You are on page 1of 21

โครงงานประวัติศาสตร์

เรื่ อง การเปลีย่ นแปลงระบอบประชาธิปไตยและการรัฐประหาร

ผู้จัดทํา
นาย ปภัสร์ ธนิน พากเพียรกิจ ม.4/1 เลขที่ 1
นางสาว ปทิตตา ทานะมัย ม.4/1 เลขที่ 24
นางสาว จิรัชยา ผึง่ สี ใส ม.4/1 เลขที่ 25
นางสาว ชัญญานุช โรมจันทร์ ม.4/1 เลขที่ 27
นางสาว ชีวาพร แสนพวัง ม.4/1 เลขที่ 28

โครงงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา ประวัติศาสตร์ 1 ส31102


โรงเรี ยนสิ ริรัตนาธร เขตบางนา กรุ งเทพมหานคร
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต2
ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
ชื่อเรื่อง : การเปลีย่ นแปลงระบอบประชาธิปไตยและการรัฐประหาร
ผู้จัดทํา : นาย ปภัสร์ ธนิน พากเพียรกิจ
นางสาว ปทิตตา ทานะมัย
นางสาว จิรัชยา ผึง่ สีใส
นางสาว ชัญญานุช โรมจันทร์
นางสาว ชีวาพร แสนพวัง
ทีป่ รึกษา : คุณครูวจั ณีย์ ทัวะนาพญา
ปี การศึกษา : 2565
บทคัดย่อ
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงระบอบประชาธิปไตยและการรัฐประหาร มีจดุ มุง่ หมายเพื่ออธิบายพัฒนาการของการเมือง
การปกครองในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นระบอบประชาธิปไตย เพื่อให้มี
ความรูเ้ ข้าใจและสามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับยุคสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองและการรัฐประหารที่เกิดขึน้
ในประเทศไทย ว่าเกิดอะไรขึน้ บ้างในขณะที่ประเทศไทยมีการพยายามเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง รวมถึงรําลึกถึง
คณะราษฎร ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ณ เวลานัน้ โดยเรียนรูเ้ กี่ยวกับการวางแผน เตรียมการ และขัน้ ลงมือทํา จนกระทั่ง
สามารถเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทยได้ และตัง้ คําถามว่า ถ้าหากวันนัน้ กลุม่ คณะราษฎรทําไม่สาํ เร็จ จะเกิด
อะไรขึน้ ในประเทศไทย และพวกเขาจะเป็ นยังไง และเพื่อร่วมรําลึกถึงบรรพบุรุษที่มีสว่ นเกี่ยวข้องทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
การปกครองในประเทศไทยเกิดขึน้ และได้พดู ถึงเกี่ยวกับการรัฐประหารและเหตุการณ์สาํ คัญที่เกิดขึน้ และมีตน้ ตอมาจาก
ระบอบการปกครองไทย เช่น เหตุการณ์ 14ตุลา เพื่อรําลึกถึงกลุม่ นักศึกษาที่ได้เสียชีวิตในเหตุการณ์ครัง้ นัน้ และเพื่อศึกษาว่า
อะไรคือสาเหตุท่ีแท้จริงที่ทาํ ให้กลุม่ นักศึกษาพร้อมใจรวมตัวกันประท้วง และเกิดอะไรขึน้ กับกลุม่ นักศึกษาเหล่านัน้ บ้าง และ
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว มีผลกระทบต่อด้านใดบ้าง

P a g e 2 | 21
กิตติกรรมประกาศ
โครงงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงระบอบประชาธิปไตยและการรัฐประหาร นัน้ สําเร็จขึน้ ได้โดยได้รบั ความช่วยเหลือ
อย่างดีย่งิ จาก คุณครูวจั ณีย ์ ทัวะนาพญา คุณครูท่ีปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้คาํ เสนอแนะ แนวคิดและให้ความรูใ้ นการจัดทํา
โครงงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร ตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด จนโครงงาน
นีเ้ สร็จสมบูรณ์ ผูศ้ กึ ษาจึงขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง

ขอขอบคุณ คุณครูวจั ณีย ์ ทัวะนาพญา ที่คอยให้ความช่วยเหลือด้านการรวบรวมข้อมูลต่างๆในการจัดทํารูปเล่ม


โครงงาน และขอบคุณเพื่อนในกลุม่ ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือตลอดจนคําแนะนําที่เป็ นประโยชน์ในการทําโครงงานง

ท้ายสุดนีค้ ณะผูจ้ ดั ทําหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า โครงงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร จะเป็ น


ประโยชน์ตอ่ การศึกษาค้นคว้าและเป็ นประโยชน์ตอ่ ผูค้ นที่สนใจในเรื่องการเมืองในช่วงที่ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงครัง้
ยิ่งใหญ่

นาย ปภัสร์ธนิน พากเพียรกิจ


นางสาว ปทิตตา ทานะมัย
นางสาว จิรัชยา ผึ่งสี ใส
นางสาว ชัญญานุช โรมจันทร์
นางสาว ชีวาพร แสนพวัง

P a g e 3 | 21
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ 2
กิตติกรรมประกาศ 3
สารบัญ 4
สารบัญ (ต่อ) 5
บทที่ 1 บทนํา 6
1.1 ความเป็ นมา
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขต
1.4 ประโยชน์ทไี่ ด้รับ
บทที่ 2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง 7
2.1 การเปลีย่ นแปลงการปกครอง
2.1.1 วันเปลีย่ นแปลงการปกครอง
2.1.2 คณะราษฎร
2.1.3 มุดคณะราษฎร
2.1.4 วัดประชาธิปไตย
2.1.5 อนุสาวรียป์ ระชาธิปไตย
2.1.6 อนุสาวรียพ์ ทิ ักษ์รัฐธรรมนูญ
2.1.7 วันชาติในอดีต
2.2 การรัฐประหารในประทศไทย 10

2.2.1 ลักษณะ
2.2.2 รายชือ่ รัฐประหารในประเทศไทย
2.2.3 ความแตกต่างระหว่าง “รัฐประหาร” กับ “ปฏิวัต”ิ

P a g e 4 | 21
สารบัญ (ต่อ)
2.2.4 เหตุการณ์สาํ คัญของประเทศไทยทีเ่ กีย
่ วกับการปกครอง
บทที่ 3 วิธีดาํ เนินงาน 17
บทที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 18
4.1 การพัฒนาโครงงานการเปลีย่ นแปลงการปกครองและการรัฐประหาร
บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 19
5.1 สรุ ปผล
5.2 ปั ญหาและอุปสรรคในการศึกษาค้นคว้า
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
บรรณานุกรม 20
ภาคผนวก 21

P a g e 5 | 21
บทที่ 1
บทนํา
1.ความเป็ นมา

ในปั จจุบนั ประเทศได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเมืองการปกครองมาจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็ นระบอบประชาธิปไตยเหมือนใน


ปั จจุบนั เพื่อเป็ นการศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ กลุม่ ของข้าพเจ้าจึงเกิดความสนใจในเรือ่ งของช่วงสมัยตอนที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ
ปกครองของประเทศไทย และได้นาํ มาศึกษาอย่างละเอียดให้เกิดความเข้าใจและเป็ นแนวทางในการศึกษาของผูอ้ ่ืน

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพื่อสามารถอธิบายเกี่ยวกับพัฒนาการของการปกครองในประเทศไทยได้เพื่อให้มีความรูเ้ ข้าใจ

2.2 เพื่อให้เห็นคุณค่าความสําคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ของไทย

2.3 เพื่อให้มีความรูเ้ รือ่ งการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็ นระบอบประชาธิปไตย

3.ขอบเขต

3.1 สถานที่

โรงเรียนสิรริ ตั นาธร

3.2 ระยะเวลา

ตัง้ แต่ 17 มิถนุ ายน 2565 ถึง 13 กรกฎาคม 2565

3.3 ตัวแปรหรือประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง

3.3.1 ตัวแปรต้น คือ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร

3.3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร

3.3.3 ตัวแปรควบคุม คือ ได้ความรูเ้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร

(1) ประชากร คือ -

(2) กลุม่ ตัวอย่าง คือ -

4. ประโยชน์ทไี่ ด้รับ

4.1 ได้มีความรูเ้ กี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย

4.2 ทําให้เกิดรักชาติ ศาสนา และจงรักภัคดีตอ่ พระมหากษัตริย ์

4.3 รําลึกถึงบรรพบุรุษที่ได้เสียสละเพื่อส่วนรวม

P a g e 6 | 21
บทที่ 2
ทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง
ในการศึกษาเรื่อง การเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร ผูจ้ ดั ทําได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการ
ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง เอกสารที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี ้

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
1.วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง
24 มิ.ย. ของทุกปี นับว่าเป็ นหนึ่งในวันสําคัญของประวัติศาสตร์ไทย หรือสยามประเทศในขณะนัน้ นั่นก็คือ “วัน
เปลี่ยนแปลงการปกครอง” เป็ นวันที่ “คณะราษฎร” ทําการปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
มาเป็ นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข

เรียกได้วา่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงครัง้ สําคัญของหน้าประวัติศาสตร์เลยทีเดียว โดยแผนการเริม่ ขึน้ ในช่วงยํ่ารุง่ หรือ


ประมาณ 04.00 – 05.00 น. คณะราษฎรนํากองกําลังทหารบก ทหารเรือรวมตัวกันบริเวณรอบพระที่น่ งั อนันตสมาคมพร้อมกับ
อ้างว่าเป็ นการสวนสนาม แต่ทว่าหลังจากนัน้ พันเอก พระยาพหลพยุหเสนา อ่านคําประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ที่มีใจความ
เกี่ยวกับอํานาจในการปกครองแผ่นดินในเรื่องต่างๆและรายละเอียดที่อธิบายถึงความเป็ นประชาธิปไตย แต่จะมีใจความ
สําคัญอยูต่ อนหนึ่งที่ถกู พูดถึงกันเรื่อยมา นั่นก็คือ “ราษฎรทัง้ หลายพึงรู้เถิดว่าประเทศเรานีเ้ ป็ นของราษฎร ไม่ใช่เป็ น
ของกษัตริยต์ ามทีเ่ ขาหลอกลวง” นอกจากนีผ้ ลที่ตามมาในทันทีหลังจากการปฏิวตั ิ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั
และคณะราษฎรได้เริม่ จัดการเพื่อให้รัฐธรรมนูญฉบับแรกแก่ประชาชนชาวสยาม

พระราชบัญญัติรฐั ธรรมนูญชั่วคราวมีการลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 2475 เมื่อเวลา 05.00 น.


ซึง่ เป็ นเอกสารร่างล่วงหน้าไว้แล้ว มีขอ้ ความในรัฐธรรมนูญเริม่ ต้นมาตรา 1 ระบุวา่ “อํานาจสูงสุดของประเทศนั้น เป็ นของ
ราษฎรทัง้ หลาย”

2.คณะราษฎร
เป็ นการรวมกลุม่ กันของคณะนายทหารและพลเรือน เรียกตนเองว่า “คณะราษฎร” เกิดขึน้ เพราะผลพวงจากการ
เปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์โลก ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองภายในประเทศ ซึง่ มีช่ือเรียกอื่นว่า
“สมาคมคณะราษฎร” หรือต่อมาใช้วา่ “สโมสรราษฎร์สราญรมย์” คณะราษฎรประกอบด้วยกลุม ่ บุคคลผูต้ อ้ งการให้มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง ส่วนใหญ่เป็ นนักเรียนและนักเรียนทหารที่ศกึ ษาและทํางานอยูใ่ นทวีปยุโรป

P a g e 7 | 21
โดยเริ่มต้นจาก ปรีดี พนมยงค์ นักเรียนวิชากฎหมาย และ ประยูร ภมรมนตรี นักเรียนวิชารัฐศาสตร์ ก่อนที่จะหา
สมาชิกที่มีความคิดแบบเดียวกันเพิ่มเติมรวมทัง้ สิน้ 7 คน

1. ร้อยโท แปลก ขีตตะสังคะ นักวิชาทหารปื นใหญ่ ประเทศฝรั่งเศส

2. ปรีดี พนมยงค์ นักเรียนวิชากฎหมาย ประเทศฝรั่งเศส

3. ร้อยโท ประยูร ภมรมนตรี นักเรียนวิชารัฐศาสตร์ ประเทศฝรั่งเศส

4. ร้อยตรี ทัศนัย มิตรภักดี นักเรียนวิชาทหารม้า ระเทศฝรั่งเศส

5. ตัว้ ลพานุกรม นักเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

6. จรู ญ สิงหเสนี ผูช้ ่วยราชการสถานทูตสยามในประเทศฝรั่งเศส

7. แนบ พหลโยธิน นักเรียนวิชากฎหมาย ประเทศอังกฤษ

ซึง่ ก่อนทําการปฏิวตั ิท่ีประชุมมีมติวา่ จะเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็ นการ


ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยอ์ ยูใ่ ต้กฎหมาย โดยตกลงที่ใช้วิธีการ “ยึดอํานาจโดยฉับพลัน” รวมทัง้
พยายามหลีกเลี่ยงการนองเลือด เหมือนกับที่เคยเกิดขึน้ แล้วในการปฏิวตั ิฝรั่งเศสและการปฏิวตั ิรสั เซีย หลังจากการปฏิวตั ิ
เสร็จสิน้ แล้ว ได้มีการทําสัญลักษณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ หมุดทองเหลือง ที่มีขอ้ ความสลักไว้วา่ “ณ ที่นี ้ 24
มิถนุ ายน 2475 เวลายํ่ารุง่ คณะราษฎร ได้ก่อกําเนิดรัฐธรรมนูญ เพื่อความเจริญของชาติ” ซึง่ “หมุดคณะราษฎร” นัน้ ถือว่า
เป็ นหนึ่งในมรดกทางประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยที่คณะราษฎรทิง้ ไว้ให้คนรุน่ หลัง

3. หมุดคณะราษฎร
เนื่องจากเพื่อเป็ นที่ระลึกจุดที่ พันเอก พระยาพหลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร ประกาศเปลี่ยนแปลงระบอบ
การปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็ นระบอบประชาธิปไตย และอ่าน “ประกาศคณะราษฎร” ฉบับแรก เมื่อวันที่ 24
มิถนุ ายน 2475 ได้มีการนําหมุดสีทองเหลือง ฝังลงบนพืน้ กลางถนน ระหว่างฐานของพระบรมรูปทรงม้าและประตูทางเข้าอดีต
กองบัญชาการทหารสูงสุดแต่ในปั จจุบนั หมุดคณะราษฎรได้หายสาบสูญไปอย่างไร้รอ่ งรอยตัง้ แต่ปี 2560

4. วัดประชาธิปไตย
หรือชื่อในปั จจุบนั คือ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน ซึง่ เป็ นที่บรรจุอฐั ิ ของบุคคลสําคัญในคณะราษฎร
รวมไปถึงบุคคลสําคัญที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อปี 2475 ด้วย

P a g e 8 | 21
5. อนุสาวรียป์ ระชาธิปไตย
เป็ นอนุสาวรียท์ ่ีก่อสร้างโดยคณะราษฎร ตัง้ อยูใ่ จกลางวงเวียนระหว่างถนนราชเดินดําเนินกลางและถนนดินสอ
เพื่อระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็ นระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี ้
อนุสาวรียป์ ระชาธิปไตยเป็ น “หลักกิโลเมตรศูนย์” ที่ซง่ึ เป็ นอ้างอิงในการวัดระยะทางจากกรุงเทพมหานคร

6. อนุสาวรียพ์ ทิ กั ษ์รัฐธรรมนูญ
มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า อนุสาวรียป์ ราบกบฏ เป็ นอนุสาวรียท์ ่ีเคยตัง้ อยูท่ ่ีวงเวียนหลักสี่ จุดตัดระหว่างถนน
พหลโยธินกับถนนแจ้งวัฒนะและถนนรามอินทรา สร้างขึน้ เพื่อรําลึกถึงเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองนั่นก็คือการปราบ
กบฏบวรเดช ในสมัย พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็ นนายกรัฐมนตรี แต่ก็มีชะตากรรมเดียวกันกับหมุดคณะราษฎร
เพราะปั จจุบนั มีสถานะสูญหาย ไม่เป็ นที่แน่ชดั ว่าถูกเคลื่อนย้ายหรือถูกทําลายไปแล้ว

7. วันชาติในอดีต
นอกจากวันที่ 24 มิถนุ ายน จะเป็ น “วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง” แล้ว ในอดีตวันนีย้ งั มีอีกสถานะหนึ่งก็คือ
“วันชาติ” หลังจากประเทศไทยเข้าสูร่ ะบอบประชาธิปไตย ก็เป็ ฯผลให้คณะราษฎรมีอาํ นาจในการปกครองประเทศ และยก
ฐานะให้วนั ดังกล่าวกลายเป็ น “วันชาติ” ครัง้ แรก เมื่อปี 2482 ด้วยความพยายามผลักดันของ พันเอก หลวงพิบลู สงคราม มี
ประกาศให้วนั ที่ 23-25 มิ.ย. เป็ นวันหยุด มีการเฉลิมฉลองไปทั่วทัง้ ประเทศในทุกภาคส่วน และที่สาํ คัญสิ่งที่ประชาชนได้รบั ใน
งานเฉลิมฉลองวันชาติครัง้ แรกคําคืออวยพรจาก “สถาบันพระมหากษัตริย”์ ด้วย โดย พระบาทสมเด็จพระปรเมนมหาอานันท
มหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร หรือ รัชกาลที่8 ได้สง่ พระราชโทรเลขเพื่อทรงอวยพรประชาชนชาวไทยในวาระโอกาสวันชาติทงั้
ในปี แรกจนถึงปี 2484 เพราะหลังจากนัน้ เกิดความไม่สงบบริเวณทวีปยุโรปทําให้การส่งโทรเลขเป็ นเรื่องที่ยากลําบากต่อมาใน
ปี 2503 รัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ประกาศยกเลิกวันชาติ 24 มิ.ย. และถือเอาวันพระบรมราชสมภพของพระมหากษัตริย ์
เป็ นวันชาติแทนโดให้เหตุผลว่า เพื่อให้เป็ นไปตามขนบประเพณีของประเทศที่มีพระมหากษัตริยเ์ ป็ นประมุข ซึง่ ในขณะนัน้ ตรง
กับวันที่ 5 ธ.ค. และใช้เรื่อยมาจนถึงปั จจุบนั

P a g e 9 | 21
การรัฐประหารในประเทศไทย
เป็ นการถอดถอนรัฐบาลด้วยวิถีทางนอกกฎหมาย ซึง่ มักเป็ นการใช้กาํ ลังทหารเพื่อโค่นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตัง้ หรือแต่งตัง้
หรือแม้แต่รฐั บาลชุดที่หวั หน้าคณะรัฐประหารเองเป็ นผูน้ าํ ก็มี

1.ลักษณะ
ประเทศไทยขาดเสถียรภาพทางการเมืองสูงและมีรฐั ประหารหลายครัง้ ประเทศไทยมีรฐั ประหารมากที่สดุ ในโลกใน
ประวัติศาสตร์รว่ มสมัย ในปี 2559 "ประเทศไทยมีทหารหรืออดีตทหารเป็ นนายกรัฐมนตรีในประเทศไทยเป็ นเวลา 57 จาก 85
ปี นบั แต่ลม้ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปี 2475" รัฐประหารครัง้ ล่าสุดเกิดขึน้ ในปี 2557 โดย คณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (คสช.)

ผูก้ ่อการรัฐประหารในประเทศไทยเป็ นผลสําเร็จ ส่วนใหญ่เกิดจากกองทัพบก สาเหตุท่ีผกู้ ่อการอ้างมักเป็ นเรื่องการฉ้อราษฎร์


บังหลวง การดูหมิ่นสถาบันพระมหากษัตริย ์ และความแตกแยกในหมูป่ ระชาชน ในกรณีประเทศไทย เมื่อคณะรัฐประหารได้ทาํ
การยึดอํานาจได้สาํ เร็จคณะรัฐประหารในไทยมักจะใช้วิธีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและเสนอให้พระมหากษัตริยล์ งนาม
ประกาศใช้ โดยมีหวั หน้าคณะรัฐประหารเป็ นผูล้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการ (Countersign the Royal Command)
มีการออกบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวรับรองสถานะของประกาศและคําสั่งของคณะรัฐประหารให้ชอบด้วย
กฎหมาย ทัง้ นี ้ อาจมีการรับรองความสมบูรณ์สถานะทางกฎหมายของคําสั่งหรือประกาศ และรวมทัง้ การกระทําที่เกี่ยวเนื่อง
ของคณะรัฐประหารให้ชอบด้วยกฎหมายและชอบด้วยรัฐธรรมนูญในรัฐธรรมนูญฉบับถาวรอีกด้วย

2.รายชื่อรัฐประหารในประเทศไทย
1. รัฐประหาร 1 เมษายน พ.ศ. 2476 พระยามโนปกรณ์นิตธิ าดา ได้ประกาศพระราชกฤษฎีกาปิ ดสภา
ผูแ้ ทนราษฎร พร้อมงดใช้รฐั ธรรมนูญบางมาตรา
2. รัฐประหาร 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2476 นําโดยพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ยึดอํานาจรัฐบาล พระยามโนปกรณ์
นิติธาดา
3. รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นําโดย พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ยึดอํานาจรัฐบาล พล.ร.ต.ถวัลย์ ธํารงนาวาสวัสดิ์
4. รัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491 คณะนายทหารกลุ่มทีท่ าํ การรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 จีบ้ งั คับให้
นายควง อภัยวงศ์ ลาออกจากตําแหน่งนายกรัฐมนตรี และมอบตําแหน่งต่อให้ จอมพล ป. พิบลู สงคราม
5. รัฐประหาร 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 นําโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ยึดอํานาจรัฐบาลตนเอง
6. รัฐประหาร 16 กันยายน พ.ศ. 2500 นําโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอํานาจรัฐบาล จอมพล ป.พิบลู สงคราม

P a g e 10 | 21
7. รัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 นําโดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอํานาจรัฐบาล จอมพลถนอม กิตติขจร (ตามที่
ตกลงกันไว้)
8. รัฐประหาร 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 นําโดย จอมพลถนอม กิตติขจร ยึดอํานาจรัฐบาลตนเอง
9. รัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 นําโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ยึดอํานาจรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช
10. รัฐประหาร 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 นําโดย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ยึดอํานาจรัฐบาล นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
11. รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นําโดย พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ ยึดอํานาจรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ
12. รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 นําโดย พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ยึดอํานาจรัฐบาลรักษาการ พ.ต.ท.ทักษิ ณ ชิน
วัตร
13. รัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 นําโดย พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ยึดอํานาจรัฐบาลรักษาการนิวฒ ั น์ธาํ รง
บุญทรงไพศาล (ปฏิบตั ิหน้าที่นายกรัฐมนตรีหลังยิ่งลักษณ์ ชินวัตรถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พน้ จากตําแหน่ง)

3. ความแตกต่างระหว่าง “รัฐประหาร” กับ “ปฏิวัต”ิ


การปฏิวัติ หมายถึง การเปลี่ยนรู ปแบบหรือระบอบการปกครองประเทศ จากรูปแบบหนึ่งไปสูอ่ ีกรูปแบบหนึ่งอย่าง
สิน้ เชิง หรือมีการล้มล้างสถาบันประมุขของรัฐเพื่อเปลี่ยน รูปแบบประมุขของรัฐ ดังนัน้ การปฏิวตั ิตอ้ งเป็ นเรื่องการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจหรือการเมืองใหม่ทงั้ หมด ซึง่ ในประวัติศาสตร์สยามและไทยยังเคย
เกิดขึน้ ครัง้ เดียว คือ เมื่อวันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2475 ซึง่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มา
เป็ นราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ

รัฐประหาร หมายถึง การใช้กาํ ลังเปลีย่ นแปลงอํานาจการบริหารประเทศโดยฉับพลันเพือ่ เปลี่ยนแปลงผู้นาํ รัฐบาล


โดยการยึดอํานาจการปกครองจากรัฐบาลเดิมแต่ไม่เปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองหรือประมุขของประเทศ

4. เหตุการณ์สาํ คัญของประเทศไทยทีเ่ กีย่ วกับการปกครอง


4.1เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 หรื อ วันมหาวิปโยค หรื อ วันมหาปิ ติ
เป็ นเหตุการณ์การปราบปรามผูป้ ระท้วงบริเวณพระบรมมหาราชวังและถนนราชดําเนินอย่างรุ นแรงโดยรัฐบาลนายกรัฐมนตรี
จอมพลถนอม กิตติขจร จนมีผเู้ สียชีวิตหลายสิบคน บาดเจ็บกว่า 800 คน และมีผสู้ ญ
ู หายอีกเป็ นจํานวนมาก

1.ทีม่ า :
จุดเริม่ ต้นของเรื่องราว มาจากการทํารัฐประหารตัวเอง ของจอมพลถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2514
หลังจากที่ทหารปกครองประเทศมายาวนาน ทําให้ประชาชนรูส้ กึ เบื่อหน่าย

P a g e 11 | 21
อีกจุดชนวนที่สาํ คัญ คือ เหตุการณ์เฮลิคอปเตอร์ของกองทัพตก ที่จงั หวัดนครปฐม ในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2516 ทําให้มี
ผูเ้ สียชีวิต 6 คน รวมถึงการพบซากกระทิง สัตว์ป่าอื่นๆ ปื นล่าสัตว์ และอาวุธจํานวนมาก มีการออก ‘บันทึกลับจากทุง่ ใหญ่’
ประกอบกับการยกร่างรัฐธรรมนูญที่ลา่ ช้ามาก ทําให้ประชาชนไม่พอใจอย่างหนัก นําไปสูก่ ารประท้วงเรียกร้องรัฐธรรมนูญ
แล้วจอมพลถนอมก็ออกคําสั่งควบคุมผูช้ มุ นุมผูเ้ รียกร้องไป 13 คน โหมกระแสให้คนมารวมตัวกันมากยิ่งขึน้ จนนําไปสู่
เหตุการณ์ 14 ตุลาฯ

2.บุคคลสําคัญ :
จอมพลถนอม กิตติขจร ขณะเกิดเหตุเป็ นนายกรัฐมนตรี ภายหลังลีภ้ ยั ไปยังสหรัฐอเมริกาและสิงคโปร์ก่อนจะบวชกลับไทย
เป็ นหนึ่งในชนวนเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ

จอมพลประภาส จารุ เสถียร ขณะเกิดเหตุเป็ นรองนายกรัฐมนตรี ผูบ้ ญ


ั ชาทหารบก และรักษาราชการแทนอธิบดีกรมตํารวจ
หลังเกิดเหตุลภี ้ ยั ไปยังไทเป

พัณเอกณรงค์ กิตติขจร บุตรชายของจอมพลถนอม บุตรเขยของจอมพรประพาส หลังเกิดเหตุลีภ้ ยั ไปยังไทเป

ธีรยุทธ บุญมี หนึ่งในกลุม่ เรียกร้องรัฐธรรมนูญจนถูกจับพร้อมกับเพื่อนๆ รวม 13 คน

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล หนึ่งในแกนนํานักศึกษา เป็ นผูแ้ ต่งเพลง ‘สูไ้ ม่ถอย’ ที่ใช้ในการชุมนุม

ประพัฒน์ แซ่ฉ่ัว นักศึกษาที่รว่ มชุมนุม โด่งดังจากภาพถือไม้ยืนประจันหน้ากับทหาร จนได้รบั ฉายา ‘ไอ้กา้ นยาว’ ภายหลัง
เปลี่ยนนามสกุลเป็ น ปั ญญาชาติรกั ษ์

3.เหตุการณ์จลาจลและการสั่งปราบปรามการชุมุนม :
ผูป้ ระท้วงบางส่วนเดินทางไปพระบรมมหาราชวังเพื่อขอพบผูแ้ ทนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เมื่อตกลงสลายตัวแล้วจู่ ๆ ก็
เกิดเหตุระเบิดแถวพระบรมมหาราชวังและเริม่ การปราบปรามการประท้วงอย่างรุนแรงโดยมีการระดมรถถังและเฮลิคอปเตอร์
จนมีผเู้ สียชีวิต 77 คน และได้รบั บาดเจ็บ 857 คน และอาคารหลายหลังใกล้กบั ถนนราชดําเนินถูกวางเพลิง รวมทัง้ กรม
ประชาสัมพันธ์ กรมสรรพากร โรงแรมรัตนโกสินทร์ กองสลากกินแบ่งรัฐบาล กองตํารวจนครบาลผ่านฟ้าฝ่ ายผูป้ ระท้วงมี
ผูเ้ ข้าร่วมเพิ่มเป็ นประมาณ 500,000 คน จนฝ่ ายความมั่นคงถอนกําลังออกไปในช่วงเย็น และในเวลา 19.15 น.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เผยแพร่พระราชดํารัสทางโทรทัศน์วา่ รัฐบาลทหารลาออกแล้ว แต่ผชู้ มุ นุมสลายตัวเมื่อทราบว่า
บุคคลสําคัญในรัฐบาลสามคนที่เรียกว่า "3 ทรราช" เดินทางออกนอกประเทศแล้ว หลังเหตุการณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
ทรงแต่งตัง้ สัญญา ธรรมศักดิเ์ ป็ นนายกรัฐมนตรี แต่เหตุการณ์ยงั ไม่สงบ กลุม่ ทหารเปิ ดฉากยิงปื นเข้าใส่นกั ศึกษาและประชาชน
อีกครัง้ หลังจากพระราชดํารัสทางโทรทัศน์เพียงหนึ่งชั่วโมง นักศึกษาพยายามพุ่งรถบัสที่ไม่มีคนขับ เข้าใส่กองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล โดยผูช้ มุ นุมนับพันยังไม่วางใจในสถานการณ์ จึงประกาศท้าทายกฎอัยการศึก ในเวลา 22:00 นาฬิกา และ
ประกาศว่าจะปั กหลักชุมนุม ที่อนุสาวรียป์ ระชาธิปไตยตลอดทัง้ คืน เพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ถกู หลอกอีกครัง้ ในเวลาหัวคํ่าของวันที่

P a g e 12 | 21
15 ตุลาคม ได้มีประกาศว่าจอมพลถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุ เสถียร และพันเอกณรงค์ กิตติขจร เดินทางออกนอก
ประเทศแล้ว เหตุการณ์จงึ ค่อยสงบลง และวันที่ 16 ตุลาคม 2516 ผูช้ มุ นุมและประชาชน ต่างพากันช่วยทําความสะอาด พืน้
ถนนและสถานที่ตา่ งๆ ซึง่ ได้รบั ความเสียหาย และหลังจากนัน้ เป็ นการเริม่ ต้นของ "ยุคการทดลองประชาธิปไตย" ที่สนิ ้ สุดลง
ด้วยเหตุการณ์ 6 ตุลา และรัฐประหารปี 2519; ผูเ้ สียชีวิตได้รบั ยกย่องเป็ น "วีรชนเดือนตุลา" และมีแผนก่อสร้างอนุสรณ์สถาน
14 ตุลาเพื่อเป็ นอนุสรณ์ แต่การก่อสร้างนัน
้ กว่าจะแล้วเสร็จก็ลว่ งไปถึงปี 2541

4.หลังเหตุการณ์ :
ภายหลังเหตุการณ์นีพ้ ระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและพระบรมวงศานุ
วงศ์ได้เสด็จเยี่ยมผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บตามโรงพยาบาลต่าง ๆ และสําหรับผูเ้ สียชีวิต ได้พระราชทานเพลิงศพที่ทิศเหนือท้อง
สนามหลวง และอัฐินาํ ไปลอยอังคารด้วยเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศและกรมตํารวจที่ปากแม่น้ าํ เจ้าพระยา อ่าวไทย

หลังจากเหตุการณ์ครัง้ นี ้ มีการร่างรัฐธรรมนูญขึน้ ใหม่ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประชาชนต่าง ๆ จากหลาย


ภาคส่วน โดยไม่มีนกั การเมืองร่วมอยูด่ ว้ ยเลย และใช้สนามม้านางเลิ้งเป็ นที่รา่ ง เรียกกันว่า "สภาสนามม้า" นําไปสูก่ ารเลือกตั้ง
ในต้น พ.ศ. 2518 ช่วงนัน้ เรียกกันว่าเป็ นยุค "ฟ้าสีทองผ่องอําไพ" แต่เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในประเทศยังไม่สงบ มีการเรียกร้อง
และเดินขบวนของกลุม่ ชนชัน้ ต่าง ๆ ในสังคม ประกอบกับสถานการณ์ความมั่นคงในประเทศรอบด้านจากการรุ กคืบของลัทธิ
คอมมิวนิสต์และผลกระทบจากสงครามเวียดนาม แม้รฐั บาลชุดใหม่ท่ีมาจากการเลือกตัง้ ก็ไม่มีเสถียรภาพเพียงพอที่จะแก้ไข
สถานการณ์ได้ นําไปสูเ่ หตุนองเลือดอีกครัง้ ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2519 คือ เหตุการณ์ 6 ตุลา

4.2 เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 หรือ การสั งหารหมู่ทมี่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


เป็ นการปราบปรามอย่างรุ นแรงถึงชีวติ ของตํารวจและการลงประชาทัณฑ์ของกําลังกึ่งทหารและคนมุงฝ่ ายขวาต่อนักศึกษาและ
ผูป้ ระท้วงฝ่ ายซ้ายในและบริ เวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง เป็ นการปิ ดฉากการประท้วง
การเดินขบวนและการยึดพื้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ของนักศึกษา กรรมกรและผูป้ ระท้วงซึ่ งต่อต้านการเดินทางกลับ
ประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ตั้งแต่วนั ที่ 28 กันยายน 2519 ในวันที่ 6 ตุลาคม ตํารวจใช้อาวุธ
สงครามปราบปรามการประท้วง ตามด้วยกลุ่มฝ่ ายขวาที่ลงประชาทัณฑ์ในลักษณะร่ วมมือกับตํารวจ เป็ นเหตุให้มีผเู ้ สี ยชีวิตและ
ผูไ้ ด้รับบาดเจ็บ สถิติพบผูเ้ สี ยชีวิต 45 คนที่มีการชันสู ตรพลิกศพ ซึ่ งสาเหตุการเสี ยชีวติ มีท้ งั ถูกยิงด้วยอาวุธปื น ถูกทุบตี และ
ถูกเผา แต่สถิติไม่เป็ นทางการจากมูลนิธิป๋วยคาดว่ามีผเู ้ สี ยชีวิตกว่า 100 คน

ทีม่ า :

ความเฟื่ องฟูของเสรี ภาพทางความคิด เป็ นส่ วนให้แนวคิดสังคมนิยมแพร่ หลายไปในวงกว้าง แต่เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2519
จอมพลถนอมที่เคยหนีออกนอกประเทศ เดินทางกลับไทยด้วยการบวชเป็ นสามเณรเข้ามา ประชาชนจึงออกมาประท้วง แล้วใน

P a g e 13 | 21
วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2519 ช่างการไฟฟ้าสองคนที่ออกมาแจกใบปลิวต้านการกลับมาของจอมพลถนอม ก็ถูกฆ่าด้วยการแขวน
คอ ทําให้กลุ่มนักศึกษาหยิบเรื่ องนี้มาแสดงละคร เพื่อประท้วงการใช้ความรุ นแรงที่เชื่อว่าเป็ นฝี มือเจ้าหน้าที่รัฐ

วันต่อมา หนังสื อพิมพ์ดาวสยามพาดหัวข่าวว่า ละครของนักศึกษาเป็ นการดูหมิ่นพระบรมโอรสาธิราช ทําให้กลุ่มฝ่ ายขวา เช่น


กระทิงแดง ลูกเสื อชาวบ้าน และนวพล ไปชุมุนมปิ ดล้อม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีกลุ่มนักศึกษาประท้วงกันอยูน่ าํ ไปสู ้
เหตุการณ์สังหารหมู่นกั ศึกษาในวันที่ 6 ตุลาฯ

บุคคลที่อยู่ร่วม/ได้ รับผลกระทบจากเหตุการณ์ :

หม่ อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทยขณะนั้นถูกยึดอํานาจในช่วงเย็นวัน


เดียวกัน โดยคณะรัฐประหารที่นาํ โดยพลเรื อเอกสงัด ชะลออยู่

พลเรื อเอกสงัด ชะลออยู่ ผูบ้ ญั ชาการทหารสู งสุ ดขณะนั้น นําคณะรัฐประหารยึดอํานาจจากรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย ์ ปราโมช


หลังเกิดการล้อมปราบนักศึกษา

ชวน หลีกภัย ถูกกล่าวหาพร้อมกับรัฐมนตรี อีก2คน ว่าฝักใฝ่ คอมมิวนิสต์ จนต้องหนีเข้าป่ าไปช่วงเวลาหนึ่ง และบันทึกเรื่ องราว
ไว้ในหนังสื อ ‘เย็นลมป่ า’

สมัคร สุ นทรเวช ถูกมองว่ามีบทบาทสําคัญในการปลุกระดมสร้างความเกลียดชังฝ่ ายนักศึกษาผ่านสถานีวทิ ยุยานเกราะ หลัง


เหตุการณ์ได้เป็ นรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย

สุ ธรรม แสงประทุม แกนนํานักศึกษา

เกรียงกมล เลาหไพเราน์ แกนนํานักศึกษา

ป๋วย อึง๊ ภากรณ์ อดีตผูว้ า่ ทหารแห่งประเทศไทย อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขณะนั้น ถูกกล่าวหาว่าฝักใฝ่ คอมมิวนิสต์


จนต้องลี้ภยั ต่างประเทศ

ธงชัย วินิจจะกูล แกนนักศึกษา

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล แกนนํานักศึกษา

วิชิตชัย อมรกุล ผูถ้ ูกแขวนคอที่ตน้ ไม้บริ เวณสนามหลวง

จารุพงษ์ ทองสิ นธุ์ ผูถ้ ูกสังหารและลากไปตามสนามฟุตบอล

การสั งหารหมู่ :

มีคนมาล้อมมหาวิทยาลัยทัง้ ตํารวจ กําลังกึ่งทหารและประชาชนรวมประมาณ 8,000 คน และมีนกั ศึกษาอยูป่ ระมาณ 4,000


คน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ถกู ล้อมไว้หมดทุกด้านตัง้ แต่เวลา 3.00 น. ตํารวจตัง้ กองบัญชาการที่

P a g e 14 | 21
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อธิบดีกรมตํารวจประกาศเจตจํานงกวาดล้างมหาวิทยาลัยและจับผูต้ อ้ งหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ในเวลารุง่ สาง พยานเล่าว่าเมื่อเวลา 5.30 น. มีการยิงลูกระเบิดเอ็ม79 ลงกลางสนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทําให้มี
ผูเ้ สียชีวิต 9 คนและบาดเจ็บ 13 คน เชื่อว่าเป็ นฝี มือของผูช้ าํ นาญอาวุธ และคาดว่าน่าจะเป็ นสัญญาณเข้าตี เวลาประมาณ
5.40–6.00 น. สุธรรม แสงประทุม เลขาธิการ ศนท. พยายามติดต่อขอเข้าพบนายกรัฐมนตรี และโฆษกให้ผชู้ ม ุ นุมเข้าไปในตึก
บัญชีและตึกคณะวารสารฯ 6.00 น. การขนส่งผูบ้ าดเจ็บทางเรือถูกตํารวจสกัดไว้ และตํารวจและกระทิงแดงยิงปื นมาจากตลิ่ง
อีกฝั่ง เวลา 7.00 น. ผูช้ มุ นุมบางส่วนเล็ดรอดออกไปได้ แต่หลังจากนัน้ ประตูถกู ปิ ดตาย แม้มีคาํ ขอเปิ ดทางให้หญิงและเด็กแต่
เจ้าหน้าที่ก็ไม่ยินยอม มีกลุม่ คนไม่แต่งเครื่องแบบขับรถโดยสารประจําทางชนประตูใหญ่และตํารวจเร่งรุดเข้าไปใน
มหาวิทยาลัย สุธรรมและผูแ้ ทน ศนท. รวมทัง้ นักแสดงในละครล้อในวันที่ 4 ตุลาคมออกมาในรถพยาบาลและขึน้ รถตํารวจ
ตํารวจปฏิเสธคําขอพบนายกรัฐมนตรีและทัง้ หมดถูกจับกุม โฆษกเวทีท่ีประกาศยอมจํานนถูกยิงด้วยปื นเอ็ม16[3]:7 พล
ตํารวจโทชุมพลอนุญาตให้ยงิ เสรีในมหาวิทยาลัย ในเวลาประมาณ 7.30 น. จนถึงเวลา 8.00 น. ตํารวจรุกเข้ามาในสนาม
ฟุตบอล และยิงใส่ตกึ อมธ. ตึกคณะวารสารฯ และตึกบัญชี แล้วนํากําลังเข้ายึดเวลา 7.45 น. มีนกั ศึกษาจํานวนหนึ่งหนี
กระสุนปื นโดยปี นรัว้ มหาวิทยาลัยออกไป จนถูกกลุม่ คนที่อยูภ่ ายนอกรุมประชาทัณฑ์ ฝูงชนที่อยูต่ ามดาดฟ้าเชียร์ตาํ รวจโดย
บอกว่านักศึกษาไม่มีอาวุธหนัก กลุม่ กึ่งทหาร ได้แก่ ลูกเสือชาวบ้านและกระทิงแดงจํานวนหนึ่งบุกเข้าไปในมหาวิทยาลัยพร้อม
กับตํารวจเพื่อเข้าทําร้ายนักศึกษา ในลักษณะทํางานร่วมกับตํารวจและตํารวจมิได้หา้ มปราม หลายคนมีบทบาทโดยตรงในการ
ทําร้ายฆ่าฟั น เช่น แขวนคอ เผาทัง้ เป็ น ทุบตีจนตาย และยังรวมถึงการทําลายศพ เช่น ตอกไม้ ใช้ไม้ทาํ อนาจารศพหญิง หรือ
ปั สสาวะรด หญิงคนหนึ่งถูกเปลือ้ งผ้าและยิงปื นใส่หลายครัง้ นักศึกษาจํานวนหนึง่ หนีกระสุนปื นโดยปี นรัว้ มหาวิทยาลัยออกไป
ถูกกลุม่ คนที่อยู่ภายนอกรุมประชาทัณฑ์ ผูป้ ระท้วงที่หนีออกไปทางหน้าประตูมหาวิทยาลัยจํานวน 20 คนถูกลากไปแขวนคอ
ทัง้ ที่ยงั มีชีวิต และมีการนําศพมาเผากลางถนนราชดําเนิน กลุม่ นีพ้ ยายามลงประชาทัณฑ์นกั ศึกษาที่ตาํ รวจจับไว้แล้วที่สนาม
ฟุตบอลแต่ตาํ รวจห้ามไว้และช่วยหญิงไว้ได้คนหนึ่ง มีการแขวนคอศพผูท้ ่ีเสียชีวิตแล้วไว้กบั ต้นไม้รมิ สนามหลวงแล้วเตะต่อย
ทัง้ ถุยนํา้ ลายรดและตะโกนด่าสาปแช่ง ศพของวัชรี เพชรสุน่ ถูกเปลือ้ งผ้า นําไม้มาวางไว้ขา้ งศพให้เข้าใจว่าถูกไม้นนั้ แทงอวัยวะ
เพศจนเสียชีวิต โดยมีคนอยูร่ อบศพด้วยความพอใจ ธงชัยตัง้ ข้อสังเกตว่าชายปรากฏในภาพใช้เก้าอีฟ้ าดศพ (ของอูเลวิช), ภาพ
การแขวนคอวิชิตชัยและภาพเผาศพ 4 ศพเป็ นคนคนเดียวกัน อาจเป็ นสายลับที่ถกู ส่งมาปลุกปั่ นให้คนอื่นเลียนแบบตาม
หรือไม่มีผตู้ งั้ ข้อสังเกตว่าผูท้ ่ีใช้วิธีการป่ าเถื่อนกับศพนัน้ น่าจะเป็ นตํารวจนอกเครื่องแบบหรืออดีตทหาร-ตํารวจที่ได้รบั การฝึ ก
จากอเมริกาด้านพระกิตติวฒ ุ ิโฑไล่นกั ศึกษาที่เข้าไปหลบในวัดมหาธาตุออกนอกเขตวัดไปให้ตาํ รวจจับ นักศึกษาและประชาชน
ที่รอดชีวิต 3,094 คนถูกจับกุมภายในวันนัน้ ถูกนําตัวไปคุมขังที่โรงเรียนตํารวจนครบาลบางเขน ที่จงั หวัดนครปฐมและชลบุรี ผู้
ถูกจับกุมเกือบทุกคนถูกตํารวจรุ มซ้อมเมื่อมาถึงสถานที่คมุ ขัง นอกจากนี ้ ยังมีพยานว่าตํารวจเรียกผูถ้ กู จับกุมว่า "เชลย" อันสื่อ
ว่า ตํารวจกําลังทําสงครามกับนักศึกษา

ตัวเลขผูเ้ สียชีวิตอย่างเป็ นทางการจากรัฐบาลคือ 46 คน เป็ นเจ้าหน้าที่รฐั 5 คน นักศึกษาและประชาชน 41 คน ได้รบั บาดเจ็บ


145 คน และอีก 18 คนที่ตกเป็ นจําเลย แต่ไม่มีผกู้ ่อเหตุสงั หารหมูค่ นใดโดนดําเนินคดีเลย

P a g e 15 | 21
หลังจากนัน้ หม่อมราชวงศ์เสนีย ์ ปราโมช ถูกนยึดอํานาจโดยคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินที่มีพลเรือเอกสงัด ชะลออยู่ เป็ น
หัวหน้า และแต่งตัง้ ธานินทร์ กรัยวิเชียร ขึน้ เป็ นนายกรัฐมนตรี ส่วนเรื่องราวที่เกิดขึน้ ในหมาวิทยาลัย ก็ไม่ได้ถกู เปิ ดเผยออกมา
ในทันที ทัง้ ยังมีกระแสความหวาดกลัว และความเกลียดชังที่รุนแรงจนกลายเป็ นเรื่องที่พดู ถึงไม่ได้

อนุสรณ์และมรดก :

วัฒนธรรมสมัยนิยม
ในปี 2520 มีภาพยนตร์ท่ีสะท้อนทัศนะฝายขวา เก้ายอด โดยสุพรรณ พราหมณ์พนั ธุ์ ที่นาํ ภาพข่าวชุมนุมมาสื่อว่าต้องการล้ม
ล้างประชาธิปไตย แต่ในปี เดียวกัน ก็มีชาวญี่ปนุ่ โอโอกะ เรียวโออิจิ เรียบเรียงฟุตเทจภาพเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ตงั้ แต่
เหตุการณ์ 14 ตุลาถึง 6 ตุลา เป็ นภาพยนตร์ช่ือ จักจาํ ไว้จนวันตาย (They Will Never Forget) ปี 2546 ภาพยนตร์สนั้
เรื่อง อย่าลืมฉัน ที่ได้รางวัลรัตน์ เปสตันยี ประจําปี 2546 ในปี 2548 มีภาพยนตร์เรื่อง โคลิค เด็กเห็นผี มีการเล่าเรื่องลิฟท์แดง
ซึง่ เกิดจากการยิงปื นเข้าไปในลิฟต์ระหว่างเหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2552 มีภาพยนตร์ท่ีเนือ้ หาว่าด้วยเหตุการณ์ 6 ตุลา หลายเรื่อง
เช่น ฟ้าใส ใจชืน่ บาน เล่าเรื่องของนักศึกษาที่หนีเข้าป่ าในเชิงขบขัน, มหาลัยสยองขวัญ ตอนลิฟท์แดง และ October Sonata:
รักทีร่ อคอย ที่นาํ เสนอผ่านความรัก การรอคอย และนวนิยายเรื่อง สงครามชีวติ ของศรีบรู พา

ภาพยนตร์เรื่อง ดาวคะนอง (2559) เล่าถึงผูส้ ร้างภาพยนตร์ท่ีตอ้ งการสร้างเกี่ยวกับเหตุการณ์ 6 ตุลา เป็ นภาพยนตร์ได้รบั ทุน
สนับสนุนจากกระทรวงวัฒนธรรม ได้รบั รางวัลสุพรรณหงส์ และชมรมวิจารณ์บนั เทิง และเป็ นตัวแทนภาพยนตร์ไทยเข้าชิง
รางวัลออสการ์ แต่ตาํ รวจสั่งงดฉายในประเทศไทย ภาพยนตร์สนั้ พิราบ (2560) กํากับโดยบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ว่าด้วยเรือ่ งราวของนักศึกษาที่ถกู ปราบปรามในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ได้รบั รางวัลพิราบขาว จากมูลนิธิ 14 ตุลา และรางวัล
ชมเชย สาขาช้างเผือก

ภัทรภร ภู่ทองเป็ นผูก้ าํ กับสารคดีบทสัมภาษณ์ญาติและเพื่อนของผูเ้ สียชีวิต ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง ด้วยความนับ


ถือ (Respectfully Yours, 2559) ฉายครัง้ แรกในวันครบรอบ 40 ปี ของเหตุการณ์ นําเสนอบทสัมภาษณ์ของญาติผเู้ สียชีวิต พวงทอง
ภวัครพันธุ์ ผูผ้ ลิต กล่าวว่า เป็ นความพยายามขับเน้นใบหน้าของผูเ้ สียหาย ไม่ใช่ถกู ทําให้เป็ นตัวเลข เป็ นจุดเริม่ ต้นของโครงการ
หอจดหมายเหตุดิจิทลั สองพี่นอ้ ง เป็ นภาพยนตร์สนั้ ที่นาํ เสนอนิยายของนักกิจกรรมสองพี่นอ้ งช่างไฟฟ้านักกิจกรรมที่ถกู ลง
ประชาทัณฑ์เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2519 ภาพยนตร์แสดงบทสัมภาษณ์ชีวประวัติของญาติผเู้ สียชีวิต ชุมพรและวิชยั ภาพยนตร์
ยังแสดงที่เกิดเหตุซง่ึ เป็ นประตูทางเข้าที่ดินว่างเปล่าแปลงหนึ่งในจังหวัดนครปฐม ที่เรียก "ประตูแดง" อีกเรื่องหนึ่งคือ ความทรง
จํา-ไร้เสียง (2557)

ในปี 2561 มิวสิกวิดีโอเพลงแร็ปใต้ดิน "ประเทศกูมี" ของกลุม่ แร็ป Rap Against Dictatorship ใช้ฉากหลังเป็ นการลงประชาทัณฑ์ใน
เหตุการณ์ 6 ตุลา

P a g e 16 | 21
บทที่ 3
วิธีการดําเนินงาน
กล่าวถึงการดําเนินการโดยละเอียด

3.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนําเสนอครูท่ีปรึกษาโครงงาน

3.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่อองที่สนใจ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร

3.3 ประเมินความถูกต้องและความสําคัญของข้อมูล

3.4 ศึกษาข้อมูลที่รวบรวมมาได้ นํามาวิเคราะห์ขอ้ มูล

3.5 นําเสนอข้อมูลเดียวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร

ขัน้ ตอน/กิจกรรม ระยะเวลา ผูร้ บั ผิดชอบ

1.ขึน้ วางแผนเตรียมการศึกษาแนวทาง
จากที่คณ ุ ครูกาํ หนด
17 มิ.ย. 2565 – 30 มิ.ย. 2565 น.ส.ชัญญานุช โรมจันทร์
- เสนอความคิดของสมาชิก
- วางแผนและมอบหมายงาน
2. ขัน้ ดําเนินการศึกษาค้นคว้าข้อมูลตาม
แนวทางที่กาํ หนด น.ส.ปทิตตา ทานะมัย
1 ก.ค. 2565 - 8 ก.ค. 2565 น.ส.จิรชั ยา ผึง่ สีใส
-รวบรวมข้อมูล

3. ขัน้ ตอนการสรุปและประเมินผล
- นําข้อมูลทัง้ หมด มาประเมินความ
น.ส.ชีวาพร แสนพวัง
ถูกต้องของข้อมูล 8 ก.ค. 2565 – 13 ก.ค. 2565 นาย ปภัสร์ธนิน พากเพียรกิจ
- วิเคราะห์ขอ้ มูล
- นําเสนอข้อมูล

ตารางที่ 3 แผนการปฏิบัตงิ าน

P a g e 17 | 21
บทที่ 4
ผลการศึกษาค้นคว้า
การจัดทําโครงงานประวัติศาสตร์เนือ้ หาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ต้องการศึกษาเรื่อง การเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร ทําให้รูว้ า่ สมัยก่อนจนถึงปั จจุบนั มีการพัฒนามากมาย
และเพื่อให้ผจู้ ดั ทําโครงงานสามารถนํามาประยุกต์ให้เข้ากับการเรียนรูข้ องตนเองมากขึน้

4.1 การพัฒนาโครงงานการเปลีย่ นแปลงการปกครองและการรัฐประหาร


เพื่อเผยแพร่ความรูเ้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหารที่เกิดขึน้ ในประเทศไทย คณะผูจ้ ดั ทําได้ดาํ เนิน

งานตามขัน้ ตอนการดําเนินงานที่ได้วางแผนไว้ และมีการนําเสนอข้อมูลที่ชดั เจน นําเสนอในรูปแบบเป็ นรูปเล่มของโครงงาน


การเปลี่ยนแปลงการปกครองและการรัฐประหาร

P a g e 18 | 21
บทที่ 5
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุ ปผลการทดลอง
จากการที่ได้ศกึ ษาและทราบถึงประวัติความเป็ นมาและพัฒนาการในการเปลี่ยนแปลงการปกครองและการ
รัฐประหาร

5.2 ปั ญหาและอุปสรรคในการศึกษาค้นคว้า
- ข้อมูลที่ได้มาเป็ นส่วนหนึ่งเท่านัน้ ไม่คอ่ ยจะชัดเจนเท่าที่ควร จึงต้องใช้เวลารวบรวมข้อมูลนาน

- การบ้านจากวิชาต่างๆ ซึง่ ทําให้มีเวลาในการทําโครงงานน้อยลง

ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
คณะผูจ้ ดั ทําโครงงานควรมีการประชุมวางแผนกันมากขึน้ เพื่อแก้ไขปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึน้ และคณะผูจ้ ดั ทําโครงงาน
ควรวางแผนในการประสานงานให้เป็ นระบบมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้ตรงตามหน้าที่ เพื่อจะได้มีการทําหน้าที่ให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้

P a g e 19 | 21
บรรณานุกรม

Jiratchaya Chaichumkhun. 2019. วันไหนเป็ นวันไหน? คลายความสับสน จาก 14 ตุลาฯ ถึง 6 ตุลาฯ.

thematter.co. (วันที่คน
้ ข้อมูล : 8 กรกฎาคม 2565).

กรุงเทพธุรกิจ. 2565. 24 มิ.ย. 2475 ไม่ใช่แค่ “วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง” แต่เคยเป็ น “วันชาติ” ด้วย.

www.bankkokbiznews.com. (วันที่คน
้ ข้อมูล : 8 กรกฎาคม 2565).

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2565. เหตุการณ์ 6 ตุลา. wikipedia.org. (วันที่คน้ ข้อมูล : 13 กรกฎาคม 2565).

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2565. เหตุการณ์ 14 ตุลา. Wikipedia.org. (วันที่คน้ ข้อมูล : 13 กรกฎาคม 2565).

P a g e 20 | 21
ภาคผนวก

P a g e 21 | 21

You might also like