You are on page 1of 28

1

บทที่ 1 ถานการณของกลุมเปราะบางคนพิการ
ผลการตร จ ินิจฉัย เด็ก ช งอายุ 2 ปครึ่งถึง 12 ป
จำน น 6,334 คน พบ ามีเด็กที่มีค ามพิการอยางน อย
นึ ่ ง ด า นร อ ยละ 13 เด็ ก ที ่ ม ี ป  ญ าทางกาย รื อ ทาง
พฤติกรรม รือทางจิตรอยละ 21 และไมพบค ามผิดปกติ
รอยละ 66 (แผนภูมิที่ 1)

แผนภูมิที่ 1 รอยละของเด็กไทยช งอายุ2 ปครึ่งถึง12 ปจำแนก ตามผลการ


ินิจฉัย
2

เมื่อพิจารณาแยกประเภทค ามพิการของเด็กที่พบ
ค ามพิการทั้ง มดพบค ามพิการทางการเรียนรู ูง ุด รอย
ละ 9 รองลงมาคือค ามพิการทาง ติปญญารอยละ 3 พิการ
ซ้ำซอน รือมีค ามพิการมากก า 2 ประเภทรอย ละ 0.3
พิการแบบออทิ ติกรอยละ 0.1 พิการทางการ เคลื่อนไ
รือทางรางกายรอยละ 0.1 พิการทางการ มองเ ็นรอยละ
0.5 พิการทางการไดยินรอยละ 0.03 ใน การ ำร จครั้งนี้ไม
พบเด็ ก ที ่ ม ี ค ามพิ ก ารทางจิ ต รื อ ทาง พฤติ ก รรมใน 9
ตำบลที่ ำร จ เมื่อพิจารณาประเภทค ามพิการแยกเปน
รายภาค พบ า ทุกภาคมีเด็กพิการทางการเรียนรู ูง ุด
รองลงมา คื อ ทาง ติ ป  ญ ญา ำ รั บ ภาคใต แ ละภาค
ตะ ันออกเฉียง เ นือมีเด็กพิการทาง ติปญญา ูงก าภาค
อื่นๆ และ ูง ก าภาพร มของประเท ในขณะที่ภาคเ นือ
และภาค กลางพบเด็กพิการทางการเรียนรูคอนขาง ูงก า
ภาคอื่นๆ จากขอมูลเชิงคุณภาพพบ า ภาคเ นือในจัง ัด
พะเยามี เด็ ก ชา เขา รื อ ชาติ พ ั น ธุ  ม ากก  า พื ้ น ที ่ อ ื ่ น ๆ
ในขณะที่ภาค กลางตำบลในจัง ัดลพบุรีที่มีการ ำร จมี
5

บทที่ 2 ประเภทของคนพิการที่มีค ามเปราะบาง


คนพิ ก าร มายถึ ง บุ ค คลที ่ ม ี ค ามบกพร อ งทาง
รางกาย ประ าท ัมผั ติปญญา รือจิตใจ ซึ่งอาจ งผล
ตอการดำเนินชี ิตในแตละ ัน ร มถึงการมี  นร มใน ังคม
ค ามพิ ก ารเ ล า นี ้ อ าจมี ต ั ้ ง แต ข  อ จำกั ด ในด า นการ
เคลื่อนไ มีค ามบกพรองทางการมองเ ็น รือการไดยิน
มีค ามบกพรองทาง ติปญญา มีค ามบกพรองดานการ
ื ่ อ าร และอื ่ น ๆ ิ ่ ง ำคั ญ คื อ ต อ งมี ก าร นั บ นุ น และ
 ง เ ริ ม การไม แ บ ง แยกระ  า งคนพิ ก ารกั บ คนทั ่ ไป
นับ นุน งเ ริมใ คนพิการมีโอกา และ ามารถเขาถึง
ิทธิประโยชนที่เทาเทียมกันในทุกดานของชี ิต
คำ า “คนพิการ” ครอบคลุมถึง ภา ะและค าม
พิการที่ ลาก ลาย แผนการจัดการ ึก าเฉพาะบุคคลของ
กระทร ง ึก าธิการ ไดมีการกำ นดประเภทของค าม
พิการตามค ามตองการจำเปนทางการจัดการ ึก า แบง
ออกเปน9 ประเภท จำแนกไ โดยกำ นดลัก ณะ ดังนี้
6

1. ค ามพิการทางการมองเ ็น
คือ คนที่มี ายตาขางที่ดีก าเมื่อใชแ น ายตาธรรมดา แล
มองเ ็นนอยก า 6/18 รือ 20/70 จนมองไมเ ็นแมแต
แ ง าง รือมีเลน  ายตาแคบก า 30 อง า ร มถึงการ
ูญเ ียการมองเ ็นบาง  น รือทั้ง มด ตาบอด ี รือ
ค ามบกพรองทางการมองเ ็นอื่นๆ
2. ค ามพิการทางการไดยิน
ค ามพิ ก ารเ ล า นี ้ เ กี ่ ย ข อ งกั บ การ ู ญ เ ี ย การได ยิ น
บาง  น รือทั้ง มด เชน ูตึงปานกลาง ูตึงมาก ูตึง
รุนแรง และ ู น ก
3. ค ามพิการทางกาย รือการเคลื่อนไ
มายถึ ง คนที ่ ม ี ค ามผิ ด ปกติ รื อ มี ค ามบกพร อ งทาง
รางกายที่เ ็นไดอยางชัดเจน มีการ ูญเ ียอ ัย ะ ูญเ ีย
ค าม ามารถในการเคลื่อนไ เชน เปนอัมพาต รือมี
ภา ะที ่  ง ผลต อ การใช แ ขนขา ทำใ  เ คลื ่ อ นไ ได ไ ม
ะด กและไม ามารถประกอบกิจ ัตรในชี ิตประจำ ันได
4. ค ามพิการทางดาน ติปญญา
คนพิ ก าร 9 ประเภท ในประเภทที ่ 4 มายถึ ง คนที ่ มี
พัฒนาการชาก าคนปกติทั่ ไป เมื่อ ัด ติปญญาโดยใช
7

แบบทด อบมาตรฐานแล มี ติปญญาต่ำก าบุคคลปกติ


และมีค าม ามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่ำก า
เกณฑปกติอยางนอย 2 ทัก ะ รือมากก า เชน ทัก ะการ
ื่อค าม มาย ทัก ะทาง ังคม เปนตน
5. ค ามพิการทางดานการเรียนรู
คนที่มีค ามบกพรองทางการเรียนรู (Learning Disability)
ไดแก ผูที่มีค ามผิดปกติในการทำงานของ มองบาง  น ที่
แ ดงถึงค ามบกพรองในกระบ นการเรียนรูที่อาจเกิดขึ้น
เฉพาะค าม ามารถดานใดดาน นึ่ง รือ ลายดาน เชน
การอ า น การเขี ย น การ ะกดคำ การคิ ด คำน ณ ซึ ่ ง ไม
ามารถเรียนรูในดานที่บกพรองได ทั้งที่มีระดับ ติปญญา
ปกติ
6. ค ามพิการทางการพูดและภา า
คนพิการประเภทตอมาคือ ผูที่มีค ามบกพรองทางการพูด
และภา า กลา คือ มีค ามบกพรองในการเปลงเ ียงพูด
เชน เ ียงมีค ามผิดปกติ อัตราค ามเร็ และจัง ะการพูด
ผิดปกติ รือมีค ามบกพรองในค ามเขาใจ รือการใชภา า
พู ด การเขี ย น รื อ ระบบ ั ญ ลั ก ณ อ ื ่ น ที ่ ใ ช ใ นการ
8

ติดตอ ื่อ าร ซึ่งอาจเกี่ย กับรูปแบบและเนื้อ าของภา า


นั้นๆ
7. ค ามพิการทางพฤติกรรม รืออารมณ
คนพิการ มีกี่ประเภท อีกประเภท นึ่งคือ ผูที่มีค ามพิการ
ทางพฤติกรรม รืออารมณ คือคนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป
จากปกติเปนอยางมาก และปญ าอันเกิดจากพฤติกรรมนั้น
เปนไปอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนผลมาจากค ามบกพรอง รือ
ค ามผิดปกติทางดาน มอง รือจิตใจใน  นของการรับรู
อารมณ รือค ามคิด เชน โรคจิตเภท โรคซึมเ รา โรค
มองเ ื่อม เปนตน
8. ออทิ ติก
ผูที่มีภา ะออทิ ติก คือคนที่มีค ามผิดปกติของระบบการ
ทำงานใน มองบาง  น ซึ่ง งผลต อค ามบกพร อ งทาง
พัฒนาการดานภา า ดาน ังคม และการมีปฏิ ัมพันธกับ
คนอื่นๆ และมีขอจำกัดในดานพฤติกรรม รือมีค าม นใจ
จำกัดในเฉพาะเรื่องใดเรื่อง นึ่ง เชน ออทิ ติกแบบฉลาด
9

9. พิการซ้ำซอน
คนพิการ 9 ประเภท ประเภท ุดทายคือ ผูที่มีค ามพิการ
ซ้ำซอน กลา คือ มีค ามบกพรอง รือค ามพิการมากก า
1 ประเภทในบุคคลเดีย กัน
10

บทที่ 3 ิ ัฒนาการ นโยบาย และ ั ดิการ ังคมของ


กลุมเปราะบางคนพิการ
ใน ถานการณปจจุบัน มีเ ตุการณค ามรุนแรง
และค ามขัดแยงเกิดขึ้นมากมาย ทำใ มีผูไดรับผลกระทบ
จนตองลี้ภัย พลัดถิ่น และ ูญเ ียจำน นมาก ถานการณ
ของพ กเขายากลำบากขาดการเขาถึงทรัพยากรจำเป น
ตางๆ  นใ ญเปนเด็ก ผู ญิง ผู ูงอายุ รือผูพิการที่
เปราะบาง ตองพึ่งพาค ามช ยเ ลือจากคนในครอบครั
ชุมชน ร มถึงจาก UNHCR เพื่อใ  ามารถดำเนินชี ิตตอไป
ได
ในฐานะที่เปนเพื่อนมนุ ยด ยกัน ค ามเมตตาจาก
คุณ ามารถช ยเ ลือกลุมเปราะบางได และ ามารถช ยได
อยางยั่งยืน เพื่อใ พ กเขา ามารถเขาถึงค ามช ยเ ลือที่
จำเปนตอการดำรงชีพ ร มถึงมอบค ามช ยเ ลือเพิ่มเติม
ใ กลุมเปราะบางที่มีค ามตองการพิเ ใ พ กเขาเขาถึ ง
ิทธิตาง ๆ อยางเทาเทียมมากขึ้น และ ามารถเริ่มตนชี ิต
ใ มไดอีกครั้ง
14

โครงการของ UNHCR ที่ใ การคุมครองดูแลช ยเ ลือ


กลุมเปราะบาง
UNHCR มี โ ครงการช ยเ ลื อ กลุ  ม เปราะบาง
มากมายระ างที่พ กเขาตองพลัดถิ่น รือลี้ภัย และใ 
ค าม ำคัญในการช ยเ ลือคนกลุมนี้เปนลำดับตน ๆ โดย
มุงเนนการมอบค ามคุมครอง และ ั ดิภาพของผูลี้ภัย
เพื่อใ แนใจ าพ กเขาปลอดภัย ตั้งแต ันแรกที่พ กเขาตอง
ลี้ภัย ใ  พ กเขา ามารถเริ่มตนชี ิตใ มไดอีกครั้ง รือ
ามารถเดินทางกลับบานไดด ยค าม มัครใจ
อีกทั้งยังใ ค ามช ยเ ลือทางดานกฎ มาย ใ 
ค ามรู และใ ค ามคุมครองเพื่อลดค ามเ ี่ยงของการเกิด
ค ามรุนแรง รือการถูกคุกคามทางเพ ในกลุมเปราะบาง
15

มอบที่พักพิง ิ่งของบรรเทาทุกข การรัก าพยาบาลร มไป


ถึงการเยีย ยาจิตใจ พรอม งเ ริมการ าทางออกที่ยั่งยืน
กลุ  ม เปราะบางที ่ เ ราใ  ค ามคุ  ม ครองและดู แ ล
ช ยเ ลือ ไดแก เด็ก ผู ญิง ผู ูงอายุ ผูพิการ โดยเฉพาะ
เด็กกำพรา ตองพลัดพรากจากครอบครั เด็กที่เ ี่ยงขาด
ารอา าร ผู ญิงที่เผชิญค ามรุนแรง กลุม LGBTQ+ ไป
จนถึงผูลี้ภัย และผูพลัดถิ่นที่ติดเชื้อเอชไอ ี ร มถึงบุคคลไร
รัฐไร ัญชาติ ซึ่งคุณ ามารถเปน  น นึ่งในการ นับ นุน
โครงการและใ  ค ามช ยเ ลื อ ได ผ  า นการบริ จ าคเงิ น
ช ยเ ลือผูเปราะบาง
รายงานการ ิเคราะ การนำนโยบายเบี้ยค ามพิการไป ู
การปฏิบัติของประเท ไทย (UNICEF)
รายงานการ ิ เ คราะ  ก ารนำนโยบายเบี ้ ย ค าม
พิการไป ูการปฏิบัติของประเท ไทยเนนถึงการ ิเคราะ 
ขั ้ น ตอนการดำเนิ น งาน การ ั ด ระดั บ ค าม ำเร็ จ ตาม
เปา มายของโครงการ และประเมินผลการดำเนินงานตาม
นโยบาย พร อ มทั ้ ง การ ึ ก าจากประ บการณ ข อง
16

นานาชาติ ร มไปถึงการทบท นกรอบกฎ มายและกรอบ


โครง รางเชิงองคกร ผลการประเมินและขอเ นอแนะจาก
รายงานฉบั บ นี ้ แ ดงใ  เ ็ น ถึ ง ิ ธ ี ท ี ่ ผ ู  ม ี  นได  นเ ี ย
ามารถปรับปรุงการดำเนินงานโครงการเบี้ยยังชีพคนพิการ
ใ ดีก าเดิม และระบุค ามทาทายเพื่อการพัฒนาตอไป
ิทธิประโยชนของคนพิการ
ตามรัฐธรรมนูญแ งราชอาณาจักรไทย พ. . 2550
และอนุ บ ั ญ ญั ต ิ แ  ง พระราชบั ญ ญั ต ิ  ง เ ริ ม และพั ฒ นา
คุณภาพชี ิตคนพิการ พ. . 2550 และพระราชบัญญัติการ
จัดการ ึก า ำ รับคนพิการพ. . 2551 คนพิการไดรับ ิทธิ
ที่ ำคัญอยางเปนรูปธรรม ซึ่งครอบคลุม ิถีชี ิตคนพิการ
ตั้งแต เกิดจนตาย ร มอยางนอย 9 ประการ ไดแก
1. เบี ้ ย ค ามพิ ก าร – คนพิ ก ารทุ ก คนที ่ ม ี มุ ด /บั ต ร
ประจำตั คนพิการมี ิทธิลงทะเบียนขอรับ
“เบี้ย ค ามพิก าร” คนละ 500 บาท/เดือนได ซึ่งแตเดิม
เฉพาะคนพิการที่ไมมีรายไดเทานั้น จึงจะมี
17

ิทธิไดรับ “เบี้ยยัง ชีพ” เดือนละ 500 บาท นอกจากนั้น


คนพิการที่ ูงอายุ รืออายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป
มี ิทธิไดรับทั้ง “เบี้ยค ามพิการ” และ”เบี้ยผู ูงอายุ” ร ม
เดือนละ 1,000 บาท
2. บริ ก ารฟ  น ฟู มรรถภาพโดยกระบ นการทาง
การแพทย แตเดิมคนพิการไดรับบริการทางการ
แพทยเพียง 13 รายการ ในป 2553 นี้ คนพิการไดรับบริการ
จำน นร มเปน 2 เทา คือ ร ม 26 รายการไดแก
 การตร จ ินิจฉัย การตร จทาง องปฏิบัติการ และ
การตร จพิเ ด ย ิธีอื่นๆ ตามชุด ิทธิประโยชน
 การแนะแน การใ คำปรึก า และการจัดบริการ
เปนรายกรณี
 การใ ยา ผลิตภัณฑ เ ชภัณฑ และ ัตถการพิเ
อื่นๆ เพื่อการบำบัด ฟนฟู เชน การฉีดยาลดเกร็ง
การรั ก าด ยไฟฟ า Hemoencephalography
(HEG)เปนตน
 การ ัลยกรรม
18

 การบริการพยาบาลเฉพาะทาง เชน พยาบาลจิตเ ช


เปนตน
 กายภาพบำบัด
 กิจกรรมบำบัด
 การแกไขการพูด ( อรรถบำบัด)
 พฤติกรรมบำบัด
 จิตบำบัด
 ดนตรีบำบัด
 พลบำบัด
 ิลปะบำบัด
 การฟนฟู มรรถภาพการไดยิน
 การพัฒนาทัก ะในการ ื่อค าม มาย
 การบริการ งเ ริมพัฒนาการ รือบริการช ยเ ลือ
ระยะแรกเริ่ม
 การบริการทางการแพทยแผนไทยและการแพทย
ทางเลือก เชน น ดไทย ผังเข็ม เปนตน
19

 การพัฒนาทัก ะทาง ังคม ังคม งเคราะ  และ


ังคมบำบัด เชน กลุม ันทนาการ เปนตน
 การประเมิน และเตรียมค ามพรอมกอนการฟนฟู
มรรถภาพดานอาชีพ รือการประกอบอาชีพ
 การฟ  น ฟู มรรถภาพทางการเ ็ น การ ร า ง
ค ามคุนเคยกับ ภาพแ ดลอมและการเคลื่อนไ
 การบริก ารขอ มู ล ข า ารดา น ุ ขภาพผา น ื ่อใน
รู ป แบบที ่ เ มาะ มกั บ ค ามพิ ก าร ซึ ่ ง คนพิ ก าร
เขาถึงและใชประโยชนได
 การฝ ก อบรมและการพั ฒ นาทั ก ะแก ค นพิ ก าร
ผูดูแลคนพิการ และผูช ยคนพิการ
 การฟนฟู มรรถภาพคนพิการโดยครอบครั และ
ชุมชน การเยี่ยมบาน กิจกรรมการใ บริการเชิงรุก
 การฝก ทัก ะการเรีย นรูขั้นพื้นฐาน เชน การฝก
ทัก ะชี ิต การฝกทัก ะการดำรงชี ิต
20

 ำ รั บ คนพิ ก าร การฝ ก ทั ก ะการใช อ ุ ป กรณ


เครื่องช ยค ามพิการ เปนตน
 การบริการทันตกรรม เชน การเคลือบ ลุมรองฟน
เปนตน และ
 การใ  บ ริ ก ารเกี ่ ย กั บ กายอุ ป กรณ เ ที ย ม กาย
อุปกรณเ ริม เครื่องช ยค ามพิการ รือ ื่อ งเ ริม
พัฒนาการ
3. บริการจัดการ ึก า – คนพิการทุกคนมี ิทธิเรียน
โดยไมเ ียคาใชจาย ทั้งการ ึก าขั้นพื้นฐาน 15 ป ร มถึง
การ ึก าระดับอาชี ึก า ประกา นียบัตรชั้น ูง และ
ระดับปริญญาตรี
4. บริ ก ารจ า งงานคนพิ ก าร – ตามระเบี ย บใ ม ข อง
กระทร งแรงงาน ซึ่งเตรียมจะประกา ใช กำ นดใ  ถาน
ประกอบการของเอกชน และ น ยงานของรัฐตองรับคน
พิการเขาทำงาน ในอัตรา  นจำน นลูกจางทั้ง มด คาด า
น า จะเป น 50 คน ต อ คนพิ ก าร 1 คน ทั ้ ง นี ้ าก ถาน
ประกอบการไมรับคนพิการเขาทำงานจะตองจายเงิน มทบ
21

เขากองทุน งเ ริมและพัฒนาคุณภาพชี ิตคนพิการ รือ


นับ นุนการประกอบอาชีพอิ ระใ คนพิการ รือผูดูแลคน
พิการ ด ยการใ  ัมปทาน จัด ถานที่จำ นาย ินคา รือ
บริการ จัดจางเ มาช งงาน ฝกงาน รือใ การช ยเ ลือ
คนพิ ก าร รื อ ผู  ด ู แ ลคนพิ ก ารอย า ง มเ ตุ มผล  น
น ยงานราชการที่ไมรับคนพิการเขาทำงานไปตองจายเงิน
เขากองทุนฯ แตตอง นับ นุนการประกอบอาชีพอิ ระใ 
คนพิการ รือผูดูแลคนพิการในลัก ณะเดีย กัน
5. บริการ ิ่งอำน ยค าม ะด ก – น ยงานทั้งภาครัฐ
และเอกชนจะต อ งจั ด ิ ่ ง อำน ยค าม ะด กตามค าม
เ มาะ ม เพื่อใ คนพิการ ามารถเขาถึงและใชประโยชน
จากบริ ก าร เช น บริ ก ารในการเดิ น ทาง บริ ก ารขน  ง
าธารณะ บริ ก ารข อ มู ล ข า าร และบริ ก ารใ  ั ต  น ำ
ทางเดินทางกับคนพิการ เปนต น ทั้งนี้ คาใชจายที่ ถาน
ประกอบการจั ด ทำ ิ ่ ง อำน ยค าม ะด กใ  ค นพิ ก าร
ามารถนำไปลด ยอนภา ีเงินได
22

6. บริการเงินกู – คนพิการ รือผูดูแลคนพิการมี ิทธิขอ


กูเงินกองทุน งเ ริมและพัฒนาคุณภาพชี ิตคนพิการเพื่อ
การประกอบอาชีพอิ ระได โดยกูเปนรายบุคคล คนละ ไม
เกิน 40,000 บาท รือกูเปนกลุมเพื่อช ยกันประกอบอาชีพ
ไมมีดอกเบี้ย แตตองผอน งภายใน 5 ป
7. บริ ก าร ั ดิ ก าร ั ง คม – คนพิ ก ารมี ิ ท ธิ ไ ด รั บ
ั ดิการตามค ามเ มาะ มอยาง มเ ตุ มผล เชน
 ผูช ยคนพิการ ( ำ รับคนพิการระดับรุนแรง) ซึ่ง
ผานการฝกอบรมตามมาตรฐานของกระทร งพัฒนา
ังคมและค ามมั่นคงของมนุ ยแล
 คาใชจาย ำ รับจัดทำ ิ่งอำน ยค าม ะด กที่บาน
รือ ถานที่พัก และ
 ถานที่เลี้ยงดู ำ รับคนพิการไรที่พึ่ง เปนตน
23

8. บริการลามภา ามือ – คน ู น กมี ิทธิขอบริการ


ลามภา ามือได 5 กรณี ไดแก
 การใชบริการทางการแพทยและการ าธารณ ุข
 การ มัครงาน รือการติดตอประ านงานดานการ
ประกอบอาชีพ
 การรองทุกข การกลา โท รือเปนพยานในชั้น
พนั ก งาน อบ น รื อ พนั ก งานเจ า น า ที่ ต าม
กฎ มายอื่น
 การเขาร มประชุม ัมมนา รือฝกอบรม ร มทั้ง
เปนผูบรรยายโดย น ยงานภาครัฐ รือ องคกร
ภาคเอกชนเปนผูจัดซึ่งมีคนพิการทางการไดยินเขา
ร มด ย และ
 บริการอื่นใดตามที่คณะอนุกรรมการ งเ ริมและ
พัฒนาลามภา ามือประกา กำ นด
24

9. การลด ยอนภา ีเงินได - ผูดูแลคนพิการที่มีรายได


และตองเ ียภา ีเงินได มี ิทธิไดรับการลด ยอนภา ีเงินได
คนละ 60,000 บาท เริ่มตั้งแตรายไดของป 2552
25

บทที่ 4 ปจจัยที่ งผลตอค ามเปราะบางของกลุมคน


พิการ
ปจจัยที่ งผลตอ คุณภาพชี ิตในการทำงานของผูพิการ
ทางการ เคลื่อนไ ที่ปฏิบัติงานใน น ยงานภาคเอกชน ามารถ
รุปเปนปจจัย ลักที่ ำคัญทั้ง มด 5 ปจจัย 1) ปจจัยที่เกี่ย ของ
กับองคการ 2) ปจจัยที่เกี่ย ของกับบุคคลที่มีค าม ัมพันธกับผู
พิการ 3) ปจจัยที่เกี่ย ของกับคาตอบแทนและ ั ดิการ 4) ปจจัย
ที่เกี่ย ของกับคนพิการ และ 5) ปจจัยที่ เกี่ย ของกับภาครัฐ โดยที่
ปจจัยที่เกี่ย ของกับองคการ ประกอบด ย เขาใจคนพิการและ
ขอจำกัดของค ามพิการ ิ่งอำน ยค าม ะด ก ำ รับคนพิการ ได
ทำใน ิ่งที่ตั เองมีค าม ามารถ นใจและรัก ไดรับโอกา ในการ
ทำงาน ค ามปลอดภัยในการทำงาน ไดรับ ิทธิเทาเทียมกับคนอื่น
ค ามกา นาในอาชีพ มีค ามยืด ยุนในการทำงาน มีการพัฒนา
คนพิการ การมี  นร มในกิจกรรมขององคการและบรรยากา ใน
ที่ทำงาน ปจจัยที่เกี่ย ของกับบุคคลที่มีค าม ัมพันธ กับผูพิการ
ประกอบด ย เพื่อนร มงาน ผูบังคับบัญชา ( ั นา) ครอบครั
และเจาของกิจการ ปจจัยที่เกี่ย ของกับคาตอบแทนและ ั ดิการ
ประกอบด ย คาตอบแทน ั ดิการที่พัก ั ดิการ ดานประกัน
ุขภาพ ประกันชี ิต และกองทุน ำรองเลี้ยงชีพและ ั ดิการอื่นๆ
26

ปจจัยที่เกี่ย ของกับคนพิการประกอบด ย ทั นคติทางบ กของคน


พิการ การปรับตั ของคนพิการ คนพิการพัฒนาตนเองเ มอและ
ค ามเขมแข็ง ไมยอมแพ ปจจัยที่เกี่ย ของกับภาครัฐ ประกอบด ย
ประกั น ั ง คม ู น ย ฟ  นฟู มรรถภาพคนงาน และ นโยบายของ
ภาครัฐ
27

บทที่ 5 การออกแบบ ั ดิการ ังคมของกลุมเปราะบาง


คนพิการ
ดานการแพทย
คนพิการ ามารถใช ิ ทธิ ลักประกัน ุขภาพถ น
น า ำ รั บ คนพิ ก าร รื อ บั ต รทองคนพิ ก าร ท.74 ได
ถานพยาบาลของรัฐทุกแ ง โดยไมตองมีใบ งตอ และ ิทธิ
ไดรับบริการขั้นพื้นฐานทางการแพทย
คนพิการ ามารถติดตอขอรับบริการทางการแพทย
ไดที่ ถานพยาบาลของรัฐ ถานพยาบาลในกำกับของรัฐ
ถานพยาบาลรั ฐ ิ า กิ จ ถานพยาบาลเอกชนที ่ รั ฐ
กำ นด โดยเบิ ก ค า ใช จ  า ยได ต าม ิ ท ธิ ข องคนพิ ก ารซึ่ ง
กฎ มายกำ นดไ 
ิทธิประโยชน ลัก ไดแก บริการขั้นพื้นฐานทาง
การแพทย มายร มถึ ง บริ ก าร ร า งเ ริ ม ุ ข ภาพและ
ปองกันโรค การคลอดบุตร บริการทันตกรรม การตร จ
ินิจฉัยโรค การรัก าพยาบาล โดย ามารถรับบริการไดที่
ถานีอนามัย ูนยบริการ าธารณ ุข โรงพยาบาลของรัฐ
28

ทุกแ ง และโรงพยาบาลเอกชนที่ขึ้นทะเบียน เปน น ย


บริการในระบบ ลักประกัน ุขภาพแ งชาติ
ิทธิเฉพาะ ำ รับคนพิการ ไดแก ิทธิการไดรับบริการ
ฟ  น ฟู มรรถภาพทั ้ ง ในและนอก น ยบริ ก าร ได แ ก
กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด การประเมิน/แกไขการพูด
จิตบำบัด พฤติกรรมบำบัด การฟนฟูการไดยิน การฟนฟูการ
เ ็น การกระตุนพัฒนาการ การไดรับ อุปกรณเครื่องช ย
ตามประเภทค ามพิการ การพัฒนา ักยภาพ ในรูปแบบอื่น
ๆ เปนตน
29

ดานการ กึ า
คนพิการ ามารถเขารับการ ึก าขั้นพื้นฐานเปน
พิเ ตั้งแตแรกเกิด รือเมื่อพบค ามพิการ และไดรั บ
บริ ก าร ิ ่ ง อำน ย ค าม ะด ก ื ่ อ บริ ก าร และค าม
ช ยเ ลืออื่นใดทางการ ึก า ำ รับคนพิการ ตามค าม
จำเปนและเ มาะ มอยางทั่ ถึง โดยไมเ ียคาใชจายตั้งแต
เริ่มเขาเรียนจนถึงปริญญาตรี

รายการเงิ น อุ ด นุ น การ ึ ก าระดั บ อุ ด ม ึ ก า


ประกอบด ย ค า เล า เรี ย น ค า บำรุ ง ค า ธรรมเนี ย มและ
คาใชจายอื่นในทุก ลัก ูตร ทั้งนี้ ไมเกินอัตราบาท/ราย/ป
ดังนี้
1. ั ง คม า ตร ิ ล ป า ตร มนุ ย า ตร
ึก า า ตร อัตรา 60,000 บาท
2. ิ ล ปกรรม า ตร ถาป ต ยกรรม า ตร อั ต รา
60,000 บาท
3. ิ กรรม า ตร ิทยา า ตรและเทคโนโลยี อัตรา
70,000 บาท
4. เก ตร า ตร อัตรา 70,000 บาท
30

5. าธารณ ุข า ตร พยาบาล า ตร เภ ัช า ตร


อัตรา 90,000 บาท
6. แพทย า ตร ัต แพทย า ตร ทันตแพทย า ตร
อัตรา 200,000 บาท
31

ดานอาชีพ
คนพิการ ามารถเขารับการฝกอาชีพจาก น ยงาน
ตาง ๆ ที่เกี่ย ของโดยไมเ ียคาใชจาย ดังนี้

1. กรม งเ ริมและพัฒนาคุณภาพชี ิตคนพิการ โดย ูนย


พัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการ ใ บริการจัดฝกอบรม
ิชาชีพ แกคนพิการใน าขาตาง ๆ ลัก ูตรระยะ ั้น และ
ระยะยา (6 เดือน - 1 ป) เพื่อใ คนพิการไดมีการฟนฟู
มรรถภาพทางร า งกายและพั ฒ นา ทั ก ะด า นอาชี พ
จำน น 9 แ งดังนี้
1. ู น ย พ ั ฒ นา ั ก ยภาพและอาชี พ คนพิ ก าร พระ
ประแดง จัง ัด มุทรปราการ
2. ู น ย พ ั ฒ นา ั ก ยภาพและอาชี พ คนพิ ก ารจั ง ั ด
ขอนแกน
3. ูนยพัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการบานทอง
พูน เผาพนั จัง ัดอุบลราชธานี
4. ูนยพัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการ ยาดฝน
จัง ัดเชียงใ ม
32

5. ูนยพัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการ จัง ัด


นคร รีธรรมราช
6. ูนยพัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการบาน รี นา
ไล จัง ัดอุบลราชธานี
7. ูนยพัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการ จัง ัด
นองคาย
8. ูนยพัฒนา ักยภาพและอาชีพคนพิการบานโมกุล
เฉลิมพระชนมพรร า 5 รอบ มเด็จพระนางเจา
ิริกิติ์พระบรม ราชินีนาถ จัง ัดลพบุรี
9. ูนย งเ ริมอาชีพคนพิก าร (โรงงานปคนพิก าร
ากล) จัง ัดนนทบุรี

2. กรมพัฒนาฝมือแรงงาน โดย ูนยพัฒนาฝมือแรงงาน


จัง ัด ถาบันพัฒนาฝมือแรงงานนานาชาติ ถาบันพัฒนา
ฝมือ แรงงานภาค 1-12 มีใ บริการการฝกเตรียมเขาทำงาน
การฝก ยกระดับฝมือ การฝกเ ริมทัก ะและใ คำปรึก า/
แนะนำ การพัฒนา ลัก ูตร
33

3. ำนักงานประกัน ังคม โดย ูนยฟนฟู มรรถภาพคนงาน


ไดจัดทำ ลัก ูตรการฟนฟู มรรถภาพดานอาชีพ โดยการ
เตรี ย ม เข า ทำงาน (Work Preparation) การฝ ก อาชี พ
(Vocational Training)

You might also like