You are on page 1of 3

แบบทดสอบเก็บคะแนน บทที่ 6 เรือ่ ง ระบบหายใจ ชีววิทยา ม.

4 ชุดที่ 1
คาสัง่ เลือกคาตอบที่ถูกที่สุด แล้ว x ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ลักษณะร่วมของโครงสร้างที่ใช้ในการ ตอบข้อ ข เพราะถุงลมของนกใช้เป็นที่แลกเปลี่ยนแก๊สไม่ได้ เพราะ
แลกเปลีย่ นแก๊สในสัตว์ต่าง ๆ ไม่มีตาข่ายเส้นเลือดฝอยเหมือนกับปอดและผนังไม่บาง ถุงลมจึง
ก. ลักษณะของพื้นผิวบาง ทาหน้าที่เก็บอากาศเพื่อส่งไปปอดได้อย่างรวดเร็ว
ข. มีพื้นที่ผิวทีใ่ ช้ในการแลกเปลีย่ นแก๊สมาก 5. ในขณะที่หายใจเข้า กล้ามเนื้อยึดซี่โครงและกะบังลมจะทางาน
ค. มีความชื้นสูงในโครงสร้างตลอดเวลา อย่างไร
ง. มีหลอดเลือดฝอยมาหล่อเลี้ยงเป็นจานวนมาก ก. กล้ามเนื้อแถบนอกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน
ตอบข้อ ง เพราะ ในพวกแมลงใช้ระบบท่อลมจะไม่มีหลอดเลือด คลายตัว กระบังลมหดตัว
ฝอยมาเลี้ยง และระบบเลือดของแมลงไม่เกีย่ วข้องกับกับการ ข. กล้ามเนื้อแถบนอกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน
ลาเลียงแก๊สไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย คลายตัว กระบังลมคลายตัว
2. อวัยวะที่ใช้สาหรับแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์คใู่ ดที่มีโครงสร้าง ค. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน
คล้ายคลึงกันมากที่สุด หดตัว กระบังลมคลายตัว
ก. พลานาเรียกับไส้เดือนดิน ข. ปลาไหลกับม้าน้า ง. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน
ค. แมลงสาบกับไส้เดือนดิน ง. ตั๊กแตนกับงูดิน หดตัว กระบังลมหดตัว
ตอบ ข้อ ข เพราะม้าน้าจัดเป็นปลาจาพวกหนึ่ง ปลาไหลก็เป็นปลา ตอบข้อ ก เมื่อหายใจเข้ากะบังลมจะหดตัว กล้ามเนื้อซี่โครงแถบนอก
ด้วย และต่างก็เป็นสัตว์มีกระดุกสันหลัง สัตว์ทั้งสองมีการหายใจ หดตัวแถบในคลายตัว กระดูกซี่โครงจึงยกขึ้น ปอดขยายตัวออก
ด้วยเหงือก ซึ่งเป็นอวัยวะในการแลกเปลีย่ นแก๊สที่มีโครงสร้าง ความดันในปอดลดลงต่ากว่าความดันของอากาศภายนอก
คล้ายคลึงกันมาก อากาศภายนอกจึงไหลเข้าสู่ปอด
3. สัตว์ชนิดใดที่มีระบบแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างเซลล์ ทาหน้าที่ได้ 6. นักเรียนคิดจะกลั้นใจให้ตายเพราะอกหัก นักเรียนจะสามารถทา
โดยไม่ต้องพึ่งพาระบบหมุนเวียนเลือด ได้จริงหรือไม่ อย่างไร
ก. กุ้ง ข. หอยทาก ก. ได้ เพราะแก๊สออกซิเจนจากบรรยากาศไม่
ค. ตั๊กแตน ง. หมึกกล้วย สามารถผ่านเข้าสู่ปอดได้
ตอบ ข้อ ค เพราะตั๊กแตนใช้ระบบท่อลม โดยมีช่องหายใจอยูท่ ี่ ข. ได้ เพราะแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายใน
ปล้องท้อง เชื่อมต่อกับท่อลมซึ่งแตกแขนงเป็นท่อลมฝอยไปยัง ร่างกายเพิ่มสูงมากจนเป็นพิษ
เซลล์เนื้อเยื่อโดยตรง ค. ไม่ได้ เพราะแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น
4. แมลงที่บินได้จะมีถุงลมจานวนมากติดต่อกับช่องspiracle ส่วน จะไปกระตุ้น medulla oblongata
นกก็มีถุงลมหลายถุงติดต่อกับปอดของมัน ซึ่งโครงสร้างนี้ไม่พบ ง. ไม่ได้ เพราะแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลง
ในสัตว์บกชนิดอื่น เมื่อคานึงถึงโครงสร้างและตาแหน่งของถุงลม จะไปกระตุ้น medulla oblongata
ในสัตว์ทงั้ สองพวกนี้ ถุงลมน่าจะทาหน้าที่อะไร ตอบ ข้อ ค เพราะการหายใจถูกควบคุมโดยศูนย์การหายใจที่อยู่
ก. ทาให้อากาศแพร่เข้าสู่เส้นเลือดฝอยมากขึ้น บริเวณสมองส่วนท้ายตรง medulla oblongata medulla
ข. ส่งอากาศผ่านท่อลมหรือปอดได้อย่างรวดเร็วในขณะบิน oblongata และ pons ซึ่งไวต่อการเปลีย่ นแปลงของ CO2
ค. คล้ายกระบังลมเพื่อบังคับการสูดลมหายใจ ในเลือดมาก และการควบคุมจะเป็นไปอย่างอัตโนวัติ นอก
ง. ทาให้ตัวเบามากขึ้น เพื่อให้บินได้ อานาจจิตใจ ดังนั้นจึงกลั้นใจตายไม่ได้
7. การสูดลมหายใจเข้า-ออกเป็นผลเนื่องมาจากข้อใด ตอบข้อ ข เพราะ…เนื่องจากนกเป็นสัตว์ที่มีเมแทบอลิซึมสูงโดยเฉพาะ
ก. ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด ขณะบินยิ่งต้องการออกซิเจนสูง เพือ่ ให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ข. ความเข้มข้นของฮีโมโกลบินในเลือด ในขณะบิน จึงจาเป็นต้องมีโครงสร้างพิเศษที่ชว่ ยสารองอากาศให้
ค. สภาพความเป็นด่างของเลือด ปอดในการแลกเปลี่ยนก๊าซ นั่นคือถุงลม(air sac)
ง. ปริมาณเซลล์เม็ดเลือดแดงลดลง 11. การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์ในข้อใดเกิดมากที่สุด
ตอบข้อ ก เพราะถ้าปริมาณของ CO2 ในกระแสเลือดมีการ ก. รวมกับโปรตีนในเลือด ข. เกาะกับฮีโมโกลบิน
เปลี่ยนแปลงโดยที่ บัฟเฟอร์ ในเลือดซึ่งได้แก่ โปรตีนอัลบูมิน ค. ละลายในพลาสมา
ไม่สามารถรักษาสภาพ pH ของเลือดให้อยู่ในสภาพเป็นกลาง ง. เปลีย่ นเป็นไบคาร์บอเนตในไซโตพลาซึมของเม็ดเลือดแดง
คือประมาณ pH 7.4 ได้ มีผลทาให้อัตราการหายใจ ตอบ ข้อ ง เพราะ มีเอ็นไซม์คาร์บอนิก แอนไฮเดรสเป็นตัวเร่ง
เปลี่ยนแปลง (buffer คือ สารอินทรีย์ในสิ่งมีชีวิต หรือ ปฏิกิรยิ า
สารเคมีในปฏิกิริยาใดก็ตามที่ใส่ลงไปในปฏิกิริยาแล้ว ทาให้ 12. การเปลีย่ นแปลงของ CO2 ในเลือดเป็นไปตามข้อใด
pH เปลี่ยนแปลงไปได้น้อยมาก) ก. CO2 + H2O H2CO3 HCO3- + H+
8. เมื่อนาเลือดของคนที่ขี่จักรยานด้วยความเร็ว ข. CO2 + H+ HCO3+ H2O + H2CO3
30 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง นาน 15 นาที มาวิเคราะห์ ค. CO2 + HCO3- H+ H2O + H2CO3
จะพบสารใดที่มปี ริมาณมากกว่าปกติ ง. CO2 +H2CO3 + O2 H2O + CO2+H2CO3
ก. ยูเรีย ข. กลูโคส ตอบข้อ ก เหตุผล…ตามสมการที่เกิดขึ้น
ค. ออกซิเจน ง. ไบคาร์บอเนต 13. การขนส่งออกซิเจนในข้อใดเกิดขึ้นมากที่สุด
ตอบ ข้อ ง เพราะในขณะออกกาลังกายร่างกายต้องใช้พลังงานมาก ก. ละลายในพลาสมา
อัตราการหายใจจึงเพิม่ ขึ้นทาให้การใช้แก๊สออกซิเจนมีมากขึ้น ข. ละลายในไซโตพลาสซึมของเม็ดเลือดแดง
และแก๊ส CO2 ก็จะเกิดมากขึ้นด้วย ค. จับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
9. ปฏิกิริยาข้างล่างนี้เกิดขึ้นที่ใด ง. จับกับเยื่อหุม้ เซลล์เม็ดเลือดแดง
14. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
CO2 + H2O H2CO3 H+ + HCO3-
ก. ขณะหายใจออก ความดันภายในช่องอกน้อยกว่า
ก. เม็ดเลือดแดง ข. เซลล์ในเนื้อเยื่อต่าง ๆ
ความดันภายนอก
ค. พลาสมา ง. ถุงลม
ข. ขณะหายใจออก ความดันในช่องอกเท่ากับความดัน
ตอบข้อ ค เพราะขณะที่มกี ารแลกเปลี่ยนแก๊สทีเ่ นื้อเยื่อนั้น CO2
ภายนอก
จากเซลล์แพร่เข้าน้าเลือดเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก (H2CO3) ซึ่งจะ
ค. ขณะหายใจเข้า ความดันในช่องอกมากกว่าความดัน
แตกตัวต่อให้ H+ และ HCO3- เมื่อเลือดนี้ไหลเข้าสู่หัวใจจะทา
ภายนอก
ให้มีการสูบฉีดต่อไปยังเส้นเลือดฝอยรอบถุงลมในปอด
ง. ขณะหายใจเข้า ความดันในช่องอกน้อยกว่าความดัน
10. ถ้านกที่บินได้ มีปอดของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ภายนอก
จะเกิดปัญหาอะไรกับการบินของนก
ตอบ ข้อ ง เพราะขณะหายใจเข้ากะบังลมจะหดตัว กล้ามเนื้อซี่โครง
ก. บินได้ แต่ไม่นาน เพราะไม่มีถงุ ลมช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส
แถบนอกหดตัวแถบในคลายตัว กระดูกซี่โครงจึงยกขึ้น ปอด
ข. บินได้ แต่ไม่นาน เพราะไม่มีถุงลมสาหรับสารองอากาศ
ขยายตัวออก ความดันในปอดลดลงต่ากว่าความดันของอากาศ
ค. ไม่สามารถบินได้ เพราะไม่มีถุงลม (air sac)
ภายนอก
ง. ไม่สามารถบินได้ เพราะ ไมมีถุงลมช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส
2. ผนังแข็งแรงเนื่องจากมีแคลเซียม
15. โรคถุงลมโป่งพอง ซึ่งทาให้ปอดทางานไม่ได้นั้นมีลักษณะ 3. ไม่มีการแลกเปลีย่ นก๊าซขึ้นที่บริเวณผิว
ก. พื้นที่ของถุงลมจะถูกทาลาย 4. อยู่ทางด้านล่างของทางเดินอาหาร
ข. มีน้าเหลืองและน้าเมือกเต็มถุงลม ก. 1. และ 2. ข. 1 และ 3
ค. ปอดพองตัวอยู่ตลอดเวลา ค 3. และ 4 ง. 2. และ 3
ง. ปอดจะหดตัวอยู่ตลอดเวลา ตอบ ข้อ ข เพราะทาหน้าที่ลาเลียงอากาศเข้า ออก มีผนังเป็น
ตอบข้อ ง เพราะโรคถุงลมโป่งพองเกิดจากการที่ร่างกายสูดเอา กระดูกอ่อนเพื่อป้องกันการบีบตัวให้แฟบทาให้ไม่มกี ารแลกเปลี่ยน
อากาศที่เป็นพิษ เช่น ควันบุหรี่ ควันจากไอเสีย หรือติดเชื้อทาให้ แก๊ส
ผนังอัลวีโอลัสถูกทาลายลงและทะลุถึงกันหมด พื้นที่ของถุงลมปอด 19. อวัยวะที่ไม่สามารถทาหน้าที่แลกเปลีย่ นแก๊สได้โดยตรงคือ
หรืออัลวีโอลัสจึงลดน้อยลง ก. จมูก ข. ผิวหนังกบ
16. ปัจจัยใดต่อไปนี้เป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุดในการควบคุม ค. เหงือกปลา ง. ถุงลมเล็กๆภายในปอด
อัตราการหายใจของมนุษย์ ตอบข้อ ก เพราะ จมูกทาหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศเข้าสู่ปอด
ก. ปริมาณก๊าซออกซิเจนในกระแสเลือด ไม่ได้ทาหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยตรง ส่วนผิวหนังกบทีเ่ ปียก
ข. ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซต์ในกระแสเลือด ชื้น เหงือกปลา และถุงลมเล็กๆที่อยู่ภายในปอดจะสามารถทาหน้าที่
ค. ระดับค่า pH ในกระแสเลือด แลกเปลีย่ นแก๊สในขณะหายใจได้โดยตรง
ง. ปริมาณก๊าซออกซิเจนของเนื้อเยือ่ บริเวณปอด 20. เมื่อนาแมลงกระชอนซึ่งปกติขุดรูอาศัยอยู่ในดินไปฝังไว้ในโถ
ตอบข้อ ค เพราะถ้าปริมาณของ CO2 ในกระแสเลือดมีการ แป้งทาตัว ไม่นานนักก็จะตาย เพราะ.....
เปลี่ยนแปลงโดยที่ บัฟเฟอร์ ในเลือดซึ่งได้แก่ โปรตีนอัลบูมิน ไม่ ก. อดอาหารตาย
สามารถรักษาสภาพ pH ของเลือดให้อยู่ในสภาพเป็นกลาง คือ ข. ขับถ่ายของเสียไม่ได้
ประมาณ pH 7.4 ได้ มีผลทาให้อัตราการหายใจเปลีย่ นแปลง ค. ร่างกายขาดออกซิเจน
17. ข้อใดเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากระบบการหายใจ ง. เลือดไม่สามารถหมุนเวียนไปทั่วร่างกาย
ก. หอบ , หืด ข. มะเร็งปอด ตอบ ข้อ ค เพราะแมลงมีระบบหายใจทีป่ ระกอบด้วย spiracle,
ค. ถุงลมโป่งพอง ง. วัณโรค trachea และ air sac ซึ่งรูหายใจจะอยู่ข้าง ๆ ของลาตัวในแต่ละ
ตอบข้อ ง เพราะวัณโรค เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิต ปล้อง ถ้ามีเศษผงหรือแป้งไปอุดรูหายใจ จะทาให้แมลงขาดแก๊ส
ของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ออกซิเจน
ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติ
ก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่น ************************************************
ของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ทมี่ ีการติดเชื้อ MTB มี โชคดีในการสอบ...........
ฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้าลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์
ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึง่ ใน ครูฉวีวรรณ งามวงศ์วาน
สิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หาก
ไม่ได้รับการรักษา ทาให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50%
18. ข้อใดเป็นสมบัติที่คล้ายคลึงกันระหว่าเทรเคีย (Trachea)
ของแมลงกับบรองคิโอลส์ (Bronchioles) ของสัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนม
1. ลาเลียงอากาศเข้าและออกจากร่างกาย

You might also like