You are on page 1of 1

เรื่อง: ศึกษาเปรียบเทียบสีของปลากัด ( Betta splendens )

โดยใช้น้าหมักพืชต่างกัน 4 ชนิด
โดย 1. นายสุรินทร์ ซื่อสัตย์สกุล
2. นางสาวจิสมานี บุปผาดง
3. นางสาวญาสุมินต์ เจะอุมา
ครูที่ปรึกษา 1. นางสาวนุสราสินี ณ พัทลุง
2. นางสาวชวารี ช่วยนุกูล
3. นางสาวต่วนปาตีเมาะ นิวาเด

บทคัดย่อ

การศึกษาเปรียบเทียบสีของปลากัดโดยใช้น้าหมักพืชต่างกัน 4 ชนิด การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์


เพื่อเปรียบเทียบชนิดของน้าหมักพื ชที่เหมาะสมต่อการเร่งสีของปลากัด มีการวางแผนการทดลองแบบสุ่ม
ตลอด CRD ( Completely Randomized Design ) ในการทดลองแบ่งออกเป็น 4 ชุดการทดลอง แต่ละชุด
การทดลองมี 3 ซ้า โดยชุดการทดลองที่ ศึกษามีดังนี ชุดการทดลองที่ 1 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมั ก
ใบตองแห้ง ชุดการทดลองที่ 2 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักใบหูกวางแห้ง ชุดการทดลองที่ 3 ทดลอง
เลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักดอกอัญชัน และชุดการทดลองที่ 4 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักใบมังคุดแห้ง
ด้าเนินการทดลองในระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2560 ถึงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ณ โรงเพาะฟัก
สัตว์น้าจืด วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปัตตานี
ผลจากการทดลองพบว่าชุดการทดลองที่ 3 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมั กดอกอัญ ชันมี ผลต่อ
ระดับ การเร่ง สีของปลากั ดดีที่ สุด ระดับ การเร่ง สีของปลากั ดมี ค่าเฉลี่ยเท่ ากั บ 7.00 อยู่ในระดับ สีม่ วงด้า
รองลงมาคือ ชุดการทดลองที่ 2 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักใบหูกวางแห้ง ระดับการเร่ งสีของปลากัดมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 อยู่ในระดับสีม่วงแดง ชุดการทดลองที่ 1 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักใบตองแห้ง
ระดับ การเร่งสีของปลากั ดมี ค่าเฉลี่ยเท่ ากั บ 4.67 อยู่ในระดับ สีม่ วงดอกกล้วยไม้ และชุดการทดลองที่ 4
ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักใบมังคุดแห้ง ระดับการเร่งสีของปลากัดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.33 อยู่ในระดับสี
ม่วงดอกกล้วยไม้ตามล้าดับ ผลการวิเคราะห์ท างสถิติเมื่ อเปรียบเทียบพบว่าชนิดของน้าหมั กพืชไม่ มีความ
แตกต่างกันทางสถิติ (P≥0.05)
ดังนันชุดการทดลองที่ 3 ทดลองเลียงปลากัดโดยใช้น้าหมักดอกอัญชันมีความเหมาะสมต่อการเร่งสี
ของปลากัดดีที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.00 อยู่ในระดับสีม่วงด้า

You might also like