You are on page 1of 35

การศึกษาเวลาแบบพรีดเี ทอร์มนิ

Predetermined Time System Part1

1
1. ประโยชน์ของการศึกาเวลาแบบพรีดเี ทอร์มนิ (PTS)
Predetermined Time System คือ ระบบของการหาเวลาของการทํางาน
จากตารางเวลาของ “Fundamental Motions”
PTS สามารถหาเวลามาตรฐานของงานใดๆ โดยไม่จาํ เป็ นต้ องอาศัยการจับเวลา
โดยตรง
PTS ไม่ต้องอาศัยการประเมินอัตราเร็วการทํางานของพนักงาน
PTS คือ ระบบเวลาประเมินล่วงหน้ า เป็ นชุดข้ อมูลที+รวบรวมมาจากเวลามาตรฐาน
ของงานย่อยพื,นฐาน เพื+อเป็ นตัวแทนของการปฏิบตั งิ านมาตรฐาน
PTS ใช้ กฎเกณฑ์ท+สี ร้ างขึ,นเพื+อการคํานวณและการวิเคราะห์เวลามาตรฐาน
PTS มีอยู่ 2 วิธี คือ
Methods-Time Measurement (MTM)
Master Standard Data (MSD)

2
ประโยชน์ของการใช้ Predetermined time system
ในการประเมินผลของการเคลื+อนไหว โดยใช้ เพื+อ
ปรับปรุงวิธกี ารทํางานที+มีอยู่ให้ ดขี , ึน
ประเมินผลของวิธกี ารทํางานที+ทาํ เสนอไว้ ล่วงหน้ า
ประเมินผลของการออกแบบของเครื+องมือเครื+องใช้ ในการทํางานต่างๆ
ช่วยในการออกแบบและปรับปรุงผลิตภัณฑ์
ใช้ ฝึกผู้ทาํ การศึกษาเวลาให้ ค้ ุนเคยกับระบบของการศึกษาเวลา

3
ประโยชน์ของการใช้ Predetermined time system
ในการศึกษาเวลา เพื+อ
หาเวลามาตรฐานโดยใช้ PTS
รวมเอาข้ อมูลมาตรฐานและสูตรสําหรับกลุ่มงานต่างๆ เพื+อความรวดเร็วในการหาเวลา
มาตรฐาน
ตรวจสอบเวลาที+หาได้ จากการจับเวลาด้ วยนาฬิกาจับเวลา
ประเมินต้ นทุนค่าจ้ างแรงงาน
วางสายผลิตและสมดุลสายการผลิต

4
2. Methods – Time Measurement
(MTM)
ระบบ MTM ถูกพัฒนาครั,งแรกในปี 1948 โดย H.B. Maynard, J. L.
Schwa และ G. J. Stegemerten ในสหรัฐอเมริกา
ปัจจุบนั มีระบบ MTM ในรหัสต่างๆ เพื+อใช้ งานแต่ละประเภท ได้ แก่
1. MTM – 1 เป็ นระบบที+คิดขึ,นครั,งแรก และเป็ นพื,นฐานสําหรับระบบ MTM อื+น
ระบบนี,เหมาะสําหรับการวิเคราะห์งานที+มปี ริมาณการผลิตสูง
2. MTM – 2 เป็ น generation ที+สองที+พัฒนา โดยปรับปรุงให้ ง่ายขึ,น
3. MTM – UAS นับเป็ น generation ที+สองที+พัฒนา โดยผ่านการวิเคราะห์เชิง
สถิติ วิธนี , ีเหมาะกับงานในลักษณะที+ผลิตเป็ น Batch
4. MTM – MEK นับเป็ น generation ที+สามที+พัฒนามาจาก MTM-1
เหมาะสมกับการใช้ งานในลักษณะที+ผลิตน้ อยชิ,น มีรอบเวลายาว หรืองานที+ไม่เกิด
บ่อย

5
2. Methods – Time Measurement
(MTM) ต่อ
5. MTM – B นับเป็ น generation ที+สามจาก MTM – UAS เพื+อใช้ เครื+องมือ
ที+ต้องเน้ นความเร็ว ไม่เหมาะจะใช้ ในการวิเคราะห์การทํางานของมือ
6. MTM – HC สําหรับใช้ ในงานโรงพยาบาล
7. MTM –V สําหรับใช้ ในงานที+มีรอบเวลายาว และทําร่วมกับเครื+องจักร
8. MTM – C สําหรับใช้ ในงานธุรการ
9. MTM – M สําหรับใช้ ในงานประกอบเล็กๆ เช่น การพันลวด งานเชื+อม หรืองาน
ที+ทาํ ภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์
10. MOST (Maynard Operation Sequence Technique) เหมาะสําหรับ
การวิเคราะห์งานซึ+งมีเวลาเฉลี+ยระหว่าง 1-5 นาที

6
MTM (Methods – Time Measurement)
MTM เป็ นวิธกี ารในการวิเคราะห์การทํางานต่างๆ ที+ใช้ มือ ออกเป็ นการเคลื+อนพื,นฐานที+
ต้ องใช้ ในการทํางานนั,น และกําหนดค่าเวลามาตรฐานที+คิดไว้ ล่วงหน้ า
แบ่งชนิดของการเคลื+อนไหวออกเป็ นการเคลื+อนพื,นฐาน (Basic Element) คือ
Reach
Move
Grasp
Turn
Position
Disengage
Release
โดยทําการศึกษาแต่ละงานย่อย (Element) อย่างละเอียดและหาตัวแปร (Variables)
ซึ+งจะมีผลต่อเวลาของงานย่อย (Element) นั,นๆ

7
ตัวอย่างในการสร้างตาราง
Reach (เอื,อม) คือ การเอื,อมหรือเคลื+อนมือเปล่า ในการวิเคราะห์ มีตวั แปรต่างๆ
ดังนี,
ระยะที+มือเคลื+อนไป (Distance moved)
ชนิดของการเอื,อม (Motion class employed)
มือที+ใช้ (Hand used-left, right of both)
การเปลี+ยนทิศทางของมือ รวมทั,งการจัดเตรียม (Change direction and/or
pre-position included)
ระยะเวลาที+ใช้ (Elapse time)
การประเมินอัตราความเร็ว (Skill and effort rating)
คําบรรยายการเคลื+อนไหว (Description of motion)

8
ตารางที# 18.1

9
หน่วยของเวลา (Time Unit)
วัดเป็ น 1/16 วินาที หรือ = 0.000017 ชั+วโมง ตามช่วงห่างระหว่างเฟรมหรือ
ภาพจาก ฟิ ล์มภาพยนตร์
เพื+อความสะดวกปัดเป็ นเลข = 0.00001 ชั+วโมง และเรียนหน่วยของเวลานี,ว่า 1
TMU (Time-Measurement Unit)
1 TMU = 0.00001 ชั+วโมง
= 0.0006 นาที
= 0.036 วินาที

10
รายละเอียดของตาราง
2.1 Reach (เอื*อม)
คือ งานย่อยพื,นฐาน ในการเคลื+อนมือหรือนิ,วมือไปยังที+ใดที+หนึ+ง (Therblig:
TE) ซึ+งเวลาในการเอื,อมขึ,นกับประเภทของการเอื,อมมือ, ระยะทาง และเงื+อนไขใน
การเอื,อม
ลักษณะของการเคลื+อนที+ต่อเนื+องอธิบายได้ ดงั รูปที+ 18.1

11
ประเภทของการเอื*อมมือ แบ่งเป็ น 5 กลุม่
Case A เอื,อมมือไปยังวัตถุในตําแหน่งแน่นอนหรืออยู่ในอีกมือหนึ+ง หรือที+อกี มือ
สัมผัสอยู่
Case B เอื,อมมือไปยังวัตถุเดี+ยวๆ ในตําแหน่งที+แปรเปลี+ยนเล็กน้ อยในแต่ละรอย
Case C เอื,อมมือไปยังวัตถุท+ปี นอยู่กบั วัตถุอ+นื ๆ ทําให้ ต้องค้ นหาและเลือก
Case D เอื,อมมือไปยังวัตถุช, ินเล็กมากหรือ ในกรณีท+ตี ้ องมีความแม่นยําในการ
จับ
Case E เอื,อมมือไปยังตําแหน่งที+ไม่แน่นอนเพื+อการทรงตัว หรือเพื+อเริ+มการ
เคลื+อนไหวต่อไป หรือเพื+อเอามือออกให้ พ้นทาง

12
ระยะทางในการเอื*อม
ให้ วดั ระยะทางจริง ตั,งแต่จุดเริ+มต้ น ซึ+งก็คอื ระยะทางที+มอื เคลื+อนจริง ไม่ใช่ระยะ
เส้ นตรงระหวางจุดที+มอื เคลื+อน
ถ้ ามีการเคลื+อนบางส่วนของร่างกายด้ วยระยะที+เคลื+อนจริง จะคํานวณจาก
Length of Reach = Distance moved by Hand +
Distance moved by Body

13
2.2 Move เคลือ# น
คือ งานย่อยพื,นฐาน ซึ+งใช้ ในการเคลื+อนวัตถุจากที+หนึ+งไปยังอีกที+หนึ+ง
(Therblig: TL)
ตัวแปรซึ+งมีผลต่อการเคลื+อน (Move) คือ เงื+อนไขในการเคลื+อน (Condition
of Move) ระยะทาง ประเภทของการเคลื+อน (Classes of Move) และ
นํา, หนักของของที+ถอื
ประเภทของการเคลื+อน (Classes of Move) แบ่งเป็ น 3 กลุ่ม
Case A เคลื+อนวัตถุไปยังอีกมือหนึ+ง หรือเคลื+อนไปจนหยุด
Case B เคลื+อนวัตถุไปยังตําแหน่งโดยประมาณ หรือตําแหน่งที+ไม่แน่นอน
Case C เคลื+อนวัตถุไปตรงตําแหน่งพอดี

14
นํ*าหนักทีเ# กีย# วข้องกับการเคลือ# น
เมื+อต้ องเคลื+อนของหนักกว่า 2.5 ปอนด์ มือจะเคลื+อนช้ ากว่าธรรมดาและจะมี
การลักเลเล็กน้ อยก่อนเริ+มเคลื+อนที+ ดังนั,น จึงต้ องมีค่าเผื+อสําหรับนํา, หนักที+
ต้ องเคลื+อน
ค่าเผื+อนํา, หนักนี,แบ่งออกเป็ นสองส่วน คือ
1) ค่าเผื+อส่วนแปรผัน Weight Allowance Factory (Dynamic
Factor) เป็ นค่าดัชนีท+เี อาไปคูณค่าพื,นฐาน
2) ค่าเผื+อส่วนคงที+ Weight Allowance Constant (Static
Constant) เป็ นค่าคงที+ท+นี าํ ไปบวกค่าที+คูณตัวแปรแล้ ว

15
ตัวอย่าง
พนักงานยกวัตถุหนัก 20 ปอนด์ ระยะทาง 5 นิ,ว ไปวางบนโต๊ะ
เวลาพื,นฐานในการเคลื+อน = Move 5 inch Case B (Wt. = 20 lbs.)
= (8.0 x Dynamic Factor) + Static Constant
= (8.0 x 1.22) + 7.4
= 17.2 TMU
ในการเคลื+อนทั,งสามกรณีน, ีมเี พียง Case B ซึ+งมือเคลื+อนต่อเนื+อง (Hand-in-
Motion) มีผลต่อเวลาในการเคลื+อน

16
2.3 Turn หมุน
คือ การเคลื+อนไหวที+ต้องใช้ การหมุนของมือ โดยอาจจะถือวัตถุ หรือไม่ถอื
วัตถุอยู่กต็ าม การหมุนนี,เป็ นการหมุนโดยนิ,วมือ ข้ อมือ หรือข้ อศอก ตาม
แกนของมือ
ตัวแปรที+เกี+ยวข้ อง ได้ แก่
มุมของการหมุน
นํา, หนักของวัตถุท+ถี อื
ตัวอย่าง การใช้ ไขควงขันนอตเข้ าไปในรู ซึ+งต้ องใช้ การหมุนของข้ อมือรอบ
แกนของแขน ถือว่าเป็ นการหมุนในตาราง MTM แต่การหมุนพวงมาลัย
รถยนต์ไม่เป็ นการหมุน แต่เป็ นการเคลื+อนหลายๆ ครั,ง (Series of
Move)
17
2.3 Turn หมุน (ต่อ)
ตารางการหมุนนี,มี 2 ส่วนได้ แก่
ตาราง 3A – Turn และ
ตาราง 3B – Apply Pressure
การออกแรงกด หรือ Apply Pressure นี,คือ งานย่อยพื,นฐานที+ใช้ ในการเอาชนิแรง
ต้ านทาน หรือแรงเสียดทาน ต้ องอาศัยการหยุดชะงัก เพื+อกระทําการออกแรง มักเกิดขึ,น
พร้ อมๆ กับอากัปกิริยาของการหมุน แต่ต้องแยกวิเคราะห์ให้ ถูกต้ อง
Apply Pressure จะประกอบด้ วยหน่วยย่อยของงาน 3 หน่วย คือ
การออกแรง (Apply Force – AF)
หยุดชะงัก (Dwell Minimum – DM)
การปล่อยแรง (Release Force – RF)
การออกแรงกด (Apply Pressure) จะมี 2 กรณีคือ
Case A เป็ นการออกแรงกดธรรมดา
Case B มีการเปลี+ยนลักษณะการจัด (Re-grasp) เพื+อให้ จับวัตถุได้ ม+ันคงยิ+งขึ,น

18
2.4 Grasp หยับจับ
คือ งานย่อยพื,นฐาน ในการหยิบหรือจับวัตถุหนึ+งชิ,นหรือมากกว่าหนึ+งชิ,นด้ วยมือ
หรือนิ,วมือ เพื+อการทํางานขั,นต่อไป
เทียบเท่ากับ Therblig ของ Sh + St + G
การหยับจับหรือ Grasp แบ่งออกเป็ น 5 กลุ่ม
1. การหยิบขึ,น (Pick-up Grasp)
2. การขยับมือ (Regrasp)
3. การเปลี+ยนมือจับ (Transfer Grasp)
4. การเลือกหยิบ (Select Grasp)
5. การสัมผัสหรือนิ,วเกี+ยว (Contact)

19
2.4 Grasp หยับจับ (ต่อ)
การหยิบจับเกี+ยวข้ องกับนํา, หนักของวัตถุ ซึ+งมีผลต่อเนื+องถึงการเคลื+อน (Move)
ที+จะตามมา
ท้ ายตารางการหยิบจับจะมีตารางของนํา, หนัก (Effective Net Weight) เพื+อ
ช่วยในการวิเคราะห์นาํ, หนักที+จะนําไปใช้ เปิ ดตาราง Move ต่อไป
การใช้ ตารางนํา, หนัก (ENW) คิดจากนํา, หนักที+มผี ลต่อการเคลื+อน คือ ถ้ ามือจับ
วัตถุเพื+อหยิบขึ,น นํา, หนักที+คดิ คือ นํา, หนักของวัตถุน+ันเอง
ถ้ าเลื+อนหรือไถวัตถุไปกับพื,น นํา, หนักที+คดิ จะเท่ากับ นํา, หนักของวัตถุ คูณด้ วยค่า
สัมประสิทธิJของแรงเสียดทานระหว่างผิววัตถุกบั ผิวของพื,นที+ไถไป
ถ้ าวัตถุถูกยกด้ วยมือทั,งสอง นํา, หนักก็คดิ (ENW) เท่ากับนํา, หนักรวมหารด้ วย
สอง

20
2.5 Position เล็งตําแหน่ง
งานย่อยพื,นฐาน ซึ+งใช้ ในการจัด วาง เรียง หรือประกอบวัตถุอนั หนึ+งให้ เข้ ากับอีกอันหนึ+ง
และมีการเคลื+อนไม่เกิน 1 นิ,ว (เทียบเท่ากับ Therblig ของ P+ PP + A)
ตัวแปรที+เกี+ยวข้ องมี
Class of Fit ชนิดของการประกอบ
Symmetry ความสมมาตรของการประกอบ
Ease of Handling ความยากง่ายในการประกอบ
1. Class of Fit คือลักษณะของความพอดีในการประกอบแบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
1. Class 1 Loose หลวม มี Clearance ประมาณ 1/16” – ¼”
2. Class 2 Close พอดี มีการลังเลเล็กน้ อย Clearance ประมาณ 1/32” – 1/16”
3. Class 3 Exact แน่น ต้ องใช้ แรงกดมี Clearance ต่อกว่า 1/32”

21
2.5 Position เล็งตําแหน่ง (ต่อ)
2. Symmetry of Components คือความได้ สมมาตรของการประกอบ แบ่ง
ออกเป็ น 3 ประเภทดังนี,
1. Symmetrical (S) สมมาตรสมบูรณ์ ชิ,นส่วนสามารถประกอบกันได้ ทุกทิศทาง
2. Semi-Symmetrical (SS) กึ+งสมมาตร ชิ,นส่วนซึ+งสามารถประกอบกันได้ บางมุม
3. Non-Symmetrical (NS) อสมมาตร ชิ,นส่วนซึ+งสามารถประกอบกันได้ เพียง
ตําแหน่งเดียว
3. Ease of Handling คือ ความยากง่ายในการประกอบ แบ่งเป็ น
1. Easy ง่ายในการประกอบ ไม่จาํ เป็ นต้ องเปลี+ยนท่าจับในระหว่างการจัดตําแหน่ง
2. Difficult ยากในการประกอบ ต้ องเปลี+ยนท่าจับในระหว่างการจัดตําแหน่ง

22
2.5 Position เล็งตําแหน่ง (ต่อ)

23
2.6 Release ปล่อย
เป็ นงานย่อยพื,นฐาน ซึ+งใช้ ในการคลายมือปล่อยวัตถุออกจากนิ,วหรือมือ มีอยู่ 2 กรณี คือ
Normal Release กรณีปกติเป็ นการปล่อยแบบธรรมดา
Contact Release กรณีสมั ผัสเป็ นการปล่อยแบบสัมผัส ซึ+งมักจะตามมาด้ วยการเอื,อม
(Reach) จึงไม่จาํ เป็ นต้ องใช้ เวลา (TMU = 0)

2.7 Disengage การถอด


เป็ นงานย่อยพื,นฐาน ที+ใช้ ในการแยกวัตถุช, ินหนึ+งออกจากอีกชิ,นหนึ+ง ซึ+งรวมถึงการ
เคลื+อนไหวอันเกิดจากการแยกจากกันอย่างกระทันหันของวัตถุ 2 ชิ,น (การสิ,นสุดของแรง
ต้ าน)
ตัวแปรที+เกี+ยวข้ องมีดังนี,
Class of Fit ชนิดของกรประกอบ
Ease of Handling ความยากง่ายในการถอด
24
2.7 Disengage การถอด (ต่อ)
Class of Fit คือ ลักษณะของความพอดีของการประกอบของชิ,นส่วนที+กาํ ลังจะ
ถอดและมีผลต่อการถอด แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
1. Class 1 Loose หลวม ถอดได้ ง่ายไม่ต้องออกแรงดึง
2. Class 2 Close พอดี มีการลังเลเล็กน้ อย
3. Class 3 Exact แน่น ต้ องออกแรงดึงมากอย่างเห็นได้ ชัด
• Ease of Handling คือ ความยากง่ายในการถอด แบ่งเป็ น
• Easy ง่ายในการถอด ไม่จาํ เป็ นต้ องเปลี+ยนท่าจับในระหว่างถอด
• Difficult ยากในการถอด

25
2.8 Eye Times การใช้สายตา
คือ เวลาที+ต้องใช้ สายตาในการมองกวาดก่อนลงมือทํา หรือการอ่านหรือเพ่งเพื+อให้
เห็นชัดเจน ในที+น, ีหมายถึงการใช้ สายตาที+แยกต่างหากจากการเคลื+อนอื+นๆ ของมือ
มีการใช้ สายตาอยู่ 2 ประเภท คือ
1. Eye Focus Time คือ เวลาที+ใช้ นในการเพ่งดูวัตถุ ซึ+งต้ องนานพอที+จะบอกถึง
ลักษณะที+ต้องการได้ ภายในพื,นที+ขอบเขตจํากัด
2. Eye Travel Time คือ เวลาที+ใช้ ในการกวาดสายตาจากจุดหนึ+งไปยังอีกจุดหนึ+ง
ซึ+งแปรผันโดยตรงกับระยะทางระหว่างจุดทั,งสอง และผกผันกับระยะตั,งฉากจากตา
ถึงเส้ นตรงเชื+อมจุดทั,งสอง

26
2.9 Body Leg and Foot Motions
เป็ นตารางที+ให้ เวลาส่วนที+เกี+ยวข้ องกับการใช้ อวัยวะส่วนอื+นๆ ของร่างกายนอกจาก
มือ ได้ แก่ เท้ า ขา ต้ นขา การเดิน การก้ าวเท้ า การก้ มตัวและการคุกเข่า แบ่งเป็ น
กลุ่ม Leg Foot Motion การใช้ ขาและเท้ า
กลุ่ม Horizontal Motion การเคลื+อนในแนวระนาบ
กลุ่ม Vertical Motion การเคลื+อนในแนวดิ+ง
รายละเอียดของการเคลื+อนในตารางนี, มีดงั นี,
1. Foot Motion คือ การเคลื+อนไหวทีต้องใช้ เท้ าหรือข้ อเท้ าทั,งมีแรงกดและไม่มีแรง
กด
2. Leg or Foreleg Motion คือ การเคลื+อนของขา หรือต้ นขา โดยมีจุดหมุนอยู่ท+ี
หัวเข่า (กรณีน+ังอยู่) หรือที+สะโพก (กรณียืน)

27
2.9 Body Leg and Foot Motions (ต่อ)
รายละเอียดของการเคลื+อนในตารางนี, มีดงั นี,
3. Side Step คือ การขยับขาไปข้ างๆ บางครั,งคนงานทํางานบนเครื+องจักรอาจต้ อง
ก้ าวขาข้ างหนึ+งหรือสองข้ างเพื+อเอื,อมไปหยิบของ หรือเอื,อมกดปุ่ มบังคับที+อยู่ไกล
แบ่งออกเป็ น 2 กรณี
Case 1 ขยับขาเพียงข้ างเดียว ระยะก้ าวถ้ ามากกว่า 12” ให้ อ่านค่าจากตาราง แต่ถ้าระยะทางตํ+า
กว่า 12” โดย motion ถัดไปเริ+มทันทีท+เี ท้ าหน้ าแตะพื,น ให้ ดูค่าจากตาราง Reach หรือ Move
Case 2 ขยับขาสองข้ าง พิจารณาจากการขยับเท้ า ให้ เท้ าหลังต้ องหยุดเคลื+อน (แตะพื,น) ก่อน
Motion ต่อไปจะเริ+มขึ,น มักตามด้ วยการก้ มโก้ งโค้ ง หรือคุกเข่า
4. Turn Body การหมุนตัวหรือ เอี,ยวตัว
5. Walk การเดิน มี 2 กรณี ถ้ าเป็ นระยะสั,นให้ นับจํานวนก้ าว ถ้ าเป็ นระยะยาว ให้ วัด
จากระยะทางเป็ นฟุต ก้ าวปกติ โดยประมาณ 27 นิ,ว
6. Vertical Motion คือ การเปลี+ยนอิริยาบถต่างๆ ในแนวดิ+ง

28
2.10 Simultaneous Motions
การเคลื+อนที+สามารถทําพร้ อมกันได้ งานบางอย่างที+อาจทําพร้ อมกันสองมือได้ ให้
พิจารณาตาราง Simultaneous Motions
การอ่านตารางให้ วเิ คราะห์การทํางานของมือทั,งสองข้ างก่อน แล้ วอ่านสัญลักษณ์ให้
มือหนึ+งอยู่ในแนวนอน อีกมือหนึ+งอยู่แนวตั,งให้ ตดั กันในตาราง โดยสัญลักษณะของ
ช่องตัดกันดังนี,

29
อักษรย่อ ในระบบ MTM

30
การนํา MTM ไปใช้
ตัวอย่างที# 18.1 การวิเคราะห์ขนั* ตอนในการเปิ ดลิน* ชักเพือ# หยิบดินสอโดยใช้วธิ ี MTM

31
ตัวอย่างที# 18.2 การเปลีย# นใส้ปากกา

32
ตัวอย่างที# 18.2 การเปลีย# นใส้ปากกา (ต่อ)

33
ข้อได้เปรียบของการศึกษาเวลาแบบ MTM
มีความรวดเร็วกว่าการศึกษาโดยใช้ นาฬิกาจับเวลา
ไม่จาํ เป็ นต้ องมีการปรับค่าปรับอัตราความเร็วของพนักงาน ซึ+งมักเป็ นส่วนที+มี
ปัญหายุ่งยากที+สดุ
เป็ นวิธกี ารแสดงให้ เห็นโดยชัดเจนถึงความสัมพันธ์ของเวลากับวิธกี ารทํางาน
ใช้ ศกึ างานที+ยังไม่เกิดเพื+อช่วยในการวิเคราะห์การลงทุน
เปรียบเทียบความได้ เปรียบเสียเปรียบของวิธกี ารทํางานแบบต่างๆ และผลของการ
ปรับปรุงงานที+เสนอ

34
ข้อจํากัดการใช้ระบบ MTM
การใช้ MTM มีความยุ่งยากตรงที+ผ้ ูวิเคราะห์มกั จะมองไม่เห็น Motion ในมโนภาพได้
หมด และจะให้ เวลาน้ อยไปเสมอ
ไม่ครอบคลุมงานในส่วนของเครื+องจักร
ไม่ครอบคลุมการเคลื+อนที+มีข้อจํากัด เช่น การเคลื+อนในที+คับแคบ ความวิตกกังวล เป็ นต้ น
ไม่สามารถประมาณการเวลาการเคลื+อนที+ทุกปรเภทที+ใช้ ในโรงงานอุตสาหกรรม
MTM ที+กาํ หนดไว้ เป็ นเวลาปกติ Normal Pace แตกต่างกันตั,งแต่คนวิเคราะห์
หน่วยงาน หรือประเภทที+ใช้
ค่า MTM ต้ องบวกด้ วย Allowances ต่างๆ ซึ+งอาจมีความคลาดเคลื+อนจากที+กาํ หนด
ในเวลาที+นาํ ไปใช้ จริง
ตารางพื,นฐาน MTM ยังไม่สามารถครอบคลุมการเคลื+อนไหวทั,งหมดในการปฏิบัติงาน
ผู้วิเคราะห์ท+ไี ด้ รับการฝึ กมาอย่างถูกต้ องเท่านั,น จึงจะสามารถประยุกต์ใช้ ตารางของ
MTM ได้ อย่างแม่นยํา

35

You might also like