You are on page 1of 28

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค23102


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น เวลา 14 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาว ณัฐมาภรณ์ นิ่มสกุล เลขที่ 10
นาย ธนบดี สำลีราช เลขที่ 11
นาย รัตนสิน ศรีนาม เลขที่ 22
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนำไปใช้
ค 3.2 ม.3/1 เข้าใจเกี่ยวกับการทดลองสุ่มและนำผลที่ได้ไปหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
1. จำแนกการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ได้
2. บอกผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่มได้
3. บอกผลลัพธ์ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
1. นำเสนอผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่มได้
2. ให้เหตุผลในการจำแนกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. สามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
2. มีความมุมานะในการการทำความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
3. สาระสำคัญ
การทดลองสุ่ม คือ การกระทำที่เราทราบว่าผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นมีอะไรบ้าง แต่ไม่
สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าจะเกิดผลอะไร จากผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้เหล่านั้น
เหตุการณ์ คือ สิ่งที่เราสนใจพิจารณาจากการทดลองสุ่มในแต่ละครั้ง
เหตุการณ์และการทดลองสุ่มนั้นมีความสัมพันธ์กันโดยเหตุการณ์จะเป็นส่วนย่อยของการทดลอง
สุ่ม สรุปได้ว่าในทุก ๆ การทดลองสุ่มจะต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเสมอ
แผนภาพต้นไม้ เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
ทั้งหมด ดังนั้นเพื่อให้ได้ต่อการคำนวณ เราจะนำแผนภาพต้นไม้มาใช้ในการหาค่าผลลัพธ์ของการทดลอง
สุ่มและเหตุการณ์
4.สาระการเรียนรู้

การทดลองสุ่ม หมายถึง การกระทำที่เราทราบว่าผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นมีอะไรบ้าง แต่ไม่


สามารถบอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าจะเกิดผลอะไร จากผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้เหล่านั้น

ตัวอย่าง

1. การโยนเหรียญ 10 บาท 1 ครั้ง เป็นการทดลองสุ่ม เนื่องจากเราทราบผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้คือ


เหรียญจะออกหัว หรือก้อย

2. ทอดลูกเต๋า 1 ลูก เป็นการทดลองสุ่ม เนื่องจากเราทราบผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดของการทอดลูกเต๋า


1 ลูกคือหน้าที่หงายอาจจะเป็นหมายเลข 1 2 3 4 5 หรือ 6
3. หยิบไพ่ 1 ใบ เป็นการทดลองสุ่ม เนื่องจากเราทราบผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ของไพ่ คือไพ่อาจจะเป็นรูป
โพธิ์ดำ โพธิ์แดง ข้าวหลามตัด หรือดอกจิก

จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นว่าผลลัพธ์จากการทดลองสุ่มนั้นสามารถเกิดได้หลากหลาย เพื่อให้ง่ายต่อ


การหาผลลัพธ์ทั้งหมดนั้น อาจหาได้จากการแจงนับ เช่น การใช้แผนภาพต้นไม้

ผลลัพธ์จากการทดลองสุ่ม

1. โยนเหรียญ 10 บาท 1 ครั้ง หน้าที่หงายจะออกหัว หรือก้อย


แต่ถ้าโยนเหรียญ 10 บาท 2 ครั้ง การหาผลลัพธ์ทั้งหมดอาจใช้แผนภาพต้นไม้ ได้ดังนี้

ผลลัพธ์ของการโยน ผลลัพธ์ของการโยน ผลลัพธ์ของการโยน


เหรียญครั้งที่ 1 เหรียญครั้งที่ 2 เหรียญทั้ง 2 ครั้ง
ดังนั้น ผลลัพธ์ทั้งหมดจากการทดลองสุ่มในครั้งนี้มี 4 แบบ คือ HH , HT , TH และ TT

2. การหยิบลูกปิงปองในขวดโหลโดยหยิบลูกปิงปอง 2 ลูกจาก 3 ลูกแบบไม่ใส่คืนและไม่สนใจลำดับจะ


ได้ผลลัพธ์ทั้งหมดดังนี้

ลูกที่ 2

หยิบลูกแรกได้สีเขียว

หยิบลูกแรกได้สีฟ้า

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ถ้าหยิบลูกปิงปองในขวดโหลโดยหยิบลูกปิงปอง 2 ลูกจาก 3 ลูกแบบไม่ใส่คืนและไม่สนใจ


ลำดับจะได้ผลลัพธ์ 3 วิธี คือ เขียว,ฟ้า / เขียว,เหลือง / ฟ้า,เหลือง

เหตุการณ์ หมายถึง สิ่งที่เราสนใจพิจารณาจากการทดลองสุ่มในแต่ละครั้ง

ตัวอย่าง

1. โยนเหรียญ 10 บาท 2 ครั้ง เหตุการณ์ที่หน้าเหรียญจะออกทั้งหัวและก้อยมีกี่แบบ


จากตัวอย่างของการทดลองสุ่มจะได้หน้าเหรียญที่ออกทั้งหัว และก้อยมีทั้งหมด 2 แบบ คือ HT และ TH

2. ทอดลูกเต๋า 2 ลูก พร้อมกัน เหตุการณ์ที่หน้าจะหงายเป็นเลขเดียวกันมีกี่แบบ


ตอบ 6 แบบ คือ (1,1) (2,2) (3,3) (4,4) (5,5) (6,6)
ตัวอย่าง

1. ตูมตามสุ่มหยิบตุ๊กตา 2 ชนิด 3 ครั้ง แบบใส่คืน จงหาเหตุการณ์ที่ตูมตามจะหยิบได้ตุ๊กตาชนิด


เดียวกัน

จากเหตุการณ์ที่ตูมตามจะหยิบได้ตุ๊กตาชนิดเดียวกัน เท่ากับ 2 เหตุการณ์ คือ


5. กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (15 นาที)


จัดโต๊ะเป็นรูปตัวยูให้มีพื้นที่ตรงกลางสำหรับการร่วมทำกิจกรรม หลังจากนั้นเตรียมตัวนักเรียนก่อนเข้า
เรียน โดยการร่วมเล่นเกม “รวยหรือจน” คือให้นักเรียนจับฉลากลอตเตอรี่และครูจะสุ่มฉลากนั้นทั้งหมด
3 รางวัล เพื่อให้นักเรียนได้เกิดความตื่นตัวพร้อมที่จะเข้าสู่การเรียนรู้ในเรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

ขั้นที่ 2 ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ (30 นาที)


1) อธิบายเรื่องการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ พร้อมยกตัวอย่างการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ให้
นักเรียนได้เห็นผลลัพธ์ทั้งหมด และให้นักเรียนมีส่วนร่วมโดยการยกตัวอย่างการทดลองสุ่มใน
ชีวิตประจำวันของตนเอง (15 นาที)
2) ร่วมทำกิจกรรม ตามหาคู่ให้หนูหน่อย โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คน และแต่ละ
กลุ่มจะได้กระดานเดิน ลูกเต๋า หมากเดิน และใบบันทึกเหตุการณ์ กลุ่มละ 1 อัน หลังจากนั้นให้แต่
ละกลุ่มทอยลูกเต๋า 1 ลูก ถ้าลูกเต๋าออกเลขคี่ให้เดินถอยหลัง 1 ช่อง แต่ถ้าลูกเต๋าออกเลขคู่ให้เดิน
2 ช่อง พร้อมบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อครบกำหนดเวลา 5 นาที กลุ่มไหนไปได้ไกลที่สุด หรือ
ถึงจุดหมายก่อน จะเป็นผู้ชนะในกิจกรรมนี้ (15 นาที)

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุปบทเรียน (5 นาที)


ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนเกี่ยวกับการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ โดยครูจะถามความหมายของ
การทดลองสุ่ม ความหมายของเหตุการณ์และครูจะถามเหตุการณ์ดงั ต่อไปนี้
1. เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้วเหรียญหงายออกหัว 2 ครั้ง
2. เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้ง แล้วเหรียญหงายออกก้อย 2 ครั้ง
3. เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้วเหรียญหงายออกหัวและออกก้อยอย่างน้อย 1 ครั้ง
4. เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้วเหรียญหงายออกก้อยติดต่อกัน 2 ครั้ง
เพื่อเป็นการทบทวนนักเรียนให้พร้อมก่อนที่จะทำใบงาน
6. การวัดและประเมินผล
ด้านความรู้ (K)
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
1. จำแนกการทดลองสุ่มและ ตรวจใบงาน - ใบงานเรื่อง การ
เหตุการณ์ได้ ทดลองสุ่มและ
เหตุการณ์ (ข้อ 1-3)

2. บอกผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้น ตรวจใบงาน - ใบงานเรื่อง การ ผ่าน = ได้คะแนน


จากการทดลองสุ่มได้ ทดลองสุ่มและ 70% ขึ้นไป
เหตุการณ์ (ข้อ 4)

3. บอกผลลัพธ์ของเหตุการณ์ที่ ตรวจใบงาน - ใบงานเรื่อง การ


เกิดขึ้นได้ ทดลองสุ่มและ
เหตุการณ์ (ข้อ 5-8)

ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
1. นำเสนอผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจ ตรวจใบงาน - ใบงานเรื่อง การ ผ่าน = ได้คะแนน 2
เกิดขึ้นจากการทดลองสุ่มได้ ทดลองสุ่มและ คะแนนขึ้นไป
เหตุการณ์ (ข้อ 4)

2. ให้เหตุผลในการจำแนก สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินทักษะ ผ่าน = ระดับดี ขึ้นไป


เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ และกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
จุดประสงค์ วิธีการ เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์
1. สามารถใช้คณิตศาสตร์แก้ปัญหา สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต
ในชีวิตจริงได้ พฤติกรรมระหว่าง ผ่าน = ระดับดี ขึ้นไป
การจัดการเรียนรู้
2. มีความมุมานะในการการทำ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต
ความเข้าใจปัญหาและแก้ปัญหา พฤติกรรมระหว่าง ผ่าน = ระดับดี ขึ้นไป
ทางคณิตศาสตร์ การจัดการเรียนรู้

7. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. ใบงาน
2. การสุ่มตัวเลขจากฉลาก
3. กระดาน ‘ตามหาคู่ให้หนูหน่อย’
4. ใบบันทึกเหตุการณ์ทั้งหมด
บันทึกหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
• ด้านความรู้ (K)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
• ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………………………………….…
(…………………………………………………………………………..)
ตำแหน่ง………………………………………………………………..
…………./…………………………/……….……
ลงชื่อ……………………………………………………………ผูส้ อน
(…………………………………………………………………………..)
ตำแหน่ง………………………………………………………………..
…………./…………………………/……….……
แบบประเมินใบงาน
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น
เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินเขียนคะแนนในช่องรายการประเมิน ตามสิ่งที่สังเกตพบ


ระดับคุณภาพ ผลการประเมิน
รวม
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล

ปานกลาง

ปรับปรุง
ดีมาก

พอใช้
ผ่าน ไม่ผ่าน
ดี
1 นางสาวกมลลักษณ์ คำหล้า
2 นางสาวกัลยรัตน์ จิตชัยเจริญกุล
3 นางสาวจารุวรรณ อุปจักร์
4 นางสาวจินดารัตน์ ภูมิภู
5 นางสาวชลิดา อยู่นวล
6 นางสาวชุติมณฑน์ อ่อนคำ
7 นางสาวฐิตาพร ชูทอง
8 นางสาวณหพันธุ์ ภูมิวัฒนรุ่งโรจน์
9 นางสาวณัฐณิชา ธนสิทธิ์สุนทร
10 นายธีรภัทร์ หมื่นพันธ์
11 นางสาวนฤพร จิตตารมย์
12 นางสาวน้ำทิพย์ ม่วงทอง
13 นายนิติกร นาคไพจิตร
14 นางสาวปฐวีพร แสงจันทร์
15 นางสาวปิยวรรณ หาสิงห์ทอง
16 นางสาวปิยาอร วรรธนะวาสิน
17 นางสาวพัชรพร กุลณาวงศ์
18 นางสาวพัทธ์ธีรา ศรลัมพ์
19 นางสาวมนัสนันท์ อ๊อดกัน
20 นางสาววฏาการ บุญอินทร์
21 นางสาวศศิประภา กลิ่นทับ
22 นางสาวศศิรดา ธรรมชาติ
ระดับคุณภาพ ผลการประเมิน
รวม
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล

ปานกลาง

ปรับปรุง
ดีมาก

พอใช้
ผ่าน ไม่ผ่าน

ดี
23 นางสาวศิรประภา ลดาวัลย์
24 นางสาวศิริลักษณ์ วงศ์ไชย
25 นายศุภวรรษ ท้วมนาค
26 นางสาวสิริมา สังกา
27 นางสาวสุธาวัลย์ กันสี
28 นางสาวสุภชา สุขจิตร
29 นายสุริยะ ศรีหมี
30 นายอิทธิ แก้วทุ่ง

ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมิน
(..................................................)
................/................../................

เกณฑ์การตัดสิน
ทำใบงานได้ถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80 หมายถึง ดีมาก
ทำใบงานได้ถูกต้องร้อยละ 70-79 หมายถึง ดี
ทำใบงานได้ถูกต้องร้อยละ 60-69 หมายถึง ปานกลาง
ทำใบงานได้ถูกต้องร้อยละ 50-59 หมายถึง พอใช้
ทำใบงานได้ถูกต้องต่ำกว่าร้อยละ 49 หมายถึง ปรับปรุง
การผ่านเกณฑ์ : ตั้งแต่ระดับดี ขึ้นไป
แบบประเมินใบงาน
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น
เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินเขียนคะแนนในช่องรายการประเมิน ตามสิ่งที่สังเกตพบ


ประเมิน ผลการประเมิน
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล
ผลการนำเสนอ ผ่าน ไม่ผ่าน
1 นางสาวกมลลักษณ์ คำหล้า
2 นางสาวกัลยรัตน์ จิตชัยเจริญกุล
3 นางสาวจารุวรรณ อุปจักร์
4 นางสาวจินดารัตน์ ภูมิภู
5 นางสาวชลิดา อยู่นวล
6 นางสาวชุติมณฑน์ อ่อนคำ
7 นางสาวฐิตาพร ชูทอง
8 นางสาวณหพันธุ์ ภูมิวัฒนรุ่งโรจน์
9 นางสาวณัฐณิชา ธนสิทธิ์สุนทร
10 นายธีรภัทร์ หมื่นพันธ์
11 นางสาวนฤพร จิตตารมย์
12 นางสาวน้ำทิพย์ ม่วงทอง
13 นายนิติกร นาคไพจิตร
14 นางสาวปฐวีพร แสงจันทร์
15 นางสาวปิยวรรณ หาสิงห์ทอง
16 นางสาวปิยาอร วรรธนะวาสิน
17 นางสาวพัชรพร กุลณาวงศ์
18 นางสาวพัทธ์ธีรา ศรลัมพ์
19 นางสาวมนัสนันท์ อ๊อดกัน
20 นางสาววฏาการ บุญอินทร์
21 นางสาวศศิประภา กลิ่นทับ
22 นางสาวศศิรดา ธรรมชาติ
23 นางสาวศิรประภา ลดาวัลย์
24 นางสาวศิริลักษณ์ วงศ์ไชย
ประเมิน ผลการประเมิน
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล
ผลการนำเสนอ ผ่าน ไม่ผ่าน
25 นายศุภวรรษ ท้วมนาค
26 นางสาวสิริมา สังกา
27 นางสาวสุธาวัลย์ กันสี
28 นางสาวสุภชา สุขจิตร
29 นายสุริยะ ศรีหมี
30 นายอิทธิ แก้วทุ่ง

ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมิน
(..................................................)
................/................../................

เกณฑ์การตัดสิน
3 คะแนน หมายถึง บอกผลลัพธ์ของการทดลองสุ่มได้ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์
2 คะแนน หมายถึง บอกผลลัพธ์ของการทดลองสุ่มได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ มีข้อผิดพลาดเล็กน้อย
1 คะแนน หมายถึง บอกผลลัพธ์ของการทดลองสุ่มได้ถูกต้องน้อย หรือไม่ถูกต้องเลย
การผ่านเกณฑ์ : ตั้งแต่ระดับ 2 คะแนนขึ้นไป
แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น
เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินเขียนคะแนนในช่องรายการประเมิน ตามสิ่งที่สังเกตพบ


รายการประเมิน ผลการประเมิน
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล
การให้เหตุผล ผ่าน ไม่ผ่าน
1 นางสาวกมลลักษณ์ คำหล้า
2 นางสาวกัลยรัตน์ จิตชัยเจริญกุล
3 นางสาวจารุวรรณ อุปจักร์
4 นางสาวจินดารัตน์ ภูมิภู
5 นางสาวชลิดา อยู่นวล
6 นางสาวชุติมณฑน์ อ่อนคำ
7 นางสาวฐิตาพร ชูทอง
8 นางสาวณหพันธุ์ ภูมิวัฒนรุ่งโรจน์
9 นางสาวณัฐณิชา ธนสิทธิ์สุนทร
10 นายธีรภัทร์ หมื่นพันธ์
11 นางสาวนฤพร จิตตารมย์
12 นางสาวน้ำทิพย์ ม่วงทอง
13 นายนิติกร นาคไพจิตร
14 นางสาวปฐวีพร แสงจันทร์
15 นางสาวปิยวรรณ หาสิงห์ทอง
16 นางสาวปิยาอร วรรธนะวาสิน
17 นางสาวพัชรพร กุลณาวงศ์
18 นางสาวพัทธ์ธีรา ศรลัมพ์
19 นางสาวมนัสนันท์ อ๊อดกัน
20 นางสาววฏาการ บุญอินทร์
21 นางสาวศศิประภา กลิ่นทับ
22 นางสาวศศิรดา ธรรมชาติ
23 นางสาวศิรประภา ลดาวัลย์
24 นางสาวศิริลักษณ์ วงศ์ไชย
รายการประเมิน ผลการประเมิน
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล
การให้เหตุผล ผ่าน ไม่ผ่าน
25 นายศุภวรรษ ท้วมนาค
26 นางสาวสิริมา สังกา
27 นางสาวสุธาวัลย์ กันสี
28 นางสาวสุภชา สุขจิตร
29 นายสุริยะ ศรีหมี
30 นายอิทธิ แก้วทุ่ง

ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมิน
(..................................................)
................/................../................

เกณฑ์การตัดสิน
4 คะแนน หมายถึง ดีมาก
3 คะแนน หมายถึง ดี
2 คะแนน หมายถึง พอใช้
1 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
การผ่านเกณฑ์ : ตั้งแต่ระดับดี ขึ้นไป
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

ประเด็น ระดับคะแนน
รวม
การประเมิน 4 3 2 1
มีการให้เหตุผล มีการให้เหตุผล มีการให้เหตุผล มีการให้เหตุผล
ที่ถูกต้องและ ที่ถูกต้องและ ที่ถูกต้อง ทีไ่ ม่ถูกต้องใน
เสนอแนวคิด เสนอแนวคิด บางส่วน และ การตัดสินใจ
การให้เหตุผล ประกอบการ ประกอบการ เสนอแนวคิด 4
ตัดสินใจได้ ตัดสินใจได้ แต่ ประกอบการ
อย่าง ไม่สมเหตุสมผล ตัดสินใจ ไม่ได้
สมเหตุสมผล
รวม 4
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างการจัดการเรียนรู้
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น
เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์

คำชี้แจง ให้ผู้ประเมินเขียนคะแนนในช่องรายการประเมิน ตามสิ่งที่สังเกตพบ


รายการประเมิน ผลการประเมิน
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล รวม
การแก้ปัญหา ความมุมานะ ผ่าน ไม่ผ่าน

1 นางสาวกมลลักษณ์ คำหล้า
2 นางสาวกัลยรัตน์ จิตชัยเจริญกุล
3 นางสาวจารุวรรณ อุปจักร์
4 นางสาวจินดารัตน์ ภูมิภู
5 นางสาวชลิดา อยู่นวล
6 นางสาวชุติมณฑน์ อ่อนคำ
7 นางสาวฐิตาพร ชูทอง
8 นางสาวณหพันธุ์ ภูมิวัฒนรุ่งโรจน์
9 นางสาวณัฐณิชา ธนสิทธิ์สุนทร
10 นายธีรภัทร์ หมื่นพันธ์
11 นางสาวนฤพร จิตตารมย์
12 นางสาวน้ำทิพย์ ม่วงทอง
13 นายนิติกร นาคไพจิตร
14 นางสาวปฐวีพร แสงจันทร์
15 นางสาวปิยวรรณ หาสิงห์ทอง
16 นางสาวปิยาอร วรรธนะวาสิน
17 นางสาวพัชรพร กุลณาวงศ์
18 นางสาวพัทธ์ธีรา ศรลัมพ์
19 นางสาวมนัสนันท์ อ๊อดกัน
20 นางสาววฏาการ บุญอินทร์
21 นางสาวศศิประภา กลิ่นทับ
22 นางสาวศศิรดา ธรรมชาติ
รายการประเมิน ผลการประเมิน
เลขที่ ชื่อ – นามสกุล รวม
การแก้ปัญหา ความมุมานะ ผ่าน ไม่ผ่าน

23 นางสาวศิรประภา ลดาวัลย์
24 นางสาวศิริลักษณ์ วงศ์ไชย
25 นายศุภวรรษ ท้วมนาค
26 นางสาวสิริมา สังกา
27 นางสาวสุธาวัลย์ กันสี
28 นางสาวสุภชา สุขจิตร
29 นายสุริยะ ศรีหมี
30 นายอิทธิ แก้วทุ่ง

ลงชื่อ.......................................................ผู้ประเมิน
(..................................................)
................/................../................

เกณฑ์การตัดสิน
คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 5 - 6 หมายถึง ดี
คะแนน 3 - 4 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 - 2 หมายถึง ปรับปรุง
การผ่านเกณฑ์ : ตั้งแต่ระดับดี ขึ้นไป
เกณฑ์การวัดและประเมินผล
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างการจัดการเรียนรู้
รายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วย ความน่าจะเป็น เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
ประเด็น ระดับคะแนน
รวม
การประเมิน 4 3 2 1
ใช้คณิตศาสตร์ ประยุกต์ใช้ลักษณะ สามารถ ไม่ตั้งใจในการ
แก้ปัญหาในชีวิต เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ประยุกต์ใช้ ปฏิบัติหน้าที่
จริงได้และสามารถ ซ้ำๆเพื่อทำความ ลักษณะ การงาน
ประยุกต์ใช้ลักษณะ เข้าใจหรือ เหตุการณ์ที่
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แก้ปัญหาใน เกิดขึ้นซ้ำๆเพื่อ
ซ้ำๆเพื่อทำความ สถานการณ์ต่างๆ ทำความเข้าใจ
การแก้ปัญหา เข้าใจหรือแก้ปัญหา รวมทั้งยังมีเหตุผล หรือแก้ปัญหา 4
ในสถานการณ์ต่างๆ สนับสนุนแนวคิด ในสถานการณ์
รวมทั้งยังมีเหตุผล ของตนหรือโต้แย้ง ต่างๆได้
สนับสนุนแนวคิด คนอื่นอย่าง
ของตนหรือโต้แย้ง สมเหตุสมผล
คนอื่นอย่าง
สมเหตุสมผล
ตั้งใจเรียนและมี ตั้งใจเรียนและมี มีความพยายาม ไม่มีความมุ
ความเพียรพยายาม ความเพียร ในการทำความ มานะในการ
ในการเรียนรู้ มี พยายามในการ เข้าใจปัญหา ปฏิบัติหน้าที่
ความพยายามใน เรียนรู้ มีความ การงาน
ความมุมานะ 4
การทำความเข้าใจ พยายามในการทำ
ปัญหา และมีการ ความเข้าใจปัญหา
พัฒนาการทำงาน
ให้ดีขึ้น
รวม 8
ภาคผนวก
ตัวอย่าง ฉลาก “รวยหรือจน”

456

123

789
กิจกรรม “ตามหาคู่ให้หนูหน่อย”
กาแฟอยากจะจีบสาวคนหนึ่งซึ่งอยู่ปลายแถวของบันไดงู แต่การที่จะจีบสาวคนนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะ
ต้องผ่านบรรดาเพื่อน ๆ ของเขาก่อน โดยใช้เวลาทั้งหมด 5 นาที แต่อย่างไรก็ตามมีเพื่อนที่คอยแอบช่วยกาแฟ
อยู่ห่าง ๆ อยู่นะ พวกเธอก็มาช่วยกาแฟจีบสาวด้วยกันเถอะ

อุปกรณ์การเล่น

- กระดาน ‘ตามหาคู่ให้หนูหน่อย’
- หมากเดิน
- ลูกเต๋า 1 ลูก
- ตารางบันทึกเหตุการณ์
วิธีการเล่น

- ทอยลูกเต๋า 1 ครั้ง ถ้าหน้าลูกเต๋าออกเลขคู่ให้เดินหน้า 2 ช่อง แต่ถ้าลูกเต๋าออกเลขคี่ให้เดินถอยหลัง


1 ช่อง ทอยไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงเส้นชัย หรือจุด 30
- จดบันทึกเหตุการณ์ลงตาราง
กติกาพิเศษ

- ถ้าพบเจอบันได สามารถเดินผ่านบันไดไปยังจุดที่สูงขึ้นได้เลย
- การที่จะเข้าเส้นชัยได้นั้น ต้องเดินทางถึงเส้นชัยพอดี เช่น เราอยู่จุดที่ 29 แล้วเราทอยได้เลขคู่แสดงว่า
เราต้องเดินหน้า 2 ช่องคือ ช่องที่ 30 แต่มันทางตันแล้วดังนั้นให้เดินถอยหลังเพิ่มอีก 1 ช่อง แสดงว่า
เราจะอยู่ที่ช่อง 29 ดังเดิม เพราะฉะนั้นถ้าเราได้อยู่ช่อง 29 มีทางเดียวคือครั้งต่อไปต้องทอยได้เลขคี่
เราจะเดินถอยหลังกลับมายังจุดที่ 28 และครั้งต่อไปทอยได้เลขคูถ่ ึงจะถึงจุดที่ 30 พอดี กาแฟจึงจะ
จีบสาวสำเร็จ

หมายเหตุ ต้องจดบันทึกเหตุการณ์ทุกครั้งเวลาที่ทอยลูกเต๋า
ตารางบันทึกเหตุการณ์
ครั้งที่ หน้าลูกเต๋าที่ออก ผลลัพธ์ (คู่/คี่)
ตัวอย่าง กระดาน ‘ตามหาคู่ให้หนูหน่อย’
ใบงานที่ 1 เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
รายวิชา คณิตศาสตร์ 6 รหัสวิชา ค23102 ภาคเรียนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ชื่อ-สกุล...............................................................................................................ชั้น...... ....................เลขที่................

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จำแนกการทดลองสุ่มและเหตุการณ์ได้
2. บอกผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการทดลองสุ่มได้
3. บอกผลลัพธ์ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของการทดลองสุ่ม ( 1 คะแนน )
............................................................................................................................................................. ..........

2. จงบอกความหมายของเหตุการณ์ ( 1 คะแนน )
.......................................................................................................................................................................

3. ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย S หน้าข้อที่เป็นการทดลองสุ่ม
และใส่เครื่องหมาย E หน้าข้อที่เป็นเหตุการณ์ ( 5 คะแนน )
การออกหมายเลขสลากกินแบ่งที่ได้รับรางวัลโดยการหมุนวงล้อให้ลูกปิงปองที่มีตัวเลขออกมาจากวงล้อ
ในกล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสีแดง 5 ลูก สีเหลือง 1 ลูกถ้าหยิบลูกแก้วขึ้นมาพร้อมกันสองลูกจะได้
ลูกแก้วสีแดงอย่างน้อย 1 ลูก
การจับฉลากแลกของขวัญปีใหม่
การเดาข้อสอบคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นข้อสอบแบบปรนัยจํานวน 10 ข้อ
แมวออกลูกครั้งแรกและครั้งที่สองเป็นตัวผู้
4. ให้นักเรียนวาดแผนภาพต้นไม้เพื่อบอกผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นทั้งหมดของการโยนเหรียญ 3 ครั้ง โดยการโยนทีละครั้ง
เป็นดังต่อไปนี้ ( 3 คะแนน )

5. เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้ว แล้วเหรียญหงายออกหัว 2 ครั้ง ( 1 คะแนน )


.......................................................................................................................................................................
6. เหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้ว แล้วเหรียญหงายออกก้อย 2 ครั้ง ( 1 คะแนน )
.......................................................................................................................................................................
7. เหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้วแล้วเหรียญหงายออกก้อยและออกหัวอย่างละ 1 ครั้ง
( 1 คะแนน )
.......................................................................................................................................................................
8. เหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้ว แล้วเหรียญหงายออกก้อยติดต่อกัน 2 ครั้ง ( 1 คะแนน )
.......................................................................................................................................................................
เฉลย
1. การทดลองสุ่ม หมายถึง การกระทำที่เราทราบว่าผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นมีอะไรบ้าง แต่ไม่สามารถ
บอกได้อย่างถูกต้องแน่นอนว่าจะเกิดผลอะไร จากผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้เหล่านั้น

2. เหตุการณ์ หมายถึง สิ่งที่เราสนใจพิจารณาจากการทดลองสุ่มในแต่ละครั้ง

3. S , E , S , S , E ตามลำดับ

4. แผนภาพเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นทั้งหมดของการโยนเหรียญ 3 ครั้ง โดยการโยนทีละครั้งเป็นดังต่อไปนี้

กำหนดให้ คือหัว(H) , คือก้อย(T)

โยนเหรียญครั้งที่ 1 โยนเหรียญครั้งที่ 2 โยนเหรียญครั้งที่ 3

(H)

(T)
(H)

(H)
(H)

(T) (T)

(H)

(T)
(H)
(H)
(T)

(T)
(T)
5. เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้ว แล้วเหรียญหงายออกหัว 2 ครั้ง
ตอบ HHT , HTH , THH
6. เหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้ว แล้วเหรียญหงายออกก้อย 2 ครั้ง
ตอบ HTT , TTH , THT
7. เหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้วแล้วเหรียญหงายออกหัวและก้อยอย่างละ 1 ครั้ง
ตอบ HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH
8. เหตุการณ์ที่เหตุการณ์ที่โยนเหรียญครบ 3 ครั้งแล้ว แล้วเหรียญหงายออกก้อยติดต่อกัน 2 ครั้ง
ตอบ HTT , TTH

You might also like