You are on page 1of 43

บัณฑิตนิพนธ์

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสอง


ตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการสอนแบบ
เอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน

วรรธยา วงษ์เปลียว

บัณฑิตนิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
ปีการศึกษา 2563
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
บทที่ 1
บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากช่วยให้
มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้
อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง และนาไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาศาสตร์อื่น ๆ การศึกษา
คณิตศาสตร์จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
และสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560, น.8)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และปีที่ 6 จากการทดสอบ
ระดับชาติ ONET ในช่วง 6-7 ปีที่ผ่านมามีคะแนนเฉลี่ยทั้งประเทศอยู่ในเกณฑ์ต่ามาตลอด โดยเฉพาะ
วิ ช าภาอั ง กฤษ คณิ ต ศาสตร์ และวิ ท ยาศาสตร์ (วิ ท ยากร เชี ย งกู ล , 2562) ผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) ปีการศึกษา 2561 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชา
คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ ย 37.50 คะแนนต่าสุด 0.00 คะแนนสูงสุด 100.00 (สถาบันทดสอบทาง
การศึกษาแห่งชาติ, 2562)
การพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่หลักสูตรกาหนดไว้นั้น
นอกจากจะขึ้นอยู่กับตัวนักเรียน ครูผู้สอน สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาแล้วยังมีปัจจัยสาคัญที่ช่วย
ส่ งเสริ ม การเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย นให้ มี ป ระสิ ท ธิภ าพมากขึ้ น นั่ น คื อ วิ ธีก ารจัด การเรีย นรู้ ครูผู้ ส อน
จาเป็นต้องศึกษาวิธีการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและนักเรียน โดยเฉพาะเนื้อหาที่นักเรียน
ส่วนใหญ่เข้าใจยาก (ครรชิต แซ่โฮ่, 2553) ในขั้นการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ สิ่ง
สาคัญที่ครูผู้สอนควรคานึงถึงคือ ความรู้พื้นฐานของนักเรียนสาหรับการเรียนรู้เนื้อหาใหม่ ขั้นเตรียม
ความพร้อมเพื่อนาเข้าสู้กิจกรรม ครูผู้สอนสามารถใช้คาถามเชื่อมโยงเนื้อหา หรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง
เพื่อนาเข้าสู่เนื้อหาใหม่หรือใช้ยุทธวิธีต่าง ๆ ในการทบทวนความรู้เดิม (ศิวริน เกณทวี, 2554)
จากการที่ผู้วิจัยได้ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ขั้นทดลองสอน ณ โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ใน
รายวิชาคณิตศาสตร์ พบว่านักเรียนบางส่วนยังขาดความรู้ความจาในเนื้อหาที่เป็นความรู้เดิมที่จาเป็น
ต่อการจะเริ่มเรียนเข้าสู่เนื้อหาใหม่ ซึ่งทาให้นักเรียนนั้นไม่เข้าใจในเนื้อหาที่เรียน ในบางครั้งเมื่อเริ่ม
เข้าสู่บทเรียนไปแล้วแต่พบว่านักเรียนลืมความรู้เดิมที่จาเป็นต้องนามาเชื่อมโยงกับเนื้อหาใหม่ทาให้
ครูผู้สอนต้องย้อนกลับไปสอนอีกครั้ง อีกประเด็นคือ นักเรียนบางส่วนไม่ค่อยสนใจที่จะส่งงานหรื อ
การบ้านที่ครูผู้สอนสั่ง ซึ่งงานหรือการบ้านถือเป็นการฝึกฝนหรือทบทวนความเข้าใจความรู้ของตัว
นักเรียนเองในเนื้อหานั้น ๆ แต่ผู้วิจัยสังเกตว่า หากงานหรือการบ้านที่มีผลกับคะแนนของนักเรียน
นักเรียนจะมีความกระตือรือร้นที่จะส่งงานหรือติดตามงาน
จากการศึ ก ษาวิ ธี ก ารสอนแบบเอ็ ก ซ์ พ ลิ ซิ ท (Explicit Teaching Method) จะเห็ น ได้ ว่ า
วิธีการสอนนี้เป็นกระบวนการสอนที่เน้นทบทวนเนื้อหาประจาวัน ประจาสัปดาห์และประจาเดือน มี
การตรวจการบ้านการทบทวนเนื้อหาควมรู้เดิมที่จาเป็นต่อการเข้าสู่เนื้อหาใหม่ มีขั้นตอนการสอนที่
อธิบายเนื้อหาอย่างกระชับ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย เน้นไปที่นักเรียนเข้าใจเนื้อหานั้นหรือไม่ หากนักเรียน
ยังไม่เข้าใจก็ย้อนกลับไปสอนใหม่หรือใช้วิธีการยกตัวอย่างและเหตุผลประกอบ มีการบ้านให้นักเรียน
ทาเสมอเพื่อเป็นการฝึกและทบทวนความเข้าใจของนักเรียน การทบทวนเนื้อหาเป็นประจาเพื่อแน่ใจ
ว่านักเรียนที่เรียนไปแล้วมีความรู้และเข้าใจเนื้อหาเป็นอย่างดีเพื่อความคงทนของความรู้ รูปแบบการ
สอนแบบ Explicit Teaching Method จะมีบทบาทสาคัญเป็นผู้สอน ผู้จัดกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียน
เข้าใจกลยุทธ์การทาความเข้าใจ และเป็นการสอนที่ยังคงใช้ได้ในปัจจุ บัน เพราะการเรียนรู้ทักษะ
บางอย่างต้องเรียนรู้เข้าใจกลยุทธ์และวิธีการอย่างแท้จริง จึงจะทาให้สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ได้ การได้ ฟั งบรรยายไม่ มีก ารฝึ ก ปฏิบั ติ มองไม่ เห็ น แนวทางการปฏิ บัติ ให้ ไปศึกษากลวิธีเอง ไม่
สามารถช่วยให้เรียนรู้ เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้โดยเฉพาะในการเรียนรู้และพัฒนาทักษะต่าง ๆ
(จินตนา ศิริธัญญารัตน์, 2561, น.136)
นอกจากนี้ การนาการเสริมแรงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่
ช่วยให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ โดยเป็นการจูงใจให้นักเรียนคงไว้ซึ่งการปฏิบัติ
หรื อ มี พ ฤติ ก รรมที่ ต้ อ งการให้ น าน ๆ การเสริม แรงทางบวกเป็ น การสร้างแรงจู งใจที่ ดี ที่ สุ ด การ
เสริมแรงอย่างต่อเนื่องใช้ได้ดีในการคงสภาพพฤติกรรมที่ต้องการไว้ (นิวัตน์ เต่งทิ้ง, 2560, น.332)
ดังนั้ น ผู้ ท าวิจั ย จึ งมี ความสนใจที่จะศึ กษาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรียนวิช าคณิ ต ศาสตร์ เรื่อ ง
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
ร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่จะนาไปสู่การพัฒ นาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนและการจัดการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็ กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรง
ทางบวกด้วยคะแนน
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้น มัธ ยมศึกษาปีที่ 3 ต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่อง
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วย
คะแนน
3. เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรง
ทางบวกด้วยคะแนน

สมมติฐานการวิจัย
1. ผลสั ม ฤทธิ์ท างการเรี ย นวิช าคณิ ต ศาสตร์เรื่อ ง ระบบสมการเชิงเส้ น สองตัว แปร ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนด้วยวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวก
ด้วยคะแนน สูงกว่าก่อนเรียน
2. ผลสั ม ฤทธิ์ท างการเรี ย นวิช าคณิ ต ศาสตร์เรื่อ ง ระบบสมการเชิงเส้ น สองตัว แปร ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนโดยใช้วีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวก
ด้วยคะแนน สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่อการจัดการเรียนรู้เรื่อง ระบบสมการ
เชิงเส้นสองตัวแปร โดยวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน อยู่ใน
ระดับมากขึ้นไป
4. นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ที่ เรีย นโดยใช้ วิธีก ารสอนแบบเอ็ ก ซ์ พ ลิ ซิ ท ร่ว มกั บ การ
เสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน มีความคงทนในการเรียนรู้ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

ขอบเขตของการวิจัย
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จานวน 16 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 601 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จานวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง เนื่องจากเป็น
ห้องที่นักเรียนจดจาความรู้เดิมได้ค่อนข้างน้อย
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรอิสระ คือ วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน
2. ตัวแปรตาม ได้แก่
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
2.2 ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการ
เสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
2.3 ความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
เนื้อหา
เนื้อหาที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ เป็นเนื้อหาสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการ
เชิงเส้นสองตัวแปร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง 2560)
ระยะเวลาในการทดลอง
ผู้วิจัยได้ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ใช้เวลาดาเนินการจานวน 10
คาบ คาบละ 50 นาที

ประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัย
1. เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์เ รื่อง ระบบ
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียน
2. เป็นแนวทางสาหรับครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรง
ทางบวกด้วยคะแนน มาประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้เรื่องอื่นๆ

นิยามศัพท์เฉพาะ
1. นั ก เรี ย น หมายถึ ง นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ภาคเรี ย นที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 2563
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่วัดได้จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
ร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จานวน 20 ข้อ
3. วิธี การสอนแบบเอ็ก ซ์ พ ลิ ซิ ท หมายถึ ง กระบวนการจัด การเรี ย นการสอนที่ เน้ น การ
ทบทวนรายคาบ รายสัปดาห์ ซึ่งมีขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนดังนี้
1) ทบทวนเนื้อหาตรวจการบ้าน คือ การพูดคุย แลกเปลี่ยนความรู้เดิมที่เรียนผ่าน
มาแล้วโดยมีความเชื่อมโยงกับเนื้อหาใหม่ เฉลยการบ้านข้อที่นักเรียนส่วนใหญ่ทาผิด
2) เสนอเนื้อหาใหม่ คือ การเข้าสู่เนื้อหาซึ่งเป็นเนื้อหาที่ต่อเนื่องเชื่อมโยงกับความรู้
เดิมที่ได้ทบทวน
3) การปฏิบัติโดยครูให้การแนะนา คือ ครูมีโจทย์ให้นักเรียนฝึกทาแสดงวิธีการหา
คาตอบ โดยให้นักเรียนสามารถปรึกษาครูหรือเพื่อนได้
4) ให้ข้อมูลย้อนกลับและวิธีแก้ไขข้อบกพร่อง คือ การตรวจสอบวิธีการหาคาตอบ
ของนักเรียนว่าถูกต้องหรือไม่ หากมีข้อผิดพลาดครูก็สอนวิธีการที่ถูกต้องให้
5) การให้ฝึกโดยอิสระ คือ การให้นักเรียนได้ฝึกทักษะเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนเพื่อให้
นักเรียนเกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น
6) ทบทวนรายสัปดาห์ คือ การพูดคุย อภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหาที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว
ในหนึ่งสัปดาห์เพื่อให้ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้
4. การเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน หมายถึง การให้คะแนนกับเด็กเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม
ที่ดีของเขา การสร้างวินัยด้วยการเสริมแรงทางบวกเป็นหลักมักเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
5. เกณฑ์ หมายถึ ง คะแนนขั้ น ต่ าที่ ย อมรั บ ว่า นั ก เรีย นมี ค วามสามารถในการเรี ย นโดย
วิเคราะห์จากคะแนนทดสอบหลังเรียน แล้วนาคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละเทียบกับเกณฑ์โดยผู้วิจัยใช้
เกณฑ์ร้อยละ 60 ขึ้นไปของคะแนน
6. ความพึ งพอใจ หมายถึ ง ความรู้สึ ก ของบุค คลในทางบวก ความชอบ ความสุ ขใจต่ อ
สภาพแวดล้อมในด้านต่าง ๆ หรือความรู้สึกที่พอใจต่อสิ่งที่ทาให้เกิดความชอบ
7. ความคงทน หมายถึง ความสามารถในการจดจาของนักเรียนที่คงอยู่เกี่ยวกับ เรื่อง ระบบ
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร ด้วยวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสรีมแรงทางบวกด้วยคะแนน
โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์

กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- ความพึงพอใจที่มีต่อการสอนแบบเอ็กซ์พลิ
การสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับ
ซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน
การเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน
เรื่อง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
- ความคงทนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การวิจัย เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้น


สองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรง
ทางบวกด้วยคะแนน ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. เอกสารที่เกี่ยวกับหลักสูต รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง 2560)
1.1 ความสาคัญของคณิตศาสตร์
1.2 การเรียนรู้คณิตศาสตร์
1.3 คุณภาพผู้เรียน
1.4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
2. เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
2.1 ความหมายของการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
2.2 รูปแบบวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
3. เอกสารที่เกี่ยวกับการเสริมแรงทางบวก
3.1 ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์
3.2 การเสริมแรงทางบวก
4. เอกสารที่เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
4.2 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4.3 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4.4 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
4.5 การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางเรียน
5. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ
5.1 ความหมายของความพึงพอใจ
5.2 เครื่องมือวัดความพึงพอใจ
5.3 การสร้างเครื่องมือวัดความพึงพอใจ
5.4 การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความพึงพอใจ
6. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความคงทน
6.1 ความหมายของความคงทน
6.2 การวัดความคงทนในการเรียนรู้
7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง 2560)
ความสาคัญของคณิตศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ (2560, น.8) ได้กล่าวถึง คณิตศาสตร์มีความสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จใน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ คิดอย่างมี
เหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้ได้อย่างรอบครอบและถี่
ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสามารถนาไปใช้ใน
ชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ ให้มีคุณภาพและ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจาเป็นต้องมี การ
พั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ ทั น สมั ย และสอดคล้ อ งกั บ สภาพเศรษฐกิ จ สั ง คม และความรู้ ท าง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในยุคโลกาภิวัตน์
การเรียนรู้คณิตศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ (2560, น.8-9) ได้กล่าวถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จัดเป็น 3
สาระ ได้แก่
1. จานวนและพีชคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับ ระบบจานวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจานวนจริ ง ร้อยละ
อั ต ราส่ ว น การประมาณค่ า การแก้ ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ จ านวน การใช้ จ านวนในชี วิ ต จริ ง แบบรู ป
ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ
กราฟ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน ลาดับและอนุกรม และการนาความรู้เกี่ยวกับจานวนและพีชคณิตไป
ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้าหนัก พื้นที่ ปริมาตรและ
ความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูป
เรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิต การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตในการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และการนาความรู้เกี่ยวกับการวัด
และเรขาคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ
3. สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เกี่ยวกับการตั้งคาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การคานวณค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับ
เบื้องต้น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ
และช่วยในการตัดสินใจ
คุณภาพผู้เรียน
กระทรวงศึกษาธิการ (2560, น.10) ได้กล่าวถึง คุณภาพของผู้เรียนด้านการเรียนคณิตศาสตร์
ไว้ดังนี้
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจานวนจริง ความสัมพันธ์ของจานวนจริง สมบัติของจานวน
จริง และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ใน
การแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนจริง และใช้ความรู้
ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
และอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม สมการกาลังสอง
และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์ และฟังก์ชันกาลังสอง และ
ใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ ความเข้าใจทางเรขาคณิตและใช้เครื่องมือ เช่น วงเวียนและสั นตรง รวมทั้ง
โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรื อ โปรแกรมเรขาคณิ ต พลวั ต อื่ น ๆ เพื่ อ สร้ า งรู ป
เรขาคณิต ตลอดจนนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติและใช้ความรู้
ความเข้าใจนี้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ
 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด
กรวย และทรงกลม และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนาน รูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ รูป
สามเหลี่ยมคล้าย ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และนาความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ในการแก้ปัญหา
ในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการแปลงทางเรขาคณิต และนาความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ใน
การแก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติ และนาความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ ในการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริง
 มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม และนาความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ใน
การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
 มีความรู้ความเข้าใจทางสถิติในการนาเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูล และแผนภาพกล่อง
และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ รวมทั้งนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความน่าจะเป็นและใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการแก้ปัญหา
ในชีวิตจริง
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
กระทรวงศึกษาธิการ (2560, น.4) ได้กล่าวถึง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ไว้
ดังนี้
สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้ า ใจความหลากหลายของการแสดงจ านวน ระบบจ านวน การ
ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการ
ดาเนินการ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม
และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่
กาหนดให้
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
ความหมายของการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
สาธิต จันทรวินิจ (2557, น.19) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท (Explicit
teaching model) เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบตรง (Direct Instruction) โดยโรเซนไซน์และ
สตีเวน ได้ออกแบบรู ป แบบการสอน และนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิช าต่าง ๆ อย่างมี
ประสิทธิภาพ เป็นวิธีการสอนที่คานึงถึงหลักการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้ ดังนั้นในกระบวนการและขั้นตอนการเรียนการสอนจะมุ่งเน้นพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนกับครู
ตลอดกระบวนการ สิ่งสาคัญก็คือในการเรียนรู้ของนักเรียนนั้น ครูต้องทบทวนความรู้เดิมหรือความรู้
พื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้เรื่องใหม่หรือทักษะใหม่ของนักเรียน ซึ่งการทบทวนความรู้นี้มีความ
จาเป็นเท่ากับการให้ความรู้ ดังนั้นครูจะต้องมีการทบทวนความรู้ที่ถูกวิธี เหมาะสมและเอื้อต่อการ
เรียนรู้เรื่องใหม่หรือทักษะใหม่ทุกครั้ง
จินตนา ศิริธัญญารัตน์ (2561, น.134) กล่าวว่า Explicit instruction เน้นการเรียนรู้จากการ
อ่านเพื่อความเข้าใจและการฝึกเขียน มุ่งพัฒนาความเข้าใจและทักษะการสร้าง ความเข้าใจจะไม่แยก
ย่อยทักษะหรือเนื้อหาเป็นส่วน ๆ แต่ต้องทาความเข้าใจในภาพรวม ดังนั้นจะมีการใช้ทักษะทั้งหมดใน
การทาความเข้าใจกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือฝึกทักษะรวมที่ต้องการและจาเป็นมากกว่าฝึกทักษะย่อย
ๆ ผู้เรียนจึงต้องผสมผสานความรู้และทักษะทุกอย่างแล้วนามาใช้ในการทาความเข้าใจหรือให้เกิดการ
เรียนรู้และปฏิบัติได้ จึงต้องมีการติ ดดามดูแล ช่วยเหลือ แนะนาจากครู เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อาจมี
การอภิปรายแนวคิดของตัวเองกับกลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดกันและกัน
รูปแบบวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท
ทิศนา แขมมณี (2555, น.117) กล่าวว่า รูปแบบ Explicit instruction หรือการจัดการเรียน
การสอนแบบชัดแจ้ง ประกอบด้วย ขั้นตอน 6 ขั้น คือ
1. ขั้นทบทวนความรู้เดิมและตรวจการบ้าน
2. ขั้นนาเสนอเนื้อหาสาระหรือทักษะใหม่
3. ขั้นนาให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
4. ขั้นให้ข้อมูลย้อนกลับและแก้ไขการปฏิบัติของผู้เรียน
5. ขั้นให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติอย่างอิสระ
6. ขั้นการทบทวนการฝึกปฏิบัติรายสัปดาห์และรายเดือน
จินตนา ศิริธัญญารัตน์ (2561, น.134-136) กล่าวว่า องค์ประกอบส่วนสาคัญของรูปแบบการ
สอนแบบ Explicit Instruction
1. ส่วนที่ต้องสอนและผลลัพธ์ที่คาดหวังจากการสอน คือ
1.1 ข้อมูล
1.2 กลยุทธ์ต่าง ๆ ในการทาความเข้าใจในสาระความรู้
2. ส่วนที่ต้องปลูกฝัง และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับผู้เรียน คือ
2.1 หนังสือต่าง ๆ และหนังสือใหม่ ๆ
2.2 การมีความมุ่งมั่น เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ
3. ขั้นตอนหรือกระบวนการของการเรียนการสอน ประกอบด้วยกิจกรรม การเรียนการสอน
มีขั้นตอนการปฏิบัติและกระบวนการของรูปแบบดังนี้
ขั้น ที่ 1 ผู้ ส อนให้ ผู้ เรี ย นหยุด เป็ นระยะอธิบ ายกลยุ ทธ์ ที่จ ะท าให้ เ ข้ าใจข้ อ ความ หรือ
คาศัพท์ที่ไม่คุ้นเคยเหล่านั้น
ขั้นที่ 2 ข้อความหรือบทความที่อ่านให้ผู้เรียนฟังเพื่อฝึกใช้ทักษะในการทาความเข้าใจ
ขัน้ ที่ 3 ให้ผู้เรียนทาความเข้าใจกับข้อความหรือความที่ผู้สอนจัดให้ด้วยตนเอง
4. ระบบสั ง คม ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผู้ ส อนและผู้ เ รี ย น ในขณะจั ด การเรี ย นการสอน
บทความหรือข้อความที่สอนและให้ผู้เรียนเรียน กาหนดขึ้นโดยผู้สอนทีทาหน้าที่สอนในเรื่องนั้น
โดยผู้เรียนจะต้องหาโอกาสใช้ข้อความเหล่านั้น
5. หลักการตอบสนอง โดยระหว่างจัดการเรียนการสอน ผู้เรียนฝึกใช้กลยุทธ์หรือทาความ
เข้าใจ ครูเป็นผู้สังเกตการณ์ว่าผู้เรียนสามารถปฏิบัติและทาความเข้าใจได้ หรืออาจต้องอธิบาย
รูปแบบหรือกลยุทธ์การทาความเข้าใจอีกครั้ง การพัฒนาและฝึกซ้า ๆ มีความจาเป็นสาหรับการ
พัฒนาทักษะการทาความเข้าใจ
6. ระบบสนั บ สนุ น มีการจัดหนังสื อต่า ง ๆ ให้ อย่างพอเพี ยง มีความส าคัญ หรือสื่ อ วิธี
แสวงหาข้ อ มู ล จากเว็ บ ไซต์ ต่ า ง ๆ สื่ อ อุ ป กรณ์ ส าหรั บ การสื บ เสาะจาก Internet จึ ง มี ค วาม
จาเป็นต้องเพียงพอ
รูปแบบการสอนแบบ Explicit teaching model จะมีบทบาทสาคัญเป็นผู้สอน ผู้จัดกิจกรรม
ผู้ แสดงวิธีการเป็ น ล าดับ ขั้น เพื่อให้ ผู้ เรียนเข้าใจกลยุทธ์การทาความเข้าใจ การเรียนรู้ทักษะ
บางอย่างต้องเรียนรู้ เข้าใจกลยุทธ์ และวิธีการอย่างแท้จริง จึงจะทาให้สามารถนาไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้
วัชรา เล่าเรียนดี (2560, น.197-199) ได้กล่าวถึงกระบวนการสอนแบบเอ็กพลิซิท (Explicit
teaching model) ไว้ 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. การทบทวนประจาวัน (Providing daily review) ขณะเริ่มต้นบทเรียนในแต่ละวัน ครูจะ
ทบทวนสาระความรู้หลั กการ หรือฝึกทักษะใหม่และทักษะที่เรียนหรือฝึ กไปแล้ว เพื่อให้แน่ใจว่า
นักเรียนพร้อมที่จะเรียน หรือฝึกทักษะใหม่ รวมทั้งทบทวนการบ้านและแบบฝึกทักษะ การทบทวน
อาจจะประกอบไปด้วยกิจกรรมการอภิปรายเกี่ยวกับการบ้าน สาระความรู้ หลักการที่สาคัญ
2. การสอนหรือการนาเสนอสาระใหม่ ทักษะใหม่ (Presenting new material)
2.1 ครูบอก แจ้งวัตถุประสงค์ให้นักเรียนทราบ อาจจะโดยการเขียนจุดประสงค์ การ
เรียนรู้ หรือพฤติกรรมที่คาดหวังเป็นข้อ ๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียน ลดความซับซ้อนของการ
ให้สาระความรู้
2.2 สอนทีละขั้นตอน หรือแบ่งสอนเป็นเรื่องย่อย ๆ ตามลาดับความยาก-ง่าย ใช้ภาษา
พูดอธิบ ายยกตัว อย่ างที่ชัดเจนให้ คาแนะนาทีล ะขั้นตอน ทาแบบ แสดงแบบให้ นักเรียนดู ใช้สื่ อ
ประกอบการอธิบายเพื่อให้แน่ใจว่า แต่ละประเด็นที่สอนนักเรียนเข้าใจแจ่มแจ้งก่อนที่จะดาเนินการ
สอนในขั้นต่อไป
2.3 ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน อธิบายยกตัว อย่างให้ ชัดเจนเพื่อให้ แน่ใจว่า
นักเรียนพร้อมที่จะฝึกปฏิบัติด้วยตนเองได้
3. ให้การฝึกปฏิบัติโดยครูคอยแนะนาอย่างใกล้ชิด (Conducting guided practice) การให้
เด็กฝึกปฏิบัติโดยครูคอยแนะนาในห้องเรียน โดยที่หลังจากการฝึกปฏิบัติแล้วนักเรียนควรจะสามารถ
ปฏิบัติตามขั้นตอนหรือทักษะนั้น ๆ อย่างถูกต้อง แต่ยังไม่ถึงขั้นที่สามารถปฏิบัติได้คล่องแคล่วโดย
อัตโนมัติ การให้นักเรียนฝึกโดยครูให้คาแนะนานั้น อาจจะเป็นการให้ฝึกแก้ปัญหา ตอบคาถามของครู
4. การให้ ข้ อ มู ล ย้ อ นกลั บ และการแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง (Providing feedback and
corrections) ในการตอบของนักเรียน ถ้าตอบถูกต้องหรือตอบด้วยความมั่นใจ ครูควรตอบสนองต่อ
การตอบนั้นด้วยคาพูดที่เสริมกาลังใจ เช่น ดีมาก ดี ถูกต้อง หลังจากนั้นควรถามคาถามอื่น ๆ ต่อไป
อีก ถ้านักเรียนตอบถูกแต่ตอบด้วยความลังเลไม่แน่ใจ ครูควรย้อนกลับเกี่ยวกับเรื่องนั้น หรือบอก
กระบวนการที่ได้คาตอบนั้นมา การทาผิดตอบผิดของนักเรียนจะต้องได้รับการแก้ไขทันทีก่อนจะ
กลายเป็นนิสัย
5. การให้ ฝึ ก ปฏิ บั ติ โ ดยอิ ส ระตามล าพั ง (Assigning independent practice) การให้
นักเรียนฝึกโดยอิสระด้วยตนเองนั้น ก็เพื่อปรับปรุงขั้นตอนที่นักเรียนตอบจากการตอบถูกของนักเรียน
แต่ลังเลไม่แน่ใจและเพื่อจะได้มีการพัฒนาทักษะเหล่านั้นให้ชานาญยิ่งขึ้น การให้ฝึกด้วยตนเองจะ
ดาเนินการต่อจากการฝึกโดยครูแนะนา โดยมีเนื้อหาสาระหลักการเดิมและทักษะเดิม โดยครูจะ
แนะนาน้อยมากหรือไม่แนะนาเลย
6. ทบทวนเป็นรายสัปดาห์และเป็นรายเดือน (Providing weekly and monthly review)
การทบทวนเป็นรายสัปดาห์และรายเดือน มีสาคัญเท่ากับการทบทวนประจาวัน เพื่อความคงทนของ
การเรียนรู้ และเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่เรียนไปแล้วจริง การทบทวนจะให้ผลดีต่อการ
ฝึกปฏิบัติ และมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

เอกสารที่เกี่ยวกับการเสริมแรงทางบวก
ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2553, น.20) กล่าวถึง ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทา
(Operant conditioning theory) ของสกินเนอร์ สรุปได้ดังนี้
1. การกระทาใด ๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มเกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทาที่ไม่มีการ
เสริมแรง แนวโน้มที่ความถี่ของการกระทานั้นจะลดลงและหายไปในที่สุด
2. การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทาให้เกิดการตอบสนองกว่าการเสริมแรงที่ตายตัว
3. การลงโทษทาให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
4. การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเมื่อมีการแสดงพฤติกรรมที่ต้องการสามารถช่วยปรับหรือ
ปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
ทิศนา แขมมณี (2555, น.57) กล่าวว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant
conditioning) ของสกินเนอร์ ดังนี้
1. การกระทาใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นขึ้น ส่วนการกระทาที่ไม่มี
การเสริมแรงแนวโน้มที่ความถี่ของการกระทานั้นจะลดลงและหายไปในที่สุด
2. การเสริมแรงที่แปรเปลี่ยนทาให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแรงที่ตายตัว
3. การลงโทษทาให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
4. การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเมื่ออินทรีย์กระทาพฤติกรรมที่ต้องการ สามารถปรับหรือ
ปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
หลักการจัดการสอน
 ในการสอน การให้การเสริมแรงหลังการตอบสนองที่เหมาะสมของเด็กจะช่วยเพิ่ม
อัตราการตอบสนองที่เหมาะสมนั้น
 การเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ หรือเปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรง จะ
ช่ว ยให้ การตอบสนองของผู้ เรี ย นคงทนถาวร เช่น ถ้าครูช มว่า ดี ทุ กครั้งที่นักเรียนตอบถูก อย่ า ง
สม่าเสมอ นักเรียนจะเห็นความสาคัญของการเสริมแรงน้อยลง ครูควรเปลี่ยนเป็นแรงเสริมแบบอื่น
บ้าง เช่น ยิ้ม พยักหน้า หรือบางครั้งอาจไม่ให้เสริมแรง
 การลงโทษที่รุนแรงเกินไปมีผลเสียมาก ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้หรือจาสิ่งที่เรียนได้
เลย ควรใช้วิธีการงดการเสริมแรงเมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
 หากต้ อ งการปรั บเปลี่ ยนพฤติ ก รรม หรื อ ปลู ก ฝั ง นิสั ยให้ แ ก่ ผู้ เ รีย นการแยกแยะ
ขั้นตอนของปฏิกิริยาตอบสนองออกเป็นลาดับขั้น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับความสามารถของ
ผู้เรียน เช่น หากต้องการปลูกฝังนิสัยในการรักษาความสะอาดห้อง ต้องนาพฤติกรรมที่ต้องการมา
จาแนกเป็นพฤติกรรมย่อยให้ชัดเจน เช่น การเก็บ การกวาด การเช็ดถู การล้าง การจัดเรียง เป็นต้น
ต่อไปจึ ง พิจ ารณาแรงเสริ มที่จ ะให้ แก่ผู้ เรียน เช่น คะแนน คาชมเชย เป็นต้น เมื่อนักเรียนแสดง
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ก็ให้การเสริมแรงที่เหมาะสมในทันที
สุนิสา วงศ์อารีย์ (2559, น.180-181) กล่าวว่า หลักการเรียนรู้ของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ
การกระทาของสกินเนอร์ เน้นการกระทาของผู้รับการทดลองหรือผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าที่ผู้ทดลอง
หรือผู้สอนกาหนด กล่าวคือ เมื่อต้องการให้อินทรีย์เกิดการเรียนรู้จากสิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่ง โดยจะให้ผู้
เรียนรู้เลือกแสดงพฤติกรรมเอง ซึ่งไม่บังคับหรือบอกแนวทางการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนรู้ แสดงพฤติกรรม
การเรี ย นรู้ แล้ ว จึ งเสริ มแรงพฤติ กรรมนั้นๆทัน ที เพื่อให้ เรียนรู้ว่าพฤติกรรมที่แสดงออกนั้น เป็น
พฤติกรรมการเรียนรู้หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทานั้น
พฤติกรรมหรือการตอบสนองจะขึ้นอยู่กับการเสริมแรงนั่นเอง
การเสริมแรงทางบวก
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2553, น.21) กล่าวถึง การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement)
เป็นการทาให้ความถี่ของพฤติกรรมคงที่หรือเพิ่มมากขึ้น อันเป็นผลเนื่องมาจากผลกรรมที่ตามหลัง
พฤติกรรมนั้น ๆ ซึ่งสิ่งที่มีศักยภาพเป็นตัวเสริมแรงได้นั้น แบ่งได้เป็น 4 ประเภทคือ
1. ตัวเสริมแรงที่เป็นสิ่งของ (Material reinforcer) เป็นตัวเสริมแรงที่ประกอบไปด้วยอาหาร
ของที่เล่นได้ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น ขนม ของเล่น เสื้อผ้า น้าหอม เป็นต้น
2. ตัวเสริมแรงทางสังคม (Social reinforcer) ตัวเสริมแรงทางสังคมเป็นตัวเสริมแรงที่ไม่
ต้ องลงทุน ซื้อหามีอยู่ กับ ตัว เรา และค่อนข้างมีประสิ ทธิภ าพสู งในการปรับพฤติกรรม แบ่งเป็น 2
ลักษณะ คือ คาพูด ได้แก่ คาชมเชย เช่น ดีมาก น่าสนใจมาก ใช่เลย เป็นต้น และการแสดงออกทาง
ท่าทาง เช่น ยิ้ม มองอย่างสนใจ จับมือ เป็นต้น
3. ตัวเสริมแรงที่เป็นกิจกรรม (Activity reinforcer) เป็นการใช้กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่
ชอบไปเสริมแรงกิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ไม่ชอบ
4. ตัวเสริมแรงที่เป็นเบี้ยอรรถกร (Token reinforcer) โดยการนาเบี้ยอรรถกรไปแลกเป็นตัว
เสริมแรงอื่น ๆ ได้ เช่น ดาว คูปอง คะแนน เป็นต้น
สุนิสา วงศ์อารีย์ (2559, น.183) กล่าวว่า การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)
เป็นการให้บุคคลได้รับผลประโยชน์หรือได้รับสิ่งที่พอใจ ภายหลังการกระทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
เสร็จสิ้นลง ตัวเสริมแรงที่นามาใช้ในการเสริมแรงทางบวก ได้แก่ อาหาร รือสิ่งที่บริโภคได้ เงินทอง
วุฒิบัตร คาชม หรือกิจกรรมบางอย่างที่บุคคลพึงพอใจ เช่น กิจกรรมทัศนศึกษา เป็นต้น การเสริมแรง
ทางบวกนั้นควรให้ภายหลังจากมีพฤติกรรมที่ต้องการเกิดขึ้น และให้การเสริมแรงทันที ยิ่งเร็วเท่าไหร่
ยิ่งดี และควรเลือกตัวเสริมแรงให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละบุคคลที่ไม่เหมือนกันด้วย

เอกสารที่เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
โชติ ก า ภาษี ผ ล (2559, น.55) กล่ า วว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น (Achievement) เป็ น
ความสามารถอันเป็นผลมาจากประสบการณ์การเรียนรู้ ที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอนในช่วง
ระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่ผ่านมา
นูรมา อาลี (2559, น.21) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้หรือทักษะที่
นักเรียนแสดงออกมาจากการได้รับการจัดการเรียนการสอน ซึ่งอาจจะสามารถวัดโดยการทดสอบ
หรือจากการให้คะแนนของผู้สอน
ลี ย านา ประที ป วั ฒ นพั น ธ์ (2558, น.44) กล่ า วว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น หมายถึ ง
ความสามารถในการปฏิบัติที่แสดงให้เห็นถึงความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาหรือข้อมูลความรู้ที่กาหนดไว้
และบ่งบอกถึงสมรรถภาพทางสติปั ญญาที่สามารถตรวจสอบได้โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์
ทางการเรียน
กล่าวโดยสรุป ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถ ความเข้าใจในเนื้อหาที่เป็น
ผลมาจากการเรียนรู้ที่ได้รับจากการเรียนการสอน สามารถตรวจสอบได้โดยใช้แบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์
ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2559, น.96) ได้กล่าวถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการที่ผู้เรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่าบรรลุผล
สาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้เพียงใด
อนุวัติ คูณแก้ว (2558, น.62) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดทางด้านความรู้ ความสามารถ ทักษะต่าง ๆ ของนักเรียนที่ได้เรียนรู้หรือได้รับ
การสอนและการฝึกฝนมาแล้ว ว่าผู้เรียนมีความรอบรู้มากน้อยเพียงใด
สมนึก ภัททิยธนี (2558, น.69) ได้กล่าวถึง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพของสมองด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับการเรียนรู้ผ่านมาแล้ว
กล่าวโดยสรุป แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดความรู้
ความสามารถของผู้เรียน หลังจากที่เรียนเรื่องนั้นไปแล้ว
ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สมนึก ภัททิยธนี (2556, น.63) กล่าวว่า แบบทดสอบประเภทนี้แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1. แบบทดสอบที่ครูสร้าง (Teacher made test) หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์
ของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มที่ครูสอน จะไม่นาไปใช้กับนักเรียนกลุ่มอื่น เป็นแบบทดสอบที่ใช้กันทั่ว ๆ ไปใน
โรงเรียน
2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized test) หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์
เช่นเดียวกับแบบทดสอบที่ครูสร้าง แต่มีจุดหมายเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพต่าง ๆ ของนักเรียนที่ต่าง
กลุ่มกัน เช่น เปรียบเทียบคุณภาพของนักเรียนในโรงเรียนแห่งหนึ่งกับนักเรียนกลุ่มอื่น ๆ ทั่วประเทศ
(แบบทดสอบมาตรฐานระดับชาติ) เป็นต้น
อนุวัติ คูณแก้ว (2558, น.62) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบ่งออกเป็น
2 ชนิดคือ
1. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เป็นแบบทดสอบที่สร้างโดยผู้เชี่ยวชาญที่
มีความรู้ในเนื้อหา และมีทักษะการสร้างแบบทดสอบ มีการวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ มี
คาชี้แจงเกี่ย วกับ การดาเนิ น การสอบ การให้ คะแนนและการแปลผล มีความเป็นปรนัย มีความ
เที่ยงตรงและความเชื่อมั่น
2. แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเอง (Teacher made tests) เป็นแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นมา
เองเพื่อใช้ในการทดสอบนักเรียนในชั้นเรียน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
2.1 แบบทดสอบปรนัย (Objective tests) ได้แก่
2.1.1 แบบถูก-ผิด (True – false)
2.1.2 แบบจับคู่ (Matching)
2.1.3 แบบเติมคาตอบให้ส มบูรณ์ (Completion) หรือแบบคาตอบสั้น (Short
answer)
2.1.4 แบบเลือกตอบ (Multiple choice)
2.2 แบบอัตนัย (Essay tests)
2.2.1 แบบจากัด (Restricted response items)
2.2.2 แบบตอบอย่างเสรี (Extended response item)
สรุ ป ได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนแบ่ งได้ 2 ประเภท คือ แบบทดสอบ
มาตรฐาน ซึ่ ง สร้ า งจากผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเนื้ อ หาและด้ า นการวั ด ผลการศึ ก ษา อี ก ประเภทคื อ
แบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบในชั้นเรียน
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
อนุวัติ คูณแก้ว (2558, น.70-72) กล่าวว่า การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มี 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนสร้างข้อสอบ ประกอบด้วย
1. ศึกษาวิธีการสร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ
2. การกาหนดจุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบ ก่อนจะเริ่มเขียนข้อสอบ ผู้สร้างข้อสอบ
จะต้องกาหนดจุดมุ่งหมายของการใช้แบบทดสอบให้ชัดเจนว่าจะวัดไปเพื่ออะไร
3. การกาหนดเนื้อหา และพฤติกรรมที่ต้องการจะวัดในตารางวิเคราะห์หลักสูตร
4. การกาหนดลักษณะของข้อสอบ และส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสอบ
ขั้นตอนที่ 2 การลงมือสร้างข้อสอบ
1. สร้างข้อสอบ ผู้สร้างข้อสอบลงมือสร้างแบบทดสอบตามรายละเอียดในตารางวิเคราะห์
หลักสูตร ตามลักษณะของข้ อสอบ คานึงถึงความยากของแบบทดสอบ ระยะเวลาที่ใช้สอบ คะแนน
และการตรวจให้คะแนนด้วย
2. ตรวจทานข้อสอบ ผู้สร้างต้องทบทวนตรวจทานข้อสอบ เพื่อให้ข้อสอบที่สร้างขึ้นมานั้นมี
ความถูกต้องครบถ้วน ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ในตารางวิเคราะห์หลักสูตร
ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบก่อนนาไปใช้
1. นาแบบทดสอบที่ผู้วิจั ยสร้างขึ้นไปให้ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและด้านวัดผลการศึ ก ษา
จานวน 3-5 ท่าน ตรวจความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา โดยให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาว่าข้อสอบแต่ละข้อนั้น
สร้างได้ถูกต้องและเหมาะสมเพียงใด
2. ทดลองสอบ นาแบบทดสอบที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองสอบกับนักเรียนที่มีลักษณะ
คล้ายคลึง หรือนักเรียนที่พึ่งเคยเรียนเรื่องนั้น ๆ จานวนตั้งแต่ 30 คนขึ้นไป
3. วิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ นาผลการสอบมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย และอานาจ
จาแนกเป็นรายข้อ แล้วคัดเลือกข้อสอบที่ใช้ได้ จากนั้นนาข้อสอบที่ได้คัดเลือกแล้ วจัดพิมพ์ นาไป
ทดลองกับนักเรียนที่เคยเรียนเรื่องนี้ไปแล้วจานวนตั้งแต่ 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น
4. จัดพิมพ์เป็นแบบทดสอบฉบับจริง เพื่อนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายต่อไป
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เตือนใจ เกตุษา และสมบูรณ์ ชิตพงศ์ (2554, น.(9)-(49-72)) กล่าวว่า การวิเคราะห์ข้อสอบ
รายข้อสอบเป็นวิธีการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบซึ่งทาได้ทั้งก่อนและหลังการใช้แบบทดสอบ วิธีการ
ตรวจสอบคุณภาพก่อนทดลองใช้แบบทดสอบทาได้โดยการหาค่าความตรงรายข้อ ส่วนวิธีการหาค่า
ความยาก อานาจจาแนก และการหาค่าความไวของข้อสอบรายข้อจะกระทาหลังจากมีการทดลองใช้
แบบทดสอบแล้ว การวิเคราะห์ข้อสอบทั้งฉบับ เป็นการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบฉบับนั้นว่า
มีคุณภาพโดยรวมเป็นอย่างไร
การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ
1. การวิเคราะห์หาค่าความตรงรายข้อ
การวิเคราะห์นี้กระทาโดยการให้ผู้ เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้พิจารณาความสอดคล้อง
ระหว่างสิ่ งที่ต้องการจะวัดกับ ตัวข้อสอบว่าเป็นคาถามที่วัดจุดประสงค์นั้นหรือไม่ เพียงไร โดยมี
ขั้นตอนในการดาเนินดังนี้
1) กาหนดผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับจุดประสงค์
ผู้เชี่ยวชาญควรใช้อย่างน้อย 5 คน
2) ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาว่า ข้อสอบข้อใดวัดจุดประสงค์ที่กาหนดหรือไม่ โดยพิจารณาใน
3 ลักษณะ ในแต่ละข้อ คือ
ถ้าแน่ใจว่าวัดจุดประสงค์นั้นจริง ให้ค่าคะแนน +1
ถ้าไม่แน่ใจว่าวัดจุดประสงค์นั้นจริง ให้ค่าคะแนน 0
ถ้าแน่ใจว่าไม่ได้วัดจุดประสงค์นั้นจริง ให้ค่าคะแนน -1
จากนั้นให้นาคะแนนของผู้เชี่ยวชาญมาหาค่าเฉลี่ยในแต่ละข้อ คือนาค่าคะแนนในข้อนั้นจาก
การพิจ ารณาของผู้ เชี่ย วชาญมารวมกัน (โดยคานึงถึงเครื่องหมายด้ว ย) แล้ ว หารด้ว ยจานวนของ
ผู้เชี่ยวชาญ ถ้าข้อใดมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า .05 แสดงว่า ข้อคาถามนั้นวัดจุดประสงค์ที่ต้องการ
2. การวิเคราะห์ค่าความยาก
การวิเคราะห์นี้กระทาโดยการใช้ข้อมูล (คะแนน) จากการสอบของนักเรียน เพื่อจะหาว่าเป็น
ข้อคาถามที่เหมาะกับระดับของนักเรียนกลุ่มนี้หรือไม่ การวิเคราะห์หาค่าความยากกระทาได้เป็นราย
ตัว เลื อกและรายข้อ (ตัว เลื อกที่ถูกนั่นเอง) ค่าความยากคือ สั ดส่ ว น (Proportion เขียนย่อว่า p)
ระหว่างจานวนผู้ที่ตอบตัวเลือกนั้นกับจานวนผู้เข้าสอบทั้งหมด ซึ่งในกรณีของตัวเลือกที่ถูก ก็คือ
สัดส่วนของคนที่ตอบถูกกับจานวนของคนที่เข้าสอบนั่นเอง ดังสูตร
จานวนคนที่ เลือกตัวเล ือกนัน้
p
จานวนคนทั้ งหมดทีเ่ ข้ าสอบ
ในการวิเคราะห์หาค่าความยากของแต่ละตัวเลือกของแต่ละข้อจึงต้องหาให้ได้ว่า ผู้เข้าสอบ
แต่ละคนตอบแต่ละข้อโดยเลือกตัวเลือกใดบ้าง ถ้าไม่ตอบตัวเลือกใดเลยก็ต้องระบุว่า เว้น หรือ ไม่
ตอบ จากนั้นจึงนาจานวนผู้เข้าสอบไปหาความถี่ในแต่ละตัวเลือก (รวมทั้งเว้นด้วย) ผลหารที่ได้คือ ค่า
ความยากของตัวเลือกนั้นๆ ของข้อนั้นนั่นเอง และค่าความยากของข้อสอบนั้นคือ ค่าความยากของตัว
ถูกนั่นเอง
โดยปกติแล้วค่าความยากอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 ตัวเลือกใดที่มีผู้เลือกตอบน้อย ค่า p จะต่า หรือ
ความหมายก็คือ ค่า p น้อย ข้อสอบยาก ค่า p มากข้อสอบง่าย ในกรณีของตัวเลือกที่ถูกนั้น ค่า p
ควรอยู่ระหว่าง .20 ถึง .80 จึงถือว่าใช้ได้ ส่วนตัวลวงนั้นไม่มีเกณฑ์กาหนด แต่ขอให้มีผู้เลือกตอบบ้าง
3. การหาค่าความไว
ค่าความไวของข้อสอบเป็นความแตกต่างของค่าความยากระหว่างก่อนการสอน และหลังการ
สอน วิธีนี้เป็นการดูว่า ข้อสอบจาแนกคนที่รู้แล้ว และยังไม่รู้ได้จริงหรือไม่ วิธีคานวณค่าความไวของ
ข้อสอบรายข้อ มีสูตรดังนี้
S (ตัวถูก) = Ppost - Ppre
S (ตัวลวง) = Ppre - Ppost
เมื่อ s แทนดัชนีความไว
Ppost แทนความยากของตัวเลือกนั้นหลังการสอน
Ppre แทนความยากของตัวเลือกนั้นก่อนการสอน
ในการวิเคราะห์หาค่าความไวของข้อสอบ มีขั้นตอนดังนี้
1) น าข้อสอบไปสอบกับ นั กเรียนก่ อนทาการสอนในเรื่ องที่จ ะสอบ แล้ ว นามาตรวจให้
คะแนน
2) หาค่า p ในแต่ละตัวเลือก ค่าที่ได้เรียกว่า Ppre
3) ดาเนินการสอนจนจบหน่วยหรือเนื้อหาที่ต้องการสอบ
4) นาข้อสอบชุดเดิมไปสอบกับนักเรียนกลุ่มเดิม แล้วตรวจให้คะแนน
5) หาค่า p ในแต่ละตัวเลือก ค่าที่ได้เรียกว่า Ppost
6) หาค่า s ในแต่ละตัวเลือกตามสูตร
กรณีของตัวถูก พิจารณาตามระดับ s ดังนี้
ค่า s ความหมาย
1.00 เป็นข้อสอบที่ดีมาก เป็นไปตามทฤษฎี
.80 - .99 เป็นข้อสอบที่ดี หาได้ในเชิงปฏิบัติ
.30 - .79 เป็นข้อสอบที่พอใช้ได้
ต่ากว่า .30 เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ควรตัดทิ้ง
กรณีของตัวลวง พิจารณาเป็นรายตัวเลือกดังนี้
ก. ถ้าค่า Ppost ยิ่งน้อยเท่าไหร่ก็ยิ่งดีมาก
ข. ถ้าค่า s เป็นลบ เป็นตัวลวงที่ไม่ดี ต้องแก้ไขปรับปรุง
ค. ถ้าค่า s เป็นบวก เป็นตัวลวงที่ใช้ได้
วิธีหาค่าความไวมีข้อจ ากัดในการวิเคราะห์ คือ ต้องแน่ใจก่อนว่า ก่อนสอนผู้ เรียนยัง ไม่มี
ความรู้ความสามารถจริงในเรื่องที่สอน และภายหลังการสอนผู้เรียนต้องมีความรู้ความสามารถในเรื่อง
ที่สอน
4. การหาค่าความเปลี่ยนแปลงระหว่างก่อนและหลังการสอน
การวิเคราะห์รายข้อโดยวิธีนี้ คานึงถึงหลักการที่ว่าก่อนเรียนผู้เรียนต้องไม่มีความรู้ในเรื่องนั้น
และหลังเรียนไปแล้วผู้เรียนควรจะเรียนรู้แล้ว
5. การหาค่าอานาจจาแนก (Discrimination power)
อานาจจาแนก เป็นประสิทธิ ภาพของเครื่องมือที่สามารถจาแนกสิ่งที่ต้องการวัดว่ามีความ
แตกต่างกัน แม้ว่าความแตกต่างกันนั้นจะมีความเล็กน้อยก็ตาม การหาค่าอานาจจาแนกสามารถหาได้
โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และสูตรอย่างง่าย
5.1 การหาอานาจจาแนกด้วยสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพอยท์ ไบซีเรียล (Point
biserial correlation) เขียนย่อว่า rpbis เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนที่นักเรียนทาได้ใน
ข้อสอบแต่ละข้อกับคะแนนรวม
การหาค่าอานาจจาแนกด้วยวิธีนี้จะทาได้ต่อเมื่อ
1) คะแนนของนักเรียนที่ทาได้จากข้อสอบฉบับนั้น มีการกระจายแบบโค้งปกติ
2) ข้อสอบแต่ละข้อต้องให้คะแนนแบบ ตอบถูกให้ 1 คะแนน และ ตอบผิดให้ 0 คะแนน
เท่านั้น
อานาจจาแนกของข้อสอบที่หาด้วยวิธีนี้จะมีค่าสูงสุด เมื่อค่าความยากของข้อสอบนั้นเป็น
0.05 แต่ถ้าข้อสอบง่ายเกินไปหรือยากเกินไป ค่าอานาจจาแนกจะมีค่าน้อยไปกว่าความเป็นจริง
สูตรการหาค่าอานาจจาแนกของข้อสอบแต่ละข้อ ด้วยวิธี Point biserial correlation
เป็นดังนี้
 M  Mq 
rpbis   p   pq
 S x 
เมื่อ Mp แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมของนักเรียนกลุ่มที่ตอบข้อสอบข้อนั้นถูก
Mq แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนรวมของนักเรียนกลุ่มที่ตอบข้อสอบข้อนั้นผิด
Sx แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนรวมทั้งหมด
p แทน สัดส่วนของนักเรียนที่ตอบข้อสอบข้อนั้นถูก (ค่าความยากของ
ข้อสอบ)
q แทน สัดส่วนของนักเรียนที่ตอบข้อสอบข้อนั้นผิดซึ่งมีค่าเท่ากับ 1-p
5.2 การหาค่าความยากและอานาจจาแนกของข้อสอบรายข้อ ด้วยสูตรอย่างง่าย การ
วิเคราะห์ข้อสอบรายข้อนั้น จะเป็นการสะดวกอย่างยิ่งถ้าสามารถอาศัยเครื่องมือในการคิดคานวณ แต่
ในสภาพที่การใช้เครื่องคิดเลขหรือเครื่องคอมพิวเตอร์มีอยู่ในแวดวงจากัด ก็อาจวิเคราะห์ข้อสอบได้
ด้วยการวิเคราะห์อย่างง่าย โดยใช้สูตรในการวิเคราะห์หาค่าความยากและอานาจจาแนกดังนี้
ค่าความยาก (ทั้งตัวถูกและตัวลวง)
HL
p
nH  nL
pH  pL
หรือ p
2
ค่าอานาจจาแนก (สาหรับตัวถูก)
HL
r
nH
HL
หรือ r
nL
หรือ r  pH  pL
ค่าอานาจจาแนก (สาหรับตัวลวง)
LH
r
nH
LH
หรือ r
nL
หรือ r  pL  pH
เมือ p แทน ค่าความยากของข้อสอบ
r แทน ค่าอานาจจาแนก
H แทน จานวนคนในกลุ่มสูงที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น
L แทน จานวนคนในกลุ่มต่าที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น
nH แทน จานวนคนในกลุ่มสูง
nL แทน จานวนคนในกลุ่มต่า
pH แทน สัดส่วนของผู้ที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น ต่อจานวนคน
ทั้งหมดในกลุ่มสูง
pL แทน สัดส่วนของผู้ที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น ต่อจานวนคน
ทั้งหมดในกลุ่มต่า
การวิ เ คราะห์ ห าค่ า ความยากและอ านาจจ าแนกของข้ อ สอบรายข้ อ อี ก วิ ธี ห นึ่ ง คื อ วิ ธี
วิเคราะห์โดยสูตรอย่างง่าย มีการเตรียมข้อมูลเบื้องต้น ดังนี้
1) นาข้อสอบไปสอบกับกลุ่มตัวอย่างแล้วตรวจให้คะแนน
2) เรียงกระดาษคาตอบจากมากไปหาน้อย หรือทาการแจกแจงความถี่
3) ในกรณีที่มีจานวนผู้เข้าสอบมาก อาจตัดทอนให้น้อยลงโดยลดจานวนตามสัดส่วนของ
ความถี่ของการแจกแจงเดิม
4) ตัดแบ่งเป็นกลุ่มสูงและกลุ่มต่า ซึ่งอาจจะแบ่งเป็นครึ่งต่อครึ่ง (ในกรณีที่จานวนผู้เข้าสอบ
มีน้ อยมาก) แต่ในเชิงปฏิบั ติจ ริ งนิ ย มเอากลุ่ มสู งและกลุ่ ม ต่ ามากลุ่ มละ 27% ซึ่งจะได้จานวนมา
วิเคราะห์ถึง 54% อีก 46% ในส่วนกลางๆ ก็ตัดทิ้งไป โดยที่ผลวิเคราะห์ที่ได้จากการแบ่งกลุ่มดังกล่าว
ให้ผลไม่แตกต่างไปจากการวิเคราะห์โดยนาเอามาทั้ง 100%
5) นาคะแนนในแต่ละกลุ่มไปหาค่าความถี่ของการตอบในแต่ละตัวเลือก
6) การวิเคราะห์ด้วยสูตรอย่างง่าย สามารถหาค่า p และ r ของแต่ละตัวเลือกในแต่ล ะข้อ
ด้วยการนาค่าตัวเลขในช่อง H และ L ไปแทนค่าในสูตร
การวิเคราะห์แบบทดสอบทั้งฉบับ
การวิเคราะห์แบบทดสอบทั้งฉบับ เป็นการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบฉบับนั้นว่ามี
คุณภาพโดยส่วนรวมเป็นอย่างไร ค่าดัชนีที่แสดงถึงคุณภาพของแบบทดสอบทั้งฉบับ คานึงถึงในเรื่อง
ต่อไปนี้
1. ความยากทั้งฉบับ
2. อานาจจาแนกทั้งฉบับ
3. ความตรง
4. ความเที่ยง
รายละเอียดในการหาค่าดัชนีที่แสดงคุณภาพของข้อสอบทั้งฉบับในแต่ละเรื่อง มีดังนี้
1. ความยากทั้งฉบับ
โดยปกติการทราบค่า ความยากของแบบทดสอบทั้ง ฉบั บนั้น พิจารณาได้จากการหา
ค่าเฉลี่ยของความยาก (p) คือนาค่า (p) แต่ละข้อมารวมกัน แล้วหารด้วยจานวนข้อของแบบทดสอบ
ทั้งฉบับ ค่าที่ได้จะแสดงว่าทั้งฉบับยากง่ายเพียงใด ก็แปลความหมายโดยเปรียบเทียบกับ .05 ซึ่งเป็น
ค่าที่ยากปานกลาง การหาค่าความยากของข้อสอบทั้งฉบับอาจพิจารณาพิสัย (Range) ของค่าความ
ยากประกอบด้วยว่าข้อสอบทั้งฉบับมีค่าความยากตั้งแต่น้อยไปหามาก
ถ้าต้องการจะทราบว่าข้อสอบนี้เหมาะกับเด็กกลุ่มใดหรือไม่ หลังจากการสอบแล้วก็ให้นา
คะแนนมาหาค่ามัชฌิมเลขคณิตหรือค่าเฉลี่ย โดยนาคะแนนที่แต่ละคนได้มารวมกัน แล้วหารด้วย
จ านวนคนทั้ ง หมดที่ เ ข้ า สอบ ถ้ า ค่ า เฉลี่ ย ที่ ไ ด้ สู ง หรื อ ต่ ากว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของจ านวนข้ อ ก็ อ าจแปล
ความหมายว่า ข้อสอบฉบับนั้นยากหรือง่ายไปตามนั้น และควรจะได้พิจารณาค่าพิสัยของคะแนน
ประกอบด้วย ว่ามีการกระจายสูงหรือต่าอย่างไรโดยอาจดาเนินการเขียนกราฟการแจกแจงความถี่
เพื่อดูลักษณะการกระจายของคะแนนประกอบกันไปด้วย
2. อานาจจาแนกทั้งฉบับ
ในส่วนของค่าอานาจจาแนกนั้น ถ้าพิจารณาทั้งฉบับแล้ว พิจารณาได้จากลักษณะพิสัย
เช่นกัน ว่าข้อสอบทั้งฉบับมีค่าพิสัยของอานาจจาแนกเท่าไร
3. ความตรง
ความตรง เป็นค่าที่แสดงถึงว่า แบบทดสอบสามารถวัดในสิ่งที่ต้องการวัดได้มากน้อย
เพียงใด ความตรงจาแนกได้เป็น 3 ชนิด คือ
3.1 ความตรงตามเนื้อหา หมายถึง แบบทดสอบที่วัดได้ครอบคลุมเนื้อหามากน้อย
ตามลาดับความสาคัญในเรื่องนั้นๆ การพิจารณาว่าแบบทดสอบใดมีความตรงตามเนื้อหาเพียงใด ทา
ได้โดยการวิเคราะห์เนื้อหาของแบบทดสอบทั้งฉบับ หรือให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้พิจารณาว่า ได้สร้าง
เครื่องมือวัดได้ตรงและครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการวัดแล้ว
3.2 ความตรงตามโครงสร้าง หมายถึง แบบทดสอบที่วัดได้ตรงตามคุณลักษณะที่กาหนด
ตัวคุณลักษณะอาจมาจากทฤษฎี หลักการ ความเชื่อ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ การหาความตรงตาม
โครงสร้างมีหลายวิธี เช่น
3.2.1 โดยวิ ธี ก ลุ่ ม อ้ า งอิ ง คื อ หากลุ่ ม ที่ มี แ ละไม่ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่ ต้ อ งการศึ ก ษามา
ทดสอบโดยใช้เครื่องมือดังกล่าว จากนั้นจึงทาการทดสอบความแตกต่างของค่าวัดที่ได้จากการสอบทั้ง
สองกลุ่ม ถ้าความแตกต่างมีนัยสาคัญเชิงสถิติ ก็แสดงว่าแบบทดสอบนั้นมีความตรงเชิงโครงสร้าง
3.2.2 โดยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ เป็นการใช้เทคนิคเชิงสถิติจาแนกออกว่า กลุ่ม
ข้อสอบในฉบับนั้นวัดพฤติกรรมต่างๆ เป็นกลุ่มอย่างไรบ้าง ซึ่งวิธีการนี้ใช้ได้ดีถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์
ช่วย
3.3 ความตรงตามเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง แยกย่อยได้เป็น 2 ชนิด คือ
3.3.1 ความตรงตามสภาพ หมายถึง แบบทดสอบนั้นให้ ผ ลการวัดที่ส อดคล้ องกับ
สภาพความเป็นจริงของบุคคลนั้นในขณะนั้น การหาความตรงตามสภาพ อาจทาได้โดยดูความสัมพันธ์
ระหว่างคะแนนการสอบโดยใช้แบบทดสอบนั้นกับข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวกับบุคคลที่ถูกวัด เช่น ถ้าบุคคลมี
สุขภาพเป็นอย่างไร ก็ควรจะสอบได้คะแนนที่วัดความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ได้มากน้อยตามนั้น
ด้วย
3.3.2 ความตรงตามการพยากรณ์ หมายถึง ผลการสอบจากแบบทดสอบนั้น สามารถ
พยากรณ์ความสาเร็จในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะที่แบบทดสอบนั้นวัด เช่น แบบทดสอบ
คัดเลือก ย่อมมีความตรงในการทานายความสาเร็จในการเรียนได้สูง การวัดค่าความตรงตามการ
พยากรณ์ กระทาได้โดยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนน (ซึ่งเป็นตัวพยากรณ์) กับเกณฑ์
เพื่อหาประสิทธิภาพในการทานายได้ของแบบทดสอบนั้น กับการสร้างสมการพยากรณ์ (Regression
equation) เพื่อหาค่าน้าหนักในการพยากรณ์ของตัวพยากรณ์แต่ละตัว
4. ความเที่ยง
ความเที่ยง เป็นค่าที่แสดงถึงความคงที่แน่นอนในการได้คะแนนของบุคคลจากการสอบ
โดยใช้แบบทดสอบนั้น ในการหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือกระทาได้หลายวิธี คือ
4.1 วิธีสอบซ้า เป็นการหาค่าความสัมพันธ์ของคะแนนจากการสอบครั้งแรกและครั้งที่สอง
โดยระยะเวลาการสอบทั้งสองครั้งห่างกันพอสมควร แต่ไม่ควรห่างจนกระทั่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือ
มีทักษะเพิ่มขึ้นในสิ่งที่แบบทดสอบนั้นวัด มีผู้เสนอไว้ว่าระยะห่างควรอยู่ระหว่างหนึ่งถึงสามสัปดาห์
การหาค่าความเที่ยงใช้สูตร Pearson product moment ดังนี้
N XY   X  Y
rxy 
N X 2    X 2   N Y 2    Y 2 

เมื่อ rxy แทน ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ


X แทน คะแนนการสอบครั้งแรก
Y แทน คะแนนการสอบครั้งที่สอง
N แทน จานวนผู้เข้าสอบ
ข้อจากัดของการหาค่าความเที่ยงโดยการสอบซ้า
1) การสอบซ้าทาให้จูงใจผู้สอบให้สอบอย่างตั้งใจได้ลาบาก เพราะนักเรียนจะไม่เห็น
ความสาคัญของการสอบ
2) แบบทดสอบทีหาความเที่ยงโดยวิธีนี้ ควรเป็นแบบทดสอบที่วัดความสามารถ
หรือคุณลักษณะที่ค่อนข้างจะคงที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงโดยง่าย
4.2 วิธีใช้ข้อสอบคู่ขนาน เป็นการนาผลการสอบจากข้อสอบที่คู่ขนานกัน 2 ฉบับ ซึ่งถูก
นาไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มเดียวกัน แล้วนามาหาค่าสหสัมพันธ์โดยวิธีเดียวกับการสอบซ้าผลที่ได้จะ
เป็นค่าความเที่ยงตามต้องการ
ข้อจากัดของการหาค่าความเที่ยงโดยใช้ข้อสอบคู่ขนาน คือ
1) การสอบข้อสอบคู่ขนานโดยปกติจะไม่ทิ้งเวลาห่างกัน การที่นักเรียนทาข้อสอบ
ฉบับหนึ่งได้คะแนนน้อยๆ อาจเกิดขึ้นได้เพราะความเหนื่อยหรืออ่อนเพลียจากการต้องใช้เวลาสอบ
นานๆ
2) ข้อสอบคู่ขนานที่แท้จริงสร้างได้ยาก เพราะความเป็นคู่ขนานของข้อสอบ 2 ฉบับ
นอกจากจะมีค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน เท่ากันแล้ว ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในข้อก็ต้องเท่ากัน
ด้วย
4.3 วิธีแบ่งครึ่งข้อสอบ เป็นวิธีหาค่าความเที่ยงโดยใช้การสอบเพียงครั้งเดียว แล้วนาผล
จากการสอบมาแบ่งเป็นข้อมูล 2 ชุด โดยอาจแบ่งเป็นข้อคู่ – ข้อคี่ ครึ่งฉบับแรก – ครึ่งฉบับหลัง หรือ
แบ่งโดยการสุ่ม การหาความเที่ยงโดยวิธีแบ่งครึ่งข้อสอบมีวิธีการคานวณดังนี้
การหาความเที่ ง ของครึ่ ง ฉบั บ แล้ ว ขยายเป็ น ทั้ ง ฉบั บ วิ ธี นี้ ต้ อ งหาค่ า สหสั ม พั นธ์
ระหว่างครึ่งฉบับเสียก่อน โดยวิธีการเช่นเดียวกับการหาความเที่ยงโดยการสอบซ้าหรือใช้ข้อสอบ
คู่ขนาน เมื่อได้ค่าสหสัมพันธ์ของครึ่งฉบั บแล้ว จึงปรับขยายเป็นทั้งฉบับโดยใช้สูตรของ Spearman-
Brown ดังนี้
2r1 1
rtt  22
1  r1 1
22

เมื่อ rtt แทน ความเที่ยงของแบบทดสอบทั้งฉบับ


r1 1 แทน ความเที่ยงของแบบทดสอบครึ่งฉบับ
22

4.4 วิ ธี ค วามคงที่ ภ ายใน การจะหาความเที่ ย งโดยวิ ธี นี้ ข้ อ สอบในฉบั บ ต้ อ งวั ด ใน


องค์ประกอบเดียวกัน การหาความเที่ยงในกรณีนี้ จาแนกได้ 2 ลักษณะ
4.4.1 การหาความเที่ยงแบบทดสอบโดยใช้สูตรของ Kuder-Richardson การหาค่า
ความเที่ยงโดยวิธีนี้ ต้องใช้กับแบบทดสอบที่มีระบบการให้คะแนนเป็น ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิด
ได้ 0 คะแนน สูตรที่ใช้มีสองกรณีคือ
1) สูตร Kuder-Richardson 20 (KR20) สูตรนี้ใช้ค่าความยากรายข้อในการ
คานวณหาค่าความเที่ยง

rtt 
k
k 1 
 pq
1 2
S 
เมื่อ rtt แทน ค่าความเที่ยง
k แทน จานวนข้อสอบในแบบทดสอบ
p แทน สัดส่วนของผู้ตอบถูกในแต่ละข้อ
q แทน สัดส่วนของผู้ตอบผิดในแต่ละข้อ (q=1-p)
S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
2) สูตร Kuder-Richardson 21 (KR21) สูตรนี้ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนทั้งฉบับ
ในการคานวณหาค่าความเที่ยง

rtt 
k
k 1
 1x (k  x )
kS2 
เมื่อ rtt แทน ค่าความเที่ยง
k แทน จานวนข้อในแบบทดสอบ
x แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนทั้งฉบับ
S2 แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
4.4.2 การหาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบโดยใช้สูตร Cronbach เป็นวิธีหาความ
เที่ยงที่ปรับมาจากสูตร KR20 ใหม่ เรียกว่า Coefficient alpha เขียนแทนด้วย 
k   S2i 
  1  2 
k 1  St 
เมื่อ  แทน ค่าความเที่ยง
k แทน จานวนข้อ
S2i แทน ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ
S2t แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
4.5 การหาค่าความเที่ยงของข้อสอบอิงเกณฑ์ การหาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบวิธี
ต่างๆ ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น อาศัยคุณลักษณะของความแปรปรวนของคะแนนจากการสอบ ซึ่งในกรณี
ที่เป็นแบบทดสอบอิงเกณฑ์แล้วค่าความเที่ยงซึ่งคานวณโดยใช้สูตรเหล่านั้นจะต่า เพราะตามหลักสูตร
ของการเรียนรู้แบบอิงเกณฑ์ ความแปรปรวนของคะแนนจากการสอบจะมีน้อย การหาความเที่ยงใน
กรณีการวัดแบบอิงเกณฑ์ จึงนิยมใช้วิธีหาในลักษณะอื่นๆ คือ
4.5.1 วิธีของลิฟวิงส์ตัน มีสูตรว่า
rtt S2x  ( x  c) 2
rcc  2
S x  ( x  c) 2
เมื่อ rcc แทน ความเที่ยงชองแบบทดสอบอิงเกณฑ์
rtt แทน ความเที่ยงของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
S2x แทน ความแปรปรวนของคะแนนจากการสอบ
x แทน คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบ
c แทน คะแนนที่กาหนดเป็นเกณฑ์
4.5.2 วิธีหาค่าความคงที่ของการสอบซ้า วิธีหาค่าความเที่ยงของข้อสอบอิงเกณฑ์
แบบนี้ มาจากรากฐานความคิดที่ว่า ถ้าข้อสอบมีความเที่ยงแล้ว เมื่อนาไปสอบกับนักเรียนซ้ากันใน
ช่วงเวลาที่ไม่ห่างกันนัก คนที่สอบครั้งแรกผ่าน สอบครั้งที่สองก็ควรผ่าน และถ้าสอบครั้งแรกไม่ผ่าน
ครั้งที่สองก็ควรไม่ผ่านด้วย ซึ่งถ้านาผลการสอบมาแจกแจง จะได้ดังตาราง
ผลการสอบครั้งแรก
ไม่ผ่าน ผ่าน รวม
ผลการสอบ ผ่าน A B A+B
ครั้งที่สอง ไม่ผ่าน C D C+D
รวม A+C B+D A+B+C+D
ในการหาค่าความเที่ยงนั้น พิจารณาใน 2 ลักษณะ คือ
1) หาร้อยละของความคงที่
สูตร
ผลรวมของจานวนผู้ ผ่านและผู้ ไม่ ผ่านทั้ ง 2 ครั้ง
ร้ อยละของความคงที่ 
จานวนผู้ เข้าสอบทั งหมด
BC
  100
A BCD

2) หาสหสัมพันธ์แบบฟี (Phi coefficient)


BC  AD
สูตร  
(A  C)(B  D)(C  D)(A  D)
เมื่อ  แทน ความเที่ยง
A แทน จานวนผู้ไม่ผ่านในครั้งแรก แต่ผ่านในครั้งที่สอง
B แทน จานวนผู้ผ่านในครั้งแรก และผ่านในครั้งที่สอง
C แทน จานวนผู้ไม่ผ่านในครั้งแรก และไม่ผ่านในครั้งที่สอง
D แทน จานวนผู้ไม่ผ่านในครั้งแรก แต่ไม่ผ่านในครั้งที่สอง
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ
ความหมายของความพึงพอใจ
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2554, น.(7)-(5)) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความชอบ ความ
พอใจ ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความรู้สึกพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลได้รับในสิ่ งที่
ต้องการ เป็นความรู้สึกทางด้านบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย
นูรมา อาลี (2559, น.36) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกในทางบวกที่มีต่อสิ่ง
เร้า หรือสภาพแวดล้อมในด้านต่าง ๆ จากการมีแรงจูงใจเพื่อตอบสนองต่อสิ่งนั้น ซึ่งเป็นความรู้สึก
พอใจต่อสิ่งที่ทาให้เกิดความชอบ และเป็นความรู้สึกที่บรรลุถึงความต้องการ
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2559, น.181) กล่าวว่า เจตคติ เป็นความรู้สึก ความเชื่อ ความศรัทธาของ
บุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ช่วยกระตุ้นจูงใจให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมต่อสิ่งต่าง ๆ ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง
กล่าวโดยสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือ
สิ่งเร้า เมือ่ ได้รับผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย
เครื่องมือวัดความพึงพอใจ
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2554, น.(7)-(9)) กล่าวว่า การวัดความพึงพอใจมีหลายวิธี ได้แก่ การ
สัมภาษณ์ การสังเกต และการใช้แบบสอบถาม โดยเฉพาะแบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่นิยมใช้มาก
ที่สุด ในที่นี้จึงขอกล่าวถึงเฉพาะการวัดความพึงพอใจที่ใช้แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าแบบลิ
เคิร์ท และแบบออสกูด
มาตรประมาณค่า (Rating scale) หรือมาตรประเมินค่า เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยชุดของ
คาถามที่ใช้วัดเจตคติ ค่านิยม ความพึงพอใจ คุณธรรมจริยธรรม เป็นต้น สามารถระบุ และจาแนก
คุณภาพของสิ่งที่ต้องการวัดได้ มีการกาหนดระดับคุณภาพของรายการที่ต้องการตรวจสอบมากกว่า 2
ระดับ การกาหนดระดับของการประเมินสามารถทาได้หลายระดับ เช่น ตั้งแต่ 3 ระดับขึ้นไป ที่นิยม
ใช้คือ 3-5 ระดับ เช่น มาก ปานกลาง น้อย หรือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2559, น.182-184) กล่าวถึง Likert’s scale และ Osgood’s scale ไว้ดังนี้
 Likert’s scale ลักษณะที่สาคัญของแบบวัดนี้คือ กาหนดช่วงความรู้สึ กของคนเป็น 5
ช่วง หรือ 5 ระดับ คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้ วยอย่างยิ่ง แบบ
วัดประกอบด้วยข้อความที่แสดงความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งในทางบวกและทางลบ มีการประเมิน
น้ าหนั กความรู้ สึ กของข้อความหรื อกาหนดน้าหนักและการตอบแต่ล ะตัว เลื อกภายหลั งจากที่ไ ด้
รวบรวมข้อมูลแล้ว
 Osgood’s scale ลักษณะสาคัญดังนี้
1. แบบวัดนี้ใช้คาคุณศัพท์มาอธิบายความหมายของสิ่งเร้าที่ต้องการจะวัดซึ่งเรียกว่า มโน
ทัศน์ (concept)
2. คาคุณศัพท์ที่ใช้อธิบายมโนทัศน์หรือคุณลักษณะของสิ่งเร้าจะเป็นคู่ที่มีความหมาย
ตรงกันข้าม (bipolar adjective) ซึ่งมี 3 รูปแบบ หรือ 3 องค์ประกอบ คือ
2.1 องค์ประกอบด้านการประเมิน เป็นคาคุณศัพท์ที่แสดงออกในเชิงคุณค่า เช่น ดี -
เลว ฉลาด-โง่ ใจดี-ใจร้าย
2.2 องค์ประกอบด้านศักยภาพ เป็นคาคุณศัพท์ที่แสดงถึงพลังอานาจ เช่น แข็งแรง-
อ่อนแอ หนัก-เบา กล้า-กลัว
2.3 องค์ประกอบด้านกิจกรรม เป็นคาคุณศัพท์ที่แสดงถึงลักษณะกิจกรรมหรือกิริยา
อาการต่าง ๆ เช่น เร็ว-ช้า ร้อน-เย็น ขยัน-ขี้เกียจ
การสร้างเครื่องมือวัดความพึงพอใจ
บุ ญศรี พรหมมาพั น ธุ์ (2554, น.(7)-(16-20)) กล่ าวว่า การสร้างแบบวัด ความพึ ง พอใจมี
รายละเอียดในแต่ละขั้นตอนของการสร้างแตกต่างกันไป ในที่นี้ได้แบ่งขั้นตอนการสร้างแบบวัดความ
พึงพอใจเป็น 7 ขัน้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดเป้าหมายความพึงพอใจที่ต้องการวัด ขั้นตอนนี้เป็นการกาหนดนิยาม ให้
ความหมายความพึงพอใจที่ต้องการวัดว่ามีขอบเขตเนื้อหาสาระ หรือมีโครงสร้างของสิ่งที่ต้องการวัด
อย่างไร
ขั้นที่ 2 ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ผลการวิจัยที่เกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจ ควรทาการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวัดความพึงพอใจ เพื่อเป็น
แนวทางในการกาหนดตัวชี้วัดและพฤติกรรมที่บ่งชี้ของคุณลักษณะความพึงพอใจที่ต้องการวัด
ขั้นที่ 3 กาหนดตัวชี้วัดและพฤติกรรมที่บ่งชี้ความพึงพอใจ ในขั้นนี้เป็นการกาหนดตัวชี้วัด
และพฤติกรรมที่บ่งชี้คุณลักษณะความพึงพอใจที่ต้องการวัด และให้ความหมายที่มีลักษณะเป็นนิยาม
เชิงปฏิบัติการ เป็นการเขียนพฤติกรรมที่ต้องการวัดความพึงพอใจว่ามีอะไรบ้าง การกาหนดตัวชี้วัด
และพฤติกรรมที่บ่งชี้คุณลักษณะความพึงพอใจที่ต้องการวัด ทาให้สะดวกต่ อการสร้างข้อคาถามใน
การวัด
ขั้นที่ 4 ออกแบบวิธีการวัดความพึงพอใจ เมื่อได้กาหนดความหมาย ตัวชี้วัด และพฤติกรรม
บ่งชี้ความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ แล้ว จึงทาการออกแบบวิธีการวัด เครื่องมือ และกาหนดเกณฑ์การ
ประเมินวิธีการวัดความพึงพอใจมีหลายวิธีได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถามแบบ
มาตรประมาณค่า การออกแบบวิธีการวัดต้องคานึงความสามารถวัดตรงกับพฤติกรรมของบุ คคล
ตลอดจนคานึงถึงข้อจากัดในการวัด เช่น จานวนคนที่ต้องการวัด เวลาที่ใช้ในการวัด เป็นต้น
ขั้นที่ 5 สร้างแบบวัดความพึงพอใจ ขั้นนี้เป็นการเขียนข้อคาถามหรือรายการตามโครงสร้าง/
องค์ประกอบของความพึงพอใจที่วัด รวมทั้งจัดทาคาชี้แจงในการตอบ วิธีการให้คะแนน ในขั้นนี้
นักวิจัยควรตรวจสอบคุณภาพแบบวัดในเบื้องต้นด้วยตนเองก่อน ในประเด็นความเป็นปรนัยของข้อ
คาถามว่าตรงประเด็น หรือใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายหรือไม่ จากนั้นจึงจัดทาแบบวัดความพึงพอใจ
ขั้นที่ 6 ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความพึงพอใจ เมื่อทาการตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความ
พึงพอใจในเบื้องต้นแล้ว หลังจากนั้นต้องนาไปตรวจสอบคุณภาพแบบวัด ในประเด็นความตรงและ
ความเที่ยง เพื่อให้ได้แบบวัดความพึงพอใจที่มีคุณภาพ ถูกต้องตามหลักการสร้างเครื่องมือวิจัยที่ดี
การตรวจสอบความตรงมีหลายประเภท ซึ่งต้องให้ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาเป็นผู้
พิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา หรือตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง หลังจากนั้นจึงทาการทดลองใช้
เพื่อตรวจสอบความเที่ยง
ขั้นที่ 7 จัดทาแบบวัดความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์ เมื่อตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความพึง
พอใจและทาการปรับปรุงแล้ว ขั้นสุดท้ายคือการจัดพิมพ์แบบวัดความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์ โดยมีคา
ชี้แจงในการตอบ โครงสร้างของแบบวัด จานวนข้อคาถาม รูปแบบของข้อคาถามที่ใช้และการให้
คะแนน
การตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความพึงพอใจ
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2554, น.(7)-(22-25)) กล่าวว่า การตรวจสอบคุณภาพที่สาคัญ ได้แก่
ความตรง และความเที่ยง
1. การตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงของแบบวั ดความพึงพอใจ ความตรงคือความถูกต้ อง
ในสิ่งที่ต้องการวัด การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความพึงพอใจนิยมใช้การตรวจสอบความตรง
เชิงเนื้อหาและความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
1.1 ความตรงเชิงเนื้อหา ความตรงเชิงเนื้อหาของแบบวัดความพึงพอใจ คือความสามารถ
ของแบบวัดที่สามารถวัดได้ตรงกับเนื้อหาที่ต้องการจะวัด เป็นการตรวจสอบความตรงของแบบวัดเป็น
รายข้อ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเป็นผู้พิจารณา ซึ่งกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ให้ +1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคาถามวัดได้ตรงกับเป้าหมายที่ต้องการวัด
0 ถ้าไม่แน่ใจว่าข้อคาถามวัดตรงกับเป้าหมายที่ต้องการวัด
-1 ถ้าแน่ใจว่าข้อคาถามวัดไม่ตรงกับเป้าหมายที่ต้องการวัด
ผลการพิ จ ารณาของผู้ เ ชี่ ย วชาญที่ มี ต่ อ ค าถามแต่ ล ะข้ อ น าไปค านวณค่ า ดั ช นี ค วาม
สอดคล้อง (Index of item-Objective Congruence: IOC) จากสูตร
R
IOC 
N
เมื่อ IOC คือ ดัชนีความสอดคล้อง
 R คือ ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
N คือ จานวนผู้เชี่ยวชาญ
การแปลความหมายดัชนีความสอดคล้องใช้เกณฑ์ ดังนี้
ถ้า IOC  .50 แสดงว่า ข้อคาถามวัดได้ตรงตามเนื้อหา
IOC < .50 แสดงว่า ข้อคาถามวัดไม่ตรงกับเนื้อหา
1.2 ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ของแบบวัดความพึงพอใจ คือ
ความสามารถของแบบวัดความพึงพอใจที่สามารถวัดสิ่งที่ต้องการวัดแล้วให้ผลสอดคล้องกับการวัด
โดยใช้แบบวัดความพึงพอใจฉบับอื่นที่เชื่อถือได้ที่นามาเป็นเกณฑ์ วิธีหาความตรงที่นิยมใช้คือ หา
ความสัมพันธ์โดยใช้สูตรสหสัมพนธ์แบบเพียร์สัน โดยผู้ทาการวัดผลมีแบบวัดความพึงพอใจ 2 ฉบับ
ฉบับแรกเป็นแบบวัดที่สร้างขึ้น ฉบับที่ 2 เป็นแบบวัดความพึงพอใจที่มีอยู่แล้วและยอมรับว่าเชื่อถือได้
เมื่อนาแบบวัดความพึงพอใจมาทาการวัดกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน จะมีข้อมูล 2 ชุด และนามาหา
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ได้ เรียกว่า สัมประสิทธิ์ความตรง
n XY   X  Y
r
n x 2    X 2  n Y 2    Y 2 
เมื่อ n แทน จานวนคนในกลุ่ม
 X แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแบบวัดที่สร้าง
 Y แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแบบวัดที่ใช้เป็นเกณฑ์
 XY แทน ผลรวมของผลคูณของ X กับ Y แต่ละคู่
 X แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน X แต่ละตัวยกกาลังสอง
2

 Y แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน Y แต่ละตัวยกกาลังสอง


2

2. การวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบวัดความพึงพอใจ ความเที่ยง หมายถึง ความคงเส้นคงวา


หรือคงที่ของผลการวัด ความเที่ยงจึงเป็นเรื่องของผลการวัด
การวัดความพึงพอใจ ส่วนใหญ่ไม่สามารถวัดได้โดยตรง เครื่องมือที่ใช้วัดจึงเป็นเครื่องมือที่วัด
โดยอ้อม นอกจากนี้ความพึงพอใจเป็นเรื่องของอารมณ์ ความรู้สึกที่เปลี่ยนแปลงได้ง่าย จึงมีผลต่อการ
วัดที่อาจทาให้มีความเที่ยงต่าได้ สาหรับเกณฑ์การพิจารณาว่าแบบวัดมีความเที่ยงสูง ควรมีค่าตั้งแต่
.70 ขึ้นไป
การคานวณเพื่อหาค่าความเที่ยงทาได้หลายวิธี เช่น การหาค่าสัมประสิทธิ์ของความเที่ยง
ได้แก่ วิธีวัดซ้า วิธีใช้ฟอร์มที่สมมูลกัน วิธีแบ่งครึ่ง วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ในที่นี้จะกล่าว
เฉพาะวิธีการของสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมใช้กับแบบวัดความพึงพอใจ
ที่มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่าดังนี้
k   S2i 
 1 2 
k  1  SX 
เมื่อ  แทน ความเที่ยง
k แทน จานวนข้อคาถาม
S2i แทน ความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ
S 2X แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับความคงทน
ความหมายของความคงทน
พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ (2560, น.151) ได้กล่าวว่า ความคงทนทางการเรียนรู้ หมายถึง
ความสามารถของผู้เรียนในการจาสิ่งที่ได้เรียนผ่านมาแล้ว
นู ร มา อาลี (2559, น.27) ได้กล่ าวว่า ความคงทนทางการเรี ยนรู้ หมายถึง การคงไว้ ซึ่ ง
ปริ มาณของสิ่ งที่ได้ เรี ย นรู้ เป็ น ความสามารถในการแสดงให้ รู้ว่า ได้เ รียนรู้สิ่ ง ใดมาบ้า งแล้ ว หรือ
ความสามารถที่จะระลึกได้ต่อสิ่งเร้าที่เคยเรียนหรือเคยมีประสบการณ์หลังจากทิ้งไว้ระยะหนึ่ง
สุ ธ าสิ นี รอดกระโทก (2557, น.77) ได้ ก ล่ า วว่ า ความคงทนในการเรี ย นรู้ หมายถึ ง
ความสามารถในการจดจา ในการเก็บสิ่งที่ได้เรียนรู้ และสามารถระลึกหรือค้นคว้าในสิ่งที่เรียนรู้ แล้ว
มาใช้ได้เมื่อต้องการ
จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า ความคงทนในการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการ
จดจาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้วหลังจากทิ้งไว้ระยะหนึ่ง
การวัดความคงทนในการเรียนรู้
ลีนวัฒน์ วงสาร (2561, น.87) กล่าวว่า ความคงทนในการเรียนมีความจาเป็นและสาคัญต่อ
วิชาคณิตศาสตร์มาก เพราะธรรมชาติของการเรียนวิชาคณิตศาสตร์นั้น ต้องใช้ความรู้เดิมเป็นพื้นฐาน
ในการเรียนรู้เนื้อหาระดับสูงที่มีความต่อเนื่องกัน และการจดจาสิ่งต่างๆซึ่งต้องใช้ระบบความจามา
ช่วยให้เกิดความคงทนในการเรียนรู้ สาหรับการวัดความคงทนในการเรียนรู้ทาได้โดยการทดสอบซ้า
ครูผู้สอนต้องกาหนดระยะเวลาในการวัดให้ห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 2 สัปดาห์ และใช้แบบทดสอบ
ฉบับเดียวกัน
นูรมา อาลี (2559, น.35) กล่าวว่า หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แล้ว ซึ่งเว้นช่วงห่างระหว่าง
การทดสอบน้อย ซึ่งจากการศึกษางานวิจัยที่มีการวัดเกี่ยวกับความคงทนพบว่า ระยะเวลาที่เว้นช่วง
ระหว่างการทดสอบหลังเรียนกับการทดสอบเพื่อวัดความคงทน จะมีระยะเวลาตั้งแต่ 2-4 สัปดาห์
สุธาสินี รอดกระโทก (2557, น.84) กล่าวว่าระยะเวลาที่ใช้ในการวัดความคงทนในการเรียนรู้
นั้น ควรห่างจากการทดสอบครั้งแรก ประมาณ 14 วัน หรือหลายสัปดาห์ เพื่อให้เกิดความคงทนใน
การเรียนรู้ในระยะยาวหรือความจาระยะยาว
กล่าวโดยสรุป การวัดความคงทนในการเรียนรู้ทาได้โดยการทดสอบซ้า โดยศึกษาความคงทน
ในการเรียนรู้หลังสิ้นสุดการทดลอง 2 สัปดาห์ ใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับเดิม

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กรวิชญ์ รักบุรี (2560, บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนหาดใหญ่
วิทยาลัย 2 โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ ผลการวิจัยพบว่า (1)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
เรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะสูง
กว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับ
การจัดการเรียนรู้ เรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการใช้
แบบฝึกเสริมทักษะมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
นิวัตน์ เต่งทิ้ง (2560, บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 2/13 โรงเรียนวรนารี เฉลิม จังหวัดสงขลา โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะร่วมกับเทคนิคการเสริมแรง
ทางบวกด้วยการให้ คะแนนโบนัส ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์
เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/13 โรงเรียนวรนารีเฉลิม
จังหวัดสงขลา หลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการเสริมแรงด้วยการให้คะแนนโบนัส มี
คะแนนเฉลี่ ย รวมร้ อ ยละ 80.1 ซึ่ ง สู ง กว่ า เกณฑ์ ที่ ตั้ ง ไว้ ร้ อ ยละ 70 (2) ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น
คณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/13 โรง
เรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา หลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับเทคนิคการเสริมแรงด้วยการให้
คะแนนโบนัส สูงกว่าก่อนเรียน โดยคะแนนหลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 80.15 และก่อนเรียนคิดเป็นร้อย
ละ 52.15
พัชชา แก้วทอง (2560, บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน และเจตคติต่อการเรียนคณิตสาสตร์ เรื่อง อสมการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิ ตศาสตร์ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคกลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบเอ็กซ์
พลิ ซิท ผลการวิจั ย สรุ ป ได้ดังนี้ (1) ผลสั มฤทธิ์ทางการเรีย นเรื่ อ ง อสมการ กลุ่ มสาระการเรี ย นรู้
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้เทคนิคกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนหลัง
เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อสมการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ วิธีสอน
แบบเอ็กซ์พลิ ซิทหลั งเรี ยนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ผลสั มฤทธิ์
ทางการเรี ย นเรื่ อง อสมการ กลุ่ มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 3
ระหว่างการจัดการเรียนรู้เทคนิคกลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อนกับการจัดการเรียนรู้วิธีสอนแบบเอ็กซ์พลิ
ซิทแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) เจตคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์เรื่อง อสมการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างการจัดการเรียนรู้เทคนิค
กลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อนกับการจัดการเรียนรู้วิธีสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทไม่แตกต่างกัน
ฉันทนา นามวงษา (2558, บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัย เรื่อง การศึกษาความสามารถในการแก้
โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยวิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิท ผลการวิจัยพบว่า (1) ความสามารถในการ
แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่
ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบเอ็กซ์พลิซิทหลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ความพึงพอใจต่อการเรียน
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจากที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการ
สอนแบบเอ็กซ์พลิซิทโดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
บทที่ 3
วิธีการดาเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ความพึงพอใจ และ


เพื่อศึกษาความคงทนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน เรื่อง
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งมีวิธีการดาเนินการวิจัย ดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมูล
6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จานวน 16 ห้องเรียน รวมทั้งสิ้น 601 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จานวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง เนื่องจากเป็นห้องที่นักเรียนจดจา
ความรู้เดิมได้ค่อนข้างน้อย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้
1. แผนการจัดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน จานวน 10 แผน
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ
3. แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วย
คะแนน เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
จานวน 10 ข้อ

ขั้นตอนในการสร้างเครื่องมือ
ผู้วิจัยดาเนินการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. แผนการจัดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิท ร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน จานวน 10 แผน ซึ่ง
มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
1.1 ศึกษาสาระการเรีย นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และ
ทฤษฎีการเรียนรู้ หลักการ รูปแบบ แนวการจัดการเรียนการสอนและขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิ
ซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวก
1.2 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร จานวน 10 แผน แล้ว
เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์ เพือ่ ตรวจสอบความเหมาะสมของจุดประสงค์ เนื้อหา การจัดกิจกรรม
สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาที่ได้รับ
1.3 นาแผนการเรียนรู้ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไข เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์อีกครั้ง
จากนั้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบคุณภาพและความเหมาะสมของจุ ดประสงค์ เนื้อหา
การจัดกิจกรรม สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล โดยใช้แบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดการ
เรียนรู้ซึ่งเป็นมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ แล้วนาไปวิเคราะห์ข้อมูล
หมายเหตุ : เกณฑ์พิจารณาค่าเฉลี่ยของระดับคะแนนความเหมาะสม (บุญชม ศรีสะอาด,
2556, น.72)
คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 มีคุณภาพและความเหมาะสมอยู่ในระดับ ต้องปรับปรุง
คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 มีคุณภาพและความเหมาะสมอยู่ในระดับ พอใช้
คะแนนเฉลี่ย 2.51 – 3.50 มีคุณภาพและความเหมาะสมอยู่ในระดับ ปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 3.51 – 4.50 มีคุณภาพและความเหมาะสมอยู่ในระดับ ดี
คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 มีคุณภาพและความเหมาะสมอยู่ในระดับ ดีมาก
1.4 นาแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ
พร้อมผลการวิเคราะห์ข้อมูล เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์อีกครั้งก่อนใช้กับกลุ่มตัวอย่าง
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ ซึ่งมีขั้นตอนการสร้าง
ดังนี้
2.1 ศึกษาสาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น
มัธ ยมศึกษาปี ที่ 3 จากหลั กสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)
วิเคราะห์จุดประสงค์และเนื้อหาของหลักสูตร แล้วสร้างแบบทดสอบให้ครอบคลุมเนื้อหาและสอดคล้ องกับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
2.2 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ
2.3 นาแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์ เพื่อตรวจสอบความ
ถูกต้องและความเหมาะสมของเนื้อหาจุดประสงค์การเรียนรู้ การตั้งคาถาม การใช้ภาษา ตัวเลือกและตัวลวงที่
ใช้ในการออกข้อสอบแล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาที่ได้รับ
2.4 นาแบบทดสอบที่ผ่านการแก้ไขแล้ว เสนอต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์เพื่อตรวจสอบ
อีกครั้ง จากนั้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพโดยใช้แบบประเมิน
ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้ กับข้อสอบแต่ละข้อแล้วนาไปวิเคราะห์ข้อมูล
หมายเหตุ : เกณฑ์พิจารณาค่าเฉลี่ยของระดับคะแนนความเหมาะสม (บุญศรี พรหมมาพันธุ์
, 2554, น.(7)-(21))
ให้ค่าคะแนน +1 ถ้าแน่ใจว่า วัดจุดประสงค์นั้นจริง
ให้ค่าคะแนน 0 ถ้าไม่แน่ใจว่า วัดจุดประสงค์นั้นจริง
ให้ค่าคะแนน -1 ถ้าแน่ใจว่า ไม่ได้วัดจุดประสงค์นั้นจริง
2.5 นาแบบทดสอบที่ผ่านการแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญพร้อมผลการวิเคราะห์ค่าดัชนี
ความสอดคล้ อง (IOC) เสนอต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นนาไป
ทดสอบกับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 40 คน เพื่อหาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r)
ของข้อสอบแต่ละข้อ แล้วนาไปวิเคราะห์ข้อมูล
2.6 คัดเลื อกข้อสอบแต่ ล ะข้ อ ที่มี ค่ าความยากง่ าย (p) ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.80 และค่าอ านาจ
จาแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 จานวน 20 ข้อ
หมายเหตุ : ค่าความยากง่าย (p) (สุรัตนา สังข์หนุน และคณะ, 2554, น.629)
ระดับ 0.00  P  0.19 หมายถึง ยากไป
ระดับ 0.20  P  0.39 หมายถึง ค่อนข้างยาก
ระดับ 0.40  P  0.60 หมายถึง ยากปานกลาง
ระดับ 0.61  P  0.80 หมายถึง ค่อนข้างง่าย
ระดับ 0.81  P  1.00 หมายถึง ง่ายไป
หมายเหตุ : ค่าอานาจจาแนก (r)
ระดับ R  0.19 หมายถึง ต่า
ระดับ 0.20  R  0.39 หมายถึง ปานกลาง
ระดับ 0.40  R  1.00 หมายถึง สูง
2.7 นาแบบทดสอบที่คัดเลือกไว้ จานวน 20 ข้อ ไปคานวณค่าความเชื่อมั่น (rtt) ทั้งฉบับ
2.8 นาแบบทดสอบฉบับสมบูรณ์พร้อมผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
บัณฑิตนิพนธ์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งก่อนนาไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง
3. แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ ซึ่งมีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
3.1 ศึ ก ษาเอกสารและงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ า งแบบวั ด ความพึ ง พอใจต่ อ การเรี ย น
คณิตศาสตร์โดยแบ่งระดับความพึงพอใจเป็น 5 ระดับ ซึ่งประเมินโดยใช้แบบประเมินชนิดมาตราส่วนประมาณ
ค่า (Rating Scale)
3.2 สร้างแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน ซึ่งเป็น
มาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท จานวน 10 ข้อ จากนั้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิต
นิพนธ์เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของการตั้งคาถาม แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาที่ได้รับ
3.3 นาแบบวัดความพึงพอใจที่ผ่านการแก้ไขแล้วเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพนธ์เพื่ อ
ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบคุณภาพและความเหมาะสม
โดยใช้แบบประเมินคุณภาพแบบวัดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แล้วนาไปวิเคราะห์
ข้อมูล
3.4 นาแบบวัดความพึงพอใจฉบับสมบูรณ์ที่ผ่านการปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญพร้อม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาบัณฑิตนิพ นธ์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งก่อนนาไป
ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บข้อมูลดังนี้
1. ผู้ วิ จั ย ได้ น าหนั ง สื อ ขอความร่ ว มมื อ ในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล การวิ จั ย จากคณะครุ ศ าสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ไปยังผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เพื่อขอความร่วมมือในการ
เก็บข้อมูล จากนั้นผู้วิจัยจัดเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยให้พร้อมก่อนดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่วาง
ไว้
2. ผู้วิจัยนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว
แปร จานวน 20 ข้อ ไปทดสอบก่อนเรียนกับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เวลาทดสอบ 1 คาบ
3. ผู้ วิจั ย ดาเนิ น การสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้กับกลุ่ มตัว อย่าง โดยใช้เวลาดาเนินการสอน
ทั้งหมด 8 คาบ
4. ผู้วิจัยนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว
แปร จานวน 20 ข้อ ไปทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เวลาทดสอบ 1 คาบ
5. ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้จากการทาแบบทดสอบมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานต่อไป

การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ ดังนี้
1. นากระดาษคาตอบจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัว
แปร ก่อนเรียน หลังเรียน และหลังเรียน 2 สัปดาห์ ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างมาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่
กาหนดไว้
2. รวมคะแนนและหาค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) ของคะแนน
ที่ได้จากการทดสอบ
3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร ระหว่างก่อนเรียนและ
หลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน โดยใช้สูตรค่าสถิติที
แบบ t-test for dependent samples
4. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร หลังเรียนกับเกณฑ์
ร้อยละ 60 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน โดยใช้สูตรค่าสถิติ
ทีแบบ t-test for one sample
5. นาแบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วย
คะแนน มารวมคะแนนและหาค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) ของคะแนนที่
ได้จากการประเมินของนักเรียน
6. นาแบบทดสอบหลังเรียนผ่านไป 2 สัปดาห์ รวมคะแนนและหาค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าเฉลี่ย ( X )
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) นาไปเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนครั้งแรก โดยใช้สูตรค่าที
แบบ t-test for dependent Samples

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติที่ใช้ในการคานวณและวิเคราะห์ข้อมูลมีดังนี้
1. ค่าสถิติพื้นฐาน
1.1 หาค่าเฉลี่ย ใช้สูตรดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2560, น.39)
X
สูตร X 
n
เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
 X แทน ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล
n แทน จานวนข้อมูลทั้งหมดของกลุ่มตัวอย่าง
1.2 หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ใช้สูตร ดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2560, น.
77)
n X 2  (  X) 2
สูตร S 
n(n 1)
เมื่อ S แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2
X แทน ผลรวมของข้อมูลแต่ละตัวยกกาลังสอง
  X 2 แทน ผลรวมของข้อมูลทั้งหมดยกกาลังสอง
n แทน จานวนคนในกลุ่มตัวอย่าง
2. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ
2.1 หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ใช้สูตร ดังนี้
R
สูตร IOC 
N
เมื่อ IOC แทน ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบจุดประสงค์
 R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
N แทน จานวนผู้เชี่ยวชาญ
2.2 หาค่าความยาก (Difficulty) ของแบบทดสอบปรนัย ใช้สูตร ดังนี้
HL
สูตร p 
nH  nL
เมื่อ p แทน ค่าความยากง่าย
H แทน จานวนคนในกลุ่มสูงที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น
L แทน จานวนคนในกลุ่มต่าที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น
nH แทน จำนวนคนในกลุ่มสูง
nL แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำ
2.3 หาค่าอานาจจาแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบปรนัยใช้สูตร ดังนี้
LH
สูตร r
nH
LH
หรือ r
nL

เมื่อ r แทน ค่าอานาจจาแนก


H แทน จานวนคนในกลุ่มสูงที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น
L แทน จานวนคนในกลุ่มต่าที่เลือกตอบตัวเลือกนั้น
nH แทน จำนวนคนในกลุ่มสูง
nL แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำ
2.4 หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบปรนัยโดยคานวณจากสูตร KR-20 คูเดอร์ ริ
ชาร์ดสัน โดยใช้สูตร ดังนี้
สูตร rtt   k
k 1
1 2
 pq
S
เมื่อ rtt แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
k แทน จานวนข้อสอบในแบบทดสอบ
p แทน สัดส่วนของคนทาถูกแต่ละข้อ
q แทน สัดส่วนของคนทาผิดในแต่ละข้อ (q=1-p)
S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ
3. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน
3.1 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลสัมทธิ์ ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ
เอ็กซ์พลิซิทร่วมกับการเสริมแรงทางบวกด้วยคะแนน ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ใช้ค่าสถิติทีแบบ
t-test for dependent samples คานวณโดยใช้สูตรดังนี้ (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2560, น.196)
D
สูตร t 
n D 2  (  D) 2
n 1
เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤตจากการแจกแจงแบบ t เพื่อทราบความมี
นัยสาคัญ
D แทน ความแตกต่างระหว่างคะแนนแต่ละคู่
n แทน จานวนคู่
3.2 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 60 โดย
ใช้ค่าสถิติ t-test for one Sample คานวณโดยใช้สูตร (ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2560, น.155)
x  0
สูตร t 
S
n
เมื่อ t แทน สถิติทดสอบ
x แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
n แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มทดลอง
S แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 แทน ค่าเฉลี่ยของประชากร
บรรณานุกรม

กรวิชญ์ รักบุรี. (2561). นวัตกรรมวิชาชีพครูเครือข่ายสถาบันผลิตครูภาคใต้ตอนล่าง. ใน การจัด


ประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัย ครั้งที่ 1 (น.52). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2560). ตั ว ชี้ วั ด และสาระการเรี ย นรู้ แ กนกลางกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
คณิ ต ศาสตร์ (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2560) ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
ครรชิต แซ่โฮ. (2553). การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริ มประสิทธิภาพการเรียนรู้คณิตศาสตร์. ค้นเมื่อ
วันที่ 25 มกราคม 2563, จาก: https://bit.ly/2YNKmfw
จิ น ตนา ศิ ริ ธั ญ ญารั ต น์ . (2561). การออกแบบระบบการเรี ย นการสอน. นครปฐม: โรงพิ ม พ์
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ฉันทนา นามวงษา. (2558). การศึกษาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีการ
สอนแบบเอ็ ก ซ์ พ ลิ ซิ ท (วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต , มหาวิ ท ยาลั ย
อุบลราชธานี, อุบลราชธานี).
ชนศักดิ์ บ่ายเที่ยง, สุรัตนา สังข์หนุน, และ สุพร รัตนพันธ์. (2554). วารสารวิชาการพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ. 21(3). 629
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: แดแน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2560). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: อมรการพิมพ์
โชติกา ภาษีผล. (2559). การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
เตือนใจ เกตุษา, และสมบูรณ์ ชิตพงศ์. (2554). สถิติ วิจัย และประเมินผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่
2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ทิ ศ นา แขมมณี . (2555). ศาสตร์ ก ารสอน : องค์ ค วามรู้ เ พื่ อ การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ มี
ประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์ จากัด.
นิวัตน์ เต่งทิ้ง. (2561). นวัตกรรมวิชาชีพครูเครือข่ายสถาบันผลิตครูภาคใต้ตอนล่าง. ใน การจัด
ประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัย ครั้งที่ 1 (น.330). สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
บรรณานุกรม (ต่อ)

นูรมา อาลี. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทน


ในการเรียนรู้ และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.
(วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปัตตานี).
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสาหรับการวิจัย 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สุวีริยา
สาส์น จากัด
บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2554). การพัฒนาเครื่องมือวัดด้านเจตพิสัยและทักษะพิสัย. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ. (2560). ทักษะและเทคนิคการสอน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ธนบุรี
พั ด ชา แก้ ว ทอง. (2560). การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น และเจตคติ ต่ อ การเรี ย น
คณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 3 ที่ เ รี ย นโดยใช้ เ ทคนิ ค กลุ่ ม แบบเพื่ อ นช่ ว ยเพื่ อ นกั บ วิ ธี ก ารสอนแบบเอ็ ก ซ์ พ ลิ ซิ ท
(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, ลพบุรี).
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2559). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2559). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: เฮ้าส์
ออฟ เคอร์มิสท์.
ลียานา ประทีปวัฒนพันธ์. (2558). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะ
เป็น ของนักเรียน สสวท. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
7E ร่วมกับการเรียนแบบ STAD. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ,
มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี).
วัชรา เล่าเรียนดี. (2560). กลยุทย์การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาการคิดและยกระดับคุณภาพ
การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21. (พิมพ์ครั้งที่ 12). นครปฐม: เพชรเกษมพริ้นติ้งกรุ๊ป จากัด.
วิทยากร เชียงกูร. (2562). ปัญหาหลักของการศึกษาไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2563. จาก
https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/647483
บรรณานุกรม (ต่อ)

ศิว ริ น เกณทวี. (2554). หลั กการสอนคณิ ตศาสตร์. สื บค้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2563. จาก:
http://siwarin-kenthawi.blogspot.com/2011/09/blog-post_16.html
สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ. (2562). สทศเผยคะแนนโอเน็ต ป.6 และ ม.3 ค่าเฉลี่ยสูงขึ้น
ชัดเจน. สืบค้าเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2563, จาก https://www.niets.or.th/th/con
tent/view/13057
สมนึก ภัททิยธนี. (2556). การวัดผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กาฬสินธุ์: โรงพิมพ์ประสานการ
พิมพ์.
สมนึก ภัททิยธนี. (2558). การวัดผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กาฬสินธุ์: โรงพิมพ์ประสานการ
พิมพ์.
สาธิต จันทรวินิจ. (2557). วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 7(1). 15-30.
สุธาสินี รอดกระโทก. (2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้เรื่อง
โปรแกรมพื้นฐานการพิมพ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนเทคนิคเพื่อนคู่คิด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัยราช
ภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์).
สุนิสา วงศ์อารีย์. (2559). จิตวิทยาสาหรับครู. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
อนุวัติ กูลแก้ว. (2558). การวัดผลและประเมินผลการศึกษาแนวใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

You might also like