You are on page 1of 87

1

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

รายวิชานาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3

เรื่อง แบบฝึ กทักษะการปฏิบตั กิ ารราตีบท

จัดทาโดย

คุณครู เบญจมาภรณ์ พุ่มไสว


ครู ผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชานาฏศิลป์
โรงเรียนสตรีภูเก็ต
2

บัตรคาสั่ ง
เรื่อง การฝึ กทักษะการปฏิบัติราตีบท

คาชี้แจง ให้ประธานกลุ่มอ่านคาสั่งเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มปฏิบตั ิตามขั้นตอน ดังนี้


1. ประธานกลุ่มคัดเลือกสมาชิกออกเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มตัวพระ เลือกจากคนที่มีใบหน้ารู ปไข่หรื อรู ปร่ างสู งโปร่ ง

กลุ่มตัวนาง เลือกจากคนที่มีใบหน้ากลมรู ปร่ างสมส่ วนไม่สูงใหญ่


3

2. ให้สมาชิกร่ วมกันศึกษาใบความรู้เรื่ องความหมายและประเภทของการราตีบท


3. ให้สมาชิกร่ วมกันศึกษาขั้นตอนการฝึ กปฏิบตั ิทกั ษะการราตีบท
3. วางแผนการฝึ กปฏิบตั ิไปตามลาดับขั้นตอน
4. นักเรี ยนประเมินผลการปฏิบตั ิราตีบทของตนเองและสรุ ปผลการประเมินลงในแบบบันทึก
5. สมาชิกในกลุ่มแลกเปลี่ยนกันให้เพื่อนประเมินผลการปฏิบตั ิราตีบท แล้วสรุ ปผลการ
ประเมินลงในแบบบันทึก
6. นาคะแนนที่ได้ไปเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลว่าจะอยูใ่ นเกณฑ์ใด
(ดีมาก ดี พอใช้ หรื อควรปรับปรุ ง)
7. นาแบบบันทึกการประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิการราตีบท ส่ งครู ผสู ้ อน
8. ครู ผสู ้ อนจะเป็ นผูป้ ระเมินผลการปฏิบตั ิการราตีบทของทุกกลุ่มอีกครั้ง
4

ใบความรู้
เรื่อง การราตีบท

การราตีบท คือ การใช้ภาษาท่าสาหรับสื่ อความหมายในการแสดงระหว่างผูช้ มกับผูแ้ สดง


ท่าที่ใช้อาจเลียนแบบมาจากธรรมชาติ หรื อประดิษฐ์ข้ ึนใหม่ โดยนาท่ามาจากนาฏยศัพท์และพื้นฐานท่ารา
จากนาฏศิลป์ ไทย นามาปรับเรี ยงให้สอดคล้องกับความหมายของคาร้องหรื อคาประพันธ์

ลักษณะการราตีบทของไทย แบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ คือ


1. กิริยามือแบ
2. กิริยามือจีบ
3. กิริยาชี้มือ
5

บัตรฝึ กทักษะการปฏิบัติ

การราตีบทกิริยามือแบทีเ่ ป็ นมือบังคับ
6

ท่ าตัวเรา ตัวพระ

ภาพที่ 1 ท่าตัวเรา ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าตัวเรา ตัวนาง

ภาพที่ 2 ท่าตัวเรา ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ใช้มือซ้าย หันฝ่ ามือทาบอก


7

ท่ าอาย ตัวพระ

ภาพที่ 3 ท่าอาย ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าอาย ตัวนาง

ภาพที่ 4 ท่าอาย ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ใช้มือซ้าย หันฝ่ ามือชิดแก้ม เชิดปลายนิ้วขึ้นเล็กน้อย


8

ท่ าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 5 ท่าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 6 ท่าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้ายหันฝ่ ามือทาบอก


9

ท่ าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 7 ท่าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 8 ท่าโล่งใจ โล่งอก คลายใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วลูบมือลง


10

ท่ ากังวลใจ เจ็บใจ กลุ้มใจ ตัวพระ

ภาพที่ 9 ท่ากังวลใจ เจ็บใจ กลุม้ ใจ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ ากังวลใจ เจ็บใจ กลุ้มใจ ตัวนาง

ภาพที่ 10 ท่ากังวลใจ เจ็บใจ กลุม้ ใจ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ใช้มือซ้าย หันฝ่ ามือทาบอก แล้วตบเบาๆ


11

ท่ าร้ องไห้ ตัวพระ

ภาพที่ 11 ท่าร้องไห้ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าร้ องไห้ ตัวนาง

ภาพที่ 12 ท่าร้องไห้ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือซ้ายยกขึ้น หันฝ่ ามือเข้าหาหน้าผาก ให้สันมือชิดหน้าผาก
12

ท่ าแค้ นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 13 ท่าแค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าแค้ นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 14 ท่าแค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้ายหันฝ่ ามือทาบอก


13

ท่ าแค้ นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 15 ท่าแค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าแค้ นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 16 ท่าแค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วเช็ดปลายมือออกด้านข้าง


14

ท่ าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 17 ท่าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 18 ท่าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้าย หันฝ่ ามือชิดก้านคอใต้ใบหูถูไปมา
15

ท่ าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 19 ท่าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 20 ท่าโกรธ เคือง ราคาญ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วกระชากมือลง


16

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือแบที่เป็ นท่ าบังคับ


โดยนักเรียนประเมินตนเอง

ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1 ร้องไห้
2 อาย
3 โกรธ เคือง ราคาญ
4 ตัวเรา
5 โล่งใจ โล่งอก คลายใจ
6 แค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ
7 กังวลใจ เจ็บใจ กลุม้ ใจ
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 7 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ปฏิบตั ิได้ 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 5 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 4 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง

สรุ ปผลการประเมิน

ระดับ.....................
17

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือแบที่เป็ นท่ าบังคับ


โดยเพือ่ นสมาชิ กในกลุ่มเป็ นผู้ประเมิน

ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1 ร้องไห้
2 อาย
3 โกรธ เคือง ราคาญ
4 ตัวเรา
5 โล่งใจ โล่งอก คลายใจ
6 แค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ
7 กังวลใจ เจ็บใจ กลุม้ ใจ
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 7 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ปฏิบตั ิได้ 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 5 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 4 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง

สรุ ปผลการประเมิน

ระดับ.....................
18

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือแบที่เป็ นท่ าบังคับ


โดยครู ผ้ สู อนเป็ นผู้ประเมิน

ชื่อกลุ่มที่ประเมิน...................................................................เลขที่............................................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1 ร้องไห้
2 อาย
3 โกรธ เคือง ราคาญ
4 ตัวเรา
5 โล่งใจ โล่งอก คลายใจ
6 แค้นใจ ขัดใจ ขุ่นเคืองใจ
7 กังวลใจ เจ็บใจ กลุม้ ใจ
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 7 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ปฏิบตั ิได้ 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 5 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 4 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง

สรุ ปผลการประเมิน

ระดับ.....................
19

บัตรฝึ กทักษะการปฏิบัติ

การราตีบทกิริยามือแบทีไ่ ม่ เป็ นท่ าบังคับ


20

ท่ าทีแ่ สดงถึงเทพเจ้ า เทวดา พระมหากษัตริย์ บิดา มารดา ญาติผู้สูงวัย


ตัวพระ

ภาพที่ 21 ท่าเทพเจ้า เทวดา พระมหากษัตริ ย ์ บิดามารดา ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงถึงเทพเจ้ า เทวดา พระมหากษัตริย์ บิดา มารดา ญาติผู้สูงวัย
ตัวนาง

วิธีปฏิบัติ ใช้มือขวา ตั้งตะแคงให้นิ้วหัวแม่มือเข้าหาตัว ระดับห่างจาก


หน้าผาก
เล็กน้อย แขนงอ
ภาพที่ 22 ท่าเทพเจ้า เทวดา พระมหากษัตริ ย ์ บิดามารดา ตัวนาง
ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือขวา ตั้งตะแคงให้นิ้วหัวแม่มือเข้าหาตัว ระดับห่างจากหน้าผากเล็กน้อย แขนงอ
21

ท่ ากองทัพ ภูเขาใหญ่ โต
ตัวพระ

ภาพที่ 23 ท่ากองทัพ ภูเขา ใหญ่โต ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ ากองทัพ ภูเขาใหญ่ โต
ตัวนาง

ภาพที่ 24 ท่ากองทัพ ภูเขา ใหญ่โต ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือทั้งสองตั้งตะแคง หันฝ่ ามือเข้าหากัน ห่างพองามระดับหน้า แขนงอ
22

ท่ าคุ้มครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้า ร่ างกาย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 25 ท่าคุม้ ครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้ า ร่ างกาย ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าคุ้มครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้า ร่ างกาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 26 ท่าคุม้ ครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้ า ร่ างกาย ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 เริ่ มจากมือทั้งสองตั้งวงบน
23

ท่ าคุ้มครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้า ร่ างกาย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 27 ท่าคุม้ ครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้ า ร่ างกาย ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าคุ้มครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้า ร่ างกาย


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 28 ท่าคุม้ ครอง ครอบครอง สวมใส่ ปลอมตัว อาบน้ า ร่ างกาย ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วลดลงมาเป็ นวงล่าง
24

ท่ าเชื้อเชิญ ขอเชิญ ต้ อนรับ


ตัวพระ

ภาพที่ 29 ท่าเชื้อเชิ ญ ขอเชิ ญ ต้อนรับ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าเชื้อเชิญ ขอเชิญ ต้ อนรับ


ตัวนาง

ภาพที่ 30 ท่าเชื้อเชิ ญ ขอเชิ ญ ต้อนรับ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือทั้งสอง หงายฝ่ ามือขึ้น แขนงอเล็กน้อย ระดับห่างจากอก
25

ท่ ายิง่ ใหญ่ เป็ นใหญ่


ตัวพระ

ภาพที่ 31 ท่ายิง่ ใหญ่ เป็ นใหญ่ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ ายิง่ ใหญ่ เป็ นใหญ่
ตัวนาง

ภาพที่ 32 ท่ายิง่ ใหญ่ เป็ นใหญ่ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือทั้งสองตั้งวงบัวบาน
26

ท่ าตาย สู ญสิ้น พ่ายแพ้ ฉิบหาย พินาศ


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 33 ท่าตาย สู ญสิ้ น พ่ายแพ้ ฉิ บหาย พินาศ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าตาย สู ญสิ้น พ่ายแพ้ ฉิบหาย พินาศ


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 34 ท่าตาย สู ญสิ้ น พ่ายแพ้ ฉิ บหาย พินาศ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 เริ่ มจากใช้มือทั้งสองคว่ามือประสานกัน ระดับสะเอว
27

ท่ าตาย สู ญสิ้น พ่ายแพ้ ฉิบหาย พินาศ


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 35 ท่าตาย สู ญสิ้ น พ่ายแพ้ ฉิ บหาย พินาศ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าตาย สู ญสิ้น พ่ายแพ้ ฉิบหาย พินาศ


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 36 ท่าตาย สู ญสิ้ น พ่ายแพ้ ฉิ บหาย พินาศ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วพลิกฝ่ ามือเป็ นแบหงาย
28

ท่ าตาย สู ญสิ้น พ่ายแพ้ ฉิบหาย พินาศ


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 37 ท่าตาย สู ญสิ้ น พ่ายแพ้ ฉิ บหาย พินาศ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าตาย สู ญสิ้น พ่ายแพ้ ฉิบหาย พินาศ


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 38 ท่าตาย สู ญสิ้ น พ่ายแพ้ ฉิ บหาย พินาศ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 แล้วแยกมือออกด้านข้าง
29

ท่ าสวยงาม สง่ างาม มียศศักดิ์


ตัวพระ

ภาพที่ 39 ท่าสวยงาม สง่างาม มียศศักดิ์ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าสวยงาม สง่ างาม มียศศักดิ์


ตัวนาง

ภาพที่ 40 ท่าสวยงาม สง่างาม มียศศักดิ์ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือหนึ่งตั้งวงบัวบาน อีกมือหนึ่งตั้งวงหน้า
30

ท่ าพบปะ ประชุม พร้ อมเพรียง ความลับ


ตัวพระ

ภาพที่ 41 ท่าพบปะ ประชุม พร้อมเพรี ยง ความลับ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าพบปะ ประชุม พร้ อมเพรียง ความลับ
ตัวนาง

ภาพที่ 42 ท่าพบปะ ประชุม พร้อมเพรี ยง ความลับ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือทั้งสองคว่าซ้อนกัน ระดับหน้าท้อง แขนงอเล็กน้อย
31

ท่ าตรอก ซอก ช่ องทาง คูคลอง ห้ วย


ตัวพระ

ภาพที่ 43 ท่าตรอก ซอก ช่องทาง คูคลอง ห้วย ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุ่มไสว (2554)

ท่ าตรอก ซอก ช่ องทาง คูคลอง ห้ วย


ตัวนาง

ภาพที่ 44 ท่าตรอก ซอก ช่องทาง คูคลอง ห้วย ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุ่มไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือทั้งสองตั้งตะแคง หันฝ่ ามือเข้าหากันห่างพองามระดับต่ากว่าอก แขนงอ
32

ท่ าคิดถึง ฝันถึง คนึงถึง


ตัวพระ

ภาพที่ 45 ท่าตรอก ซอก ช่องทาง คูคลอง ห้วย ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าคิดถึง ฝันถึง คนึงถึง


ตัวนาง

ภาพที่ 46 ท่าตรอก ซอก ช่องทาง คูคลอง ห้วย ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือทั้งสองประกบกัน กรี ดนิ้วตะแคงไว้ชิดอก
33

ท่ าแตกแยก แบ่ งแยก ห่ างกัน


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 47 ท่าแตกแยก แบ่งแยก ห่างกัน ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าแตกแยก แบ่ งแยก ห่ างกัน
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 48 ท่าแตกแยก แบ่งแยก ห่างกัน ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 เริ่ มจากใช้มือทั้งสองแบหงายระดับต่ากว่าหน้าอก
34

ท่ าแตกแยก แบ่ งแยก ห่ างกัน


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 49 ท่าแตกแยก แบ่งแยก ห่างกัน ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าแตกแยก แบ่ งแยก ห่ างกัน


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 50 ท่าแตกแยก แบ่งแยก ห่างกัน ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วผายมือออกห่างจากกัน ระดับต่ากว่าหน้าอก
35

ท่ าทุกข์ ระทม เศร้ าเสี ยใจ


ตัวพระ

ภาพที่ 51 ท่าทุกข์ระทม เศร้าเสี ยใจ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าทุกข์ ระทม เศร้ าเสี ยใจ


ตัวนาง

ภาพที่ 52 ท่าทุกข์ระทม เศร้าเสี ยใจ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือทั้งสองแบคว่า ไขว้แขนระดับหน้าท้อง
36

ท่ ารัก ชื่นชม ห่ มผ้ า


ตัวพระ

ภาพที่ 53 ท่ารัก ชื่นชม ห่มผ้า ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ ารัก ชื่นชม ห่ มผ้ า


ตัวนาง

ภาพที่ 54 ท่ารัก ชื่นชม ห่มผ้า ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือทั้งสองแบคว่า ไขว้แขนทาบฐานไหล่
37

ท่ าต่าต้ อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 55 ท่าต่าต้อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลยตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าต่าต้ อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลย


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 56 ท่าต่าต้อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลยตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือขวาหรื อมือซ้ายคว่ามือระดับหน้าท้อง งอแขนเล็กน้อย
38

ท่ าต่าต้ อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 57 ท่าต่าต้อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลยตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าต่าต้ อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 58 ท่าต่าต้อย ไพร่ ทาส ยากจน เชลยตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วเดินมือออกไปด้านข้าง
39

ท่ าปฏิเสธ ไม่ ชอบ ไม่ ทาสิ่ งใดสิ่งหนึ่ง


ตัวพระ

ภาพที่ 59 ท่าปฏิเสธ ไม่ชอบ ไม่ทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าปฏิเสธ ไม่ ชอบ ไม่ ทาสิ่ งใดสิ่งหนึ่ง
ตัวนาง

ภาพที่ 60 ท่าปฏิเสธ ไม่ชอบ ไม่ทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือขวาหรื อมือซ้ายตั้งปลายนิ้วขึ้นหันฝ่ ามือออกนอกตัวระดับห่างจากอก แขนงอสั่นปลายนิ้ว
40

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือแบทีไ่ ม่ เป็ นท่ าบังคับ


โดยนักเรียนประเมินตนเอง
ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. ยากจน , ต่าต้อย
2. เสี ยใจ , เศร้าใจ
3. รัก
4. แตกแยก
5. ปฏิเสธ , ไม่ชอบ
6. ภูเขา , กองทัพ
7. อวยพร
8. พร้อมเพรี ยง
9. สวยงาม
10. ยิง่ ใหญ่
11. พ่ายแพ้
12. ขอเชิญ
13. คุม้ ครอง
14. บิดา , มารดา
15. คิดถึง
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 14-15 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 12-13 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 10-11 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 9 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
41

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือแบทีไ่ ม่ เป็ นท่ าบังคับ


โดยเพือ่ นสมาชิ กในกลุ่มเป็ นผู้ประเมิน
ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. ยากจน , ต่าต้อย
2. เสี ยใจ , เศร้าใจ
3. รัก
4. แตกแยก
5. ปฏิเสธ , ไม่ชอบ
6. ภูเขา , กองทัพ
7. อวยพร
8. พร้อมเพรี ยง
9. สวยงาม
10. ยิง่ ใหญ่
11. พ่ายแพ้
12. ขอเชิญ
13. คุม้ ครอง
14. บิดา , มารดา
15. คิดถึง
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 14-15 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 12-13 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 10-11 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 9 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
42

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือแบทีไ่ ม่ เป็ นท่ าบังคับ


โดยครู ผ้ สู อนเป็ นผู้ประเมิน
ชื่อกลุ่มที่รับการประเมิน..............................................................เลขที่..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. ยากจน , ต่าต้อย
2. เสี ยใจ , เศร้าใจ
3. รัก
4. แตกแยก
5. ปฏิเสธ , ไม่ชอบ
6. ภูเขา , กองทัพ
7. อวยพร
8. พร้อมเพรี ยง
9. สวยงาม
10. ยิง่ ใหญ่
11. พ่ายแพ้
12. ขอเชิญ
13. คุม้ ครอง
14. บิดา , มารดา
15. คิดถึง
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 14-15 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 12-13 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 10-11 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 9 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
43

บัตรฝึ กทักษะการปฏิบัติ

การราตีบทกิริยามือจีบ
44

ท่ า ผม กระผม ข้ าพเจ้ า
ตัวพระ

ภาพที่ 61 ท่า ผม กระผม ข้าพเจ้า ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ า ฉัน ดิฉัน ข้ าพเจ้ า
ตัวนาง

ภาพที่ 62 ท่าฉัน ดิฉนั ข้าพเจ้า ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ใช้มือซ้าย จีบเข้าหาอก
45

ท่ ายิม้ ยิม้ แย้ มแจ่ มใส ยินดี ชื่นใจ ปรีด์ิเปรมเกษมศานต์


ตัวพระ

ภาพที่ 63 ท่ายิม้ แย้มแจ่มใส ยินดี ชื่นใจ ปรี ด์ ิเปรมเกษมศานต์ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ ายิม้ ยิม้ แย้ มแจ่ มใส ยินดี ชื่นใจ ปรีด์ิเปรมเกษมศานต์
ตัวนาง

ภาพที่ 64 ท่ายิม้ แย้มแจ่มใส ยินดี ชื่นใจ ปรี ด์ ิเปรมเกษมศานต์ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือซ้ายจีบคว่า กรี ดจีบไว้ที่มุมปาก
46

ท่ าคุ้มเกล้า ปกเกล้า ปกคลุม ร่ มเย็น


ตัวพระ

ภาพที่ 65 ท่าคุม้ เกล้า ปกเกล้า ปกคลุม ร่ มเย็น ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าคุ้มเกล้า ปกเกล้า ปกคลุม ร่ มเย็น


ตัวนาง

ภาพที่ 66 ท่าคุม้ เกล้า ปกเกล้า ปกคลุม ร่ มเย็น ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือทั้งสองจีบปรกข้าง
47

ท่ าแผลงศร
ตัวพระ

ภาพที่ 67 ท่าแผลงศร ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าแผลงศร
ตัวนาง

ภาพที่ 68 ท่าแผลงศร ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือขวาจีบปรกข้าง มือซ้ายตั้งวงแขนตึงระดับไหล่
48

ท่ าสงคราม หรือการต่ อสู้


ตัวพระ

ภาพที่ 69 ท่าสงครามหรื อการต่อสู ้ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าสงคราม หรือการต่ อสู้
ตัวนาง

ภาพที่ 70 ท่าสงครามหรื อการต่อสู ้ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ มือข้างหนึ่ง จีบปรกข้าง มืออีกข้างหนึ่งตั้งวงหน้า
49

ท่ าสว่ างไสว เจริญรุ่งเรือง โชติช่วง รุ่งโรจน์ ท้ องฟ้าโปร่ ง


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 71 ท่าสว่างไสว เจริ ญรุ่ งเรื่ อง โชติช่วง ท้องฟ้ าโปร่ งตัวพระ ขั้นตอนที่ 1
ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าสว่ างไสว เจริญรุ่งเรือง โชติช่วง รุ่งโรจน์ ท้ องฟ้าโปร่ ง
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 72 ท่าสว่างไสว เจริ ญรุ่ งเรื่ อง โชติช่วง ท้องฟ้ าโปร่ งตัวนาง ขั้นตอนที่ 1
ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือทั้งสองจีบคว่าระดับหน้าอก
50

ท่ าสว่ างไสว เจริญรุ่งเรือง โชติช่วง รุ่งโรจน์ ท้ องฟ้าโปร่ ง


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 73 ท่าสว่างไสว เจริ ญรุ่ งเรื่ อง โชติช่วง ท้องฟ้ าโปร่ งตัวพระ ขั้นตอนที่ 2
ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าสว่ างไสว เจริญรุ่งเรือง โชติช่วง รุ่งโรจน์ ท้ องฟ้าโปร่ ง


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 74 ท่าสว่างไสว เจริ ญรุ่ งเรื่ อง โชติช่วง ท้องฟ้ าโปร่ งตัวนาง ขั้นตอนที่ 2
ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วคลายจีบออกไปตั้งวงบัวบาน
51

ท่ าหายตัว แปลงกาย
ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 75 ท่าหายตัว แปลงกาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าหายตัว แปลงกาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 76 ท่าหายตัว แปลงกาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือทั้งสองจีบคว่างอแขนระดับอก
52

ท่ าหายตัว แปลงกาย
ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 77 ท่าหายตัว แปลงกาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าหายตัว แปลงกาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 78 ท่าหายตัว แปลงกาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วคลายจีบออกไปด้านข้างเป็ นแบหงายปลายนิ้วตกแขนตึงระดับต่ากว่าไหล่เล็กน้อย
53

ท่ าตาย สู ญสิ้น สิ้นชีวติ พ่ายแพ้


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 79 ท่าตาย สู ญสิ้ น สิ้ นชีวติ พ่ายแพ้ตวั พระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าตาย สู ญสิ้น สิ้นชีวติ พ่ายแพ้
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 80 ท่าตาย สู ญสิ้ น สิ้ นชีวติ พ่ายแพ้ตวั นาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 มือทั้งสองจีบคว่าระดับวงล่าง
54

ท่ าตาย สู ญสิ้น สิ้นชีวติ พ่ายแพ้


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 81 ท่าตาย สู ญสิ้ น สิ้ นชีวติ พ่ายแพ้ตวั พระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าตาย สู ญสิ้น สิ้นชีวติ พ่ายแพ้


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 82 ท่าตาย สู ญสิ้ น สิ้ นชีวติ พ่ายแพ้ตวั นาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วคลายจีบออกเป็ นมือแบ
55

ท่ าออกไป ไล่ให้ ออกไป


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 83 ท่าออกไป ไล่ให้ออกไป ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าออกไป ไล่ให้ ออกไป
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 84 ท่าออกไป ไล่ให้ออกไป ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้ายหรื อมือขวาจีบหงายระดับต่ากว่าวงหน้าเล็กน้อย
56

ท่ าออกไป ไล่ให้ ออกไป


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 85 ท่าออกไป ไล่ให้ออกไป ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าออกไป ไล่ให้ ออกไป
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 86 ท่าออกไป ไล่ให้ออกไป ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 ม้วนจีบลง
57

ท่ าออกไป ไล่ให้ ออกไป


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 87 ท่าออกไป ไล่ให้ออกไป ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าออกไป ไล่ให้ ออกไป
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 88 ท่าออกไป ไล่ให้ออกไป ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 ไปตั้งเป็ นวงหน้า
58

ท่ าพูด ตรัส สั่ งความ


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 89 ท่าพูด ตรัส สั่งความ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าพูด ตรัส สั่ งความ
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 90 ท่าพูด ตรัส สัง่ ความ ตัวนางขั้น ตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้ายหรื อมือขวาจีบหงายที่ปาก
59

ท่ าพูด ตรัส สั่ งความ


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 91 ท่าพูด ตรัส สั่งความ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าพูด ตรัส สั่ งความ
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 92 ท่าพูด ตรัส สั่งความ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 ม้วนจีบลง
60

ท่ าพูด ตรัส สั่ งความ


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 93 ท่าพูด ตรัส สัง่ ความ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าพูด ตรัส สั่ งความ
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 94 ท่าพูด ตรัส สัง่ ความ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 ไปตั้งเป็ นวงหน้า
61

ท่ าเรียกให้ เข้ ามา ทักทาย ไต่ ถาม


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 95 ท่าเรี ยกให้เข้ามา ทักทาย ไต่ถามตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าเรียกให้ เข้ ามา ทักทาย ไต่ ถาม


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 96 ท่าเรี ยกให้เข้ามา ทักทาย ไต่ถามตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้ายหรื อมือขวาตั้งวงกลางหรื อวงหน้า
62

ท่ าเรียกให้ เข้ ามา ทักทาย ไต่ ถาม


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 97 ท่าเรี ยกให้เข้ามา ทักทาย ไต่ถามตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าเรียกให้ เข้ ามา ทักทาย ไต่ ถาม


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 98 ท่าเรี ยกให้เข้ามา ทักทาย ไต่ถามตัวนางขั้น ตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วจีบคว่า
63

ท่ าเรียกให้ เข้ ามา ทักทาย ไต่ ถาม


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 99 ท่าเรี ยกให้เข้ามา ทักทาย ไต่ถามตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าเรียกให้ เข้ ามา ทักทาย ไต่ ถาม


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 100 ท่าเรี ยกให้เข้ามา ทักทาย ไต่ถามตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 กรี ดจีบเข้าหาตัว
64

ท่ าคลีค่ ลาย
ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 101 ท่าคลี่คลาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าคลีค่ ลาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 102 ท่าคลี่คลาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือซ้ายหรื อมือขวาจีบคว่าระดับต่ากว่าวงหน้า
65

ท่ าคลีค่ ลาย
ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 103 ท่าคลี่คลาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าคลีค่ ลาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 104 ท่าคลี่คลาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วคลายจีบ
66

ท่ าคลีค่ ลาย
ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 105 ท่าคลี่คลาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าคลีค่ ลาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 106 ท่าคลี่คลาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 คลายจีบออกไปตั้งวงระดับต่ากว่าวงหน้า
67

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือจีบ
โดยนักเรียนประเมินตนเอง
ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. ฉัน , ผม , ข้าพเจ้า
2. ยินดี , ชื่นใจ , ยิม้
3. สว่างไสว , เจริ ญรุ่ งเรื อง , ท้องฟ้ าโปร่ ง
4. หายตัว , แปลงกาย
5. ตาย , สู ญสิ้ น , พ่ายแพ้ , สิ้ นชีวติ
6. คุม้ เกล้า , ปกเกล้า , ปกคลุม , ร่ มเย็น
7. ให้ออกไป , ไล่ให้ออกไป
8. พูด , ตรัส , สั่งความ
9. เรี ยกให้เข้ามา , ทักทาย , ไต่ถาม
10. แผลงศร
11. สงคราม , การต่อสู ้
12. คลี่คลาย
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 11-12 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 9-10 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 7-8 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
68

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือจีบ
โดยเพือ่ นสมาชิ กในกลุ่มเป็ นผู้ประเมิน
ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. ฉัน , ผม , ข้าพเจ้า
2. ยินดี , ชื่นใจ , ยิม้
3. สว่างไสว , เจริ ญรุ่ งเรื อง , ท้องฟ้ าโปร่ ง
4. หายตัว , แปลงกาย
5. ตาย , สู ญสิ้ น , พ่ายแพ้ , สิ้ นชีวติ
6. คุม้ เกล้า , ปกเกล้า , ปกคลุม , ร่ มเย็น
7. ให้ออกไป , ไล่ให้ออกไป
8. พูด , ตรัส , สั่งความ
9. เรี ยกให้เข้ามา , ทักทาย , ไต่ถาม
10. แผลงศร
11. สงคราม , การต่อสู ้
12. คลี่คลาย
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 11-12 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 9-10 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 7-8 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
69

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยามือจีบ
โดยครู ผ้ สู อนเป็ นผู้ประเมิน
ชื่อกลุ่มที่ประเมิน....................................................................เลขที่...............................................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. ฉัน , ผม , ข้าพเจ้า
2. ยินดี , ชื่นใจ , ยิม้
3. สว่างไสว , เจริ ญรุ่ งเรื อง , ท้องฟ้ าโปร่ ง
4. หายตัว , แปลงกาย
5. ตาย , สู ญสิ้ น , พ่ายแพ้ , สิ้ นชีวติ
6. คุม้ เกล้า , ปกเกล้า , ปกคลุม , ร่ มเย็น
7. ให้ออกไป , ไล่ให้ออกไป
8. พูด , ตรัส , สั่งความ
9. เรี ยกให้เข้ามา , ทักทาย , ไต่ถาม
10. แผลงศร
11. สงคราม , การต่อสู ้
12. คลี่คลาย
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 11-12 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 9-10 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 7-8 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
70

บัตรฝึ กทักษะการปฏิบัติ

การราตีบทกิริยาชี้มือ

กิริยาชี้มือ คือ กิริยาที่รวมปลายนิ้วทุกนิ้วเข้าหากัน เว้นนิ้วชี้ตอ้ งเหยียดตึง


71

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 107 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 108 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือชี้ต้ งั มือระดับอก
72

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 109 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 110 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 หักข้อมือที่ช้ ีลง
73

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 111 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 112 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 แล้ววนมือ
74

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 4

ภาพที่ 113 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวพระ ขั้นตอนที่ 4


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง จานวนทีน่ ับไม่ ได้ มากมาย
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 4

ภาพที่ 114 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ไม่ได้ มากมาย ตัวนาง ขั้นตอนที่ 4


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 4 ชี้ออกไปด้านข้าง
75

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง วงกลม ดวงจันทร์


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 115 ท่าที่หมายถึงวงกลม ดวงจันทร์ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง วงกลม ดวงจันทร์
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 116 ท่าที่หมายถึงวงกลม ดวงจันทร์ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ใช้มือทั้งสองชี้ตะแคงมือระดับอกหักข้อมือให้มือที่ช้ ีท้ งั สองชี้ เข้าหากัน
76

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง วงกลม ดวงจันทร์


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 117 ท่าที่หมายถึงวงกลม ดวงจันทร์ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง วงกลม ดวงจันทร์


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 118 ท่าที่หมายถึงวงกลม ดวงจันทร์ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 แล้วม้วนมือชี้ท้ งั สองชี้ลงด้านล่าง
77

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง วงกลม ดวงจันทร์


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 119 ท่าที่หมายถึงวงกลม ดวงจันทร์ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง วงกลม ดวงจันทร์
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 120 ท่าที่หมายถึงวงกลม ดวงจันทร์ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 แล้ววนออกเป็ นมือชี้ต้ งั วงตะแคงมือเหนือศีรษะ
78

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงจานวนทีน่ ับได้ เช่ น 1, 2, 3 หรือการเน้ นยา้ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 121 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ได้ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงจานวนทีน่ ับได้ เช่ น 1, 2, 3 หรือการเน้ นยา้ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1

ภาพที่ 122 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ได้ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 1


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ชี้ตะแคงมือข้างลาตัว
79

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงจานวนทีน่ ับได้ เช่ น 1, 2, 3 หรือการเน้ นยา้ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 123 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ได้ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงจานวนทีน่ ับได้ เช่ น 1, 2, 3 หรือการเน้ นยา้ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2

ภาพที่ 124 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ได้ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 2


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 2 กระดกข้อมือขึ้น
80

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงจานวนทีน่ ับได้ เช่ น 1, 2, 3 หรือการเน้ นยา้ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง


ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 125 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ได้ ตัวพระ ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงจานวนทีน่ ับได้ เช่ น 1, 2, 3 หรือการเน้ นยา้ สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง


ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3

ภาพที่ 126 ท่าที่หมายถึงจานวนที่นบั ได้ ตัวนาง ขั้นตอนที่ 3


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 กระดกข้อมือลง
81

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงการพูด การบอกกล่าว การกิน


ตัวพระ

ภาพที่ 127 ท่าที่หมายถึงการพูด การบอกกล่าว การกิน ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึงการพูด การบอกกล่าว การกิน
ตัวนาง

ภาพที่ 128 ท่าที่หมายถึงการพูด การบอกกล่าว การกิน ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ชี้ที่ปาก
82

ท่ าทีแสดงความหมายถึงการฟัง ได้ ยนิ รู้ เรื่อง


ตัวพระ

ภาพที่ 129 ท่าที่หมายหมายถึงการฟัง ได้ยนิ รู ้เรื่ อง ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าทีแสดงความหมายถึงการฟัง ได้ ยนิ รู้ เรื่อง


ตัวนาง

ภาพที่ 130 ท่าที่หมายหมายถึงการฟัง ได้ยนิ รู ้เรื่ อง ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ชี้ที่หู
83

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง การได้ เห็น มองดู แจ้ งประจักษ์


ตัวพระ

ภาพที่ 131 ท่าที่หมายหมายถึงการได้เห็น มองดู แจ้งประจักษ์ ตัวพระ


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)

ท่ าทีแ่ สดงความหมายถึง การได้ เห็น มองดู แจ้ งประจักษ์


ตัวนาง

ภาพที่ 132 ท่าที่หมายหมายถึงการได้เห็น มองดู แจ้งประจักษ์ ตัวนาง


ที่มา : เบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว (2554)
วิธีปฏิบัติ ชี้ทตี่ า
84

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยาชี้มอื
โดยนักเรียนประเมินตนเอง
ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. พูด , บอกกล่าว , กิน
2. ฟัง , ได้ยนิ , รู้เรื่ อง
3. ได้เห็น , มองดู , แจ้งประจักษ์
4. มากมาย , นับไม่ได้
5. วงกลม , ดวงจันทร์
6. จานวนที่นบั ได้ , การเน้นย้าสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 5 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 4 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 3 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
85

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยาชี้มอื
โดยเพือ่ นสมาชิ กในกลุ่มเป็ นผู้ประเมิน
ชื่อผูร้ ับการประเมิน...............................................................................ชื่อกลุ่ม..............................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. พูด , บอกกล่าว , กิน
2. ฟัง , ได้ยนิ , รู้เรื่ อง
3. ได้เห็น , มองดู , แจ้งประจักษ์
4. มากมาย , นับไม่ได้
5. วงกลม , ดวงจันทร์
6. จานวนที่นบั ได้ , การเน้นย้าสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 5 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 4 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 3 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
86

แบบบันทึกผลการฝึ กทักษะการปฏิบัติการราตีบทกิริยาชี้มอื
โดยครู ผ้ สู อนเป็ นผู้ประเมิน
ชื่อกลุ่มที่ประเมิน....................................................................เลขที่...............................................................

ท่าที่ ชื่อท่าราตีบท ปฏิบัติได้ ถูกต้ อง ปฏิบัติไม่ ถูกต้ อง


1. พูด , บอกกล่าว , กิน
2. ฟัง , ได้ยนิ , รู้เรื่ อง
3. ได้เห็น , มองดู , แจ้งประจักษ์
4. มากมาย , นับไม่ได้
5. วงกลม , ดวงจันทร์
6. จานวนที่นบั ได้ , การเน้นย้าสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
สรุ ปผลการประเมิน

ลงชื่อ.........................................ผูป้ ระเมิน
(.....................................................)
เกณฑ์ การประเมิน สรุ ปผลการประเมิน
ปฏิบตั ิได้ 6 ท่า อยูใ่ นระดับ ดีมาก
ระดับ.....................
ปฏิบตั ิได้ 5 ท่า อยูใ่ นระดับ ดี
ปฏิบตั ิได้ 4 ท่า อยูใ่ นระดับ พอใช้
ปฏิบตั ิได้ น้อยกว่า 3 ท่า อยูใ่ นระดับ ปรับปรุ ง
87

ประวัติผู้เขียน

ชื่อ – สกุล นางเบญจมาภรณ์ พุม่ ไสว


คุณวุฒิ ปริ ญญาตรี สาขาวิชาเอก นาฏศิลป์ วิทยาลัยครู บา้ นสมเด็จเจ้าพระยา
ที่อยู่ 35/31 หมู่ 4 ต. ฉลอง อ. เมือง จ. ภูเก็ต 83130
ประสบการณ์ ครู สายผูส้ อนโรงเรี ยนบ้านตาหนังอ. คุระบุรี จ. พังงา
โรงเรี ยนบ้านคลองเคียน อ. ตะกัว่ ทุ่ง จ.พังงา
โรงเรี ยนเชิงทะเลวิทยาคม “จุติ-ก้องอนุสรณ์” อ. ถลาง จ. ภูเก็ต
ปัจจุบนั ตาแหน่งครู คศ.2 โรงเรี ยนสตรี ภูเก็ต อ. เมือง จ. ภูเก็ต
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 14
e - mail tuk12318@ hotmail. Co.th
เบอร์โทรศัพท์ 087-2666401

You might also like