You are on page 1of 25

Chapter 7 Organizational structure of

Multinational Enterprise

Lecturer : Pannakorn Tonglim


E-mail: pannakorn.to@go.buu.ac.th
Overview
o Export Depart Structure
o International Division Structure
o Global Product Structure
o Global Area Structure
o Global Function Structure
*

o Mix Structure
o Matrix Structure
o Transnational Network Structure
Export Depart Structure (การจัดเป็ นแผนกส่งออก)
for
·
Beginer

เป็ นวิธกี ารทีก่ จิ การเริม่ ส่งออกสินค้าหรือบริก ารไปจาหน่ าย


ยังต่างประเทศ โดยยอดขายจากตลาดต่างประเทศเป็ นส่วนหนึ่ง
ของรายได้ของกิจการ จึงมีการกาหนดให้บุคลากรบางส่วนของฝ่ าย
ขายทาหน้าทีร่ บั ผิดชอบด้านการส่งสินค้าไปจาหน่ายยังต่างประเทศ
แทนการจัดตัง้ สาขาในต่างประเทศเนื่องจากศักยภาพของกิจการยัง
มีไม่มากพอ ทัง้ นี้ กิจการสามารถพัฒนารูปแบบการดาเนิ นการไปสู่
ขั น้ ตอนการตั ้ง ตั ว แทนจ าหน่ ายในต่ า งประเทศ (overseas
representative) trading benzenzing
Export Depart Structure (การจัดเป็ นแผนกส่งออก)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์
& M18 numen .

↳ know demand bromde .


eies

ผจก. การตลาดในประเทศ ผจก.แผนกส่งออก


การตลาดส่งออก
PEST analysis
↳ sins: insta

U External ...

การส่งสินค้า
-

D
การเงิน
International Division Structure (การจัดตัง้ ฝ่ ายต่างประเทศ)
& banosmmenow stone/ re
↳s Product Wannan
~ ↳ minent wasn eriulannin Daiseldmoskerbrun at werban
.

enemen
.

Vs
PLC - Introduction n9
:
.

การจัด ตัง้ ฝ่ ายต่ า งประเทศจะถู ก จัด ตัง้ ขึ้น ที่ส านั ก งานใหญ่ เ พื่อ รวม
กิจกรรมหรือหน้าทีท่ ต่ี อ้ งทาในต่างประเทศไว้ในฝ่ าย ซึง่ แสดงให้เห็นว่ากิจการได้
ให้ค วามส าคัญ กับ การด าเนิ น งานในต่ า งประเทศขึ้น มาให้เ ทีย บเท่ า กั บ การ
ดาเนินงานในประเทศ ทัง้ นี้ เพื่อรองรับการขยายงานในต่างประเทศในอนาคต
อย่างไรก็ต าม การแบ่ งงานในลักษณะเช่นนี้ อาจทาให้เกิดการแข่งขันกั นเอง
ระหว่างฝ่ ายในประเทศ (domestic division) และฝ่ ายต่างประเทศ (international
division) เนื่องจากฝ่ ายต่างประเทศอาจสร้างยอดขายไม่ได้มากเท่ากับฝ่ ายใน
ประเทศในระยะแรก แต่อาจสร้างยอดขายได้มากกว่าได้ในระยะเวลาไม่นาน ซึ่ ง
ทาให้ถูกตัดสินได้วา่ ฝ่ ายต่างประเทศอาจมีความสาคัญต่อกิจการมากกว่าได้
International Division Structure (การจัดตัง้ ฝ่ ายต่างประเทศ)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายต่างประเทศ ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์
ประเทศ 1
ประเทศ 2
ประเทศ 3
Global Product Structure (การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักผลิตภัณฑ์)
↳ producti owners re

ธุรกิจทีม่ ุ่งเน้นการสร้างความเป็ นสากลให้กบั สินค้า (global product)


ด้ว ยการวางรูป แบบของสิน ค้า ให้มีล ัก ษณะเหมือ นกัน ทัว่ โลก ดัง นั ้ น ธุ ร กิจ
จาเป็ นต้องมีกลไกในทางปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้องกัน ซึ่งการให้ความสาคัญกับสินค้า
& CEO angobal product idunerrimantams vos product

ตีค วามได้ว่ า กิจ การต้อ งให้ค วามส าคัญ กับ ผู้บ ริห ารเป็ น อัน ดับ แรก (เพราะ
ผู้บ ริห ารคือ ผู้ก าหนดทิศ ทางของกิจ การ ตามที่ก ล่ า วไว้ใ นบทที่ 6) การจัด
โครงสร้างองค์กรในรูปแบบนี้ กิจการมักมีสนิ ค้าหลายชนิด แต่ละชนิ ดมียอดขาย
สูงในตลาดโลก ทาให้กจิ การสามารถแบ่งสินค้าออกเป็ นส่วนงานเฉพาะเพื่ อให้
ผูบ้ ริหารทีไ่ ด้รบั มอบหมายงานสามารถรับผิดชอบการจาหน่ายสินค้าเฉพาะชนิด
นัน้ ในตลาดโลก อย่างไรก็ตาม แม้ผบู้ ริหารจะมีอานาจการตัดสินใจค่ อนข้างสูง
แต่สานักงานใหญ่ยงั คงมีอานาจในการควบคุมการตัดสินใจนัน้ อยู่ (centralized)
Global Product Structure (การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักผลิตภัณฑ์)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายต่างประเทศ ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์
& quie .
= n dn .
12
=

สินค้า A
ประเทศ 1
ประเทศ 2
สินค้า B
ประเทศ 1
ประเทศ 2
Global Area Structure (การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักพืน้ ที่)
& product no earos der brenner
:

↳ Posted an .
Serie Wigan Mos
.
Murose an raen .
Eer, (ar most n

การจัดโครงสร้างองค์การลักษณะนี้สอดคล้องกับกลยุทธ์แบบการจาย
อานาจ (muti-domestic) ได้ดี ผูบ้ ริหารในแต่ละภูมภิ าคต่างจะรับผิด ชอบงาน
พื้นที่ท่ีต นเองรับ ผิดชอบทัง้ ด้านการเงิน การตลาด บุคลากรและผลิ ต ภัณ ฑ์
เพื่อ ให้ผู้บ ริห ารสามารถปรับ รูป แบบของผลิต ภัณ ฑ์ใ ห้ส อดคล้อ งกั บ ความ
ต้ อ งการของผู้บ ริโ ภคในท้อ งถิ่น เนื่ อ งจากผู้บ ริโ ภคตัด สิน ใจเลือ กโดยให้
ความสาคัญอย่างมาก ดังนัน้ เมื่อพิจารณาร่วมกับกลุยทุธ์การกระจายอานาจ
แล้ว ผู้บริหารจะเข้าใจปั ญหาในตลาดของตนเองอย่างลึกซึ้งจนสามารถเกิด
ความเชีย่ วชาญในการปรับปรุงรูปแบบของสินค้าให้สอดคล้องกับความต้ องการ
ทีห่ ลากหลายของผูบ้ ริโภคได้เพือ่ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้
Global Area Structure (การจัดโครงสร้างโดยยึดหลักพืน้ ที่)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายต่างประเทศ ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

ประเทศ 1
สินค้า A
สินค้า B
ประเทศ 2
สินค้า A
สินค้า B
Global Function Structure (การจัดโครงสร้างโดยยึดหน้ าที่)

R
การจัดโครงสร้างรูปแบบนี้เหมาะสมกับกิจการขนาดเล็กทีเ่ พิ่งเริม่ ต้น
เนื่ อ งจากไม่เ อื้อต่ อ การตอบสนองการดาเนิ นงานในระดับ ท้อ งถิ่น หรื อ การ
นาเสนอสินค้าและบริการทีม่ หี ลากหลายชนิด ดังนัน้ จึงเหมาะสมกับกิจการที่
ดาเนินธุรกิจในลักษณะการจัดหาวัตถุดบิ หรือเกีย่ วข้องกับพลังงานเพราะบาง
* msserer win
หน้าที่เป็ นส่งที่สานักงานสาขาไม่สามารถดาเนินการเองได้ อาทิ การสารวจ
wonderin - Exa , riden , winw , niwaw , insosold

และขุดเจาะน้ ามัน เหมืองแร่ ที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะ (emphasis


.


on functional expertise) นอกจากนี้ ในบางประเทศมีการจากัดการขายสินค้า
ให้แก่รฐั เท่านัน้ หรือบางประเทศขายให้แก่บริษทั ที่ได้รบั สัม ปทาน หรือบาง
ประเทศขายอย่างเสรี จึงทาให้กจิ การประเภทเหมืองแร่และน้ ามันจึ งต้องแบ่ง
โดยยึดหน้าทีส่ าคัญเช่น หน้าทีผ่ ลิตและหน้าทีจ่ าหน่าย เป็ นต้น
Global Function Structure (การจัดโครงสร้างโดยยึดหน้ าที่)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

ผจก. การตลาด ผจก.แผนก ผจก. การตลาด ผจก.แผนก


ในประเทศ ส่งออก ในประเทศ ส่งออก
Mix Structure (การจัดโครงสร้างแบบผสม)
⑰stres

การผสมผสานวิธีก ารจัด โครงสร้า งหลายวิธี (hybrid)เพื่อ


ความเหมาะสมกับ สถานการณ์ การดาเนิ น ธุร กิจ ในแต่ ล ะท้อ งถิ่ น
อาทิ กิจการทีใ่ ห้ความสาคัญกับผลิตภัณฑ์ อาจยึดผลิตภัณฑ์เป็ นตัว
แบ่ ง โครงสร้า งองค์ก ร แต่ เ มื่อ ขยายกิจ การไปสู่บ างประเทศที่ ม ี
ปริมาณความต้องการสูงอย่างเช่นประเทศอเมริกา กิจการอาจยึ ด
อาณาเขตของอเมริกาเข้ามาเป็ นตัวแบ่งโครงสร้างองค์กรร่วมด้ วย
ได้ ซึ่งทาให้เกิดการกระจายความรับผิดชอบจากสานักงานใหญ่สู่
สานักงานสาขามากขึน้ ได้
Mix Structure (การจัดโครงสร้างแบบผสม)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

รองประธานประเทศ 1 รองประธานสินค้า A รองประธานสินค้า B รองประธานสินค้า C


Matrix Structure (การจัดโครงสร้างแบบแมทริกซ์)
& missussund sord .... zoscree
↳ some project

การผสมผสานวิธกี ารจัดโครงสร้างหลายวิธี (hybrid) เข้า


ด้วยกันคล้ายกับการจัดโครงสร้างแบบผสม (Mix Structure) แต่
เหมาะกับกิจการทีม่ ผี ลิตภัณฑ์หลายชนิดทีใ่ ช้กจิ กรรมร่วมกัน ซึ่ง
มีการผสมกันทัง้ ในรูปแบบ 2 มิตหิ รือหลายมิติ (multidimensional
matrix) เช่นการตัง้ ผู้จดั การฝ่ ายต่างๆรับผิดชอบงานแต่ ละชนิด
และแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ให้รบั ผิดชอบตัง้ แต่กระบวนการผลิต
จนถึงการจัดจาหน่าย และมีผจู้ ดั การฝ่ ายต่างประเทศรับผิดชอบใน
ประเทศนัน้ ๆ
Matrix Structure (การจัดโครงสร้างแบบแมทริกซ์)
กรรมการบริหาร

รองประธาน รองประธาน รองประธาน รองประธาน


ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายตลาด ฝ่ ายการเงิน ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์

รองประธาน รองประธานสินค้า รองประธาน รองประธาน


ประเทศ 1 A สินค้า B สินค้า C
รองประธาน
ประเทศ 1

รองประธานสินค้า
A
Transnational Network Structure
(การจัดโครงสร้างองค์กรแบบเครือข่ายข้ามชาติ)
ประโยชน์อกี ประการของโครงสร้างองค์กรแบบนี้ คือ การลด
↳generosis
ต้นทุนด้านการผลิตเนื่องจากปริมาณการผลิตขนาดใหญ่ (economy
*

of scale) พร้อมทัง้ สามารถปรับผลิตภัณฑ์ให้เข้ากับท้องถิ่นได้ (local


representative) โดยแต่ละสาขาซึ่งตัง้ อยู่ในแต่ละประเทศสามารถ
ประสานการท างานเฉพาะอย่ า งร่ ว มกัน สามารถแบ่ ง ปั น ความ
เชีย่ วชาญเฉพาะทางทีแ่ ต่ละสาขามีเข้ามาช่วยในการทางานทาให้ได้
ทัง้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ทเ่ี ข้ากับความต้องการของผูบ้ ริโภคในแต่ละภูมภิ าค
อีกทัง้ ยังมีตน้ ทุนการผลิตทีต่ ่าได้
Transnational Network Structure
(การจัดโครงสร้างองค์กรแบบเครือข่ายข้ามชาติ)
เป็ นการจัดโครงสร้างองค์กรในยุคใหม่เนื่องจากความก้าวหน้า
ของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร ทีส่ ามารถเชื่อมโยงข้อมูล กันได้ทวั ่
โลก ช่ ว ยให้ส านั ก งานสาขาสามารถตัด สิน ใจบนข้อ มูล ที่ม ีค วาม
หลากหลายได้จากทุกมุมโลกได้ซง่ึ ทาให้เกิดมุมมองหลายมิติ อย่างไร
ก็ตามกิจการต้องปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อตอบสนองความต้อ งการ
ของแต่ ล ะพื้ น ที่ ในขณะที่ บ างพื้ น ที่ ท่ี แ บ่ ง แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ
ประโยชน์ทางด้านความรวดเร็วของข้อมูล
Transnational Network Structure
(การจัดโครงสร้างองค์กรแบบเครือข่ายข้ามชาติ)
ปท. ปท.
7 ปท. 1
8
ปท.
ปท. ปท. 3
6 2
ปท.
สานัก 4
ปท.
งาน
5
ใหญ่
ปท. ปท.
ปท. 14 16
11 ปท.
9 ปท. ปท.
12 15
ปท. ปท.
ปท.
ปท. 17 18
13
10
Article : Drawing the Global Map of Publishing Markets 2012: An experimental introduction

By Rüdiger Wischenbart
Transnational Network Structure
(การจัดโครงสร้างองค์กรแบบเครือข่ายข้ามชาติ)
ในอีกกรณี คือ โครงสร้างแบบตัวที (T-Shape structure) เกิดจาก
กิจการข้ามชาติข องกลุ่ มประเทศที่เป็ นตลาดเกิดใหม่ซ่ึงมีแรงกดดันจาก
ลูกค้า เช่น ลูกค้าเป็ นกิจการข้ามชาติทต่ี อ้ งการให้มกี ารตอบสนองทีร่ วดเร็ว
ในขณะที่ต้อ งปรับ ตัว เพื่อ รัก ษาพนัก งานที่มีศ ัก ยภาพไว้ อาทิ ฝ่ ายผลิต
เครื่องยนต์เครื่องบินของบริษทั General Electric ทีต่ ้องการใช้สาขาใน
ประเทศจีนเพือ่ ผลิตเครือ่ งยนต์เครือ่ งบินของบริษทั ประเทศอินเดียรับหน้าที่
ในการพัฒนาวัตถุดบิ และเยอรมันรับหน้าทีพ่ ฒ ั นาอุโมงค์ลม ทาให้ทุกสาขา
ต้องตอบสนองความต้องการของสานักงานใหญ่จงึ นา Sig sigma มาใช้เพื่อ
ลดความผิดพลาดและความสูญเปล่าทีเ่ กิดจากคนและกระบวนการทัง้ หมด
T-Shape structure (การจัดโครงสร้างแบบตัวที)
&Pricin name or

สานักงานใหญ่ ประเทศที่ 2 ประเทศที่ 3


(การตลาด) (พัฒนาผลิตภัณฑ์) (ทรัพยากรมนุษย์)

ประเทศ 4 * :zen2018ver
. sermanen

(ผลิต) sires .

ประเทศ 5
(พัฒนาวัตถุดิบ)
d
ประเทศ 6
(ทดสอบผลิตภัณฑ์)
กิจกรรมท้ายคาบ

You might also like