You are on page 1of 2

ระบบหายใจ

บทนา
ระบบหายใจ มีหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สในสิ่งมีชีวิต โดยนาออกซิเจน (O2) เข้าสู่ร่างกายเพื่อนาไปสร้างพลังงาน แล้ว
ก็จะขับของเสียออกมาในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) การแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นสิ่งสาคัญของสิ่งมีชีวิตทุกประเภท แต่วิธีการ
อาจจะแตกต่างกันไปตามชนิด อย่างอะมีบา และ พารามีเซียม ใช้เยื่อหุ้มเซลล์ ไส้เดือนดินใช้ผิวหนัง แมลงใช้ท่อลม ปลาและกุ้ง
ใช้เหงือก ทว่า คน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่นๆ ใช้ปอด ซึ่งกว่าจะลาเลียงอากาศไปถึงปอดได้ต้องผ่านอวัยวะหลายอย่างซึ่งประกอบ
กันเป็น ทางเดินหายใจส่วนต้น และ ทางเดินหายใจส่วนปลาย

อวัยวะในระบบหายใจ

ทางเดินหายใจส่วนต้น
จมูก (nose) เป็นอวัยวะภายนอกที่มีรูจมูก (nostril) สองรูทาหน้าที่สูดอากาศเข้าสู่ร่างกายผ่านโพรงจมูก (Nasal Cavity) ซึ่งมี
เยื่อบุผิวประกอบไปด้วยซีเลียและเมือกช่วยจับสิ่งแปลกปลอมก่อนจะผ่านไปยังคอหอย (Pharynx) ช่องที่อากาศจากจมูก
ช่องอาหารจากปาก และกล่องเสียงมาพบกัน กล่องเสียง (Larynx) เป็นอวัยวะที่อยู่ถัดจากคอหอย ประกอบด้วยกระดูกอ่อน
หลายชิ้นและเส้นเสียง เมื่ออากาศเคลื่อนผ่าน สายเสียงจะสั่นสะเทือนทาให้เกิดเสียงได้
ทางเดินหายใจส่วนปลาย
เมื่อผ่านกล่องเสียงมาจะเจอหลอดลม (Trachea) มีลักษณะเป็นหลอดยาวตรง มีกระดูกอ่อนเรียงกันเป็นรูปตัว C เพื่อป้องกัน
การยุบตัวเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของแรงกดอากาศ โดยแตกแขนงเป็นขั้วปอด (Bronchus) สองข้าง ซ้ายและขวาเข้าสู่ปอดซึ่ง
จะแตกแขนงออกไปมากมายแทรกตัวอยู่ตามเนื้อปอด เรียกว่า แขนงขั้วปอด (Bronchiole) ที่ปลายสุดของแขนงขั้วปอดมีถุงลม
(Alveolus) ซึ่งเป็นแหล่งในการแลกเปลี่ยนแก๊สเนื่องจากมีเส้นเลือดฝอยล้อมรอบอยู่จานวนมาก

กลไกการหายใจเข้า – ออก ของคน


1. การหายใจเข้า (inspiration) กระบังลมจะเลื่อนต่าลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทาให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น
ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ ปอดลดต่าลงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไป
ยังถุงลมปอด
2. การหายใจออก (expiration) กระบังลมจะเลื่อนสูงขึ้น กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่าลง ทาให้ปริมาตรของช่องอกลด
น้อยลง ความดันอากาศภายในบริเวณรอบๆ ปอดสูงกวาอากาศภายนอกอากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอด
ไปสู่หลอดลม และออกทางจมูก
สิ่ ง ที่ ก าหนดอั ต ราการหายใจเข้ า และออกคื อ ปริ ม าณแก๊ ส คาร์ บ อนไดออกไซด์ ใ นเลื อ ด ถ้ า ปริ ม าณแก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่าจะทาให้การหายใจช้าลง เช่น เวลานอนหลับ แต่ถ้าปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูงจะ
ทาให้มีการหายใจเร็วขึ้น เช่น เมื่อเราออกกาลังกาย

ระบบหายใจของสัตว์บางชนิด
สัตว์บกที่มีกระดูกสันหลังบางชนิดมีปอดเป็นอวัยวะหายใจและทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
คล้ายกับมนุษย์
ปลาและสัตว์นาหลายชนิด เช่น กุ้ง หอย ปู มีเหงือกเป็นอวัยวะที่ใช้สาหรับหายใจและแลกเปลี่ยนออกซิเจนกับแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ เหงือกมีลักษณะเป็นซี่ๆ แผ่เรียงกันเป็นแผง แต่ละซี่มีหลอดเลือดฝอยมาเลี้ยงเป็นจานวนมาก
แมลง อากาศเข้าและออกจากร่างกายของแมลงทางช่องหายใจที่อยู่เป็นแถวบริเวณท้องและผ่านเข้าสู่ท่อลมที่อยู่ติดกัน
ท่อลมเป็นท่อเล็กๆ ที่แตกแขนงเข้าไปสู่เซลล์ทั่วร่างกายของแมลงเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส โดยแก๊สออกซิเจนในอากาศจะแพร่เข้าสู่
เซลล์ในขณะที่แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ภายในเซลล์จะแพร่ออกสู่อากาศภายในท่อลม และเคลื่อนที่ย้อนกลับสู่ภายนอก

You might also like