You are on page 1of 25

1

เอกสารความรู้ประกอบการจัดการอบรม หน่วยที่ 1
เรื่อง สิทธิคนพิการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับคนพิการเพื่ อให้รู้เกี่ยวกับสิทธิ และ
โ อ ก า ส ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง
ค น พิ ก า ร ต า ม ก ฎ ห ม า ย มี ข อ บ ข่ า ย ดั ง นี้
๑ . รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๐
๒. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒ ๕ ๔ ๕ แ ล ะ (ฉ บั บ ที่ ๓ ) พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๓
๓. พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑
แ ล ะ (ฉ บั บ ที่ ๒ ) พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๖
๔. พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.
๒๕๕๐ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕. ประกาศกระทรวง
ศึกษาธิการ เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำ แผนการจัดการ
ศึกษาเฉพาะบุคคลระดับการศึกษาขั้นพื้ นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๒
๖. ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำ หรับคน
พิการ เรื่ อง หลักเกณฑ์การให้ครู การศึกษาพิเศษ ครู และ
คณาจารย์ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการจัดการ
ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ค น พิ ก า ร พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๒
๗. นโยบายและจุดเน้นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้น
ฐ า น
8. ประกาศคณะกรรมการพิจารณาให้คนพิการได้รับสิทธิช่วยเหลือ
ทางการศึกษา เรื่ องกำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการ การรับรอง
บุ ค ค ล ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ว่ า เ ป็ น ค น พิ ก า ร พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๖
2

มี ป ร ะ เ ด็ น สำ คั ญ พ อ ส รุ ป ไ ด้ ดั ง นี้
๑ . รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๐
เ จ ต น า ร ม ณ์ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
ผู้พิการหรือทุพลภาพ ย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อย
กว่า ๑๒ ปี อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ การเลือกปฏิบัติจะกระทำไม่ได้
มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ
ภ า ค ข อ ง บุ ค ค ล ย่ อ ม ไ ด้ รั บ ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง
มาตรา ๕ ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่ากำเนิด เพศ หรือศาสนาใด
ย่ อ ม อ ยู่ ใ น ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง แ ห่ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ นี้ เ ส ม อ กั น
มาตรา ๒๙ การจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญ
รับรองไว้ จะกระทำมิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่ง
กฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กำหนดไว้และเท่าที่จำเป็ น
และจะกระทบกระเทือนสาระสำคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้
กฎหมายตามวรรคหนึ่งต้องมีผลใช้บังคับเป็ นการทั่วไป และไม่มุ่ง
หมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
เป็ นการเจาะจง ทั้งต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจใน
ก า ร ต ร า ก ฎ ห ม า ย นั้ น ด้ ว ย
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้นำมาใช้บังคับกับกฎที่ออก
โดยอาศัยอำ นาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๓๐ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครอง
ต า ม ก ฎ ห ม า ย เ ท่ า เ ที ย ม กั น
ช า ย แ ล ะ ห ญิ ง มี สิ ท ธิ เ ท่ า เ ที ย ม กั น
3

การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็ นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตก
ต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพ
ทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม
ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมือง
อั น ไ ม่ ขั ด ต่ อ บ ท บั ญ ญั ติ แ ห่ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ จ ะ ก ร ะ ทำ มิ ไ ด้
มาตรการที่รัฐกำ หนดขึ้นเพื่ อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคล
สามารถใช้สิทธิและเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่ น ย่อมไม่ถือ
เ ป็ น ก า ร เ ลื อ ก ป ฏิ บั ติ โ ด ย ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม ต า ม ว ร ร ค ส า ม
สิ ท ธิ แ ล ะ เ ส รี ภ า พ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า
มาตรา ๔๙ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่า
สิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้
จ่ า ย
ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ต้อง
ได้รับสิทธิตามวรรคหนึ่งและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับการ
ศึ ก ษ า โ ด ย ทั ด เ ที ย ม กั บ บุ ค ค ล อื่ น
ม า ต ร า ๕ ๐ บุ ค ค ล ย่ อ ม มี เ ส รี ภ า พ ใ น ท า ง วิ ช า ก า ร
การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจัย และการเผยแพร่งาน
วิจัยตามหลักวิชาการ ย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อ
ห น้ า ที่ ข อ ง พ ล เ มื อ ง ห รื อ ศี ล ธ ร ร ม อั น ดี ข อ ง ป ร ะ ช า ช น
สิ ท ธิ ใ น ก า ร ไ ด้ รั บ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข แ ล ะ ส วั ส ดิ ก า ร จ า ก รั ฐ
มาตรา ๕๒ เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการ
พัฒนาด้านร่างกาย จิตใจและสติปั ญญา ตามศักยภาพในสภาพ
4

แวดล้อมที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน
เ ป็ น สำ คั ญ
มาตรา ๕๔ บุคคลซึ่งพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเข้าถึงและใช้
ประโยชน์จากสวัสดิการสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็ นสาธารณะ และ
ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ที่ เ ห ม า ะ ส ม จ า ก รั ฐ
มาตรา ๘๐ ระบุว่า รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม
ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
(๑) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดู
และให้การศึกษาปฐมวัยส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย
เสริมสร้างและพัฒนาความเป็ นปึ กแผ่นของสถาบันครอบครัวและ
ชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้
ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ให้มีคุณภาพ
ชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น แ ล ะ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ ...
กฎหมายรัฐธรรมนูญนำไปสู่การออกพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับข้อง
ต่ า ง ๆ
๒. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ (ฉบับที่๒)
พ .ศ . ๒ ๕ ๔ ๕ แ ล ะ
(ฉ บั บ ที่ ๓ ) พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๓
เ จ ต น า ร ม ณ์ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
ผู้พิการหรือทุพลภาพย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ไม่น้อย
กว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยต้องจัดให้
เป็ นพิเศษ ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
และให้มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วย
5

เหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎ
ก ร ะ ท ร ว ง
โดยมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของ
บุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณา จั กรไทยบัญญัติให้กระทำ ได้ โ ดยอา ศั ยอำ นาจ ตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมายจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระ
ร า ช บั ญ ญั ติ ขึ้ น ไ ว้ โ ด ย คำ แ น ะ นำ แ ล ะ ยิ น ย อ ม ข อ ง รั ฐ ส ภ า
มาตรา ๑๐ ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและ
โ อ ก า ส เ ส ม อ กั น ใ น ก า ร รั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมี
คุ ณ ภ า พ โ ด ย ไ ม่ เ ก็ บ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย
การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ
สติปั ญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกาย
พิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้
ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับ
ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น เ ป็ น พิ เ ศ ษ
การศึกษาสำหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ
ความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่ง
อำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการ
ศึ ก ษ า ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ที่ กำ ห น ด ใ น ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง
มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือ
บุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับตามมาตรา
6

๑๗ และตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องตลอดจนให้ได้รับการศึกษานอก
เหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตามความพร้อมของครอบครัว
มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก
พัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการ
สอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา
ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้า
ศึกษาต่อ และให้นำ ผลการประเมินผู้เรียนตามวรรคหนึ่งมาใช้
ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ด้ ว ย
มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการ
ศึกษาสำหรับบุคคลตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่
ต้องมีลักษณะหลากหลาย ทั้งนี้ ให้จัดตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดับโดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัยและ
ศั ก ย ภ า พ
สาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็ นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้
มีความสมดุล ทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถความดีงาม และ
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม
๓. พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๑
แ ล ะ (ฉ บั บ ที่ ๒ ) พ .ศ .๒ ๕ ๕ ๖
เ จ ต น า ร ม ณ์
การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการมีลักษณะเฉพาะแตกต่างจาก
การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลทั่วไป จึงจำเป็ นต้องจัดให้คนพิการมี
สิทธิและโอกาสได้รับการบริการและความช่วยเหลือทางการศึกษา
7

เป็ นพิเศษตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการ ดังนั้น เพื่อให้การบริการ


และการให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการในด้านการศึกษาเป็ นไปอย่าง
ทั่ ว ถึ ง ทุ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ทุ ก ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ม า ต ร า ๓ ใ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ นี้
“คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรม
ในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่ องจากมีความ
บกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ
อารมณ์ พฤติกรรม สติปั ญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด
ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความต้องการจำเป็ นพิเศษ
ทางการศึกษาที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้
สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทาง
สังคมได้อย่างบุคคลทั่วไปทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรี
ว่ า ก า ร ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ป ร ะ ก า ศ กำ ห น ด
“ผู้ดูแลคนพิการ” หมายความว่า บิดา มารดา ผู้ปกครอง บุตร สามี
ภรรยา ญาติ พี่น้องหรือบุคคลอื่ นใดที่รับดูแลหรือรับอุปการะคน
พิ ก า ร
“แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล” หมายความว่า แผนซึ่งกำหนด
แนว ทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็ นพิเศษ
ของคนพิการ ตลอดจนกำหนดเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ
บริการ และความช่วยเหลืออื่ นใดทางการศึกษาเฉพาะบุคคล
“เทคโนโลยีสิ่งอำ นวยความสะดวก” หมายความว่า เครื่ องมือ
อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการโดย
เฉพาะ หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการ
8

จำเป็ นพิเศษของคนพิการแต่ละบุคคล เพื่ อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือ


พัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การ
สื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิตอิสระ
“ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษ
สูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาทั้งของ
รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น
“การเรียนร่วม” หมายความว่า การจัดให้คนพิการได้เข้าศึกษาใน
ระบบการศึกษาทั่วไปทุกระดับและหลากหลายรูปแบบ รวมถึงการ
จัดการศึกษา ให้สามารถรองรับการเรียนการสอนสำหรับคนทุกกลุ่ม
ร ว ม ทั้ ง ค น พิ ก า ร
“สถานศึกษาเฉพาะความพิการ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐ
หรือเอกชนที่จัดการศึกษาสำหรับคนพิการโดยเฉพาะ ทั้งในลักษณะ
อ ยู่ ป ร ะ จำ ไป ก ลั บ แ ล ะ รั บ บ ริ ก า ร ที่ บ้ า น
“ศูนย์การศึกษาพิเศษ” หมายความว่า สถานศึกษาของรัฐที่จัดการ
ศึกษานอกระบบ หรือตามอัธยาศัยแก่คนพิการ ตั้งแต่แรกเกิดหรือ
แรกพบความพิการจนตลอดชีวิต และจัดการศึกษาอบรมแก่ผู้ดูแลคน
พิการ ครู บุคลากรและชุมชน รวมทั้งการจัดสื่ อ เทคโนโลยี สิ่ง
อำ นวยความสะดวก บริการและความช่วยเหลืออื่ นใด ตลอดจน
ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อื่ น ต า ม ที่ กำ ห น ด ใ น ป ร ะ ก า ศ ก ร ะ ท ร ว ง
ม า ต ร า ๕ ค น พิ ก า ร มี สิ ท ธิ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า ดั ง นี้
(๑) ได้รับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความ
พิการจนตลอดชีวิตพร้อมทั้งได้รับเทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก
สื่ อ บ ริ ก า ร แ ล ะ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ อื่ น ใ ด ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
9

(๒) เลือกบริการทางการศึกษา สถานศึกษา ระบบและรูปแบบการ


ศึกษา โดยคำนึงถึงความสามารถ ความสนใจความถนัดและความ
ต้ อ ง ก า ร จำ เ ป็ น พิ เ ศ ษ ข อ ง บุ ค ค ล นั้ น
(๓) ได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา รวม
ทั้งการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ การทดสอบทางการศึกษา ที่
เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจำเป็ นพิเศษของคนพิการแต่ละ
ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ บุ ค ค ล
มาตรา ๖ ให้ครูการศึกษาพิเศษในทุกสังกัดมีสิทธิได้รับเงินค่า
ตอบแทนพิเศษตามที่กฎหมายกำหนดให้ครูการศึกษาพิเศษ ครู และ
คณาจารย์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ องค์ความรู้การ
ศึกษาต่อเนื่องและทักษะในการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ทั้งนี้
ต า ม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กำ ห น ด
มาตรา ๘ ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดทำแผนการจัดการศึกษา
เฉพาะบุคคล โดยให้สอดคล้องกับความต้องการจำเป็ นพิเศษของคน
พิการ และต้องมีการปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
อย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำ หนดใน
ป ร ะ ก า ศ ก ร ะ ท ร ว ง
ให้สถานศึกษาในทุกสังกัดและศูนย์การเรียนเฉพาะความพิการ
อาจจัดการศึกษาสำหรับคนพิการทั้งในระบบ นอกระบบ และตาม
อัธยาศัย ในรูปแบบที่หลากหลายทั้งการเรียนร่วม การจัดการศึกษา
เฉพาะความพิการรวมถึงการให้บริการฟื้ นฟูสมรรถภาพ การพัฒนา
ศักยภาพในการดำรงชีวิตอิสระการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็ น การ
ฝึ กอาชีพ หรือการบริการอื่นใดให้สถานศึกษาในทุกสังกัดจัดสภาพ
10

แวดล้อม ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน ตลอดจนบริการ


เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่น
ใดทางการศึกษา ที่คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้
สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษา ให้ถือเป็ นการเลือก
ป ฏิ บั ติ โ ด ย ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม ต า ม ก ฎ ห ม า ย
ให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนผู้ดูแลคนพิการและ
ประสานความร่วมมือจากชุมชนหรือนักวิชาชีพเพื่อให้คนพิการได้รับ
การศึกษาทุกระดับ หรือบริการทางการศึกษาที่สอดคล้องกับความ
ต้ อ ง ก า ร จำ เ ป็ น พิ เ ศ ษ ข อ ง ค น พิ ก า ร
เ กี่ ย ว กั บ ท้ อ ง ถิ่ น
มาตรา ๑๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการให้
ราชการส่วนท้องถิ่นออกข้อบัญญัติ เทศบัญญัติ ข้อกำหนด ระเบียบ
ห รื อ ป ร ะ ก า ศ แ ล้ ว แ ต่ ก ร ณี ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ นี้
มาตรา ๑๙ ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีหน้าที่ดำ เนินการ
จัดการศึกษาโดยเฉพาะการจัดการเรียนร่วม การนิเทศ กำ กับ
ติดตาม เพื่อให้คนพิการได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตาม
ที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้การดำเนินการบรรลุวัตถุประสงค์ตามวรรค
หนึ่ง ให้สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐานให้การ
สนับสนุนทรัพยากร องค์ความรู้ และบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ
เ ฉ พ า ะ ด้ า น แ ก่ สำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า
๔. พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.
๒ ๕ ๕ ๐ แ ล ะ (ฉ บั บ ที่ ๒ ) พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๖
เ จ ต น า ร ม ณ์
11

เพื่อมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็ นธรรมเพราะเหตุสภาพทางกาย
หรือสุขภาพ รวมทั้งให้คนพิการมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอัน
เป็ นสาธารณะและความช่วยเหลืออื่ นจากรัฐ ตลอดจนให้รัฐต้อง
สงเคราะห์คนพิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้ ตามพระ
ร า ช บั ญ ญั ติ
ม า ต ร า ๔ ใ น พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ นี้
“คนพิการ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรม
ในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื่ องจากมีความ
บกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ
อารมณ์ พฤติกรรม สติปั ญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด
ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็ นเป็ นพิเศษที่จะ
ต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่ อให้สามารถปฏิบัติ
กิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่าง
บุคคลทั่วไป ทั้งนี้ ตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประกาศ
กำหนด...ตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
ม นุ ษ ย์ เ รื่ อ ง ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ค ว า ม พิ ก า ร (ฉ บั บ ที่
๒ )พ .ศ .๒ ๕ ๕ ๕ “ ข้ อ ๓ ใ ห้ กํ า ห น ด ป ร ะ เ ภ ท ค ว า ม พิ ก า ร ดั ง นี้
(๑ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง ก า ร เ ห็ น
(๒ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง ก า ร ไ ด้ ยิ น ห รื อ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย
(๓ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว ห รื อ ท า ง ร่ า ง ก า ย
(๔ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง จิ ต ใ จ ห รื อ พ ฤ ติ ก ร ร ม
(๕ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง ส ติ ปั ญ ญ า
12

(๖ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง ก า ร เ รี ย น รู้
(๗ ) ค ว า ม พิ ก า ร ท า ง อ อ ทิ ส ติ ก ”
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมเป็ นผู้ตรวจวินิจฉัยและออกใบรับ
รองความพิการเพื่อประกอบคำขอมีบัตรประจำตัวคนพิการ เว้นแต่
นายทะเบียนเห็นว่าเป็ นความพิการที่มองเห็นได้โดยประจักษ์ไม่ต้อง
ใ ห้ มี ก า ร ต ร ว จ วิ นิ จ ฉั ย ก็ ไ ด้
“การฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ” หมายความว่า การเสริมสร้าง
สมรรถภาพหรือความสามารถของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น หรือ
ดำ ร ง ส ม ร ร ถ ภ า พ ห รื อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม ไ ว้ โ ด ย อ า ศั ย
กระบวนการทางการแพทย์ การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรือ
กระบวนการอื่นใด เพื่อให้คนพิการได้มีโอกาสทำงานหรือดำรงชีวิตใน
สั ง ค ม อ ย่ า ง เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ ...
มาตรา ๑๕ การกำหนดนโยบาย กฎ ระเบียบ มาตรการ โครงการ
หรือวิธีปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน หรือบุคคลใดใน
ลักษณะที่เป็ นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็ นธรรมต่อคนพิการจะกระทำ
มิ ไ ด้
การกระทำในลักษณะที่เป็ นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็ นธรรมต่อคน
พิการตามวรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึงการกระทำ หรืองดเว้น
กระทำการที่แม้จะมิได้มุ่งหมายให้เป็ นการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ
โดยตรง แต่ผลของการกระทำ นั้นทำ ให้คนพิการต้องเสียสิทธิ
ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ ค ว ร จ ะ ไ ด้ รั บ เ พ ร า ะ เ ห ตุ แ ห่ ง ค ว า ม พิ ก า ร ด้ ว ย
การเลือกปฏิบัติที่มีเหตุผลทางวิชาการ จารีตประเพณี หรือ
ประโยชน์สาธารณะสนับสนุนให้กระทำ ได้ตามความจำ เป็ นและ
13

สมควรแก่กรณี ไม่ถือเป็ นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็ นธรรมตามวรรค


หนึ่งและวรรคสอง แต่ผู้กระทำการนั้นจะต้องจัดให้มีมาตรการช่วย
เหลือเยียวยาหรือรักษาซึ่งสิทธิหรือประโยชน์แก่คนพิการตามความ
จำ เ ป็ น เ ท่ า ที่ จ ะ ก ร ะ ทำ ไ ด้
มาตรา๑๙ เพื่อประโยชน์ในการได้รับสิทธิตามมาตรา ๒๐ คนพิการ
อาจยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวคนพิการต่อนายทะเบียนกลางหรือนาย
ทะเบียนจังหวัด ณ สำ นักงานทะเบียนกลาง สำ นักงานทะเบียน
จังหวัด หรือสถานที่อื่ นตามระเบียบที่คณะกรรมการกำ หนด
กรณีที่คนพิการเป็ นผู้เยาว์ คนเสมือนไร้ความ สามารถหรือคนไร้
ความ สามารถหรือในกรณีที่คนพิการมีสภาพความพิการถึงขั้นไม่
สามารถไปยื่นคำขอด้วยตนเองได้ ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนุบาลหรือผู้
ดูแลคนพิการ แล้วแต่กรณี จะยื่นคำขอแทนก็ได้ แต่ต้องนำหลักฐาน
ว่าเป็ นคนพิการไปแสดงต่อนายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียน
จังหวัด แล้วแต่กรณีด้วยการยื่นคำขอมีบัตรประจำตัวคนพิการและ
การออกบัตร การกำหนดสิทธิหรือการเปลี่ยนแปลงสิทธิ การขอสละ
สิทธิของคนพิการ และอายุบัตรประจำ ตัวคนพิการให้เป็ นไปตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดในระเบียบ (บั
ต ร ป ร ะ จำ ตั ว ค น พิ ก า ร มี อ า ยุ ๖ ปี )
มาตรา ๒๐ คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่งอำนวย
ความสะดวกอันเป็ นสาธารณะตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลือ
อื่นจากรัฐ ดังต่อไปนี้ (๑) ...........(๒) การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
การศึกษาแห่งชาติหรือแผนการศึกษาแห่งชาติตามความเหมาะสมใน
สถานศึกษาเฉพาะหรือในสถานศึกษาทั่วไป หรือการศึกษาทางเลือก
14

หรือการศึกษานอกระบบโดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับสิ่ง
อำนวยความสะดวกสื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการ
ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ค น พิ ก า ร ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม
๕. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัด
ทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๒
เ จ ต น า ร ม ณ์
เพื่อให้คนพิการได้รับบริการทางการศึกษาโดยการจัดทำแผนการ
จัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)สอดคล้องกับความต้องการจำเป็ น
ของแต่ละบุคคล และได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและ
ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา สำหรับคนพิการ ต้องประกอบ
ด้ ว ย อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร จั ด ทำ
ข้อ ๓ คนพิการที่ประสงค์จะขอรับเงินอุดหนุนทางการศึกษา ขอยืม
สิ่งอำนวยความสะดวกและสื่อทางการศึกษา และขอยืมเงินเพื่อจัดซื้อ
และขอรับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่น
ใ ด ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า จ ะ ต้ อ ง มี คุ ณ ส ม บั ติ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
(๑ ) มี ถิ่ น ที่ อ ยู่ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
(๒) มีความต้องการจำเป็ นพิเศษทางการศึกษา ตามที่กำหนดไว้ใน
แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ ฉ พ า ะ บุ ค ค ล
(๓ ) ล ง ท ะ เ บี ย น แ ล ะ เ ข้ า ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า
ข้อ ๔ กระบวนการจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล อย่าง
น้ อ ย ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
15

(๑) จัดประเมินระดับความสามารถและความต้องการจําเป็ นพิเศษ


ข อ ง ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล
(๒) กําหนดเป้ าหมายระยะยาว ๑ ปี เป้ าหมายระยะสั้น หรือจุด
ป ร ะ ส ง ค์ เ ชิ ง พ ฤ ติ ก ร ร ม
๖. ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำ หรับคน
พิการ เรื่ อง หลักเกณฑ์การให้ครู การศึกษาพิเศษ ครู และ
คณาจารย์ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการจัดการ
ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ค น พิ ก า ร พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๒
เ จ ต น า ร ม ณ์
การจัดการศึกษาสำ หรับคนพิการ ครู การศึกษาพิเศษ ครู และ
คณาจารย์ เป็ นผู้ที่มีความสำคัญและมีความเสียสละ สมควรได้รับ
การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพในการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
ข้ อ ๓ ใ น ป ร ะ ก า ศ นี้
“ครู” หมายความว่า บุคลากรซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการ
เรียนสอน และ การส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ
ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ต่ำ ก ว่ า ป ริ ญ ญ า
“ครูการศึกษาพิเศษ” หมายความว่า ครูที่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษ
สูงกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป และปฏิบัติหน้าที่ในสถานศึกษาทั้งของ
รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาในทุกระดับ
หรือหน่วยงานการศึกษาอื่ นทั้งของรัฐและเอกชนที่มีคนพิการเข้า
เ รี ย น ห รื อ ที่ พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ค น พิ ก า ร
16

ข้อ ๔ ให้ครูการศึกษาพิเศษ ครู และคณาจารย์ ได้รับการส่งเสริม


และพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ การศึกษาต่อเนื่องและทักษะในการ
จั ด ก า ร ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ค น พิ ก า ร ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
(1) ได้รับการฝึ กอบรมหรือพัฒนาให้มีทักษะเฉพาะในการจัดการ
ศึกษาสำ หรับคนพิการแต่ละประเภทอย่างน้อยปี ละหนึ่งครั้ง
(๒) ได้รับการพัฒนาศักยภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของ
วิ ช า ชี พ อ ย่ า ง น้ อ ย ส า ม ปี ต่ อ ค รั้ ง
(๓) ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ได้รับการศึกษาต่อเนื่องทางด้านการ
ศึกษาพิเศษหรือพัฒนาองค์ความรู้ทางการศึกษาพิเศษที่สูงกว่าระดับ
ป ริ ญ ญ า ต รี
(๔) ส่งเสริมและพัฒนาด้านอื่ น ๆ ตามความเหมาะสมและความ
จำ เ ป็ น ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า สำ ห รั บ ค น พิ ก า ร
ข้อ ๕ เพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ การดำเนิน
ก า ร ต า ม ข้ อ ๔ ใ ห้ มี ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
(๑) การฝึ กอบรมหรือพัฒนาให้มีทักษะเฉพาะในการจัดการศึกษา
ตาม (๑) ของข้อ ๔ ต้องเป็ นหลักสูตรกลางที่คณะกรรมการได้
กำ หนดไว้ตามความเหมาะสมและมีลักษณะเฉพาะเพื่ อคนพิการ
แต่ละประเภท และสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้นำ
หลักสูตรกลางดังกล่าวไปใช้การฝึ กอบรมหรือพัฒนานั้น ในการนี้
หากคณะกรรมการเห็นว่าสถานศึกษาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใดได้
กำหนดหลักสูตรขึ้นเองมีความเหมาะสม คณะกรรมการก็สามารถให้
ความเห็นชอบและถือเป็ นหลักสูตรที่ใช้ฝึ กอบรมหรือพัฒนานั้นได้
17

(๒) การพัฒนาศักยภาพตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพตาม
(๒) ของข้อ ๔ ต้องเป็ นหลักสูตรซึ่งหน่วยงานที่รับผิดชอบได้จัดทำ
ขึ้นเพื่อใช้ในการฝึ กอบรมเป็ นการเฉพาะ โดยหลักสูตรนั้นจะต้องมี
ลักษณะตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพการศึกษาพิเศษ ซึ่งมี
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์รวมทั้งโครงสร้างหลักสูตรการฝึ กอบรม
ที่ประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตลอดจนมีการวัดและ
ป ร ะ เ มิ น ผ ล ต า ม ห ลั ก สู ต ร นั้ น
๗. นโยบายและจุดเน้นสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้น
ฐ า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ศึ ก ษ า ค น พิ ก า ร
เ จ ต น า ร ม ณ์ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
นักเรียนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ นักเรียน ในโรงเรียน
ศึกษาสงเคราะห์ และนักเรียนพิการในโรงเรียน เรียนร่วม ได้รับการ
พั ฒ น า อ ย่ า ง ทั่ ว ถึ ง แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้ าประสงค์ผลผลิตจุดมุ่งหมาย จุดเน้นการดำเนิน
ง า น ก ล ยุ ท ธ์ ปั จ จั ย สู่ ค ว า ม สำ เ ร็ จ
วิ สั ย ทั ศ น์
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นองค์กร หลักขับ
เคลื่อนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย สู่มาตรฐานสากล
พร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียนบนพื้ นฐาน ของความเป็ นไทย
พั น ธ กิ จ
พัฒนาส่ง เสริม และสนับสนุน การจัด การศึกษาให้ประชากร วัย
เรียนทุกคน ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการ พัฒนาผู้
18

เรียนเป็ นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความ


เป็ นไทย และห่างไกลยาเสพติด มีความสามารถ ตามมาตรฐานการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน และพัฒนาสู่คุณภาพ ระดับมาตรฐานสากลด้วยการ
บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมและ กระจายอำนาจตามหลักธรรมาภิ
บ า ล
เ ป้ า ป ร ะ ส ง ค์
๑. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐานและ
พั ฒ น า สู่ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ
๒. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
ตั้ ง แ ต่ อ นุ บ า ล จ น จ บ ก า ร ศึ ก ษ า
ขั้ น พื้ น ฐ า น อ ย่ า ง มี คุ ณ ภ า พ ทั่ ว ถึ ง แ ล ะ เ ส ม อ ภ า ค
๓. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมี
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ต็ ม ต า ม ศั ก ย ภ า พ
๔. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งตาม
หลักธรรมาภิบาล และเป็ นกลไกขับเคลื่อน การศึกษาขั้นพื้นฐานสู่
คุ ณ ภ า พ ร ะ ดั บ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล
๕. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วนกลางลด
บทบาทและกระจายอำนาจสู่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถาน
ศึ ก ษ า ร ว ม ทั้ง บู ร ณ า ก า ร ก า ร ทำ ง า น ภ า ย ใ น สำ นั ก ต่ า ง ๆ
๖. เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับ การ
พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มั่ น ค ง
จุ ด มุ่ ง ห ม า ย
19

เพื่อมุ่งสู่วิสัยทัศน์ดังกล่าว สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้น


ฐ า น จึ ง กำ ห น ด จุ ด มุ่ ง ห ม า ย
๕ ป ร ะ ก า ร คื อ
1. ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า สู่ ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล
2. ก า ร ล ด ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล้ำ แ ล ะ เ พิ่ ม โ อ ก า ส ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
3. ผู้บริหารโรงเรียนและครูมีศักยภาพอย่างสูงด้าน การจัดการ
เ รี ย น รู้
4. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาปฏิบัติงาน ตาม
บ ท บ า ท ห น้ า ที่ อ ย่ า ง เ ข้ ม แ ข็ ง
5. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในส่วนกลาง ลด
บทบาทและกระจายอำนาจการบริหารจัดการ รวมทั้งบูรณา
ก า ร ก า ร ทำ ง า น
๒ . ก า ร ล ด ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล้ำ แ ล ะ เ พิ่ ม โ อ ก า ส ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
๒ .๑ ............. ๒ .๒ ............
๒.๓ นักเรียนในโรงเรียนเฉพาะความพิการ นักเรียน ในโรงเรียน
ศึ ก ษ า ส ง เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ นั ก เ รี ย น พิ ก า ร
ในโรงเรียน เรียนร่วม ได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
๓. ผู้บริหารโรงเรียนและครูมีศักยภาพอย่างสูงด้าน การจัดการ
เรียนรู้ โดยมุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนและครูให้ยึดมั่น ในจรรยา
บรรณ มีศักยภาพสูง ด้านการจัดการเรียนรู้ให้ประสบ ผลสำเร็จโดย
เน้นการจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษา รวมทั้ง การส่งเสริมให้มี
การระดมทรัพยากรจากองค์กรต่าง ๆ เพื่อพัฒนา ครูและผู้บริหาร
ตามความต้องการจำ เป็ นในระหว่างวันหยุดหรือ ปิ ดภาคเรียน
20

ผ ล ผ ลิ ต
สำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงผลผลิตเดิม
จำ น ว น ๖ ผ ล ผ ลิ ต ไ ด้ แ ก่
๑ ) ผู้ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ก่ อ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า
๒ ) ผู้ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ค บั ง คั บ
๓ ) ผู้ จ บ ก า ร ศึ ก ษ า มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย
๔) เด็กพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนา สมรรถภาพ
๕ ) เ ด็ ก ด้ อ ย โ อ ก า ส ไ ด้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น
๖) ผู้ที่มีความสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาศักยภาพโดยมีหน่วย
กำกับ ประสาน ส่งเสริมการจัดการศึกษา คือ สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษา จำนวน ๑๘๓ เขต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา จำนวน ๔๒ เขต และสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ซึ่งมีสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นหน่วยปฏิบัติการการจัดการศึกษา
เพื่อให้ภารกิจดังกล่าว สามารถตอบสนองสภาพปั ญหาและรองรับ
การขับเคลื่อนนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการและนโยบายรัฐบาล
ปั จ จั ย สู่ ค ว า ม สำ เ ร็ จ
ข้อ ๔.การกระจายโอกาสทางการศึกษา โดยคำนึง ถึง การสร้าง
ค ว า ม เ ส ม อ ภ า ค แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ธ ร ร ม แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ทุ ก ก ลุ่ ม
๙. ประกาศคณะกรรมการพิจารณาให้คนพิการได้รับสิทธิช่วย
เหลือทางการศึกษา เรื่ องกำ หนด หลักเกณฑ์และวิธีการ การ
รับรองบุคคลของสถานศึกษาว่าเป็ นคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖
เ จ ต น า ร ม ณ์
21

เพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิ โอกาสทางการศึกษา ในสถานศึกษาตาม


สภาพความพิการและศักยภาพโดยเร็ว และให้มีโอกาสได้รับการ
วินิจฉัยจากแพทย์เพื่อให้สามารถรับการศึกษาอย่างเหมาะสมต่อไป
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
-ประกาศคณะกรรมการพิจารณาให้คนพิการได้รับสิทธิช่วยเหลือ
ทางการศึกษา เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ การรับรองบุคคล
ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ว่ า เ ป็ น ค น พิ ก า ร
- แบบคัดกรองคนพิการทางการศึกษา เอกสารแก้ไขแบบฯพฤติกรรม
แ ล ะ อ า ร ม ณ์
- หลักสูตรการอบรมผู้ดําเนินการคัดกรอง และเอกสารเพิ่มเติม
ใบงาน
หน่วยที่ ๑ เรื่องสิทธิและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ชื่อ..................................................สกุล........................................หน่ว
ยงาน..............................................
จงตอบคำถาม
1. บอกชื่อกฎหมายที่ตราขึ้นมาเพื่อรองรับเกี่ยวกับการศึกษาสำหรับ
คนพิการตามรัฐธรรมนูญ อย่างน้อย ๒ ชื่อ (๑๐ คะแนน)
.............................................................................................................
.........................................
.............................................................................................................
..........................................
22

2. บอกสิทธิของคนพิการทางการศึกษา ตามกฎหมายใดก็ได้ โดยบอก


ชื่อกฎหมายและยกตัวอย่างสิทธิตามกฎหมายนั้น (๒๐ คะแนน)
.............................................................................................................
..........................................
.............................................................................................................
..........................................
.............................................................................................................
..........................................
3. ชี้แจงบทบาทหน้าที่ของตัวท่านและผู้เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา
สำหรับคนพิการในหน่วยงาน
ของตัวท่านตามกฎหมาย
๓.๑ ตัวท่าน (๑๐ คะแนน)
.............................................................................................................
..........................................
.............................................................................................................
..........................................
.............................................................................................................
..........................................
๓.๒ ผู้เกี่ยวข้อง (๑๐ คะแนน)
.............................................................................................................
..........................................
.............................................................................................................
..........................................
23

.............................................................................................................
..........................................

เกณฑ์การให้คะแนน
1. บอกชื่อกฎหมายที่ตราขึ้นมาเพื่อรองรับเกี่ยวกับการศึกษา
สำหรับคนพิการตามรัฐธรรมนูญ
เขียนชื่อกฎหมายถูกต้องและเป็ นกฎหมายที่ระบุว่าออกตามมาตราใน
รัฐธรรมนูญ ชื่อละ ๕ คะแนน
2. บอกสิทธิของคนพิการทางการศึกษา ตามกฎหมายใดก็ได้
โดยบอกชื่อกฎหมายและยกตัวอย่างสิทธิตามกฎหมายนั้น บอกชื่อ
กฎหมายถูกต้องได้ ๑๐ คะแนน และยกตัวอย่างได้ถูกต้อง ๑๐
คะแนน
3. ชี้แจงบทบาทหน้าที่ของตัวท่านและผู้เกี่ยวข้องในการจัดการ
ศึกษาสำหรับคนพิการ
ในหน่วยงานของตัวท่านตามกฎหมาย ๓.๑ ตัวท่าน ๑๐ คะแนน
๓.๒ ผู้เกี่ยวข้อง ๑๐ คะแนน

แบบสรุปองค์ความรู้ หน่วยที่ ๑
เรื่อง สิทธิและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
24

ชื่อ..........................................สกุล.................................
....สังกัด...............................

คำชี้แจง ให้ท่านสรุปองค์ความรู้ หน่วยที่ ๑ ในลักษณะของ


การเขียนแผนที่ความคิด (Mind Map) หรือแผนภูมิ ตาราง
ฯลฯ
25

You might also like