You are on page 1of 382

รายงานการวิจัย

เรื่อง

[การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ


เทคโนโลยีอวกาศ ด้วยการจัด
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF สำหรับ
นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6]
[Developing video instructional in
shadows, eclipse and space technology by
providing 5 steps GOCQF online learning
management for sixth grade students]

[ นาย วราวุฒิ สุภะกะ ]

คณะ ครุศาสตร์
รายงานการวิจัย
เรื่อง

[การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ


เทคโนโลยีอวกาศ ด้วยการจัด
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF สำหรับ
นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6]
[Developing video instructional in
shadows, eclipse and space technology by
providing 5 steps GOCQF online learning
management for sixth grade students]

[ นาย วราวุฒิ สุภะกะ ]

คณะ ครุศาสตร์

หัวข้อวิจัย การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ


เทคโนโลยีอวกาศด้วยการจัดเรียนรู้ แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
[Developing video instructional in shadows, eclipse
and space technology by providing 5 steps GOCQF
online learning management for sixth grade
students]
ชื่อผู้วิจัย นาย วราวุฒิ สุภะกะ
สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ทั่วไป หลักสูตร ภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม
ราชูปถัมภ์
ที่ปรึกษา อาจารย์ เกียรติศักดิ์ รักษาผล
ปี การศึกษา 2564

บทคัดย่อ
การศึกษาวิทยาศาสตร์ในช่วงโรคโควิด(Coivid-19) เข้ามา
แทรกแซงทำให้จัดการเรียนการสอนได้ยากลำบาก นักเรียนจึงขาด
สิ่งจูงใจในการเรียนรู้ และนักเรียนยังจำบางเนื้อหาที่สำคัญในบท
เรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ได้ไม่
เต็มที่ เพื่อสร้างสิ่งจูงใจและช่วยให้นักเรียนจำเนื้อหาบทเรียน
วิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ โดย
นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง และทบทวนเนื้อหาได้ด้วย
ตนเองตลอดเวลา จึงมีการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา

วิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ผู้วิจัยจึง


ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังได้รับการ
จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี และความพึงพอใจของนักเรียน
ต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ และพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยี ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) 46 คน ใช้รูป
แบบ one group pre-posttest เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ 1)
แผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3)
แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
คะแนนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ คือ T-test (Dependent
Samples) และหาค่าความพึงพอใจ คือ ค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าเบี่ยง
เบนมาตรฐาน (SD) ผลวิจัยพบว่า 1) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนหลังจัดการเรียนรู้สูง ( x̄ ) = 18.85 , S.D. 4.751) กว่าก่อน
จัดการเรียนรู้ ( x̄ = 12.S.D. 4.371) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ.05 และ 2) ผลแสดงระดับความพึงพอใจ พบว่าความค่า
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( x̄ = 3.71087 , S.D.= 1.0605)

Research Title : Developing video instructional in


shadows, eclipse and space
technology by providing 5 steps GOCQF online
learning management for sixth grade students
Author: Mr. Warawuth Suphaka
Major: General science (English
Program)
Valaya Alongkron University
Under the Loyal Patronage
Research Consultants: Mr. Kiatisak Raksapoln
Academic Year: 2021

Abstract
The Science Education during COVID-19 Intervening
makes it difficult to organize learning management so
Students lack incentives to learn, and Students do not
fully remember some of the important content in
science lessons, shadows, eclipse, and space technology
to create incentives and help students remember the
content of science lessons on shadows, eclipse, and
space technology. The researchers investigate the
academic achievement pretest and posttest receiving
online learning management, 5 steps GOCQF using video

instructional in shadows, eclipse and space technology,


and investigate student satisfaction with online learning
management, 5 steps GOCQF using video
instructional and to manage learning and develop video
instructional shadows, eclipse and space technology of
sixth grade students at Wat Khain Khet School,Beung
Yitho,Thanyaburi Pathum Thani province by using cluster
sampling, 46 people on one group pre-posttest design,
The instrument data analysis including 1) Online learning
management plan, 5 steps GOCQF using video
instructional, 2) Academic achievement test, 3)
Satisfaction questionnaire. The statistics data analyze to
compare scores pre-test and post-test learning
management be T-test (Dependent Samples) and
satisfaction determination be Mean ( x ) and Standard
Deviation (SD).,The results findings out (1) the post -
test score ( x̄ ) = 18.85 , S.D.= 4.751) more than
pre-test ( x̄ = 12,S.D. = 4.371) statistically significant at the
.05 level and 2) the results showed the level of
satisfaction. It was found that the satisfaction level was
at a high level ( x̄ = 3.71087 , SD = 1.0605).

กิตติกรรมประกาศ

วิจัยฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิตสำเร็จไปได้ด้วยดีด้วยความกรุณายิ่งของ
คุณครูอาภาพร กมล ครูพี่เลี้ยงที่อบรมสั่งสอนและให้คำแนะที่เป็ น
ประโยชน์สำหรับการวิจัยและการประกอบวิชาชีพครูในอนาคต
รวมทั้งเป็ นแบบอย่างที่ดีของครูผู้มีความเมตตา โอบอ้อมอารีต่อ
ศิษย์ ผู้วิจัยตะหนักและซาบซึ้งในความกรุณาที่ได้รับ จึงขอ
ขอบพระคุณไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณอาจารย์เกียรติศักดิ์ รักษาพล ซึ่งเป็ นอาจารย์
นิเทศก์ ที่ได้สละเวลาในการตรวจสอบและให้คำแนะนำในการ
ปรับปรุงงานวิจัยฉบับนี้ให้มีความถูกต้องและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
รวมถึงคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้กรุณาตรวจสอบและให้
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้ง
นี้
ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการ
โรงเรียน อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทุกท่าน ที่กรุณา
ให้ความร่วมมือในการวิจัยเป็ นอย่างดี ตลอดจนขอบคุณนักเรียน
กลุ่มตัวอย่างทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการทำวิจัยอย่างดี
นอกจากนี้ขอขอบพระคุณบิดามารดาเป็ นอย่างสูงที่เป็ นกำลัง
ใจที่ดีในการวิจัยครั้งนี้ คณาจารย์สาขา วิทยาศาสตร์ทั่วไป
หลักสูตรภาษาอังกฤษ ทุกท่านที่คอยบ่มเพาะความรู้ตลอดมา รวม

ทั้งเพื่อนสาขา วิทยาศาสตร์ทั่วไป หลักสูตรภาษาอังกฤษ ทุกคนที่


อยู่ด้วยกันทั้งในยามสุขและทุกข์

วราวุฒิ สุภะกะ

สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษา
ไทย……........................................................................................
.................. (ก)
บทคัดย่อภาษา
อังกฤษ……...................................................................................
..................
(ข)
กิตติกรรมประกาศ
……..............................................................................................
............ (ค)
สารบัญ……..................................................................................
......................................... (ง)
สารบัญ
ตาราง……....................................................................................
............................. (ฉ)
สารบัญภาพ
……..............................................................................................
.................... (ซ)
บทที่ บทนำ
……..............................................................................................
.................... 1

1.1 ความเป็ นมาและความ


สำคัญ……...................................................................... 1
1.2. วัตถุประสงค์ของการ
วิจัย……........................................................................... 3
1.3. ขอบเขตการ
วิจัย…….........................................................................................
. 3
1..4. กรอบแนวคิดในการ
วิจัย…….............................................................................. 4
1.5.
สมมติฐาน……...............................................................................
...................... 4
1.6 คำจำกัดความที่ใช้ในงานวิจัย
……..................................................................... 4
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง……................................................... 9
2.1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
……………………………………………. 9
2.2.เงา อุปราคา และ เทคโนโลยี
อวกาศ…….................................................................. 42
2.3 การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF………………………………………………. 42

2.4.สื่อวีดีทัศน์
……......................................................................................
.................. 43
2.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
……................................................................................. 50
2.6.ความพึงพอใจ
……......................................................................................
............ 54
2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
……......................................................................................
... 55
บทที่ 3 วิธีการดำเนินวิจัย
…….............................................................................................
61
3.1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
…………………………………………………….. 61
3.2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
……................................................................................. 61
3.3. รูปแบบของการวิจัย
…….................................................................................... 62
3.4. เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่อง
มือ …………………………………. 62

3.5. การวิเคราะห์
ข้อมูล…………………………………………………………………………………
.... 63
3.6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล……………………………………………………………………….. 68

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 4 ผลการ
ศึกษา…….....................................................................................
.................... 72
4.1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์เรื่อง
เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ…….............................................................. 73
4.2. ผลศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียน
รู้รูปแบบออนไลน์
5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการ
เรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
……...................................................... 74
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปราย และข้อเสนอ
แนะ......................................................... 76

5.1 วัตถุประสงค์ของ
วิจัย.............................................................................................. 76
5.2 สมมติฐานของการ
วิจัย............................................................................................ 76
5.3 ขอบเขตของการ
วิจัย.............................................................................................. 76
5.4 เครื่องมือที่ใช้ในงาน
วิจัย..........................................................................................
77
5.5 การเก็บรวบรวม
ข้อมูล.......................................................................................
.......77
5.6 การวิเคราะห์
ข้อมูล.......................................................................................
.......... 78
5.7 สรุปผลการ
วิจัย....................................................................................................
... 78
5.8 อภิปราย
ผล......................................................................................................
....... 79
5.9 ข้อเสนอ
แนะ...................................................................................................
........ 81.

บรรณานุกรม...............................................................................
......................................... 82
ภาค
ผนวก...........................................................................................
................................ 87
ภาคผนวก
ก........................................................................................................
.......... 156
ภาคผนวก
ข……………………………………………………………………………………………
………… 158
ภาคผนวก
ค……………………………………………………………………………………………
………… 177
ประวัติผู้
วิจัย.............................................................................................
........................... 187

สารบัญตาราง

ตารางที่
หน้า
1.ตารางออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ............................................................................ 12
2.ตารางที่ 4.1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนล
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการ
เรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ประกอบ
การจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยี
อวกาศ..........................................................................................
.............. 73
3.ตารางที่ 4.2 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF

โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ....................................................................... 74
4.ตารางที่ 5.1.แสดงผลการประเมินการพิจารณาความเหมาะสม
ของกิจกรรม
การเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียน
รู้แบบ 5 steps GOCQF
ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี
ที่6...............................................................................................
159
5.ตาราง 5.2 ผลการพิจารณาความสอดคล้องของแบบทดสอบ
เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3
ท่าน............................................................................................

163
6.ตางราง 5.3 ค่าความยาก(P) และ ค่าอำนาจจำแนก (r) ของแบบ
ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์

เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับ


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กับ
กลุ่มนักเรียนที่ทดลองใช้ (Try
Out)....................................................................................
165
7.ตาราง 5.4 ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์
5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6.............................................................................
167

สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่
หน้า
8.ตารางที่ 5.5.แสดงผลการประเมินการพิจารณาคุณภาพสื่อ
วีดีทัศน์โดยใช้
การจัดการเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับ สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี
ที่6................................................................................................
.. 170
9.ตาราง 5.6 ค่าดัชนีความสอดคล้องจากการประเมินแบบวัดความ
พึงพอใจ
ที่นักเรียนมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ
5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์....................................................................................17
2
10.ตารางที่ 5.7.ผลการสอบถามความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการ
จัดการเรียนรู้
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ

ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6.................................................................................................174

สารบัญภาพ

ภาพที่ หน้า
1.ภาพที่ 2.7.5.A Model to incorporating online teaching
style ..................................... 59
2.แผนภาพ 5.1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ ประกอบการจัดการเรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ..........................................

169
3 แผนภาพ 5.2.ค่าความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการจัดการเรียนรู้
โดยใช้
การจัดการเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และ เทคโนโลยี
อวกาศ.............................................................................

176

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญ

การศึกษาไทยในปั จจุบันมีการจัดการเรียนการสอนที่เปลี่ยน
ไปอย่างเห็นได้ชัดเจนมาก จากการแพร่ระบาดเชื้อโรค
โคโรนาไวรัส (Covid-19) ทำให้คุณครูต้องจัดการสอนในรูปแบบอ
อนไลน์์แบบต่างๆ เพื่อให้การเรียนรู้เกิดความต่อเนื่อง การเรียนการ
สอนแบบออนไลน์มีองค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อ
การเรียนและแหล่งเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการ
ติดต่อสื่อสาร ระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดและ
ประเมินผล รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์มีหลากหลาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 เป็ น
หลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นคนดีมี ปั ญญามีความสุข มี
ศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดความ
สามารถในการคิดเป็ นหนึ่งใน จุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อ
จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร
การคิด การแก้ปั ญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต และ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กำหนดคุณลักษณะ
ของผู้เรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้กรอบความคิดใน เรื่อง
การพัฒนาการศึกษาเพื่อเตรียมคนในสังคมแห่งความรู้และ
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 คือ ผู้
2

เรียนควรสามารถนำความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้
ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การคิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิด
วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และมี จิตวิทยาศาสตร์(กระทรวง
ศึกษาธิการ.2560) จากการจัดการเรียนรู้รูปแบออนไลน์ที่นักเรียน
ได้เรียนรู้เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์แบบเดิม ๆ ส่งผลให้นักเรียนจำ
เนื้อหาสำคัญในบทเรียนไม่ค่อยได้ และไม่ค่อยสนใจในบทเรียน
เนื่องด้วยสื่อวีดีทัศน์ที่คุณครูนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนมี
ระยะเวลานานจนทำให้นักเรียนไม่ค่อยสนใจบทเรียน และ นักเรียน
ไม่สามารถจำเนื้อหาที่เรียนไปได้
การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5
steps GOCQF เป็ นกระบวนการจัดการ เรียนการสอนออนไลน์ที่
เกิดขั้นจากการพัฒนานวัตกรรมโดยกระบวนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ที่ครูมีส่วนร่วม (PLC) ที่ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอนโดยใช้ชื่อย่อว่า
G O C Q F ซึ่งได้นำไปใช้จัดการเรียนการสอนออนไลน์จน ได้ผลดี
มากในโรงเรียนบ้านสันป่ าสัก สพป.เชียงใหม่ เขต 4 มาแล้ว (ปรียา
ดา ทะพิงค์แก 2564) ได้ให้ความหมาย ของการจัดการเรียนรู้ด้วย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF ว่าเป็ น
แนวทางแก้ไขปั ญหา วิธีการหนึ่งในช่วงการระบาดของไวรัสโคโร่น่า
2019 (COVID-19) เป็ นการนำแนวคิด วิธีการ กระบวนการหรือ สิ่ง
ประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ในการแก้ปั ญหา หรือ
พัฒนาการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตรง ตามเป้ าหมายของ
หลักสูตร ซึ่งจะช่วยให้การศึกษาและการเรียน การสอน
มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียน สามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง
รวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจ ในการเรียนด้วย
2

นวัตกรรม เหล่านั้น และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย


กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF โรงเรียนบ้าน
สันป่ าสัก สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน
ดังนี้Step 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ทักทาย (Greeting) Step 2 O
ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระ
งาน (Online Assignment) Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้
(Checking) Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะท้อนผลการ เรียนรู้
(Q&A Meeting) Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following
Up) จากลำดับขั้นตอนดังกล่าวผู้เรียน สามารถสร้างองค์ความรู้ได้
โดยผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ด้วยตนเอง มีการตรวจ
สอบผลการ เรียนรู้ ตอบข้อซักถามประเด็นปั ญหาและติดตาม
ประเมินผล ซึ่งจากความหมายและลำดับขั้นตอนข้างต้น
กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF เป็ นรูปแบบ
หนึ่งซึ่งผู้เรียนสามารถเป็ นศูนย์กลางของ การเรียนรู้ ได้ใช้
กระบวนการคิดอย่างเป็ นระบบ มีเหตุผล มุ่งให้ผู้เรียน รู้จักคิด
วิเคราะห์สังเคราะห์แสวงหา ความจริงจากการสืบค้นหาข้อมูล รู้จัก
การแก้ปั ญหาด้วยตัวเอง ซึ่งเป็ นวิธีการสอนที่เหมาะแก่การนำมา
พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 5 เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น
การเรียนรู้โดยใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทของนักเรียน จะทำให้นักเรียนเกิด
การเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาการเรียนรู้ สามารถพัฒนาสมรรถะและ
คุณลักษณะที่สำคัญของนักเรียนได้ (อดิศักดิ์ โคตรชุม. 2562: 6. -
69) สื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ที่มีทั้งภาพเคลื่อนไหวและเสียง
2

ประกอบ จะช่วยลดความยุ่งยากซับซ้อนของเนื้อหาวิชา และมี


ความหลากหลายในการสร้างจินตนาการของนักเรียน สามารถ
กระตุ้นความสนใจ ดึงดูดใจได้เป็ นอย่างดี และที่สำคัญคือ สามารถ
นำมาเปิ ดซ้ำได้ตาม ความต้องการ (เริงชัย พะวุฒ. 2556) โดย
เฉพาะสื่อรีดิทัศน์จัดเป็ นสื่อที่มีบทบาทสำคัญกับการแสดงผล โดยมี
ภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่งที่สามารถนำมาเรียงลำตับกันอย่างมี
ประสิทธิภาพ (จิราภรณ์ เฟื้ องฟุ้ง. 2559:2 อ้างอิงจาก วรพจน์ นวล
สกุล. 2550) ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น (พิชญา
เพิ่มไทย และอนุรักษ์ อาทิตย์กวิน. 2556 - 2557: 7; จิราภรณ์
เฟื้ องฟุ้ง, 2559: บทคัตย่อ) และมีความพึงพอใจต่อการจัตกิจกรรม
การเรียนรู้ โดยใช้สื่อวีดีทัศน์อยู่ในระดับมาก (จิราภรณ์ เฟื้ องฟุ้ง.
2559: บทคัดย่อ) จะเห็นได้ว่า การนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้เป็ นสื่อใน
การจัดการเรียนการสอนที่มีทั้งภาพและเสียง ช่วยให้นักเรียนจดจำ
ความ รู้ได้ดีขึ้นสามารถสร้างความคิดรวบยอดหรือสรุป
เนื้อหาการเรียนรู้ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
จากเหตุผลดังที่กล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงคาดหวังว่า การจัดการ
เรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ ในเนื้อหารายวิชาวิทยาศาสตร์ จะช่วยทำให้นักเรียน
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ได้ดีขึ้น นักเรียนมีความสนใจ
ตั้งใจ และจดจำเนื้อหาสำคัญที่เรียนได้มากขึ้น ผู้วิจัยจึงออกแบบ
และพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน
3

รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี


อวกาศ ด้วยการสืบค้น พัฒนา ปรับปรุง สื่อวีดีทัศน์ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ซึ่งเป็ นสื่อ
วีดีทัศน์จัดทำขึ้นโดยผู้วิจัยเองเพื่อการเรียนการสอน มาใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ ในชั้นเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2564 ในลำดับต่อไป

1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1.เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
2.เพื่อศึกษาความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการ
เรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

1.3 ขอบเขตการวิจัย

ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็ น นักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล
4

บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา


2564 จำนวน 6 ห้องเรียน รวม 263 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็ น นักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 6 / 3 โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล
บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2564 จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 46 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ
กลุ่ม (Cluster Sampling)
ตัวแปรที่ใช้ในกำรวิจัย
1. ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียน
รู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์
2. ตัวแปรตาม ได้แก่
1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
2.ความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการ
เรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

1.4.กรอบแนวคิดในการวิจัย  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
การจัดการเรียนรู้รูปแบบ
 ความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อการ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย
จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
4

1.5. สมมติฐาน
1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ สูงขึ้นกว่า
ก่อนเรียน
2. ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีต่อ
การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ อยู่ในเกณฑ์ระดับที่ดี

1.6 คำจำกัดความที่ใช้ในงานวิจัย
1.กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF เป็ นกระ
บวนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เกิดขั้นจากการพัฒนา
นวัตกรรมโดยกระบวนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพที่ครูมีส่วนร่วม (PLC)
4

โรงเรียนบ้านสันป่ าสัก สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ประกอบไปด้วย 5 ขั้น


ตอน ดังนี้ 1)
Step 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting) เป็ นขั้น
ตอนที่ครูจะทักทายนักเรียน ผ่าน Application
อาทิ Line หรือ Facebook เพื่อให้นักเรียนเตรียมความ
พร้อมในการเรียนรู้ออนไลน์ ให้นักเรียนทยอยเข้าชั้นเรียน
5

2) Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online


Learning) / มอบหมายภาระงาน (Online Assignment)
ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนสำคัญที่นักเรียนจะได้รับความรู้โดยครู
อาจจะมอบหมายภาระงานหรือ สอนให้ความรู้แก่นักเรียน
ผ่าน Application ใดๆ ตามที่คุณครูและนักเรียนมีความ
พร้อม อาทิ Google classroom คุณครูอาจจะเตรียมคลิป
การสอนให้นักเรียนดูค่ะ
3) Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking) เป็ นขั้น
ตอนที่จะตรวจสอบความรู้ว่า นักเรียนเข้าใจบทเรียนหรือไม่
ซึ่งครูอาจจะหมายงานหรือข้อสอบให้นักเรียนทำ จากนั้นครู
ตรวจสอบงาน นักเรียนแล้วให้คะแนน
4) Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A
Meeting) ในขั้นตอนนี้ครูจะ เชิญนักเรียนเข้ามาประชุม
ออนไลน์ผ่าน Application อาทิ google meet สำหรับให้
ครูและนักเรียนประชุม ออนไลน์ร่วมกัน สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนและตอบข้อสงสัยในเนื้อหาการเรียนรู้ เพื่อนำไป
ปรับปรุง พัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในครั้งต่อ
ไป
5) Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up) ขั้นนี้
เป็ นการติดตามประเมินผลเพื่อให้ สามารถนำผลการจัดการ
เรียนรู้ไปปรับปรุงและติดตามนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจบทเรียน
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ นักเรียนที่ยังไม่ได้ทำงานส่งผ่าน
Application google classroom แล้วติดตามนักเรียน อาทิ
ผ่าน Application Line ซึ่งครูอาจจะเสริมแรงโดยการกล่าว
6

ชมเชยนักเรียนที่ทำภารกิจที่ได้รับมอบหมายครบ และ
สอบถามปั ญหาของนักเรียนที่ทำมีปั ญหาในการทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาในการทำกิจกรรม ให้นักเรียน

2.สื่อวิดีทัศน์ หมายถึง สื่อการเรียนการสอนที่ใช้ภาพเคลื่อนไหวที่


อาศัยเทคนิคที่ได้จาก
ภาพนิ่ง การสร้างภาพเคลื่อนไหว คือ การเอาภาพนิ่งมาเรียงลำดับ
กัน สมองของมนุษย์จะสามารถ
เชื่อมโยงต่อเนื่องกันซึ่งสามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ทำให้
เข้าใจบทเรียนได้ง่ายเข้าใจ
ตรงกัน เนื่องจากสามารถแสดงให้เนื้อหาที่ต้องการสื่อผ่านทางภาพ
เคลื่อนไหวซึ่งแสดงรายละเอียด
สิ่งที่ต้องการศึกษาภายในบทเรียนได้ชัดเจนมากกว่าจะเรียนเพียง
ตัวหนังสือหรือภาพนิ่ง

3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของนักเรียน ซึ่ง


วัดได้จากแบบทคสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 1 ชุด โดยเป็ นการวัดความ
เข้าใจในเนื้อหาวิชา เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
6

4.ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อวิธีการ


จัดการเรียนการสอนสื่อวิดีทัศน์ ในที่นี้ความพึงพอใจ จะมีความ
หมายถึง ความรู้สึกในแง่บวกหรือการมีทัศนคติที่ดี อันส่งผลให้
นักเรียนมีความสนใจในกระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สอนวชาวิทยาศาสตร์หรือหมวดหมู่วิชาอื่นๆระดับประถมศึกษา
สามารถนำแนวคิดการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ใช้ในวิชาของ
ตนเองได้
2.ผู้เรียนสามารถทบทวนบทเรียนได้ตลอดเวลา
6
9

บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การวิจัย เรื่อง การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ


เทคโนโลยีอวกาศด้วยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ผู้วิจัยได้
ศึกษาค้นคว้าแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุน
งานวิจัยตามลำดับหัวข้อ ดังต่อไปนี้
2.1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)
2.2.เงา อุปราคา และ เทคโนโลยีอวกาศ
2.3 การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
2.4.สื่อวีดีทัศน์
2.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
2.6.ความพึงพอใจ
2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียน


รู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
(กระทรวงศึกษาธิการ. (2560).)
8

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียน
รู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ได้กำหนดสาระการเรียน
รู้ออกเป็ น 8 สาระ ได้แก่ สำระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สำระที่ 2
วิทยาศาสตร์กายภาพ สำระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ สาระ
ที่ 4 ชีววิทยา สาระที่ 5 เคมี สาระที่ 6 ฟิ สิกส์ สาระที่ 7 โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ และสาระที่ 8 เทคโนโลยี ซึ่งองค์
ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้ำนของเนื้อหา การจัดการเรียนการ
สอนและการวัดและประเมินผล การเรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่าง
ยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแต่ละ
ระดับชั้นให้มี ความต่อเนื่องเชื่อมโยงกันตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปี ที่
1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้
เรียนจำเป็ นต้องเรียนเป็ นพื้นฐาน เพื่อให้สามารถ นำความรู้นี้ไปใช้
ในการดำรงชีวิต หรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้
โดยจัดเรียงลำดับความยากง่าย ของเนื้อนำทั้ง 8 สาระในแต่ละ
ระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการ
จัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความ
คิดเป็ นเหตุเป็ นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่
สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะ ใน
ศตวรรษที่ 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปั ญหาอย่างเป็ นระบบ สามารถตัดสิน
ใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
8

ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่มุ่งหวัง
ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัดและสาระ
การเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วย
งานต่าง ๆ ได้ใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนา หนังสือเรียน คู่มือครู
สื่อประกอบการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล โดย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุง
เพื่อให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้
เดียวกันและระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์
กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัย
ต่อการเปลี่ยนแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ
และทัดเทียมกับนานาชาติ
2.1.1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความ
สัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร
ปั ญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
8

แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปั ญหาสิ่ง
แวดล้อม รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมี
ชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวัยวะ
ต่างๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลง
ทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
9

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏิกิริยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของ
แรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุรวม
ทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลง
และการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน
พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของ คลื่น ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า รวมทั้ง นำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ


มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด
และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวม
ทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบ
โลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณี
พิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้ า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
10

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรง


ชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะ
ทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปั ญหา
หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึง
ถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปั ญหา
ที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็ น ขั้นตอนและเป็ นระบบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้
ปั ญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม

แบบบันทึกหน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุป
ราคา และ เทคโนโลยีอวกาศ รหัส ว 16101
รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่
6
ภาคเรียนที่ 2
เวลา 20 ชั่วโมง
10

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การ


เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร
และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น
ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า รวม
ทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการ


เกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ
รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ
ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ

ตัวชี้วัด
ว 2.3 ป.6/7 อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์
ว 2.3 ป.6/8 เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืด
เงามัว
ว 3.1 ป.6/1 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิด และเปรียบ
เทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคา
และจันทรุปราคา
10

ว 3.1 ป.6/2 อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยก


ตัวอย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
จากข้อมูลที่รวบรวมได้

สาระสำคัญ
1.เมื่อมีวัตถุทึบแสงมากั้นทางเดินของแสงจะเกิดเงาบนฉากเงาแบ่ง
ออกเป็ นเงามืดและเงามัว โดยเงามืดเป็ นบริเวณที่ไม่มีแสงตกลงมา
บนฉากเลย ส่วนเงามัว เป็ นบริเวณที่มีแสงบางส่วนตกลงบนฉากเรา
สามารถเขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดและเงามัว
ของวัตถุได้
11

2.เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับดวง
อาทิตย์ในระยะทางที่เหมาะสมทำให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ เงาของ
ดวงจันทร์ทอดมายังโลก ผู้สังเกตที่อยู่บริเวณเงาจะมองเห็นดวง
อาทิตย์มืดไป เกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา ซึ่งมีทั้งสุริยุปราคาเต็ม
ดวงสุริยุปราคาบางส่วน และสุริยุปราคาวงแหวน หากดวงจันทร์และ
โลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์
เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลก จะมองเห็นดวงจันทร์มืดไป เกิด
ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ซึ่งมีทั้งจันทรุปราคาเต็มดวง และ
จันทรุปราคาบางส่วน
3.เทคโนโลยีอวกาศเริ่มจากความต้องการของมนุษย์ในการสำรวจ
วัตถุท้องฟ้ าโดยใช้ตาเปล่ากล้องโทรทรรศน์ และได้พัฒนาไปสู่การ
ขนส่งเพื่อสำรวจอวกาศด้วยจรวดและยานขนส่งอวกาศและยังคง
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปั จจุบันมีการนำเทคโนโลยีอวกาศบางประเภท
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
เป็ นการค้นหาข้อมูลที่ตรงตามความต้องการและรวดเร็ว ใช้
เทคโนโลยีสารสนสารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย
สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K)
1.อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์
2.อธิบายการเกิด และเปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคา
และจันทรุปราคา
10

3.อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่าง
การนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน จากข้อมูล
ที่รวบรวมได้
ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว
2. สร้างแบบจำลองปรากฏการณ์สุริยุปราคา และ
จันทรุปราคา
สมรรถนะสำคัญ
สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ ความคิด
ความรู้สึกและ ทัศนะของตนเอง ด้วย
การพูดและการเขียน
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดที่ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
12

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข้อ 4 ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม
สรุปเป็ นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
พฤติกรรมบ่งชี้

1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ


เทคโนโลยีต่างๆแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนและ
เลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
2. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุป
เป็ นองค์ความรู้
3. แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการดังกล่าวและนำไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน
อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
-
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
13

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
1 ว 2.2 1. ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1.หนังสือเรียนวิชา
(2 ชั่วโ ป.6/7 อธิบาย เรียนทักทาย (Greeting) วิทยาศาสตร์ และ
มง) การเกิด (5 นาที)
อธิบายการ เทคโนโลยี 6
เงามืด 1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูป
เกิดเงามืด 2. ข้อสอบ google
เงามัว แบบออนไลน์ โดยโปรแกรม
เงามัวจาก form
จากหลัก Google Meet
หลักฐานเชิง ฐานเชิง 1.2.ครูทบทวนความรู้เดิม 3.โทรศัพท์/คอมพิวเ
ประจักษ์ ประจักษ์ จากการถามตอบ โดยใช้โปร ตอร์/เน็ต 4.โ
(ว 2.3 กรม Google Meet เกี่ยว ปรแกรม Google
ว 2.2
ป.6/7) กับ เงา และการเขียน meet
ป.6/8 เขียน
2. เขียน แผนภาพรังสีของแสง
แผนภาพ
แผนภาพ ขั้นที่ 2 O ขั้นสอนออนไลน์
รังสีของแสง
รังสีของ ให้ความรู้ (Online
แสดงการ
แสง learning) / มอบหมาย
เกิดเงามืด
แสดง ภาระงาน (Online
เงามัว
การเกิด assignment)
เงามืด (40 นาที)
เงามัว 2.1. ครูส่งลิงค์ข้อสอบ
(ว 2.3 google form เรื่อง เงา
ป.6/8) และ การเขียนแผนภาพรังสี
13

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ของแสง
ให้นักเรียนทางห้องเรียน
ออนไลน์
โดยใช้โปรแกรมไลน์ กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 ทาง
โน้ตไลน์
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบผล
การเรียนรู้ (Checking) 10
นาที
3.1.ครูจะตรวจคำตอบที่
นักเรียนส่งมาใน google
form พร้อมให้คะแนน
นักเรียนรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสักถาม
สะท้อนผลการเรียนรู้ (Q &
A Meeting) 20 นาที
ครูจะเชิญนักเรียนเข้ามา
ประชุมออนไลน์ผ่าน google
meet เพื่อสอบถามปั ญหา
ของนักเรียนและตอบข้อ
13

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
สงสัยในเนื้อหาการเรียนรู้
เพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ในครั้งต่อไป
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากข้อสอบ
เรื่อง เงาและการเขียน
แผนภาพรังสีของแสง ใน
google form โดยครูตรวจ
สอบรายชื่อนักเรียนที่ยังไม่
ส่งใน google form และ
รายงานชื่อคนที่ยังไม่สอบใน
กลุ่มไลน์เรียนวิทยาศาสตร์
ป.6 และสอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม พร้อม
ทั้งช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาใน
การทำกิจกรรมให้นักเรียน
14

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
2 ว 2.2 1. ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1. สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ ป.6/7 อธิบาย เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง การเกิดเงา
มง) อธิบายการ การเกิด (5 นาที) 2. หนังสือเรียนวิชา
เกิดเงามืด เงามืด 1.1.ครูใช้วิธีการสอนใน วิทยาศาสตร์
เงามัวจาก เงามัว รูปแบบออนไลน์ โดย และเทคโนโลยี 6
หลักฐานเชิง จากหลัก โปรแกรม Google Meet 3. ใบบันทึกกิจกรรม
ประจักษ์ ฐานเชิง 1.2.ครูทบทวนความรู้ เรื่อง การเกิดเงา
ประจักษ์ เดิมจากการแชร์ภาพ Power 4. คลิป วีดิโอการ
(ว 2.3 point โดยใช้โปรกรม ทดลอง เรื่อง เงาเกิด
ป.6/7) Google Meet ขึ้นได้อย่างไร ใน
เกี่ยวกับ เงา และตรวจสอบ google site
ความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิด 5.โทรศัพท์/
เงา โดยใช้คำถามดังนี้ คอมพิวเตอร์/เน็ต
- จากรูปภาพ ใน 6.โปรแกรม Google
รูปภาพทีเป็ นสีดำๆ ทอดยาว meet
คืออะไร (เงา) 7.อุปกรณ์การทำ
- เงา เกิดขึ้นได้อย่างไร กิจกรรม ประกอบ
(ตอบตามความเข้าใจของ ด้วย
นักเรียน) 1.กระดาษ 1 แผ่น
- เงามืด และเงามัว 2.ไฟฉาย หรือ
15

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ต่างกันอย่างไร (ตอบตาม ไฟฉายโทรศัพท์ 1
ความเข้าใจของนักเรียน) อัน
ขั้นที่ 2 O ขั้นสอนออนไลน์ 3. ลุกปิ งปอง 1 ลูก
ให้ความรู้ (Online 4.กระป๋ องน้ำอัดลม
learning) / มอบหมาย 1 กระป๋ อง
ภาระงาน (Online 5. สิ่งของ X 1 ชิ้น
assignment) 6.ไม้เสียบ 1 ไม้
(40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบ
บันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร ให้
นักเรียนทางห้องเรียน
ออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม
ไลน์ กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์
ป.6 ทางโน้ตไลน์
2.2. ครูชี้แจงให้
นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ก่อน
คาบเรียน เพื่อที่จะนำมา
ปฎิบัติการทดลองตามคลิปวี
ดิโอการทดลอง เรื่อง การ
15

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
เกิดเงา ดังนี้

อุปกรณ์การทำกิจกรรม
ประกอบด้วย
1.กระดาษ 1 แผ่น
2.ไฟฉาย หรือ ไฟฉาย
โทรศัพท์ 1 อัน
3. ลุกปิ งปอง 1 ลูก
4.กระป๋ องน้ำอัดลม 1
กระป๋ อง
5. สิ่งของ X 1 ชิ้น
6.ไม้เสียบ 1 ไม้
วิธีการทำกิจกรรม
1.นำลูกปิ งปองมาเสียบกับไม้
เสียบ แล้วทำให้เกิดเงาบน
ฉาก นำไฟฉายฉายไปบริเวณ
หน้าวัตถุ เลือนวัตถุเข้าใกล้
ฉากและเข้าใกล้ไฟฉาย
2.ทำซ้ำข้อ 1 แต่เปลี่ยนลูก
ปิ งปองเป็ นกระป๋ องน้ำอัดลม
15

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
สิ่งของ X
3.นักเรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้น
ผลบนฉาก แล้วบันทึกผลการ
ทดลอง
2.3.คุณครูส่งลิงค์ Google
site ให้นักเรียนไปศึกษาด้วย
ตัวเอง
โดยคุณครูจะให้คำแนะนำ
และคำปรึกษาแก่นักเรียน
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบผล
การเรียนรู้ (Checking) 10
นาที
3.1.ครูจะตรวจใบบันทึก
กิจกรรมที่นักเรียนส่งมาใน
โน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6
พร้อมให้คะแนนนักเรียนราย
บุคคล
15
16

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสักถาม
สะท้อนผลการเรียนรู้ (Q &
A Meeting) 20 นาที
4.1.หลังจากทำกิจกรรมแล้ว
นักเรียนร่วมกันอภิปรายผล
การทำกิจกรรม ตามแนวคิด
ดังนี้
- เงาคืออะไร
(เงา เกิดขึ้นเมื่อมีวัตถุกั้นแสง
จะเกิดเงาบนฉากเป็ นบริเวณ
มืดหลังวัตถุ กล่าวคือ เงาเกิด
จากการที่ตัวกลางทึบแสงมา
ขวางกั้นทางเดินของแสง
โดยรูปร่างของเงาจะเป็ นไป
ตามวัตถุที่มากั้นแสง)
เงามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
(เงามี 2 ประเภทคือ เงามืด
เป็ นเงาในบริเวณที่ไม่มีแสง
ผ่านไปถึง ทำให้บริเวณนั้น
มืดสนิท เงามัว เป็ นเงา
17

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
บริเวณที่มีแสงบางส่วนผ่าน
ไปถึง และทำให้บริเวณนั้น
มืดไม่สนิท)
4.2.เปิ ดโอกาสให้นักเรียน
สอบถามข้อสงสัยเพิ่มเติม
เกี่ยวกับเงา
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบบันทึก
กิจกรรม เรื่อง เงาเกิดขึ้นได้
อย่างไรในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 โดยครู
ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่
ยังไม่ส่งในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของนักเรียน
ที่ทำกิจกรรม พร้อมทั้งช่วย
เหลือ
17

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
3 ว 2.3 1. เขียน ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1. สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ ป.6/8 เขียน แผนภาพ เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง การเขียน
มง) แผนภาพ รังสีของ (5 นาที) แผนภาพรังสีของ
รังสีของแสง แสง 1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูป แสง
แสดงการ แสดง แบบออนไลน์ โดยโปรแกรม 2. หนังสือเรียน วิชา
เกิดเงามืด การเกิด Google Meet วิทยาศาสตร์และ
เงามัว เงามืด 1.2.ครูทบทวนความรู้เดิม เทคโนโลยี 6
เงามัว จากการแชร์ภาพ Power 3. ใบบันทึกกิจกรรม
(ว 2.3 point โดยใช้โปรกรม เรื่อง การเขียน
ป.6/8) Google Meet เกี่ยวกับ แผนภาพรังสีของ
เงา และตรวจสอบ แสง
ความรู้เดิมเกี่ยวกับกิจกรรม 4. คลิป วีดิโอการ
เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร โดยใช้ สอน เรื่อง การเขียน
คำถามดังนี้ แผนภาพรังสีของ
- จากรูปภาพที่แสดง เงามี แสง ใน google
กี่ประเภท อะไรบ้าง (เงามี 2 site
ประเภทคือ เงามืด เงามัว) 5.โทรศัพท์/
- นักเรียนใช้อะไรแทนการ คอมพิวเตอร์/เน็ต
เคลือนที่ของแสง (ตอบตาม 6.โปรแกรม Google
17

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ความเข้าใจของนักเรียน) meet
- แผนภาพของรังสี คือ
อะไร และเขียนแบบใด (ตอ
บตามความเข้าใจของ
นักเรียน
ขั้นที่ 2 O ขั้นสอนออนไลน์
ให้ความรู้ (Online
learning) / มอบหมาย
ภาระงาน (Online
assignment)
(40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบ
บันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง การเขียนแผนภาพรังสี
ของแสง ให้นักเรียนทาง
ห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้
โปรแกรมไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
ไลน์
2.2.คุณครูส่งลิงค์
17

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
Google site ให้นักเรียนไป
ศึกษาด้วยตัวเองโดยคุณครู
จะให้คำแนะนำ และคำ
ปรึกษาแก่นักเรียน
18

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบผล
การเรียนรู้ (Checking) 10
นาที
3.1.ครูจะตรวจใบ
บันทึกกิจกรรมที่นักเรียนส่ง
มาในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 พร้อมให้
คะแนนนักเรียนรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสักถาม
สะท้อนผลการเรียนรู้ (Q &
A Meeting) 20 นาที
4.1.หลังจากทำ
กิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วม
กันอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- แผนภาพรังสี คืออะไร
(เป็ นแผนภาพเส้นที่แสดง
ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
เขียนแทนด้วยเส้นตรงมีหัว
ลูกศร)
19

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
-แผนภาพรังสีของแสงเขียน
อย่างไร
4.2.เปิ ดโอกาสให้นักเรียน
สอบถามข้อสงสัยเพิ่มเติม
เกี่ยวกับ การเขียนแผนภาพ
รังสีของแสง
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง การ
เขียนแผนภาพรังสีของแสง
ในโน้ตไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 โดยครู
ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่
ยังไม่ส่งในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของนักเรียน
ที่ทำกิจกรรม พร้อมทั้งช่วย
เหลือแก้ไขปั ญหาในการทำ
19

ครั้งที่/ มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


เวลา การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
กิจกรรมให้นักเรียน
ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/
ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
19
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
4 ว 3.1 1 อธิบาย ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1.หนังสือเรียนวิชา
(2 ชั่วโ ป.6/1 การเกิด เรียนทักทาย (Greeting) วิทยาศาสตร์ และ
มง) สร้างแบบ และ (5 นาที) เทคโนโลยี 6
จำลองที่ เปรียบ 1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูป 2. ข้อสอบ google
อธิบายการ เทียบ แบบออนไลน์ โดย form
เกิดและ ปรากฏก โปรแกรม Google Meet 3.โทรศัพท์/คอมพิวเ
เปรียบ ารณ์ 1.2.ครูทบทวนความ ตอร์/เน็ต
เทียบ สุริยุปรา รู้เดิมจากการถามตอบ 4.โปรแกรม Google
ปรากฏการ คาและ โดยใช้โปรกรม Google meet
ณ์ จันทรุปร Meet เกี่ยวกับ
สุริยุปราคา าคาจาก ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา
และ แบบ และ จันทรุปราคา
จันทรุปราค จำลอง ขั้นที่ 2 O ขั้นสอน
า (ว 3.1 ออนไลน์ให้ความรู้
ป.6/1) (Online learning) /
มอบหมายภาระงาน
(Online assignment)
(40 นาที)
2.1. ครูส่งลิงค์ข้อสอบ
google form เรื่อง
ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา
และ จันทรุปราคา ให้
นักเรียนทางห้องเรียน
ออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม
ไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
19
ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/
ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
19
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
ครูจะเชิญนักเรียนเข้ามา
ประชุมออนไลน์ผ่าน
google meet เพื่อ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนและตอบข้อสงสัย
ในเนื้อหาการเรียนรู้ เพื่อ
นำไปปรับปรุงพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ในครั้งต่อไป
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจาก
ข้อสอบ เรื่อง
ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา
และ จันทรุปราคา ใน
google form โดยครู
ตรวจสอบรายชื่อนักเรียน
ที่ยังไม่ส่งใน google
form และรายงานชื่อคน
ที่ยังไม่สอบในกลุ่มไลน์
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
19
21

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
5 ว 3.1 ป.6/1 1. สร้าง ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท . สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ สร้างแบบ แบบ เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง สุริยุปราคา
มง) จำลองที่ จำลองที่ (5 นาที) 2. หนังสือเรียน วิชา
อธิบายการ อธิบาย 1.1.ครูใช้วิธีการ วิทยาศาสตร์และ
เกิดและ การเกิด สอนในรูปแบบออนไลน์ เทคโนโลยี 6
เปรียบ สุริยุปรา โดยโปรแกรม Google 3. ใบบันทึกกิจกรรม
เทียบ คา (ว Meet เรื่อง สุริยุปราคาเกิด
ปรากฏการ 3.1 1.2.ครูทบทวนความ ขึ้นได้อย่างไร
ณ์ ป.6/1) รู้เดิมจากการแชร์ภาพ 4. คลิป วีดิโอการ
สุริยุปราคา Power point โดยใช้ สอน เรื่อง
และ โปรแกรม Google Meet สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้
จันทรุปราค เกี่ยวกับ สุริยุปราคา และ อย่างไร
า ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยว ใน google sirte
กับกิจกรรม สุริยุปราคา 5.โทรศัพท์/คอมพิวเ
เกิดขึ้นได้อย่างไร โดยใช้ ตอร์/เน็ต
คำถามดังนี้ 6.โปรแกรม Google
- จากภาพที่แสดง meet
นักเรียนรู้หรือไม่มันคือ 7.อุปกรณ์การทำ
ปรากฎการณ์ใด (ตอบ กิจกรรม ประกอบ
ตามความเข้าใจของ ด้วย
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
นักเรียน) 1.กระดาษ A4 1
- นักเรียนรู้จัก แผ่น
สุริยุปราคาหรือไม่ แล้ว 2.คลิปดำหนีบ
มันเกิดขึ้นได้อย่างไร (ตอ กระดาษ 2 อัน
บตามความเข้าใจของ 3.ไฟฉาย หรือ
นักเรียน) ไฟฉายโทรศัพท์
ขั้นที่ 2 O ขั้นสอน 1 อัน
ออนไลน์ให้ความรู้ 4.ดินน้ำมันสีใดก็ได้
(Online learning) / 1 สี 5.
มอบหมายภาระงาน ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้
(Online assignment)
(40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบ
บันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้
อย่างไรให้นักเรียนทาง
ห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้
โปรแกรมไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
ไลน์
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
2.2. ครูชี้แจงให้
นักเรียนเตรียมอุปกรณ์
ก่อนคาบเรียน เพื่อที่จะ
นำมาปฎิบัติการทดลอง
ตามคลิป วีดิโอการ
ทดลอง เรื่อง สุริยุปราคา
เกิดขึ้นได้อย่างไร ดังนี้
ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/
ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
อุปกรณ์การทำกิจกรรม
ประกอบด้วย
1.กระดาษ A4 1 แผ่น
2.คลิปดำหนีบกระดาษ 2
อัน
3.ไฟฉาย หรือ ไฟฉาย
โทรศัพท์ 1 อัน
4.ดินน้ำมันสีใดก็ได้ 1 สี
5.ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
วิธีการทำกิจกรรม
1.พับกระดาษ A4 ครึ่ง
หนึ่ง แล้วนำคลิปมาหนีบ
กระดาษแล้วนำไปวาง
2.ปั้นดินน้ำมันเป็ นวงกลม
ขนาดกลาง แล้วใช้ใม้
เสียบลูกชิ้นเสียบแล้วตั้งไว้
โดยใช้ดินน้ำมันที่เหลือ
เป็ นฐาน
3.เปิ ดไฟฉายใส่วัตถุที่เรา
ปั้นไว้ จากนั้นลงจุดเงามืด
เงามัว และบริเวณที่ไม่มี
เงาไว้
4.นำไปเจาะรูบนกระดาษ
ตรงบริเวณที่เราลงจุดไว้
บริเวณละ 1 รู
5.สังเกตรูปร่างของแหล่ง
กำเนิดแสงผ่านแต่ละรูที่
เจาะไว้และบันทึกผล
2.3.คุณครูส่งลิงค์
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
Google site ให้นักเรียน
ไปศึกษาด้วยตัวเองโดย
คุณครูจะให้คำแนะนำและ
คำปรึกษาแก่นักเรียน
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้
(Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบ
บันทึกกิจกรรมที่นักเรียน
ส่งมาในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6
พร้อมให้คะแนนนักเรียน
รายบุคคล
ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/
ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
22
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
4.1.หลังจากทำ
กิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วม
กันอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- สุริยุปราคา เกิด
ขึ้นได้อย่างไร
(สุริยุปราคา เกิด
จากดวงจันทร์โคจรมาอยู่
ระหว่างโลกและดวง
อาทิตย์ในเส้นแนว
เดียวกัน)
- เมื่อสังเกตแหล่ง
กำเนิดแสงจากบริเวณ
เงามืด เงามัว และบริเวณ
ที่ไม่มีเงาจะมองลักษณะ
ของแสงจากไฟฉายแตก
ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
(แตกต่างกัน โดยรูที่เจาะ
บริเวณเงามืด จะมองไม่
เห็นไฟฉาย รูที่เจาะ
บริเวณเงามัว จะเห็น
ไฟฉายบางส่วน รูที่เจาะ
22
24

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
คนบนโลกที่อยู่บริเวณ
เงามืด เงามัว และนอก
บริเวณเงาของดวงจันทร์
จะมองเห็นปรากฏการณ์
สุริยุปราคาแตกต่างกัน
หรือไม่ อย่างไร
(แตกต่างกัน ตำแหน่งบน
พื้นโลกที่อยู่ในเขตใต้
เงามืดของดวงจันทร์จะ
มองเห็นดวงอาทิตย์มืดมิด
ทั้งดวงเรียกว่า สุริยุปราคา
เต็มดวง ท้องฟ้ าจะมืดไป
ชั่วขณะ ในขณะที่
ตำแหน่งบนพื้นโลกที่อยู่
ภายใต้เขตเงามัวจะมอง
เห็นดวงอาทิตย์ถูกบังไป
บางส่วน เรียกว่า
สุริยุปราคาบางส่วน
สำหรับการเกิดสุริยุปราคา
ในช่วงที่ดวงจันทร์อยู่ห่าง
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
จากโลกมากกว่าปกติ
ทำให้เงามืดของดวงจันท์
ทอดตัวไปไม่ถึงพื้นโลก
แต่ถ้าต่อขอบของเงามืด
ออกไปจนสัมผัสกับพื้นผิว
โลกจะเกิดเป็ นเขตเงามัว
ขึ้น ตำแหน่งที่อยู่ภายใต้
เขตเงามัวนี้จะมองเห็น
สุริยุปราคาวงแหวน ดวง
จันทร์มีขนาดเล็กกว่าดวง
อาทิตย์มาก แต่ที่เรามอง
เห็นดวงจันทร์บังดวง
อาทิตย์ได้มิด ก็เพราะดวง
จันทร์อยู่ใกล้โลกมากกว่า
ดวงอาทิตย์)
4.2.เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนสอบถามข้อสงสัย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สุริยุปราคา
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง
สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้
อย่างไร ในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ
นักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ต
ไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
ปั ญหาในการทำกิจกรรม
ให้นักเรียน
ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/
ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
22
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
6 ว 3.1 ป.6/1 1. สร้าง ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1. สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ สร้างแบบ แบบ เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง จันทรุปราคา
มง) จำลองที่ จำลองที่ (5 นาที) 2. หนังสือเรียน วิชา
อธิบายการ อธิบาย 1.1.ครูใช้วิธีการ วิทยาศาสตร์และ
เกิดและ การเกิด สอนในรูปแบบออนไลน์ เทคโนโลยี 6
เปรียบ จันทรุปร โดยโปรแกรม Google 3. ใบบันทึกกิจกรรม
เทียบ าคา (ว Meet เรื่อง จันทรุปราคา
ปรากฏการ 3.1 1.2.ครูทบทวนความ เกิดขึ้นได้อย่างไร
ณ์ ป.6/1) รู้เดิมจากการแชร์ภาพ 4. คลิปวีดิโอการ
สุริยุปราคา Power point โดยใช้โปร สอน เรื่อง
และ กรม Google Meet จันทรุปราคาเกิดขึ้น
จันทรุปราค เกี่ยวกับ จันทรุปราคา ได้อย่างไร
า และตรวจสอบความรู้เดิม ใน google site
เกี่ยวกับกิจกรรม 5.โทรศัพท์/คอมพิวเ
จันทรุปราคาเกิดขึ้นได้ ตอร์/เน็ต
อย่างไร โดยใช้คำถาม 6.โปรแกรม Google
ดังนี้ meet
- จากภาพที่แสดง 7. 7.อุปกรณ์การทำ
นักเรียนรู้หรือไม่มันคือ กิจกรรม ประกอบ
ปรากฎการณ์ใด (ตอบ ด้วย
ตามความเข้าใจของ 1.กระดาษ A4 1
นักเรียน) แผ่น
- นักเรียนรู้จัก 2.คลิปดำหนีบ
จันทรุปราคาหรือไม่ แล้ว กระดาษ 2 อัน
มันเกิดขึ้นได้อย่างไร 3.ไฟฉาย หรือ
(ตอบตามความเข้าใจของ ไฟฉายโทรศัพท์
22
27

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
อุปกรณ์การทำกิจกรรม
ประกอบด้วย
1.กระดาษ A4 1 แผ่น
2.คลิปดำหนีบกระดาษ 2
อัน
3.ไฟฉาย หรือ ไฟฉาย
โทรศัพท์ 1 อัน
4.ดินน้ำมันสีใดก็ได้ 1 สี
5.ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้
วิธีการทำกิจกรรม
1.สร้างแบบจำลอง
การเกิดจันทรุปราคาโดย
ปั้นดินน้ำมัน เส้นผ่าน
ศูนย์กลางประมาณ 4
เซนติเมตร
และ 1 เซนติเมตร
จากนั้นวางไฟฉายดิน
น้ำมันก้อนใหญ่และ
กระดาษ A4 ให้อยู่ระนาบ
เดียวกัน
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
2.เปิ ดไฟฉาย เลื่อน
ดินน้ำมันก้อนใหญ่ไป
ระหว่างไฟฉายกระดาษ
A4 ให้ดินน้ำมันบังแสง
ไฟฉาย
จนเกิดเงามืดและ
เงามัวอยู่บริเวรตรงกลาง
แผ่นกระดาษ
3.ค่อยๆเลือนดิน
น้ำมันก้อนเล็กเข้าไปใน
เงามัว และเงามืดของดิน
น้ำมันก้อนใหญ่ สังเกต
ลักษณะของ
แสงที่ตกลงบนดินน้ำมัน
ก้อนเล็ก เมื่ออยู่นอก
บริเวณเงา อยู่ในบริเวณ
เงา จนออกบริเวณเงาอีก
ด้านหนึ่ง แล้วบันทึกผล
2.3.คุณครูส่งลิงค์
Google site ให้นักเรียน
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ไปศึกษาด้วยตัวเองโดย
คุณครูจะให้คำแนะนำ
และคำปรึกษาแก่นักเรียน
28

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้
(Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบ
บันทึกกิจกรรมที่นักเรียน
ส่งมาในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 พร้อม
ให้คะแนนนักเรียนราย
บุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
4.1.หลังจากทำ
กิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วม
กันอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- จันทรุปราคา เกิด
ขึ้นได้อย่างไร
(จันทรุปราคาเกิดขึ้นจาก
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
การที่ดวงจันทร์โคจรมา
อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
กับโลกและดวงอาทิตย์
โดยมีโลกอยู่ระหว่างดวง
อาทิตย์และดวงจันทร์
ทำให้โลกบังแสงดวง
อาทิตย์ และเงาของโลก
ทอดไปยังดวงจันทร์)
- เมือเลือนดินน้ำมัน
เข้าไปในเงามืดและเงามัว
ของโลก ดินน้ำมันได้รับ
แสงแตกต่างกันหรือไม่
(แตกต่างกัน โดยในเงามัว
ดินน้ำมันจะยังคงได้รับ
แสงบางส่วน แต่ความ
สว่างจะลดลงจากขณะที่
อยู่นอกบริเวณงา เมื่อ
เลื่อนเข้าไปในเงามืดจะ
เห็นดินน้ำมันเป็ นเสี้ยว
โดยบริเวณส่วนมืดจะค่อย
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ๆ มากขึ้น ๆ จนมืดหมด
ทั้งก้อน)
29

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
- เมื่อดวงจันทร์โคจร
เข้าไปในบริเวณงามัวและ
เงามืดของโลก คนที่อยู่บน
โลกจะมองเห็นดวงจันทร์
แตกต่างกันหรือไม่ เพราะ
เหตุใด
(แตกต่างกัน โดยขณะที่
ดวงจันทร์อยู่ในเงามัว คน
บนโลกจะยังมองเห็นดวง
จันทร์เต็มดวงแต่ความ
สว่างลดลง และเมื่อดวง
จันทร์เริ่มสัมผัสเงามืด คน
บนโลกจะเริ่มมองเห็นดวง
จันทร์เว้าแหว่งหรือเป็ น
เสี้ยว และมีดไปทั้งดวง
เมื่อดวงจันทร์เข้าไปใน
เงามืดทั้งดวง)
- การเกิด
จันทรุปราคาบางส่วนและ
จันทรุปราคาในเงามัวแตก
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ต่างกันอย่างไร (แตกต่าง
กัน ขณะเกิดจันทรุปราคา
บางส่วน คนบนโลกจะ
มองเห็นดวงจันทร์เป็ น
เสี้ยว แต่ขณะเกิด
จันทรุปราคาในเงามัว คน
บนโลกจะยังคงมองเห็น
ดวงจันทร์เต็มดวงอยู่
เพียงแต่ความสว่างจะลด
ลง)
4.2.เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนสอบถามข้อสงสัย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
จันทรุปราคา
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง
จันทรุปราคาเกิดขึ้นได้
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
อย่างไร ในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ
นักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ต
ไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
30

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
- เมื่อดวงจันทร์โคจร
เข้าไปในบริเวณงามัวและ
เงามืดของโลก คนที่อยู่บน
โลกจะมองเห็นดวงจันทร์
แตกต่างกันหรือไม่ เพราะ
เหตุใด
(แตกต่างกัน โดยขณะที่
ดวงจันทร์อยู่ในเงามัว คน
บนโลกจะยังมองเห็นดวง
จันทร์เต็มดวงแต่ความ
สว่างลดลง และเมื่อดวง
จันทร์เริ่มสัมผัสเงามืด คน
บนโลกจะเริ่มมองเห็นดวง
จันทร์เว้าแหว่งหรือเป็ น
เสี้ยว และมีดไปทั้งดวง
เมื่อดวงจันทร์เข้าไปใน
เงามืดทั้งดวง)
- การเกิด
จันทรุปราคาบางส่วนและ
จันทรุปราคาในเงามัวแตก
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ต่างกันอย่างไร (แตกต่าง
กัน ขณะเกิดจันทรุปราคา
บางส่วน คนบนโลกจะ
มองเห็นดวงจันทร์เป็ น
เสี้ยว แต่ขณะเกิด
จันทรุปราคาในเงามัว คน
บนโลกจะยังคงมองเห็น
ดวงจันทร์เต็มดวงอยู่
เพียงแต่ความสว่างจะลด
ลง)
4.2.เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนสอบถามข้อสงสัย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
จันทรุปราคา
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง
จันทรุปราคาเกิดขึ้นได้
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
อย่างไร ในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ
นักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ต
ไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
31

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
7 ว 3.1 ป.6/1 1. ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1. สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ สร้างแบบ อธิบาย เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง สุริยุปราคา
มง) จำลองที่ การเกิด (5 นาที) และจันทรุปราคา
อธิบายการ และ 1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูป 2. หนังสือเรียน วิชา
เกิดและ เปรียบ แบบออนไลน์ โดย วิทยาศาสตร์และ
เปรียบ เทียบ โปรแกรม Google Meet เทคโนโลยี 6
เทียบ ปรากฏก 1.2.ครูทบทวนความรู้เดิม 3. ใบบันทึก
ปรากฏการ ารณ์ โดยใช้โปรแกรม Google กิจกรรม เรื่อง
ณ์ สุริยุปรา Meet เกี่ยวกับ สุริยุปราคาและ
สุริยุปราคา คาและ สุริยุปราคาและ จันทรุปราคาแตก
และ จันทรุปร จันทรุปราคา และตรวจ ต่างกันอย่างไร
จันทรุปราค าคา (ว สอบความรู้เดิมเกี่ยวกับ 4. คลิปวีดิโอการ
า 3.1 กิจกรรม สุริยุปราคาและ สอน เรื่อง
ป.6/1) จันทรุปราคา สุริยุปราคาและ
โดยใช้คำถามดังนี้ จันทรุปราคาแตก
- นักเรียน ต่างกันอย่างไร ใน
สามารถแยกสุริยุปราคา google site
และจันทรุปราคาได้ 5.
อย่างไร (ตอบตามความ คอมพิวเตอร์/โทรศั
เข้าใจของนักเรียน) พท์/อินเทอร์เน็ต
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 2 O ขั้นสอน 6. โปรแกรม
ออนไลน์ให้ความรู้ Google meet
(Online learning) /
มอบหมายภาระงาน
(Online assignment)
(40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบ
บันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง สุริยุปราคาและ
จันทรุปราคาแตกต่างกัน
อย่างไร
ให้นักเรียนทางห้องเรียน
ออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม
ไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
ไลน์
2.2.คุณครูส่งลิงค์
Google site ให้นักเรียน
ไปศึกษาด้วยตัวเองโดย
คุณครูจะให้คำแนะนำ
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้/


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรียนรู้
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
และคำปรึกษาแก่นักเรียน
33

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้
(Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบบันทึก
กิจกรรมที่นักเรียนส่งมา
ในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6
พร้อมให้คะแนนนักเรียน
รายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
4.1.หลังจากทำ
กิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วม
กันอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- ช่วงเวลาการเกิด
สุริยุปราคา และ
จันทรุปราคาเกิดช่วงเวลา
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ใด
(โดยช่วงเวลาเกิด
สุริยุปราคานั้น จะเกิดขึ้น
ช่วงกลางวัน ส่วนช่วงเวลา
การเกิดจันทรุปราคานั้น
เกิดตอนกลางคืน)
- สุริยุปราคาและ
จันทรุปราคาแตกต่างกัน
อย่างไร
(โดยหลักการของ
การเกิดสุริยุปราคา และ
จันทรุปราราคา จะเหมือน
กัน หลักการณ์คือ ส่วน
ประกอบของการเกิดมี
ดังนี้ ดวงจันทร์ โลก และ
ดวงอาทิตย์ ลักษณะการ
เกิด คือ โลกอยู่ตรงกลาง
ระหว่าง ดวงจันทร์ และ
ดวงอาทิตย์ โดยมีแนวเป็ น
เส้นตรง ดังนั้น เมื่อซึกโลก
22

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
อยู่ด้านมืดนั้น
33

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
โดยปกติจะเห็นดวงจันทร์
แต่ถ้าเมื่อมีการเรียงกัน
ตามลักษณะการเกิดแล้ว
จะทำให้ไม่สามารถเห็น
ดวงจันทร์ได้ชั่วขณะ และ
ในทางกลับกันของซีกโลก
ด้านสว่าง ดวงอาทิตย์จะ
มืดไปชั่วขณะเช่นเดียวกัน
สิ่งที่แตกต่าง คือการเกิด
ขึ้นนั้น เกิดกับดวงจันทร์
หรือ ดวงอาทิตย์ คือ ถ้า
เกิดขึ้นกับ ดวงจันทร์จะ
เรียกว่า จันทรุปราราคา
แต่ ถ้าเกิดขึ้นกับ ดวง
อาทิตย์จะเรียกว่า สุริยุ
ปราราคา)
4.2.เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนสอบถามข้อสงสัย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สุริยุปราคาและ
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
จันทรุปราคา
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง
สุริยุปราคาและ
จันทรุปราคาแตกต่างกัน
อย่างไร ในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ
นักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ต
ไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
ปั ญหาในการทำกิจกรรม
ให้นักเรียน
34
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
8 ว 3.1 ป.6/2 1. ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1.หนังสือเรียนวิ
(2 ชั่วโ อธิบาย อธิบาย เรียนทักทาย (Greeting) วิทยาศาสตร์
มง) พัฒนาการ พัฒนากา (5 นาที) เทคโนโลยี 6
ของ รของ 1.1.ครูใช้วิธีการ 2. ข้อสอบ goog
เทคโนโลยี เทคโนโล สอนในรูปแบบออนไลน์ form 3
อวกาศ ยีอวกาศ โดยโปรแกรม Google ศัพท์/คอมพิวเต
และยก จาก Meet น็ต 4.โป
ตัวอย่าง ข้อมูลที่ 1.2.ครูทบทวนความ รม Google me
การนำ รวบรวม รู้เดิมจากการถามตอบ
เทคโนโลยี ได้ (ว โดยใช้โปรกรม Google
อวกาศมา 3.1 Meet เกี่ยวกับ
ใช้ ป.6/2) เทคโนโลยีอวกาศ
ประโยชน์ 2. ยก ขั้นที่ 2 O ขั้นสอน
ในชีวิต ตัวอย่าง ออนไลน์ให้ความรู้
ประจำวัน การนำ (Online learning) /
จากข้อมูลที่ เทคโนโล มอบหมายภาระงาน
รวบรวมได้ ยีอวกาศ (Online assignment)
มาใช้ (40 นาที)
ประโยช 2.1. ครูส่งลิงค์
น์ในชีวิต ข้อสอบ google form
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ประจำ เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ
วัน จาก ให้นักเรียนทางห้องเรียน
ข้อมูลที่ ออนไลน์ โดยใช้
รวบรวม โปรแกรมไลน์ กลุ่มเรียน
ได้ วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
(ว 3.1 ไลน์
ป.6/2) ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้
(Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจคำ
ตอบที่นักเรียนส่งมาใน
google form พร้อมให้
คะแนนนักเรียนรายบุคคล
35

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
ครูจะเชิญนักเรียนเข้ามา
ประชุมออนไลน์ผ่าน
google meet เพื่อ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนและตอบข้อสงสัย
ในเนื้อหาการเรียนรู้ เพื่อ
นำไปปรับปรุงพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ในครั้งต่อไป
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจาก
ข้อสอบ เรื่อง เทคโนโลยี
อวกาศ ใน google form
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
นักเรียนที่ยังไม่ส่งใน
google form และ
รายงานชื่อคนที่ยังไม่สอบ
ในกลุ่มไลน์เรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
ปั ญหาในการทำกิจกรรม
ให้นักเรียน
36

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
9 ว 3.1 1. ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1. สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ ป.6/2 อธิบาย เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง พัฒนากา
มง) อธิบาย พัฒนากา (5 นาที) ของเทคโนโลยี
พัฒนาการ รของ 1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูป อวกาศ
ของ เทคโนโล แบบออนไลน์ โดย 2. หนังสือเรียน
เทคโนโลยี ยีอวกาศ โปรแกรม Google Meet วิทยาศาสตร์และ
อวกาศ จาก 1.2.ครูทบทวนความรู้เดิม เทคโนโลยี 6
และยก ข้อมูลที่ จากการแชร์ภาพ Power 3. ใบบันทึกกิจก
ตัวอย่าง รวบรวม point โดยใช้โปรแกรม เรื่อง เทคโนโลยี
การนำ ได้ Google Meet เกี่ยวกับ อวกาศมีการพัฒ
เทคโนโลยี (ว 3.1 เทคโนโลยีอวกาศ และ อย่างไร
อวกาศมา ป.6/2) ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยว 4. คลิปวีดิโอการ
ใช้ กับกิจกรรม เทคโนโลยี สอน เรื่อง
ประโยชน์ อวกาศ เทคโนโลยีอวกา
ในชีวิต โดยใช้คำถามดังนี้ การพัฒนาอย่าง
ประจำวัน - จากภาพที่แสดง ใน google site
จากข้อมูลที่ นักเรียนคิดว่าในภาพมี 5.
รวบรวมได้ เทคโนโลยีอวกาศกี่ชนิด คอมพิวเตอร์/โท
(ตอบตามความเข้าใจของ พท์/อินเทอร์เน็ต
นักเรียน) 6. โปรแกรม
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
- นักเรียนรู้หรือ Google meet
ไม่ เทคโนโลยีอวกาศมี
การพัฒนาอย่างไร (ตอบ
ตามความเข้าใจของ
นักเรียน)
ขั้นที่ 2 O ขั้นสอน
ออนไลน์ให้ความรู้
(Online learning) /
มอบหมายภาระงาน
(Online assignment)
(40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบ
บันทึกกิจกรรมการทดลอง
เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศมี
การพัฒนาอย่างไร
ให้นักเรียนทางห้องเรียน
ออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม
ไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
ไลน์
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
2.2.คุณครูส่งลิงค์
Google site ให้นักเรียน
ไปศึกษาด้วยตัวเองโดย
คุณครูจะให้คำแนะนำ
และคำปรึกษาแก่นักเรียน
37

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้
(Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบบันทึก
กิจกรรมที่นักเรียนส่งมา
ในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 พร้อม
ให้คะแนนนักเรียนราย
บุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
4.1.หลังจากทำ
กิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วม
กันอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- สิ่งสำคัญที่ทำให้
เทคโนโลยีอวกาศมีการ
พัฒนาจากอดีตมาจนถึง
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ปั จจุบัน
อย่างต่อเนื่องคืออะไร
(สิ่งที่ทำให้เทคโนโลยี
อวกาศมีการพัฒนามา
อย่างต่อเนื่อง คือ ความ
อยากรู้อยากเห็นเรื่อง
อวกาศของมนุษย์)
-กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้บน
โลกและกล้องโทรทรรศน์
ที่ใช้ในอวกาศเหมือน
และแตกต่างกันอย่างไร
(กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้บน
โลกและกล้องโทรทรรศน์
ที่ใช้ในอวกาศเหมือนกัน
ตรงที่สามารถใช้สำรวจ
สิ่งด่าง ๆ ในอวกาศได้ แด่
แตกต่างกันที่
กล้องโทรทรรศน์อวกาศ
สามารถเก็บภาพได้อย่าง
ชัดเจนกว่าเนื่องจากโคจร
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
อยู่เหนือชั้นบรรยากาศ
ของโลก โดยที่ไม่มีชั้น
บรรยากาศมาบดบัง
เหมือนกับ
กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้บน
โลก)
38

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
- เทคโนโลยีอวกาศใด
ทำให้เกิดการพัฒนา
เทคโนโลยีอวกาศจากบน
โลก
สู่นอกโลกได้ เหตุใดจึง
เป็ นเช่นนั้น
(จรวด เพราะการส่งสิ่ง
ต่าง ๆ ออกไปนอกโลก
เพื่อสำรวจอวกาศทั้ง
ดาวเทียม ยานอวกาศ
ยานขนส่งอวกาศ และสิ่ง
อื่นๆ ต้องใช้จรวดนำขึ้น
ไป)
4.2.เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนสอบถามข้อสงสัย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
พัฒนาการของเทคโนโลยี
อวกาศ
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง
เทคโนโลยีอวกาศมีการ
พัฒนาอย่างไร ในโน้ตไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์
ป.6 โดยครูตรวจสอบราย
ชื่อนักเรียนที่ยังไม่ส่งใน
โน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
ปั ญหาในการทำกิจกรรม
ให้นักเรียน
39

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
10 ว 3.1 1. ยก ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บท 1. สไลด์การสอน
(2 ชั่วโ ป.6/2 ตัวอย่าง เรียนทักทาย (Greeting) เรื่อง เทคโนโลยี
มง) อธิบาย การนำ (5 นาที) อวกาศในชีวิต
พัฒนาการ เทคโนโล 1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูป ประจำวัน
ของ ยีอวกาศ แบบออนไลน์ โดย 2. หนังสือเรียน
เทคโนโลยี มาใช้ โปรแกรม Google Meet วิทยาศาสตร์และ
อวกาศ ประโยช 1.2.ครูทบทวนความรู้เดิม เทคโนโลยี 6
และยก น์ในชีวิต จากการแชร์ภาพ Power 3. ใบบันทึกกิจก
ตัวอย่าง ประจำ point โดยใช้โปรกรม เรื่อง เทคโนโลยี
การนำ วัน จาก Google Meet เกี่ยวกับ อวกาศในชีวิต
เทคโนโลยี ข้อมูลที่ เทคโนโลยีอวกาศ และ ประจำวัน
อวกาศมา รวบรวม ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยว 4. คลิปวีดิโอการ
ใช้ ได้ กับกิจกรรม เทคโนโลยี สอน เรื่อง
ประโยชน์ (ว 3.1 อวกาศ โดยใช้คำถามดังนี้ เทคโนโลยีอวกา
ในชีวิต ป.6/2) - จากภาพที่แสดง ชีวิตประจำวันใน
ประจำวัน นักเรียนคิดว่าดาวเทียม google meet
จากข้อมูลที่ เป็ นประโยชน์ต่อมนุษย์ 5.
รวบรวมได้ ด้านใดบ้าง (ตอบตาม คอมพิวเตอร์/โท
ความเข้าใจของนักเรียน) พท์/อินเทอร์เน็ต
- เทตโนโลยีใดบ้างที่ 6. โปรแกรม
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
พัฒนามาจากเทคโนโลยี Google meet
อวกาศ (ตอบตามความ
เข้าใจของนักเรียน)
ขั้นที่ 2 O ขั้นสอน
ออนไลน์ให้ความรู้
(Online learning) /
มอบหมายภาระงาน
(Online assignment)
(40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบบันทึก
กิจกรรมการทดลอง เรื่อง
เทคโนโลยีอวกาศในชีวิต
ประจำวัน ให้นักเรียนทาง
ห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้
โปรแกรมไลน์ กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ต
ไลน์
2.2.คุณครูส่งลิงค์
Google site ให้นักเรียน
ไปศึกษาด้วยตัวเองโดย
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
คุณครูจะให้คำแนะนำและ
คำปรึกษาแก่นักเรียน
40

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบ
ผลการเรียนรู้
(Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบ
บันทึกกิจกรรมที่นักเรียน
ส่งมาในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6
พร้อมให้คะแนนนักเรียน
รายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสัก
ถามสะท้อนผลการเรียนรู้
(Q & A Meeting) 20
นาที
4.1.หลังจากทำ
กิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วม
กันอภิปรายผลการทำ
กิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
-ดาวเทียมเป็ นเทคโนฺโลยี
อวกาศที่ให้ประโยชน์ต่อ
มนุษย์ในด้านใดบ้าง
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
(ดาวเทียมเป็ นสิ่งที่มนุษย์
ส่งขึ้นไปโคจรรอบโลก มี
ประโยชน์ทั้งด้านการ
สื่อสาร การกำหนด
ตำแหน่งทิศทางบนโลก
การสำรวจทรัพยากรบน
โลก การศึกษา
ดาราศาสตร์ รวมทั้งงาน
อุตุนิยมวิทยา)
- เทคโนโลยีใดบ้างที่
พัฒนามาจากเทคโนโลยี
อวกาศเพื่อนำมาใช้บน
โลกและมีหลักการในการ
พัฒนาอย่างไร
(เทคโนโลยีที่พัฒนามา
จากเทคโนโลยีอวกาศมี
หลายอย่าง เช่น ผ้าห่ม
อวกาศเป็ นการนำจุดเด่น
ของฉนวนหุ้มยานอวกาศ
ที่เบาและเป็ นฉนวนความ
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ร้อนมาประยุกต์ใช้ (นักเรี
ยนสามารถยกตัวอย่าง
เทคโนโลยีอวกาศอื่นได้))
41

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
- จัดกลุ่มเทคโนโลยี
บนโลกที่พัฒนามาจาก
เทคโนโลยีอวกาศได้
อย่างไรบ้างและใช้เกณฑ์
อะไรในการจัดกลุ่ม (นักเรี
ยนตอบตามผลการจัด
กลุ่มตามเกณฑ์ที่ตนเอง
กำหนด เช่น จัดโดยใช้
ประเภทการใช้งานเป็ น
เกณฑ์ จะจัดได้ 3 กลุ่ม
ได้แก่ กลุ่มเทคโนโลยีด้าน
สุขภาพ กลุ่มเทคโนโลยี
ด้านการกู้ภัย และกลุ่ม
เทคโนโลยีด้านการสำรวจ)
4.2.เปิ ดโอกาสให้
นักเรียนสอบถามข้อสงสัย
เพิ่มเติมเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีอวกาศในชีวิต
ประจำวัน
34

ครั้ง มาตรฐาน จุด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้


ที่/ การเรียน ประสงค์ แหล่งการเรีย
เวลา รู้/ตัวชี้วัด การเรียน
รู้
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตาม
ประเมินผล (Following
Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบ
บันทึกกิจกรรม เรื่อง
เทคโนโลยีอวกาศในชีวิต
ประจำวัน ในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
โดยครูตรวจสอบรายชื่อ
นักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ต
ไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของ
นักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
ปั ญหาในการทำกิจกรรม
ให้นักเรียน
42

2.2 เงา อุปราคา และ เทคโนโลยีอวกาศ (กระทรวงศึกษาธิการ.


(2560).)
- เมื่อมีวัตถุทึบแสงมากั้นทางเดินของแสงจะเกิดเงาบนฉากเงา
แบ่งออกเป็ นเงามืดและเงามัว โดยเงามืดเป็ นบริเวณที่ไม่มี
แสงตกลงมาบนฉากเลย ส่วนเงามัว เป็ นบริเวณที่มีแสงบาง
ส่วนตกลงบนฉากเราสามารถเขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดง
การเกิดเงามืดและเงามัวของวัตถุได้
- เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับดวง
อาทิตย์ในระยะทางที่เหมาะสมทำให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์
เงาของดวงจันทร์ทอดมายังโลก ผู้สังเกตที่อยู่บริเวณเงาจะมอง
เห็นดวงอาทิตย์มืดไป เกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา ซึ่งมีทั้ง
สุริยุปราคาเต็มดวงสุริยุปราคาบางส่วน และสุริยุปราคา
วงแหวน หากดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรง
เดียวกันกับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลก
จะมองเห็นดวงจันทร์มืดไป เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคา ซึ่งมี
ทั้งจันทรุปราคาเต็มดวง และจันทรุปราคาบางส่วน
- เทคโนโลยีอวกาศเริ่มจากความต้องการของมนุษย์ในการ
สำรวจวัตถุท้องฟ้ าโดยใช้ตาเปล่ากล้องโทรทรรศน์ และได้
พัฒนาไปสู่การขนส่งเพื่อสำรวจอวกาศด้วยจรวดและยาน
ขนส่งอวกาศและยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปั จจุบันมีการนำ
เทคโนโลยีอวกาศบางประเภทมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
43

การค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพเป็ นการค้นหาข้อมูลที่ตรง
ตามความต้องการและรวดเร็ว ใช้เทคโนโลยีสารสน
สารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย

2.3 การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF

ปรียาดา ทะพิงค์แก และคณะ (2564) กระบวนการจัดการ


เรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF เป็ นกระบวนการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ที่เกิดขั้นจากการพัฒนานวัตกรรมโดย
กระบวนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพที่ครูมีส่วนร่วม (PLC) โรงเรียนบ้าน
สันป่ าสัก สพป.เชียงใหม่ เขต 4 ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
1) Step 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting) เป็ นขั้น
ตอนที่ครูจะทักทายนักเรียน ผ่าน Application อาทิ Line หรือ
Facebook เพื่อให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้ออนไลน์
ให้นักเรียนทยอยเข้าชั้นเรียน
2) Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online Learning)
/ มอบหมายภาระงาน (Online Assignment) ขั้นตอนนี้เป็ นขั้น
ตอนสำคัญที่นักเรียนจะได้รับความรู้โดยครูอาจจะมอบหมาย
ภาระงานหรือ สอนให้ความรู้แก่นักเรียนผ่าน Application ใดๆ
ตามที่คุณครูและนักเรียนมีความพร้อม อาทิ Google classroom
คุณครูอาจจะเตรียมคลิปการสอนให้นักเรียนดูค่ะ
3) Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking) เป็ นขั้น
ตอนที่จะตรวจสอบความรู้ว่า นักเรียนเข้าใจบทเรียนหรือไม่ ซึ่งครู
43

อาจจะหมายงานหรือข้อสอบให้นักเรียนทำ จากนั้นครูตรวจสอบ
งาน นักเรียนแล้วให้คะแนน
4) Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A
Meeting) ในขั้นตอนนี้ครูจะ เชิญนักเรียนเข้ามาประชุมออนไลน์
ผ่าน Application อาทิ google meet สำหรับให้ครูและนักเรียน
ประชุม ออนไลน์ร่วมกัน สอบถามปั ญหาของนักเรียนและตอบข้อ
สงสัยในเนื้อหาการเรียนรู้ เพื่อนำไปปรับปรุง พัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ในครั้งต่อไป
5) Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up) ขั้นนี้
เป็ นการติดตามประเมินผลเพื่อให้ สามารถนำผลการจัดการเรียนรู้
ไปปรับปรุงและติดตามนักเรียนที่ยังไม่เข้าใจบทเรียน โดยครูตรวจ
สอบรายชื่อ นักเรียนที่ยังไม่ได้ทำงานส่งผ่าน Application google
classroom แล้วติดตามนักเรียน อาทิ ผ่าน Application Line ซึ่ง
ครูอาจจะเสริมแรงโดยการกล่าวชมเชยนักเรียนที่ทำภารกิจที่ได้รับ
มอบหมายครบ และ สอบถามปั ญหาของนักเรียนที่ทำมีปั ญหาใน
การทำกิจกรรม พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาในการทำกิจกรรม
ให้นักเรียน จากที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า ในการจัดการเรียนรู้โดย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF เป็ นรูปแบบ
การเรียนการสอนหนึ่งที่ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครูผู้
สอนมากขึ้น เพื่อนำ ประสบการณ์ใหม่ ปรับให้เข้ากับประสบการณ์
เดิม หรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง โดยมีครูคอยช่วยเหลือ
และอำนวยความสะดวก
43

สรุป ในการทำวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกการจัดการเรียนรู้ด้วย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ออนไลน์ 5 steps GOCQF มาใช้ในการ
ทำวิจัยในชั้นเรียนเพราะเหมาะสมกับสังคมปั จจุบัน

2.4. สื่อวิดีทัศน์
2.4.1. ความหมายสื่อวิดีทัศน์
วีดีทัศน์ หมายถึง สิ่งที่สามารถบันทึกได้ทั้งภาพและเสียง หลัง
จากบันทึกสัญญาณภาพและเสียงแล้ว สามารถนำไปใช้งานได้ทันที
สามารถใช้ทบทวนเนื้อหาได้หลาย ๆ ครั้งเพื่อศึกษาบทเรียนให้มี
ความรู้ความเข้าใจมาก ขึ้น อีกทั้งยังเป็ นสื่อที่ถ่ายทอดเรื่องราวไปยัง
ผู้ชมจำนวนมากในเวลาเดียวกันได้เป็ นอย่างดีผู้ชมสามารถรับรู้
สถานการณ์ต่างๆ ได้โดยการรับสัมผัสทางตาและหู (จิตาภรณ์
ชั่งกริส (2559:18))
สรุปได้ว่า วิดีทัศน์ คือ สิ่งที่สามารถบันทึกได้ทั้งภาพและเสียง
หลังจากบันทึกภาพและเสียงแล้วสามารถนำไปใช้ทันที และยัง
สามารถใช้ทบทวนเนื้อหาได้หลายๆครั้ง
44

2.4.2 ความสำคัญสื่อวิดีทัศน์
วีดีทัศน์การเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหา
ในหัวข้อได้ง่ายขึ้นนั้นไม่สอดคล้องกับความต้องการผู้สอนและความ
ต้องการของนักเรียนเสมอไป ในบางระบบ วิดีโอการสอนจะใช้เป็ น
สื่อประกอบสำหรับเอกสารแจกเท่านั้น ไม่ได้จัดเตรียมอย่างมือ
อาชีพเพื่อนำเสนอเนื้อหาอย่างละเอียด (Yudianto, 2017: 234)
หน้าที่ของวีดีทัศน์นอกจากจะเป็ นสื่อในการให้ข้อมูลและความ
บันเทิงแล้ว ยังสามารถใช้เป็ นสื่อการเรียนรู้ได้อีกด้วย เป้ าหมายคือ
นักเรียนจะยอมรับและเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้นว่ามี
ประโยชน์ที่เป็ นรูปธรรมต่อนักเรียน (Taslibeyaz et al., 2017,
Lawlor and Donnelly, 2010, Ramloganet al., 2014,
Schneps et al., 2010)
สรุปได้ว่า วีดีทัศน์นอกจากจะเป็ นสื่อในการให้ข้อมูลและ
ความบันเทิงแล้ว ยังสามารถใช้เป็ นสื่อการเรียนรู้ได้อีกด้วย
2.4.4.ขั้นตอนการผลิตสื่อวีดีทัศน์
มี 5 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นตอนการวางแผน (Planning) เป็ นขั้น
ตอนที่ผู้ผลิตหาแนวคิดลักษณะการนำเสนอสื่อวีดีทัศน์ เวลาในการ
สร้างสร้างนานเท่าไร ความยาวของสื่อวีดีทัศน์กี่นาที หรือกี่ตอนจบ
และแยกเป็ นรายละเอียดย่อย ๆ ได้ ดังนี้
1.1 วิเคราะห์เนื้อหาของสื่อวีดีทัศน์ เป็ นกระบวนการหา
ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องทำ สื่อวีดีทัศน์ ว่าข้อเท็จ
จริงอย่างไร ซึ่งข้อมูลนั้นอาจเป็ นงานวิจัยหรือรายงานของหน่วยงาน
เอกสารตำรา หรือการไปดูจากสถานที่ จริงเพื่อให้น่าเชื่อถือ
45

1.2 วิเคราะห์ผู้ชมหรือกลุ่มเป้ าหมายว่าเป็ นใคร อายุเท่าไร


อยู่ในระดับใดวัยใด การศึกษาอยู่ใน ระดับใด เพื่อให้สื่อวีดีทัศน์ที่
ออกมาบรรลุวัตถุประสงค์
1.3 กำหนดจุดประสงค์ เป็ นการคาดหมายว่าผู้ชมได้ดูสื่อ
วีดีทัศน์แล้วได้ความรู้อะไร ทำอะไร ได้บ้าง เกิดค่านิยมอย่างไร
1.4 การเขียนบท เป็ นการมอบหมายให้ผู้เขียนบทนำเรื่อง
ราวมาลำดับภาพกับเสียงให้มีความ ต่อเนื่องสัมพันธ์กันและเป็ นไป
ตามวัตถุประสงค์ ผู้เขียนบทจึงต้องมีความสามารถที่จะ
เปลี่ยนแปลงเนื้อหาเรื่องราว ออกมาเป็ นภาพและเสียงได้อย่าง
ชัดเจน
2. ขั้นเตรียมการ (Preparation) เมื่อวางแผนเรียบร้อยแล้ว
ก่อนลงมือจริง ต้องจัดเตรียมสิ่งของ ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความพร้อม
ได้แก่
2.1 เตรียมบุคลากร
2.2 เตรียมวัสดุอุปกรณ์
2.3 เตรียมสถานที่ถ่ายทำ
2.4 เตรียมผู้แสดง
2.5 เตรียมงานกราฟิ กที่นำมาใช้ประกอบสื่อวีดีทัศน์
2.6 เตรียมฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก
3. ขั้นดำเนินการผลิต (Production)
4. ขั้นตัดต่อ (Post Production) สื่อวีดีทัศน์ที่ถูกถ่ายทำไว้
แล้ว จะถูกนำมาตัดต่อให้เป็ นสื่อวีดีทัศน์ ที่สมบูรณ์ โดยใช้เครื่องตัด
ต่อโดยเฉพาะหรือใช้คอมพิวเตอร์ช่วยตัดต่อ ซึ่งทำให้ได้เทคนิค
พิเศษซับซ้อนยิ่งขึ้น ประโยชน์ของการตัดต่อ คือ สามารถสอด
45

แทรกงานกราฟิ กเข้าไปในรายการและยังใช้เสียงดนตรีและเสียง
ประกอบ เข้าไปในวีดีทัศน์ที่เป็ นดิจิทัลไฟล์ได้อีกด้วย
5. ขั้นประเมินผลรายการ (Evaluation) การประเมินผล
รายการจะทำหลังจากที่แพร่ภาพ โดย ประเมินจากผู้ดูหรือผู้
เชี่ยวชาญ เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพและความเหมาะสม (ประทิน
คล้ายนาค. (2550))
2.4.5 ลักษณะของวิดีทัศน์
สำหรับประเภทของสื่อวีดทัศน์เพื่อการศึกษา สามารถจำแนก
ออกได้เป็ น 2 ประเภท (จิตราภรณ์ ชั่งกริส.2559:
19) คือ
1. วีดีทัศน์ความรู้ทั่วไป คือ การให้ความรู้เรื่องที่อยู่ในชีวิต
ประจำวัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แง่คิด คติสอนใจในการดำเนิน
ชีวิต เป็ นสื่อที่ใช้ในการสอนเสริมเพื่อประกอบเนื้อหาในการจัดการ
เรียนรู้
2. วีดีทัศน์การสอน คือ การให้ความรู้ที่มีความเฉพาะเจาะจง
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้
ซึ่งมีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรการเรียนในระดับชั้นใดระดับชั้น
หนึ่ง มีการออกแบบให้ตรงกับกับบทเรียนที่นักเรียนต้องศึกษาและ
เรียนรู้
สรุปได้ว่า เอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้เรียนอย่างกว้างขวางตาม
บุคลิกภาพของผู้เรียน นักเรียน
สามารถเรียนรู้ตามความสามารถของตน เป็ นการจูงใจ
2.4 6 คุณค่าและประโยชน์ของวิดีทัศน์
45

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา (2546) กล่าวถึง ข้อดีของวิดีทัศน์เพื่อการ


ศึกษา คือ
1. สามารถใช้ได้กับผู้เรียนกลุ่มใหญ่และกลุ่มเล็ก
2. สามารถฉายซ้ำเมื่อผู้เรียนเกิดความไม่เข้าใจ
3. แสดงการเคลื่อนไหวประกอบเสียงที่ให้ภาพและความรู้สึก
เหมือนจริงที่สุด
4. สามารถใช้ในกรณีที่มีบริเวณและเวลาจากัด
46

กิดานันท์ มลิทอง (2548, น.25) ได้กล่าวถึง ข้อดีของวิดีทัศน์


ของการเรียนการสอนหรือ คือ สามารถเลือกดูภาพตามที่
ต้องการได้ โคยการบังกับเทปให้เลื่อนเดินหน้า ถอยหลัง ดูภาพช้า
สามารถหยุดคูเฉพาะภาพก็ได้ และในเครื่องเล่นวิดีทัศน์บางชนิดยัง
สามารถทำได้ในห้องสตูดิโอหรือภายในห้องปฏิบัติการสามารถตัด
ส่วนที่ไม่ต้องการหรือเพิ่มเติมส่วนใหม่ลงไปได้ จากความสำคัญของ
วิดีทัศน์ในการเรียนการสอน
สรุป วีดีทัศน์เป็ นสื่อที่นำเสนอได้ทั้งภาพเสียงที่สมจริงไป
พร้อมกัน ง่ายต่อการควบคุมและดัดแปลงแก้ไข พร้อมทั้งสามารถ
เอาสื่อหลากหลาย เช่น อินเตอร์เน็ต เป็ นต้น ชนิดไว้ในวิดีทัศน์เพียง
ชนิดเดียว ทำให้ดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ และยังสามารถเปิ ด
ชมได้ทุกที่ทุกเวลาโดยใช้โทรทัศน์ มือถือ คอมพิวเตอร์
2.4.7 รูปแบบของวิดีทัศน์
Howell (1970, p.7 กว่าวถึงลักษณะพิเศษของบทเรียน
โทรทัศน์ ว่ามีคุณสมบัติ
ครบถ้วนทางโสตทัศน์ศึกษา คือการกล่าวถึง ทั้งสัมผัสตาและหู
สามารถสร้างประสบการณ์รูปแบบต่างๆ
เกศินี โชติกเสนียร์ (2536, น.182-183 ) แบ่งเป็ น 3 ประเภท
1. รูปแบบรายการเพื่อการสอน เป็ นรายการสำหรับการเรียน
การสอนตามหลักการสูตร รูปแบบรายการจูงใจในกลุ่มเป้ าหมายผู้
ชม
2. รายการเพื่อการเรียน จะเหมือนกันข้อ 1 แต่ต้องความ
จูงใจผู้ชมมากกขึ้น ผู้ชมจะติดตาม ไม่รู้สึกว่าผลิตมาสอนตน
45

3. เพื่อเผยแพร่ข่าว เป็ นรายการมุ่งสู่เทคโนโลยีสารสนเทศแก่


ประชาชน
สรุปได้ว่า คนที่เรียนรู้ด้วยตนเองจะเรียนอย่างตั้งใจ มีจุดมุ่ง
หมาย และมีแรงจูงใจ
สามารถได้รับ ประ โยชน์จากการเรียนรู้ได้ดีกว่าและยาวนาน
กว่าบุคคลที่รอรับคำสอนคนที่เรียนรู้ด้วยการริเริ่มของตนเอง
2.4.8. ประเภทของวิดีทัศน์
วิจิตร ภัคดีรัตน์ (2525, น.74-75) ได้กล่าวถึงการเรียนรู้ที่
สมบูรณ์จะต้องมีประเภทของ
การเรียนร่วมอยู่อย่างน้อย 3 ประเภท คือ
1. ความรู้ หมายถึงความรู้ในรายละเอียดข้อเท็จจริง ความรู้
ในกระบวนการ หลักการในด้านนี้วิดีทัศน์ทำได้ดี เพราะสามารถสน
อภาพนิ่งอันมีรายละเอียดให้พิจารณาได้ เสนอการเคลื่อนไหวเน้น
ความรู้ในกระบวนการสามารถนำเอาตัวอย่างเข้ามาให้ผู้เรียนได้มอง
เห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ สามารถสรุปให้เป็ นหลักการ นำ
ความรู้ หรือหลักการต่างๆ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
47

2. ทัศนคติ วิดีทัศน์มีทั้งภาพและเสียง สามารถที่จะนำ


สภาพที่เป็ นจริงเข้ามาให้ผู้เรียนเห็นได้ และสามารถกระตุ้นอารมณ์
ได้ดี อารมณ์ร่วมเป็ นจุดสำคัญในการก่อให้เกิดทัศนคติความซาบซึ้ง
และค่านิยม นับว่าเป็ นแรงที่ทำให้เกิดพฤติกรรมของมนุษย์
3. ทักษะวิดีทัศน์สอนทักษะได้ดี เพราะสามารถเสนอขั้นตอน
ต่างๆ ให้คนปฏิบัติตามได้ หรือเข้าใจได้ สามารถสาธิตขั้นตอนต่างๆ
ให้ผู้ดูเห็นได้ชัดเจน สามารถฉายให้เห็นส่วนที่ต้องการ ให้เห็น
สามารถทำให้การเคลื่อนไหวเร็วหรือช้าลงได้
วสันต์ อดิศัพท์ (2533, น.14) ได้จำแนกรายการโทรทัศน์เพื่อ
การศึกษา ออกเป็ น 2 ประเภท ตามลักษณะของรายการได้แก่
1. รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (Education television:
ETV) รายการประเภทนี้มุ่งส่งเสริมการให้ความรู้ทั่วไปในด้านต่างๆ
แก่ผู้ชม เช่น สารคดี คนตรี วรรณกรรม ภาษา วิทยาศาสตร์
เกษตรกรรม ฯลฯ
2. รายการโทรทัศน์เพื่อการสอน (Instructional
television : ITV) รายการประเภทนี้เน้นในเรื่องของการเรียนการ
สอนแก่กลุ่มผู้ชมบางกลุ่มโดยตรง ใช้ได้ทั้งการสอนเนื้อหาทั้งหมด
เป็ นหลัก และการสอนเสริม มักจะเป็ นรายการที่ครอบคลุม
กระบวนการเรียนที่สมบูรณ์ตั้งแต่วางวัตถุประสงค์ กระบวนการ
เรียนการสอน และการวัดผล ใช้ได้ทั้งภายในสถานศึกษาโดยตรง
หรือการศึกษาระบบเปิ ด เช่น รายการโทรทัศน์ของมหาวิทยาลัยร้า
มคำแหง และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
45

สรุปได้ว่า กิจกรรมนี้เพื่อการพัฒนาความรู้ ของผู้เรียนรู้ให้


เข้าใจได้ดีขึ้นให้ ผู้เรียนมีประสิทธิภาพในการทำกิจกรรมฝึ กต่างๆ
ไม่น่าเบื่อเพื่อช่วยให้นักเรียนรู้เข้าใจถึงบทเรียนมากยิ่งขึ้น
2.4.9 การประเมินวิดีทัศน์
ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2520, น.32) กล่าวว่าระดับประสิทธิภาพ
ของชุดการจัดการเรียนรู้ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ เป็ นระดับที่ผู้ผลิตชุดการจัดการเรียนรู้จะถึงพอใจว่า หากชุด
การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพถึงระดับนั้นแล้ว ชุดการจัดการ
เรียนรู้นั้นก็มีคุณค่าที่จะนำไปสอนนักเรียนและคุ้มค่าแก่การลงทุน
ผลิตออกมาเป็ นจำนวนมาก
2.4.10 การนำวิดีทัศน์ไปใช้
ไพโรจน์ ตีรณธนากุล และคณะ (2528, น.67-78) ได้กล่าวว่า
การนำไปใช้ (utilization of program) เมื่อเทปดังกล่าวได้ฉาย
ทดลองให้บุคคลเกี่ยวข้องตลอดจนกลุ่มตัวอย่างของกลุ่มเป้ าหมาย
และแก้ไขเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว นำเอาเทปวิดีทัศน์ดังกล่าวไปฉายกับ
กลุ่มเป้ าหมายซึ่งอาจจะเป็ นการฉายในห้องเรียนหรือห้องเรียนก็ได้
สุโชติ คาวสุโข (2529, น.6 - 7) เสนอแนะขั้นตอนการใช้แถบ
วิดีทัศน์เพื่อการเรียน
การสอนให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์และเกิดประสิทธิภาพไว้
ดังนี้
48

1. วางแผนการใช้ล่วงหน้าในการสอนทุกครั้งจะต้องมี
การเตรียมแผนการสอนให้ดีเหมาะสมกับเนื้อหาสาระวางแผนการ
ใช้สื่อระหว่างการสอบว่าจะใช้แถบวิดีทัศน์เมื่อใจและเวลาใด
2. ศึกษาเนื้อหาและดูรายการก่อนใช้ เมื่อได้แถบวิดีทัศน์แล้ว
ก่อนนำไปใช้ควรที่จะต้องดูเสียก่อนเกี่ยวกับเนื้อหาสาระของเรื่อง
นั้นๆ ว่าตรงกับเนื้อหาที่จะสอนหรือไม่
3. ให้พื้นฐานที่จำเป็ นในการนาไปใช้ ก่อนการใช้เทปโทรทัศน์
เพื่อการสอน อาจจำเป็ น ให้พื้นฐานหรือประสบการณ์บางอย่าง
เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องในเทปโทรทัศน์ดีขึ้น
4. บอกส่วนสำคัญที่ควรสังเกตเป็ นพิเศษระหว่างชม ก่อนการ
ฉายเทปโทรทัศน์การสอน ควรบอกส่วนสำคัญที่ต้องการ
ให้ผู้ชมสังเกตเป็ นพิเศษ หรือบอกความหมายของคำ หรือภาษาที่ใช้
ในรายการนั้นๆ เพื่อให้ผู้ชมสังเกตและเข้าใจได้ง่าย
5. ใช้ประสมประสานกับสื่อชนิดอื่นๆ เพื่อเสริมความเข้าใจใน
การใช้สื่อประสมประสาน จะทำให้การสื่อความหมาย
สมบูรณ์มากขึ้น เนื่องจากสื่อแต่ละประเภทมีลักษณะพิเศษและ
ศักยภาพต่างกันไป ย่อมเสริมความเข้าใจของผู้เรียนได้ดี
6. มีการตรวจสอบความเข้าใ จ แนวความคิด และจุดเน้นที่
สำคัญ เมื่อได้ใช้แถบวิดีทัศน์ไปแล้ว ควรจะมีการสอบถามความ
เข้าใจของผู้ชม หากพบว่าเข้าใจผิด ควรรีบแก้ไขหรือฉายซ้ำทบทวน
ใหม่ในส่วนที่ผู้ชมสำคัญผิดนั้น
7. มีกิจกรรมต่อเนื่องที่สัมพันธ์กับเนื้อหา การเสริมความ
เข้าใจ และเพิ่มทักษะนั้นย่อมขึ้นอยู่กับกิจกรรมต่อเนื่องที่ได้จัดให้มี
49

ขึ้น เพื่อที่ผู้เรียนแล้วจะได้ฝั งใจจำอย่าง ไม่ลืมเลือนในสิ่งที่ได้รับ


ข่าวสารไปแล้วนั้น
สรุปว่า การศึกษาเพื่อสร้างสรรค์เป็ นสิ่งจำเป็ นในสังคม
ปั จจุบัน เพราะผู้เรียนในปั จจุบัน
ไม่มีคิดสร้างสรรค์ในการเริ่มสิ่งใหม่ๆ
กาญจนา ตุ่นคำแดง (2554) กล่าวไว้ว่า การพัฒนาสื่อวิดีทัศน์
เป็ นการสร้างงานสามมิติ
ที่มีประสิทธิภาพเหมาะกับการใช้งานได้ทั้งในและนอกห้องเรียน
และยังสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ที่สร้างขึ้นจากขึ้นงานที่ง่ายไป
หาชิ้นงานที่ยากเป็ นสื่อที่ทำให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานในเรื่องที่
เรียน
กรรณิการ์ รัตนประเสริฐศรี (2553) ล่าวไว้ว่า การผลิตสื่อวิดิ
ทัศน์เพื่อการสอนสามารถนำมาเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อน
เรียนและคะแนนทดสอบหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างว่ามีผลการ
เรียนรู้สูงขึ้นและมีประสิทธิภาพในการนำไปใช้ในการเรียนรู้ได้
ณครินทร์ รอดพุฒ (2550) กล่าวไว้ว่า การพัฒนาสื่อวิดีทัศน์
เพื่อการเรียนการสอน:กรณีศึกษาเทมเป้ อาหารจากถั่วเหลือง
คุณค่า และวิธีการผลิต มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. พัฒนาสื่อวิดีทัศน์เพื่อการเรียนการสอน: กรณีศึกษาเทมเป้
อาหารจากถั่วเหลืองคุณค่า และวิธีการผลิต

2. ประเมินประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน์ที่ผลิตขึ้น ผลการวิจัย
พบว่าวิดีทัศน์สามารถทำให้ผู้ชมเกิดการเรียนรู้ สามารถผลิตเทมเข้า
ได้ด้วยตัวเอง ทำให้ผู้ชมเกิดความสนใจแลให้ความรู้เกี่ยวกับ เทมเป้
49

อาหารจากถั่วเหลือง คุณค่า และวิธีการผลิต ทำให้สามารถสรุปได้


ว่าวิดีทัศน์ที่ผลิตขึ้นเป็ นไปตามจุดประสงค์และเป้ าหมายที่ตั้งไว้ขั้น
ตอนแรก วิดีทัศน์เป็ นสิ่งที่มีประสิทธิภาพสูงในการสื่อสารสามารถ
ใช้ประกอบการเรียนได้
วรพจน์ นวลสกุล (2550) กล่าวไว้ว่า วิดีทัศน์ยังคงเป็ นสื่อที่มี
บทบาทสำคัญในการเสนอสาระข้อมูลข่าวสารที่ทรงประสิทธิภาพไม่
ว่าจะอยู่ในรูปของการแพร่ภาพออกอากาศทางสถานี โทรทัศน์ เทป
วิดีทัศน์หรือแผ่นวิดีทัศน์ และในปั จจุบันสื่อวิดีทัศน์ยุดใหม่ได้ถูก
พัฒนาขึ้นโดยการนำไปเก็บไว้บนเครือข่ายความเร็วสูง (Server) ใน
ระบบเครือข่าย (Network) ที่นำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามา
ประยุกต์ใช้ ซึ่งถือได้ว่าเป็ นจุดเปลี่ยนเข้าสู่ยุของโลกดิจิตอลที่ผู้ที่
ต้องการศึกษาสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว วีดิโอดังกล่าวนี้จึงเป็ น
ระบบสื่อประสมปฏิสัมพันธ์บนเครือข่าย Computer Network
ที่ทำงานเหมือนกับเคเบิลทีวี แต่จะมีประสิทธิภาพมากกว่าในเรื่อง
จำนวนผู้ชมและให้ผู้ชมได้มีโอกาสเลือกได้มากกว่าโดยไม่คำนึงว่า
กำลังให้บริการรายการใดกับใครอยู่ในขณะนั้น และไม่ต้องเสียเวลา
รอชมต่อจากผู้อื่นเหมือนแผ่นวิดีทัศน์ อีกทั้งผู้ชมก็สามารถควบคุม
การเล่นหรือศึกษาได้ด้วยตนเองบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมกับ
ระบบเครือข่าย
Hutchins (2000, p.2878-A) กล่าวไว้ว่า การศึกษาการใช้
Software ในการนำเสนอแบบ
สื่อวิดีทัศน์ในการถ่ายทอดทางการศึกษาและการฝึ กอบรม ผลการ
ศึกษาพบว่า นักวิชาการและผู้ให้
49

การฝึ กอบรมซึ่งทำหน้าที่ประจำอยู่ในสถาบันได้มีการใช้ Software


ในการนำเสนอแบบสื่อวิดีทัศน์
และชุดของ Sofiware ที่ใช้มากที่สุดคือ Sofiware Power Point
Lee(2000, p.1330-A) กล่าวไว้ว่า การศึกษาประสิทธิภาพใน
สื่อวิดีทัศน์กับระบบการศึกษาในการใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่
สอง (English as a Sccond Language: ESL) โดยมีความมุ่ง
หมาย
เพื่อประเมินผลกระทบของสื่อวีดิทัศน์ในการพัฒนาความสามารถ
ของผู้เรียนและหาประสิทธิภาพของสื่อวิดีทัศน์จากการเรียนใน
ระบบการศึกษา ESL ที่จะทำให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ โดย
แบ่งผู้เรียนเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองเรียนด้วยสื่อวิดีทัศน์ กลุ่ม
ควบคุมเรียนโดยไม่มีสื่อวิดีทัศน์ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองกับ
กลุ่มควบคุมมีค่าคาดคะเนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .05
Kanner (1959, P.บทคัดย่อ) กล่าวไว้ว่า การศึกษาผล
สัมฤทธิ์จากการสอนโดยใช้โทรทัศน์ และจากครูสอนในวิชาไฟฟ้ า
เบื้องต้น ในเรื่องการเรียน ความคงทนในการจำ ระดับความ
สามารถโดยใช้นักเรียน 124 คน แบ่งนักเรียนออกเป็ น 2 กลุ่ม โดย
ใช้ผู้สอนคนเดียวและอุปกรณ์การสอเหมือนกัน ใช้เวลาสอน 38
ชั่วโมง เป็ นเวลา 5 วัน ทั้ง 2 กลุ่ม สอบข้อทดสอบความคงทนใน
การจำหลังจากเรียน 1 เดือนผ่านไปแล้ว ผลปรากฏว่าไม่มีความ
แตกต่างระหว่างการเรียนและความคงทนในการจำ ส่วนระดับ
ความสามารถ กลุ่มที่ใช้โทรทัศน์สูงกว่าที่สอนโดยครู
50

สรุปได้ว่า สื่อวิดีทัศน์สามารถถ่ายทอดเนื้อหาและเสริมการ
เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถมีการ
พัฒนาและเสริมการเรียนรู้ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้สื่อวิดีทัศน์
ที่ผู้วิจัยใช้ในการดำเนินการจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูงขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน

2.5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้
2,5.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีผู้ให้ความหมายไว้หลายท่าน ดังนี้
พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2530) ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนว่า หมายถึง ความรู้ความสมารถของบุคคล อันเป็ นผล
มาจากการเรียนการสอน มวลประสบการณ์ทั้งปวงของบุคคลที่ใด้
รับจากกิจกรรมการเรียน การสอนทำให้บุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมทางด้านต่าง ๆ
เกตุสุดา มนิระพงค์ (2537) ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนว่า คือ ความสามารถของบุคคลที่จะเข้าถึงความรู้ ซึ่ง
เกิดจากการทำงานที่ประสานกัน และต้องอาศัยความพยายามอย่าง
มาก รวมทั้งองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสติปั ญญา และองค์ประกอ
บที่ไมใช่สติปั ญญา แสดงออกมาในรูปของความสำเร็จซึ่งสามารถ
สังเกตและวัดได้ด้วยเครื่องมือทางจิตวิทยา หรือแบบทดสอบความ
สามารถทั่วไป
กู๊ด (Go ๐ d : 1973) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์หมายถึง การทำให้
สำเร็จมีประสิทธิภาพในด้านการกระทำในลักษณะที่กำหนดให้ หรือ
51

ในด้านความรู้ ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การเข้าถึง


ความรู้ หรือการพัฒนาทักษะทางการเรียน โดยปกติก็จะพิจารณา
จากคะแนนทดสอบที่กำหนดให้ หรือคะแนนที่ใด้จากงานที่ครูมอบ
หมายให้ทำ หรือทั้งสองอย่าง
เทพวรรณ สิงหบุตร (2540) กล่าวว่า ความหมายโดยทั่วไป
ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หมายถึง ขนาดของความสำเร็จที่ได้จากการทำงานที่ต้องอาศัย
ความพยายาม อาจเป็ นผลจากการ
กระทำ ที่อาศัยความสามารถทางต้านร่างกาย หรือสมอง ที่ได้
พัฒนาขึ้นมาเป็ นลำดับขั้นในวิชาต่าง ๆ ที่เรียนมา
สมบูรณ์ สุริยวงษ์ และคณะ. (2540)ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง
ความรู้หรือทักษะที่ได้รับจากการเรียนการสอน หรือ หมายถึงความ
สามารถหรือความสำเร็จในการกระทำใด ๆ ที่ต้องอาศัยทักษะ หรือ
มิฉะนั้นก็ต้องอาศัยความรอบรู้ในวิชาใดวิชาหนึ่งโดยเฉพาะ
วิภาดา เกิดพิทักษ์ (2539) ได้สรุปความหมายของผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนไว้ว่า หมายถึง
ความรู้ ทักษะ หรือความสามารถที่ได้รับหลังจากการเรียนการสอน
จากความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ได้มีผู้กลำวไว้
สามารถสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหมายถึง ความสามารถ
ทักษะ และความรู้ที่เกิดขึ้นภายหลังจากบุคคลได้รับประสบการณ์
ทั้งที่ครูกำหนดให้ และจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง ในกระบวนการ
เรียนการสอน ซึ่งอาจเป็ นผลมาจาก ความสมารถทางร่างกายและ
สมองเฉพาะตัวของแต่ละบุคคล
2.5.2 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
51

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมักจะได้รับการยยมรับว่าเป็ นตัวแสดง
ให้เห็นถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวทางการเรียนของผู้เรียน
ทั้งนี้เนื่องจาก ในระบบการศึกษามุ่งตัดสินความสำเร็จหรือ
ความก้าวหน้าของผู้เรียนจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนมีองค์ประกอบทั้งใน
ด้านสติปั ญญา และองค์ประกอบด้านที่ไม่ใช่สติปั ญญา เช่น วุฒิ
ภาวะ ความสนใจ แรงจูงใจอิทธิพลจากครอบครัว ทัศนคติ
บุคลิกภาพ ตลอดจนคุณภาพของการจัดการศึกษาที่ได้รับเป็ นตัน
พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2530) ได้กล่าวถึงปั จจัย 6 ประการที่มีผล
ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งเป็ นส่วนสำคัญต่อการ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยพิจารณาในแง่ของการปรับตัว
ต่อสภาพการณ์ และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ นั้น ประกอบด้วย
1. พัฒนาการทางด้านร่างกาย ประกอบด้วย สุขภาพโดยทั่วไป สุข
นิสัย น้ำหนักและส่วนสูง ความพิการหรือบกพร่องทาง
ต้นร่างกาย สายตา การได้ยิน ความคล่องแคล่ว การเคลื่อนไหว
และการใช้พลัง
2. องค์ประกอบทางด้านความรัก ได้แก่ ความสัมพันธ์ของบิดา
มารดา ความสัมพันธ์ของบิตามารตา และบุตร ความสัมพันธ์
ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
3. องค์ประกอบต้านวัฒนธรรมและสังคม ได้แก่ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ความเป็ นอยู่ของครอบครัว สภาพแวดล้อมทางบ้าน
ฐานะทางเศรษฐกิจ และการอบรมเลี้ยงดู
51

4. องค์ประกอบด้านความสัมพันธ์ในเพื่อนวัยเดียวกัน ได้แก่ ความ


สัมพันธ์ของตัวนักเรียนกับเพื่อน ในชั้น หรือเพื่อนวัย
เดียวกันทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน
5. องค์ประกอบท ทางการพัฒนาแห่งตน ได้แก่ สติปั ญญา ความ
สนใจ เจตคติต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
6. องค์ประกอบทางการปรับตัว ใด้แก่ ลักษณะการปรับตัวทางธาร
มณ์ การโต้ตอบทางอารมณ์ ต่อสภาพการณ์ต่าง ๆ
วิจิตร ศรีสะอ้าน (2520) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้น
ไม่ได้ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางต้านสติปั ญญาเพียงอย่างเดียว แต่
ต้องประกอบกับความเอาใจใส่ เจตคติต่อการศึกษา การรู้จักปรับ
ตัว และองค์ประกอบอื่น ๆ ภายในตัวผู้เรียนอีกด้วย
อัมพนิดา ผกรัตน์ (2539) กล่าวว่า คุณภาพของการศึกษา
ของนักเรียนจะพิจารณาจาก
องค์ประกอบ 3 ประการคือ
52

1. องค์ประกอบทางวิซาการ เป็ นองค์ประกอบหลัก เพราะว่า


โรงเรียนได้รับมอบหมายจากสังคมในการพัฒนาคนให้มีความรู้ และ
ความสามารถ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้น การที่นักเรียนจะ
มีผลสัมฤทธิ์เป็ นอย่างไรขึ้นอยู่กับระบบการจัดการด้านวิซาการของ
โรงเรียนตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวช้องด้วย
2. องค์ประกอบด้านพฤติกรรม โรงเรียนถือว่าเป็ นระบบพฤติกรรม
จะดูว่าโรงเรียนมีประสิทธิภาพดีเพียงใด สามารถพิจารณาจาก
พฤติกรรมของนักเรียนที่แสดงออกได้ โดยพิจารณาจากคนสองกลุ่ม
ใหญ่ ๆ ได้แก่ กลุ่มผู้ให้บริการ คือ ครูเจ้าหน้าที่หรือผู้บริหาร และ
กลุ่มผู้รับบริการคือนักเรียน โรงเรียนต้องให้ความสนใจมากเป็ น
พิเศษว่าครูเข้ามาสู่ระบบนี้สามารถปฏิบัติงานได้ผลดี และมีความ
พึ่งพอใจ ขณะเดียวกันเด็กอยู่ร่วมกันได้ดี และช่วยเหลือกันร่วมมือ
ประกอบภารกิจให้บรรลุจุดประสงค์
3. องค์ประกอบต้านสิ่งแวดล้อม โรงเรียนที่ดีจะต้องจัดสิ่งตาง ๆ ให้
เอื้ออำนวยในการประกอบภารกิจสิ่งแวดล้อมมีส่วนโดยตรงต่อ
พฤติกรรมของบุคคลปั จจัยตังกล่าวถือเป็ นปั จจัยภายในโรงเรียนที่มี
อิทธิพลต่อนักเรียนนก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งเป็ นจุดมุ่ง
หมายเบื้องต้นของการจัดการศึกษา นอกจากนี้ยังมีปั จจัยเสริมอื่น
ๆ อีกด้วย ได้แก่
1. ตัวผู้เรียน ซึ่งได้แก่ อายุ เวลาเรียน ความต้องการ แรงจูงใจและ
ความพร้อม
2. สถานการณ์ หมายถึง เงื่อนไขหรือสภาพแวดล้อมรอบตัว
นักเรียนซึ่งผู้สอนจัดให้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับวัดฤ
ประสงค์และสภาพของตัวนักเรียน
53

3. ตัวครูผู้สอน หมายถึง บุคคลที่ดำเนินการจัดกิจกรรมให้เกิดการ


เรียนรู้ให้แก่นักเรียนในระบบโรงเรียน
ดังนั้น จะเห็นได้ว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนนั้นมีทั้งองค์ประกอบภายในตัวผู้เรียน เช่น เซาว์ปั ญญา ความ
ถนัด ความรู้พื้นฐาน ลักษณะมุ่งมั่นที่จะสำเร็จ การรับรู้เกี่ยวกับ
ตนเอง และองค์ประกอบภายนอกตัวผู้เรียน เช่น สภาพแวดล้อม
หรือการอบรมเลี้ยงดู ลักษณะวัฒนธรรม รวมทั้งการจัดหลักสูตร
และการสอน
2.5.3 การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็ นวิธีตรวจสอบว่านักเรียนมี
พฤติกรรมตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาที่ตั้งไว้เพียงใด การวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียน จึงเป็ นการวัดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่
เกี่ยวช้องกับสมรรถภาพทางสมองและสติปั ญญาของผู้เรียน ภาย
หลังจากการได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยใช้แบบทตสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน (รัตนาวลี คำชมพู. 2549 : 52)
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่เป็ นมาตรฐาน สามารถ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างเที่ยงตรง คะแนนที่วัดมีความเชื่อมั่นสูง
จะต้องมีการวางแผนอย่างตี แบบทดสอบในการเก็บรวบรวมข้อมูล
จำแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. การวัตผลแบบอิงกลุ่ม การวัดแบบนี้ยึดหลักความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล โดยถือว่าบุคคลมีความสามารถในการกระทำหรือ
ปฏิบัติในเรื่องใด ๆ นั้นไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้น แบบทดสอบนี้จึงยึด
เอาคนส่วนใหญ่เป็ นหลักในการเปรียบเทียบ โดยพิจารณาผลการ
สอบของบุคคลเปรียบเทียบกับบุคคลอื่น ๆ ในกลุ่มเดียวกัน การ
53

วัดผลแบบนี้ จะทำให้ทราบว่านักเรียนคนไหนอยู่ในตำแหน่งใดของ
กลุ่ม
2. การวัดแบบอิงเกณฑ์ การวัดผลแบบนี้ยึดหลักเรื่องการเรียนเพื่อ
ความรอบรู้ โดยพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมด
ให้ประสบความสำเร็จในการเรียน แม้บุคคลจะมีความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลก็ตาม ทุกคนควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีขีด
ความสามารถสูงสุดของแต่ละบุคคล ซึ่งอาจใช้เวลาต่างกัน การวัต
ผลจะเปรียบเทียบคะแนนของแต่ละบุคคลกับเกณฑ์มาตรฐานที่ได้
วางไว้ ดังนั้น การวัดผลแบบนี้จะถือเกณฑ์ที่กำหนดเป็ นสำคัญ การ
วัดผลแบบนี้จะทำให้ทราบความก้าวหน้าของนักเรียน (วัญญา วิ
ศาลาภรณ์. 2533 : 12-14)
ในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักการ
ศึกษาได้ให้หลักเกณฑ์การ
สร้างแบบทดสอบไว้ตังนี้
วัญญา วิศาลาภรณ์ (2533 : 17 ได้เสนอแนวทางในการสร้าง
แบบทดสอบวัตผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ตังนี้
1. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะวัดตาม
จุดมุ่งหมายในการสอนทั้งจุดมุ่งหมายเฉพาะและจุดมุ่งหมายเชิง
พฤติกรรม
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะวัดความเจริญงอกงามของ
นักเรียนที่เรียนว่าก้าวหน้าไปสู่จุดมุ่งหมายที่วางไว้หรือไม่
53

3. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรจะเน้นความสามารถที่จะใช้
ความรู้นั้นให้เป็ นประโยชน์ หรือนำความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ใหม่ ๆ ได้
4. การวัตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรเน้นความรู้ ความจำ ความ
เข้าใจในสิ่งที่เรียนเพื่อที่จะสามารถนำไปใช้ในระยะเวลานาน ๆ โดย
เฉพาะโครงสร้างและแนวคิดควรจะเน้นความเข้าใจมากกว่าความ
จำ
5. การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ควรคำนึงถึงขีดจำกัดของเครื่อง
มือที่จะวัด
6. การวัตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ครูผู้สอนไม่สามารถวัดพฤติกรรม
ที่เปลี่ยนแปลงทุก ๆอย่างของผู้เรียนได้ สิ่งที่วัดเป็ นเพียงตัวแทน
ของพฤติกรรมที่ต้องการวัดเท่านั้น จึงต้องระวังในการเลือกตัวแทน
ให้ดี
ฮอพกิสน์ และแสตนเลย์ (วัญญา วิศาลาภรณ์. 2533 : 16-17
; อ้างอิงจาก Hopkins and
Stanlev. 1981 : 166)ได้ให้แนวทางในการสร้างแบบทตสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ดังนี้
1. แบบทดสอบควรจะวัดจุดประสงค์ที่สำคัญของการสอน
และจุดประสงค์ที่ควรจะวัด
2. แบบทตสอบควรจะสะท้อนถึงเนื้อหาสาระและ
กระบวนการโดยมีสัดส่วนสัมพันธ์กับ
ความสำคัญและจุดมุ่งหมายของรายวิชา
54

3. ธรรมชาติของแบบทดสอบควรสะท้อนถึงวัตถุประสงค์
ของการวัด เช่น วัดความแตกต่างระหว่างบุคคล หรือวัดการเรียนรู้
4. ข้อสอบควรมีความยาวที่พอเหมาะ และมีระตับความยาว
ของภาษาที่ใช้เหมาะกับผู้เรียน
สรุปได้ว่า การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เพื่อใช้กับกระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ ควรคำนึงถึงจุดมุ่งหมายของการเรียน ครอบคลุม
พฤติกรรมในการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมาย ความแตกต่างระหว่าง
บุคคล ภาษา และความยาวที่เหมาะสม
2.6.ความพึ่งพอใจ
2.6.1. ความหมายของความพึงพอใจ
นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ
(Satisfaction) ไว้ดังนี้
Good. (1973, p.320) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้
ว่า ความพึงพอใจหมายถึง สภาพคุณภาพ หรือระดับความพึงพอใจ
ซึ่งเป็ นผลมาจากความสนใจต่างๆ และทัศนคติที่บุคคลมีต่อ
สิ่งที่ทำอยู่
Wolmam. (1973, p.384) ให้ความหมายไว้ว่า ความพึง
พอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่มีความสุขเมื่อได้รับผลสำเร็จตามความ
มุ่งหมาย ความต้องการหรือแรงจูงใจ
Wallerstein. (1995, p.27) (อ้างอิงจาก อัครเดช จำนง
ธรรม, 2549, น.30) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าเป็ น
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับผลสำเร็จตามความมุ่งหมายความ
55

พึงพอใจเป็ นกระบวนการทางจิตวิทยาไม่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
แต่สามารถคาดคะเนได้ว่ามี
หรือไม่มี จากการสังเกตพฤติกรรมของคนเท่านั้น การที่จะทำให้คน
เกิดความพึงพอใจมีปั จจัยและ
องค์ประกอบที่เป็ นสาเหตุแห่งความพึงพอใจ
สุวัฒนา ใบเจริญ (2540, น.27) กล่าวว่า ความพึงพอใจ
หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของบุคคล
ที่มีต่อสิ่งนั้นๆ เมื่อบุคคลอุทิศแรงกาย แรงใจ และสติปั ญญาเพื่อ
กระทำในสิ่งนั้นๆ
ทรงสมร คชเลิศ (2543, น.12) กล่าวว่าความพึงพอใจเป็ น
เรื่องเกี่ยวกับอารมณ์ความรู้สึก และทัศนคติของบุคคล อันเนื่องมา
จากสิ่งเร้าและแรงจูงใจซึ่งปรากฎออกมาทางพฤติกรรมว่ารู้สึกชอบ
รู้สึกพอใจ และมีทัศนคติที่ดีต่อสิ่งนั้นๆ
ประภาส เกตุแก้ว (2546, น.12) กล่าวว่าความพึงพอใจ
หมายถึง ความรู้สึกของมนุษย์ที่
เกี่ยวข้องกับอารมณ์ จากการได้รับการตอบสนองความต้องการซึ่ง
แสดงออกมาทางพฤติกรรมซึ่ง
สังเกตได้จากสายตา คำพูดและการแสดงออกทางพฤติกรรม
อัครเดช จำนงธรรม (2549, น.31) กล่าวว่าความพึงพอใจ
หมายถึง ความรู้สึกชอบพอใจ
และประทับใจจากการได้รับการตอบสนองตามความต้องการและมี
ความสุขเมื่อได้รับผลสำเร็จซึ่ง
จะแสดงออกมาทางพฤติกรรม โดยสังเกต ได้จากสายตา คำพูด
และการแสดงออกทางพฤติกรรม
55

เณศรา โฉมรุ่ง (2552, น.68) กล่าวว่าความพึงพอใจ หมายถึง


ความรู้สึกที่ดีของบุคคลที่
เมื่อได้รับการตอบสนองตามที่ตนเองต้องการ ดังนั้น ความพึงพอใจ
ในการเรียนรู้จึงหมายถึง
ความรู้สึกที่ดีๆ ที่มีต่อการได้ร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้จนบรรลุ
เป้ าหมายของการเรียนรู้นั้น
สรุปได้ว่าความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่เกิด
ขึ้นเมื่อได้รับการตอบสนองตามความต้องการหรือแรงจูงใจของ
ตนเองและมีความสุขเมื่อได้รับผลสำเร็จ โดยสังเกตได้จากการ
แสดงออกมาทางพฤติกรรม
2.6.2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ
ความพึงพอใจเป็ นความรู้สึกที่ดี ที่ชอบ ที่พอใจ หรือที่ประทับ
ใจของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ได้รับ ซึ่งสิ่งนั้นสามารถตอบสนอง
ความต้องการทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ บุคคลทุกคนมีความ
ต้องการแตกต่างกัน และมีความต้องการหลายระดับ หากได้รับการ
ตอบสนองก็จะก่อให้เกิดความพึงพอใจ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ใดๆ
ก็ตามที่จะทำให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนรู้ได้นั้นจะต้อง
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ซึ่ง
(Maslow. 1970, p.69-80) ได้เสนอทฤษฎีความต้องการที่ส่ง
ผลต่อความพึงพอใจสรุปได้ดังนี้
1. ลักษณะความต้องการของมนุษย์ ได้แก่
55

1.1 ความต้องการของมนุษย์เป็ นไปตามลำดับขั้นความสำคัญ


โดยเริ่มจากระดับความต้องการขั้นสูงสุด
1.2 มนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอ เมื่อความต้องการอย่าง
หนึ่งได้รับการตอบสนองแล้วก็มีความต้องการสิ่งใหม่เข้ามา
แทนที่
1.3 เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รับการตอบสนองแล้ว
จะไม่จูงให้เกิดพฤติกรรมต่อสิ่งนั้น แต่มีความต้องการในระดับ
สูงเข้ามาแทน และเป็ นแรงจูงใจให้เกิดพฤติกรรมนั้น
1.4 ความต้องการที่เกิดขึ้นอาศัยซึ่งกันและกัน มีลักษณะ
ควบคู่ คือ เมื่อความต้องการอย่างหนึ่งยังไม่หมดสิ้นไปก็จะมี
ความต้องการอีกอย่างหนึ่งเกิดขึ้นมา
2. ลำดับขั้นความต้องการของมนุษย์ มี 5 ระดับ ได้แก่
2.1 ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological needs)
เป็ นความต้องการพื้นฐานเพื่อความอยู่รอดในการดำรงชีวิต
เช่น ความต้องการอาหาร น้ำ อากาศ เครื่องนุ่งห่ม ยารักษา
โรค ที่อยู่อาศัยและความต้องการทางเพศ ความต้องการทาง
ด้านร่างกายจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนก็ต่อเมื่อ ความ
ต้องการทั้งหมดของคนยังไม่ได้รับการตอบสนอง
2.2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs) เป็ นความ
รู้สึกที่ต้องการความมั่นคง ปลอดภัยทั้งในปั จจุบันและอนากต
ซึ่งรวมถึงความก้าวหน้าและความอบอุ่นใจ
56

2.3 ความต้องการทางสังคม (Social needs) เป็ นสิ่งจูงใจที่


สำคัญต่อการเกิดพฤติกรรม ความต้องการที่จะเข้าร่วม
และ ได้รับการยอมรับในสังคม ต้องการความเป็ นมิตรและ
ความรักจากเพื่อน
2.4 ความต้องการที่จะ ได้รับการยกองหรือมีชื่อเสียง
(Esteem needs) เป็ นความต้องการระดับสูง ได้แก่ ความ
ต้องการอยากเด่นในสังคม รวมถึงความสำเร็จ ความรู้ ความ
สามารถความเป็ นอิสรภาพและเสรี และการเป็ นที่ยอมรับ
นับถือของคนทั้งหลาย
2.5 ความต้องการที่จะประสบความสำเร็จในชีวิต (Self-
actualization needs) เป็ นความต้องการระดับสูของมนุษย์
อยากให้ตนเองประสบผลสำเร็จสักอย่างในชีวิต ส่วนมากจะ
เป็ นการนึกอยากจะเป็ น อยากจะได้ ตามความคิดเห็นของตัว
เอง
2.6.3. วิธีสร้างความพึงพอใจในการเรียน
Bloom (1976, p.72-74 มีความเห็นว่าสามารถจัดให้
นักเรียนได้ทำกิจกรรมตามที่ตนต้องการ ก็จะคาดหวังได้
แน่นอนว่านักเรียนทุกคนได้เตรียมใจสำหรับกิจกรรมที่ตนเอง
เลือกนั้นด้วยความกระตือรือร้น พร้อมทั้งความมั่นใจ เรา
สามารถสังเกตเห็นความแตกต่างของความพร้อมทางด้าน
จิตใจได้ชัดเจน จากการปฏิบัติของนักเรียนต่องานที่เป็ นวิชา
บังคับกับวิชาเลือก หรือจากสิ่งนอกโรงเรียนที่นักเรียนอยาก
เรียน เช่น เกม คนตรี การขับรถยนต์ หรืออะไร บางอย่างที่
นักเรียนอาสาสมัครและตัดสินใจโดยเสรีในการเรียน มีความ
57

กระตือรือร้น มีความพึงพอใจ และมีความสนใจเมื่อเริ่มเรียน


จะทำให้นักเรียนเรียนได้รวดเร็วและประสบความสำเร็จสูง
อย่างไรก็ตามบูมเห็นว่าวิธีนี้ค่อนข้างเป็ นอุคมคติที่จัดได้
ลำบาก
สุเทพ เมฆ (2531, น.39) กล่าวว่า ความพึงพอใจใน
บรรยากาศการเรียนการสอน
หมาขถึง ความรู้สึกพอใจในการจัดองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง
กับการเรียนการสอน ซึ่งมีความสำคัญในการช่วยให้นักเรียน
เกิดการเรียนรู้อย่างมีชีวิตชีวา มีความเจริญงอกงาม มีความ
กระตือรือร้น เพื่อจะเรียนให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง
สุรพล เย็นเจริญ (2543, น.15) ได้กล่าวถึง ทักษะของโร
เจอร์เกี่ยวกับความพึงพอใจของนักเรียนในการศึกษาเล่าเรียน
จะเกิดจากองค์ประกอบต่างๆ เหล่านี้คือ คุณสมบัติของผู้สอน
กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการสอน
ของผู้สอน จึงจะประสบความสำเร็จในการเรียน
สรุปได้ว่าการสร้างความพึงพอใจในการเรียนนั้นผู้สอน
ควรส่งเสริมบรรยากาศในการ
เรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตอบสนองต่อความสนใจของ
ผู้เรียน การวัดและประเมินผลจะต้องมีความหลากหลายและ
มีความน่าเชื่อถือสามารถวัดได้ครอบคลุมทุกด้าน

2.6.4. การวัดความพึงพอใจ
57

ความพึงพอใจเกิดขึ้นหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ ประกอบกับระดับ
ความรู้สึกของนักเรียน ดังนั้นในการวัดความพึงพอใจในการ
เรียนรู้กระทำได้หลายวิธีต่อไปนี้
สาโรจน์ ไสยสมบัติ. (2534, น.39) ได้กล่าวไว้ว่า
1. การใช้แบบสอบถาม ซึ่งเป็ นวิธี ที่นิยมใช้มากอย่างแพร่
หลายวิธีหนึ่ง
2. การสัมภาษณ์ ซึ่งเป็ นวิธีที่ต้องอาศัยเทคนิค และความ
ชำนาญพิเศษของผู้สัมภาษณ์ที่จูงใจให้ผู้ตอบคำถามตามข้อ
เท็จจริง
3. การสังเกต เป็ นการสังเกตพฤติกรรมทั้งก่อนการปฏิบัติ
กิจกรรม ขณะปฏิบัติกิจกรรม และหลังการปฏิบัติกิจกรรมจะ
เห็นว่าการวัดความพึงพอใจในการเรียนสามารถที่จะวัดได้
หลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสะดวก ความเหมาะสม ตลอด
จนจุดมุ่งหมายหรือเป้ าหมายของการวัดด้วยจึงจะส่งผล
ให้การวัดนั้นมีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือ
ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการวัด
ความพึงพอใจในของผู้ที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้
2.7.วิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.7.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF
กานต์สิริ ขุนศิร,(2564) กล่าวว่า การศึกษาการพัฒนาผลสมัฤ
ทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิ สิกส์เพิ่มเติม 2 โดยการจดัการเรียนรู้ ด้วย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF ของนักเรียน
57

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ผลการศึกษาวิจัยพบว่านักเรียนกลุ่ม


ตัวอย่างทุกคนมีผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิ สิกส์เพิ่มเติม 2 สูงขึ้น
ซึ่งสังเกตได้จากนักเรียนทุกคนมีผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิ สิกส์
เพิ่มเติม 2 หลังการใช้การจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF สูงขึ้นกว่าก่อนการใช้การจัดการ
เรียนรู้ ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ร้อยละ คะแนนเฉลี่ยการทำ
แบบทดสอบวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิ สิกส์เพิ่มเติม 2 สูงขึ้น
มากกว่าร้อยละ 80 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยนักเรียนที่
ได้รับการสอนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัด การ
เรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF มีค่าเฉลี่ยของผลต่างของคะแนน
ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียน ทั้งนี้อาจเป็ น
เพราะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาฟิ สิกส์เพิ่มเติม 2
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 5 ครูได้การจัดการเรียนรู้ด้วย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQF ที่เป็ น การ
จัดการเรียนรู้ที่ฝึ กให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้โดยใช้
กระบวนการทางความคิด หาเหตุผล ทำให้ค้นพบ ความรู้หรือ
แนวทางแก้ปั ญหาด้วยตนเอง จึงส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มาก
ขึ้น สามารถจดจำได้นาน และเชื่อมโยงความรู้ที่มีอยู่เดิมเข้ากับเรื่อง
ที่เรียนต่อไปได้และก่อนที่จะทำการทดลองพัฒนาผลสมัฤทธิ์ทาง
การเรียนวิชาฟิ สิกส์เพิ่มเติม 2 ครูได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยเน้นผู้เรียนเป็ น
58

สำคัญอยู่แล้ว เรียนรู้ผ่าน การปฏิบัติการทดลองสืบค้นข้อมูล


ต่างๆ ด้วยตนเอง ประกอบกับว่านักเรียนกลุ่มนี้มีความตั้งใจในการ
เรียน ในระดับดี ถึงแม้บางคนจะมีผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนที่ไม่ดีแต่
เป็ นคนที่มีความพยายามที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีการให้
แรงเสริมทางบวกด้วยการชมในเบื้องต้นเมื่อนักเรียนมีการพัฒนาผล
สมัฤทธิ์ทางการเรียน ดีขึ้นหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5 steps GOCQ

2.7.2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้โดยการใช้สื่อวีดีทัศน์
จิราภรณ์ เฟื่ องฟุ้ง(2559) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการ
เรียนหลังการเรียนวิชาพันธะเคมี โดยใช้สื่อวิดีทัศน์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 จำนวน 38 คน พบว่าคะแนนความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังการจัดการเรียนการสอน โยใช้
สื่อวิดีทัศน์เรื่องพันธะเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มี
คะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูง ( Χ = 8.76 , S.D. 1.69) กว่า
ก่อนเรียน ( Χ = 4.13 , S.D. 1.09) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ.05
อดิศักดิ์ โคตรชุม (2562) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง การ จัดและตกแต่งสวน ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้สื่อวิดี
ทัศน์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย หลังใช้
สื่อ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน

2.7.3 วีดีทัศน์การเรียนรู้และการใช้ประโยชน์ในการเรียน
59

วีดีทัศน์การเรียนรู้ มีคุณลักษณะเฉพาะที่ทำให้เป็ นวิธีการ


เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถปรับปรุงและแทนที่วิธีการเรียนรู้
แบบใช้ห้องเรียนและครูที่นำแบบเดิมบางส่วน การเรียนรู้ด้วยวิดีโอ
สามารถเปลี่ยนวิธีที่เราเรียนรู้ตลอดจนวิธีการสอนของเรา (M.
Merkt, S. Weigand, A. Heier, and S. Schwan, (2011)) วิดีโอ
สามารถช่วยนักเรียนได้ด้วยการนึกภาพว่าบางสิ่งเป็ นอย่างไร
(M. Colasante , (2011)) และแสดงข้อมูลและรายละเอียดที่ยาก
จะอธิบายด้วยข้อความหรือภาพนิ่ง [4] นอกจากนี้ วิดีโอสามารถ
ดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ ซึ่งจะเป็ นแรงจูงใจและทำให้พวก
เขามีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มการทำงานร่วมกัน การใช้วิดีโอจึงสามารถนำ
ไปสู่ผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น (D. Zhang, L. Zhou, R. O. Briggs, and
J. F. Nunamaker Jr , (2006)) นอกจากนี้ วิดีโอยังสามารถ
สนับสนุนรูปแบบการเรียนรู้ต่างๆ โดยเฉพาะนักเรียนที่เป็ น 'ผู้เรียน
ที่มองเห็นได้ (B. Calandra, L. Brantley-Dias, and M. Dias,
(2006))

2.7.4.การศึกษาความพึงพอใจต่อสื่อวีดิทัศน์
อดิศักดิ์ โคตรชุม (2562) พบว่า ความพึงพอใจอยู่ในระดับ
มาก (x̅=3.71, S.D.=0.70) สอดคล้อง กับงานวิจัยของ ปรเมศวร์สิริ
สุรภักดี, ธเรศวร์ เตชะไตรภพ, และบริบูรณ์ ชอบทำดี (2561) [10]
ที่ได้พัฒนาสื่อ มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เรื่อง หลักการทางานของ
59

คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียน วัดพุ


ทไธศวรรย์พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วย สื่อ
มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ยัง
สอดคล้องกับ อัญญปารย์ ศิลปนิลมาลย์ และศรัณยวัฒน์ พลเรียง
โพน [11] ที่ได้พัฒนาบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง การสร้างผังงานด้วย
โปรแกรม Microsoft Visio 2010 สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 พบ
ว่า ผู้เรียนมี ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เพราะการพัฒนา
บทเรียนมัลติมีเดียโดยอาศัยหลักการใช้สิ่งเร้า เพื่อให้เกิดการ ตอบ
สนองมีการเสริมแรงในขณะเรียน การนำเสนอเนื้อหาจะเป็ น
รูปภาพเคลื่อนไหว ข้อความ เสียง และผู้เรียน สามารถทราบผล
ความก้าวหน้าของตนเองทันทีเมื่อตอบเสร็จ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ถึงความสามารถของตนเอง และการแก้ไขข้อบกพร่องด้วย ถ้าผู้
เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนประสบความสำเร็จ

2.7.5. A Model to Integrate Online Teaching and


Learning Tools Into the Classroom

Klaus

Schmidt (2014) The model presented in Figure 1


suggests five considerations that may be useful when
59

creating a quality mix of online and traditional


classroom teaching and learning. The steps Examine
Teaching Style, Assess Preferred Learning Styles, and
Study Teaching Tools can occur simultaneously or in
any order.
60

Step 1: Examine Your Teaching Style Assessing


the preferred personal teaching style is one of the first
steps a teacher should take prior to selecting and
implementing online teaching and learning tools.
Understanding one’s personal teaching style can help to
determine which traditional course components can be
best enhanced with online teaching and learning
technology and which tools will most comfortably
match the teacher’s personal teaching style.
Step 2: Assess Your Students’ Preferred Learning
Styles Understanding how students learn is
imperative. This is especially true when considering the
incorporation of a greater variety of teaching tools, as is
the case when combining online and traditional
classroom teaching.
Step 3: Study Online and Traditional Teaching
and Learning Tools A good command of both
online and tradi - tional teaching and learning tools is
important for the development of a successful
combination of those tools. The following section
focuses on online teaching and learning tools and on
how these tools can be incorporated into the classroom.
Step 4: Select Online Teaching and Learning
Tools Considering the adoption
61

of online instructional delivery methods may present


opportunities to achieve learning objectives beyond the
basic acquisition of content knowledge and/or skills
such as enhancing students’ levels of computer literacy
Step 5: Reflect, Implement, Reflect, and Revise
Because this model suggests an iterative and continuous
process, it will be imperative to continuously reflect,
implement, further reflect on the outcomes of the
implementation, and revise again the mix of online and
traditional teaching and learning tools. Due to the
changing nature of the online environment, only a
dynamic approach to teaching and learning will
maximize success.
สรุปผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้
GOCQF และการใช้สื่อ วีดีทัศน์ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนหลายท่าน พบว่ามีความสอดคล้องกัน คือ มีผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้สูงกว่า
นักเรียนที่เรียนวิธีอื่น และสื่อสามารถกระตุ้นเร้าความสนใจในการ
เรียนดีขึ้น ผู้วิจัยจึงนำมาใช้ในการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ในเรื่อง เงา อุป
ราคา และ เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 6

บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
61

ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
3. รูปแบบของการวิจัย
4. เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็ น นักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล
บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2564 จำนวน 6 ห้องเรียน รวม 263 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็ น นักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 6 / 3 โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล
บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2564 จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 46 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบ
กลุ่ม (Cluster Sampling)

3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
61

ผู้วิจัยดำเนินการการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ


เทคโนโลยีอวกาศด้วยการจัดเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
สำหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กับกลุ่มตัวอย่างดังนี้
3.2.1.ก่อนดำเนินการจัดการเรียนการสอน ผู้วิจัยได้ทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ (Pre-test)
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ในการจัดเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้ข้อสอบปรนัย แบบ
4 ตัวเลือก จำนวน 1 ชุด ทั้งหมด 30 ข้อ กับกลุ่มตัวอย่าง
3.2.2.ผู้วิจัยได้ดำเนินการตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
จำนวน 10 แผน
62

3.2.3.หลังจากผู้วิจัยได้ทำการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ กับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แล้ว
จึงทดสอบวัดสัมฤทธิ์หลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ ข้อสอบปรนัย แบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 1 ชุด ทั้งหมด 30
ข้อ และสำรวจความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศ กับกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 โดยใช้แบบสอบถามวัดความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อ
การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6
3.2.4. นำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างไปวิเคราะห์
ทางสถิติเพื่อสรุปผลการทดลองตามจุดประสงค์การวิจัยต่อไป

3.3. รูปแบบของการวิจัย
การศึกษาในครั้งนี้เป้ นการวิจัยกึ่งทดลอง (Experiment
Design) โดยใช้รุปแบบการทดลองแบบกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อน
และหลังเรียน (One Group Pre test post test Design)
ซึ่งมีแบบแผนการทดลองดังนี้
กลุ่ม Pre test Treatm Posttest
ent
นักเรียนระดับชั้นประถม T1 X1 T2
63

ศึกษาปี ที่ 6
จากตารางเมื่อ T1 แทนการทดสอบก่อนเรียน
T2 แทน การทดสอบหลังเรียน
X1 แทน การจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา
อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของ
นักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6

3.4 เครื่องมือในการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
3.4.1.เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.4.1.1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 10 แผน
3.4.1.2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 30 ข้อ
3.4.1.3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อ
การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 2 หมวด ได้แก่ ด้านการ
63

จัดการเรียนรู้ และ ด้านสื่อวีดีทัศน์ รวมเป็ น


10 ข้อ
3.4.2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัย
การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีลำดับขั้นตอน ดังนี้
3.4.2.1.สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 10 แผน
แผนละ 2 ชั่วโมง รวม 20 ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ 2 การศึกษา 2564
มีขั้นตอนดังนี้
1.วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ภาค
เรียนที่ 2 การศึกษา 2564 โดยใช้ร่วมกับหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 เล่ม 2 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
2.ศึกษาวิธีการ หลักการ ทฤษฏีและเทคนิคการเขียน
แผนการจัดการเรียนแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF และการใช้สื่อ
วีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
3.สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ทั้งนี้สื่อวิดีทัศน์ที่นำมาใช้
63

ผู้วิจัยได้คัดลอกและดัดแปลงเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียน
การสอน จำนวน 10 แผน ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-3 เรื่อง เงาและการ
เขียนแผนภาพรังสี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4-7 เรื่อง อุปราคา
สุริยุปราคา และจันทรุปราคา แผนการจัดการ
เรียนรู้ที่ 8-10 เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ
4.นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ทีพัฒนาขึ้นนำเสนอาจารย์ที่
ปรึกษาวิจัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำมาปรับปรุงตามที่
อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยเสนอแนะ
64

5.นำแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF


โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ปรับแก้ไขแล้ว
หลังจากนั้นส่งให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบทำการ
ประเมินโดยพิจารณาในแต่ละด้าน โดยแบ่งเป็ น 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ด้านแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนรู้
ด้านการประเมิน ตามเกณฑ์ของลิเคิร์ท (Likert)
เป็ นมาตรตราส่วนประมาณค่า(Rating Scale) ซึ่งมี 5 ระดับ ดังนี้
ระดับ 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
ระดับ 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย
ระดับ 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด
จากนั้นนำความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย ( X )
และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)และแปลความหมายโดยใช้
เกณฑ์ ดังนี้
4.51-5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด
3.51-4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมาก
2.51-3.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับปานกลาง
65

1.51-2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน


ระดับน้อย
1.00-1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับน้อยที่สุด
นำคะแนนจากแบบประเมินคุณภาพแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 3 ท่าน ที่ประเมิน
แล้วมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยซึ่งแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ได้ค่าคุณภาพ 4.92 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
ที่สุด
6.นำสื่อวีดีทัศน์ที่ใช้ให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ทำการประ
มินโดยมีคำถามเกี่ยวกับเนื้อหา ภาพ เสียง ภาษา เวลา ความน่า
สนใจ เป็ นต้น โดยใช้เกณฑ์ของลิเคิร์ท (Likert) เป็ นมาตรตราส่วน
ประมาณค่า(Rating Scale) ซึ่งมี 5 ระดับ ดังนี้
ระดับ 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
ระดับ 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย
ระดับ 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด

จากนั้นนำความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย ( X )
และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)และแปลความหมายโดยใช้
เกณฑ์ ดังนี้
4.51-5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด
65

3.51-4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน


ระดับมาก
2.51-3.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับปานกลาง
1.51-2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับน้อย
1.00-1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับน้อยที่สุด
นำคะแนนจากแบบประเมินคุณภาพแผนการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 3 ท่าน ที่ประเมินแล้ว
มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยซึ่งสื่อวีดีทัศน์ที่ใช้ได้ค่าคุณภาพ 4.88 หมาย
ถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด

3.4.2.2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
1.สร้างแบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แบบทดสอบนี้จะมี 1 ชุดใช้ทดสอบก่อนและ
หลังเรียน เป้ นข้อสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จำนวน 30 ข้อ
2.นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อตรวจ
65

สอบความถูกต้องความเหมาะสมของแบบทดสอบ และปรับปรุง
แก้ไขตามข้อเสนอแนะ
3.นำแบบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดย
การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ปรับปรุงแล้ว เสนอผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อ
ตรวจสอบคุณลักษณะของแบบทดสอบในด้านความสอดคล้องของ
เนื้อหา ภาษาที่ใช้ ความสอดคล้องกับองค์ประกอบ
ที่ต้องการวัดและความเหมาะสมของตัวเลือกซึ่งใช้วิธ๊การตรวจสอบ
ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item – Objective Congruence
หรือ IOC) ( Rovinelli and Hambleton,1997:49-60) ดังนี้
คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อความนี้มีความสอดคล้องกับ
จุดประสงค์
คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อความนี้มีความสอดคล้อง
กับจุดประสงค์
คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อความนี้ไม่มีความสอดคล้อง
กับจุดประสงค์
เกณฑ์ค่า IOC มากกว่า 0.5 หมายความว่า ผ่านเกณฑ์
66

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 มีค่า IOC เท่ากับ 0.66 – 1
4.นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 ที่ผ่านการปรับปรุงตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญแล้วไป
ทดลองใช้ (Try out) กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6 โรงเรียน วัดเขียนเขต อีกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจำนวน 48 คน
ตรวจสอบคะแนนนักเรียน นำคะแนนมาวิเคราะห์หาคุณภาพแบบ
ทดสอบโดยตรวจสอบหาค่าความยากง่าย(p) และอำนาจจำแนก(r)
เป็ นรายข้อ โดยใช้เทคนิค 27% ของจ จุง เตห์ ฟาง (ล้วน สายยศ
และ อังคณา สายยศ.2538 : 197-198) แล้วเลือกเฉพาะข้อสอบที่มี
ค่าความยากง่าย (p) ระหว่าง .02-.08 และค่าอำนาจจำแนก (r)
ตั้งแต่ .02 ขึ้นไป จำนวน 30 ข้อ ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ ค่า
ความยากง่าย (p) อยู่ระหว่าง 0.4 – 0.6 และ ค่าอำนาจจำแนก (r)
อยู่ระหว่าง 0.2 – 0.8
5.นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขไปใช้ในการดำเนินการวิจัยต่อไป

3.4.2.3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ
67

1.สร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 แบบสอบถามนี้วิจัย สร้างขึ้น จำนวน 1 ชุด เป็ น ปรนัย 10
ข้อ
2.นำแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6 เสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความ
เหมาะสมแบบทดสอบ และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
3.นำแบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6 ที่ปรับปรุงแล้ว เสนอผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม เพื่อตรวจสอบ
คุณลักษณะของแบบสอบถามวัดความพึงพอใจในด้านความ
สอดคล้องของเนื้อหา ภาษาที่ใช้ ความสอดคล้องกับองค์ประกอบที่
ต้องการวัดและความเหมาะสมของตัวเลือกซึ่งใช้วิธีการตรวจสอบ
ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item – Objective Congruence
หรือ IOC) ( Rovinelli and Hambleton,1997:49-60) ดังนี้

คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อความนี้มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์
คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าข้อความนี้มีความสอดคล้อง
กับจุดประสงค์
67

คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าข้อความนี้ไม่มีความสอดคล้อง
กับจุดประสงค์
เกณฑ์ค่า IOC มากกว่า 0.5 หมายความว่า ผ่านเกณฑ์

แบบสอบถามวัดค่าความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6
มีค่า IOC เท่ากับ 0.66 – 1
6.แบบสอบถามวัดค่าความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6
มาปรับปรุงและนำไปจัดทำแบบสอบถามออนไลน์ โดยในโปรแกรม
Google Form เพื่อนำไปใช้ในการทดลองต่อไป
7. เกณฑ์ค่าเฉลี่ยและแปลความหมายของระดับความพึ่ง
พอใจแบบมาตราส่วน (Rating Scale) 5 ระดับ
โดยใช้เกณฑ์ของลิเคิร์ท (Likert)
ระดับ 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด
ระดับ 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
ระดับ 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย
ระดับ 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อยที่สุด
67

จากนั้นนำความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ย ( X ) และ
ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)และแปลความหมายโดยใช้เกณฑ์
ดังนี้
4.51-5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมากที่สุด
3.51-4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับมาก
2.51-3.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับปานกลาง
1.51-2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับน้อย
1.00-1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ใน
ระดับน้อยที่สุด
68

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.5.1.หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( X )
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ของคะแนนที่ได้จากการ
ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3.5.2.วิเคราะห์หาความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่าง
คะแนนทดสอบก่อนเรียนละหลังเรียนโดยใช้โปรแกรม spss หาค่า
T-test (Dependent Samples)
3.5.3.วิเคราะห์หาค่าความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)

3.6.สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้
สถิติพื้นฐาน ได้แก่
1. ร้อยละ (Percentage) โดยมีสูตร ดังนี้
f
สูตร P = n
×100

เมื่อ P แทน ร้อยละ


f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็ นร้อยละ
n แทน จำนวนความถี่ทั้งหมด

2. หาค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบก่อนและหลังเรียน ( Χ )
โดยคำนวณจากสูตร
ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2543 : 351)
69

ΣΧ
สูตร Χ = Ν

เมื่อ Χ แทน คะแนนเฉลี่ย


ΣΧ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
Ν แทน จำนวนข้อมูล

3. หาค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนน


ทดสอบก่อนและหลังเรียน ใช้สูตร ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดา
บริสุทธิ์. 2543 : 352)

√ Ν ( ΣΧ ) - ( Σ Χ )
2

สูตร S.D. = Ν ( Ν -1)

เมื่อ S.D. แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ΣΧ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
แทน ผลรวมของกำลังสองของ
2
ΣΧ

คะแนนทั้งหมด
Ν แทน จำนวนข้อมูล

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาคุณภาพของเครื่องมือ
1.การหาค่าความเที่ยง (Validity) ของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หาค่าดัชนีความ
69

สอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยคำนวณจาก
สูตร ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2548 :220-221) ดังนี้

ΣR
สูตร IOC = Ν

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่าง


ข้อคำถามกับลักษณะพฤติกรรม
ΣR แทน ผลรวมของคะแนนความคิด
เห็น
ของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
ทั้งหมด
Ν แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ

2.หาค่าความยาก (Difficulty) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์


ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของ
นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แบบปรนัย โดยใช้สูตร P
สูตรดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2541 : 195)
70

R
สูตร P =N
เมื่อ
P แทน ค่าความยากง่าย
R แทน จำนวนผู้เรียนที่ทำข้อนั้นถูก
N แทน จำนวนผู้เรียนทั้งหมด

3.หาค่าอำนาจจำแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบ


วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แบบ
ปรนัย (บุญชม ศรีสะอาด. 2560 : 85)

H−L
สูตร r = N

เมื่อ
r แทน ค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ
H แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงตอบถูก
L แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำตอบถูก
N แทน จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

4.สถิติที่ใช้ในเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างคะแนนผลการ
ทดสอบหลังเรียนกับคะแนนเฉลี่ย ก่อนเรียน โดยใช้ t-test
(Dependent Samples) สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2560 :
109-110)
71

ΣD


2
ΝΣ D−( ΣD )
t = Ν −1

เมื่อ t แทน ค่าที่จะใช้พิจารณา t – distribution


ΣD แทน ผลรวมของความแตกต่าง
ระหว่างคะแนนสอบ ก่อนเรียน
และหลังเรียนของนักเรียนแต่ละคน
N แทน จำนวนนักเรียน
ΣD 2 แทน ผลรวมของกำลังสองของ
ความแตกต่างระหว่าง คะแนนสอบ
ก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนแต่ละคน

df = Ν -1

5.แบบสอบถามความพึงพอใจ หาค่าความเชื่อมั่น
(Reliability) ตามวิธีของ Cronbach หรือ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
(α- Coefficient) (สมนึก ภัททิยธนี และคณะ. 2548 :94) โดยใช้
สูตร

เมื่อ α แทน ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น


k แทน จำนวนข้อของเครื่องมือวัด
71

Σ S
2
i แทน ผลรวมของความแปรปรวน
ของแต่ละข้อ
S2t แทน ความแปรปรวนของคะแนน
รวม

เกณฑ์พิจารณาหาค่าความเชื่อมั่น ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .00 - .20 แสดงว่ามีค่าความเชื่อมั่นต่ำ
มาก
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .21 - .40 แสดงว่ามีค่าความเชื่อมั่นต่ำ
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .41 - .47 แสดงว่ามีค่าความเชื่อมั่นปาน
กลาง
ถ้ามีค่าตั้งแต่ .71 – 1.00 แสดงว่ามีค่าความเชื่อมั่นสูง
72

บทที่ 4
ผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและ
หลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย
ใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ 2) เพื่อศึกษาความพึง
พอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กลุ่ม
ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 6/3 โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี
จังหวัด ปทุมธานี ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 1
ห้องเรียน รวม 46 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster
Sampling) มีเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 จำนวน 10 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้
สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แบบปรนัย จำนวน 30 ข้อ 3)
73

แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
จำนวน 2 หมวด ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ และ ด้านใช้สื่อวีดีทัศน์
รวมเป็ นจำนวน 10 ข้อ
ผู้วิจัยได้นำเสนอผลการวิจัย โดยแบ่งเป็ น 2 ตอน ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้
รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการ
เรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ

ตอนที่ 1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการ
73

เรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี


อวกาศ

ตารางที่ 4.1 ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ


นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการ
จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง
เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ

การ คะแนน S.D. T-Test Sig


Χ

ทดสอบ เต็ม
ก่อน 12.78 4.371 -10.952 .000*
30
เรียน
หลัง 18.85 4.751
เรียน
*นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตารางที่ 4.1.พบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 6 ได้รับการจัดการเรียนรู้รูป
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจัดการ
เรียนรู้เรียนสูง ( Χ = 18.85 , S.D. 4.751) กว่าก่อนจัดการเรียนรู้
73

( Χ = 12.78 , S.D. 4.371) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05


ซึ่งยอมรับสมมติฐานการวิจัย

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของของนักเรียนระดับ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 46 คน ที่มีต่อการ
จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ดังภาพที่ตาราง 4.2.
74

ตารางที่ 4.2 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้น


ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใน
รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ

รายการประเมิน S.D. แปลความ


Χ

หมาย
ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์
1 กิจกรรมการเรียนรู้มีความ 3.7609 1.03676 มาก
น่าสนใจ
2 มีการอำนวยความสะดวก 3.5217 .93664 มาก
ในกิจกรรมการเรียนรู้
3 กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยให้ 3.8696 .93354 มาก
นักเรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย
และชัดเจน
4 กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ 3.9565 1.05318 มาก
สำหรับในยุค New Nomal
5 กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยให้ 3.9565 .96509 มาก
นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้
ตลอดเวลา
ด้านการใช้สื่อวีดีทัศน์
3.2174
1 ความยาวของรายการวีดีทัศน์ 1.11381 ปานกลาง
เหมาะสม
75

3.6522
2 สื่อวีดีทัศน์กระตุ้นให้นักเรียน 1.07945 มาก
สนใจในบทเรียน
3.6522
3 การผลิตสื่อวีดีทัศน์ที่นำความ 1.07945 มาก
รู้มาประกอบเป็ นสิ่งน่าสนใจ
3.7174
4 ความรู้จากสื่อวีดีทัศน์สามารถ 1.24120 มาก
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
3.8043
5 นักเรียนมีความพึงพอใจในสื่อ 1.16656 มาก
วีดีทัศน์
รวมเฉลี่ย 3.71087
1.060568 มาก

ตารางที่ 4.2 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้น


ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
พบว่าความค่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( Χ = 3.71087 ,
S.D.= 1.0605) และเมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านมีค่าความพึงพอใจอยู่
ในระดับมาก จะเห็นได้ว่า ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการ
เรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ ( Χ = 3.8130,
S.D.= .70604) และ ด้านการใช้สื่อ ( Χ = 3.6087, S.D.= .80106)
75

ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น
GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ มีค่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ได้แก่
กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสำหรับในยุค New Nomal ( Χ =
3.9565, S.D.= 1.05318) กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยให้นักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ( Χ = 3.9565, S.D.= .96509)
กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายและชัดเจน (
Χ = 3.8696, S.D.= .93354) กิจกรรมการเรียนรู้มีความน่าสนใจ (
Χ = 3.7609, S.D.= 1.03676) และ มีการอำนวยความสะดวกใน
กิจกรรมการเรียนรู้ ( Χ = 3.5217, S.D.= .93664)
ด้านการใช้สื่อวีดีทัศน์ มีค่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ได้แก่
นักเรียนมีความพึงพอใจในสื่อวีดีทัศน์ ( Χ = 3.8043, S.D.=
1.16656)
ความรู้จากสื่อวีดีทัศน์สามารถใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ( Χ =
3.7174, S.D.= 1.24120)
สื่อวีดีทัศน์กระตุ้นให้นักเรียนสนใจในบทเรียน และ การผลิตสื่อ
วีดีทัศน์ที่นำความรู้มาประกอบเป็ นสิ่งน่าสนใจ ( Χ = 3.6522,
S.D.= 1.07945) มีเพียงค่าความพึงพอใจต่อ ความยาวของรายการ
วีดีทัศน์เหมาะสม ( Χ = 3.2174, S.D.= 1.11381) มีระดับปาน
กลาง
76

บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ


ด้วยการจัดเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF สำหรับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ซึ่งมีขั้นตอนการวิจัยและผลของการ
วิจัยสามารถสรุปได้ดดังนี้

5.1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย

5.1.1.เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่ อวีดีทัศน์ประกอบการจัด
การเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ
5.1.2.เพื่อศึกษาความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อการจัดการ
เรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

5.2 สมมติฐานของการวิจัย
75

5.2.1.นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 หลังได้รับการ


จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
สูงขึ้นกว่าก่อนเรียน
5.2.2. ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้
สื่อวีด๊ทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ อยู่ในเกณฑ์ระดับที่ดี

5.3. ขอบเขตการวิจัย
5.3.1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ประชากรที่ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี จังหวัด
ปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 6 ห้องเรียน
รวม 263 คน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 / 3
โรงเรียนวัดเขียนเขต ตำบล บึงยี่โถ อำเภอ ธัญบุรี
จังหวัด ปทุมธานี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 1
ห้องเรียน รวม 46 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster
Sampling)
77

5.3.2.ตัวแปรที่ใช้
ตัวแปรต้น
การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ตัวแปรตาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ความพึ่งพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ วีดีทัศน์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6
5.3.3.ระยะเวลาในการทำวิจัย
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2559

5.4. เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย
5.4.1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 10 แผน
5.4.2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 30 ข้อ
78

5.4.3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 2 หมวด ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้
และ ด้านสื่อวีดีทัศน์ รวมเป็ น 10 ข้อ

5.5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังขั้นตอนต่อไปนี้
5.5.1.ผู้วิจัยให้นักเรียนได้ทำแบบทดสอบวัดผลผลสัมฤทธิ์ก่อน
เรียน (Pre-Test) เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 30 ข้อ
5.5.2.ดำเนินการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ กับกลุ่ม
ตัวอย่างนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์ โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทั้งหมด 10 แผน แผนละ
2 คาบต่อสัปดาห์
5.5.3.ขั้นหลังการทดลอง นักวิจัยให้นักเรียนทำแบบทดสอบ
วัดผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังได้รับการจัดการ
เรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง
เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
และ ทำแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
78

ปี ที่ 6 เพื่อรวบรวมข้อมูล และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อ


ประมวลผล

5.6. การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
5.6.1.หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย ( X )
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ของคะแนนที่ได้จากการ
ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
5.6.2.วิเคราะห์หาความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่าง
คะแนนทดสอบก่อนเรียนละหลังเรียนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหา
ค่า T-test (Dependent Samples)
5.6.3.วิเคราะห์หาค่าความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา
และเทคโนโลยีอวกาศของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)

5.7. สรุปผลการทดลอง
5.7.1. ผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ มี
คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจัดการเรียนรู้เรียนสูง ( Χ =
18.85 , S.D. 4.751) กว่าก่อนจัดการเรียนรู้( Χ = 12.78 ,
78

S.D. 4.371) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ซึ่งยอมรับ


สมมติฐานการวิจัย
5.7.2. ผลแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
พบว่าความค่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( Χ = 3.71087 ,
S.D.= 1.0605) และเมื่อพิจารณาเป็ นรายด้านมีค่าความพึงพอใจอยู่
ในระดับมาก จะเห็นได้ว่า ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการ
เรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ ( Χ = 3.8130,
S.D.= .70604) และ ด้านการใช้สื่อ ( Χ = 3.6087, S.D.= .80106)
79

5.8. อภิปรายผล
5.8.1. การศึกษาการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ด้วยการจัด
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF สำหรับนักเรียน ระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ผลการศึกษาวิจัยพบว่า
นักเรียนกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา
วิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ สูงขึ้น ซึ่งสังเกตได้จากนักเรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
หลังการได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF
โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติระดับ .05 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ โดยนักเรียนที่ได้รับ
การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์ มีค่าเฉลี่ยที่ของผลต่างของคะแนนผผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรู้หลังเรียน ( Χ = 18.85 , S.D.
4.751 ) สูงกว่าก่อนเรียน ( Χ = 12.78 , S.D. 4.371) ทั้งนี้ อาจ
เป็ นเพราะการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ด้วยการจัดการเรียนรู้รูป
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ ที่เป็ นการ
จัดการเรียนรู้ที่ฝึ กให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง จึงส่ง
ผลให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้มากขึ้น สามารถจำได้นาน
และเชื่อมโยงกับความรู้ที่มีอยู่เดิมเข้ากับเรื่องที่เรียนต่อไปได้และ
ก่อนสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญอยู่แล้ว เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ
การทดลองการสืบค้นข้อมูลต่างๆด้วยตนเอง ประกอบด้วยนักเรียน
80

กลุ่มนี้มีความตั้งใจเรียนในระดับดี นอกจากนี้ยังการใช้สื่อวีดีทัศน์
สามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ ซึ่งจะเป็ นแรงจูงใจและ
ทำให้นักเรียนสามารถนำไปสู่ผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น หลังได้รับการ
จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ดังที่ กานต์สิริ ขุนสิริ (2564) ได้เสนอว่า การจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF ส่งผลให้เกิดการพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน ฝึ กให้นักเรียนรู้จักค้นคว้าด
หาความรู้ การคิดอย่างเป็ นระบบเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งจะ
ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเป้ นผุ้ใหญ่ที่มีคุณภาพ และ วีดีทัศน์การเรียนรู้
มีคุณลักษณะเฉพาะที่ทำให้เป็ นวิธีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพซึ่ง
สามารถปรับปรุงและแทนที่วิธีการเรียนรู้แบบใช้ห้องเรียนและครูที่
นำแบบเดิมบางส่วน การเรียนรู้ด้วยวิดีโอ สามารถเปลี่ยนวิธีที่เรา
เรียนรู้ตลอดจนวิธีการสอนของเรา (M. Merkt, S. Weigand, A.
Heier, and S. Schwan, (2011)) วิดีโอสามารถช่วยนักเรียนได้
ด้วยการนึกภาพว่าบางสิ่งเป็ นอย่างไร
(M. Colasante , (2011)) และแสดงข้อมูลและรายละเอียดที่ยาก
จะอธิบายด้วยข้อความหรือภาพนิ่ง [4] นอกจากนี้ วิดีโอสามารถ
ดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ ซึ่งจะเป็ นแรงจูงใจและทำให้พวก
เขามีส่วนร่วมเพื่อเพิ่มการทำงานร่วมกัน การใช้วิดีโอจึงสามารถนำ
ไปสู่ผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น (D. Zhang, L. Zhou, R. O. Briggs, and
J. F. Nunamaker Jr , (2006)) นอกจากนี้ วิดีโอยังสามารถ
สนับสนุนรูปแบบการเรียนรู้ต่างๆ โดยเฉพาะนักเรียนที่เป็ น 'ผู้เรียน
ที่มองเห็นได้ (B. Calandra, L. Brantley-Dias, and M. Dias,
(2006)) และ ความสำเร็จในการใช้สื่อวีดีทัศน์ช่วยให้นักเรียนได้ผล
80

สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย จิราภ
รณ์ เฟื่ องฟุ้ง (2559) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการจัดการเรียนหลัง
การเรียนวิชาพันธะเคมี โดยใช้สื่อวิดีทัศน์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 จำนวน 38 คน พบว่าคะแนนความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังการจัดการเรียนการสอน โยใช้
สื่อวิดีทัศน์เรื่องพันธะเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 มี
คะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูง ( Χ = 8.76 , S.D. 1.69) กว่า
ก่อนเรียน ( Χ = 4.13 , S.D. 1.09) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ.05
อดิศักดิ์ โคตรชุม (2562) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง การ จัดและตกแต่งสวน ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้สื่อวิดี
ทัศน์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย หลังใช้
สื่อ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเรียน
ด้วยเหตุนี้นักเรียนในงานวิจัยเรื่องนี้จึงมีผลคะแนนสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์อยู่ในระดับสูง และผ่านเกือบทุก
คน
5.8.2.ผลแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้
ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
พบว่าความค่าความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( Χ = 3.71087 ,
S.D.= 1.0605) ที่จะให้มีการจัดการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ เพราะ
80

กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสำหรับในยุค New Nomal และความพึง


พอใจของนักเรียนในงานวิจัยนี้อยู่ในระดับมากซึ่งสอดคล้องกับงาน
วิจัยของ ปรเมศวร์สิริสุรภักดี, ธเรศวร์ เตชะไตรภพ, และบริบูรณ์
ชอบทำดี (2561) [10] ที่ได้พัฒนาสื่อ มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เรื่อง
หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
1 โรงเรียน วัดพุทไธศวรรย์พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการ
เรียนด้วย สื่อมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก
นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ อัญญปารย์ศิลปนิลมาลย์ และศรัณย
วัฒน์ พลเรียงโพน [11] ที่ได้พัฒนาบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง การ
สร้างผังงานด้วยโปรแกรม Microsoft Visio 2010 สำหรับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5 พบว่า ผู้เรียนมี ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด
ทั้งนี้เพราะการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียโดยอาศัยหลักการใช้สิ่งเร้า
เพื่อให้เกิดการ ตอบสนองมีการเสริมแรงในขณะเรียน การนำเสนอ
เนื้อหาจะเป็ นรูปภาพเคลื่อนไหว ข้อความ เสียง และผู้เรียน
สามารถทราบผลความก้าวหน้าของตนเองทันทีเมื่อตอบเสร็จ เพื่อ
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงความสามารถของตนเอง และการแก้ไขข้อ
บกพร่องด้วย ถ้าผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียน
ประสบความสำเร็จ
81

5.9. ข้อเสนอแนะ
5.9.1. ข้อเสนอแนะทั่วไป
1.จัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ควรดูบริบท
ของแต่ล่ะสถานที่ศึกษาว่ามีความอำนวยความสะดวกต่อการจัดการ
เรียนรู้มากหรือน้อยเพียงใด
2.หลังการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้คุณครูหรือผู้
สอนควรช่วยสรุปเนื้อหา โดยผ่านการตั้งคำถาม หรือเล่นเกมส์ เพื่อ
ให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนเข้าใจในบทเรียนแต่ละครั้งที่จัดการเรียน
การสอน
3.การผลิตสื่อวีดีทัศน์แต่ละครั้ง ควรคำนึงความ
ยาวของวีดีโอว่าเหมาะสมต่อนักเรียนระดับชั้นนั้นหรือไม่
5.9.2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1.ควรมีงานวิจัยที่มุ่งเน้นการออกแบบ สร้าง และ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้
สื่อวีดีทัศน์เพื่อให้สอดคล้องกับบทเรียนและสาระวิชาต่างๆ
2. ควรมีงานวิจัยที่มุ่งเน้นการออกแบบ สร้าง และ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5 steps GOCQF หลาก
หลายรูปแบบมากกว่านี้ และมีงานวิจัยเข้ามาสนับสนุนหรือรองรับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หรือผลความคิดเห็นของผู้เรียนต่อการจัด
เรียนรู้ในแต่ละสาขาวิชาต่างๆๆต่อการทำวิจัยในครั้งต่อๆไป
82

บรรณาณุกรม
ภาษาไทย

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและหลักสูตรแกนกลาง


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
_____. 2551.สำนักคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวง
ศึกษาธิการ, กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
กานต์สิริ ขุนศิร,(2564). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ฟิ สิกส์เพิ่มเติม 2 ของนักเรียนระดับชั้น
82

มัธยมศึกษาปี ที่ 5 เมื่อใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้


ออนไลน์ 5 steps GOCQF
.โรงเรียนสุรินทร์ราชมงคล จังหวัดสุรินทร์
กาญจนา ตุ่มคำแดง. (2554). การพัฒนาสื่อวิดีทัศน์การสร้างงาน
สามมิติ สำหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 5. โรงเรียนแม่ปะวิทยาคม จังหวัดตาก.
กรรณิการ์ รัตนประเสริฐศรี.(2553). การผลิตดิจิทัลวิดีทัศน์เพื่อการ
เรียนรู้ เรื่อง เครื่องดนตรีไทย
สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2.การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ปริญญาโท สาขาวิชา
เทคโนโลยีการศึกษา,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กิดานันท์ มลิทอง.(2548). เทคโนโลยีการศึกษาร่วม
สมัย.กรุงเทพฯ:จุฬใลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_____.(2543).เทคโนโลยีการศึกษานวัตกรรมใ (พิมพืครั้งที่
2).กรุงเทพฯ.ภาควิชาโสตทัศนศึกษา
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกตุสุดา มนิระพงศ์. (2537) แบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น .
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เกศินี โชติกเสนียร์. (2535).การผลิตเทปโทรทัศน์เพื่อการศึกษาและ
ฝึ กอบรม.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.
จิตราภรณ์ ชั่งกริส. (2559). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้
ตามแนวคิด Fipped Classroom
82

เรื่องการตรวจร่างกาย รายวิชาการประเมินภาวะ
สุขภาพ. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (เทคโนโลยี
และสื่อสารการศึกษา). ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี. ถ่ายเอกสาร.
จิราภรณ์ เฟื่ องฟุ้ง. (2559). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์โดยใช้สื่อวิดี
ทัศน์ เรื่อง พันธะเคมี
ของชั้นมัธยมศึกษาปี 4. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (หลักสูตร
และการสอน). กรุงเทพฯ: วิทยาลัย
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.ถ่ายเอกสาร
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2545). เทคโนโลยีการศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะ
ศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.(2520). ระบบสื่อการ
สอน. กรุงเทพฯ.คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
83

บรรณาณุกรม (ต่อ)

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2546). การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน


เทคโน โลยีการศึกษาใน
สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร
ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษาคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณคินทร์ รอดพุฒ. (2550). การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เพื่อการเรียนการ
สอน : กรณีศึกษาเทมเป้ อาหาร
จากถั่วเหลือง คุณค่าและวิธีการผลิต. สาขาสื่อศิลปะ และ
การออกแบบสื่อ: บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เณศรา โฉมรุ่ง. (2552). ผลการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ระหว่างการจัด
กิจกรรมตามแนวคิด โดยใช้สมองเป็ นฐานกับการจัด
กิจกรรมตามปกติ. การศึกษา
ค้นคว้าอิสระ: ฉบับถ่ายเอกสาร.กศ.ม. หลักสูตรและการ
สอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเป็ องตัน (พิมพ์ครังที่ 10).
กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2543). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย.
กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์และ
84

มนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปรียาดา ทะพิงค์แก .(2564). กระบวนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 5
steps GOCQF.
สืบค้น 31 มกราคม 2565,
https://sym16.onec.go.th/?fbclid=lwAROKtFP6MM

7jY7GLz4Jz7vqNvfLTBtzwvKUrMEPFvwWMiYjGogR06borM
g
ประทิน คล้ายนาค.(2550). การผลิตรายการโทรทัศน์ทางการ
ศึกษา.พิมพ์ครั้งท่ี2.นครปฐม:
มหาวิทยาลัยศลิปากร
ประภาส เกตุแก้ว. (2546). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการทีมีต่อการ
ให้บริการขงฝ่ ายทะเบียนรถ
สำนักงาน ขนส่งจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. สารนิพนธ์. การ
ศึกบามหาบัณฑิตสาขา
ธุรกิจศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทรงสมร คชเลิศ. (2543). ความพึงพอใจในการเรียนกลุ่มวิชาการ
เลขานุการ ของนักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี และ
วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน
สารนิพนธ์ กศ.ม. (ธุรกิจศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริน
ทรวิโรตประสานมิตร.
84

เทพวรรณ สิงหบุตร. (2540). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะมุ่ง


อนาคต ความพึงพอใจในวิชาชีพ
พลศึกษาและเทคโนโลยีธุรกิจกีฬากับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของนักศึกษา
ภาควิชาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น. ขอนแก่น :
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

บรรณาณุกรม (ต่อ)
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2530). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และ
สังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนัก
ทดสอบทางการศึกษาจิตวิทยา มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2547). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ปฏิบัติการ
วิจัยในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 4.
คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร.
พิชญา เพิ่มไทย และ อนุรักษ์ อาทิตย์กวิน. (ตุลาคม 2556 -
มีนาคม 2557). การสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็ นสำคัญ โดยใช้วิดิทัศน์ประกอบการสอนรายวิชาการ
จัดการผลิตภัณฑ์ชุมชนสำหรับตลาด
ต่างประเทศ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 2(2): 97
- 104.
84

ไพโรจน์ รณธนากุล. (2528). ใมโครคอมผิวเตอร์ประยุกต์ทางการ


ศึกษา. กรุงเทพฯ :ศูนย์สื่อเสริม. ภัทรา นิคมานนท์.
(2540). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์การพิมพ์
เริงชัย พะวุฒ. (2556. การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง หมวดหมู่บัญชี
รายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ
การจัดการเรียนการสอนทางไกล ระดับ ประกาศนียบัตร
วิชาชีพ ชั้นปี ที่ 1. วิทยาลัย
เทคโนโลยีปั ญญาภิวัฒน์. สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษานนทบุรี
รัตนาวลี คําชมภู.(2549).การพัฒนาชุดการเรียนด้วยตนเองวิชา
ภาษาไทยเร่ืองชนิดของคําของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี.
ปริญญาศึกษาศาสตร์. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.เขต 1 สำนักงานคณะ
กรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
กระทรวงศึกษาธิการ.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทกนิคการวัดผลการ
เรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
วพจน์ นวลสกลุ . (2550). ผลของการเลือก ช่วงการทำแบบฝึ กหัด
ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
กับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิชา เคมีทั่วไปของนักศึกษา
ปริญญาตรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาโสตทัศน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์
84

มหาวิทยาลัย
วิภาดา เกิดพิทักษ์. (2539). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แรง
จงใจใผ่สัมฤทธิ์และสภาพแวดล้อม
ทางสังคมในห้องเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ใน
จังหวัดขอนแก่น.วิทยานิพนธ์
กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา) ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ถ่ายเอกสาร.
วสันต์ อติศัพท์. (2534). นวัตกรรมการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3.
ปั ตตานี:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปั ตตานี.
วิจิตร ภัคดีรัตน์. (2525). วิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์กับการ
ศึกษา. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.
วิจิตร ศรีสะอ้าน. (2523). หลักและระบบบริหารการศึกษา เล่มที่ 1
หน่วยที่ 1-5. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
87

บรรณาณุกรม (ต่อ)
วัญญา วิศาลาภรณ์. (2533). การสร้างแบบทดสอบ (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพมหานคร:
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวง
ศึกษาธิการ.(2560).หนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์.
กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กา
พสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สุรพล เย็นเจริญ. (2543). ความพึงพอในต่อการเรียนวิชาชีพธุรกิจ
ของนักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ s
และมัธยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนปทุมคงคา สังกัดกรมสามัญ
ศึกษา กรุงเทพมหานคร.
สุวัฒนา ใบเจริญ. (2540). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการให้
บริการของธนาคารออมสิน สาขา
ขอนแก่น (ภาคค่ำ). การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา
การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สมบูรณ์ สุริยวงษ์ และคณะ. (2540). การวัดและการประเมินผล
วิทยาศาสตร์. ม.ป.ป.
85

สุโชติ ดาวสุโข และ สาโรจน์ แพ่งยัง. (2535). คู่มือการสอน.


กรุงเทพฯ: คณะกรรมการฝ่ าย
ส่งเสริมการผลิตตำราและสื่อการสอน, มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์.
สาโรช ไสยสมบัติ. (2534). ความพึงพอใจในการทำงานของครู
อาจารย์โรงเรียน มัธยมศึกษาสังกัด
กรมสามัญศึกษา จังหวัคร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต สาขาการบริหาร
การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ
มหาสารคาม.
สุเทพ เมฆ. (2531). ความพึงพอใจในบรรยากาศการเรียนการสอน
ของนักเรียนและครู โรงเรียน
อาชีวศึกษาเอกชน ประเภทพาณิชยกรรม ในเขตการศึกษา
12. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.
กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร.ถ่ายเอกสาร.
อดิศักดิ์ โคตรชุม. (2562, กรกฎาคม - ธันวาคม). การพัฒนาสือ
วีดีทัศน์ เพื่อประกอบการเรียนรู้
รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การจัดและ
ตกแต่งสวน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2.
วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ. 5(2): 67 - 76.
อัครเดช จำนงธรรม. (2549). การศึกษาผลสัมฤทธิ์และความพึง
พอใจทางการเรียนวิชาเคมีของ
85

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ที่เรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรม


อิเล็กทรอนิกส์. สารนิพนธ์.
ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ.
อัมพนิดา ผการัตน์. (2539) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัย
เสริม กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ใน
โรงเรียนสังกัดสำนักงานการ
ประถมศึกษาจังหวัดอุดรธานี . มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น/ขอนแก่น
บรรณาณุกรม (ต่อ)
ภาษาอังกฤษ

Bloom, Benjamins. (1976). Human Characteristics and


School Learning. New York
:McGraw-Hill Book Company.
Calandra, B, Brantley-Dias, L., & Dias, M. (2006). Using
digital video for
professional development in urban schools: A
preservice teacher's experience
with reflection. Journal of Computing in Teacher
Education, 22(4), 137-145.
85

Colasante, M. (2011). Using video annotation to reflect


on and evaluate physical
education pre-service teaching practice.
Australasian Journal of Educational
Technology, 27(1)
Good, C. V. (1973) . Dictionary of Education. New York:
Mc.Graw-Hill Book
Company Inc.
Holden, R.E. (1995). The black public college and
university administrators ' attitude
and perceptions toward the decision and its
implications for higher education
in a southern on border state. Dissertation
University of Maryland College Park.
Howell. (1994). Evaluation of Intensive Television for
Teaching Basic Electricity," Audio-
Visual Communication Reivew. 8(s):10-13 .
Hutchins, G.B. (1991). Introduction to Quality : Control,
Assurance and Management.
New York : Macmillan.
Hopkins,K.,.Stanley,J.C.(1981).Educational and
Psychological Measurement and
Evaluation (Sixth Edition).Englewood Cliffs, New
Jersey: Prentice-Hall,272-273.
85

Kanner, Joseph H. Sanfor Katz;& Peter B. Goldsmith.


(1959). Evalvetion of Intensive
Television For Teaching Basic Electricity Audio -
Visual Communication Review.
7(4):307-308.
Lee, Hyung - Ryong. (2000). An Empirical Study of
Organizational Justice a Mediator of
the Relationship among Leader - Member
Exchange and Job Satisfaction,
Organizational Commitment and Turnover
Intentions in The Lodging Industry.
Ph.D.dissertation, Facculty of The Virginia
Polytechnic Insitute
and State University.
87

บรรณาณุกรม (ต่อ)

Maslow, A. (1970). Human needs theory: Maslow's


hierarchy of human needs. In R.F
Craven & C.J. Himle (Eds.), Fundamental of
Nursing: Human Health and
rd
Function. (3 ed.) Philadelphia: Lippincott.
Merkt, M., Weigand, S., Heier, A., & Schwan, S. (2011).
Learning with videos vs. Learning
with print: The role of interactive features.
Learning and Instruction, 21(6),
687–704
Ramlogan, S., Raman, V. and Sweet, J. (2014), 'A
comparison of two forms of teaching
instruction: video vs. live lecture for education
in clinical periodontology',
European Journal of Dental Education18(1), 31-
38.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of
content specialists
in the assessment of criterion-referenced test
item validity. Dutch Journal of
Educational Research,2, 49-60.
85

Schreiber, B. E., Fukuta, J. and Gordon, F. (2010), 'Live


lecture versus video podcast in
undergraduate medical education: A randomized
controlled trial', BMC Medical
Education 10(1), 68.
Schmidt, K. A Model to Integrate Online Teaching and
Learning Tools into
the Classroom. Journal of Technology Studies.
2004;30(2):86-92.
Taslibeyaz, E., Aydemir, M. and Karaman, S. (2017), 'An
analysis of research trends in
articles on video usage in medical education',
Education and Information
Technologies 22(3), 873-881.
Wallerstein, H.A. (1971). Dictionary of Psychology. New
York : Penguin Books, Inc.
Wolman, B. B. (1973). Dictionary Behavioral Science. New
York: Van Nostrand Reinhold.
Yudianto, Arif. 2017. Penerapan Video Sebagai Media
Pembelajaran. Seminar Nasional
Pendidikan. 234-237
Zhang, D., Zhou, L., Briggs, R. O., & Nunamaker, J. F., Jr.
(2006). Instructional video in
85

e-learning: Assessing the impact of interactive


video on learning effectiveness.
Information & Management, 43(1), 15–27
87

ภาคผนวก
85
88

เครื่องมือที่ใช้วัดในงานวิจัย

1. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา เทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้
แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่
6
3. แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6
89

แบบบันทึกแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ เวลา 20 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร


เวลา 2 ชั่วโมง
ผู้สอน นาย วราวุฒิ สุภะกะ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564
วันที่............./.............../...........

1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลง
และการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน
พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า รวมทั้งนำความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ว 2.2 ป.6/7 อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์ (ว 2.3
ป.6/7)
สาระสำคัญ
90

· เมื่อมีวัตถุทึบแสงมากั้นทางเดินของแสงจะเกิดเงาบน
ฉาก
· เงาแบ่งออกเป็ นเงามืดและเงามัว โดยเงามืดเป็ นบริเวณ
ที่ไม่มีแสงตกลงมาบนฉากเลย ส่วนเงามัว เป็ นบริเวณที่
มีแสงบางส่วนตกลงบนฉาก
3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. เงามืดและเงามัว
ทักษะกระบวนการ
1. อธิบายการเกิดเงามืดเงามัว
2. การทดลองการเกิดเงามืดเงามัว
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้

พฤติกรรมบ่งชี้
(1)ศึกษาหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อและ
เทคโนโลยีต่าง แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนและเลือกใช้สื่อได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(2)บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียน สรุป
เป็ นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการดังกล่าวและ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
90

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ
ตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดที่ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
ตนเองและสังคม
ตัวชี้วัดที่ 2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
4. สื่อ และแหล่งเรียนรู้
1. สไลด์การสอน เรื่อง การเกิดเงา
2. หนังสือเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6
3. ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง การเกิดเงา
5. คลิป วีดิโอการทดลอง เรื่อง เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร ใน
google site
5.กิจกรรม/ กระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF
ดังนี้
ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting) (5 นาที)
1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูปแบบออนไลน์ โดยโปรแกรม
Google Meet
90

1.2.ครูทบทวนความรู้เดิมจากการแชร์ภาพ Power point


โดยใช้โปรกรม Google Meet เกี่ยวกับ เงา และ
ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการเกิดเงา โดยใช้คำถามดังนี้
- จากรุปภาพ ในรูปภาพทีเป็ นสีดำๆ ทอดยาว คืออะไร (เงา)
- เงา เกิดขึ้นได้อย่างไร (ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน)
- เงามืด และเงามัว ต่างกันอย่างไร (ตอบตามความเข้าใจของ
นักเรียน)
91

ขั้นที่ 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online learning) /


มอบหมายภาระงาน (Online assignment) (40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง เรื่อง เงาเกิดขึ้น
ได้อย่างไร ให้นักเรียนทางห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 ทางโน้ตไลน์
2.2. ครูชี้แจงให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ก่อนคาบเรียน เพื่อที่
จะนำมาปฎิบัติการทดลองตามคลิป วีดิโอการทดลอง เรื่อง การเกิด
เงา ดังนี้
อุปกรณ์การทำกิจกรรม ประกอบด้วย
1.กระดาษ 1 แผ่น
2.ไฟฉาย หรือ ไฟฉายโทรศัพท์ 1 อัน
3. ลุกปิ งปอง 1 ลูก
4.กระป๋ องน้ำอัดลม 1 กระป๋ อง
5. สิ่งของ X 1 ชิ้น
6.ไม้เสียบ 1 ไม้
วิธีการทำกิจกรรม
1.นำลูกปิ งปองมาเสียบกับไม้เสียบ แล้วทำให้เกิดเงาบนฉาก
นำไฟฉายฉายไปบริเวณหน้าวัตถุเลือนวัตถุเข้าใกล้ฉากและ
เข้าใกล้ไฟฉาย
2.ทำซ้ำข้อ 1 แต่เปลี่ยนลูกปิ งปองเป็ นกระป๋ องน้ำอัดลม
สิ่งของ X
3.นักเรียนสังเกตผลที่เกิดขึ้นผลบนฉาก แล้วบันทึกผลการ
ทดลอง
92

2.3.คุณครูส่งลิงค์ Google site ให้นักเรียนไปศึกษาด้วยตัว


เองโดยคุณครูจะให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่
นักเรียน
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบบันทึกกิจกรรมที่นักเรียนส่งมาในโน้ตไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 พร้อมให้คะแนน
นักเรียนรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q & A
Meeting) 20 นาที
4.1.หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการ
ทำกิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- เงาคืออะไร (เงา เกิดขึ้นเมื่อมีวัตถุกั้นแสงจะเกิดเงาบนฉาก
เป็ นบริเวณมืดหลังวัตถุ กล่าวคือ เงาเกิดจากการที่ตัวกลางทึบแสง
มาขวางกั้นทางเดินของแสง โดยรูปร่างของเงาจะเป็ นไปตามวัตถุ
ที่มากั้นแสง)
- เงามีกี่ประเภท อะไรบ้าง (เงามี 2 ประเภทคือ เงามืด เป็ น
เงาในบริเวณที่ไม่มีแสงผ่านไปถึง ทำให้บริเวณนั้นมืดสนิท เงามัว
เป็ นเงาบริเวณที่มีแสงบางส่วนผ่านไปถึง และทำให้บริเวณนั้นมืดไม่
สนิท)
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง เงาเกิดขึ้นได้
อย่างไรในโน้ตไลน์กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 โดยครูตรวจสอบราย
ชื่อนักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ตไลน์กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของนักเรียนที่ทำกิจกรรม พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
92

ปั ญหาในการทำกิจกรรมให้นักเรียน

6. การวัดและการประเมินผล
1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดประสงค์
การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ

1.ว 2.2 ป.6/7 อธิบาย ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง แบบประเมินใบบันทึก


การเกิดเงามืดเงามัวจาก เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร กิจกรรม เรื่อง เงาเกิดขึ้น
หลักฐานเชิงประจักษ์ ได้อย่างไร

2. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการ เครื่องมือ


ประเมิน

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ สังเกต แบบประเมินคุณลักษณะอัน


ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายาม พฤติกรรม พึงประสงค์
ในการเรียนและ เข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้
93

3. การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการประเมิน เครื่องมือ

1. ความสามารถในการ ประเมินความสามารถ แบบประเมินสมรรถนะสำ คัญ


ใน การสื่อสาร ของนักเรียน
สื่อสาร

2.ความสามารถในการ ประเมินความสามารถ แบบประเมินสมรรถนะสำ คัญ


ใน การใช้ ของนักเรียน
ใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยี

ลงชื่อ………………………………………… ครูผู้สอน
(นายวราวุฒิ สุภะกะ)
วันที่………………
เดือน………………
พ.ศ.……………

ความคิดเห็นของคุณครูพี่เลี้ยง
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูพี่เลี้ยง
92

(นางสาวอาภาพร กมล)
วันที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
94

บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ เวลา 20 ชั่วโมงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง เงาเกิดขึ้นได้อย่างไร เวลา 2
ชั่วโมง ผู้สอน นายวราวุฒิ สุภะกะ วันเดือน
ปี ที่สอน …………/…………/………… เวลา………………..น.

1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้

1. ว 2.2 ป.6/7 อธิบายการเกิด นักเรียน


ทั้งหมด...........................................คน
เงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิง
จำนวนนักเรียนที่ผ่าน.................................คน
ประจักษ์
คิดเป็นร้อยละ
..........................................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน..............................คน
คิดเป็นร้อยละ
...........................................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน.....................................

2. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้
92

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ จำนวนนักเรียนทั้งหมด ........................ คน


ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียร จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน
พยายามในการเรียนและเข้า .......................คน
ร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็ นร้อยละ .......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน.......................คน
คิดเป็ นร้อยละ .............................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..........................................
95

3. การประเมินสมรรถนะของหลักสูตร

ความสามารถด้าน ผลการจัดการเรียนรู้

1. การสื่อสาร จำนวนนักเรียนทั้งหมด ....................... คน


จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน ..................
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...............
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..................................

2. การใช้เทคโนโลยี จำนวนนักเรียนทั้งหมด ....................... คน


จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน ..................
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...............
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..................................
96

บันทึกเพิ่มเติม
ปัญหา/ อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
96

……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..…………
…………………………………………………….
แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..…………
………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูผู้สอน
(นายวราวุฒิ สุภะกะ) วัน
ที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
ความคิดเห็นของกลุ่มงานวิชาการ
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………
………………………………………………………………………………………………
…………...……..…………..……………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………
96

………………………………………………………………………………………………
……………………………………………..………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
…...……..…………..……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูพี่เลี้ยง
(นางสาวอาภาพร กมล) วัน
ที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
97

เกณฑ์การประเมินใบบันทึกกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน

3 2 1 0

1. ความถูกต้อง ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้อง 80% ถูกต้อง 50% ไม่ถูกต้อง


ตรงประเด็น
ของผลงาน ยังไม่ตรง ยังไม่ตรงประเด็น
ทั้งหมด
ประเด็น ทั้งหมด ทั้งหมด

2. ความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานไม่มีความ


ระเบียบ เรียบร้อย เป็นระเบียบ ระเบียบ เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ระเบียบของ ผล
สะอาด ไม่มีรอย เรียบร้อย สะอาด สะอาด มีรอยลบ เป็น เรียบร้อย
งาน
ลบ มีรอยลบ เล็ก ส่วนใหญ
น้อย

3. ความครบถ้วน มีการบันทึกข้อมูล มีการบันทึก มีการบันทึกข้อมูล มีการบันทึก


ครบถ้วน และมี ข้อมูลไม่ครบ ครบถ้วน แต่ไม่ค่อย ข้อมูลบางส่วน
ของการบันทึก
ความชัดเจน ขาดบางประเด็น ชัดเจนชัดเจน
ข้อมูล
แต่ข้อมูล มี
ความชัดเจน

เกณฑ์การประเมิน 8-9 คะแนน ระดับ ดีมาก


5-7 คะแนน ระดับ ดี
3-4 คะแนน ระดับ พอใช้
น้อยกว่า 3 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน
98

ประเด็นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับคุณภาพ

ประเด็นการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)

(1) ศึกษาค้นคว้าหา ความ ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ไม่ศึกษา ค้นคว้า


ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ หา ความรู้
รู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่ง
เอกสาร สิ่งพิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ
สื่อ เทคโนโลยี สื่อเทคโนโลยี เทคโนโลยี แหล่ง
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และ
แหล่ง เรียนรู้ทั้ง แหล่งเรียนรู้ทั้ง เรียนรู้ทั้ง ภายในและ
ภายนอกโรงเรียน และเลือก
ภายในและ ภายในและ ภายนอกโรงเรียน
ใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม
ภายนอกโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้
(2) บันทึกความรู้ และเลือกใช้สื่อได้ และเลือกใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม และมี
วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่ง อย่างเหมาะสมและ อย่างเหมาะสม การบันทึก ความรู้
ที่เรียนรู้ สรุป เป็นองค์ความ มี การบันทึกความ และมีการบันทึก
รู้ รู้ วิเคราะห์ตรวจ ความรู้ วิเคราะห์
(3) แลกเปลี่ยนความรู้ สอบ จากสิ่งที่เรียน ตรวจสอบ จากสิ่ง
ด้วยวิธีการดังกล่าว และนำ รู้ สรุป เป็นองค์ ที่เรียนรู้ สรุปเป็น
ไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน ความรู้และ แลก องค์ความรู้และ
เปลี่ยนความรู้ ด้วย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิธีการที่ หลาก และแลกเปลี่ยน
หลายและ นำไปใช้ เรียนรู้กับผู้อื่นได
ใน ชีวิตประจำวัน
ได้

หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน

ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน


99

เกณฑ์การประเมินใบงาน
ระดับคุณภาพ

ประเด็นการ ดีเยี่ยม ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง หมายเหตุ


ประเมิน
5 4 3 2 1

ความถูกต้อง นักเรียน ทำงาน นักเรียน นักเรียน นักเรียน ทำงาน นักเรียนส่ง


ของใบงาน ส่ง ตรงเวลา ทำงานส่ง ทำงานส่ง ส่ง ตรงเวลา งานได้
และความ และสามารถ ตรงเวลา และ ตรงเวลา และสามารถ ไม่ตรงเวลา
เหมาะสมของ ตอบคำถาม ใน สามารถ ตอบ และสามารถ ตอบคำถาม ใน
ระยะเวลาใน ใบงานได้ ถูก คำถาม ในใบ ตอบคำถาม ใบงาน ได้ถูก
การปฏิบัติงาน ต้อง มากกว่า งานได้ ถูก ในใบงาน ต้อง มากกว่า
ร้อยละ 80 วิธี ต้อง มากกว่า ได้ถูกต้อง ร้อย ละ 40
ร้อย ละ 70 มากกว่าร้อย
การที่ หลาก
หลายและ นำ ละ 50
ไปใช้ใน ชีวิต
ประจำวัน ได้

เกณฑ์การประเมิน 8-9 คะแนน ระดับ ดีมาก


5-7 คะแนน ระดับ ดี
3-4 คะแนน ระดับ พอใช้
น้อยกว่า 3 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน
100

แบบบันทึกแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ เวลา 20 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้อย่างไร
เวลา 2 ชั่วโมง

ผู้สอน นาย วราวุฒิ สุภะกะ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา


2564 วันที่ ........../........../...........

1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการ


เกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ
รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ

ตัวชี้วัด

ว 3.1 ป.6/1 สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดและเปรียบ


เทียบปรากฏการณ์ สุริยุปราคาและ จันทรุปราคา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดสุริยุปราคา (ว 3.1
ป.6/1)
99

สาระสำคัญ
 เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับ
ดวงอาทิตย์ในระยะทางที่เหมาะสม ทำให้ดวงจันทร์บังดวง
อาทิตย์ เงาของดวงจันทร์ทอดมายังโลก ผู้สังเกตที่อยู่บริเวณ
เงาจะมองเห็น ดวงอาทิตย์มืดไป เกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา
ซึ่งมีทั้งสุริยุปราคาเต็มดวง สุริยุปราคาบางส่วน และ
สุริยุปราคาวงแหวน
3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. สุริยุปราคา
ทักษะกระบวนการ
1. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดสุริยุปราคา
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้
101

พฤติกรรมบ่งชี้
(3)ศึกษาหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อและ
เทคโนโลยีต่าง แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนและเลือกใช้สื่อได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(4)บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียน สรุป
เป็ นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการดังกล่าวและ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ
ตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดที่ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
ตนเองและสังคม
ตัวชี้วัดที่ 2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
4. สื่อ และแหล่งเรียนรู้
1. สไลด์การสอน เรื่อง สุริยุปราคา
2. หนังสือเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6
3. ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้
อย่างไร
5. คลิป วีดิโอการสอน เรื่อง สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้
อย่างไร
5.กิจกรรม/ กระบวนการเรียนรู้
99

จัดการเรียนรู้โดยการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF


ดังนี้
ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting) (5 นาที)
1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูปแบบออนไลน์ โดยโปรแกรม
Google Meet
1.2.ครูทบทวนความรู้เดิมจากการแชร์ภาพ Power point
โดยใช้โปรกรม Google Meet เกี่ยวกับ สุริยุปราคา
และตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับกิจกรรม สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้
อย่างไร โดยใช้คำถามดังนี้
- จากภาพที่แสดง นักเรียนรู้หรือไม่มันคือปรากฎการณ์ใด
(ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน)
- นักเรียนรู้จัก สุริยุปราคาหรือไม่ แล้วมันเกิดขึ้นได้อย่างไร
(ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน)
102

ขั้นที่ 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online learning) /


มอบหมายภาระงาน (Online assignment) (40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง เรื่อง สุริยุปราคา
เกิดขึ้นได้อย่างไร ให้นักเรียนทาง
ห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมไลน์ กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
ทางโน้ตไลน์
2.2. ครูชี้แจงให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ก่อนคาบเรียน เพื่อที่
จะนำมาปฎิบัติการทดลองตามคลิป วีดิโอการทดลอง เรื่อง
สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้อย่างไร ดังนี้
อุปกรณ์การทำกิจกรรม ประกอบด้วย
1.กระดาษ A4 1 แผ่น
2.คลิปดำหนีบกระดาษ 2 อัน
3.ไฟฉาย หรือ ไฟฉายโทรศัพท์ 1 อัน
4.ดินน้ำมันสีใดก็ได้ 1 สี
5.ไม้เสียบลูกชิ้น 1 ไม้
วิธีการทำกิจกรรม
1.พับกระดาษ A4 ครึ่งหนึ่ง แล้วนำคลิปมาหนีบกระดาษแล้ว
นำไปวาง
2.ปั้นดินน้ำมันเป็ นวงกลมขนาดกลาง แล้วใช้ใม้เสียบลูกชิ้น
เสียบแล้วตั้งไว้โดยใช้ดินน้ำมันที่
เหลือเป็ นฐาน
3.เปิ ดไฟฉายใส่วัตถุที่เราปั้นไว้ จากนั้นลงจุดเงามืด เงามัว
และบริเวณที่ไม่มีเงาไว้
4.นำไปเจาะรูบนกระดาษตรงบริเวณที่เราลงจุดไว้ บริเวณละ
99

1 รู
5.สังเกตรูปร่างของแหล่งกำเนิดแสงผ่านแต่ละรูที่เจาะไว้และ
บันทึกผล
2.3.คุณครูส่งลิงค์ Google site ให้นักเรียนไปศึกษาด้วยตัว
เองโดยคุณครูจะให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่
นักเรียน
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบบันทึกกิจกรรมที่นักเรียนส่งมาในโน้ตไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 พร้อมให้คะแนน
นักเรียนรายบุคคล
103

ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q & A


Meeting) 20 นาที
4.1.หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการ
ทำกิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- สุริยุปราคา เกิดขึ้นได้อย่างไร
(สุริยุปราคา เกิดจากดวงจันทร์โคจรมาอยู่ระหว่างโลกและ
ดวงอาทิตย์ในเส้นแนวเดียวกัน)
- เมื่อสังเกตแหล่งกำเนิดแสงจากบริเวณเงามืด เงามัว และ
บริเวณที่ไม่มีเงาจะมองลักษณะของแสงจากไฟฉายแตกต่าง
กันหรือไม่ อย่างไร
(แตกต่างกัน โดยรูที่เจาะบริเวณเงามืด จะมองไม่เห็นไฟฉาย
รูที่เจาะบริเวณเงามัว จะเห็นไฟฉายบางส่วน รูที่เจาะบริเวณ
ไม่มีเงา จะมองเห็นไฟฉายทั้งหมด)
- คนบนโลกที่อยู่บริเวณเงามืด เงามัว และนอกบริเวณเงาของ
ดวงจันทร์จะมองเห็นปรากฏการณ์สุริยุปราคาแตกต่างกัน
หรือไม่ อย่างไร
(แตกต่างกัน ตำแหน่งบนพื้นโลกที่อยู่ในเขตใต้เงามืดของดวง
จันทร์จะมองเห็นดวงอาทิตย์มืดมิดทั้งดวงเรียกว่า สุริยุปราคา
เต็มดวง ท้องฟ้ าจะมืดไปชั่วขณะ ในขณะที่ตำแหน่งบนพื้น
โลกที่อยู่ภายใต้เขตเงามัวจะมองเห็นดวงอาทิตย์ถูกบังไปบาง
ส่วน เรียกว่า สุริยุปราคาบางส่วน สำหรับการเกิดสุริยุปราคา
ในช่วงที่ดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกมากกว่าปกติ ทำให้เงามืด
ของดวงจันท์ทอดตัวไปไม่ถึงพื้นโลก แต่ถ้าต่อขอบของเงามืด
ออกไปจนสัมผัสกับพื้นผิวโลกจะเกิดเป็ นเขตเงามัวขึ้น
99

ตำแหน่งที่อยู่ภายใต้เขตเงามัวนี้จะมองเห็นสุริยุปราคา
วงแหวน ดวงจันทร์มีขนาดเล็กกว่าดวงอาทิตย์มาก แต่ที่เรา
มองเห็นดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ได้มิด ก็เพราะดวงจันทร์อยู่
ใกล้โลกมากกว่าดวงอาทิตย์)
4.2.เปิ ดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
สุริยุปราคา
ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up) (15 นาที)
5.1.ประเมินจากใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง สุริยุปราคาเกิดขึ้น
ได้อย่างไร ในโน้ตไลน์กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 โดยครูตรวจสอบ
รายชื่อนักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ตไลน์กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6
และสอบถามปั ญหาของนักเรียนที่ทำกิจกรรม พร้อมทั้งช่วยเหลือ
แก้ไขปั ญหาในการทำกิจกรรมให้นักเรียน
104

6. การวัดและการประเมินผล
1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ

1. ว 3.1 ป.6/1 - ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง แบบประเมินใบบันทึก


สร้างแบบจำลองที่ สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้อย่างไร กิจกรรม เรื่อง สุริยุปราคา
อธิบายการเกิด - การสร้างแบบจำลองการ เกิดขึ้นได้อย่างไร
สุริยุปราคา เกิดสุริยุปราคา

2. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการ เครื่องมือ


ประเมิน

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ สังเกต แบบประเมินคุณลักษณะอัน


ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายาม พฤติกรรม พึงประสงค์
ในการเรียนและ เข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้

3. การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการประเมิน เครื่องมือ

1. ความสามารถในการสื่อสาร ประเมินความสามารถใน แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของนักเรียน


การสื่อสาร
99

2.ความสามารถในการใช้ ประเมินความสามารถใน แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของนักเรียน


การใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยี

ลงชื่อ………………………………………… ครูผู้สอน
(นาย วราวุฒิ สุภะกะ) วัน
ที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
105

ความคิดเห็นของคุณครูพี่เลี้ยง
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูพี่เลี้ยง
(นางสาว อาภาพร กมล) วัน
ที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
106

บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ เวลา 20 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุริยุปราคาเกิดขึ้นได้อย่างไร
เวลา 2 ชั่วโมง
ผู้สอน นาย วราวุฒิ สุภะกะ วันเดือนปี ที่สอน …………/…………/………
… เวลา………………..น.

1.การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้

1. ว 3.1 ป.6/1 สร้างแบบ นักเรียน


ทั้งหมด...........................................คน
จำลองที่อธิบาย การเกิด
จำนวนนักเรียนที่ผ่าน.................................คน
สุริยุปราคา
คิดเป็นร้อยละ
..........................................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน..............................คน
คิดเป็นร้อยละ
...........................................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน.....................................

2. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
99

จุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ จำนวนนักเรียนทั้งหมด ........................คน


ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายาม จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน .......................คน
ในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ คิดเป็ นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน.......................คน
คิดเป็ นร้อยละ
.............................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..........................................
107

2. การประเมินสมรรถนะของหลักสูตร

ความสามารถด้าน ผลการจัดการเรียนรู้

1. การสื่อสาร จำนวนนักเรียนทั้งหมด ....................... คน


จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน ..................
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...............
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..................................

2. การใช้เทคโนโลยี จำนวนนักเรียนทั้งหมด ....................... คน


จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน ..................
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...............
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..................................
99
108

บันทึกเพิ่มเติม
ปัญหา/ อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
………
แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
………
99

ลงชื่อ………………………………………… ครูผู้
สอน
(นายวราวุฒิ สุภะกะ)
วันที่………………
เดือน………………
พ.ศ.……………
ความคิดเห็นของกลุ่มงานวิชาการ
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………
………………………………………………………………………………………………
…………...……..…………..……………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………..………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูพี่เลี้ยง
(นางสาวอาภาพร กมล)
วันที่………………
เดือน………………
พ.ศ.……………
109

เกณฑ์การประเมินใบบันทึกกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน

3 2 1 0

1. ความถูกต้อง ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้อง 80% ถูกต้อง 50% ไม่ถูกต้อง


ตรงประเด็น
ของผลงาน ยังไม่ตรง ยังไม่ตรงประเด็น
ทั้งหมด
ประเด็น ทั้งหมด ทั้งหมด

2. ความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานไม่มีความ


ระเบียบ เรียบร้อย เป็นระเบียบ ระเบียบ เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ระเบียบของ ผล
สะอาด ไม่มีรอย เรียบร้อย สะอาด สะอาด มีรอยลบ เป็น เรียบร้อย
งาน
ลบ มีรอยลบ เล็ก ส่วนใหญ
น้อย

3. ความครบถ้วน มีการบันทึกข้อมูล มีการบันทึก มีการบันทึกข้อมูล มีการบันทึก


ครบถ้วน และมี ข้อมูลไม่ครบ ครบถ้วน แต่ไม่ค่อย ข้อมูลบางส่วน
ของการบันทึก
ความชัดเจน ขาดบางประเด็น ชัดเจนชัดเจน
ข้อมูล
แต่ข้อมูล มี
ความชัดเจน

เกณฑ์การประเมิน 8-9 คะแนน ระดับ ดีมาก


5-7 คะแนน ระดับ ดี
3-4 คะแนน ระดับ พอใช้
น้อยกว่า 3 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน
110

ประเด็นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับคุณภาพ

ประเด็นการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)

(1) ศึกษาค้นคว้าหา ความ ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ไม่ศึกษา ค้นคว้า


ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ หา ความรู้
รู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่ง
เอกสาร สิ่งพิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ
สื่อ เทคโนโลยี สื่อเทคโนโลยี เทคโนโลยี แหล่ง
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และ
แหล่ง เรียนรู้ทั้ง แหล่งเรียนรู้ทั้ง เรียนรู้ทั้ง ภายในและ
ภายนอกโรงเรียน และเลือก
ภายในและ ภายในและ ภายนอกโรงเรียน
ใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม
ภายนอกโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้
(2) บันทึกความรู้ และเลือกใช้สื่อได้ และเลือกใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม และมี
วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่ง อย่างเหมาะสมและ อย่างเหมาะสม การบันทึก ความรู้
ที่เรียนรู้ สรุป เป็นองค์ความ มี การบันทึกความ และมีการบันทึก
รู้ รู้ วิเคราะห์ตรวจ ความรู้ วิเคราะห์
(3) แลกเปลี่ยนความรู้ สอบ จากสิ่งที่เรียน ตรวจสอบ จากสิ่ง
ด้วยวิธีการดังกล่าว และนำ รู้ สรุป เป็นองค์ ที่เรียนรู้ สรุปเป็น
ไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน ความรู้และ แลก องค์ความรู้และ
เปลี่ยนความรู้ ด้วย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิธีการที่ หลาก และแลกเปลี่ยน
หลายและ นำไปใช้ เรียนรู้กับผู้อื่นได
ใน ชีวิตประจำวัน
ได้

หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน

ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน


111

เกณฑ์การประเมินใบงาน
ระดับคุณภาพ

ประเด็นการ ดีเยี่ยม ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง หมายเหตุ


ประเมิน
5 4 3 2 1

ความถูกต้อง นักเรียน ทำงาน นักเรียน นักเรียน นักเรียน ทำงาน นักเรียนส่ง


ของใบงาน ส่ง ตรงเวลา ทำงานส่ง ทำงานส่ง ส่ง ตรงเวลา งานได้
และความ และสามารถ ตรงเวลา และ ตรงเวลา และสามารถ ไม่ตรงเวลา
เหมาะสมของ ตอบคำถาม ใน สามารถ ตอบ และสามารถ ตอบคำถาม ใน
ระยะเวลาใน ใบงานได้ ถูก คำถาม ในใบ ตอบคำถาม ใบงาน ได้ถูก
การปฏิบัติงาน ต้อง มากกว่า งานได้ ถูก ในใบงาน ต้อง มากกว่า
ร้อยละ 80 วิธี ต้อง มากกว่า ได้ถูกต้อง ร้อย ละ 40
ร้อย ละ 70 มากกว่าร้อย
การที่ หลาก
หลายและ นำ ละ 50
ไปใช้ใน ชีวิต
ประจำวัน ได้

เกณฑ์การประเมิน 8-9 คะแนน ระดับ ดีมาก


5-7 คะแนน ระดับ ดี
3-4 คะแนน ระดับ พอใช้
น้อยกว่า 3 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน
112

แบบบันทึกแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ เวลา 20 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนาอย่างไร เวลา 2
ชั่วโมง

ผู้สอน นาย วราวุฒิ สุภะกะ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564


วันที่........./.........../...........

1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการ


เกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุริยะ
รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการ
ประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ

ตัวชี้วัด

ว 3.1 ป.6/2 อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และ


ยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน จากข้อมูลที่รวบรวมได้
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ (ว 3.1 ป.6/2)
100

สาระสำคัญ
 เทคโนโลยีอวกาศเริ่มจากความต้องการของมนุษย์ในการ
สำรวจวัตถุท้องฟ้ าโดยใช้ ตาเปล่า
กล้องโทรทรรศน์และได้พัฒนาไปสู่การขนส่งเพื่อสำรวจ
อวกาศด้วยจรวดและยานขนส่งอวกาศ และยังคงพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง ปั จจุบันมีการนำเทคโนโลยีอวกาศบาง
ประเภทมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การใช้
ดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร การพยากรณ์
อากาศ หรือการสำรวจทรัพยากรธรรมชำติ การใช้อุปกรณ์
วัดชีพจรและการเต้นของหัวใจ หมวกนิรภัย ชุดกีฬา
3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
3. เทคโนโลยีอวกาศ
ทักษะกระบวนการ
1. อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ
113

คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้
(5)ศึกษาหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อและ
เทคโนโลยีต่าง แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนและเลือกใช้สื่อได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(6)บันทึกความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่เรียน สรุป
เป็ นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการดังกล่าวและ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สมรรถนะที่ 1 ความสามารถในการสื่อสาร
ตัวชี้วัดที่ 1 ใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึกและทัศนะของ
ตนเอง ด้วยการพูดและการเขียน
สมรรถนะที่ 5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ตัวชี้วัดที่ 1 เลือกและใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนา
ตนเองและสังคม
ตัวชี้วัดที่ 2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
4. สื่อ และแหล่งเรียนรู้
1. สไลด์การสอน เรื่อง พัฒนาการของเทคโนโลยี
อวกาศ
2. หนังสือเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6
114

3. ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศมีการ


พัฒนาอย่างไร
4. คลิปวีดิโอการสอน เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศมีการ
พัฒนาอย่างไร
5.กิจกรรม/ กระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF
ดังนี้
ขั้นที่ 1 G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย (Greeting) (5 นาที)
1.1.ครูใช้วิธีการสอนในรูปแบบออนไลน์ โดยโปรแกรม
Google Meet
1.2.ครูทบทวนความรู้เดิมจากการแชร์ภาพ Power point
โดยใช้โปรกรม Google Meet เกี่ยวกับ เทคโนโลยี
อวกาศ และตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับกิจกรรม เทคโนโลยี
อวกาศ โดยใช้คำถามดังนี้
- จากภาพที่แสดง นักเรียนคิดว่าในภาพมีเทคโนโลยีอวกาศกี่ชนิด
(ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน)
- นักเรียนรู้หรือไม่ เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนาอย่างไร (ตอบ
ตามความเข้าใจของนักเรียน)

ขั้นที่ 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความรู้ (Online learning) /


มอบหมายภาระงาน (Online assignment) (40 นาที)
2.1. ครูส่งไฟล์ใบบันทึกกิจกรรมการทดลอง เรื่อง เทคโนโลยี
อวกาศมีการพัฒนาอย่างไร ให้นักเรียน
114

ทางห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมไลน์ กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์


ป.6 ทางโน้ตไลน์
2.2.คุณครูส่งลิงค์ Google site ให้นักเรียนไปศึกษาด้วยตัว
เองโดยคุณครูจะให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่
นักเรียน
ขั้นที่ 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking) 10 นาที
3.1.ครูจะตรวจใบบันทึกกิจกรรมที่นักเรียนส่งมาในโน้ตไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 พร้อมให้คะแนน
นักเรียนรายบุคคล
ขั้นที่ 4 ขั้นตอบข้อสักถามสะท้อนผลการเรียนรู้ (Q & A
Meeting) 20 นาที
4.1.หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการ
ทำกิจกรรม ตามแนวคิดดังนี้
- สิ่งสำคัญที่ทำให้เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนาจากอดีตมา
จนถึงปั จจุบัน
อย่างต่อเนื่องคืออะไร (สิ่งที่ทำให้เทคโนโลยีอวกาศมีการ
พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง คือ ความอยากรู้อยากเห็นเรื่อง
อวกาศของมุนษย์)
- กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้บนโลกและกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ใน
อวกาศเหมือน
และแตกต่างกันอย่างไร (กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้บนโลกและ
กล้องโทรทรรศน์ที่ใช้ในอวกาศเหมือนกันตรงที่สามารถใช้
สำรวจ สิ่งด่าง ๆ ในอวกาศได้ แด่แตกต่างกันที่
กล้องโทรทรรศน์อวกาศสามารถเก็บภาพได้อย่างชัดเจนกว่า
114

เนื่องจากโคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศของโลก โดยที่ไม่มีชั้น
บรรยากาศมาบดบังเหมือนกับกล้องโทรทรรศน์ที่ใช้บนโลก)
- เทคโนโลยีอวกาศใดทำให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
จากบนโลก
สู่นอกโลกได้ เหตุใดจึงเป็ นเช่นนั้น (จรวด เพราะการส่งสิ่งต่าง
ๆ ออกไปนอกโลกเพื่อสำรวจอวกาศทั้งดาวเทียม ยานอวกาศ
ยานขนส่งอวกาศ และสิ่งอื่นๆ ต้องใช้จรวดนำขึ้นไป)
4.2.เปิ ดโอกาสให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ

ขั้นที่ 5 F ขั้นติดตามประเมินผล (Following Up) (15 นาที)


5.1.ประเมินจากใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศมี
การพัฒนาอย่างไร ในโน้ตไลน์กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 โดยครู
ตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และสอบถามปั ญหาของนักเรียนที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาในการทำกิจกรรมให้นักเรียน
115

6. การวัดและการประเมินผล
1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือ

1.ว 3.1 ป.6/2 อธิบาย ใบบันทึกกิจกรรม เรื่อง แบบประเมินใบบันทึก


พัฒนาการของเทคโนโลยี เทคโนโลยีอวกาศมีการ กิจกรรม เรื่อง
อวกาศ จากข้อมูลที่ พัฒนาอย่างไร เทคโนโลยีอวกาศมีการ
รวบรวมได้ พัฒนาอย่างไร

2. การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการ เครื่องมือ


ประเมิน

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ สังเกต แบบประเมินคุณลักษณะอัน


ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจเพียรพยายาม พฤติกรรม พึงประสงค์
ในการเรียนและ เข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนรู้

3. การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการประเมิน เครื่องมือ

1. ความสามารถในการสื่อสาร ประเมินความสามารถใน แบบประเมิ นสมรรถนะสำ คัญของ


การสื่อสาร นักเรียน

2.ความสามารถในการใช้ ประเมินความสามารถใน แบบประเมิ นสมรรถนะสำ คัญของ


การใช้เทคโนโลยี นักเรียน
114

เทคโนโลยี

ลงชื่อ………………………………………… ครูผู้สอน
(นายวราวุฒิ สุภะกะ) วัน
ที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
116

ความคิดเห็นของคุณครูพี่เลี้ยง
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูพี่เลี้ยง
(นางสาว อาภาพร กมล) วัน
ที่………………เดือน………………
พ.ศ.……………
117

บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ เวลา 20 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศมีการพัฒนา
อย่างไร เวลา 2 ชั่วโมง
ผู้สอน นาย วราวุฒิ สุภะกะ วันเดือนปี ที่สอน
…………/…………/………… เวลา………………..น.

1. การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามจุดประสงค์การ
เรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้

1. ว 3.1 ป.6/2 อธิบาย นักเรียน


พัฒนาการของเทคโนโลยี ทั้งหมด...........................................คน
อวกาศ จากข้อมูลที่ จำนวนนักเรียนที่
รวบรวมได้ ผ่าน.................................คน
คิดเป็ นร้อยละ
..........................................
จำนวนนักเรียนที่ไม่
118

ผ่าน..............................คน
คิดเป็ นร้อยละ
...........................................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน.....................................

2. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
จุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการจัดการเรียนรู้

ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้ จำนวนนักเรียนทั้งหมด ........................


ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ คน
เพียรพยายามในการเรียน จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน
และเข้าร่วมกิจกรรมการ .......................คน
เรียนรู้ คิดเป็ นร้อยละ .......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน.......................คน
คิดเป็ นร้อยละ .............................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..........................................

3. การประเมินสมรรถนะของหลักสูตร

ความสามารถด้าน ผลการจัดการเรียนรู้
118

1. การสื่อสาร จำนวนนักเรียนทั้งหมด ....................... คน


จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน ..................
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...............
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..................................

2. การใช้เทคโนโลยี จำนวนนักเรียนทั้งหมด ....................... คน


จำนวนนักเรียนที่ผ่านการประเมิน ..................
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน ...............
คน
คิดเป็นร้อยละ
.......................
เลขที่นักเรียนที่ไม่ผ่านการ
ประเมิน..................................
119

บันทึกเพิ่มเติม
ปัญหา/ อุปสรรค
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
………
แนวทางแก้ไข
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
………
118

ลงชื่อ………………………………………… ครูผู้
สอน
(นายวราวุฒิ สุภะกะ)
วันที่………………
เดือน………………
พ.ศ.……………
ความคิดเห็นของกลุ่มงานวิชาการ
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………
………………………………………………………………………………………………
…………...……..…………..……………………………………………………………
………………………………………………………………………………..……………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………..………………………………………………
………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………… ครูพี่เลี้ยง
(นางสาวอาภาพร กมล)
วันที่………………
เดือน………………
พ.ศ.……………
120

เกณฑ์การประเมินใบบันทึกกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน

3 2 1 0

1. ความถูกต้อง ถูกต้องสมบูรณ์ ถูกต้อง 80% ถูกต้อง 50% ไม่ถูกต้อง


ตรงประเด็น
ของผลงาน ยังไม่ตรง ยังไม่ตรงประเด็น
ทั้งหมด
ประเด็น ทั้งหมด ทั้งหมด

2. ความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานมีความ ผลงานมีความเป็น ผลงานไม่มีความ


ระเบียบ เรียบร้อย เป็นระเบียบ ระเบียบ เรียบร้อย เป็นระเบียบ
ระเบียบของ ผล
สะอาด ไม่มีรอย เรียบร้อย สะอาด สะอาด มีรอยลบ เป็น เรียบร้อย
งาน
ลบ มีรอยลบ เล็ก ส่วนใหญ
น้อย

3. ความครบถ้วน มีการบันทึกข้อมูล มีการบันทึก มีการบันทึกข้อมูล มีการบันทึก


ครบถ้วน และมี ข้อมูลไม่ครบ ครบถ้วน แต่ไม่ค่อย ข้อมูลบางส่วน
ของการบันทึก
ความชัดเจน ขาดบางประเด็น ชัดเจนชัดเจน
ข้อมูล
แต่ข้อมูล มี
ความชัดเจน

เกณฑ์การประเมิน 8-9 คะแนน ระดับ ดีมาก


5-7 คะแนน ระดับ ดี
3-4 คะแนน ระดับ พอใช้
น้อยกว่า 3 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน
121

ประเด็นการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับคุณภาพ

ประเด็นการประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0)

(1) ศึกษาค้นคว้าหา ความ ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา ไม่ศึกษา ค้นคว้า


ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ ความรู้จากหนังสือ หา ความรู้
รู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่ง
เอกสาร สิ่งพิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ
พิมพ์ สื่อ เทคโนโลยีต่าง ๆ
สื่อ เทคโนโลยี สื่อเทคโนโลยี เทคโนโลยี แหล่ง
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และ
แหล่ง เรียนรู้ทั้ง แหล่งเรียนรู้ทั้ง เรียนรู้ทั้ง ภายในและ
ภายนอกโรงเรียน และเลือก
ภายในและ ภายในและ ภายนอกโรงเรียน
ใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม
ภายนอกโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้
(2) บันทึกความรู้ และเลือกใช้สื่อได้ และเลือกใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม และมี
วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่ง อย่างเหมาะสมและ อย่างเหมาะสม การบันทึก ความรู้
ที่เรียนรู้ สรุป เป็นองค์ความ มี การบันทึกความ และมีการบันทึก
รู้ รู้ วิเคราะห์ตรวจ ความรู้ วิเคราะห์
(3) แลกเปลี่ยนความรู้ สอบ จากสิ่งที่เรียน ตรวจสอบ จากสิ่ง
ด้วยวิธีการดังกล่าว และนำ รู้ สรุป เป็นองค์ ที่เรียนรู้ สรุปเป็น
ไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน ความรู้และ แลก องค์ความรู้และ
เปลี่ยนความรู้ ด้วย แลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิธีการที่ หลาก และแลกเปลี่ยน
หลายและ นำไปใช้ เรียนรู้กับผู้อื่นได
ใน ชีวิตประจำวัน
ได้

หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน

ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน


122

เกณฑ์การประเมินใบงาน
ระดับคุณภาพ

ประเด็นการ ดีเยี่ยม ดี ปานกลาง พอใช้ ปรับปรุง หมายเหตุ


ประเมิน
5 4 3 2 1

ความถูกต้อง นักเรียน ทำงาน นักเรียน นักเรียน นักเรียน ทำงาน นักเรียนส่ง


ของใบงาน ส่ง ตรงเวลา ทำงานส่ง ทำงานส่ง ส่ง ตรงเวลา งานได้
และความ และสามารถ ตรงเวลา และ ตรงเวลา และสามารถ ไม่ตรงเวลา
เหมาะสมของ ตอบคำถาม ใน สามารถ ตอบ และสามารถ ตอบคำถาม ใน
ระยะเวลาใน ใบงานได้ ถูก คำถาม ในใบ ตอบคำถาม ใบงาน ได้ถูก
การปฏิบัติงาน ต้อง มากกว่า งานได้ ถูก ในใบงาน ต้อง มากกว่า
ร้อยละ 80 วิธี ต้อง มากกว่า ได้ถูกต้อง ร้อย ละ 40
ร้อย ละ 70 มากกว่าร้อย
การที่ หลาก
หลายและ นำ ละ 50
ไปใช้ใน ชีวิต
ประจำวัน ได้

เกณฑ์การประเมิน 8-9 คะแนน ระดับ ดีมาก


5-7 คะแนน ระดับ ดี
3-4 คะแนน ระดับ พอใช้
น้อยกว่า 3 คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : ให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
ผลการประเมินอยู่ในระดับ ❑ดีมาก ❑ ดี ❑ พอใช้ ❑ ไม่ผ่าน
123

ตัวอย่างแบบทดสอบแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วย
การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
100
124
125
126
100
127

เฉลย แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่


6
เรื่อง เงา และการเขียนแผนภาพรังสีของแสง

ข้อที่ เฉลย
1 A
2 C
3 D
4 A
5 B
6 B
7 C
8 C
9

10
100
128
129
130
131
132
133
134
135

เฉลย แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่


6
เรื่อง ปรากฏการณ์ สุริยุปราคา และ จันทรุปราคา

ข้อที่ เฉลย
1 D
2 A
3 C
4 C
5 D
6 D
7 B
8 C
9 D
10 D
136
137
138
139
140

เฉลย แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่


6
เรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ

ข้อที่ เฉลย
1 A
2 D
3 C
4 B
5 C
6 C
7 C
8 B
9 C
10 D
141

แบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
แบบทดสอบรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เรื่อง
เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
คำชี้แจง : แบบประเมินฉบับนี้ใช้สำหรับท่านซึ่งเป็ นผู้เชี่ยวชาญใน
การตรวจสอบว่าข้อคำถามแต่ละข้อ มีความสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมหรือไม่โดยมีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้
ให้คะแนน +1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุด
ประสงค์/เนื้อหานั้น
ให้คะแนน 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุดประสงค์ /
เนื้อหานั้น
ให้คะแนน -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบไม่วัด
จุดประสงค์ / เนื้อหานั้น

จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ


พฤติกรรม ประเมิน แนะ
จากผู้
เชี่ยวชาญ
+1 0 -1

ว 2.3 ป.6/7 1. ข้อใดถูกต้องเมื่อกล่าวถึง เงามืด


อธิบายการเกิดเงามืด A.บริเวณมืดสนิทบนฉากที่เกิด
เงามัว จากหลักฐาน จากตัวกลางทึบแสง
เชิงประจักษ์ B.บริเวณมืดสนิทบนฉากที่เกิดจาก
ตัวกลางโปร่งแสง
142

C.บริเวณมืดสนิทบนฉากที่เกิด
จากตัวกลางโปร่งใส
D.บริเวณมืดสนิทบนฉากที่เกิด
จากตัวกลางชนิดใดก็ได้
2.เงามัว เกิดขึ้นได้อย่างไร
A.เงามัว เกิดจาก ตัวกลางที่ไม่
ยอมให้แสงผ่าน ทำให้แสงเดินทาง
ย้อนกลับทิศทางเติม
B.เงามัว เกิดจก ตัวกลางที่ไม่ยอม
ให้แสงผ่าน ทำให้แสงเดินทางย้อน
กลับทิศทางเติมน้อย
C.เงามัว เกิดจาก ตัวกลางที่ยอม
ให้แสงผ่าน ทำให้แสงเดินทาง
ย้อนกลับทิศทางเดิมน้อย
D.เงามัว เกิดจก ตัวกลงที่ยอมให้
แสผ่าน ทำให้แสงเตินงยอนกลับ
ทิศทางเติม
จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ
พฤติกรรม ประเมิน แนะ
จากผู้
เชี่ยวชาญ
+ 0 -1
1
142

ว 2.3 ป.6/7 3.หากนำวัตถุเลื่อนเข้าไปใกล้


อธิบายการเกิด ฉาก เงาบนฉากจะเป็ นอย่างไร
เงามืด เงามัว จาก A.เงามืดและเงามัวมีขนาดเล็ก
หลักฐานเชิง ลง
ประจักษ์ B.เงามืดและเงามัวมีขนาดเท่า
กัน
C.เงามืดใหญ่ขึ้น เงามัวเล็กลง
D.เงามืดเล็กลง เงามัวขนาด
ใหญ่ขึ้น
4.ข้อใดคือปั จจัยที่ทำให้ขนาด
ของเงาเปลี่ยนแปลง
A.ระยะห่างระหว่างวัตถุกับ
แหล่งกำเนิด
B.ระยะห่างระหว่างแหล่ง
กำเนิดกับฉาก
C.ระยะห่างระหว่างแสงกับผู้
สังเกต
D.ระยะห่างระหว่างเงากับผู้
สังเกต
5.ข้อใดเป็ นสมบัติของแสงที่ใช้
อธิบายว่าทำไมจึงเกิดเงาและ
เกิดจันทรุปราคา
A.แสงเป็ นพลังงานรูปหนึ่ง
B.แสงเดินทางเป็ นเส้นตรง
142

C.แสงสามารถสะท้อนได้
D.แสงเดินทางด้วยความเร็วสูง
143

จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอแนะ


พฤติกรรม ประเมินจาก
ผู้เชี่ยวชาญ
+1 0 -
1
ว 2.3 ป.6/7 1.
เขียนแผนภาพ
รังสีของแสง
และการเงามืด
เงามัว
จากภาพ ตำแหน่งในข้อใด
แสดงการเกิดเงามืดและ
เงามัวได้ถูกต้อง
A.เงามืด A เงามัว B
B.เงามืด C เงามัว B
C.เงามืด C เงามัว D
D. เงามืด B เงามัว D
2.ข้อใดเขียนแผนภาพรังสี
ของแสงแสดงการเกิดเงามืด
และเงามัวได้ถูกต้อง
A.
143

B.

C.

D.
144

จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอแนะ


พฤติกรรม ประเมิน
จากผู้
เชี่ยวชาญ
+1 0 -1

ว 2.3 ป.6/7 3.
เขียนแผนภาพรังสี
ของแสงและการ ก้ามปูนำไฟฉาย ลูก
เงามืดเงามัว เทนนิส และฉากมาเรียง
เป็ นแนวเดียวกันดังรูป
ถ้าเขาเลื่อน ลูกเทนนิส
ไปใกล้ฉากจะเกิดอะไร
ขึ้น
A.มีแต่เงามัวบนฉาก
B.เงามืดมีขนาดเล็กลง
C.เงามืดขยายใหญ่ขึ้น
D.ไม่เกิดเงาบนฉาก
4.จงเขียนแผนภาพรังสี
ของแสงของวัตถุพร้อม
ระบุเงามืดและเงามัว

เฉลย
145

5.จงเขียนแผนภาพรังสี
ของแสงของวัตถุพร้อม
ระบุเงามืดและเงามัว

เฉลย
145

จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ


พฤติกรรม ประเมิน แนะ
จากผู้
เชี่ยวชาญ
+1 0 -
1
ว 3.1 ป.6/1 1.สิ่งใดทำให้เกิดสุริยุปราคา
สร้างแบบจําลองที่ และจันทรุปราคา
อธิบายการเกิด A.ดวงอาทิตย์ ดวงดาว ดวง
และเปรียบเทียบ จันทร์
ปรากฎการณ์ B.ดวงอาทิตย์ อุกกาบาต
สุริยุปราคาและ ดวงจันทร์
จันทรุปราคา C.ดวงอาทิตย์ โลก อวกาศ
D.ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
โลก
2

ตำแหน่ง ก และ ข คือการ


เกิดเงาในลักษณะใดตาม
ลำดับ
A. เงามืด และ เงามัว
B.เงามัว และ เงามืด
146

C.เงาสลัว และ เงาดำ


D. เงาดำ และ เงาสลัว
3.

จากภาพเมื่อเกิดสุริยุปราคา
คนบนโลกที่อยู่ตำแหน่งที่ 1
2 และ 3 จะสังเกตเห็น
ลักษณะของดวงจันทร์เป็ น
อย่างไร
A.
B.
C.
D.
จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ
พฤติกรรม ประเมิน แนะ146
จากผู้
เชี่ยวชา

+ 0 -1
1
ว 3.1 ป.6/1 4.
สร้างแบบจํา
ลองที่อธิบาย
การเกิดและ จากภาพกำหนดให้ A B C และ D
เป็ นตำแหน่งของผู้สังเกตการเกิด
เปรียบเทียบ
สุริยุปราคาบนพื้นโลก ข้อใดถูก
ปรากฎการณ์
ต้อง
สุริยุปราคา
A. A สุริยุปราคาเต็มดวง B
และ
สุริยุปราคาบางส่วน
จันทรุปราคา
B. C สุริยุปราคาเต็มดวง D
สุริยุปราคาบางส่วน
C. A สุริยุปราคาบางส่วน B
สุริยุปราคาเต็มดวง
D. C สุริยุปราคาบางส่วน D
สุริยุปราคาเต็มดวง
5.

ตำแหน่งใดไม่เกิดปรากฏการณ์
จันทรุปราคา
A. D
B. C
C. E
D. A
146
จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ
พฤติกรรม ประเมิน แนะ
146
จากผู้
เชี่ยวชาญ
+1 0 -1
ว 3.1 ป.6/1 6.
สร้างแบบจํา
ลองที่อธิบาย
การเกิดและ ตำแหน่งใดเกิดปรากฏการณ์
เปรียบเทียบ จันทรุปราคาเงามัว
ปรากฎการณ์ A.ตำแหน่ง A
สุริยุปราคาและ B.ตำแหน่ง B
จันทรุปราคา C.ตำแหน่ง C
D.ตำแหน่ง D
7.

จากภาพถ้าดวงจันทร์เคลื่อนที่เข้า
มาอยู่ในเงามืดของโลกเรียกว่า
ปรากฏการณ์ใด
A. จันทรุปราคาเงามืด
B. จันทรุปราคาเต็มดวง
C. ดวงจันทร์วันเพ็ญ
D. ดวงจันทร์มืดหมดดวง
8.

จากรูปภาพข้างต้น เป็ น
ปรากฏการณ์ใด
146
จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ
146
พฤติกรรม ประเมินจาก แนะ
ผู้เชี่ยวชาญ
+ 0 -1
1
ว 3.1 ป.6/1 9.
สร้างแบบจําลอง
ที่อธิบายการเกิด
และเปรียบเทียบ จากภาพดวงอาทิตย์มีขนาด
ใหญ่กว่าดวงจันทร์ เป็ น
ปรากฎการณ์
สุริยุปราคารูปแบบใด
สุริยุปราคาและ
A.
จันทรุปราคา

B.

C.

D.
10.

จากภาพดวงอาทิตย์มีขนาด
เล็กกว่าพระจันทร์ เป็ น
สุริยุปราคารูปแบบใด
A.

B.

C.

D.
146
149

จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนนประเมิน ข้อเสนอ


พฤติกรรม จากผู้เชี่ยวชาญ แนะ
+1 0 -1

ว 3.1 ป.6/2 1.พาหนะที่ทำหน้าที่ส่ง


อธิบาย ยานอวกาศขึ้นไปใน

พัฒนาการของ อวกาศ คืออะไร

เทคโนโลยี A.จรวด
B.ดาวเทียม
อวกาศ และยก
C.ยานขนส่งอวกาศ
ตัวอย่างการนำ
D.กระสวยอวกาศ
เทคโนโลยี
2.กล้องโทรทรรศน์ที่
อวกาศ และยก
โคจรรอบโลก ทำงานได้
ตัวอย่างการนำ
ดีกว่ากล้องโทรทรรศน์ที่
เทคโนโลยี
อยู่บนพื้นโลกเพราะ
อวกาศมาใช้ A.มืดอยู่ตลอดเวลา
ประโยชน์ใน B.อยู่ใกล้ดวงดาว
ชีวิตประจำวัน มากกว่า
จากข้อมูลที่ C.ไม่มีการคลาดเคลื่อน
รวบรวมได้ ของแสงจากเลนส์
D.ไม่ต้องมองผ่านชั้น
อากาศ
148

3.

จากรูปมีเครื่องมือที่
เกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยีอวกาศกี่
ชนิด อะไรบ้าง
A. 1 ชนิด
กล้องโทรทรรศน์
B. 2 ชนิด
กล้องโทรทรรศน์
ประภาคาร
C. 3 ชนิด
กล้องโทรทรรศน์ ยาน
ขนส่งอวกาศ
ดาวเทียม
D. 4 ชนิด ประภาคาร
ยานขนส่งอวกาศ
ดาวเทียม
กล้องโทรทรรศน์
150

จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ


พฤติกรรม ประเมินจากผู้ แนะ
เชี่ยวชาญ
+1 0 -1

ว 3.1 ป.6/2 4.เครื่องมือที่ใช้ศึกษา


อธิบาย ดวงดาวคือข้อใด

พัฒนาการของ A.กล้องจุลทรรศน์

เทคโนโลยี B.กล้องโทรทรรศน์
C.กล้องอวกาศ
อวกาศ และยก
D.กล้องถ่ายรูป
ตัวอย่างการนำ
เทคโนโลยี
อวกาศ และยก
ตัวอย่างการนำ
5.บุคคลในภาพเป็ นบุคคล
เทคโนโลยี
ที่ริเริ่มการใช้
อวกาศมาใช้ กล้องโทรทรรศน์ในการ
ประโยชน์ใน สังเกตวัตถุบนท้องฟ้ า
ชีวิตประจำวัน มีชื่อว่าอะไร
จากข้อมูลที่ A. Sir Isaac Newton
รวบรวมได้ B. Nicolaus Copernicus
C. Galileo Galilei
D. John Dalton
6.ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์
จากดาวเทียม
148

A. สำรวจข้อมูลในทะเล
B. สำรวจโลก
C. เปลี่ยนทิศทางของ
พายุ
D. การพยากรณ์อากาศ
แม่นยำขึ้น
7.ดาวเทียมชนิดใดที่มี
กล้องโทรทรรศน์และ
อุปกรณ์ดาราศาสตร์
สำหรับศึกษาวัตถุบน
ท้องฟ้ า
A. ดาวเทียมสื่อสาร
B. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
C.ดาวเทียมสังเกตการณ์
ดาราศาสตร์
D. ดาวเทียมสำรวจ
ทรัพยากรโลก
จุดประสงค์เชิง ข้อสอบ คะแนน ข้อเสนอ
พฤติกรรม ประเมินจาก แนะ
148
ผู้เชี่ยวชาญ
+ 0 -1
1
ว 3.1 ป.6/2 8.ดาวเทียมชนิดใดใช้รับ-
อธิบาย ส่งสัญญาณข้อมูลภาพเสียง

พัฒนาการของ จากสถานีโทรทัศน์ไปทั่ว

เทคโนโลยีอวกาศ โลก และ รับ-ส่งสัญญาณ


โทรศัพท์
และยกตัวอย่าง
A.ดาวเทียมอุตุนิคมวิทยา
การนำเทคโนโลยี
B.ดาวเทียมสื่อสาร
อวกาศ และยก
C.ดาวเทียมกำหนด
ตัวอย่างการนำ
ตำแหน่ง
เทคโนโลยีอวกาศ
D.ดาวเทียมสำรวจ
มาใช้ประโยชน์ใน
ธรรมชาติ
ชีวิตประจำวัน 9.เทคโนโลยีบนโลก
จากข้อมูลที่ ตาข่ายจับปลาในทะเล
รวบรวมได้ พัฒนามาจากเทคโนโลยี
อวกาศ คือ
A. ล้อรถของยานสำรวจ
ดาว
B. เครื่องกรองปั สสาวะใน
ยานอวกาศ
C. ตาข่ายนิรภัย
D. ระบบจ่ายเชื้อเพลิงใน
ยานอวกาศ
10.เทคโนโลยีบนโลก
เครื่องปั้มหัวใจเทียม
พัฒนามาจากเทคโนโลยี
อวกาศ คือ
A. อาหารสำหรับนักบิน
148

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..
ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็ น
ประโยชน์

ลงชื่อ………………………………………………………....
(……………………………………………………………………)
ผู้ประเมิน
152

ตัวอย่างแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนวัด
เขียนเขต

คำชี้แจง: โปรดเขียนเครื่องหมาย √ ลงในช่องระดับประเมินที่ตรง


กับความคิดเห็นของท่าน เพื่อทำการประเมินคุณภาพความเหมาะ
สมขององค์ประกอบต่างๆของกิจกรรมการเรียนรู้ เป็ นแบบ
มาตราส่วนประเมินค่า ตามวิธีของลิเคอร์ด (Likert)
ซึ่งมี 5 ระดับ ตามความหมายดังนี้
ระดับการประเมิน 5 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้
มีความเหมาะสมมากที่สุด
4 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมมาก
3 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมปานกลาง
2 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมน้อย
1 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมน้อยที่สุด
ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน
5 4 3 2 1
148

กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วม


กับสื่อวีดีทัศน์
1 ขั้นที่ 1: G ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
ทักทาย (Greeting) เป็ นขั้นตอนที่
ครูจะทักทายนักเรียนผ่าน google
meet เพื่อให้นักเรียนเตรียมความ
พร้อมในการเรียนรู้ออนไลน์ โดย
ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเพื่อ
เข้าสู่บทเรียน
2 ขั้นที่ 2: O ขั้นสอนออนไลน์ให้
ความรู้ (Online Learning) /
มอบหมายภาระงาน (Online
Assignment)
ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนสำคัญที่
นักเรียนจะได้รับความรู้โดยครูสอน
ให้ความรู้แก่นักเรียนผ่าน สื่อ
วีดีทัศน์ใน google site ที่คุณครู
เตรียมไว้
153

ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน


5 4 3 2 1
3 ขั้นที่ 3 : C ขั้นตรวจสอบผลการ
เรียนรู้ (Checking)
เป็ นขั้นตอนที่จะตรวจสอบความรู้ว่า
นักเรียนเข้าใจบทเรียนหรือไม่ และ
มอบหมายใบงานและใบกิจกรรมให้
นักเรียนในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 จากนั้นครูตรวจ
สอบงานนักเรียนในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 แล้วให้
คะแนน
4 ขั้นที่ 4 : Q ขั้นตอบข้อซักถาม
สะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A
Meeting) ในขั้นตอนนี้ครูจะเชิญ
นักเรียนเข้ามาประชุมออนไลน์ผ่าน
google meet สำหรับให้ครูและ
นักเรียนประชุมออนไลน์ร่วมกัน
สอบถามปั ญหาของนักเรียนและ
ตอบข้อสงสัยในเนื้อหาการเรียนรู้
เพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ในครั้งต่อไป
5 ขั้นที่ 5: F ขั้นติดตามประเมินผล
(Following Up)
148

ขั้นนี้เป็ นการติดตามประเมินผลเพื่อ
ให้สามารถนำผลการจัดการเรียนรู้
ไปปรับปรุงและติดตามนักเรียนที่ยัง
ไม่เข้าใจบทเรียน โดย ครูตรวจสอบ
รายชื่อนักเรียนที่ยังไม่ส่งในโน้ตไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 และ
สอบถามปั ญหาของนักเรียน ที่ทำ
กิจกรรม พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไข
ปั ญหาในการทำกิจกรรมให้นักเรียน
ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
1 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีวัด และ
สาระการเรียนรู้ ตรงตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2560
2 สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การ
เรียนรู้ ตรงตามตัวชี้วัด
3 กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับจุด
ประสงค์การเรียนรู้และสาระการ
เรียนรู้
4 เนื้อหาเหมาะสมกับวัยและความ
สนใจของผู้เรียน
148

ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน


5 4 3 2 1
ด้านสื่อการเรียนรู้
1 สอดคล้องกับจุดประสงค์
2 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
3 เหมาะสมกับผู้เรียน
4 ช่วยให้นักเรียนเข้าใจ เกิดความคิด
รวบยอด และ
สรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
5 ช่วยให้ผู้เรียนรู้วิธีการใช้สื่อและ
แหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อศึกษา
เพิ่มเติม
ด้านการประเมิน
1 การวัดและการประเมินสอดคล้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
2 เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมิน
สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
3 ใช้การวัดและการประเมินที่หลาก
หลาย

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
148

..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
....
ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็ น
ประโยชน์

ลงชื่อ………………………………………………………....
(……………………………………………………………………)
ผู้ประเมิน
155

ตัวอย่างแบบประเมินความพึงพอใจ
แบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
แบบประเมินความพีงพอใจที่นักเรียนมีต่อการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่6
คำชี้แจง : แบบประเมินฉบับนี้ใช้สำหรับท่านซึ่งเป็ นผู้เชี่ยวชาญใน
การตรวจสอบว่าข้อคำถามแต่ละข้อ มีความสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมหรือไม่โดยมีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้
ให้คะแนน +1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบวัดจุด
ประสงค์/เนื้อหานั้น
ให้คะแนน 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อสอบวัด
จุดประสงค์ / เนื้อหานั้น
ให้คะแนน -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อสอบไม่วัด
จุดประสงค์ / เนื้อหานั้น

คำชี้แจง:แบบประเมินฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจความพึ่งพอใจที่
นักเรียนมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น
GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เพื่อนำผลมาใช้พัฒนาในการ
จัดเรียนรู้ในครั้งต่อไป
ตอนที่ 1:ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
คำชี้แจง:โปรดเลือกคำตอบตามความเป็ นจริง
เพศ
156

ชาย หญิง

ตอนที่ 2:โปรดพิจารณาความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน
+1 0 -1
ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น
GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์
1 กิจกรรมการเรียนรู้มีความ
น่าสนใจ
2 มีการอำนวยความสะดวก
ในกิจกรรมการเรียนรู้
156

3 กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยให้
นักเรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย
และชัดเจน
4 กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะ
สำหรับในยุค New Nomal
5 กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยให้
นักเรียนสามารถเรียนรู้ไต
ลอดเวลา
ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน
+1 0 -1
ด้านการใช้สื่อวีดีทัศน์
1 ความยาวของรายการ
วีดีทัศน์เหมาะสม
2 สื่อวีดีทัศน์กระตุ้นให้
นักเรียนสนใจในบทเรียน
3 การผลิตสื่อวีดีทัศน์ที่นำ
ความรู้มาประกอบเป็ นสิ่ง
น่าสนใจ
4 ความรู้จากสื่อวีดีทัศน์
สามารถใช้ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน
5 นักเรียนมีความพึงพอใจใน
สื่อวีดีทัศน์
157

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
....
ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็ น
ประโยชน์

ลงชื่อ………………………………………………………....
(……………………………………………………………………)
ผู้ประเมิน
158

ตัวอย่างแบบประเมินการตรวจสอบคุณภาพสื่อวีดีทัศน์
แบบประเมินสำหรับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพสื่อวีดีทัศน์
วิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนวัด
เขียนเขต
คำชี้แจง: โปรดเขียนเครื่องหมาย √ ลงในช่องระดับประเมินที่ตรง
กับความคิดเห็นของท่าน เพื่อทำการประเมินคุณภาพความเหมาะ
สมขององค์ประกอบต่างๆของกิจกรรมการเรียนรู้ เป็ นแบบ
มาตราส่วนประเมินค่า ตามวิธีของลิเคอร์ด (Likert) ซึ่งมี 5 ระดับ
ตามความหมายดังนี้
ระดับการประเมิน 5 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้
มีความเหมาะสมมากที่สุด
4 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมมาก
3 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมปานกลาง
2 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมน้อย
1 หมายถึง องค์ประกอบของกิจกรรมการเรียนรู้มีความ
เหมาะสมน้อยที่สุด
ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน
5 4 3 2 1
ด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้
156

1 บทเรียนน่าสนใจดึงดูดต่อการเรียนรู้
2 บทเรียนสามารถขยายความคิดของผู้
เรียนได้
3 บทเรียนสร้างจินตนาการต่อยอด
ความคิดของผู้เรียนได้
4 การบรรยายเนื้อหามีความเหมาะสม
กับบทเรียนวีดีทัศน์
5 การสอนด้วยบทเรียนวีดีทัศน์จะ
สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้และ
มีความเข้าใจได้รวดเร็ว
6 การสอนด้วยวีดีทัศน์สามารถ
ประหยัดเวลาเรียนได้เหมาะสม
7 ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกบทเรียน
ด้านเครื่องมือ
1 ใช้สื่อได้อย่างหลากหลาย น่าสนใจ
2 ความเหมาะสมของการใช้สีพื้นหลัง
3 ความชัดเจนของเสียงบรรยาย
159

ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน


5 4 3 2 1
4 ความเหมาะสมกลมกลืนของเสียงดน
ดรี
5 ความเหมาะสมขององค์ประกอบใน
หน้าจอ
6 ความเหมาะสมของลักษณะ และ
ขนาดตัวอักษร
7 ภาพประกอบสามารถมองเห็นได้
ชัดเจน

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
..........................................................................................................
....
ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณในความคิดเห็นและข้อเสนอแนะที่เป็ น
ประโยชน์

ลงชื่อ………………………………………………………....
(……………………………………………………………………)
156

ผู้ประเมิน
156

ภาคผนวก ก

รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ
157

รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ
ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ จำนวน 3 ท่าน โดยประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบแผนการการจัดการเรียนรู้
1.นาย ชิตพงษ์ เหนือเกาะหวาย
กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
2.นางสาว อาภาพร กมล กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
3.นางสาว ผกามาศ แสนโคตร กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความสอดคล้องระหว่าง
ข้อสอบกับตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
1.นาย ชิตพงษ์ เหนือเกาะหวาย
กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
156

และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
2.นางสาว อาภาพร กมล กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
3.นางสาว ผกามาศ แสนโคตร กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
รายนามผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบบแบบประเมินค่าดัชนี
ความสอดคล้อง (IOC) ของประเด็น แบบสอบถามความ
พึงพอใจ

1.นาย ชิตพงษ์ เหนือเกาะหวาย


กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
2.นางสาว อาภาพร กมล กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
156

และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
3.นางสาว ผกามาศ แสนโคตร กลุ่ม
สาระ การเรียนรู้วิทยาศาตร์
และ
เทคโนโลยี โรงเรียนวัดเขียนเขต
158

ภาคผนวก ข

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการเครืองมือที่ใช้เก็บ
รวบรวมข้อมูล
159

ภาคผนวก ข แสดงผลการประเมินการพิจารณาความเหมาะสม
ของกิจกรรมการเรียนรู้และแผน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5
steps GOCQF ร่วมกับ
สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่6
ตารางที่ 5.1.แสดงผลการประเมินการพิจารณาความเหมาะสมของ
กิจกรรมการเรียนรู้และแผน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5
steps GOCQF ร่วมกับ
สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่6

ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น ระดับความ


ของผู้เชี่ยวชาญ เหมาะสม
1 2 3 S.D
x

.
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์
1 ขั้นที่ 1: G ขั้นนำเข้าสู่บท 5 5 4 4. 0.4 มาก
เรียนทักทาย (Greeting) 66 71
เป็ นขั้นตอนที่ครูจะทักทาย
นักเรียนผ่าน google
156

meet เพื่อให้นักเรียน
เตรียมความพร้อมในการ
เรียนรู้ออนไลน์ โดย
ทบทวนความรู้เดิมของ
นักเรียนเพื่อเข้าสู่บทเรียน
2 ขั้นที่ 2: O ขั้นสอน 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
ออนไลน์ให้ความรู้ 0
(Online Learning) /
มอบหมายภาระงาน
(Online Assignment)
ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอน
สำคัญที่นักเรียนจะได้รับ
ความรู้โดยครูสอนให้ความ
รู้แก่นักเรียนผ่าน สื่อ
วีดีทัศน์ใน google site ที่
คุณครูเตรียมไว้
160

ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นของผู้ ระดับความ


เชี่ยวชาญ เหมาะสม
1 2 3 S.D.
x

3 ขั้นที่ 3 : C ขั้นตรวจสอบผลการ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด


เรียนรู้ (Checking) 0
เป็ นขั้นตอนที่จะตรวจสอบความรู้
ว่านักเรียนเข้าใจบทเรียนหรือไม่
และมอบหมายใบงานและใบ
กิจกรรมให้นักเรียนในโน้ตไลน์กลุ่ม
เรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 จากนั้นครู
ตรวจสอบงานนักเรียนในโน้ตไลน์
กลุ่มเรียนวิทยาศาสตร์ ป.6 แล้วให้
คะแนน
4 ขั้นที่ 4 : Q ขั้นตอบข้อซักถาม 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
สะท้อนผลการเรียนรู้ (Q&A 0
Meeting) ในขั้นตอนนี้ครูจะเชิญ
นักเรียนเข้ามาประชุมออนไลน์
ผ่าน google meet สำหรับให้ครู
และนักเรียนประชุมออนไลน์ร่วม
กัน สอบถามปั ญหาของนักเรียน
และตอบข้อสงสัยในเนื้อหาการ
เรียนรู้ เพื่อนำไปปรับปรุง
พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ในครั้งต่อไป
156

5 ขั้นที่ 5: F ขั้นติดตามประเมินผล 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด


(Following Up) 0
ขั้นนี้เป็ นการติดตามประเมินผล
เพื่อให้สามารถนำผลการจัดการ
เรียนรู้ไปปรับปรุงและติดตาม
นักเรียนที่ยังไม่เข้าใจบทเรียน โดย
ครูตรวจสอบรายชื่อนักเรียนที่ยัง
ไม่ส่งในโน้ตไลน์กลุ่มเรียน
วิทยาศาสตร์ ป.6 และสอบถาม
ปั ญหาของนักเรียน ที่ทำกิจกรรม
พร้อมทั้งช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาใน
การทำกิจกรรมให้นักเรียน
161

ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นของผู้ ระดับความ


เชี่ยวชาญ เหมาะสม
1 2 3 S.D.
x

ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
1 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีวัด และ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
สาระการเรียนรู้ ตรงตามหลักสูตร 0
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2560
2 สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
เรียนรู้ ตรงตามตัวชี้วัด 0
3 กิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับจุด 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
ประสงค์การเรียนรู้และสาระการ 0
เรียนรู้
4 เนื้อหาเหมาะสมกับวัยและความ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
สนใจของผู้เรียน 0
ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นของผู้ ระดับ
เชี่ยวชาญ ความ
เหมาะสม
1 2 3 S.D
x

.
ด้านสื่อการเรียนรู้
1 สอดคล้องกับจุดประสงค์ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
0
156

2 สอดคล้องกับกิจกรรมการ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด


เรียนรู้ 0
3 เหมาะสมกับผู้เรียน 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
0
4 ช่วยให้นักเรียนเข้าใจ เกิด 5 4 5 4.6 0.4 มาก
ความคิดรวบยอด และ 6 71
สรุปองค์ความรู้ได้ด้วย
ตนเอง
5 ช่วยให้ผู้เรียนรู้วิธีการใช้สื่อ 5 4 4 4.3 0.4 มาก
และแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อ 3 71
ศึกษาเพิ่มเติม
156

ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นของผู้ ระดับความ


เชี่ยวชาญ เหมาะสม
1 2 3 S.D
x

.
ด้านการประเมิน
1 การวัดและการประเมิน 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
สอดคล้องจุดประสงค์การ 0
เรียนรู้
2 เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมิน 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
สอดคล้องกับจุดประสงค์การ 0
เรียนรู้
3 ใช้การวัดและการประเมินที่ 5 5 5 5 0.0 มากที่สุด
หลากหลาย 0
163

ภาคผนวก ข ผลการพิจารณาความสอดคล้องของแบบทดสอบ
เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ตาราง 5.2 ผลการ
พิจารณาความสอดคล้องของแบบทดสอบ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยี
อวกาศ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยผู้
เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน
∑R
ข้อที่ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ IOC ความ
1 2 3 สอดคล้อ

1 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

2 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

3 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

4 +1 +1 0 2 0.67 สอดคล้อ

5 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

6 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

7 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ
164


8 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

9 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

10 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

11 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

12 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

13 +1 0 +1 2 0.67 สอดคล้อ

14 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

15 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

16 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

17 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

∑R
ข้อที่ ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ IOC ความ
สอดคล้อ
164

18 +1 +1 0 2 0.67 สอดคล้อ

19 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

20 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

21 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

22 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

23 +1 0 +1 2 0.67 สอดคล้อ

24 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

25 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

26 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

27 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

28 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

29 +1 0 +1 3 0.67 สอดคล้อ

164

30 +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อ

165

ภาคผนวก ข การคำนวณค่าความยาก(P) และ ค่าอำนาจจำแนก


(r) ของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้
สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยี
อวกาศของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กับ กลุ่มนักเรียนที่
ทดลองใช้ (Try Out) ตาราง 5.3 ค่าความยาก(P)
และ ค่าอำนาจจำแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศของ
นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 กับ
กลุ่มนักเรียนที่ทดลองใช้ (Try Out)

ข้อสอบ จำนวนนักเรียนที่ ค่าความ ค่าอำนาจ การวิเคราะห์


ข้อที่ ทดลองใช้ ยาก (P) จำแนก ข้อมูล
(Try Out) (r)
I1 47 .5957 .62 ใช้ได้
I2 47 .4681 .46 ใช้ได้
I3 47 .5106 .46 ใช้ได้
I4 47 .4468 .77 ใช้ได้
I5 47 .5532 .77 ใช้ได้
I6 47 .4468 .85 ใช้ได้
166

I7 47 .5532 .77 ใช้ได้


I8 47 .4894 .23 ใช้ได้
I9 47 .4255 .77 ใช้ได้
I10 47 .4681 .77 ใช้ได้
I11 47 .5106 .62 ใช้ได้
I12 47 .5532 .38 ใช้ได้
I13 47 .6170 .69 ใช้ได้
I14 47 .4681 .46 ใช้ได้
I15 47 .4894 .54 ใช้ได้
I16 47 .5106 .77 ใช้ได้
I17 47 .4468 .77 ใช้ได้
I18 47 .5745 .54 ใช้ได้
I19 47 .5745 .54 ใช้ได้
I20 47 .4681 .77 ใช้ได้
ข้อสอบ จำนวนนักเรียนที่ ค่าความ ค่าอำนาจ การวิเคราะห์
ข้อที่ ทดลองใช้ ยาก (P) จำแนก ข้อมูล
(Try Out) (r)
I21 47 .4468 .69 ใช้ได้
I22 47 .4468 .69 ใช้ได้
I23 47 .5106 .62 ใช้ได้
I24 47 .4894 .69 ใช้ได้
I25 47 .5745 .77 ใช้ได้
I26 47 .5532 .69 ใช้ได้
I27 47 .5319 .46 ใช้ได้
166

I28 47 .5106 .38 ใช้ได้


I29 47 .5319 .85 ใช้ได้
I30 47 .4468 .69 ใช้ได้
167

ภาคผนวก ข คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการจัดการ


เรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ตาราง 5.4 ผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการ
จัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
เลขที่ คะแนนสอบก่อนเรียน คะแนนสอบหลังเรียน
นักเรีย เรื่อง เงา อุปราคา และ เรื่อง เงา อุปราคา และ
น เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศ
1 12 20
2 10 19
3 19 25
4 9 13
5 6 12
6 7 15
7 15 25
8 17 18
9 10 20
10 10 15
168

11 9 14
12 14 16
13 20 26
14 16 21
15 15 25
16 20 26
17 11 25
18 5 16
19 12 12
20 20 27
168

เลขที่ คะแนนสอบก่อนเรียน คะแนนสอบหลังเรียน


นักเรีย เรื่อง เงา อุปราคา และ เรื่อง เงา อุปราคา และ
น เทคโนโลยีอวกาศ เทคโนโลยีอวกาศ
21 8 18
22 11 16
23 14 25
24 13 15
25 14 19
26 20 26
27 11 21
28 13 23
29 12 15
30 11 14
31 16 16
32 19 20
33 11 20
34 19 23
35 15 20
36 13 16
37 17 19
38 6 14
39 17 25
40 6 24
41 8 10
42 7 12
43 19 22
44 9 13
45 12 16
46 10 15
169

ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบ
ออนไลน์ 5 steps GOCQF โดยใช้สื่อ
วีดีทัศน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา
วิทยาศาสตร์เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศโดยใช้สูตร T test คำนวณด้วย
โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS 21
แผนภาพ 5.1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ 5
steps GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง
เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ

Paired Samples Statistics

Mean N Std. Deviation Std. Error Mean

Pretest 12.78 46 4.371 .644


Pair 1
Posttest 18.85 46 4.751 .701

Paired Samples Correlations

N Correlation Sig.

Pair 1 Pretest & Posttest 46 .664 .000

Paired Samples Test

Paired Differences
168

Mean Std. Deviation Std. Error Mean 95% Confidence


Interval of the
Difference

Lower

Pair 1 Pretest - Posttest -6.065 3.756 .554 -7.181

Paired Samples Test

Paired Differences t df Sig. (2-tailed)

95% Confidence
Interval of the
Difference

Upper

Pair 1 Pretest - Posttest -4.950 -10.952 45 .000


170

ภาคผนวก ข แสดงผลการประเมินการพิจารณาคุณภาพสื่อ
วีดีทัศน์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ
5 steps GOCQF ร่วมกับ สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่6
ตารางที่ 5.5.แสดงผลการประเมินการพิจารณาคุณภาพสื่อวีดีทัศน์
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ
5 steps GOCQF ร่วมกับ สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุป
ราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่6

ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ


1 2 3 S.D.
x


ด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้
1 บทเรียนน่าสนใจดึงดูดต่อการ 5 5 5 5 0.00 ม
เรียนรู้
2 บทเรียนสามารถขยายความ 5 5 5 5 0.00 ม
คิดของผู้เรียนได้
3 บทเรียนสร้างจินตนาการต่อย 5 5 5 5 0.00 ม
อดความคิดของผู้เรียนได้
4 การบรรยายเนื้อหามีความ 4 5 5 4.66 0.471
เหมาะสมกับบทเรียนวีดีทัศน์
5 การสอนด้วยบทเรียนวีดีทัศน์ 5 5 5 5 0.00 ม
171

จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ความรู้และมีความเข้าใจได้
รวดเร็ว
6 การสอนด้วยวีดีทัศน์สามารถ 5 5 5 5 0.00 ม
ประหยัดเวลาเรียนได้เหมาะ
สม
7 ผู้เรียนมีอิสระในการเลือกบท 5 4 5 4.66 0.471
เรียน

ที่ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ


1 2 3 S.D.
x


ด้านเครื่องมือ
1 ใช้สื่อได้อย่างหลากหลาย 5 5 5 5 0.00 ม
น่าสนใจ
2 ความเหมาะสมของการใช้สี 5 5 4 4.66 0.471
พื้นหลัง
171

3 ความชัดเจนของเสียง 5 5 4 4.66 0.471


บรรยาย
4 ความเหมาะสมกลมกลืน 5 5 4 4.66 0.471
ของเสียงดนดรี
5 ความเหมาะสมขององค์ 5 5 5 5 0.00 ม
ประกอบในหน้าจอ
6 ความเหมาะสมของ 5 5 5 5 0.00 ม
ลักษณะ และขนาดตัว
อักษร
7 ภาพประกอบสามารถมอง 5 5 5 5 0.00 ม
เห็นได้ชัดเจน
172

ผนวกภาค ข ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบวัดความ


พึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้
ตาราง 5.6 ค่าดัชนีความสอดคล้องจากการประเมินแบบวัดความ
พึงพอใจที่นักเรียนมีต่อการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF
ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา
ที่ รายการ ความคิดเห็นผู้เชียว ∑R IOC ความ
ประเมิน ชาญ สอดคล้อง
1 2 3
ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF
ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์
1 กิจกรรม +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
การเรียนรู้
มีความน่า
สนใจ
2 มีการ +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
อำนวย
ความ
สะดวกใน
กิจกรรม
การเรียนรู้
3 กิจกรรม +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
การเรียนรู้
ช่วยให้
171

นักเรียน
เข้าใจ
เนื้อหาได้
ง่ายและ
ชัดเจน
4 กิจกรรม +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
การเรียนรู้
เหมาะ
สำหรับใน
ยุค New
Nomal
5 กิจกรรม +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
การเรียนรู้
ช่วยให้
นักเรียน
สามารถ
เรียนรู้ได้
ตลอด
เวลา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่6
173

ที่ รายการประเมิน ความคิดเห็นผู้ ∑R IOC ความ


เชี่ยวชาญ สอดคล้อง
1 2 3
ด้านการใช้สื่อวีดีทัศน์
1 ความยาวของ +1 +1 0 2 0.67 สอดคล้อง
รายการวีดีทัศน์
เหมาะสม
2 สื่อวีดีทัศน์กระตุ้น +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
ให้นักเรียนสนใจ
ในบทเรียน
3 การผลิตสื่อ +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
วีดีทัศน์ที่นำความ
รู้มาประกอบเป็ น
สิ่งน่าสนใจ
4 ความรู้จากสื่อ +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
วีดีทัศน์สามารถใช้
ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน
5 นักเรียนมีความพึง +1 +1 +1 3 1 สอดคล้อง
พอใจในสื่อ
วีดีทัศน์
171
174

ภาคผนวก ข ผลการสอบถามความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้การจัด
การเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ตารางที่ 5.7.ผลการสอบถามความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้
แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา
อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ตอนที่ 1:ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
คำชี้แจง:โปรดเลือกคำตอบตามความเป็ นจริง
เพศ
ชาย = 25 คน หญิง = 21 คน

ตอนที่ 2:โปรดพิจารณาความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ
ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน
5 4 3 2 1
ด้านการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น
GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์
1 กิจกรรมการเรียนรู้ 14 12 16 3 1
มีความน่าสนใจ
171

2 มีการอำนวยความ 8 14 18 6 0
สะดวกในกิจกรรม
การเรียนรู้
3 กิจกรรมการเรียนรู้ 13 18 11 4 0
ช่วยให้นักเรียน
เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย
และชัดเจน
4 กิจกรรมการเรียนรู้ 18 13 11 3 1
เหมาะสำหรับในยุค
New Nomal
5 กิจกรรมการเรียนรู้ 18 10 16 2 0
ช่วยให้นักเรียน
สามารถเรียนรู้ได้
ตลอดเวลา
175

ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน


5 4 3 2 1
ด้านการใช้สื่อวีดีทัศน์
1 ความยาวของ 4 10 18 8 3
รายการวีดีทัศน์
เหมาะสม
2 สื่อวีดีทัศน์กระตุ้นให้ 11 16 13 4 2
นักเรียนสนใจในบท
เรียน
3 การผลิตสื่อวีดีทัศน์ที่ 10 17 13 4 1
นำความรู้มา
ประกอบเป็ นสิ่งน่า
สนใจ
4 ความรู้จากสื่อ 17 9 13 4 3
วีดีทัศน์สามารถใช้
ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน
5 นักเรียนมีความพึง 18 8 15 3 2
พอใจในสื่อ
วีดีทัศน์
176

ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์ค่าความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัด
การเรียนรู้แบบ 5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อ
วีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โดยหาค่าเฉลี่ย (Mean)
และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation) คำนวณด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
SPSS 21
แผนภาพที่ 5.2.ค่าความพี่งพอใจที่นักเรียนมีต่อการจัดการเรียนรู้
โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ
5 steps GOCQF ร่วมกับสื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุป
ราคา และ เทคโนโลยีอวกาศ
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
Statistics
Gender

Valid 46
N
Missing 0

Gender

Frequency Percent Valid Percent Cumulative


Percent

Male 25 54.3 54.3 54.3

Valid Female 21 45.7 45.7 100.0

Total 46 100.0 100.0

Descriptive Statistics

N Minimum Maximum Mean Std. Deviation

QA1 46 1.00 5.00 3.7609 1.03676


171

QA2 46 2.00 5.00 3.5217 .93664


QA3 46 2.00 5.00 3.8696 .93354
QA4 46 1.00 5.00 3.9565 1.05318
QA5 46 2.00 5.00 3.9565 .96509
QB1 46 1.00 5.00 3.2174 1.11381
QB2 46 1.00 5.00 3.6522 1.07945
QB3 46 1.00 5.00 3.6522 1.07945
QB4 46 1.00 5.00 3.7174 1.24120
QB5 46 1.00 5.00 3.8043 1.16656
Valid N (listwise) 46
177

Descriptive Statistics

N Minimum Maximum Mean Std. Deviation

QA1 46 1.00 5.00 3.7609 1.03676


QA2 46 2.00 5.00 3.5217 .93664
QA3 46 2.00 5.00 3.8696 .93354
QA4 46 1.00 5.00 3.9565 1.05318
QA5 46 2.00 5.00 3.9565 .96509
MQA 46 1.80 5.00 3.8130 .70604
Valid N (listwise) 46

Descriptive Statistics

N Minimum Maximum Mean Std. Deviation

QB1 46 1.00 5.00 3.2174 1.11381


QB2 46 1.00 5.00 3.6522 1.07945
QB3 46 1.00 5.00 3.6522 1.07945
QB4 46 1.00 5.00 3.7174 1.24120
QB5 46 1.00 5.00 3.8043 1.16656
MQB 46 2.00 5.00 3.6087 .80106
Valid N (listwise) 46
178

ภาคผนวก ค

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์ เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ
ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
179

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 Step 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียนทักทาย
(Greeting)
179
180

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน

ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์ให้ความ


รู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระงาน (Online
Assignment)
179
181

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ขั้นที่ 2) Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์
ให้ความรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระงาน (Online
Assignment)(ต่อ)
182

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 Step 3 C ขั้นตรวจสอบผลการเรียน
รู้ (Checking)
182
183

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะท้อน
ผลการเรียนรู้ (Q&A Meeting)
182
184

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 Step 5 F ขั้นติดตามประเมินผล
(Following Up)
185
185

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps GOCQF โดย


ใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และเทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 (ผลงานักเรียนจากการศึกษาสื่อ
วีดีทัศน์)
185
186

ตัวอย่างภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ 5 steps
GOCQF โดยใช้สื่อวีดีทัศน์เรื่อง เงา อุปราคา และ
เทคโนโลยีอวกาศ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
(ผลงานักเรียนจากการศึกษาสื่อวีดีทัศน์) (ต่อ)
185
186

ประวัติผู้ทำวิจัย

ชื่อ- นามสกุล นาย วราวุฒิ สุภะกะ


วัน เดือน ปี เกิด วันพุธ ที่ 21 เดือน เมษายน พ.ศ. 2542
อายุ 22 ปี
ที่อยู่ปั จจุบัน บ้านเลขที่ 5 หมู่ 8 บ้านพัฒนาชน ซอย
ชัยพัฒนา 2 ถนน สันติสุข
ตำบล ทุ่งกระตาดพัฒนาฯ อำเภอ
หนองกี่ จังหวัด บุรีรัมย์
รหัสไปรษณีย์ 31210
ประวัติการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียน
อนุบาลหนองกี่
มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียน
หนองกี่พิทยาคม
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน
หนองกี่พิทยาคม
ระดับอุดมศึกษา (ปริญญาตรี) คณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
185

วไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

เบอร์ติดต่อ 084-0671395
E-mail Warawuth.su@vru.ac.th

You might also like