You are on page 1of 16

ห้ามข้าราชการหญิงสวมใส่กางเกงใน ขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการ

เฉลย
ห้ามข้าราชการหญิงสวมใส่กางเกง ในขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการ

1
(ต่อ)

ยามีสรรพ คุณดีมากกินแล้วแข็ง แรงไม่มี โรคภัยเบียดเบียน

เฉลย
ยามีสรรพคุณดีมาก กินแล้วแข็งแรง ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน

2
(ต่อ)

ถ้ามาสมัครช้าบริษัทจะรับ ไม่ได้เพราะรับสมัครมานานแล้ว

เฉลย
ถ้ามาสมัครช้าบริษัทจะรับไม่ได้ เพราะรับสมัครมานานแล้ว

3
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
การอ่ า นออกเสี ย งร้ อ ยแก้ ว หมายถึ ง การอ่ า นถ้ อ ยค า
ที่มผ
ี ู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้ โดยการเปล่งเสียง และวางจังหวะเสียง
ให้เป็นไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน เพื่อถ่ายทอด
อารมณ์ ไ ปสู ่ ผ ู ้ ฟ ั ง ซึ ่ ง จะท าให้ ผ ู ้ ฟ ั ง เกิ ด อารมณ์ ร ่ ว มคล้ อ ยตาม
ไปกับเรื่องราวหรือรสประพันธ์ที่อ่าน

4
หลักเกณฑ์ในการอ่าน
ออกเสียงร้อยแก้ว
1. ก่ อ นอ่ า นควรศึ ก ษาเรื ่ อ งที ่ อ ่ า นให้ เ ข้ า ใจ
เพื่อเเบ่งวรรคตอน

2. อ่ า นให้ ค ล่ อ ง และเสี ย งดั ง พอเหมาะกั บ สถานที่


และจานวนผู้ฟัง

5
(ต่อ)
หลักเกณฑ์ในการอ่าน
ออกเสียงร้อยแก้ว
3. อ่ า นให้ ค ล่ อ งและถู ก ต้ อ งตามอั ก ขรวิ ธี
โดยเฉพาะ ร ล คาควบกล้า ต้องออกเสียงให้ชัดเจน
4. เน้นเสียงและถ้อยค า ตามน ้าหนักความส าคัญ
ของใจความ ใช้เสียงและจังหวะให้เป็นไปตามเนื้อเรื่อง
เช่น ดุ อ้อนวอน จริงจัง ฯลฯ

6
(ต่อ)
หลักเกณฑ์ในการอ่าน
ออกเสียงร้อยแก้ว
5. อ่านออกเสียงให้เหมาะสมกับประเภทของเรื่อง
เช่น ถ้าอ่านเรื่องที่ให้ข้อเท็จจริงทั่วไป จะอ่านออกเสียง
ธรรมดาให้ชัดเจน
6. ในระหว่างที่อ่าน ควรกวาดสายตามองตัวอักษร
สลับกับการเงยหน้าขึ้นมาสบตาผู้ฟัง ในลักษณะที่เหมาะสม
และดูเป็นธรรมชาติ

7
(ต่อ)
หลักเกณฑ์ในการอ่าน
ออกเสียงร้อยแก้ว
7. ถ้าอ่านในที่ประชุม ต้องยืนทรงตัวในท่าทางที่สง่า
มือที่จับกระดาษอยู่ในท่าทางทีเหมาะ ไม่เกร็ง
ไม่ ย กกระดาษ หรื อ เอกสารบั ง หน้ า หรื อ ไม่ ถ ื อ ไว้
ต่าเกินไปจนต้องก้มลง

8
ฝึกอ่านตามเครื่องหมาย
ในการฝึกอ่านออกเสียงข้อความที่เป็นร้อยแก้วจะใช้เครื่องหมายแบ่งวรรค
ตอนในการอ่านเพื่อเป็นการเว้นช่วงจังหวะการอ่าน ดังนี้

เครื่องหมาย / เว้นวรรคเล็กน้อยเพื่อหยุดหายใจ
เครื่องหมาย // เว้นวรรคเมื่ออ่านจบข้อความหลัก
เครื่องหมาย __ แสดงคาที่เน้นเสียงหนัก

9
แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
1. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา หลักการอ่าน
การอ่าน ออกเสียงคาควบกล้า ร ล ว เช่น

กลไก อ่านว่า กน- ไก ไม่ได้อ่านว่า กน-ละ-ไก


ปราชัย อ่านว่า ปะ-รา-ไช ไม่ได้อ่านว่า ปรา - ไช
เสวก อ่านว่า เส- วก ไม่ได้อ่านว่า สะ-เหวก

10
(ต่อ)

แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
2. อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีในภาษา หลักการอ่าน
การอ่านออกเสียงคาควบกล้า ร ล ว เช่น

ชีวิตของชาวนาจน ๆ อย่างลุงอ ่า ต้องดิ้นรนอยู่กลางทุ่งอัน


เปล่าเปลี่ยว

11
(ต่อ)

แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
3. อ่านอย่างมีสมาธิ ไม่อ่านผิด อ่านตก อ่านเติม
ตัวอย่าง
ท่ามกลางแสงจันทร์อัน แอร่ม น้องแหม่มไปยืน ตากลมที่ริมแม่น ้า
แควน้อย เห็นจอกแหนลอยน้ามาสวยงามมาก น้องแหม่มถึงกับทาตาโพลง
ด้วยความหวงแหนจึงยกมือลูบอก พร้อมอุทานออกมาว่า แหม! พี่แหม่มน่าจะ
พาน้องตั้งนานแล้ว เสียแรงอยู่ในแวดวงนักอนุรักษ์ธรรมชาติ

12
(ต่อ)

แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
4. อ่านโดยเน้นเสียงหนัก -เบา สูง ต ่า ตามลักษณะ
การพูด ใช้เนื้อหาสาระบทอ่านเป็นหลัก
5. อ่านให้เสียงดังพอสมควร ไม่ตะโกนหรือแผ่วเบา
จนเกินไป

13
(ต่อ)

แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
6. อ่ า นให้ ถ ู ก จั ง หวะวรรคตอน อ่ า นให้ จ บค า และ
ได้ใจความ

ตะวัน คล้อ ยต่ ำ ลงไป / พำดยอดไม้ช ำยทุ่ ง โน่ น แล้ว / วัว เดิ น ช้ำ ลง ๆ// เหมื อ นมัน จะล้ม ลง/
สิ้ นใจตำยเสี ยก่อนถึ งที่ หมำย/ แกหันมำมองดูฟืนในเกวียน//แล้วหันไปมองวัว /รู ้ สึกสงสำรไอ้แก้ว
ไอ้ไหมจนหัวใจสะท้อน//แกรู ้ ดีว่ำ / มันเหนื่ อยสำยตัวแทบขำด // แม้แต่แกนั่งบนเวียน / ยังเหนื่ อย
เพลียจนจะหมดแรง // แกหยิบฟื นโยนทิ้งทำงเสี ยสองสำมดุน้ //

14
(ต่อ)

แนวทางการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
7. เมื ่ อ อ่ า นข้ อ ความที ่ ม ี เ ครื ่ อ งหมายวรรคตอนก ากั บ อ่ า น
ให้ถูกต้องตามหลัก เช่น
ทูลกล้าฯ อ่านว่า ทูน-เกล้า-ทูน-กระ-หม่อม
พ.ศ. อ่านว่า พุด-ทะ-สัก-กะ-หราด

15

You might also like