You are on page 1of 80

หลักการประกอบ ตฺวา ปัจจัย

เป็ นกัตตุวาจก, กัมมวาจก


โดยพระมหาธรรมรงค์ ธมฺมภาณี ป.ธ.๙
ลักษณะทัว่ ไปของตูนาทิปจั จัย
และการประกอบเป็ นกัตตุวาจก
๑.ลักษณะทัว่ ไปของตูนาทิปจั จัย
ปัจจัย ๓ ตัว คือ ตูน ตฺวา ตฺวาน เรียกว่าตูนาทิปจั จัย คํานี้ มาจาก
ตูน+อาทิ+ปจฺจย แปลว่าปัจจัยมีตูนปัจจัยเป็ นต้น เหตุท่ีเรียกรวมกัน
เพราะมีวธิ กี ารใช้เหมือนกัน ปัจจัยกลุม่ นี้ มีลกั ษณะทัว่ ไป ดังนี้
๑) จัดเป็ นพวกอัพยยศัพท์ ไม่มีการเปลี่ยนรูป (ลิงค์ วจนะ วิภตั ติ)
ไปตามนามศัพท์เจ้าของกิรยิ า
๒) เป็ นปัจจัยที่ใช้บอกอดีตกาล แปลว่า ...แล้ว, ครัน้ ...แล้ว เช่น
สุตวฺ า ฟังแล้ว
กตฺวา ทําแล้ว
๓) เป็ นได้ ๓ วาจก (สมเด็จพระมหาสมณเจ้าระบุว่าเป็ นได้ ๕ วาจก) คือ
(๑) กัตตุวาจก มีใช้มาก เช่น
ธมฺมํ สุตวฺ า. ฟังแล้ว ซึ่งธรรม.
(๒) กัมมวาจก มีใช้นอ้ ยมาก เช่น
ราคคฺคนิ า ฑยฺหติ วฺ า. อันไฟคือราคะ ไหม้แล้ว.
เตเนว (ราเคน) ฌายิตวฺ า. อันราคะ นั้นนัน่ เทียว ไหม้แล้ว.
(๓) เหตุกตั ตุวาจก มีใช้มาก เช่น
ธมฺมํ สาเวตฺวา. ยังบุคคล ให้ฟงั แล้ว ซึ่งธรรม.
วาลุกํ โอกิราเปตฺวา. ยังบุคคล ให้เกลี่ยแล้ว ซึ่งทราย.
๔) ต้องลง อิ อาคมหลังอเนกสระธาตุหน้าตู นาทิปจั จัยเนื่ องจากเป็ น
ปัจจัยที่ข้ ึนต้นด้วยพยัญชนะ (ต) เช่น
-ภวิตวฺ า
-สุณิตวฺ า
-โจรยิตวฺ า เป็ นต้น
ส่วนเอกสระธาตุไม่ตอ้ งลง อิ อาคมเว้นแต่ทาํ เทวภาวะธาตุ
๕) ใช้เป็ นกิรยิ าในระหว่างเท่านั้น เป็ นกิรยิ าคุมพากย์ไม่ได้ เว้นแต่เป็ น
ประโยคพิเศษที่เรียกว่ากิรยิ าปธานนัย
๒.การประกอบตูนาทิปจั จัยเป็ นกัตตุวาจก
โดยปกติปจั จัยประจําหมวดธาตุจะเป็ นเครื่องกําหนดหมวดหมู่ธาตุและ
เป็ นเครื่องแสดงกัตตุวาจกด้วยในตัวเดียวกัน แต่การประกอบตูนาทิปจั จัย
เป็ นกัตตุวาจกบางคราวจะไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ด้มีหลักการ ดังนี้
๑) ธาตุท่จี ะนํ ามาประกอบเป็ นสกัมมธาตุหรืออกัมมธาตุกไ็ ด้
๒) ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ ๓ หมวด (บังคับ) คือ
(๑) หมวด รุธ ธาตุ
(๒) หมวด ทิว ธาตุ
(๓) หมวด จุร ธาตุ
๓) ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุก็ได้ไม่ลงก็ได้ ๖ หมวด (บางธาตุบงั คับลง
บางธาตุไม่บงั คับลง) คือ
(๑) หมวด ภู ธาตุ
(๒) หมวด สุ ธาตุ
(๓) หมวด กี ธาตุ
(๔) หมวด คห ธาตุ
๔) ไม่ตอ้ งลงปัจจัยประจําหมวดธาตุเลย มี ๑ หมวด คือ หมวด กร ธาตุ
๕) ลง อิ อาคมหลังธาตุหน้าตูนาทิปจั จัย เมื่อเข้าเงือ่ นไข ๓ ประการ คือ
(๑) หน้า อิ อาคมเป็ นอเนกสระธาตุท่ไี ม่ยงั ไม่แปลงที่สดุ ธาตุเป็ น
อย่างอืน่ หรือยังไม่ลบที่สดุ ธาตุ โดย อิ อาคมจะสนธิเข้ากับพยัญชนะ
ที่สดุ ธาตุน้นั (ต้องลบสระที่สดุ ธาตุกอ่ น)
(๒) หน้า อิ อาคมมีพยัญชนะปัจจัย ๗ ตัวเหล่านี้ อยู่ขา้ งหน้า คือ
ย, ณุ , ณา, อุณา, นา, ณฺ หา, ณย โดย อิ อาคมจะสนธิเข้ากับ
พยัญชนะที่สดุ ปัจจัยนั้น (ต้องลบสระที่สดุ ปัจจัยก่อน)
(๓) มีการทําเทวภาวะธาตุท่เี ป็ นเอกสระธาตุ ให้ลบสระที่สดุ ธาตุ
แล้วลง อิ อาคม เช่น ทา (ททิตวฺ า), หา (ชหิตวฺ า)
๖) ถ้ามีอปุ สัคอยู่หน้าแปลงตูนาทิปจั จัยเป็ น ย
๗) แปลง ย กับที่สดุ ธาตุเป็ นอย่างอืน่ ได้อกี เช่น
-มฺม :อาคมฺม
-ชฺ ช :อุปปฺ ชฺ ช
-สฺส :ปวิสฺส
-ทฺธา :ลทฺธา
-พฺภ :อารพฺภ
ตฺวา ปัจจัย

องค์ประกอบของกัตตุวาจก

สกัมม./อกัมม. บังคับลง ตฺวา/อิ+ตฺวา ตฺวา>ย/แปลง ย


ย, เณ, ณย
อ, เอ, ณุ , ณา, อุณา, นา, ณฺ หา
ลงบ้าง ไม่ลงบ้าง โอ ไม่ตอ้ งลง
หลักการลงและไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
ในแต่ละหมวดธาตุ
หลักการลงและไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุในแต่ละหมวดธาตุ
๑.หมวด ภู ธาตุ
หมวด ภู ธาตุกาํ หนดให้ลง อ ปัจจัยประจําหมวดธาตุเมื่อต้องพฤทธิ์สระ
ต้นธาตุ แต่เมื่อไม่มีเหตุให้พฤทธิ์สระต้นธาตุกไ็ ม่ตอ้ งลง อ ปัจจัย
๑) ตัวอย่างกิรยิ าที่ไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
หุ+ตฺวา =หุตวฺ า เป็ นแล้ว ไม่พฤทธิ์สระ
อติ+สิ+ตฺวา =อติสติ วฺ า ล่วงเลยแล้ว ไม่พฤทธิ์สระ
ชิ+ตฺวา =ชิตวฺ า ชนะแล้ว ไม่พฤทธิ์สระ
=เชตฺวา ชนะแล้ว ไม่พฤทธิ์สระ
๒) ตัวอย่างกิรยิ าที่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
ภู+อ+อิ+ตฺวา =ภวิตวฺ า เป็ นแล้ว พฤทธิ์ อู เป็ น ว
สี+อ+อิ+ตฺวา =สยิตวฺ า นอนแล้ว พฤทธิ์ อี เป็ น ย
๒. หมวด รุธ ธาตุ
หมวด รุธ ต้องลง อ, เอ ปัจจัยประจําหมวดธาตุ และต้องลงนิ คคหิต
อาคมกลางธาตุ แล้วแปลงนิ คคหิตเป็ นพยัญชนะที่สุดวรรคของพยัญชนะ
ที่สดุ ธาตุ (อ ปัจจัยและนิ คคหิตอาคมจะมาคู่กนั เสมอ)
มุจ+อ+อิ+ตฺวา =มุญเฺ จตฺวา ปล่อยแล้ว แปลงนิ คคหิตเป็ น ญฺ
รุธ+อ+อิ+ตฺวา =รุนฺธติ วฺ า ปิ ดแล้ว แปลงนิ คคหิตเป็ น นฺ
ลิป+อ+อิ+ตฺวา =ลิมปฺ ิ ตวฺ า ฉาบแล้ว แปลงนิ คหิตเป็ น มฺ
หลักการเกี่ยวกับการลงนิ คคหิตเหมือนกันกับอาขยาต (ทบทวนอาขยาต)
๓. หมวด ทิว ธาตุ
หมวด ทิว ต้องลง ย ปัจจัยประจําหมวดธาตุแล้วแปลง ย กับที่สุดธาตุ
เป็ นอย่างอืน่ แต่ถา้ เป็ นเอกสระธาตุคง (ย) ไว้
ทิว+ย+อิ+ตฺวา =ทิพฺพติ วฺ า เล่นแล้ว
ขี+ย+อิ+ตฺวา =ขียติ วฺ า สิ้นไปแล้ว
หลักการแปลง ย ปัจจัยกับที่สดุ ธาตุเป็ นอย่างอืน่ เหมือนกันกับอาขยาต
๔. หมวด สุ ธาตุ
ธาตุหมวด สุ ลง ณุ , ณา, อุณา ปัจจัยประจําหมวดธาตุบา้ ง ไม่ลงบ้าง
การลงปัจจัยประจําหมวดธาตุเป็ นเงื่อนไขในการลง อิ อาคมเท่านั้นเอง ถ้า
ไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ม่ตอ้ งลง อิ อาคม
๑) ตัวอย่างกิรยิ าที่ไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
สุ+ตฺวา =สุตวฺ า ฟังแล้ว ไม่ลง ณา ปัจจัย
อป+ตฺวา =ปตฺวา ถึงแล้ว ไม่ลง ณา ปัจจัย
๒) ตัวอย่างกิรยิ าที่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
สุ+ณา+อิ+ตฺวา =สุณิตวฺ า ฟังแล้ว ลง ณา ปัจจัย
ป+หิ+ณา+อิ+ตฺวา =ปหิณิตวฺ า ส่งไปแล้ว ลง ณา ปัจจัย
ป+อป+อุณา+อิ+ตฺวา =ปาปุณิตวฺ า บรรลุแล้ว ลง อุณา ปัจจัย
๕.หมวด กี ธาตุ
ธาตุหมวด กี ลง นา ปัจจัยประจําหมวดธาตุบา้ ง ไม่ ลงบ้าง ปัจจัยใน
หมวดนี้ ไม่มีอาํ นาจพฤทธิ์ตน้ ธาตุ การลงปัจจัยประจําหมวดธาตุเป็ นเงือ่ นไข
ให้ในการลง อิ อาคมเท่านั้นเอง ถ้าไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ม่ตอ้ งลง
อิ อาคม
๑) ตัวอย่างกิรยิ าที่ไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
ชิ+ตฺวา =ชิตวฺ า, เชตฺวา ชนะแล้ว ไม่ลง นา ปัจจัย
ญา+ตฺวา =ญตฺวา รูแ้ ล้ว ไม่ลง นา ปัจจัย
๒) ตัวอย่างกิรยิ าที่ลงปัจจัยประหมวดธาตุ
ชิ+นา+อิ+ตฺวา =ชินิตวฺ า ชนะแล้ว ลง นา ปัจจัย
ญา>ชา+นา+อิ+ตฺวา =ชานิ ตวฺ า รูแ้ ล้ว ลง นา ปัจจัย
๖.หมวด คห ธาตุ
ธาตุหมวด คหจะลง ณฺ หา ปัจจัยประจําหมวดธาตุก็ได้ ไม่ลงก็ได้ ถ้าลง
ณฺ หา ปัจจัยต้องลบ ห ที่ คห ทิ้ง และต้องลง อิ อาคมหน้าตู นาทิปจั จัย
เนื่ องจากเป็ นอเนกสระธาตุ
๑) ตัวอย่างกิรยิ าที่ไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
คห+อิ+ตฺวา =คเหตฺวา จับแล้ว, รับแล้ว
๒) ตัวอย่างกิรยิ าที่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
คห+ณฺ หา+อิ+ตฺวา =คณฺ หติ วฺ า จับแล้ว, รับแล้ว
๗.หมวด ตน ธาตุ
ส่วนธาตุหมวด ตน ธาตุไม่ตอ้ งลง โอ ปัจจัยประจําหมวดธาตุไม่ว่ากรณี
ใด ๆ ตาม
กร+อิ+ตฺวา =กริตวฺ า ทําแล้ว
ชาคร+อิ+ตฺวา =ชาคริตวฺ า ตื่นแล้ว
๘.หมวด จุร ธาตุ
ธาตุหมวด จุร ต้องลง เณ, ณย ปัจจัยประจําหมวดธาตุทุกครัง้ เพื่อ
พฤทธิ์สระต้นธาตุมีรายละเอียดดังนี้
๑) ถ้าสระต้นธาตุมีเสียงสัน้ (อ, อิ, อุ) ไม่มีพยัญชนะสังโยคอยู่หลัง ให้
พฤทธิ์สระต้นธาตุ
๒) ถ้าลง ณย ปัจจัยให้ลง อิ อาคม
จุร+ณย+อิ+ตฺวา =โจรยิตวฺ า ลักแล้ว
ปุส+ณย+อิ+ตฺวา =โปสยิตวฺ า เลี้ยงแล้ว
ปุถ+ณย+อิ+ตฺวา =โปถยิตวฺ า โบยแล้ว
๓) ถ้าลง เณ ปัจจัยไม่ตอ้ งลง อิ อาคม
จุร+เณ+ตฺวา =โจเรตฺวา ลักแล้ว
ปุส+เณ+ตฺวา =โปเสตฺวา เลี้ยงแล้ว
๔) ธาตุท่ีมีพยัญชนะสังโยคอยู่หลังพยัญชนะต้นธาตุหรือธาตุท่ีสระต้น
ธาตุมีเสียงยาวไม่พฤทธิ์สระต้นธาตุ แต่ตอ้ งลงปัจจัยหมวดธาตุดว้ ย (ต่าง
จากหมวด ภู ธาตุท่ลี ง อ ปัจจัยเมื่อต้องพฤทธิ์สระต้นธาตุ เมื่อไม่พฤทธิ์สระ
ก็ไม่ตอ้ งลง อ ปัจจัย)
จินฺต+ณย+อิ+ตฺวา =จินฺตยิตวฺ า คิดแล้ว
ปาล+ณย+อิ+ตฺวา =ปาลยิตวฺ า รักษาแล้ว
๕) ธาตุบางตัวไม่พฤทธิ์สระธาตุตามความนิ ยมของเจ้าของภาษา
กถ+ณย+อิ+ตฺวา =กถยิตวฺ า กล่าวแล้ว
คณ+ณย+อิ+ตฺวา =คณยิตวฺ า นับแล้ว
หลักเกณฑ์การลงและไม่ลง อิ อาคม
หน้าตูนาทิปจั จัย
รูปสําเร็จของกิริยากิตก์ท่ีลงตูนาทิปจั จัย ลง อิ อาคมบ้าง ไม่ตอ้ งลงบ้าง
ทัง้ นี้ ขึ้นอยู่กบั ลักษณะของธาตุและการลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ มีลกั ษณะ
ที่พอกําหนดได้ดงั นี้
๑.เงือ่ นไขการลง อิ อาคม มี ๓ ประการ คือ
๑) อเนกสระธาตุท่ีไม่ลบหรือไม่แปลงที่สุดธาตุตอ้ งลง อิ อาคมหลังธาตุ
หน้าตูนาทิปจั จัย เช่น
ครห+อิ+ตฺวา =ครหิตวฺ า ตําหนิ แล้ว
ชาคร+อิ+ตฺวา =ชาคริตวฺ า ตื่นแล้ว
๒) เอกสระธาตุท่ีทําเป็ นเทวภาวะต้องลง อิ อาคมหลังธาตุหน้าตูนาทิ
ปัจจัย
ทา>ททา+อิ+ตฺวา =ททิตวฺ า ให้แล้ว, ถวายแล้ว
หา>ชหา+อิ+ตฺวา =ชหิตวฺ า ละแล้ว, สละแล้ว
๓) เมื่อลง ย ณุ ณา อุณา นา ณฺ หา ณย ปัจจัยประจําหมวดธาตุตอ้ งลง
อิ อาคมหน้าตูนาทิปจั จัย
นฺ หา+ย+อิ+ตฺวา =นฺ หายิตวฺ า อาบแล้ว
สุ+ณา+อิ+ตฺวา =สุณิตวฺ า ฟังแล้ว
ป+อป+อุณา+อิ+ตฺวา =ปาปุณิตวฺ า บรรลุแล้ว
กี+นา+อิ+ตฺวา =กีณิตวฺ า ซื้อแล้ว
คห+ณฺ หา+อิ+ตฺวา =คณฺ หติ วฺ า จับแล้ว
กถ+ณย+อิ+ตฺวา =กถยิตวฺ า กล่าวแล้ว
๔) อิ อาคมแปลงเป็ น เอ ได้ตามสมควร กรณี น้ ี ลง อิ อาคมแต่แปลงเป็ น
อย่างอืน่
คห+อิ+ตฺวา =คเหตฺวา จับแล้ว
๒.เงือ่ นไขการไม่ลง อิ อาคม มี ๔ ประการ คือ
๑) เอกสระธาตุ (บางธาตุ) ที่ไม่ได้ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ ไม่ตอ้ งลง อิ
อาคมหน้าตูนาทิปจั จัย
ทา+ตฺวา =ทตฺวา ให้แล้ว
ชิ+ตฺวา =ชิตวฺ า ชนะแล้ว
สุ+ตฺวา =สุตวฺ า ฟังแล้ว
ญา+ตฺวา =ญตฺวา รูแ้ ล้ว
๒) อเนกสระธาตุท่แี ปลงที่สดุ ธาตุเป็ นอย่างอืน่ แล้ว ไม่ตอ้ งลง อิ อาคม
หน+ตฺวา =หนฺ ตวฺ า ฆ่าแล้ว (แปลง น เป็ น นฺ )
คม+ตฺวา =คนฺ ตวฺ า ไปแล้ว (แปลง ม เป็ น นฺ )
มน+ตฺวา =มนฺ ตวฺ า รูแ้ ล้ว (แปลง น เป็ น นฺ )
ขม+ตฺวา =ขนฺ ตวฺ า ขุดแล้ว (แปลง ม เป็ น นฺ )
๓) อเนกสระธาตุบางตัวเมื่อลบที่สดุ ธาตุไม่ตอ้ งลง อิ อาคม เช่น
กร+ตฺวา =กตฺวา ทําแล้ว (ลบ ร)
ภุช+ตฺวา =ภุตวฺ า กินแล้ว (ลบ ช)
สิจ+ตฺวา =สิตวฺ า วิดแล้ว, รดแล้ว (ลบ จ)
วท+ตฺวา =วตฺวา กล่าวแล้ว (ลบ ท)
วิธกี ารประกอบตูนาทิปจั จัย
โดยไม่ลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ
๑.เอกสระธาตุ (บางตัว) ที่เป็ นสระ อิ, อุ, เอ ลง ตฺวา ปัจจัยก็สาํ เร็จเป็ น
กิรยิ าได้อย่างง่าย ๆ เช่น
ชิ+ตฺวา =ชิตวฺ า ชนะแล้ว
นิ +สิ+ตฺวา =นิ สฺสติ วฺ า อาศัยแล้ว
อติ+สิ+ตฺวา =อติสติ วฺ า ล่วงเลยแล้ว
เฉ+ตฺวา =เฉตฺวา ตัดแล้ว
หุ+ตฺวา =หุตวฺ า เป็ นแล้ว
สุ+ตฺวา =สุตวฺ า ฟังแล้ว
หา+ตฺวา =หิตวฺ า ละแล้ว (แปลง อา เป็ น อิ)
๒.เอกสระธาตุ (บางธาตุ) ที่เป็ นสระ อา ต้องรัสสะ อา เป็ น อ แล้วจึงลง
ตฺวา ปัจจัย เช่น
ทา+ตฺวา =ทตฺวา ให้แล้ว
ญา+ตฺวา =ญตฺวา รูแ้ ล้ว
ฐา+ตฺวา =ฐตฺวา ยืนแล้ว
ฆา+ตฺวา =ฆตฺวา สูดดมแล้ว
เฉพาะ นฺ หา (อาบ) ธาตุจะรัสสะ อา เป็ น อ หรือไม่กไ็ ด้
นฺ หา+ตฺวา =นฺ หาตฺวา อาบแล้ว
=นฺ หตฺวา (แบบที่รสั สะ อา พบในฎีกา)
๓.อเนกสระธาตุมี ม, น เป็ นที่สุด (บางธาตุ) แปลงเป็ น นฺ ไม่ตอ้ งลง
ปัจจัยประจําหมวดธาตุ
หน+ตฺวา =หนฺ ตวฺ า ฆ่าแล้ว
คม+ตฺวา =คนฺ ตวฺ า ไปแล้ว
มน+ตฺวา =มนฺ ตวฺ า รูแ้ ล้ว
ขม+ตฺวา =ขนฺ ตวฺ า ขุดแล้ว
๔.อเนกสระธาตุมี จ ช ท ป เป็ นที่สดุ ลบที่สดุ ธาตุ ไม่ตอ้ งลงปัจจัยประจํา
หมวดธาตุ (โดยมากอยู่ในหมวด รุธ และ ทิว) เช่น
มุจ+ตฺวา =มุตวฺ า เปล่งแล้ว (คําพูด)
ภุช+ตฺวา =โภตฺวา กินแล้ว (สํ.ส ๑๘/๑๓๐/๘๙)
จช+ตฺวา =จตฺวา สละแล้ว
ฉิ ท+ิ ตฺวา =เฉตฺวา ตัดแล้ว
ภิท+ตฺวา =เภตฺวา ทําลายแล้ว
ป+อป+ตฺวา =ปตฺวา ถึงแล้ว
๕.เฉพาะ กร ธาตุ ให้ลงที่สดุ ไม่ตอ้ งลงปัจจัยประจําหมวดธาตุ เช่น
กร+ตฺวา =กตฺวา ทําแล้ว
ตัวอย่างการประกอบตูนาทิปจั จัย
ในธาตุ ๘ หมวด
๑.ธาตุหมวด ภู ธาตุ ลง อ ปัจจัยบ้าง ไม่ลงบ้างเงื่อนไขขึ้นอยู่กบั ว่ามีการ
พฤทธิ์สระต้นธาตุหรือไม่ ถ้าพฤทธิ์ตอ้ งลงปัจจัย เช่น
หุ+ตฺวา =หุตวฺ า เป็ นแล้ว
ชิ+ตฺวา =ชิตวฺ า ชนะแล้ว
หา>หิ+ตฺวา =หิตวฺ า ละแล้ว
ภู+อ+อิ+ตฺวา =ภวิตวฺ า เป็ นแล้ว
ชิ+อ+อิ+ตฺวา =เชตฺวา ชนะแล้ว
วิ+จิ+อ+อิ+ตฺวา =วิเจตฺวา เลือกแล้ว
อุป+อิ+อ+อิ+ตฺวา =อุเปตฺวา เข้าถึงแล้ว
สํ+อุ+สิ+อ+อิ+ตฺวา =สมุสฺเสตฺวา ยกขึ้นแล้ว
สี+อ+อิ+ตฺวา =สยิตวฺ า นอนแล้ว
นี +อ+อิ+ตฺวา =นยิตวฺ า นํ าไปแล้ว
จุ+อ+อิ+ตฺวา =จวิตวฺ า เคลือ่ นแล้ว
รุ+อ+อิ+ตฺวา =รวิตวฺ า ร้องแล้ว
รุท+อ+อิ+ตฺวา =โรทิตวฺ า ร้องให้แล้ว
อา+กุส+อ+อิ+ตฺวา =อกฺโกสิตวฺ า ด่าแล้ว
สิว+อ+อิ+ตฺวา =เสวิตวฺ า คบแล้ว
ป+มุท+อ+อิ+ตฺวา =ปโมทิตวฺ า บันเทิงแล้ว
วิ+รุจ+อ+อิ+ตฺวา =วิโรจิตวฺ า รุง่ เรืองแล้ว
ติม+อ+อิ+ตฺวา =เตเมตฺวา เปี ยกแล้ว
ทา+ตฺวา =ทตฺวา ให้แล้ว
ธา+ตฺวา =ธตฺวา ทรงไว้แล้ว
ธาตุมี ม เป็ นที่สดุ ลบที่สดุ ธาตุบา้ ง ไม่ลบบ้าง
นม+อิ+ตฺวา =นมิตวฺ า นอบน้อมแล้ว
นม+ตฺวา =นตฺวา นอบน้อมแล้ว
รูป นตฺวา พบในคัมภีรช์ น้ั อรรถกถา ฎีกา และโยชนา
ธาตุมี ท เป็ นที่สดุ ลบที่สดุ ธาตุบา้ ง ไม่ลบบ้าง
วท+ตฺวา =วตฺวา กล่าวแล้ว
วท+อิ+ตฺวา =วทิตวฺ า กล่าวแล้ว
ธาตุมี ม, น เป็ นที่สดุ ลบที่สดุ ธาตุกไ็ ด้ ไม่ลบก็ได้
คม+ตฺวา =คนฺ ตวฺ า ไปแล้ว
คม+อิ+ตฺวา =คมิตวฺ า ไปแล้ว
หน+ตฺวา =หนฺ ตวฺ า ฆ่าแล้ว
หน+อิ+ตฺวา =หนิ ตวฺ า ฆ่าแล้ว
ขน+ตฺวา =ขนฺ ตวฺ า ขุดแล้ว
เฉพาะ หน ธาตุในความฆ่า แปลง หน เป็ น ฆ ก็ได้ คงรูปก็ได้
หน+ตฺวา =ฆตฺวา ฆ่าแล้ว
อเนกสระธาตุในหมวด ภู ธาตุท่ไี ม่เข้าเกณฑ์ดงั กล่าวมาแล้ว ให้ลง อิ
อาคม หน้า ตฺวา ปัจจัยได้เลย
กิลมุ+อิ+ตฺวา =กิลมิตวฺ า ลําบากแล้ว (เหนื่ อย)
ครห+อิ+ตฺวา =ครหิตวฺ า ตําหนิ แล้ว
วายม+อิ+ตฺวา =วายมิตวฺ า พยายามแล้ว
ธาตุท่มี ีสระ อิ อยู่ท่พ
ี ยัญชนะที่สดุ ธาตุลงนิ คคหิตอาคมกลางธาตุแล้ว
แปลงนิ คคหิตเป็ นพยัญชนะที่สดุ วรรคของพยัญชนะที่สดุ ธาตุน้นั
ปิ ลธิ+อิ+ตฺวา =ปิ ลนฺ ธติ วฺ า ประดับแล้ว
ลฆิ+อิ+ตฺวา =ลงฆิตวฺ า กระโดดแล้ว
กติ+อิ+ตฺวา =กนฺ ตติ วฺ า กรอแล้ว
ธาตุท่ที าํ เทวภาวะธาตุกอ่ นลง ตฺวา ปัจจัย ให้ลง อิ อาคมเสมอ
ทา+อิ+ตฺวา =ททิตวฺ า ให้แล้ว (ทา>ททา)
หา+อิ+ตฺวา =ชหิตวฺ า ละแล้ว (หา>ชหา)
ปา+อิ+ตฺวา =ปิ วติ วฺ า ดื่มแล้ว (ปา>ปิ ว)
ปริ+ธา+อิ+ตฺวา =ปริทหิตวฺ า นุ่ งห่มแล้ว (ธา>ทห)
ปิ +ธา+อิ+ตฺวา =ปิ ทหิตวฺ า ปิ ดแล้ว (ธา>ทห)
กม+อิ+ตฺวา =จงฺกมิตวฺ า จงกรมแล้ว (กกม>จกม)
กิต+ฉ+อิ+ตฺวา =ติกจิ ฺฉิตวฺ า เยียวยาแล้ว (กิกติ >ติกติ >ติกจิ ฺฉ)
มาน+ส+อิ+ตฺวา =วีมสํ ติ วฺ า พิจารณาแล้ว (มามาน>มีมาน>วีมาน>วีม)ํ
ธาตุท่ีตอ้ งแปลงรูปก่อนให้ใช้วิธีเดียวกันกับอาขยาต จากนั้นจึงลง อิ
อาคมหน้า ตฺวา ปัจจัย เช่น
ทิส+อิ+ตฺวา =ปสฺสติ วฺ า, ทิสฺวา เห็นแล้ว
หน+อิ+ตฺวา =ฆาติตวฺ า, วธิตวฺ า ฆ่าแล้ว
นิ +สท+อิ+ตฺวา =นิ สที ติ วฺ า นัง่ แล้ว
ธาตุท่ีมีสระ เอ เป็ นที่สุดให้แปลง เอ เป็ น อาย ก่อนแล้วลง อิ อาคม
หน้า ตฺวา ปัจจัย
มิเล+สท+อิ+ตฺวา =มิลายิตวฺ า เหีย่ วแล้ว
ปเล+อิ+ตฺวา =ปลายิตวฺ า หนี ไปแล้ว
เอกสระธาตุในหมวด ภู ธาตุท่ไี ม่นิยมลงปัจจัยประจําหมวดมี ๖ คือ
หุ ในความมี, เป็ น
ชิ ในความชนะ (ธาตุน้ ี อยู่ในหมวด ภู และหมวด กี)
สิ ในความไป, รุง่ เรือง
หา ในความละ
ทา ให้ความให้
ธา ให้ความทรงไว้
อเนกสระธาตุในหมวด ภู ธาตุท่ไี ม่นิยมลงปัจจัยประจําหมวดมี ๕ คือ
นม ในความนอบน้อม
วท ในความกล่าว
คม ในความไป
หน ในความฆ่า
ขน ในความขุด
๒.ธาตุหมวด รุธ ธาตุลงปัจจัยประจําหมวดธาตุและลงนิ คคหิตอาคมกลาง
ธาตุ จากนั้นให้แปลงนิ คคหิตเป็ นพยัญชนะที่สุดวรรคของพยัญชนะที่สุด
ธาตุกอ่ นลง ตฺวา ปัจจัย เช่น
รุธ+อ+อิ+ตฺวา =รุนฺธติ วฺ า ปิ ดแล้ว
มุจ+อ+อิ+ตฺวา =มุญจฺ ติ วฺ า ปล่อยแล้ว
ภุช+อ+อิ+ตฺวา =ภุญชฺ ิตวฺ า กินแล้ว
ภิท+อ+อิ+ตฺวา =ภินฺทติ วฺ า ทําลายแล้ว
ลิป+อ+อิ+ตฺวา =ลิมปฺ ิ ตวฺ า ฉาบแล้ว
สิจ+อ+อิ+ตฺวา =สิญจฺ ติ วฺ า รดแล้ว
ธาตุหมวดนี้ ที่มี จ ช เป็ นที่สดุ ให้ลบที่สดุ ธาตุได้บา้ ง
ภุช+ตฺวา =ภุตวฺ า กินแล้ว
ภุช+ตฺวา =โภตฺวา กินแล้ว
สิจ+ตฺวา =สิตวฺ า รดแล้ว, วิดแล้ว
ธาตุในหมวด รุธ ที่ไม่ตอ้ งลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ด้มี ๕ ตัว คือ
สิจ ในความราด, รด, วิด
มุจ ในความปล่อย, เปล่ง
ภุช ในความกิน
ฉิ ท ในความตัด
ภิท ในความตี, ต่อย, ทําลาย
๓.ธาตุหมวด ทิวฺ ธาตุตอ้ งลง ย ปัจจัยก่อนเสมอ จากนั้นแปลง ย ปัจจัย
กับที่สุดธาตุเป็ นอย่างอื่น (แปลงเป็ นอย่างอื่นในที่น้ ี หมายถึงแปลงตาม
หลักการแปลง ย เหมือนในอาขยาต) เช่น
ทิว+ย+อิ+ตฺวา =ทิพฺพติ วฺ า เล่นแล้ว
สิว+ย+อิ+ตฺวา =สิพฺพติ วฺ า เย็บแล้ว
พุธ+ย+อิ+ตฺวา =พุชฺฌติ วฺ า ตรัสรูแ้ ล้ว
มุห+ย+อิ+ตฺวา =มุยหฺ ติ วฺ า หลงแล้ว
มุส+ย+อิ+ตฺวา =มุสฺสติ วฺ า ลืมแล้ว
กุธ+ย+อิ+ตฺวา =กุชฺฌติ วฺ า โกรธแล้ว
ตป+ย+อิ+ตฺวา =ตปฺปิตวฺ า เดือดร้อนแล้ว
มท+ย+อิ+ตฺวา =มชฺ ชิตวฺ า เมาแล้ว
กุป+ย+อิ+ตฺวา =กุปปฺ ิ ตวฺ า โกรธแล้ว
นต+ย+อิ+ตฺวา =นจฺจติ วฺ า ฟ้ อนแล้ว
ตุส+ย+อิ+ตฺวา =ตุสฺสติ วฺ า ยินดีแล้ว
กิลสิ +ย+อิ+ตฺวา =กิลสิ ฺสติ วฺ า เศร้าหมองแล้ว
ทิป+ย+อิ+ตฺวา =ทิปปฺ ิ ตวฺ า รุง่ เรืองแล้ว
ทา ธาตุม่มี ี อา อุปสัคเป็ นบทหน้าให้แปลง อา ที่ ทา เป็ น อิ เช่น
สํ+อา+ทา+ยิ+ตฺวา =สมาทิยติ วฺ า สมาทานแล้ว
เฉพาะ ชน ธาตุให้แปลงที่สุดธาตุ (น) เป็ น อา แล้วลง ย ปัจจัยและ
อิ อาคมหน้า ตฺวา เช่น
ชน>ชา+ย+อิ+ตฺวา =ชายิตวฺ า เกิดแล้ว
วิ+ชน>ชา+ย+อิ+ตฺวา =วิชายิตวฺ า คลอดแล้ว
เอกสระธาตุท่ลี งท้ายด้วยสระ อา อิ อี คง ย ไว้
ขี+ย+อิ+ตฺวา =ขียติ วฺ า สิ้นไปแล้ว
ขา+ย+อิ+ตฺวา =ขายิตวฺ า ปรากฏแล้ว, เคี้ยวแล้ว
นฺ หา+ย+อิ+ตฺวา =นฺ หายิตวฺ า อาบแล้ว
นฺ หา+ตฺวา =นฺ หาตฺวา อาบแล้ว (นฺ หา ไม่ลง ย ก็มี)
โอ+หา>หิ+ย+อิ+ตฺวา =โอหิยติ วฺ า ล้าแล้ว
ป+ญา+ย+อิ+ตฺวา =ปญฺญายิตวฺ า ปรากฏทัว่ แล้ว
นิ +ลี+ย+อิ+ตฺวา =นิ ลยี ติ วฺ า หลีกเร้นแล้ว
นิ +วา+ย+อิ+ตฺวา =นิ พฺพายิตวฺ า ปรินิพพานแล้ว
ฆา+ย+อิ+ตฺวา =ฆายิตวฺ า สูดดมแล้ว
อนฺ ตร+ธา+ย+อิ+ตฺวา =อนฺ ตรธายิตวฺ า หายไปแล้ว
ปริ+หา+ย+อิ+ตฺวา =ปริหายิตวฺ า เสือ่ มแล้ว
คา+ย+อิ+ตฺวา =คายิตวฺ า ขับร้องแล้ว
สา+ย+อิ+ตฺวา =สายิตวฺ า ชิมแล้ว
ธาตุหมวดนี้ ที่มี จ ท เป็ นที่สดุ ให้ลบที่สดุ ธาตุบา้ งก็ได้
ฉิ ท+ตฺวา =เฉตฺวา ขาดแล้ว
ภิท+ตฺวา =เภตฺวา แตกแล้ว
มุจ+ตฺวา =มุตวฺ า พ้นแล้ว
๔.ธาตุหมวด สุ ธาตุลงปัจจัยประจําหมวดธาตุบา้ ง ไม่ลงบ้าง ถ้าลงปัจจัย
ประจําหมวดธาตุตอ้ งลง อิ อาคมที่ทา้ ยปัจจัยด้วย เช่น
สุ+ณา+อิ+ตฺวา =สุณิตวฺ า ฟังแล้ว
สุ+ตฺวา =สุตวฺ า ฟังแล้ว
วุ+ณา+อิ+ตฺวา =วุณิตวฺ า ร้อยแล้ว
สิ+ณา+อิ+ตฺวา =สิณิตวฺ า ผูกแล้ว
ป+หิ+ณา+อิ+ตฺวา =ปหิณิตวฺ า ส่งไปแล้ว
สกฺก+อุณา+อิ+ตฺวา =สกฺกณ ุ ิ ตวฺ า อาจแล้ว
อา+วุ+ณา+อิ+ตฺวา =อาวุณิตวฺ า ร้อยแล้ว
ปริ+ย+อป+อุณา+อิ+ตฺวา =ปริยาปุณิตวฺ า เรียนแล้ว
อภิ+สมฺภ+ุ อุณา+อิ+ตฺวา =อภิสมฺภณ ุ ิ ตวฺ า บรรลุแล้ว
ป+อป+อุณา+อิ+ตฺวา =ปาปุณิตวฺ า บรรลุแล้ว
ธาตุในหมวด สุ ธาตุท่ไี ม่ตอ้ งลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ด้มี ๒ ตัว
๑)สุ ในความฟัง
๒)อป ในความถึง
๕.ธาตุหมวด กี ธาตุลงปัจจัยประจําหมวดธาตุบา้ ง ไม่ลงบ้าง ถ้าลงปัจจัย
ประจําหมวดธาตุตอ้ งตามด้วย อิ อาคม เช่น
กี+นา+อิ+ตฺวา =กีนิตวฺ า ซื้อแล้ว
วิ+กี+นา+อิ+ตฺวา =วิกกฺ นี ิ ตวฺ า ขายแล้ว
ชิ+นา+อิ+ตฺวา =ชินิตวฺ า ชนะแล้ว
ปรา+ชิ+นา+อิ+ตฺวา =ชินิตวฺ า แพ้แล้ว
ชิ+ตฺวา =ชิตวฺ า ชนะแล้ว
วิ+ชิ+นา+อิ+ตฺวา =วิชินิตวฺ า ชนะวิเศษแล้ว
ธุ+นา+อิ+ตฺวา =ธุนิตวฺ า กําจัดแล้ว
จิ+นา+อิ+ตฺวา =จินิตวฺ า สัง่ สมแล้ว
ลุ+นา+อิ+ตฺวา =ลุนิตวฺ า ตัดแล้ว
ญา+นา+อิ+ตฺวา =ชานิ ตวฺ า รูแ้ ล้ว
ญา+ตฺวา =ญตฺวา รูแ้ ล้ว
โอ+ผุ>ปุ+นา+อิ+ตฺวา =โอปุนิตวฺ า โปรยแล้ว
โอ+ผุ+นา+อิ+ตฺวา =โอผุนิตวฺ า ฝัดแล้ว
นิ +ถุ+นา+อิ+ตฺวา =นิ ตถฺ นุ ิ ตวฺ า ทอดถอนแล้ว
อนุ +ถุ+นา+อิ+ตฺวา =อภิตถฺ นุ ิ ตวฺ า สะอื้นแล้ว
อภิ+ถุ+นา+อิ+ตฺวา =อภิตถฺ นุ ิ ตวฺ า ชมเชยแล้ว
นิ +มา>มิ+นา+อิ+ตฺวา =นิ มมฺ ินิตวฺ า เนรมิตแล้ว
มา>มิ+นา+อิ+ตฺวา =มินิตวฺ า นับแล้ว
วิ+นิ +ฉิ +นา+อิ+ตฺวา =วินิจฺฉินิตวฺ า วินิจฉัยแล้ว
นิ +ฉิ +นา+อิ+ตฺวา =นิ จฺฉินิตวฺ า ติดสินแล้ว
ธาตุในหมวด กี ธาตุท่ไี ม่ตอ้ งลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ด้มี ๒ ตัวคือ
๑)ชิ ในความชนะ
๒)ญา ในความรู ้
๖.ธาตุหมวด คหฺ ธาตุจะลงปัจจัยประจําหมวดธาตุกไ็ ด้ ไม่ลงก็ได้ ถ้าลง ณฺ หา
ปัจจัยต้องลบ ห ที่ คห ธาตุท้ งิ เสียแล้วลง อิ อาคมหน้า ตฺวา ปัจจัย เช่น
คห+ณฺ หา+อิ+ตฺวา =คณฺ หติ วฺ า ถือเอาแล้ว
คห+อิ>เอ+ตฺวา =คเหตฺวา ถือเอาแล้ว
นิ +คห+อิ+ตฺวา =นิ คคฺ หิตวฺ า ข่มแล้ว
ปริ+คห+อิ+ตฺวา =ปริคคฺ หิตวฺ า กําหนดแล้ว
สํ+คห+อิ+ตฺวา =สงฺคหิตวฺ า สงเคราะห์แล้ว
อนุ +คห+อิ+ตฺวา =อนุ คคฺ หิตวฺ า อนุ เคราะห์แล้ว
อุ+คห+อิ+ตฺวา =อุคคฺ หิตวฺ า เรียนแล้ว
๗.ธาตุหมวด ตน ธาตุไม่ ตอ้ งลงปัจจัยประจําหมวดธาตุก่อนลง ตฺวา
ปัจจัย เช่น
ตน+อิ+ตฺวา =ตนิ ตวฺ า แผ่ไปแล้ว
กร+อิ+ตฺวา =กริตวฺ า, กตฺวา ทําแล้ว
สกฺก+อิ+ตฺวา =สกฺกติ วฺ า อาจแล้ว
ชาคร+อิ+ตฺวา =ชาคริตวฺ า ตื่นแล้ว
๘.ธาตุหมวด จุร ธาตุตอ้ งลง เณ ณย ปัจจัยก่อนลง ตฺวา ปัจจัยเสมอ เฉพาะ
ณย ปัจจัยต้องลง อิ อาคมด้วย ส่วน เณ ปัจจัยไม่ตอ้ งลง อิ อาคม ถ้าสระ
ต้นธาตุมีเสียงสัน้ ให้พฤทธิ์สระต้นธาตุเหมือนกับอาขยาต เช่น
อเนกสระธาตุท่ขี ้ ึนต้นด้วยสระ อุ พฤทธิ์ อุ เป็ น โอ
ฆุส+ณย+อิ+ตฺวา =โฆสยิตวฺ า ประกาศแล้ว
จุร+เณ+ตฺวา =โจเรตฺวา ลักแล้ว
คุป+เณ+ตฺวา =โคเปตฺวา รักษาแล้ว
รุป+เณ+ตฺวา =โรเปตฺวา ปลูกแล้ว
จุท+เณ+ตฺวา =โจเทตฺวา ท้วงแล้ว
อเนกสระธาตุท่ขี ้ ึนต้นด้วยสระ อ พฤทธิ์ อ เป็ น อา
อภิ+วที+เณ+ตฺวา =อภิวาเทตฺวา ไหว้แล้ว
อภิ+วที+ณย+อิ+ตฺวา =อภิวาทยิตวฺ า ไหว้แล้ว
ฌป+เณ+ตฺวา =ฌาเปตฺวา เผาแล้ว
ฌป+ณย+อิ+ตฺวา =ฌาปยิตวฺ า เผาแล้ว
ปห+เณ+ตฺวา =ปาเหตฺวา ส่งไปแล้ว
ปห+ณย+อิ+ตฺวา =ปาหยิตวฺ า ส่งไปแล้ว
ฉท+เณ+ตฺวา =ฉาเทตฺวา มุงบังแล้ว
ฉท+ณย+อิ+ตฺวา =ฉาทยิตวฺ า มุงบังแล้ว
อเนกสระธาตุท่ขี ้ ึนต้นด้วยสระ อิ พฤทธิ์ อิ เป็ น เอ
ทิส+ณย+อิ+ตฺวา =เทเสตฺวา แสดงแล้ว
(แสดงสิง่ ที่เป็ นนามธรรม)
=ทสฺเสตฺวา แสดงแล้ว
(แสดงสิง่ ที่เป็ นรูปธรรม)
ปิ ส+ณย+อิ+ตฺวา =เปสยิตวฺ า ส่งไปแล้ว
ป+วิท+เณ+ตฺวา =ปเวเทตฺวา ประกาศแล้ว, แสดงแล้ว
ธาตุท่ีมีพยัญชนะสังโยคอยู่หลังพยัญชนะต้นธาตุให้ลง ตฺวา ปัจจัย
ได้เลยไม่ตอ้ งพฤทธิ์
มนฺ ต+เณ+ตฺวา =มนฺ เตตฺวา ปรึกษาแล้ว
สํ+ลกฺข+เณ+ตฺวา =สลฺลกฺเขตฺวา กําหนดแล้ว
จินฺต+เณ+ตฺวา =จินฺเตตฺวา คิดแล้ว
ฉฑฺฑ+เณ+ตฺวา =ฉฑฺเฑตฺวา ทิ้งแล้ว
ปริ+วชฺ ช+เณ+ตฺวา =ปริวชฺ เชตฺวา เว้นแล้ว
ปริ+วชฺ ช+ณย+ตฺวา =ปริวชฺ ชยิตวฺ า เว้นแล้ว
ตชฺ ช+เณ+ตฺวา =ตชฺ เชตฺวา คุกคามแล้ว
ธาตุท่ี มี สระต้นธาตุเป็ นเสียงยาวให้ลง ตฺ วา ปัจจัยได้เลยไม่ ต อ้ ง
พฤทธิ์
ปาล+ณย+อิ+ตฺวา =ปาลยิตวฺ า รักษาแล้ว
ภาช+เณ+ตฺวา =ภาเชตฺวา แบ่งแล้ว
มาน+เณ+ตฺวา =มาเนตฺวา นับถือแล้ว
มาป+เณ+ตฺวา =มาเปตฺวา สร้างแล้ว
ปี ฬ+เณ+ตฺวา =ปี เฬตฺวา บีบแล้ว
ปูช+ณย+อิ+ตฺวา =ปูชยิตวฺ า บูชาแล้ว
สูจ+เณ+ตฺวา =สูเจตฺวา บ่งแล้ว, ชี้แล้ว
ธาตุท่ีมีสระ อิ อยู่ท่ีพยัญชนะที่สุดธาตุให้ลงนิ คคหิตอาคมกลางธาตุ
แล้วแปลงนิ คคหิตเป็ นพยัญชนะที่สดุ วรรคของพยัญชนะที่สดุ ธาตุน้นั
อุ+ปฑิ+เณ+ตฺวา =อุปผฺ ณฺ เฑตฺวา เยาะเย้ยแล้ว
มฑิ+เณ+ตฺวา =มณฺ เฑตฺวา ประดับแล้ว
กปิ +เณ+ตฺวา =กมฺเปตฺวา หวัน่ ไหวแล้ว
ปริ+พุธ+ิ เณ+ตฺวา =ปลิพนุ ฺ เธตฺวา กังวลแล้ว, กีดกันแล้ว
ขุส+ิ เณ+ตฺวา =ขุเสตฺวา ด่าแล้ว
วภิ+เณ+ตฺวา =วมฺเภตฺวา ตวาดแล้ว
ธาตุท่ีไม่ ต อ้ งพฤทธิ์สระต้นธาตุแม้สระต้นธาตุจะเป็ นรัสสะไม่ มี
พยัญชนะสังโยคอยู่หลังก็ตาม
ฐป+ณย+อิ+ตฺวา =ฐเปตฺวา ตัง้ ไว้แล้ว, วางไว้แล้ว
ทม+ณย+อิ+ตฺวา =ทเมตฺวา ฝึ กแล้ว
ถก+เณ+ตฺวา =ถเกตฺวา ถากแล้ว, ปิ ดแล้ว
ฆฏ+เณ+ตฺวา =ฆเฏตฺวา พยายามแล้ว, สืบต่อแล้ว
หลักการประกอบตูนาทิปจั จัย
เป็ นกัมมวาจก
๑.การประกอบตูนาทิปจั จัยเป็ นกัมมวาจก
กัมมวาจกเป็ นกิริยาที่บ่งว่าประธานถูกกระทําไม่ได้เป็ นผูก้ ระทําเอง
ตูนาทิปจั จัยที่เป็ นกัมมวาจกจะแตกต่างจากกัมมวาจกที่เป็ นอาขยาต
เล็กน้อย คือในหนึ่ งประโยคอาการที่ประธานถูกกระทํานั้นเป็ นการถูก
กระทําที่เกิดขึ้นในระหว่างเท่านั้นหลังจากนั้นประธานสามารถกระทํา
หรือใช้ให้คนอื่นกระทํากิริยาอย่างใดอย่างหนึ่ งต่อไปได้อกี โดยไม่ตอ้ ง
เริ่มประโยคใหม่
ส่วนกัมมวาจกที่เป็ นอาขยาตเมื่อประธานถูกกระทําแล้วเหตุการณ์ ก็
สิ้นสุดอยู่เพียงแค่น้ัน เมื่อประธานจะกระทํากิริยาอย่างใดอย่างหนึ่ งต่อไป
จะต้องเริ่มประโยคใหม่ เท่ านั้น เพราะกิริยาอาขยาตเป็ นกิริยาใหญ่ ใน
ประโยคใช้เพือ่ แสดงการจบเนื้ อความในแต่ละประโยค เช่น
ตสฺมึ ขเณ เอโก กาโก อากาเสน คจฺ ฉนฺ โต ตตฺถ คีวํ ปเวเสตฺวา
ติณวลฺลปิ ลิเวฐิโต (อคฺคนิ า) ฌายิตวฺ า คามมชฺ เฌ ปติ.
ในขณะนั้น อ.กา ตัวหนึ่ ง บินมาอยู่ โดยอากาศ ยังคอ ให้เข้าไปแล้ว ใน
เกลียวแห่งหญ้านั้น อันเกลียวแห่งหญ้าพันแล้ว อันไฟไหม้แล้ว ตกแล้ว
ในท่ามกลางแห่งหมู่บา้ น.
อถสฺสา (ทหรภิกฺขุนียา) อนฺ โต ราโค อุปปฺ นฺ โน, สา (ทหรภิกขฺ ุนี) เตเนว
ฌายิตวฺ า กาลมกาสิ.
ครัง้ นั้น อ.ความกําหนัด เกิดขึ้นแล้ว ในภายใน ของภิกษุณีสาวนั้น,
อ.ภิกษุ ณีสาว นั้น อันความกําหนัด นั้นนัน่ เทียว ไหม้แล้ว ได้กระทํา
แล้ว ซึ่งกาละ ฯ
ทหโร...อนฺ โต อุฏฐฺ เิ ตน ราคคฺคนิ า ฑยฺหติ วฺ า ชีวติ กฺขยํ ปาปุณิ.
อ.ชายหนุ่ ม อันไฟคือความกําหนัด อันตัง้ ขึ้นแล้ว ในภายใน ไหม้
แล้ว ถึงแล้ว ซึ่งความสิ้นไปแห่งชีวติ .
การประกอบตูนาทิปจั จัยเป็ นกัมมวาจกมีหลักการ ๕ อย่าง ดังนี้
๑) ธาตุท่นี ํ ามาประกอบต้องเป็ นสกัมมธาตุเท่านั้น
๒) ต้องลง ย ปัจจัยในกัมมวาจกก่อนลงตูนาทิปจั จัย
๓) ย ปัจจัยที่ลงแล้วคงรู ปก็มี แปลงกับที่สุดธาตุก็มีข้ ึนอยู่กบั ลักษณะ
ของธาตุว่าเป็ นเอกสระธาตุหรือเนกสระธาตุ
๔) ลง อิ อาคมหน้าตูนาทิปจั จัย
๕) ใช้เป็ นกิรยิ าในระหว่างเท่านั้น
๖) เวลาแปลให้แปลบทอนภิหิตกัตตาก่อนกิริยา ว่า อัน...แล้ว ถ้า
บทอนภิหติ กัตตาไม่มีให้เติมเข้ามา
๒.ตัวอย่างตูนาทิปจั จัยที่เป็ นกัมมวาจก
ตูนาทิปจั จัยที่เป็ นกัมมวาจกมีใช้ไม่มาก กรณี ท่ีประสงค์จะใช้กมั มวาจก
มักใช้ ต ปัจจัยแทนโดยมาก ที่ปรากฏในปกรณ์บาลีทง้ั หลายมีดงั นี้
ฌา+ย+อิ+ตฺวา =[อคฺคนิ า] ฌายิตวฺ าอันไฟ ไหม้แล้ว
ปจ+ย+อิ+ตฺวา =[อคฺคนิ า] ปจฺจติ วฺ า อันไฟ ไหม้แล้ว
ทห+ย+อิ+ตฺวา =[อคฺคนิ า] ฑยฺหติ วฺ าอันไฟ ไหม้แล้ว
พธฺ+ย+อิ+ตฺวา =[ตณฺ หาย] พชฺ ฌติ วฺ า อันตัณหา มัดแล้ว
ตูนาทิปจั จัยที่เป็ นกัมมวาจกนี้ มีใช้ไม่มาก แสดงไว้เพียงเล็กน้อยพอเป็ น
แนวทาง
แบบฝึ กหัดประกอบ ตฺวา ปัจจัย
เป็ นกัตตุวาจก
พร้อมประโยคตัวอย่าง
ข้อ องค์ประกอบ คําแปล ประโยคตัวอย่าง
๑. วิ+กิร+อิ+ตฺวา โปรย อุ. เทวตา ปุปผฺ านิ วิกริ ติ วฺ า.
๒. ปจ+อิ+ตฺวา หุง, ปิ้ ง อุ. สูโท โอทนํ ปจิตวฺ า.
๓. อิกขฺ +อิ+ตฺวา เห็น อุ. ทารกา สกุเณ อิกขฺ ิตวฺ า.
๔. ลภ+อิ+ตฺวา ได้ อุ. เสฏฐฺ ี ธนานิ ลภิตวฺ า.
๕. วร+เณ+อนฺ ต+สิ ขอ อุ. ขตฺตโิ ย กุมาริกํ วาเรตฺวา.
๖. รุธ+ํ อ+อิ+ตฺวา ปิ ด อุ. ครุ ทฺวารานิ รุนฺธติ วฺ า.
สระ อ อา หน้า อนฺ ต ลบทิ้งเสมอ กิรยิ ามีลงิ ค์วจนะวิภตั ติเหมือนประธาน
ข้อ องค์ประกอบ คําแปล ประโยคตัวอย่าง
๑. สร+อิ+ตฺวา ระลึกถึง อุ. อุปาสิกา พุทธฺ รตนํ สริตวฺ า.
๒. สิว+ย+อิ+ตฺวา เย็บ อุ. ธีตา จีวรํ สิพฺพติ วฺ า.
๓. พุธ+ย+อิ+ตฺวา ตรัสรู ้ อุ. พุทโฺ ธ ธมฺมํ พุชฺฌติ วฺ า.
๔. ฆุส+เณ+อิ+ตฺวา ประกาศ อุ. ปณฺ ฑโิ ต ธมฺมสฺสวนํ โฆเสตฺวา.
๕. พนฺ ธ+อิ+ตฺวา ผูก อุ. เนสาโท สตฺเต พนฺ ธติ วฺ า.
๖. มุส+ย+อิ+ตฺวา ลืม อุ. สิสฺสา ครุสาสนํ มุสฺสติ วฺ า.
สระ อ อา หน้า อนฺ ต ลบทิ้งเสมอ กิรยิ ามีลงิ ค์วจนะวิภตั ติเหมือนประธาน
ข้อ องค์ประกอบ คําแปล ประโยคตัวอย่าง
๑. จิ+นา+อิ+ตฺวา สัง่ สม อุ. วิสาขา ปุญญ ฺ ํ จินิตวฺ า.
๒. ลุ+นา+อิ+ตฺวา เกี่ยว อุ. ครุ สสฺสานิ ลุนิตวฺ า.
๓. ญา+นา+อิ+ตฺวา รู ้ อุ. มยํ พุทธฺ คุณํ ชานิ ตวฺ า.
๔. สุ+ณา+อิ+ตฺวา ฟัง อุ. ลุททฺ โก สกุณสทฺทํ สุณิตวฺ า.
๕. คห+ณฺ หา+อิ+ตฺวา ถือเอา อุ. ภิกขฺ ู ภิกขฺ ํ คณฺ หติ วฺ า.
๖. ตน+อิ+ตฺวา แผ่ไป อุ. พุทโฺ ธ ธมฺมํ ตนิ ตวฺ า.
สระ อ อา หน้า อนฺ ต ลบทิ้งเสมอ กิรยิ ามีลงิ ค์วจนะวิภตั ติเหมือนประธาน

You might also like