่แทนจํานวนจริงนั้นอยูหางจากจุดที่แทน ศูนย บนเสนจํานวน จะทําใหผูเรียนเขาใจ
ความหมายของอสมการ ⏐x⏐ < a และ ⏐x⏐ > a ดีขึ้น กลาวคือ
จํานวนจริง x ที่ทําใหอสมการ ⏐x⏐ < a เปนจริง ไดแก จํานวนจริงทุกจํานวนที่มีระยะ
หางจาก 0 บนเสนจํานวนนอยกวา a ซึ่งแสดงไดดังนี้

-a 0 a
นั่นคือ x แทนจํานวนจริงทุกจํานวนที่อยูระหวาง -a และ a หรือ เขียนไดเปน - a < x < a
จํานวนจริง x ที่ทําใหอสมการ ⏐x⏐ > a เปนจริง ไดแก จํานวนจริงทุกจํานวนที่มีระยะ
หางจาก 0 บนเสนจํานวนมากกวา a ซึ่งแสดงไดดังนี้

-a 0 a
นั่นคือ x แทนจํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา a และนอยกวา - a หรือ เขียนไดเปน x > a
และ x < - a
55

กิจกรรมเสนอแนะ

กิจกรรมที่ 1 และ 2 ที่เสนอไวตอไปนี้ผูสอนอาจใชเปนกิจกรรมเสริมสรางทักษะ


กระบวนการแกปญหา การใหเหตุผล และการสื่อสาร สําหรับกิจกรรมที่ 3 ผูสอนสามารถใชเปน
กิจกรรมประกอบการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจเกี่ยวกับการคูณดวยจํานวนที่นอยกวา
ศูนย ของอสมการไดดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ผูสอนสามารถปรับกิจกรรมที่เสนอไวไดตามความเหมาะสมของ
ผูเรียน

กิจกรรมที่ 1

ปญหา ก. ข.
4ab 400
400 ab4

ใหจํานวนที่อยูใน แทนคําตอบของปญหา ก. และ ข.


ถาคําตอบทั้งสองมีคาเทากัน
จงหาวา a และ b แทนเลขโดดใด และคําตอบที่เทากันนั้นคือจํานวนใด

จากปญหาขางตน ผูสอนอาจใชคําถามตอไปนี้เพื่อชวยแนะนําใหผูเรียนหาคําตอบไดดวย
ตนเองดังนี้
1. ใชความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการลบ
1) พิจารณาจากสิ่งที่โจทยกําหนดใหใน ข. เลขโดดในหลักหนวยของผลลัพธ
ควรเปนจํานวนใด
ข.
4 0 0 4 0 0
a b 4 a b 4
? 6 10 – 4 = 6
56

2) จากคําตอบในขอ 1) สามารถหาคําตอบอื่นไดอีกหรือไม
จากคําตอบในขอ 1) พิจารณาโจทย ก. จะได b - 0 ควรมีคาเทากับ 6 นั่นคือ
b แทน 6

ก.
4 a b
4 0 0
6
ดังนั้น
ก. ข.
4 a b 4 0 0
4 0 0 a 6 4
6 6

3) จากโจทย ข. ขางตนเลขโดดในหลักสิบของ ข. ควรเปนจํานวนใด

ข.
4 0 0
a 6 4
3 6
ควรเทากับ 3 เพราะ 9 – 6 = 3

4) จากคําตอบขางตน a ควรมีคาเทาใด และสามารถหาคําตอบอื่นไดอีกหรือไม


จากคําตอบในขอ 3) พิจารณาโจทย ก. จะได a – 0 ควรมีคาเทากับ 3 นั่นคือ
a แทน 3
57

ก. ข.
a
4 3 6 4 0 0
4 0 0 a 3 6 4
3 6 3 6
0
คําตอบ
4 3 6 4 0 0
4 0 0 3 6 4
3 6 3 6

สรุปไดวา a = 3, b = 6 และคําตอบที่เทากันคือ 36

2. ใชความรูเรื่องคาประจําหลัก และความรูทางพีชคณิต

สําหรับคําถามทีก่ ลาวมาในกิจกรรมที่ 1 ผูเ รียนบางคนอาจจะใชความรูเ รือ่ งคาประจําหลัก


และตัวแปรมาชวยในการหาคําตอบไดดังนี้
จาก ก. 4ab – 400 และ ข. 400 – ab4 จะไดวา
4ab – 400 = (400 + 10a + b) – 400 หรือ 10a + b (1)
และ 400 – ab4 = 400 – (100a + 10b + 4) หรือ 396 – 100a – 10b (2)

เนื่องจากโจทยกําหนดใหผลตางของ (1) และ (2) เทากัน


จะไดวา 10a + b = 396 – 100a – 10b
110a + 11b = 396
10a + b = 36
โดยอาศัยความรูเรื่องคาประจําหลัก จะไดวา a = 3 และ b = 6 จึงจะทําให 10a + b = 36

นอกจากวิธีการที่ไดนําเสนอ อาจจะมีผูเรียนบางคนหรือบางกลุมใชวิธีการอื่นนอกจากนี้ก็ได ซึ่ง


ผูสอนควรใหโอกาสผูเรียนไดนําเสนอวิธีการหาคําตอบที่แตกตางกันใหเพื่อนไดรับทราบดวย เพื่อเปนการ
ฝกทักษะกระบวนการทางดานการสื่อสารใหแกผูเรียน
58

กิจกรรมที่ 2

1. เนื้อหา จํานวนจริงและสมบัติของจํานวนจริง a × 0 = 0

ให n เปนจํานวนนับ โดยที่ 1 ≤ n ≤ 26


และ a = 1, b = 2, c = 3, ..., z = 26
จงหาผลคูณ (n – a)(n – b)(n – c) ... (n – z)

2. เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง

ให x = y
บวกทั้งสองขางของสมการดวย – y
จะได x–y = 0 (1)
คูณทั้งสองขางของสมการ (1) ดวย 2
จะได 2x – 2y = 0 (2)
และ x – y = 2x – 2y ((1) = (2))
(x – y) = 2(x – y)
หารทั้งสองขางของสมการดวย (x – y)
จะได 1 = 2
เพราะเหตุใดคําตอบจึงเปนเชนนี้

คําตอบ ขอ 1 คําตอบคือ 0 เนื่องจาก 1 ≤ n ≤ 26 ดังนั้น n จะตองมีคาเทากับคาใดคาหนึ่ง


ที่เปนจํานวนเต็มตั้งแต 1 ถึง 26 เชน
ถาให n = 1 จะได
(1 – 1)(1 – 2)(1 – 3) ... (1 – 26) = 0
คําตอบขอ 2 จากโจทยขางตน เนื่องจาก x = y
ดังนั้น x – y จึงมีคาเทากับศูนย ทําใหไมสามารถนํา x – y
ซึ่งมีคาเทากับศูนยไปหารทั้งสองขางของสมการ (x – y) = 2(x – y) ได
หมายเหตุ ในระบบจํานวน เราไมใชศูนยเปนตัวหาร
เชน ให 10 × 0 = 100 × 0
ถาหารทั้งสองขางของสมการดวย 0 จะไดวา 10 = 100 ซึ่งไมเปนจริง
59

กิจกรรมที่ 3
ในการแกอสมการโดยใชสมบัติของการคูณดวยจํานวนที่เทากันและไมเปนศูนยจะเปนไป
ตามสมบัติ ดังนี้ เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใด ๆ

ถา a < b และ c < 0 แลว ca > cb

จะเห็นวา เครื่องหมายแสดงการไมเทากันจะเปลี่ยนจาก < เปน > ซึ่งผูเรียนบางคน


อาจจะนึกภาพไมออกวาเหตุใดจึงเปนเชนนั้น เพื่อใหผูเรียนมีความเขาใจเรื่องการเปลี่ยนเครื่องหมาย
จาก < เปน > เมื่อคูณดวยจํานวนที่นอยกวาศูนยงายขึ้น ผูสอนอาจใชเสนจํานวนมาชวยอธิบาย
ไดดังนี้
กําหนดให a < b เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริงใด ๆ และให c = –1

1) ถา a < b และ a, b > 0

0 a b

-b -a 0 a b

จากแผนภาพ จะเห็นวา เมื่อ a < b จะไดวา


–a > –b
ตัวอยางเชน 2 < 3 จะไดวา –2 > –3

ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a และ b ที่มากกวาศูนยหลาย ๆ ตัวอยางและใชแผน


ภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม
60

2) ถา a < b และ a < 0 แต b > 0

a 0 b

-b a 0 -a b

จากแผนภาพ จะเห็นวา – a > – b


ตัวอยางเชน – 1 < 3 จะไดวา 1 > – 3

ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a ที่นอยกวาศูนย และ b ที่มากกวาศูนยหลาย ๆ ตัว


อยางและใชแผนภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม

3) ถา a < b และ a, b < 0

a b 0

a b 0 -b -a
จากแผนภาพ จะเห็นวา – a > – b
ตัวอยางเชน –3 < –1 จะไดวา 3 > 1

ผูสอนใหผูเรียนยกตัวอยางจํานวน a และ b ที่นอยกวาศูนยหลาย ๆ ตัวอยาง และใช


แผนภาพของเสนจํานวนหาคาของ – a และ – b เพื่อหาวา – a > – b จริงหรือไม

เมื่อผูเรียนทําความเขาใจกับตัวอยางที่กลาวมาขางตนและพบวา ตัวอยางที่ยกมาเปนจริงทั้งสาม
กรณี ผูสอนจึงคอยสรุปสมบัติการคูณทั้งสองขางของอสมการดวยจํานวนที่เทากันที่เปนจํานวนจริงลบ
ดังนี้
61

ให a และ b เปนจํานวนจริง


ถา a < b และ c < 0 แลว ac > bc
ถา a > b และ c < 0 แลว ac < bc
กิจกรรมที่กลาวมาคงจะชวยทําใหผูเรียนเขาใจสมบัติของการคูณดวยจํานวนที่เทากัน
ที่ไมเปนศูนยในอสมการไดชัดเจนขึ้น และสามารถนําสมบัติดังกลาวไปใชไดอยางถูกตอง

แบบทดสอบประจําบท

แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง จํานวนจริง ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบ
ทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละกลุม

ตัวอยางแบบทดสอบ

1. จงยกตัวอยาง
1) จํานวนตรรกยะที่ไมเปนจํานวนเต็ม
2) จํานวนจริงที่ไมเปนจํานวนตรรกยะ

2. จงพิจารณาวาจํานวนตอไปนี้ จํานวนใดเปนจํานวนตรรกยะ จํานวนใดเปนจํานวนอตรรกยะ


π
4, 31 , , 0.75, 0, 1.3333 … , –5.50
2

3. จงหาคําตอบของสมการตอไปนี้
1) x2 + 6x – 16 = 0
2) x2 + 4x – 8 = 0

4. จงหาคําตอบของอสมการตอไปนี้
1) –5x – 20 ≥ 0
2) (x – 1)(x + 3) < 0
3) x2 – 4 ≤ 0

5. จงหาคาของ x เมื่อกําหนดให
1) 2x(x + 1) = – ( x + 1) 2) –2x ≤ 1
62

6. จงหาคาของ
12
1) –⏐–1⏐ + ⏐11⏐ 2)
− 12

7. จงแสดงคาของ x บนเสนจํานวน เมื่อ


1) ⏐x⏐ > 1
2) ⏐x – 1 ⏐ = 0

8. โรงงานอุตสาหกรรมผลิตสินคาสงออกแหงหนึ่งเก็บสินคาที่ผลิตไดไวที่โกดังของโรงงานกอนสง
ออกไปขาย โดยโรงงานจะผลิตสินคาไดไมเกินวันละ n ชิ้น ในเดือนพฤศจิกายน โกดังเก็บ
สินคาที่ผลิตไดมากที่สุดจํานวน 27,000 ชิ้น อยากทราบวา โรงงานแหงนี้ผลิตสินคาไดวันละ
ไมเกินกี่ชิ้น

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
9 −2
1. 1) 2
, 3.5 , 3
, 1.39&
2) π , 2 , 5.121121112...

2.
จํานวนจริง จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ
4
 -
31 - 
π - 
2
0.75  -
0  -
1.3333...  -
– 5.50  -

3. 1) x2 + 6x – 16 = 0
(x + 8)(x – 2) = 0
x = – 8, 2
63

2) x2 + 4x – 8 = 0
(x2 + 4x) – 8 = 0
(x2 + 4x + 4) – 8 – 4 = 0
(x + 2)2 – 12 = 0
(x + 2)2 = 12
(x + 2) = ± 12
x = –2 ± 12 หรือ −2±2 3

หมายเหตุ ผูเรียนอาจใชวิธีการอื่นเชนใชสูตรเพื่อหาคา x ก็ได

− b ± b 2 − 4ac − 4 ± 4 2 − 4(1)(− 8)
โดยการใชสูตร x = = 2(1)
2a
− 4 ± 48 (− 4) ± 16×3
= = 2
2
= −2±2 3

4. จงหาคําตอบของอสมการตอไปนี้
1) –5x – 20 ≥ 0
–5x – 20 + 20 ≥ 0 + 20
–5x ≥ 20
5x 20
− ≥
5 5
–x ≥ 4
x ≤ –4

2) (x – 1)(x + 3) < 0
พิจารณาตัวอยางคา x ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 1) และ (1, ∞) ในตารางตอไปนี้
ชวง x (x – 1)(x + 3)
(– ∞, – 3) –5 (– 6)(– 2) = 12 มีคาเปนบวก
(– 3, 1) 0 (– 1)(3) = – 3 มีคา เปนลบ
(1, ∞) 5 (4)(8) = 32 มีคาเปนบวก

เมื่อกําหนดคา x เพิ่มขึ้นอีกหลาย ๆ จํานวน จะพบวา


คาของ x ที่ทําให (x – 1)(x + 3) < 0 คือ x ที่อยูในชวง (– 3, 1)

–3 1
64

3) x2 – 4 ≤ 0
(x – 2)(x + 2) ≤ 0
พิจารณาตัวอยางของ x ในชวง (– ∞, – 2), (– 2, 2), (2, ∞) และ x = ±2
ในตารางตอไปนี้

ชวง x (x – 2)(x + 2)
(– ∞, – 2) –5 (– 7)(– 3) = 21 มีคาเปนบวก
(– 2, 2) 0 (– 2)(2) = – 4 มีคาเปนลบ
(2, ∞) 5 (3)(7) = 21 มีคาเปนบวก
2 (0)(4) = 0 มีคาเปนศูนย
–2 (– 4)(0) = 0 มีคาเปนศูนย

เมื่อกําหนดคา x เพิ่มขึ้นอีกหลายๆ จํานวน จะพบวา


คาของ x ที่ทําให x2 – 4 ≤ 0 คือ x ที่อยูในชวง [– 2, 2]

–2 2
5. 1) 2x(x + 1) = – ( x + 1)
2
2x + 2x = –x–1
2x2 + 3x + 1 = 0
(2x + 1)(x + 1) = 0
1
จะได x = − หรือ – 1
2

2) –2x ≤ 1
2x 1
− ≤ หารดวย 2 ทั้งสองขางของสมการ
2 2
1
–x ≤
2
x ≥ –1 คูณดวย – 1 ทั้งสองขางของสมการ
2

6. จงหาคาของ
1) –⏐– 1⏐ + ⏐11⏐ = – 1 + 11 = 10
12 12
2) = = 1
− 12 12
65

7. จงแสดงคาของ x บนเสนจํานวน เมื่อ

1) ⏐x⏐ >1

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

2) ⏐x – 1 ⏐ = 0

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

8. โรงงานจะผลิตสินคาไดไมเกินวันละ n ชิ้น และในเดือนพฤศจิกายนโกดังเก็บสินคาที่ผลิตได


มากที่สุดจํานวน 27,000 ชิ้น จะหาวา โรงงานควรจะผลิตสินคาวันละไมเกินกี่ชิ้นไดดังนี้
เนื่องจากเดือนพฤศจิกายน มี 30 วัน
ดังนั้นในเดือนพฤศจิกายนโรงงานแหงนั้นผลิตสินคาไดไมเกิน 30n ชิ้น
แตโกดังเก็บสินคาที่ผลิตไดมากสุด จํานวน 27,000 ชิ้น
จะไดวา 30n ≤ 27,000
30n 27,000

30 30
n ≤ 900
ดังนั้น โรงงานควรจะผลิตสินคาไมเกินวันละ 900 ชิ้น

เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 3.1
1. 1) –9 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
7
− จํานวนตรรกยะ
2
5 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
2
จํานวนตรรกยะ
3
2 จํานวนอตรรกยะ
0 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
1 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
66

2) 5 จํานวนอตรรกยะ
–7 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ

7
จํานวนตรรกยะ
3
3.12 จํานวนตรรกยะ
5
จํานวนตรรกยะ
4

3) 2.01 จํานวนตรรกยะ
0.666... จํานวนตรรกยะ
– 13 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
0.010110111... จํานวนอตรรกยะ

4) 2.3030030003... จํานวนอตรรกยะ
0.7575 จํานวนตรรกยะ
– 4.63 จํานวนตรรกยะ
10 จํานวนอตรรกยะ

5) –π จํานวนอตรรกยะ

1
จํานวนตรรกยะ
3
6
จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ
3
2
จํานวนอตรรกยะ
2
– 7.5 จํานวนตรรกยะ

6) 25 จํานวนนับ, จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ


– 17 จํานวนเต็ม, จํานวนตรรกยะ

12
จํานวนตรรกยะ
5
9 จํานวนเต็ม, จํานวนนับ, จํานวนตรรกยะ
3.12 จํานวนตรรกยะ
1
π จํานวนอตรรกยะ
2
67

2. 1) จริง
2) จริง
3) เท็จ
4) จริง
5) จริง
6) เท็จ
7) จริง
8) เท็จ

3. 1) 8 เปนจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่นอยกวา 9
2) ไมมีจํานวนตรรกยะที่มากที่สุดที่นอยกวา 9
3) 2 เปนจํานวนเต็มที่นอยที่สุดที่มากกวา 1
4) ไมมีจํานวนตรรกยะที่นอยที่สุดที่มากกวา 1

แบบฝกหัด 3.2
1. 1) การสลับที่การคูณ
2) การแจกแจง
3) การเปลี่ยนหมูการบวก
4) การสลับที่การคูณ
5) การสลับที่การบวก
6) การสลับที่การคูณ
7) ปดของการบวก
8) ปดของการบวก
9) อินเวอรสของการบวก
10) เอกลักษณการคูณ

2. 1) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง
2) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง
3) ไมเปนจริงตามสมบัติของจํานวนจริง
4) เปนจริงตามสมบัติการแจกแจง
5) เปนจริงตามสมบัติการแจกแจง
68

3. เซตของจํานวนนับ มีสมบัติขอ 1) และขอ 3)


เซตของจํานวนเต็มลบ มีสมบัติขอ 1)
เซตของจํานวนเต็ม มีสมบัติขอ 1), 2) และขอ 3)
เซตของจํานวนตรรกยะ มีสมบัติขอ 1), 2), และขอ 3)

แบบฝกหัด 3.3.1
1. 1) (x + 1)(x – 1) = x2 + (–x) + x + (–1)
= x2 – 1

2) (x + 3)(x – 3) = x2 + (–3x) + 3x+ (–9)


= x2 – 9

3) (2x + 3)(2x – 3) = 4x2 + (–6x) + (6x) + (–9)


= 4x2 – 9

4) (5x + 4)(5x – 4) = 25x2 + (–20x) + 20x + (–16)


= 25x2 – 16

5) (3x + 1)(3x – 1) = 9x2 + (–3x) + 3x + (–1)


= 9x2 – 1

6) (x – 5)(x – 5) = x2 + (–5x) + (–5x) + 25


= x2 – 10x + 25

7) (5x – 4)(5x – 4) = 25x2 + (–20x) + (–20x) + 16


= 25x2 – 40x + 16

8) (3x – 1)(3x – 1) = 9x2 + (–3x) + (–3x) + 1


= 9x2 – 6x + 1

9) (2x + 1)(3x + 2) = 6x2 + 4x + 3x + 2


= 6x2 + 7x + 2

10) (4x + 2)(x + 4) = 4x2 + 16x + 2x + 8


= 4x2 + 18x + 8
69

2. 1) x2 – 25x = x(x – 25)


2) x3 – 4x2 = x2(x – 4)
3) x4 – 4x = x(x3 – 4)
4) 15x2 – 25x = 5x(3x – 5)
5) 81x2 – x = x(81x – 1)
6) 7x2 + 49x = 7x(x + 7)
7) 88x3 + 8x2 = 8x2(11x + 1)
8) 13x4 + x2 = x2(13x2 + 1)
9) 5x3 + 15x2 = 5x2(x + 3)
10) 100x4 + 10x3 = 10x3(10x + 1)
11) x2 + 3x – 4 = (x – 1)(x + 4)
12) x2 + 10x + 25 = (x + 5)(x + 5)
= (x + 5)2
13) x2 + 6x + 9 = (x + 3)(x + 3)
= (x + 3)2
14) x2 + 4x + 4 = (x + 2)(x + 2)
= (x + 2)2
15) x2 + 8x – 20 = (x – 2)(x + 10)
16) x2 – 10x + 25 = (x – 5)(x – 5)
= (x – 5)2
17) x2 – 14x + 49 = (x – 7)(x – 7)
= (x – 7)2
18) x2 + 6x – 16 = (x – 2)(x + 8)
19) x2 + 6x + 8 = (x + 2)(x + 4)
20) x2 + x – 30 = (x – 5)(x + 6)
21) x2 + 13x + 30 = (x + 3)(x + 10)
22) x2 + 8x + 7 = (x + 1)(x + 7)
23) x2 + 10x + 21 = (x + 3)(x + 7)
24) x2 – 5x – 50 = (x + 5)(x – 10)
25) x2 + 9x + 20 = (x + 5)(x + 4)
70

26) x2 – 10x – 11 = (x + 1)(x – 11)


27) x2 + 14x + 13 = (x + 1)(x + 13)
28) 3x2 + 10x + 3 = (3x + 1)(x + 3)
29) 2x2 + x – 6 = (2x – 3)(x + 2)
30) 2x2 – x – 1 = (2x + 1)(x – 1)
31) 8x2 – 2x – 3 = (4x – 3)(2x + 1)
32) 25x2 + 15x + 2 = (5x + 2)(5x + 1)
33) 4x2 + 5x – 9 = (4x + 9)(x – 1)
34) 3x2 + 4x – 15 = (3x – 5)(x + 3)
35) 4x2 – 1 = (2x)2 – 12
= (2x – 1)(2x + 1)
36) 25x2 – 1 = (5x)2 – 12
= (5x – 1)(5x + 1)
37) 9x2 – 4 = (3x)2 – 22
= (3x – 2)(3x + 2)
38) x4 – x2 = x2(x2 – 1)
= x2(x – 1)(x + 1)
39) x3 – 25x = x(x2 – 25)
= x(x – 5)(x + 5)
40) x4 – 4x2 = x2(x2 – 4)
= x2(x – 2)(x + 2)

3. 1) x2 + 4x – 32 = (x2 + 4x + 4) – 32 – 4
= (x + 2)2 – 36
= ((x + 2) – 6)((x + 2) + 6)
= (x – 4)(x + 8)
2) x2 – 2x – 3 = (x2 – 2x + 1) – 3 – 1
= (x – 1)2 – 4
= ((x – 1) – 2)((x – 1) + 2)
= (x – 3)(x + 1)
3) x2 – 4x + 2 = (x2 – 4x + 4) + 2 – 4
= (x – 2)2 – 2
71

= [(x – 2) – 2 ][(x – 2) + 2 ]
= [(x – (2 + 2 )][x – (2 – 2 )]
4) x2 + 8x – 5 = (x2 + 8x + 16) – 5 – 16
= (x + 4)2 – 21
= [(x + 4) – 21 ][(x + 4) + 21 ]
= [x + (4 – 21 )][x + (4 + 21 )]
5) x2 + 6x + 2 = (x2 + 6x + 9) + 2 – 9
= (x + 3)2 – 7
= [(x + 3) – 7 ][(x + 3) + 7 ]
= [x + (3 – 7 )][x + (3 + 7 )]
6) x2 + 8x + 14 = (x2 + 8x + 16) + 14 – 16
= (x + 4)2 – 2
= [(x + 4) – 2 ][(x + 4) + 2 ]
= [x + (4 – 2 )][x + (4 + 2 )]
7) x2 – 10x + 7 = (x2 – 10x + 25) – 25 + 7
= (x – 5)2 – 18
= [(x – 5) – 18 ][(x – 5) + 18 )
= [x – (5 + 18 )][x – (5 – 18 )]
49
8) x2 + 7x + 11 = (x2 + 7x + ) – 49 + 11
4 4
7 2 5
= (x + ) −
2 4

= [(x + 72 ) – 25 ][(x + 72 ) + 25 ]
= [x + ( 7−2 5 )][x + ( 7 +2 5 )]
9) x2 – 2x = (x2 – 2x + 1) – 1
= (x – 1)2 – 1
= [(x – 1) – 1][(x – 1) + 1]
= [x – (1 + 1)][(x – (1 – 1)]
= (x – 2)(x)
10) x2 + 4x = (x2 + 4x + 4) – 4
= (x + 2)2 – 4
= [(x + 2) – 2][(x + 2) + 2]
72

= [x + (2 – 2)][x + (2 + 2)]
= (x)(x + 4)
11) –2x2 – 8x + 8 = –2(x2 + 4x – 4)
= –2[(x2 + 4x + 4) – 4 – 4]
= –2(x + 2)2 + 16
= –2[(x + 2)2 – 8]
= –2[((x + 2) – 8 )((x + 2) + 8 )]
= –2[(x + (2 – 8 ))(x + (2 + 8 ))]
12) 8 + 4x – x2 = –(x2 – 4x – 8)
= –[(x2 – 4x + 4) – 8 – 4]
= – [(x – 2)2 – 12]
= –[((x – 2) – 12 )((x – 2 )+ 12 )]
= –[(x – (2 + 12 ))(x +(– 2 + 12 )]
13) –3x2 + 6x + 4 = –3(x2 – 2x) + 4
= –3[(x2 – 2x + 1) – 1] + 4
= –3[(x – 1)2 – 1] + 4
= –3(x – 1)2 + 7
= –3[(x – 1)2 – 73 ]
= − 3[(( x −1) −
7
3
)(( x −1) +
7
3
)]

= − 3[( x − (1+
7
3
))( x − (1−
7
3
))]

14) 4x2 – 4x – 9 = 4(x2 – x) – 9


= 1 1
4[( x 2 − x + ) − ] − 9
4 4
= 1 1
4[(x − ) 2 − ] − 9
2 4
= 1 2
4( x − ) − 1 − 9
2
= 1 2
4( x − ) − 10
2
= 1 2 10
4[( x − ) − ]
2 4

= 1
4[((x − ) −
2
10
2
1
)((x − ) +
2
10
2
)]

1+ 10 1− 10
= 4[( x − (
2
))( x − (
2
))]
73

15) –3x2 + 6x + 2 = –3(x2 – 2x) + 2


= –3[(x2 – 2x + 1) – 1] + 2
= –3[(x – 1)2 – 1] + 2
= –3(x – 1)2 + 3 + 2
= –3(x – 1)2 + 5
= –3[(x – 1)2 – 53 ]
5 5
= –3[((x – 1) – 3
)((x – 1) + 3
)]
5 5
= –3[(x – (1 + 3
))(x – (1 – 3
))]

16) –2x2 + 2x + 1 = –2(x2 – x) + 1


1 1
= − 2[( x 2 − x + ) − ] + 1
4 4
1 2 1
= − 2[( x − ) − ] + 1
2 4
1 2 1
= − 2( x − ) + + 1
2 2
1 3
= − 2( x − ) 2 +
2 2
= –2[(x – 12 )2 – 34 ]
= –2[((x – 12 ) – 23 )((x – 12 )+ 23 )]
= –2[(x – (1+2 3 ) )(x – (1−2 3 ) )]

แบบฝกหัด 3.3.2
1. 1) x2 + 7x + 10 = 0 จะได (x + 2)(x + 5) = 0, x = – 2, – 5
2) x2 + 8x + 12 = 0 จะได (x + 2)(x + 6) = 0, x = – 2, – 6
3) x2 – 3x – 18 = 0 จะได (x + 3)(x – 6) = 0, x = – 3, 6
4) x2 – 6x – 16 = 0 จะได (x + 2)(x – 8) = 0, x = – 2, 8
5) x2 + 5x – 24 = 0 จะได (x + 8)(x – 3) = 0, x = – 8, 3
6) x2 + x – 30 = 0 จะได (x + 6)(x – 5) = 0, x = – 6, 5
7) x2 – 14x + 48 = 0 จะได (x – 8)(x – 6) = 0, x = 8, 6
8) 21 – 10x + x2 = 0 จะได (7 – x)(3 – x) = 0, x = 7, 3
9) 2 + x – x2 = 0 จะได (1 + x)(2 – x) = 0, x = – 1, 2
74

10) 2x2 + 7x + 3 = 0 จะได (2x + 1)(x + 3) = 0, x = – 1 , – 3


2
2
11) 3x + 7x + 2 = 0 จะได (3x + 1)(x + 2) = 0, x = – 1,–2
3
12) 5x2 + 13x + 6 = 0 จะได (5x + 3)(x + 2) = 0, x = – 3,–2
5
4
13) 7x2 + 3x – 4 = 0 จะได (7x – 4)(x + 1) = 0, x = ,–1
7
14) 9x2 + 12x + 4 = 0 จะได (3x + 2)(3x + 2) = 0, x = −2
3
15) 4x2 + 8x + 3 = 0 จะได (2x + 3)(2x + 1) = 0, x = −3, −1
2 2
3 5
16) 4x2 + 16x + 15 = 0 จะได (2x + 3)(2x + 5) = 0, x =− ,−
2 2
17) x2 – 9 = 0 จะได (x + 3)(x – 3) = 0, x = – 3, 3
18) 25 – x2 = 0 จะได (5 + x)(5 – x) = 0, x = – 5, 5
19) 9x2 – 16 = 0 จะได (3x + 4)(3x – 4) = 0, x = − 4 , 4
3 3
5 5
20) 36x2 – 25 = 0 จะได (6x + 5)(6x – 5) = 0, x = − ,
6 6

2. 1) x2 + 8x + 6 = 0
[x2 + 2(4)x] + 6 = 0
[x2 + 2(4)x + 42] + 6 – 42 = 0
(x + 4)2 – 10 = 0
(x + 4)2 = 10
x+4 = ± 10
x = − 4 ± 10

2) x2 + 10x + 3 = 0
[x2 + 2(5)x] + 3 = 0
[x2 + 2(5)x + 52] + 3 – 52 = 0
(x + 5)2 – 22 = 0
(x + 5)2 = 22
x+5 = ± 22
x = − 5 ± 22
75

3) x2 + 4x + 2 = 0
[x2 + 2(2)x] + 2 = 0
[x2 + 2(2)x + 22] + 2 – 22 = 0
(x + 2)2 – 2 = 0
(x + 2)2 = 2
x+2 = ± 2
x = −2± 2

4) x2 + 6x + 3 = 0
[x2 + 2(3)x] + 3 = 0
[x2 + 2(3)x + 32] + 3 – 32 = 0
(x + 3)2 – 6 = 0
(x + 3)2 = 6
x+3 = ± 6
x = −3± 6

5) x2 + 8x – 1 = 0
[x2 + 2(4)x] – 1 = 0
[x2 + 2(4)x + 42] – 1 – 42 = 0
(x + 4)2 – 17 = 0
(x + 4)2 = 17
x+4 = ± 17
x = – 4± 17

6) x2 – 4x – 2 = 0
[x2 – 2(2)x] – 2 = 0
[x2 – 2(2)x + 22] – 2 – 22 = 0
(x – 2)2 – 6 = 0
(x – 2)2 = 6
x–2 = ± 6
x = 2± 6
76

7) x2 – 6x + 4 = 0
[x2 – 2(3)x] + 4 = 0
[x2 – 2(3)x + 32] + 4 – 32 = 0
(x – 3)2 – 5 = 0
(x – 3)2 = 5
x–3 = ± 5
x = 3± 5

8) x2 – 10x – 2 = 0
[x2 – 2(5)x] – 2 = 0
[x2 – 2(5)x + 52] – 2 – 52 = 0
(x – 5)2 – 27 = 0
(x – 5)2 = 27
x–5 = ± 27
x–5 = ±3 3
x = 5±3 3

9) x2 + 5x + 1 = 0
⎡ 2 ⎛5⎞ ⎤
⎢ x + 2⎜ 2 ⎟ x ⎥ + 1 = 0
⎣ ⎝ ⎠ ⎦
⎡ 2 ⎛5⎞ ⎛5⎞ ⎤
2
⎛5⎞
2

⎢ x + 2⎜ ⎟ x + ⎜ ⎟ ⎥ + 1 − ⎜ ⎟ = 0
⎢⎣ ⎝2⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎥⎦ ⎝2⎠
2
⎡ 5⎤ 21
⎢x + 2 ⎥ − 4 = 0
⎣ ⎦
2
⎡ 5⎤
⎢x + 2 ⎥ = 21
⎣ ⎦ 4

x+
5
= ±
21
2 4

x = −
5
±
21
2 4

x = 5
− ±
21
2 2
−5±
x = 21
2
77

10) x2 + 3x + 2 = 0
⎡ 2 ⎛3⎞ ⎤
⎢ x + 2⎜ 2 ⎟ x ⎥ + 2 = 0
⎣ ⎝ ⎠ ⎦
⎡ 2 ⎛3⎞ ⎛3⎞ ⎤
2
⎛3⎞
2

⎢ x + 2⎜ ⎟ x + ⎜ ⎟ ⎥ + 2 − ⎜ ⎟ = 0
⎢⎣ ⎝2⎠ ⎝ 2 ⎠ ⎥⎦ ⎝2⎠
2
⎡ ⎛ 3 ⎞⎤ 1
⎢ x + ⎜ 2 ⎟⎥ − 4 = 0
⎣ ⎝ ⎠⎦
2
⎡ ⎛ 3 ⎞⎤ 1
⎢ x + ⎜ 2 ⎟⎥ =
⎣ ⎝ ⎠⎦ 4
3 1
x+
2
= ±
4
3 1
x = − ±
2 4
− 3 ±1
x= , x = – 1, – 2
2

3. 1) x2 – 4x – 21 = 0
a = 1, b = – 4, c = – 21
− b ± b 2 − 4ac
x =
2a
− (− 4) ± (− 4) 2 − 4(1)(− 21)
= 2(1)
4 ± 10
=
2
= 7, – 3

2) จาก x2 = 4x จะได x2 – 4x = 0
ดังนั้น a = 1, b = – 4, c = 0
− b ± b 2 − 4ac
x =
2a
− (− 4) ± (− 4) 2 − 4(1)(0)
= 2(1)
4±4
=
2
= 4, 0
78

3) จาก x2 – 2x = 6 จะได x2 – 2x – 6 = 0
ดังนั้น a = 1, b = – 2, c = – 6
− b ± b 2 − 4ac
x =
2a
− (− 2) ± (−2) 2 − 4(1)(−6)
= 2(1)
2 ± 4 + 24
=
2(1)
2 ± 28
=
2
2±2 7
= = 1± 7
2

4) 3x2 + 2x – 3 = 0
a = 3, b = 2, c = – 3
− b ± b 2 − 4ac
x =
2a
− 2 ± 2 2 − 4(3)(−3)
=
2(3)
− 2 ± 4 + 36
=
2(3)
− 2 ± 40
=
2(3)
− 2 ± 2 10 − 1 ± 10
= =
2(3) 3

5) จาก 2x2 + 4x = 1 จะได 2x2 + 4x – 1 = 0


ดังนั้น a = 2, b = 4, c = – 1
− b ± b 2 − 4ac
x =
2a
− 4 ± 4 2 − 4(2)(−1)
=
2( 2)
− 4 ± 16 + 8
=
2( 2)
− 4 ± 24
=
2( 2)
−4±2 6 −2± 6
= =
2( 2) 2
79

6) จาก 2x2 = x + 2 จะได 2x2 – x – 2 = 0


ดังนั้น a = 2, b = – 1, c = – 2
− b ± b 2 − 4ac − (−1) ± (−1) 2 − 4(2)(−2)
x = =
2a 2( 2)
1 ± 1 + 16
=
2( 2)
1 ± 17
=
4

4. 1) x2 + (x + 3)2 = (x + 7)2
A
x2 + (x2 + 6x + 9) = x2 + 14x + 49
2x2 + 6x + 9 = x2 + 14x + 49 x+7
x
x2 – 8x – 40 = 0
หาคําตอบของสมการโดยใชสูตรไดดังนี้
B x+3 C

− b ± b 2 − 4ac
x = และ a = 1, b = – 8, c = – 40
2( a )
− (−8) ± (−8) 2 − 4(1)(− 40)
= 2(1)
8 ± 64 + 160
=
2
8 ± 224
=
2
8 ± 4 14
=
2
= 4 ± 2 14
เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนบวกเสมอ
ดังนั้น x = 4 + 2 14
จะได AB = 4 + 2 14
BC = 4 + 2 14 + 3 = 7 + 2 14
AC = 4 + 2 14 + 7 = 11 + 2 14

A
2)
x+6 x2 + (x + 2)2 = (x + 6)2
x
x2 + x2 + 4x + 4 = x2 + 12x + 36
x2 – 8x – 32 = 0
B x+2 C
80

หาคําตอบของสมการโดยใชสูตรไดดังนี้

− b ± b 2 − 4ac
x = และ a = 1, b = – 8, c = – 32
2( a )
− (−8) ± (−8) 2 − 4(1)(−32)
=
2(1)
8 ± 64 + 128
=
2
8 ± 192
=
2
8±8 3
=
2
= 4±4 3

เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนจํานวนบวกเสมอ
ดังนั้น x = 4+4 3
จะได AB = 4+4 3
BC = 4+4 3+2 = 6+4 3
AC = 4+4 3+6 = 10 + 4 3

3) A
2 2 2
x + (2x + 3) = (3x + 1)
x2 + 4x2 + 12x + 9 = 9x2 + 6x + 1 x 3x + 1
5x2 + 12x +9 = 9x2 + 6x + 1
4x2 – 6x – 8 = 0 C
B 2x + 3

หาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ไดดังนี้
− b ± b 2 − 4ac
x = และ a = 4, b = – 6, c = – 8
2a
− (−6) ± (−6) 2 − 4(4)(−8)
=
2(4)
6 ± 36 + 128
=
2( 4)
6 ± 164
=
2( 4)
81

6 ± 2 41
=
2(4)
3 ± 41
=
4

เนื่องจากความยาวดานของรูปสามเหลี่ยมจะตองเปนจํานวนบวกเสมอ
3 + 41
ดังนั้น x =
4
3 + 41
จะได AB =
4
⎡ 3 + 41 ⎤ (9 + 41)
BC = 2⎢ ⎥+3 =
⎢⎣ 4 ⎥⎦ 2
⎡ 3 + 41 ⎤ (13 + 3 41)
AC = 3⎢ ⎥ +1 =
⎣⎢ 4 ⎥⎦ 4

5.

5 x
x

ถากลองกระดาษในรูปขางบน มีความจุ 320 ลูกบาศกเซนติเมตร


จะหาวา กลองใบนี้ซึ่งมีฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส จะมีความกวางเทาใดไดดังนี้
ปริมาตรของกลอง = 5⋅x⋅x หรือ 5x2
5x2 = 320
320
x2 = หรือ 64
5
จะได x = ±8
เนื่องจากความกวางของกลองตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น ฐานของกลองจะมีความกวางเทากับ 8 เซนติเมตร
82

ax
6.
ax x2 ax
a x
x ax

(1) (2)

กลองในรูปที่ (1) ทําจากกระดาษในรูปที่ (2) ซึ่งมีพื้นที่เทากับ x2 + 4ax กําหนดให

a x2 + 4ax
1 20
4
1 165
1 80
2

หาคาของ x ไดดังนี้
1
1) จาก a= จะได x2 + 4ax = x2 + x
4
และ x2 + x = 20
x2 + x – 20 = 0
(x + 5)(x – 4) = 0
x = 4, – 5
เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น x = 4 เซนติเมตร

2) a = 1 จะได x2 + 4ax = x2 + 4x
และ x2 + 4x = 165
x2 + 4x – 165 = 0
(x + 15)(x – 11) = 0
x = 11, – 15
เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น x = 11 เซนติเมตร
83

1
3) a = จะได x2 + 4ax = x2 + 2x
2
และ x2 + 2x = 80
x2 + 2x – 80 = 0
(x + 10)(x – 8) = 0
x = 8, – 10
เนื่องจากความกวางของกลองจะตองเปนจํานวนจริงบวก
ดังนั้น x = 8 เซนติเมตร

7. ถาความสูง (h) ของลูกเทนนิส เมื่อวัดจากพื้นขณะที่นักกีฬาตีลูกขึ้นไปนาน t วินาที


หาไดจากสูตร h = 1 + 15t – 5t2
จะหาวา นานเทาใดหลังจากที่นักกีฬาตีลูกเทนนิส แลวลูกเทนนิสอยูสูงจากพื้นดิน 10 เมตร
จาก h = 10
จะได 1 + 15t – 5t2 = 10
5t2 – 15t + 9 = 0
− b ± b 2 − 4ac
จาก t = และ a = 5, b = – 15, c = 9
2a
− (−15) ± (−15) 2 − (4)(5)(9)
t =
2(5)
15 ± 45
=
10
15 ± 3 5
=
10
15 ± 6.7

10
≈ 0.83 หรือ 2.17 วินาที

เขียนภาพแทนการตีลูกเทนนิสของนักกีฬาไดดังนี้

0 t1 t2
84

นอกจากการหาคาของ t โดยใชสูตรแลว อาจจะใชวิธีการประมาณคาของ 1 + 5t – 15t2


ที่มีคาใกล 10 มากที่สุด โดยใชเครื่องคิดเลขไดดังตัวอยางตอไปนี้
t (วินาที) 1 + 15t – 5t2 (เมตร)
1 11
0.9 10.45
0.8 9.8
0.85 10.13
0.84 10.07
*0.83 *10.0055
0.82 9.938

จากตารางพบวา คาประมาณของ t ที่เทากับ 0.83 วินาที เปนคาที่ทําให 1+ 5t – 5t2 มีคา


ใกล 10 เมตร มากที่สุด

8. ตนทุนในการผลิตสินคาบริษทั แหงหนึง่ เทากับ1 600x – 5x2 เมือ่ x แทนราคาตนทุนสินคาตอหนวย


และถาตนทุนสินคาตอหนวยสูงกวา 50 บาท ถาตองการกําไรชิ้นละ 25% โดยมีตนทุนในการ
ผลิตเทากับ 16,000 บาท จะหาวาตองขายสินคาในราคาชิ้นละเทาใดไดดังนี้
ให 600x – 5x2 = 16,000
5x2 – 600x + 16,000 = 0
x2 – 120x + 3,200 = 0
− b ± b 2 − 4ac
จาก x = และ a = 1, b = – 120, c = 3,200
2a
− (−120) ± (−120) 2 − 4(1)(3,200)
จะได x =
2(1)
120 ± 14,400 − 12,800
=
2
120 ± 1,600
= = 120 ± 40
2 2
จะได x = 80 หรือ 40
จากโจทย ราคาสินคาตอหนวยตองสูงกวา 50 บาท
ดังนั้น ราคาสินคาตอหนวย จะตองเทากับ 80 บาท
25
ตองการกําไร 25% จะหาไดจาก 80 × หรือ 20 บาท
100
นั่นคือ จะตองขายสินคาชิ้นละ 80 + 20 หรือ 100 บาท
85

9. ถาผลคูณของจํานวนถัดไปที่เปนจํานวนคี่ที่เปนบวกสองจํานวนมีคาเทากับ 35
จะหาจํานวนทั้งสองไดโดย
ให x เปนจํานวนคี่จํานวนแรก
ให x + 2 เปนจํานวนคี่ที่เปนบวกที่เปนจํานวนถัดไป
จะได x(x + 2) = 35
x2 + 2x – 35 = 0
(x + 7)(x – 5) = 0
x = – 7, 5
เนื่องจากโจทยกําหนดจํานวนคี่เปนจํานวนบวก ดังนั้น x จะตองเทากับ 5
สรุปวา จํานวนแรก คือ 5 และจํานวนที่สองคือ 7
ตรวจสอบคําตอบ 5 × 7 = 35

10. 1) ถา x2 + 10x + c = 0 และ c<0


ให c = –24
จะได x2 + 10x – 24 = 0
(x + 12)(x – 2) = 0
และ x = –12 หรือ 2 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ

2) ถา x2 + 10x + c = 0 และ c>0


ให c=9
จะได x2 + 10x + 9 = 0
(x + 9)(x + 1) = 0
และ x = –9 หรือ –1 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ

3) ถา x2 + bx + 9 = 0 และ b > 6


ให b = 10
จะได x2 + 10x + 9 = 0
(x + 9)(x + 1) = 0
และ x = –9 หรือ –1 เปนคําตอบที่เปนจํานวนจริง 2 คําตอบ
86

s2
11. ถาระยะเบรกของรถคันหนึ่งแทนดวยสูตร d = s+ เมตร
20
เมื่อ d คือ ระยะเบรก และ s คืออัตราเร็วของรถมีหนวยเปนกิโลเมตร / ชั่วโมง
หาระยะเบรกของรถคันนี้เมื่อรถคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็วตางกัน ไดดังนี้

1) s = 40 กิโลเมตร / ชั่วโมง
( 40) 2
d = 40 + = 40 + 80 เมตร
20
= 120 เมตร
2) s = 100 กิโลเมตร / ชั่วโมง
2
d = 100 + (100) = 100 + 500 เมตร
20
= 600 เมตร

x
12.
x

35 ซม. หยุด
ถาตัดปายรูปแปดเหลี่ยมจากแผนโลหะรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหไดปายรูปแปดเหลี่ยมทีแ่ ตละ
ดานยาว 35 ซม. จะหาวา ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสควรจะยาวดานละเทาใด จึงจะไดปายตาม
ขนาดที่เขียนไวในรูปไดดังนี้
หาความยาวของ x โดยใชรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
x
จาก x2 + x2 = 352 x
2 2 35
2x = 35
35 2
x2 =
2

จะได x = 35
หรือ 35 2
2 2
⎛ 35 2 ⎞
จะไดวา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสควรจะมีความยาวดานละ 2x + 35 หรือ 2⎜
⎜ 2 ⎟
⎟ + 35
⎝ ⎠
ซึ่งมีคาประมาณ 84.50 ซม.
87

แบบฝกหัด 3.4.1
1. 1) n< 5 จะได n = 0 , 1, – 2
2) n > –4 จะได n = 6, – 1, 0
3) n< 0 จะได n = – 2, – 5
4) n≤ 0 จะได n = 0, – 4, – 1
5) n≤ 2 จะได n = – 2, 2, 0
6) –1 < n ≤ 3 จะได n = 2, 3, 0
7) – 10 < n < 4 จะได n = – 1, 0
8) 0≤n≤5 จะได n = 1, 0, 5

2. 1) x+2 > 2
x+2–2 > 2–2
x > 0
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x > 0}

-3 -2 -1 0 1 2 3

2) x–4 ≤ 2
x–4+4 ≤ 2+4
x ≤ 6
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ 6}

3 4 5 6 7 8 9

3) 3+ y < 7
3+y–3 < 7–3
y < 4
เซตคําตอบของอสมการคือ {y⏐y < 4}

1 2 3 4 5 6 7
88

4) y – 2 ≥ –1
y – 2 + 2 ≥ –1 + 2
y ≥ 1
เซตคําตอบของอสมการคือ {y⏐y ≥ 1}

-2 -1 0 1 2 3 4
5) x+3 < 2
x+3–3 < 2–3
x < –1
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x < –1}

-4 -3 -2 -1 0 1 2
6) x–9 ≤ 0
x–9+9 ≤ 0+9
x ≤ 9
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ 9}

6 7 8 9 10 11 12
7) 2x ≥ 4
1 1
2 x ( ) ≥ 4( )
2 2
x≥ 2
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 2}

-2 -1 0 1 2 3 4

1
8) x ≥ 3
3
1
x (3) ≥ 3 × 3
3
x≥ 9
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 9}

6 7 8 9 10 11 12
89

x
9) ≤ −1
2
x
(2) ≤ − 1(2)
2
x ≤ –2
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≤ –2}

-4 -3 -2 -1 0 1 2

10) 10 ≤ 5x
1 1
10( ) ≤ 5x ( )
5 5
2 ≤ x
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x ≥ 2}

-2 -1 0 1 2 3 4

x
11) > 0
7
x
(7) > 0(7)
7
x >0
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x > 0}

-3 -2 -1 0 1 2 3

x
12) < 0
4
x
(4) < 0(4)
4
x <0
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐x < 0}

-3 -2 -1 0 1 2 3
90

1
13) x −1 ≤
2
1
x – 1 + 1 ≤ +1
2
3
x ≤
2
3
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ x ≤ }
2

0 1 3 2 3
2

14) 5x + 1 ≤ 4
5x + 1 – 1 ≤ 4 – 1
5x ≤ 3
1 1
5x ( ) ≤ 3( )
5 5
3
x≤
5
3
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ x ≤ }
5

0 3 1 2 3
5

15) –3 + 3x ≤ 2
–3 + 3x + 3 ≤ 2 + 3
3x ≤ 5
5
x≤
3
5
เซตคําตอบของอสมการคือ {x⏐ x ≤ }
3

0 1 5 2 3
3

แบบฝกหัด 3.4.2
1. –3x ≥ 9
1 1
− 3x (− ) ≤ 9(− )
3 3
x ≤ –3

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0
91

x
2. − ≤ 2
3
x
(− )(−3) ≥ 2(−3)
3
x ≥ –6

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3

x
3. − < 1
6
x
(− )(−6) > 1( −6)
6
x > –6

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3

4. – 4x ≤ 20
1 1
(−4x )(− ) ≥ 20(− )
4 4
x ≥ –5

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3

5. 18 + 6x > 0
18 + 6x – 18 > 0 – 18
6x > –18
6x − 18
>
6 6
x > –3

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0

x
6. − ≥ 0
5
x
(− )(−5) ≤ 0(−5)
5
x≤ 0

-3 -2 -1 0 1 2 3
92

7. –3x ≥ 12
1 1
− 3x (− ) ≤ 12(− )
3 3
x ≤ –4

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0

8. −
x
< 1
7
x
− (−7) > 1(−7)
7
x > –7

-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4

9. –3x – 21 ≥ 0
–3x – 21 + 21 ≥ 0 + 21
–3x ≥ 21
⎛ −1 ⎞ ⎛ −1 ⎞
− 3x ⎜ ⎟ ≤ 21⎜ ⎟
⎝ 3 ⎠ ⎝ 3⎠
x ≤ –7

-10 -9 -8 -7 -6 -5 -4

10. −
x
−1 > 0
2
x
− −1+1 > 0 +1
2
x
− > 1
2
x
(− )(−2) < 1(−2)
2
x < –2

-4 -3 -2 -1 0 1 2
93

แบบฝกหัด 3.4.3

1. 1) 4x + 2 > x+7
4x + 2 – x > x+7–x
3x + 2 > 7
3x + 2 – 2 > 7–2 0 1 5
2 3
3

3x > 5
1 1
3x ( )
3
> 5( )
3
5
x >
3

2) 2x – 1 < x+9
2x – 1 – x < x+9–x
x–1 < 9
6 7 8 9 10 11 12
x–1+1 < 9+1
x < 10

3) 8x – 5 ≥ 3x + 15
8x – 5 – 3x ≥ 3x + 15 – 3x
5x – 5 ≥ 15
5x – 5 + 5 ≥ 15 + 5 1 2 3 4 5 6 7
5x ≥ 20
1 1
5x ( ) ≥ 20( )
5 5
x ≥ 4

4) 3x – 2 ≤ x
3x – 2 – x ≤ x–x
2x – 2 ≤ 0
-2 -1 0 1 2 3 4
2x – 2 + 2 ≤ 0+2
2x ≤ 2
1 1
2x ( ) ≤ 2( )
2 2
x ≤ 1
94

5) 8 – 3x > x
8 – 3x + 3x > x + 3x
8 > 4x -2 -1 0 1 2 3 4
1 1
8( ) > 4x ( )
4 4
2 > x หรือ x < 2

6) 5 – 3m ≤ 6 – 4m
5 – 3m + 4m ≤ 6 – 4m + 4m
5+m ≤ 6 -2 -1 0 1 2 3 4
5+m–5 ≤ 6–5
m ≤ 1

7) 6 – 3m ≥ 3m
6 – 3m + 3m ≥ 3m + 3m
6 ≥ 6m
1 1
6( ) ≥ (6m)( ) -2 -1 0 1 2 3 4
6 6
1 ≥ m
m ≤ 1

8) 3m < m – 2
3m – m < m – 2 – m
2m < –2
1 1 -4 -3 -2 -1 0 1 2
2 m ( ) < − 2( )
2 2
m < –1

9) 4(m – 3) ≤ 3(m – 2)
4m – 12 ≤ 3m – 6
4m – 12 – 3m ≤ 3m – 6 – 3m
3 4 5 6 7 8 9
m – 12 ≤ –6
m – 12 + 12 ≤ – 6 + 12
m ≤ 6
95

10) m+2 < 6(2 + m)


m+2 < 12 + 6m
m+2–m < 12 + 6m – m
2 < 12 + 5m -4 -3 -2 -1 0 1 2
2 – 12 < 12 + 5m – 12
–10 < 5m
1
−10( )
5
< 5m ( 15 )
–2 < m หรือ m > –2

11) x2 < 9
x2 – 9 < 0
(x – 3)(x + 3) < 0
พิจารณาคาของ (x – 3)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
ชวง x (x – 3)(x + 3) คาของ (x – 3)(x + 3)
(– ∞, – 3) –5 (– 8)(– 2) = 16 มีคาเปนบวก
(– 3, 3) 0 (– 3)(3) = – 9 มีคาเปนลบ
(3, ∞) 5 (2)(8) = 16 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x + 3) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย


เมื่อ x อยูในชวง (–3, 3)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 3)(x + 3) < 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

12) x2 > 4
x2 > 4
x2 – 4 > 0
(x – 2)(x + 2) > 0
พิจารณาคาของ (x – 2)(x + 2) ในชวง (– ∞, – 2), (– 2, 2), (2, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้
96

ชวง x (x – 2)(x + 2) คาของ (x – 2)(x + 2)


(– ∞, – 2) –3 (– 5)(– 1) = 5 มีคาเปนบวก
(– 2, 2) 0 (– 2)(2) = – 4 มีคาเปนลบ
(2, ∞) 3 (1)(5) = 5 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 2)(x + 2) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย


เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 2) ∪ (2, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 2)(x + 2) > 0 (x – 2)(x + 2) > 0

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

13) x2 + 2x > 3
x2 + 2x – 3 > 0
(x – 1)(x + 3) > 0
พิจารณาคาของ (x – 1)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, 1), (1, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x – 1)(x + 3) คาของ (x – 1)(x + 3)


(– ∞, – 3) –5 (– 6)(– 2) = 12 มีคาเปนบวก
(– 3, 1) 0 (– 1)(3) = –3 มีคาเปนลบ
(1, ∞) 5 (4)(8) = 32 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 1)(x + 3) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย


เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 3) ∪ (1, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 1)(x + 3) > 0 (x – 1)(x + 3) > 0

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
97

14) x2 – 4x < 5
x2 – 4x – 5 < 0
(x – 5)(x + 1) < 0
พิจารณาคาของ (x – 5)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 5), (5, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x – 5)(x + 1) คาของ (x – 5)(x + 1)


(– ∞, – 1) –2 (– 7)(– 1) = 7 มีคาเปนบวก
(– 1, 5) 0 (– 5)(1) = – 5 มีคาเปนลบ
(5, ∞) 15 (10)(16) = 160 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 5)(x + 1) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย


เมื่อ x อยูในชวง (– 1, 5)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้
(x – 5)(x + 1) < 0
-2 -1 0 1 2 3 4 5 6

15) (x – 1)(x + 1) > 0


พิจารณาคาของ (x – 1)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 1), (1, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x – 1)(x + 1) คาของ (x – 1)(x + 1)


(– ∞, – 1) –2 (– 3)(– 1) = 3 มีคาเปนบวก
(– 1, 1) 0 (– 1)(1) = – 1 มีคาเปนลบ
(1, ∞) 2 (1)(3) = 3 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 1)(x + 1) มีคาเปนบวก หรือมากกวาศูนย


เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, – 1) ∪ (1, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้

(x – 1)(x + 1) > 0 (x – 1)(x + 1) > 0


-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
98

16) x2 – 6x + 9 < 0
(x – 3)(x – 3) < 0
พิจารณาคาของ (x – 3)(x – 3) ในชวง (– ∞, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x – 3)(x – 3) คาของ (x – 3)(x – 3)


(– ∞, 3) 0 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก
(3, ∞) 5 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x – 3) ≥ 0 เสมอ จึงไมมีคา x ที่ทําให


(x – 3)2 มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย
แสดงวา ไมมีจํานวนจริงใดที่ทําให (x – 3)2 < 0

(x – 3)2 ≥ 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

17) x2 + 6x + 9 < 0
(x + 3)(x + 3) < 0
พิจารณาคาของ (x + 3)(x + 3) ในชวง (– ∞, – 3), (– 3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x + 3)(x + 3) คาของ (x + 3)(x + 3)


(– ∞, – 3) –5 (– 2)(– 2) = 4 มีคาเปนบวก
(– 3, ∞) 0 (3)(3) = 9 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา คาของ (x + 3)(x + 3) ≥ 0 เสมอ เมื่อ x อยู


ในชวง (– ∞, – 3] ∪ [– 3, ∞) หรือ (– ∞, ∞)
จึงไมมีคา x ที่ทําให (x + 3)(x + 3) มีคาเปนลบ หรือนอยกวาศูนย

x2 + 6x + 9 ≥ 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4
99

18) x2 + 4x + 4 ≥ 0
(x + 2)(x + 2) ≥ 0
พิจารณาคาของ (x + 2)(x + 2) ในชวง (– ∞, – 2], [– 2, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x + 2)(x + 2) คาของ (x + 2)(x + 2)


(– ∞, – 2] –5 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก
[– 2, ∞) 0 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือกคา x อื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x + 2)(x + 2) มีคามากกวาหรือเทากับศูนย


เมื่อ x เปนจํานวนจริง หรือ เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, –2 ] ∪ [–2 , ∞) หรือ (– ∞, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้

x2 + 4x + 4 ≥ 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

19) (x – 3)2 > 0


(x – 3)(x – 3) > 0
พิจารณาคาของ (x – 3)(x – 3) ในชวง (– ∞, 3), (3, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x – 3)(x – 3) คาของ (x – 3)(x – 3)


(– ∞, 3) 0 (– 3)(– 3) = 9 มีคาเปนบวก
(3, ∞) 5 (2)(2) = 4 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือก x คาอื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 3)(x – 3) มีคาเปนบวกหรือมากกวาศูนย


เมื่อ x เปนจํานวนจริง ที่ไมเทากับ 3 หรือ เมื่อ x อยูในชวง (– ∞, 3) ∪ (3, ∞)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้

(x – 3)2 > 0
-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4

(x – 3)2 = 0
100

20) x2 – 9x – 10 < 0
(x – 10)(x + 1) < 0
พิจารณาคาของ (x – 10)(x + 1) ในชวง (– ∞, – 1), (– 1, 10), (10, ∞) โดยเลือกคา x
ที่อยูในชวงดังกลาวดังนี้

ชวง x (x – 10)(x + 1) คาของ (x – 10)(x + 1)


(– ∞, – 1) –2 (– 12)(– 1) = 12 มีคาเปนบวก
(– 1, 10) 0 (– 10)(1) = – 10 มีคาเปนลบ
(10, ∞) 11 (1)(12) = 12 มีคาเปนบวก

เมื่อเลือก x คาอื่นเพิ่มเติมจะพบวา (x – 10)(x + 1) มีคาเปนลบหรือนอยกวาศูนย


เมื่อ x อยูในชวง (–1, 10)
เขียนแสดงคําตอบโดยใชเสนจํานวนไดดังนี้

x2 – 9x – 10 < 0
-2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

2. ลิฟทของที่ทํางานแหงหนึ่งสามารถจุคนได n คน โดยที่น้ําหนักเฉลี่ยของแตละคนเทากับ
80 กิโลกรัม ถาลิฟทตัวนี้บรรทุกน้ําหนักไดมากที่สุด 1,650 กิโลกรัม
ให n แทนจํานวนคนที่อยูในลิฟท
จะได 80 n ≤ 1650
1 1
80n ( ) ≤ 1650( )
80 80
5
n ≤ 20
8
สรุปไดวา ลิฟทตัวนี้บรรจุคนไดไมเกิน 20 คน

3. ที่จอดรถของศูนยการคาแหงหนึ่งมีพื้นที่ไมเกิน 8,000 ตารางเมตร และจะตองแบงเปนทางเดิน


ของรถ 950 ตารางเมตร กําหนดใหพื้นที่สําหรับจอดรถ 1 คัน เทากับ 20 ตารางเมตร
จะหาจํานวนรถที่ลูกคานํามาจอดในที่จอดรถไดมากที่สุดไดดังนี้
ให x เปนจํานวนรถที่นํามาจอดในบริเวณที่จอดรถ
จะได 20x < 8,000 – 950
20x < 7,050
101

1 1
20 x ( ) < 7,050(
20
)
20
1
x < 352
2
สรุปไดวา ลูกคานํารถมาจอดไดมากที่สุด 352 คัน

4. บริษัท ก คิดคาเชารถวันละ 1,800 บาท โดยไมคิดคาใชจายอื่นอีก


บริษัท ข คิดคาเชารถวันละ 1,000 บาท และคิดคาเชาเพิ่มจากจํานวนกิโลเมตรที่นํารถไปใช
อีกกิโลเมตรละ 2 บาท

1) ใหจํานวนระยะทางที่รถวิ่งแทนดวย x
จะได 1000 + 2x ≤ 1800
2x ≤ 800
x ≤ 400
สรุปวา ถาเชารถจากบริษัท ข โดยจายคาเชา 1,800 บาท/วัน จะใชวิ่งไดมากที่สุด 400 กิโลเมตร

2) ถาตองการใชรถวันละประมาณ 600 กิโลเมตร


ถาเชารถจากบริษัท ก จะตองจายคาเชารถ 1,800 บาท
ถาเชารถจากบริษัท ข จะตองจายคาเชารถ 1,000 + 2(600) หรือ 2,200 บาท
ดังนั้น ถาตองการใชรถวันละประมาณ 600 กิโลเมตร ควรเชารถจากบริษัท ก
จึงจะประหยัดคาเชารถ

5. แมคาขายไกยางตัวละ 80 บาท โดยมีคาใชจายที่เปนคาเชารานวันละ 100 บาท และคาใชจายอื่น


รวมทั้งคาไกสดคิดเปนตนทุนแลวตัวละ 60 บาท
ให x แทนจํานวนไก (ตัว) ที่ขายไดในหนึ่งวัน
ขายไกยาง 1 ตัว ตองการกําไร 80 – 60 = 20 บาท
20x – 100 ≥ 500
20x ≥ 600
x ≥ 30
ดังนั้น ถาตองการกําไรจากการขายไกยางวันละไมต่ํากวา 500 บาท ตองขายไกยางใหได
มากกวาวันละ 30 ตัว
102

แบบฝกหัด 3.5
1. จงหาคาของ
1) ⏐8⏐ +⏐3⏐ = 8 + 3 = 11 10) ⏐0⏐ = 0
2) ⏐9⏐ – ⏐2⏐ = 9–2 = 7 11) ⏐3 – π⏐ = – (3 – π) = π– 3
3) ⏐– 8⏐+ ⏐2⏐ = 8 + 2 = 10 12) ⏐4 – π⏐ = 4–π
−5 −5
4) ⏐– 12⏐+ ⏐–6⏐ = 12 + 6 = 18 13) = = –1
−5 5
5) ⏐– 6⏐–⏐6⏐ = 6–6 = 0 14) –3 – ⏐–3⏐ = –3–3 = –6
6) ⏐– 13⏐–⏐– 5⏐ = 13 – 5 = 8 15) –3 ⏐3⏐ = – 3(3) = –9
7) ⏐4 + 9⏐ = 13 16) ⏐–1⏐–⏐–2⏐ = 1–2 = –1
8) ⏐10 – 10⏐ = 0 17) –⏐16.25⏐+ 20 = –16.25 + 20 = 3.75
9) ⏐– 10⏐ = 10 18) 2⏐33⏐ = 2(33) = 66

2. กําหนดให x = ⏐– 2⏐ และ y = ⏐5⏐


1) x – 2 = ⏐– 2⏐– 2 = 2–2 = 0
2) y – 5 = ⏐5⏐– 5 = 5–5 = 0
3) 2x = 2⏐– 2⏐ = 2(2) = 4
4) y2 = (⏐5⏐)2 = 52 = 25
5) x + y = ⏐– 2⏐+ ⏐5⏐ = 2+5 = 7
6) x – y = ⏐– 2⏐– ⏐5⏐ = 2–5 = –3
7) xy = ⏐– 2⏐⏐5⏐ = 2(5) = 10
x −2 2
8) = =
y 5 5

3. 1) ⏐–3⏐ > –⏐–3⏐ 2) ⏐– 4⏐ = ⏐4⏐


3) –5 = –⏐5⏐ 4) –⏐4⏐ < ⏐4⏐
5) –⏐–6⏐ < ⏐–6⏐ 6) –⏐–2⏐ = –2

4. 1) ⏐x⏐ = 7 ∴ x = –7, 7
-14 -7 0 7 14

2) ⏐x⏐ > 7 ∴ x < –7 , x > 7


-14 -7 0 7 14
103

3) ⏐x⏐ ≥ 7 ∴ x≤ –7, x≥7


-14 -7 0 7 14

4) ⏐x⏐ > 0 ∴ x<0, x>0


-14 -7 0 7 14

5) ⏐x⏐ ≤ 4 ∴ –4 ≤ x ≤4
-8 -4 0 4 8

6) ⏐x⏐ < 4 ∴ –4 < x < 4


-8 -4 0 4 8

5. กําหนดให x และ y เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนย


1) ⏐x⏐ = – x เปนเท็จ เพราะมีคา x บางคา เชน x = 1, ⏐1⏐ = 1 แต – x = – 1
และ –1 ≠ 1
2) –⏐x⏐ < x เปนเท็จ เพราะมีคา x บางคา เชน x = –2 , –⏐–2⏐ = –2 แต –2 < –2
3) ⏐x⏐ > x เปนเท็จ เพราะมี x = 2, ⏐2⏐ = 2 แต 2 > 2
4) ⏐x⏐ < x เปนเท็จ เพราะมี x = –1, ⏐–1⏐= 1 แต 1 < –1
บทที่ 4
เลขยกกําลัง
( 8 ชั่วโมง )

ในบทเรียนนี้มีวัตถุประสงคใหผูเรียนศึกษาเรื่อง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวน
ตรรกยะ โดยไดกลาวถึง บทนิยาม สมบัติ การดําเนินการ การประมาณ ของเลขยกกําลัง อีกทั้ง
ยังไดนําสมบัติของเลขยกกําลังไปประยุกตใชในบางเรื่อง ในบทเรียนมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู
ดังนี้

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
และจํานวนจริงในรูปกรณฑ
2. เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนจริงที่อยูใน
รูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ
3. หาคาประมาณของจํานวนที่อยูในรูปกรณฑและจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลังโดยใชวิธีคํานวณที่
เหมาะสม

ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
105

ขอเสนอแนะ

1. เนื้อหาสาระเรื่อง เลขยกกําลัง ที่กลาวไวในหนังสือเรียนเปนเนื้อหาสาระที่ตอเนื่องจากเรื่อง


เลขยกกําลัง ในชวงชัน้ ที่ 3 ซึง่ กลาวถึง เลขยกกําลังทีม่ เี ลขชีก้ าํ ลังเปนจํานวนเต็ม แตเนือ้ หาสาระ
เรื่อง เลขยกกําลัง ที่กลาวในชวงชั้นที่ 4 กลาวถึง เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
สมบัติของเลขยกกําลัง การดําเนินการและการประยุกต โดยใหผูเรียนมีความรูที่เพียงพอ
สําหรับนําไปใชในชีวิตประจําวันและการศึกษาตอ

2. ในการบวก ลบ คูณ และหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ


ผูสอนควรชี้ใหผูเรียนเห็นวา
1) การบวกและลบเลขยกกําลังสองจํานวน จะทําไดเมื่อเลขยกกําลังทั้งสองมีฐาน
1 1
เทากันและเลขชี้กําลังเทากัน เชน ถาจะหาผลบวกของ (18) 2 กับ(50) 2 จะตองพิจารณาวา
สามารถเขียนจํานวนทั้งสองใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเทากันและเลขชี้กําลังเทากันไดหรือ
ไม ซึ่งจะพบวา
1 1 1
(18) 2 = (3 2 × 2) 2 = 3(2) 2
1 1 1
(50) 2 = (5 2 × 2) 2 = 5(2) 2
1 1 1 1 1
ดังนั้น (18) 2 + (50) 2 = 3(2) 2 + 5(2) 2 = 8(2) 2

ในการเปลี่ยนรูปของเลขยกกําลังที่จะนํามาบวกหรือลบกันใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มี
ฐานเทากันและเลขชี้กําลังเทากัน บางครั้งเราจําเปนตองเขียนจํานวนที่เปนฐานของเลขยกกําลังใหอยู
ในรูปการคูณของตัวประกอบของจํานวนที่เปนฐานกอน นั่นคือ เขียนจํานวนที่เปนฐานใหอยูในรูป
การคูณของจํานวนที่เปนตัวประกอบของจํานวนที่เปนฐาน แลวจึงเปลี่ยนรูปใหม เชน
1 1 1 1
4(384) 3 + (2304) 6 = 4(64× 6) 3 + (64×36) 6
1 1
= 4( 4 3 × 6) 3 + (2 6 × 6 2 ) 6
1 1
= 16(6) 3 + 2(6) 3
1
= 18(6) 3

ผูสอนควรชี้แจงกับผูเรียนวา ไมจําเปนจะตองแยกตัวประกอบของจํานวนที่เปนฐานเสมอ
ไป แตการแยกตัวประกอบของจํานวนที่เปนฐานจะชวยใหมองเห็นวา เลขยกกําลังสองจํานวนนั้น
สามารถเขียนใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเทากันและเลขชี้กําลังเทากันไดหรือไม
106

2) การคูณและการหารเลขยกกําลังสองจํานวน จะทําไดเมือ่ เลขยกกําลังทัง้ สองมีฐานเทากัน


หรือเลขชี้กําลังเทากัน ดังนั้น ในการหาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลัง ถาฐานของเลขยกกําลัง
ไมเทากันและเลขชี้กําลังไมเทากันจะตองทําใหฐานหรือเลขชี้กําลังของเลขยกกําลังเทากันเสียกอน
จึงจะคูณหรือหารกันไดโดยอาศัยกฎของเลขยกกําลัง เชน

1 1 3 2
(1) (5) 2 (3) 3 = (5) 6 (3) 6
1 1
= 3 6
(5 ) 2 6
(3 )
1 1
= (125) 6 (9) 6
1
= (1125) 6

1 1 1 1
(2) 4(3) 3 (6) 2 = 2(3) 3 2(6) 2
1 1
= (2 3 ×3) 3 (2 2 × 6) 2
1 1
= (24) 3 (24) 2
5
= (24) 6

1 3
(5) 5 (5) 15
(3) 1
= 5
( 2) 3 (2) 15
1
(5 3 ) 15
= 1
(2 5 ) 15
1
⎛ 125 ⎞ 15
= ⎜ ⎟
⎝ 32 ⎠

3. ผูสอนอาจใชเทคโนโลยีชวยในการสอนเรื่อง เลขยกกําลัง เพื่อเปนการฝกใหผูเรียนไดใช


เทคโนโลยีประกอบการเรียน โดยไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีที่มีราคาแพง ซึ่งในบทเรียนเรื่อง
เลขยกกําลัง ของหนังสือเรียน ไดกลาวถึงการใชเครื่องคิดเลขแบบธรรมดาในการหาคาตาง ๆ
เชน การหาคาราก การหาคาของเลขยกกําลัง
การใชเทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน ผูสอนควรสอนใหผูเรียนเกิดความเขาใจใน
เนื้อหาสาระที่สอนกอน แลวจึงใชเทคโนโลยีมาเปนเครื่องมือที่ชวยขยายความเขาใจของผูเรียน
107

4. เพื่อใหผเู รียนเกิดความเขาใจและเห็นประโยชนของเลขยกกําลัง ผูส อนอาจยกตัวอยางโจทยปญ


 หา
ที่เกี่ยวของกับเรื่อง เลขยกกําลัง ซึ่งในหนังสือเรียนไดกลาวไวพอสังเขป

กิจกรรมเสนอแนะ

บทนิยามถือเปนขอตกลงหรือสิ่งที่ผูเรียนตองรับรูและจดจําเพื่อนําไปใช แตมีบทนิยามบาง
บท ซึ่งผูสอนสามารถทําใหผูเรียนเขาใจความหมายและเขาใจแนวคิดเกี่ยวกับบทนิยามนั้นไดงายขึ้น
เชน บทนิยามของ a0 หรือ a-n เมื่อ a ≠ 0 และ n เปนจํานวนเต็มบวก เปนบทนิยามที่กลาว
ไวในชวงชั้นที่ 3 เมื่อผูเรียนไดเรียนเรื่อง เลขยกกําลัง ในชวงชั้นที่ 4 ผูสอนอาจใชกิจกรรมที่จะ
กลาวตอไปนี้ทบทวนการใหบทนิยามนี้สําหรับผูเรียนได
1. a-n
ผูสอนใหผูเรียนหาคาของเลขยกกําลัง 25, 24, 23, 22 และ 21
เมื่อผูเรียนหาคําตอบไดแลว ผูสอนใหผูเรียนพิจารณาความสัมพันธของเลขชี้กําลัง
และคาของเลขยกกําลังที่ไดดังนี้

ความสัมพันธของเลขชี้กําลัง ความสัมพันธของคาของเลขยกกําลัง
5
เลขชี้กําลัง 2 = 32 ผลลัพธ

5–1=4 32 ÷ 2 = 16
4
2 = 16
4–1=3 16 ÷ 2 = 8
3
2 = 8
3–1=2 8 ÷2 = 4
2
2 = 4
2–1=1 4 ÷2 = 2
21 = 2

เมื่อผูเรียนมองเห็นความสัมพันธดังกลาวแลว ผูสอนจึงใหผูเรียนหาคาของ 20, 2-1,


2-2, 2-3, 2-4, … โดยใชขอสรุปจากการสังเกตขางตน ซึ่งจะได
108

0
2 = 1 (2 ÷ 2)
-1
2 = 0.5 (1 ÷ 2)
-2
2 = 0.25 (0.5 ÷ 2)
-3
2 = 0.125 (0.25 ÷ 2)
-4
2 = 0.0625 (0.125 ÷ 2)
1, 1 , 1 , 1
จากนั้นผูสอนใหผูเรียนหาคาของ ดังนี้
2 22 2 3
24
1
= 0.5
2
1 1
2
= = 0.25
2 4
1 1
= = 0.125
23 8
1 1
= = 0.0625
24 16

ผูสอนใหผูเรียนเปรียบเทียบคาที่ไดกับคาของ 2-1, 2-2, 2-3, 2-4 แลวจึงหาขอสรุป


จากตัวอยางวา 2-1 = 1 , 2-2 = 12 , 2-3 = 13 , 2-4 = 14
2 2 2 2

ผูสอนยกตัวอยางในทํานองเดียวกันอีกหลาย ๆ ตัวอยาง เชน ใหผูเรียนหาคาของ 4n ดังนี้


1
1) 45 = 1,024 2) = …………….
4
1
44 = 256 = …………….
42
1
43 = 64 = …………….
43
1
42 = 16 = …………….
44
1
41 = 4 = …………….
45
40 = .........
4-1 = .........
4-2 = .........
4-3 = .........
4-4 = .........
4-5 = .........
109

3) ใหผูเรียนเปรียบเทียบคาของ 4-1, 4-2, 4-3, 4-4, 4-5 ที่ได กับคาของ


1, 1 , 1 , 1 , 1
2 3 4 5
แลวหาขอสรุป
4 4 4 4 4
1
จากตัวอยางที่ไดจะชวยใหผูเรียนเกิดความเขาใจในบทนิยาม a-n = ดีขึ้น
an
2. a0
สําหรับความหมายของ a0 ซึ่งเทากับ 1 นั้น อาจจะอธิบายโดยใชความรูเรื่อง เลขยกกําลัง
ที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ และใชเครื่องคิดเลขชวยในการหาคําตอบ โดยผูสอนใหผูเรียน
พิจารณาคาของ an เมื่อ n มีคานอยมาก หรือมีคาใกลศูนยดังนี้
กําหนดให m เทากับ 1 , 1 , 1 , 1 , 1 , … จะเห็นวา คาของ m ที่อยูในรูป 1n
2 4 8 16 32 2
เมื่อ n ≥ 1 จะมีคานอยลงเมื่อ n มีคาเพิ่มขึ้น
ใหผูเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้
1
1
เมื่อ n= , a2 จะมีคาเทากับ a
2
1
1
n= , a4 จะมีคาเทากับ a
4
1
1
n= , a8 จะมีคาเทากับ a
8
1
1
n= , a 16 จะมีคาเทากับ a
16

M
และเมื่อหาคาของ an เมื่อ n มีคาใกลศูนย โดยใชเครื่องคิดเลข เมื่อกําหนดคาของ a
เชน ให a = 5 จะไดคําตอบดังนี้
1
กดแปน 5 จะไดคาของ 52

1
5 จะไดคาของ 5 4

1
5 จะไดคาของ 5 8

เมื่อทําเชนนี้ตอไปเรื่อย ๆ จะพบวา เมื่อกดแปน มากครั้งขึ้นเรื่อย ๆ จะไดคาของ n เขาใกล


ศูนย (เชนเมื่อกดแปน เปนครั้งที่ 24 จะได n มีคาเทากับ 1/16777216 หรือประมาณ
0.000000059) คาของ 5n เมื่อ n เขาใกลศูนยจะมีคาเขาใกล 1
110

หมายเหตุ วิธีการกดเครื่องคิดเลขบางรุนอาจแตกตางจากที่แสดงไวและจํานวนครั้งในการกดแปน
จนแสดงคา 5n เปน 1 อาจแตกตางกันไป

เมื่อผูเรียนไดขอสรุปจากตัวอยางที่ยกมาแลว ผูสอนจึงบอกบทนิยามของเลขยกกําลังที่
มีเลขชี้กําลังเปนศูนย และเปนจํานวนเต็มลบ ดังนี้

a0 = 1 เมื่อ a เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับ 0
1
a-n = เมื่อ a เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนย
an
และ n เปนจํานวนเต็มบวก

วิธีการที่กลาวมาขางตนเปนวิธีการหนึ่ง ซึ่งผูสอนสามารถใชเปนตัวอยางที่สนับสนุน
ใหผูเรียนเกิดความเขาใจความหมายของบทนิยามดังกลาวไดดีขึ้น

หมายเหตุ สําหรับชั้นเรียนที่มีเครื่องคิดเลข ผูสอนอาจใหผูเรียนใชเครื่องคิดเลขชวยหาคําตอบ


แตสาํ หรับชัน้ เรียนทีไ่ มมเี ครือ่ งคิดเลขใช ผูส อนอาจยกตัวอยางงาย ๆ เชน การหาคาของ
105, 104, 103, 102 และ 12 , 13 , 14 , 15 ซึ่ งผู เ รี ย นมีความคุนเคย
10 10 10 10
กับจํานวนเหลานี้อยูแลว ทําใหไมตองเสียเวลามาคํานวณคาที่ตองการ
คําถามเพิ่มเติม

จากจํานวน 125 เราสามารถเขียนจํานวนใหอยูในรูปเลขยกกําลัง


โดยใชเลขโดด 1, 2 และ 5 ไดดังนี้

125 = 5(1+2)
จงเขียนจํานวนตอไปนี้ ใหอยูในรูปเลขยกกําลังโดยใชเลขโดดของจํานวนที่กําหนด
ใหดังตอไปนี้
1) 128
2) 216
3) 625
คําตอบ 1. 128 = 2(8-1)
2. 216 = 6(1+2)
3. 625 = 5(6-2)
111

แบบทดสอบประจําบท

แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง เลขยกกําลัง ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบ
ทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียน

ตัวอยางแบบทดสอบ

1. จงหาคาของ (การหาคําตอบของเลขยกกําลังใหใชเครื่องคิดเลขได)
1) 52 ⋅ 5-3 3) (–2)0
32
2) 5-3 ⋅ 5-3 4)
3−2
2. จงหาคาของ
1) (3 25 ⋅ 2 )
6

3

2) 16 2

5

⎛ 1 ⎞
3) ⎜ ⎟
7

⎝ 128 ⎠
3. จงหาคาของ 50 + 32 − 18
4. จงหาวาจํานวนใดตอไปนี้มีคาเทากัน
1
, ( 4 2 ) , 24 , 16
16 2
5. จงอธิบายวา 22 + 22 มีความหมายแตกตางจาก (22)2 หรือไม เพราะเหตุใด
1
6. จงหาคาของ m ที่ทําให 3 × 9m =
3
7. จงหาคาของ n ที่ทําให 4 × 4n = 2
8. จงหาคาประมาณของ 3 74 (ตอบเปนทศนิยม 1 ตําแหนง)
9. จงหาคาของ a เมื่อกําหนดให

10
75

a
112

10. ถาตองการขุดบอน้ําบาดาลใหเปนรูปทรงกระบอกที่สามารถจุน้ําได 2,200 ลูกบาศกเมตร


รัศมีและความสูงของบอบาดาลจะเปนเทาใดไดบาง

11. ถาปริมาตรของอางเก็บน้ําในภาพเทากับ 8.64 × 1015 ลูกบาศกเมตร และพื้นที่ที่แรเงาในภาพ


เทากับ 4.8 × 1012 ตารางเมตร จงหาความลึกของอางเก็บน้ํานี้

4.8 × 1012 ตารางเมตร

เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
52 1
1. 1) 52 ⋅ 5-3 = = = 0.2
53 5
1 1
2) 5-3 ⋅ 5-3 = 5(-3)+(-3) = 5(-6) = =
56 15,625
= 0.000064
3) (-2)0 = 1
32
4) = 32⋅32 = 32+2 = 34 = 81
3−2

( )
1 1
2. 1) =
6 2 3
3
25 ⋅ 2 ((5 ) ⋅ 2 2 )6
2 1
= (5 3 ) 6 ⋅ (2 2 ) 6
12 6
= 53 ⋅ 22

= 54⋅23
= 5,000
3
− 1
2) 16 2 = 3
16 2
1
= 3
2 2
(4 )
1 1
= =
43 64
113

5
− 5
⎛ 1 ⎞
3) ⎜ ⎟
7
= (128) 7
⎝ 128 ⎠

(2 )
5
= 7 7

= 25
= 32

3. 50 + 32 − 18 = 2⋅5⋅5 + 4× 4× 2 − 2⋅3⋅3
= 5 2 +4 2 −3 2
= (5 + 4 − 3) 2
= 6 2

1
4. 1) 16 2 = 4
2) ( 4 2 ) = 4
3) 24 = 16
4) 16 = 4
1
จะไดวา 16 2 , ( 42 ) และ 16 มีคาเทากันคือเทากับ 4

5. 22 + 22 แทนผลบวกของจํานวน 22 สองจํานวน ซึ่งเทากับ 4 + 4 หรือ 8


(22)2 แทนผลคูณของ (22)(22) ซึ่งเทากับ 4 × 4 หรือ 16

1
6. 3 × 9m =
3
3 × (32)m = 3-1
31 × 32m = 3-1
1+2m
3 = 3-1
จะได 1 + 2m = –1
2m = –2
และ m = –1
114

7. หาคาของ n ที่ทําให 4 × 4n = 2 ไดดงั นี้


4 × 4n = 2
n+1
4 = 21
22(n+1) = 21
จะได 2(n + 1) = 1
และ n = −
1
2

8. หาคาประมาณของ 3
74 ไดดังนี้
1
จาก 3 74 = 74 3
พิจารณา 4 3 = 64 และ 53 = 125
1
แสดงวา 74 3 มีคาอยูระหวาง 4 และ 5
หาคา a ที่ a3 มีคาใกลเคียงกับ 74 ไดดังนี้
(4.5) 3 = 91.125
(4.3) 3 = 79.507
(4.2) 3 = 74.088
(4.19) 3 = 73.560
แสดงวา 3
74 มีคาประมาณคือ 4.19

9. หาคาของ a เมื่อกําหนดให

10
75

a
2 2 2
a + ( 75 ) = 10
a2 + 75 = 100
a2 = 100 – 75
a2 = 25
จะได a = 5 หรือ a = -5
เนื่องจาก a เปนความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมซึ่งเปนจํานวนบวก
ดังนั้น a = 5
115

10. ให r แทนรัศมีของพื้นที่หนาตัดที่เปนรูปวงกลม


h แทนความสูงของบอน้ํา
ปริมาตรของทรงกระบอก = πr2h
2
πr h = 2,200
22 2
rh ≈ 2,200
7
2,200 × 7
r2h ≈
22
r2h ≈ 100 × 7
จะไดวา ถารัศมีของพื้นที่หนาตัดเทากับ 10 เมตร ความสูงของบอน้ําจะเทากับ 7 เมตร
ถารัศมีของพื้นที่หนาตัดเทากับ 7 เมตร หรือประมาณ 2.6 เมตร
ความสูงของบอน้ําจะเทากับ 100 เมตร

11. ใหความลึกของอางน้ํา เทากับ h เมตร จะหาคา h ไดดังนี้


(4.8 × 1012)h = 8.64 × 1015
8.64 × 1015
h =
4.8 × 1012
h = 1.8 × 103 เมตร
จะได ความลึกของอางเก็บน้ําแหงนี้เทากับ 1.8 × 103 เมตร

เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 4.1
1. 1) 8x 2 = 23 x 2 = 2 2x
2) 4
256 = 4
44 = 4
3) 3
8y 6 = 3
(2 y 2 ) 3 = 2y2
4) 5
− 32 = 5
(−2) 5 = –2

5 ⎛⎜ 2 ⎞⎟
2. 1) 5
= = 10
2 2 ⎜⎝ 2 ⎟⎠ 2
3× 7
2) 21
= 21
= = 7
= 7
×
5
= 35
15 15 3× 5 5 5 5 5

3. 1) 3
2a 2 ⋅ 3 4a = 3
8a 3 = 3
( 2a ) 3 = 2a
2) 2 ⋅ 12 = 24 = 22 ⋅ 6 = 2 6
3) 3
54 ⋅ 3 4 = 3
216 = 3
63 = 6
116

4) 3 ⋅ 9 ⋅ 27 = 3 ⋅ 9 ⋅ 27 = 27 ⋅ 27 = 27

4. 1) (a + b) x – (a – b) x
= a x + b x − [a x − b x]
= a x +b x −a x +b x
= 2b x

2) 3 8 − 2 + 32
= 3 23 − 2 + 25
= 6 2− 2+4 2
= (6 – 1 + 4) 2
= 9 2

a 4a
3) − 12a +
3 3
a 36a 4a
= − +
3 3 3
(1 − 36 + 4)a
=
3
(1 − 6 + 4)a
=
3
a −a 3
= − =
3 3

4) 3 5 ( 10 + 2 5 )
= 3 50 + 6 25
= 3 52 ⋅ 2 + 6 52
= 15 2 + 30

5) ( 3 + 2 )( 3 − 2 )
= 3⋅ 3− 3⋅ 2 + 2⋅ 3− 2⋅ 2
= 3− 6 + 6 −2
= 1
117

แบบฝกหัด 4.2

รูปกรณฑ เลขยกกําลัง
1
1. 1) 9 92
1
2) 3
64 64 3
1
3) 5
32 32 5
1
4) − 144 − (144) 2
1
5) 169 169 2
1
6) 3
614.125 (614.125) 3
1
7) 3
− 216 (−216) 3
1
8) 5
− 243 (−243) 5
2
9) 3
(27) 2
27 3
1
10) ( 4 81) 3 (81 4 ) 3
1
11) 4
813 (813 ) 4
5
12) 4
16 5 16 4

2. 1) 9 = 3
2) 49 = 7
3) 3
8 = 2
27 3
4) 3 =
8 2
5) − 3 − 27 = – (–3) = 3
6) 3
0 = 0
4 4 1
7) = =
64 8 2
4
81 3
8) = = 1
3 3
3
⎧⎪ 1

9) ( − 125 )
3 3
= ( −125) 3⎪ = –125
⎨ ⎬
⎪⎩ ⎪⎭
10) 4
562 4 = 562
118

3
11) 36 2 = 36 3
= (6 2 ) 3
= (6 3 ) 2
= 63 = 216
1 1
12) 27 3 = 3 3
(3 ) = 3
1 1

13) 16 4 = 4
16 −1 = (
1 4
)
16
1
= (
1 4
) = 1
24 2
1 1
14) 1
1
= 25 2 = 2 2
(5 ) = 5

25 2
1
15) –24 + 4 2 = –16 + 2 = –14
3 3
16) 625 4 = (5 4 ) 4 = 53 = 125
1 1
16 2 (4 2 ) 2
17) = = 4
= 1
22 22 4
2

18) (0.008) 3 = 3
(0.008) −2 = 3
(0.2) 3⋅( −2 )

= 0.2-2 = 1
= 25
0.04

3. 1) 8 = 23 = 2 2
24 23 2
2) 3
16
= 3 =
27 33 3
3) 72x 3 = 23 ⋅ 32 x 3 = 2 ⋅ 3 ⋅ x 2x = 6x 2x
4) 54 xy 4 = 2 ⋅ 33 xy 4 = 3y 2 6 x
32a 4 25 a 4 4a 2
5) = = 2, b≠0
b2 b2 b
6) 4
(3x 2 ) 4 = 3x2
1
4. 1) เนื่องจาก (a 2 + 25) 2 = a 2 + 52
1
ดังนั้น (a 2 + 25) 2 ≠ a+5

1
2) เนื่องจาก 36a 2 = 36 a
1
ดังนั้น 36a 2 ≠ 6 a
119
1
3) เนื่องจาก ((−4) 2 ) 2 = (−4) 2 = -4 = 4
1
ดังนั้น ((−4) 2 ) 2 = 4
1
4) เนื่องจาก ((4) ) 2 2 = ( 4)2 = 4
1
ดังนั้น ((4) ) = 2 2 4
5) เนื่องจาก ((−1) −1 ) −1 = (-1)(-1× -1) = (–1)1 = –1
ดังนั้น ((−1) −1 ) −1 = –1
6) เนื่องจาก (–1)-1(–1)-1 = (–1)(–1+ –1) = (–1)–2 = 1 2 = 1
(-1)
ดังนั้น (–1)-1(–1)-1 = 1
3

7) เนื่องจาก a 2 = 1
3
a2
3

ดังนั้น a 2 ≠
1
2
a 3
2 2
2 2
− 3
⎛ a ⎞3
8) เนื่องจาก a3b 3 = a
= ⎜ ⎟
⎝b⎠
2
b3
2 2

ดังนั้น a b 3
3 ≠ 1
( 43 × 43 ) = a
4 3
9) เนื่องจาก (a 3 )4 = a
4 3
ดังนั้น (a 3 )4 = a
1
1 1
a2
10) เนื่องจาก 1
= a2 ⋅a2 = a

a 2
1
a2
ดังนั้น 1
= a

a 2
2
3 3
27 3 27 2 36 32
5. 1) = = = = 1
32 32 32 32
2 4 2 4 6
+
2) 53 × 53 = 53 3 = 53 = 52 = 25
3) 8 × 2-2 = 8×
1
= 2
4
4) 2-2 × 16 = 1
× 16 = 4
4
5
5 4 5 4 1
− 83 −
5) 83 ×8 3 = 4
= 83 3 = 83 = 3
8 = 3
23 = 2
83
120

1 5
1 5 6 2 4
22 × 22 + −1 −
6) = (2 2 2 ) = (2 2 2 ) = (2 2 ) = 4
2
3 3
3 1
23 × 8 2 8×82 1+ −
7) = = (8 2 2 ) = 82 = 64
8 8
1
83 +7 2+7 9
8) 1
= = = 3
3 3
27 3

6. 1) 5+ 3 > 5+3
2) 3− 2 < 3−2
3) 5 > 32 + 2 2
4) 3⋅4 3 > 3
3
3 3
5) =
11 11

7. ในวันที่มีอากาศสดใส ผูที่ยืนอยูบนชั้นบนสุดของตึกสูงสามารถมองไปไดไกลเปนระยะที่
คํานวณไดจากสูตรดังนี้
d = 1 .2 h
เมื่อ d แทนระยะที่สามารถมองไปไดไกลจากตึกสูง
h แทนความสูงของตึก ณ จุดที่ยืน

ถายืนอยูบนตึกที่สูง 1,454 เมตร จะหาระยะที่สามารถมองไดไกลที่สุดไดดังนี้


d = 1.2 1,454

d ≈ 1.2(38.131351)
d ≈ 45.757621
ดังนั้น สามารถมองไดไกลที่สุดประมาณ 45.76 เมตร

8. น้ําหนักของปลาวาฬ (W) มีหนวยเปนตัน และความยาว (L) มีหนวยเปนฟุต


สามารถคํานวณน้ําหนักของปลาวาฬไดจากสูตร
12
W = (0.0016)L 5
จะหาน้ําหนักของปลาวาฬที่มีความยาว 25 ฟุต ไดดังนี้
12
W = 0.0016( 25) 5
= 0.0016 5
2512
121

= 0.0016 5 5 24

= 0.0016 × 5 4 5 5 4 ≈ 3.623898318
ดังนั้น ปลาวาฬที่ยาว 25 ฟุต จะมีน้ําหนักประมาณ 3.6 ตัน

9. ชายผูหนึ่งฝากเงินไวกับธนาคารแหงหนึ่งโดยมีขอตกลงวา เขาจะฝากเงินกับธนาคาร
100,000 บาท โดยธนาคารจะตองจายดอกเบี้ยใหปละ 4% ถา 50 ป ตอมาเงินที่ฝากไว
จะมีคาเทากับ 100,000(1.04)50 บาท จะหาจํานวนเงินทีช่ ายผูนี้จะไดรบั ถาเขาไปปดบัญชีกับ
ธนาคารไดดังนี้
ถาเขาปดบัญชีจะไดเงิน เทากับ 100,000(1.04)50
≈ 100,000(7.106683346)
≈ 710,668.3346
ดังนั้น ถาเขาปดบัญชี เขาจะไดเงินประมาณ 710,668 บาท

หมายเหตุ การหาคาของ (1.04)50 อาจทําใหงายขึ้นโดยให (1.04)50 = (1.04)5×5×2


แลวใชเครื่องคิดเลขหาคา (1.04)5 จากนั้นจึงหาคา ((1.04)5)5 และ [((1.04)5)5]2
ตามลําดับ

10. นักวิทยาศาสตรพบวา สามารถหาคาประมาณของพื้นที่ผิวหนังของมนุษย (S) ไดจากสูตร


S = (0.1091)(w⋅h)0.5 ตารางฟุต
เมื่อ h แทนดวยความสูงที่มีหนวยเปนนิ้ว
w แทนดวยน้ําหนักที่มีหนวยเปนปอนด
คาประมาณของพื้นที่ผิวหนังของคนที่สูง 5 ฟุต 4 นิ้ว และหนัก 180 ปอนด หาไดดังนี้
S = (0.1091)(180 × 64)0.5
1
S = (0.1091) (2 × 3 × 8
2 2 2
× 5) 2
S = (0.1091) × 2 × 3 × 8 × 5
จะได คาประมาณของพืน้ ที่ผิวหนังของคนที่สูง 5 ฟุต 4 นิ้ว เทากับ 11.70948
หรือ 11.7 ตารางฟุต
คณะกรรมการดําเนินการจัดทําคูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน คณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เลม 1

นางสาวสิริพร ทิพยคง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


นางสาวสาคร บุญดาว มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นายปรีชา เนาวเย็นผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นางสาวอัมพร มาคนอง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
นางสาวจันทรเพ็ญ ชุมคช ขาราชการบํานาญ กรมสามัญศึกษา
นางสาวจารุวรรณ แสงทอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางยุดา กีรติรักษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวสุพัตรา ผาติวิสันต สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวปทุมทิพย เหลืองอรุณกิจ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายจีรศักดิ์ ดีสะเมาะ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ

นางสาวสิริพร ทิพยคง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


นางสาวจารุวรรณ แสงทอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางยุดา กีรติรักษ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวปทุมทิพย เหลืองอรุณกิจ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นายจีรศักดิ์ ดีสะเมาะ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะผูจัดพิมพตนฉบับ

นางสาวปยาภรณ ทองมาก สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี


นางสาวระภีพรรณ โคกแกว สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

You might also like