You are on page 1of 66

สารบัญเฉลย ภาษาไทย ๖ เล่ม ๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การฟังและดูสารที่แสดงทรรศนะ ๙
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การพูดโต้แย้ง ๑๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การเขียนสรุปความ ๑๗
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ ๒๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ การอ่านประเมินค่านวนิยาย
เรื่อง ความสุขของกะทิ ๒๙
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ การแต่งคำ�ประพันธ์ประเภทฉันท์ ๓๔
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร ๓๙
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ ไตรภูมิพระร่วง ๔๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ สามัคคีเภทคำ�ฉันท์ ๕๐
เฉลยแนวข้อสอบ O-NET วิชาภาษาไทย ๕๖
2


นว่
ยที่

อิทธิพลของภาษาต
ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น
ใบงำนที่ ๑.๑ เรื่อง ภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย
ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนหาค�าภาษาต่างประเทศในภาษาไทยตามที่ก�าหนดให้ อย่างน้อย ๕ ค�า
แนวค�ำตอบ
๑. ค�าภาษาอังกฤษ โควตำ คำร์บอน ฟุตบอล โบนัส แฟชั่น สูท วิตำมิน ยีนส์ โปสเตอร์ ทีม
๒. ค�าภาษาจีน ก๊ก เกง เกี๊ยว เก้ำอี้ เข่ง เต้ำฮวย บ๊วย ซีอิ๊ว บะหมี่ พะโล้
๓. ค�าภาษาฝรั่งเศส กิโล กรัม บูเกต์ กงสุล คิว โชเฟอร์ เมตร ลิตร โครเชต์ ชีฟอง มำดำม
๔. ค�าภาษาเปอร์เซีย กุหลำบ ชุกชี ตำด ตรำ ฝรั่ง เยียรบับ สักหลำด สุหร่ำย องุ่น เข้มขำบ
๕. ค�าภาษาโปรตุเกส ปัง กะละแม เหรียญ สบู่ หลำ เลหลัง บำทหลวง
ใบงำนที่ ๑.๒ เรื่อง ชื่อผักและผลไม้ในภำษำถิ่น
ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนหาค�าภาษาถิ่นจากค�าภาษาไทยมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องกับผักและผลไม้ทกี่ า� หนดให้
ค�ำภำษำไทยมำตรฐำน ภำษำถิ่นอีสำน ภำษำถิ่นเหนือ ภำษำถิ่นใต้
๑. ตะไคร้ หัวสิงไค จั๊กไค ไคร
๒. ผักกระเฉด ผักกระเฉดน�้า ผักหนองน�้า ผักฉีด
๓. เห็ดโคน เห็ดปลวก เห็ดคน เห็ดจูน
๔. พริกสด พริกดิบ พริกหนุ่ม ดีปลี
๕. มะเขืิอเปราะ บักเขือผ่อย มะเขือผ่อย ลูกเขือเปราะ
๖. มะละกอ บักฮุง บะก้วยเต๊ด ลอกอ
๗. ฝรั่ง บักสีดา บะถ้วย ชมพู่
๘. ชมพู่ บักชมพู บะจุมปู น�้าดอกไม้
๙. ฟักทอง บักอึ บะฟักแก้ว ขี้พร้า
๑๐. มะพร้าว บักพ่าว บะป้าว ลูกพร้าว

ใบงำนที่ ๑.๓ เรื่อง รู้จักภำษำถิ่น


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนหาความหมายของค�าภาษาถิ่นต่อไปนี้
๑๑ เดื เดืืออนดั
นดั๋๋�บ๋บ หมายถึ
หมายถึึงง ข้ข้้ำางแรม
งแรม ๗.
๗. ส้้ส้มๆ หวานๆ หมายถึึ
หมายถึง เปรี้
เ ปย�้ รีวๆ
้ ย วหวานๆ

๒. เดื อ
๒. เดืือนออก นออก หมายถึ ง
หมายถึึง ข้
ข้้างขึ้้้น�น
ำ งขึ ๘.
หวำนๆแว่่น หมายถึึง กระจกเงา
๓.
๓. สาวจี
สาวจี๋๋๋ � หมายถึ
หมายถึึงง สำวแรกรุ
สาวแรกรุ่่่น�น ๙.
๘. ดอกจำำ
แว่น �ป๋๋าลาว หมายถึึ
หมายถึง ดอกลีีลาวดีี
กระจกเงำ
๔. บ้ า นเฮื
๔. บ้้านเฮืือน อ น หมายถึ ง
หมายถึึง บ้
บ้้ำานเรื
นเรืืออนน ๑๐.
๙. ฮุ้้ดอกจ�
�งคาวาปาลาว หมายถึึ
หมายถึง ค้้ดอกลี
างคาว ลำวดี
๕.
๕. จ้จ้้าางไม้
งไม้้ หมายถึ
หมายถึึงง ช่ช่ำ่างไม้
งไม้้ ๑๑.
๑๐. โพรก
ฮุ้งคาว หมายถึึ
หมายถึง พรุุ่
ค้ำ�งงคำว
นี้้�
๖. เก็
๖. เก็็มๆ ม ๆ หมายถึ ง
หมายถึึง เค็
เค็็มๆ ม ๆ ๑๒.
๑๑. เล
โพรก หมายถึึ
หมายถึง ทะเล
พรุ่งนี้
3
3
๑๓. นากา หมายถึึง นาฬิิกา ๑๗. จััก หมายถึึง ไม่่รู้้�, กี่่�
๑๒. วีีเล
๑๔. หมายถึ
หมายถึึงง พััทะเล
ด, แกว่่ง ๑๗.
จัก หมายถึง ไม่
(ใช้้รถู้, ามจำำ
กี่ �นวน)
๑๓. ย่่นากา
๑๕. าง หมายถึ
หมายถึึงง ก้้าว กำ
นำฬิ ๑๘. บัักนััด (ใช้
หมายถึึง ถ ำมจ� ำ นวน)
สัับปะรด
๑๔. วี หมายถึงง ร้้พัาดย, แกว่ง ๑๘. สั บปะรด
๑๖. ฮ่่าย
๑๕. ย่าง
หมายถึึ
หมายถึง เดิน ๑๙. บับัักฮุุง
กนัด หมายถึ ง
หมายถึึง มะละกอ
๑๙. บักฮุง หมายถึง มะละกอ
๑๖. ฮ่าย หมายถึง ร้ำย ๒๐. เคี
๒๐. เคีียด
ยด หมายถึึ
หมายถึง ง โกรธ
โกรธ

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด


๑. ภาษาไทยมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดช้าที่สุด
จ. โครงสร้ำงประโยค
๒. การยืมภาษาเกิดจากสาเหตุใดบ้าง
จ. ถูกต้องทุกข้อ
๓. การยืมภาษาต่างประเทศมาใช้มีผลอย่างไร
ก. ท�ำให้มีค�ำใช้หลำกหลำย
๔. “ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร” แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงภาษาในด้านใด
ง. ด้ำนค�ำศัพท์ (ม้วย, สิ้น, มหำสมุทร)
๕. ข้อใดมีการยืมภาษาแตกต่ำงจากข้ออื่น
ก. เร่งผลิตเหรียญสองบำทรูปแบบใหม่ (ข้ออื่นเป็นค�ำยืมภำษำอังกฤษ)
๖. ข้อใดไม่แสดงถึงอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
จ. หยุดคอยท่ำอยู่ในห้องของหนทำง
๗. ข้อใดได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศ
ข. ส�ำหรับผม กำรเล่นกีฬำเป็นสิ่งที่ไม่เกินควำมสำมำรถ
๘. ประโยคในข้อใดไม่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาต่างประเทศ
ข. ภำวะโลกร้อนเป็นปัญหำที่แก้ไขยำก
๙. ข้อใดได้รับอิทธิพลจากภาษาถิ่น
ค. พ่อเลีย้ งเป็นคนใจดี และมีนำ�้ ใจต่อลูกน้องทุกคน (พ่อเลีย้ ง เป็นค�ำเรียกคนมีฐำนะในภำษำถิน่ เหนือ)
๑๐. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับภาษาถิ่น
ข. ภำษำถิ่นท�ำให้ภำษำไทยมีกำรเปลี่ยนแปลง
4

ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบายเหตุผล


ข้อที่เห็นว่าผิด
.............. ๑. การยืมค�าศัพท์ต่างประเทศท�าให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
x ๒.
.............. ภาษาท�าให้พฤติกรรมของมนุษย์ในการด�ารงชีวิตเปลี่ยนแปลงไป
(เหตุผล พฤติกรรมมนุษย์ท�ำให้ภำษำเปลี่ยนแปลง)
.............. ๓. ภาษามีการเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับวัฒนธรรม
x ๔.
.............. ปัจจุบันภาษาไทยไม่ได้ยืมภาษาอื่นนอกจากภาษาอังกฤษ
(เหตุผล ภำษำไทยได้ยืมภำษำต่ำงประเทศมำกมำย เช่น ญี่ปุ่น จีน มลำยู)
.............. ๕. ค�าซ้อน มีการสร้างค�าจากภาษาถิน่ เช่น อ้วนพี พัดวี
.............. ๖. การศึกษาภาษาถิ่นเป็นการศึกษาประวัติที่มาของค�าในภาษา
.............. ๗. ภาษาไทยมีเสียงพยัญชนะควบกล�า้ มากขึน้ เพราะอิทธิพลของภาษาบาลีสนั สกฤต เช่น จันทรา ทฤษฎี
.............. ๘. ภาษาไทยมีเสียงพยัญชนะตัวสะกดเปลี่ยนแปลงเพราะได้รับอิทธิพลจากภาษาอังกฤษ
.............. ๙. ภาษาถิ่นเข้ามาปะปนอยู่ในวรรณคดีและภาษามาตรฐานด้วย
x ๑๐.
.............. ภาษาถิน่ มีอทิ ธิพลต่อภาษามาตรฐานทัง้ ด้านเสียง ค�า และส�านวนโวหาร (เหตุผล ภำษำถิน่ มีผลต่อ
ภำษำพูด)
ตอนที่ ๓ ค�ำชี้แจง : จงระบุว่าข้อใดต่อไปนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ
๑. มันก็เป็นเรื่องธรรมดาที่ทุกคนจะรู้สึกอย่างนั้น ๖. เขาชอบดูอเมริกันฟุตบอล
๒. ที่ร้านนี้จ�าหน่ายอาหารสัตว์ ๗. ฉันว่าวันนั้นเธอใส่เสื้อสีด�า
๓. ฉันเสียใจจริงๆ ๘. ไม่เห็นโลงศพไม่หลั่งน�้าตา
๔. มันเป็นความเศร้าอย่างมหันต์ ๙. คดีนี้ต้องมีแพะรับบาปแน่ๆ
๕. เมื่อมีเวลาว่างเขาชอบไปห้างสรรพสินค้า ๑๐. แม่ก�าลังผัดข้าวผัด
เฉลย ข้อ ๑๑, ,๒,๒ ๔,
, ๔๕,, ๕๖,, ๘,
๖ ,๙๘ , ๙

ตอนที่ ๔ ค�ำชี้แจง : จงบอกที่มาของส�านวนสุภาษิตต่อไปนี้

อังกฤษ จีน บำลีสันสกฤต

อังกฤษ
.............................. ๑. ถอนขนห่าน บำลีสันสกฤต ๖. ฟังด้วยดีย่อมเกิดปัญญา
..............................
จีน
.............................. ๒. ไม่เห็นโลงศพไม่หลั่งน�้าตา บำลีสันสกฤต ๗. ไม่มแี สงสว่างใดเสมอด้วยปัญญา
..............................
จีน
.............................. ๓. มิบังอาจ อังกฤษ
.............................. ๘. มือสอง
จีน
.............................. ๔. ไม่เข้าถ�้าเสือก็ไม่ได้ลูกเสือ อังกฤษ
.............................. ๙. ดื่มน�้าผึ้งพระจันทร์
อังกฤษ
.............................. ๕. มือสะอาด อังกฤษ
.............................. ๑๐. แพะรับบาป
55


ยที่
นว่ การประเมินการใช
การใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ
พ์

และสื่ออิเล็กทรอนิกส
ส์
ใบงำนที่ ๒.๑ เรื่อง กำรประเมินกำรใช้ภำษำจำกสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนวิเคราะห์การใช้ภาษาจากพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ต่อไปนี้
๑. รวบแก๊งงัดเซฟ ๒ โจรแสบฉกเพชร ๕๘ ล้าน ของ “บิวตี้เจมส์” บ.อัญมณีดัง กองปราบแกะรอยร่วมเดือน
แฉประวัติผ่านคุกมาโชกโชน (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๒. โพลความนิยม “ไทยพรีเมียร์ลีก” สูง ๙๔ เปอร์เซ็นต์ (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๓. “นก” ร่วมหวดเทนนิสซีเกมส์ (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๔. ระเบิดถล่มรถนายก อบต. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๕. “คลารา บรูนี” งานเข้า! (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
แนวค�ำตอบ ดูกำรใช้ค�ำ เช่น มีกำรใช้ค�ำทับศัพท์ อักษรย่อ ใช้ภำษำปำก (ฉก หวด) ค�ำสแลง (งำนเข้ำ)
ำรเรียงประโยค เช่น
ดูการเรี เช่น ลัละลั กษณนำม
กษณะนาม (๒ (โจร
๒ โจร โจร ๒ คน)
ดูกำรใช้เครื่องหมำยวรรคตอน เช่น ! (อัศเจรีย์) เพื่อแสดงถึงควำมรู้สึกตกใจ,
‘ ’ (อัญประกำศเดี่ยว) คร่อมค�ำที่ต้องกำรเน้น
ใบงำนที่ ๒.๒ เรื่อง กำรประเมินกำรใช้ภำษำจำกสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนวิเคราะห์การใช้ภาษาจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่อไปนี้
คำค�ำ�ตอบอิ
ตอบอิสสระโดยให้
ระโดยให้นนักั กเรีเรยีนวิ เครำะห์
ย นวิ และประเมิ
เคราะห์ นค่นำโดยใช้
แ ละประเมิ หลักหกำรวิ
ค่าโดยใช้ เครำะห์
ลั ก การวิ และประเมิ
เคราะห์ นค่ำในหน่
แ ละประเมิ วย
นค่าใน
กำรเรี
หน่ ยนรู้ทยี่ ๒นรูเช่้ทนี่ ๒กำรเปลี
วยการเรี ่ยนแปลงเรื่องกำรสะกดค�
เช่น การเปลี่ยนแปลงเรื ำ กำรออกเสี
่องการสะกดคำ ยง ฯลฯ
� การออกเสี ยง ฯลฯ

ใบงำนที่ ๒.๓ เรื่อง แนวทำงกำรวิเครำะห์กำรใช้ภำษำจำกสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนเติมผังมโนทัศน์ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

๑. กำรออกเสียง ๒. ค�ำและกำรใช้ค�ำ

แนวทำงกำรวิเครำะห์กำรใช้
ภำษำของสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

๓. ประโยค ๔. ส�ำนวนโวหำร
6

ใบงำนที่ ๒.๔ เรื่อง กำรอ่ำนออกเสียงค�ำจำกสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์


ค�ำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนแก้ไขการออกเสียงค�าต่อไปนีใ้ ห้เป็นค�าอ่านทีถ่ กู ต้อง
๑. พันธุกรรมพืช ออกเสียงเป็น พัน-ทุ-ก�า-พืด
อ่านว่า พัน – ทุ – ก�ำ – มะ – พืด
๒. ตะนาวศรี ออกเสียงเป็น ตะ-นาว-วะ-สี
อ่านว่า ตะ – นำว – สี
๓. มหาวิทยาลัย ออกเสียงเป็น มะ-หา-ไล / มะ-หา-วิช-ชา-ไล
อ่านว่า มะ – หำ – วิด – ทะ – ยำ – ไล
๔. รัฐธรรมนูญ ออกเสียงเป็น รัด-ท�า-นูน
อ่านว่า รัด – ถะ – ท�ำ – มะ – นูน
๕. ผู้พิพากษา ออกเสียงเป็น พูก-สา
อ่านว่า ผู้ – พิ – พำก – สำ
๖. มอเตอร์ไซค์์ ออกเสียงเป็น มอ-ไซ
อ่านว่า มอ – เตอ – ไซ
๗. พิษณุโลก ออกเสียงเป็น พิด-โลก
อ่านว่า พิด – สะ – นุ – โลก
๘. อุตสาหกรรม ออกเสียงเป็น อุด-ตะ-สา-หะ-ก�า
อ่านว่า อุด – สำ – หะ – ก�ำ

ใบงำนที่ ๒.๕ เรื่อง กำรประเมินกำรใช้ภำษำจำกสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนแก้ไขการใช้ค�าต่อไปนี้ให้เหมาะสม
๑. ต�ารวจน�าผู้ต้องหาไปสืบปำกค�ำ ต�ำรวจน�ำผู้ต้องหำไปสอบปำกค�ำ
๒. ฉันเห็นเด็กๆ ฝูงใหญ่ก�าลังว่ายน�้า ฉันเห็นเด็กๆ กลุ่มใหญ่ก�ำลังว่ำยน�้ำ
๓. ภายในหมู่บ้านนี้มีสนามกีฬา สระน�้าขนาดใหญ่ คอกสัตว์ และบ่อบาดาลพร้อมมูล
ภำยในหมู่บ้ำนนี้มีสนำมกีฬำ สระน�้ำขนำดใหญ่ คอกสัตว์ และบ่อบำดำลพร้อมสรรพ
๔. ต�ารวจมีหน้าที่เผด็จทุกข์บ�ารุงสุข ต�ำรวจมีหน้ำที่บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุข
๕. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่เอำไหนท�าให้งานล่าช้า หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องท�ำงำนบกพร่องท�ำให้งำนล่ำช้ำ
๖. สมศรีชอบท�าตัวคิกขุ สมศรีชอบท�ำตัวเหมือนเด็ก
๗. วันนี้เขาแต่งตัวเวอร์มาก วันนี้เขำแต่งตัวไม่เหมำะสม
๘. สอบคราวนี้แห้วอีกแล้ว สอบครำวนี้พลำดอีกแล้ว
๙. อาจารย์แกป่วยอีกแล้ว อำจำรย์ท่ำนป่วยอีกแล้ว
๑๐. เจ็บหนักขนาดนี้ส่งโรงบำลด่วน บำดเจ็บสำหัสขนำดนี้ส่งโรงพยำบำลด่วน
7

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด

๑. ข้อใดอ่านถูกต้อง
ค. วิศวกรรม อ่ำนว่ำ วิด – สะ – วะ – ก�ำ
๒. ข้อใดใช้ค�าไม่ตรงความหมาย
ง. อย่ำไปขัดขวำงสิทธิและเสรีภำพของประชำชน (แก้จำก “ขัดขวำง” เป็น “ลิดรอน”)
๓. “ต�ารวจ.........รถที่ก�าลังแล่นมาตามถนนเพื่อตรวจใบขับขี่”
ข. หยุด
๔. ท่านอธิการบดีจะเป็นผู้มอบรางวัลให้........ผู้ชนะเลิศ.........ตนเอง ทุกท่านกรุณาไปให้ตรง........ก�าหนดนัด
ข. แก่ ด้วย ตำม
๕. “ข้อสอบนี้ดูดีๆ แล้วไม่ยากหรอก ตัวเลือกมันลวงอยู่นิดเดียว เฉลยแล้วต้องร้อง อ๋อ นี่มัน..........แท้ๆ”
ง. เส้นผมบังภูเขำ (หมำยถึง เรื่องง่ำยๆ แต่คิดไม่ออก เหมือนมีอะไรมำบังอยู่)
๖. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสม
จ. ตอนนี้คุณลุงก�ำลังป่วยกระเสำะกระแสะ
๗. ข้อใดไม่มีการใช้ภาษาก�ากวม
ค. ใช่ผมมันไม่ดี ไม่ต้องมำคบกับผม
๘. “อาจารย์แกนัดสอบซ่อมพรุ่งนี้” ข้อความนี้ใช้ภาษาบกพร่องประเด็นใด
จ. ใช้ค�ำไม่เหมำะสมกับควำมสัมพันธ์ของบุคคล
๙. ข้อใดมีการใช้โครงสร้างประโยคแบบภาษาต่างประเทศ
ง. มันเป็นไปได้ยำกที่เขำจะไม่สนใจเธอ
๑๐. ข้อใดใช้ภาษาฟุ่มเฟือย
จ. ก�ำลังวังชำของคนสูงอำยุจะลดลงเรื่อยๆ
ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบาย
เหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด
.............. ๑. การรับสารจากสื่อจะต้องระมัดระวังเพราะสื่อมีข้อจ�ากัดเรื่องเวลาในการผลิต
.............. ๒. สื่อโทรทัศน์และสื่ออินเทอร์เน็ตมีผลท�าให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
x ๓. “ความสัมพันธ์ของบุคคล” จะเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาค่อนข้างน้อย
..............
(เหตุ ผ ล เกี่ ย วข้ อ งเป็ น อย่ ำ งมำก เพรำะควำมสั ม พั น ธ์ ข องบุ ค คลท� ำ ให้ เ รำสำมำรถ
ใช้ภำษำได้เหมำะสมกับกำลเทศะยิ่งขึ้น)
88

.............. ๔. การใช้สรรพนามถือเป็นตัวอย่างวัฒนธรรมการใช้ภาษาที่เห็นชัดเจน
.............. ๕. “ฉันได้ข่าวว่าแม่เธอที่เพิ่งเสีย ฉันสลดใจจริงๆ นะ” ประโยคนี้ใช้ค�าไม่ถูกต้อง
.............. ๖. การออกเสียงไม่ถูกต้องท�าให้สื่อความหมายผิดไป
.............. ๗. การใช้ภาษาเลียนแบบสื่อต่างๆ ไม่ถือว่าผิด แต่ควรใช้ให้เหมาะกับกาลเทศะและบุคคล
x ๘.
.............. ปัจจุบันภาษาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงแล้ว
(เหตุผล ภำษำไทยยังมีกำรเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อยๆ)
.............. ๙. ส่วนมากรูปประโยคมีการเปลี่ยนแปลงตามภาษาอังกฤษมากกว่าภาษาอื่น
.............. ๑๐. การศึกษาความหมายให้ถ่องแท้จะช่วยให้ใช้ภาษาได้ถูกต้อง

ตอนที่ ๓ ค�ำชีแ้ จง : จงน�าตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือไปเติมลงในช่องว่างด้านซ้ายมือทีม่ คี วามสัมพันธ์กนั


ช. ๑. เรื่องที่เป็นประเด็นในขณะนี้เรียกได้ว่าเด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว
..............
ก. ๒. ป่าที่อุดมสมบูรณ์มักชุ่มชื่นเสมอ
.............. ก. ใช้ค�าผิดความหมาย
ซ. ๓. การศึกไทยในปัจจุบันมีแนวโน้มถอยหลังลงคลอง
.............. ข. ใช้ค�าฟุ่มเฟือย
ก. ๔. ต�ารวจก�าลังไต่สวนเพื่อสืบหาผู้ร้ายอยู่
.............. ค. ใช้ค�าก�ากวม
ข. ๕. เอกสารนี้แจกฟรีโดยไม่คิดมูลค่า
.............. ง. การออกเสียงผิด
จ. ๖. นักกีฬาจังหวัดตากแพ้ให้กับนักกีฬาจังหวัดขอนแก่น จ. ใช้ค�าไวยากรณ์ผิด
..............
ง. ๗. วิ่งเปี้ยว จัดเป็นการละเล่นพื้นบ้านหรือไม่
.............. ฉ. ใช้โครงสร้างประโยคต่างประเทศ
ฉ. ๘. ธนาคารมีความจ�าเป็นต้องปิดให้บริการ
.............. ช. ใช้ส�านวนโวหารสร้างขึ้นมาใหม่
ฉ. ๙. พวกเรามีความรู้สึกยินดีกับคู่บ่าวสาวเป็นอย่างยิ่ง
.............. ซ. ใช้ส�านวนโวหารผิด
ค. ๑๐. “เขตทหารห้ามพกอาวุธ”
..............

ตอนที่ ๔ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครือ่ งหมาย หน้าข้อทีถ่ กู และเครือ่ งหมาย x หน้าข้อทีผ่ ดิ และอธิบายเหตุผล


ข้อที่เห็นว่าผิด
.............. ๑. วันนี้คุณแม่อนุโลมให้ไปดูหนังสือกับเพื่อนได้ (เหตุผล ใช้ค�ำว่ำ อนุญำต แทน อนุโลม)
.............. ๒. ร้านนี้ก๋วยเตี๋ยวราดหน้าอร่อยที่สุด
.............. ๓. เธออย่ามาท�าเป็นพูดงั้นงี้เลย (เหตุผล ใช้ค�ำว่ำ อย่ำงนั้น อย่ำงนี้ แทน งั้นงี้)
.............. ๔. มหาวิทยาลัยของเราก�าลังโกอินเตอร์ (เหตุผล ใช้ค�ำว่ำ สู่นำนำชำติ แทน โกอินเตอร์)
.............. ๕. ฉันได้ยนิ เสียงรถมอเตอร์ไซค์เมือ่ สักครู่ (เหตุผล ใช้คำ� ว่ำ รถจักรยำนยนต์ แทน มอเตอร์ไซค์)
.............. ๖. อุตสาหกรรมไทยก�าลังพัฒนา
.............. ๗. พรุ่งนี้ฉันจะไปเยี่ยมญาติและครอบครัวที่ต่างจังหวัด
.............. ๘. พี่ชายผมมันสอบชิงทุนได้ (เหตุผล ใช้ค�ำว่ำ เขำ แทน มัน)
.............. ๙. ต้นไม้ต้นนี้เขาชอบแสงแดดร�าไร (เหตุผล ใช้ค�ำว่ำ มัน แทน เขำ)
.............. ๑๐. ประชาชนถวายตะกร้าผลไม้แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ นราชสุดาฯดาฯ (เหตุผล ใช้ค�ำำ�ว่ำา ทูทูลเกล้
ลเกล้ำาฯถวำย
ฯ ถวาย
แทน ถวาย)
ถวำย)
99


ยที่
นว่

การฟังและดูสารที่แสดงทรรศนะ
การฟ
ใบงำนที่ ๓.๑ เรื่อง กษัตริย์สองพี่น้อง
ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนฟังสารต่อไปนี้แล้วตอบค�าถาม
๑. สารที่ฟังเป็นสารประเภทใด
นิทำน
๒. ผู้เล่ามีเจตนาอย่างไรในการเสนอเรื่องนี้
ให้คติสอนใจ
๓. ประโยชน์ที่ได้รับจากเรื่องนี้คืออะไร
เป็นคติสอนใจว่ำไม่ควรคิดท�ำร้ำยใคร

ใบงำนที่ ๓.๒ เรื่อง ควำมหมำยของทรรศนะ


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนเติมผังมโนทัศน์ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

ความหมายของทรรศนะ ทรรศนะ หมำยถึ ง ควำมรู ้ สึ ก นึ ก คิ ด


ควำมคิดเห็น กำรตั้งข้อสังเกต หรือกำร
เสนอแนะข้อควรปฏิบัติด้วย

จุดมุงหมายในการสงสาร เพื่่�่ อให้


๑. เพื ให้้ขข้้อมูมููลหรืื
ลหรืออตัตั้้�ง้ งข้ข้้ออสัสัังงเกต
เกตเป็เป็็นนกำรชี
การ้
แสดงทรรศนะ ชี้้�ประเด็็นนให้ให้้นน่่่ำสนใจ
ประเด็ าสนใจ
๒. เพื่อสนับสนุนหรือโต้แย้งทรรศนะของ
ผู้อื่นที่ได้เสนอไว้ก่อนแล้ว
๓. เพือ่ กระตุน้ ให้คดิ สืบต่อทรรศนะของผูพ้ ดู
๔. เพือ่ โน้มน้ำวให้ผฟู้ งั เห็นคล้อยตำมทรรศนะ
ของผูพ้ ดู แล้วลงมือปฏิบตั อิ ย่ำงใดอย่ำงหนึง่
10
10

ใบงำนที่ ๓.๓ เรื่อง แนวกำรฟังและดูสำรที่แสดงทรรศนะ


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนเติมผังมโนทัศน์ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

ตั้งใจรับสำรเพื่อหำ พยำยำมวิเครำะห์และ
สำระส�ำคัญของเรื่องให้ได้ ใช้วิจำรณญำณ

แนวการฟังและดูสาร
ที่แสดงทรรศนะ

พิจำรณำประโยชน์ของสำรที่ได้รับจำก
กำรฟังและดูสำรที่แสดงทรรศนะ

ใบงำนที่ ๓.๔ เรื่อง ควำมส�ำคัญของกำรฟังและดูสำรที่แสดงทรรศนะ


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนบอกความส�าคัญของการฟังและดูสารที่แสดงทรรศนะ
ท�ำให้ได้พจิ ำรณำควำมรู้ ควำมคิดทีด่ ี เป็นประโยชน์ได้นำ� ไปใช้ เพรำะในชีวติ ประจ�ำวันนักเรียนต้อง
รับสำรหลำยประเภท (หรือค�ำตอบนอกเหนือจำกนี้ ตำมดุลยพินิจของผู้สอน)

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ข้อที่ถูกต้องที่สุด

๑. ข้อใดคือความหมายของทรรศนะ
จ. ถูกต้องทุกข้อ
๒. “ส�าหรับปีนี้คิดว่าเศรษฐกิจของอเมริกามีแนวโน้มที่ดีขึ้น ยอดของการขาดดุลงบประมาณ และการขาด
ดุลการค้ามีทีท่าว่าจะลดลง ทั้งนี้เป็นผลดีที่เกิดจากการที่ค่าเงินสหรัฐอ่อนตัวลง ดังนั้น จึงพอจะคาดได้ว่า
ความรุ น แรงของมาตรการกี ด กั น ทางการค้ า ที่ อ เมริ ก าน� า ออกใช้ จ ะบรรเทาลง และคลี่ ค ลายไปเรื่ อ ยๆ
ในอนาคต” จากข้อความนี้จัดเป็นการแสดงทรรศนะเพื่อจุดมุ่งหมายใด
ก. เพื่อแสดงข้อเท็จจริง
11
11

๓. “การใช้โทรศัพท์มือถือนั้นไม่ใช่การกระท�าที่ผิดมากมาย แต่ควรรู้จักใช้เท่าที่จ�าเป็นถึงจะเกิดประโยชน์
ซึ่งเรื่องนี้ก็สะท้อนให้เห็นว่าสภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปมาก อาจเป็นเพราะเด็กขาดความอบอุ่นจากพ่อแม่
จึงต้องหาบางอย่างมาเติมเต็มความอบอุ่น โทรศัพท์จึงกลายเป็น เครื่องมือแก้เหงาของวัยรุ่นไปโดยปริยาย”
จากข้อความนี้ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. มีกำรแสดงทรรศนะ
๔. ข้ อ ใดเป็ น การแสดงทรรศนะโดยมี จุ ด มุ ่ งหมายเพื่ อ กระตุ ้ น ให้ คิ ด สื บ ต่ อ ทรรศนะของผู ้ พู ด
จ. ท�ำงำนพำร์ตไทม์เท่ำกับจนจริงหรือ
๕. “โดยปกติแล้ว ผนังภายในหลอดเลือดหัวใจจะมีลักษณะเรียบ การสะสมของชั้นไขมันและตะกอนอื่นๆ
ซึ่ ง เรี ย กว่ า ภาวะการสะสมไขมั น ภายในผนั ง หลอดเลื อ ดนั้ น เป็ น ผลเสี ย ต่ อ หลอดเลื อ ด เนื่ อ งจากจะไป
ขัดขวางการไหลของโลหิต ซึ่งจะน�าไปสู่ปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง เช่น อาการเจ็บที่หัวใจอย่างรุนแรง หรือ
หัวใจวาย” ข้อความนี้จัดเป็นทรรศนะหรือไม่อย่างไร
ก. ไม่เป็นทรรศนะ แต่เป็นสำรที่ให้ข้อเท็จจริง
๖. สารที่แสดงทรรศนะในข้อใดต่ำงจากพวก
ง. ทำงรัฐบำลควรสนับสนุนโรงเรียนตำมชำยแดนให้มำกๆ (ทรรศนะเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ)
๗. “เมื่อคนเรารู้จักพิจารณาการกระท�าของตนด้วยหลักเหตุและผลแล้ว การกระท�านี้น่าจะไม่ผิดพลาด”
ข้อความนีเ้ ป็นสารชนิดใด
ค. แสดงทรรศนะ
๘. “ทุกคนล้วนมีประสบการณ์อันเป็นบทเรียนให้รู้ว่าอะไรควรท�าอะไรไม่ควรท�า อะไรท�าแล้วถูก อะไรที่ดี อะไร
ที่เลว อะไรน�าพามาซึ่งความสุข และอะไรจะก่อให้เกิดความทุกข์ คนเราอาจต้องใช้เวลาทั้งชีวิตเพื่อเรียนรู้
ประสบการณ์จงึ เป็นบทเรียนทีม่ คี า่ ต่อตนเองและอาจเป็นบทเรียนให้แก่ผอู้ นื่ ได้เช่นเดียวกัน” ข้อความข้างต้นเป็น
การแสดงทรรศนะประเภทใด
ง. เชิงข้อเท็จจริง
๙. จากข้อ ๘ ข้อความข้างต้นแสดงว่าผู้พูดเป็นบุคคลประเภทใด
ข. รู้เท่ำทันชีวิต
๑๐. ข้อใดไม่เป็นแนวการฟังและดูสารที่แสดงทรรศนะ
ข. สังเกตลักษณะของผู้ส่งสำร
12
12

ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบาย


เหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด
x
.............. ๑. ทรรศนะ หมายถึง ข้อคิดที่ได้รับจากสาร
(เหตุผล ทรรศนะ หมำยถึง ควำมรู้สึกนึกคิดกำรตั้งข้อสังเกต หรือกำรเสนอแนะ)
.............. ๒. “ดวงจันทร์ ไม่น่าจะมีสิ่งมีชีวิต” เป็นทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง
.............. ๓. ผู้รับสารควรพิจารณาการใช้เหตุผลของทรรศนะที่ได้รับ
x ๔. การเสนอข้อคิดเห็น ไม่จัดเป็นการแสดงทรรศนะ
..............
(เหตุผล จัดเป็นกำรแสดงทรรศนะ)
.............. ๕. ควรใช้วิจารณญาณในการวิเคราะห์สารที่แสดงทรรศนะ
x ๖. สารที่ให้ข้อเท็จจริงกับสารที่แสดงทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง คือสารประเภทเดียวกัน
..............
(เหตุ ผ ล สำรที่ ใ ห้ ข ้ อ เท็ จ จริ ง ไม่ ไ ด้ มี ส ่ ว นที่ แ สดงควำมคิ ด เห็ น ของผู ้ พู ด เหมื อ นอย่ ำ ง
สำรที่แสดงทรรศนะ)
.............. ๗. ภาษาที่มักพบในสารที่แสดงทรรศนะ ได้แก่ น่า คง ควร ต้อง อาจ
.............. ๘. ทรรศนะเกี่ยวกับข้อเท็จจริง คือ ทรรศนะที่เกี่ยวกับเรื่องที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยังไม่ทราบข้อเท็จจริง
การแสดงทรรศนะประเภทนี้ จึงเป็นเพียงการสันนิษฐาน จะน่าเชื่อถือเพียงใดขึ้นกับข้อสนับสนุน
x ๙. ทรรศนะของคนในสังคมเดียวกันมักมีความคล้ายคลึงกัน
..............
(เหตุผล ทรรศนะของคนแตกต่ำงกัน)
.............. ๑๐. ค�าแนะน�า จัดเป็นการแสดงทรรศนะ

ตอนที่ ๓ ค�ำชี้แจง : จงฟังเรื่องที่ครูอ่านต่อไปนี้แล้วตอบค�าถาม


๑. สารที่ฟังเป็นสารประเภทใด
สำรแสดงทรรศนะ
๒. ผู้เล่ามีเจตนาอย่างไรในการเสนอเรื่องนี้
เตือนสติ
๓. นักเรียนมีความคิดสอดคล้องกับผู้แต่งหรือไม่อย่างไร
(ค�ำตอบอิสระ)
๔. ประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการฟัง
(ค�ำตอบอิสระ)
13
13
น่ ยที่


โต้แย
การพูดโต ย้ง
ใบงำนที่ ๔.๑ เรื่อง ควำมหมำยของกำรพูดโต้แย้ง
ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนเติมผังมโนทัศน์ต่อไปนี้ให้สมบูณ์
ความหมายของการพูดโตแยง โครงสรางการโตแยง

การพูดดเพื
กำรพู เพื่อ่อแสดงทรรศนะคั
แสดงทรรศนะคัดดค้ค้ำานอี นอีกกฝ่ฝ่ำายย กำรพิ จ ำรณำโครงสร้ ำ งกำรโต้ แ ย้ ง จะ
หนึ่
หนึง่งที่ทีม่มีทรรศนะไม่
รรศนะไม่ตตรงกั รงกัน โดยกำรคั
โดยการคัดดค้ค้ำานน พิจำรณำโดยอำศัยกระบวนกำรใช้เหตุผล ซึ่ง
หรื
หรืออการโต้
กำรโต้แแย้ย้งงนันั้น้นจะต้
จะต้อองมีข้
งมีขอ้อมูล
มูล หลั หลักกฐำน
ฐาน ประกอบไปด้วยข้อสรุป และเหตุผล
เอกสาร
เ อ ก ส ำสถิ ร ตสิ หรืถิ ติอการอ้
ห รืาองอิกงำจากผู
ร อ ้ ำ้รงู้ปอิระกอบ
งจำก
ผู้รู้ประกอบ

ใบงำนที่ ๔.๒ เรื่อง วิธีกำรพูดโต้แย้ง


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้ แล้วตอบค�าถาม
๑. ผู้พูดมีเทคนิคการพูดโต้แย้งอย่างไร
ผู้พูดพูดโต้แย้งมุ่งให้ฝ่ำยของตนได้รับกำรยอมรับ โดยชี้ให้เห็นจุดอ่อนของฝ่ำยตรงข้ำม ได้แก่ ชี้ให้
เห็นจุดอ่อนของปริมำณหรือชี้ควำมผิดพลำดของข้อมูลฝ่ำยตรงข้ำมว่ำต้องสิ้นเปลืองทรัพยำกร และ
กำรชี้ให้เห็นจุดอ่อนของสมมติฐำนว่ำอำจจัดโครงกำรไม่ประสบควำมส�ำเร็จ
๒. ผู้พูดมีกระบวนการพูดโต้แย้งอย่างไร
ผูพ้ ดู มีกระบวนกำรพูดโต้แย้ง ๓ ขัน้ ตอน ได้แก่ กำรตัง้ ประเด็นก่อนกำรพูดโต้แย้ง กำรนิยำมค�ำส�ำคัญ
ของประเด็นกำรโต้แย้ง และกำรค้นหำและเรียบเรียงข้อสนับสนุนของตน
๓. ผู้พูดใช้วิธีการพูดโต้แย้งอย่างไร
พูดโต้แย้งโดยใช้หลักเหตุผล งบประมำณ และกำรอ้ำงอิงพระรำชด�ำรัสของพระบำทสมเด็จพระปรมินทร-
มหำภูมิพลอดุลยเดช

ใบงำนที่ ๔.๓ เรื่อง กำรพูดโต้แย้ง


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนเติมผังมโนทัศน์ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

๑. กำรตั้งประเด็นก่อนกำรพูดโต้แย้ง
กระบวนการพูดโตแยง ๒. กำรนิยำมค�ำส�ำคัญของประเด็นกำรโต้แย้ง
๓. กำรค้นหำและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน
14
14

เทคนิคการพูดโตแยง ๑. กำรชี้ให้เห็นจุดอ่อนในกำรนิยำมค�ำส�ำคัญ
๒. ชีใ้ ห้เห็นจุดอ่อนของปริมำณ หรือชีค้ วำมผิดพลำดของ
ข้อมูลฝ่ำยตรงข้ำมว่ำมีปริมำณหรือข้อมูลที่น้อยเกินไป
๓. กำรชีใ้ ห้เห็นจุดอ่อนของกำรให้เหตุผล ข้อสรุป กำรโต้แย้ง
ใดๆ ต้องได้รับกำรยอมรับหลักกำรหรือสมมติฐำน

ขอควรระวังในการพูดโตแยง ๑. ผูพ้ ดู โต้แย้งควรหลีกเลีย่ งกำรโต้แย้งกันด้วยอำรมณ์


๒. ผู้พูดโต้แย้งควรใช้ภำษำอย่ำงมีมำรยำท
๓. ผู้พูดโต้แย้งควรเลือกประเด็นพูดโต้แย้งที่สร้ำงสรรค์

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด


๑. ข้อใดไม่สำมำรถน�ามาใช้ประกอบการพูดโต้แย้ง
ก. ควำมชอบส่วนบุคคล
๒. ค�าพูดในข้อใดไม่ควรใช้ในการโต้แย้ง
ง. ผมไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของคุณ ถ้ำคุณจะทบทวนใหม่อีกครั้งก็จะเป็นกำรดี
๓. ค�านิยามต่อไปนี้มีข้อบกพร่องอย่างไร “ไฮกรอมิเตอร์ ใช้วัดระดับความชื้นสัมพัทธ์ที่มีในอากาศ”
จ. เข้ำใจได้ยำก
๔. ข้อใดเป็นลักษณะการพูดโต้แย้งที่นุ่มนวลที่สุด
ก. ข้อเสนอของคุณนั้นพอยอมรับได้ แต่ผมมีข้อเสนออีกแนวทำงหนึ่งให้คุณพิจำรณำ
๕. ใครพูดโต้แย้งได้ดีที่สุด
ข. นุ่มพูดโต้แย้งโดยชี้ให้เห็นจุดอ่อนของค�ำส�ำคัญ
๖. ข้อใดคือขั้นตอนแรกของการพูดโต้แย้ง
ก. กำรตั้งประเด็น
๗. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการพูดโต้แย้ง
จ. กำรชี้จุดอ่อนของทรรศนะฝ่ำยตนเอง
๘. ข้อใดไม่ใช่ข้อควรปฏิบัติในการพูดโต้แย้ง
ค. ผู้พูดโต้แย้งจะใช้ภำษำระดับใดก็ได้
๙. ข้อใดเป็นหัวข้อการพูดโต้แย้งที่ดีและไม่ท�าให้เกิดความขัดแย้ง
จ. กำรเรียนรู้นอกสถำนที่ช่วยเพิ่มประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ให้นักเรียน
๑๐. ข้อมูลในข้อใดที่ควรน�ามาเรียบเรียงเป็นข้อสนับสนุนทรรศนะของตนมากที่สุด
ค. ข้อมูลที่ตรงประเด็นถูกต้อง
15
15

ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงตอบค�าถามต่อไปนี้


๑. การพูดโต้แย้ง หมายถึงอะไร
กำรพูดโต้แย้ง หมำยถึง กำรพูดเพื่อแสดงทรรศนะคัดค้ำนอีกฝ่ำยหนึ่งที่มีทรรศนะไม่ตรงกันกับตน
โดยกำรคัดค้ำนหรือกำรโต้แย้งนั้นจะต้องมีข้อมูล หลักฐำน เอกสำร สถิติ หรือกำรอ้ำงอิงจำกผู้รู้
ประกอบ
๒. โครงสร้างการโต้แย้ง ประกอบด้วยอะไรบ้าง
กำรพิจำรณำโครงสร้ำงกำรโต้แย้งจะพิจำรณำโดยอำศัยกระบวนกำรใช้เหตุผล ซึ่งประกอบไปด้วย
ข้อสรุป และเหตุผล
๓. การพูดโต้แย้งแบ่งได้กี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
การพูดโต้แย้งสามารถแบ่งได้
กำรพู สำมำรถแบ่งได้๓๓ขั้นขัตอน
้นตอนได้ได้
แก่แการตั ้งประเด็
ก่ กำรตั นก่อนนการพู
้งประเด็ ดโต้แดย้โต้
ก่อนกำรพู ง การนิ ยามคำย�สำำมค�
แย้ง กำรนิ �คัญำ
ส�ของประเด็ นการโต้นแกำรโต้
ำคัญของประเด็ ย้ง และการค้ นหาและเรี
แย้ง และกำรค้ ยบเรียงข้ยบเรี
นหำและเรี อสนัยบงข้สนุ นของตน
อสนั บสนุนของตน
๔. ประเด็นการโต้แย้ง หมายถึงอะไร
ประเด็น หมำยถึง หัวข้อที่ท�ำให้เกิดกำรโต้แย้งกัน แต่ละฝ่ำยจะเสนอค�ำตอบตำมแต่ทรรศนะของ
ฝ่ำยตน ซึ่งค�ำตอบจะเป็นไปในทิศทำงตรงข้ำมกัน เพรำะถ้ำค�ำตอบเป็นไปในทิศทำงเดียวกันแล้วก็
จะไม่มีกำรโต้แย้งขึ้น
๕. จงอธิบายลักษณะการโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเสนอต่างๆ
กำรโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเสนอต่ำงๆ เกิดจำกกำรพูดเพื่อน�ำเสนอข้อเสนอต่ำงๆ เพื่อให้ผู้อื่นยอมรับ
โดยต้องมีเหตุผลสนับสนุนข้อเสนอของตนในกำรจะเปลี่ยนแปลงสิ่งเดิมๆ สภำพเดิมที่เคยปฏิบัติ
หรือเคยยอมรับกันอยู่
๖. การนิยามค�าส�าคัญมีวิธีการนิยามอย่างไรบ้าง
กำรนิยำมมีวธิ กี ำรนิยำมหลำยวิธี เช่น กำรนิยำมค�ำโดยอำศัยพจนำนุกรม หรือสำรำนุกรม กำรนิยำม
โดยกำรอ้ำงผู้รู้ กำรนิยำมโดยกำรเปรียบเทียบ
๗. นักเรียนมีวิธีการค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนการโต้แย้งอย่างไร
การค้ หาและเรยี บเรี
กำรค้นหำและเรี บเรยียงข้
งข้ออสนั
สนับบสนุสนนุนทรรศนะของตนในกำรพู
ทรรศนะของตนในการพดูดโต้โต้แแย้ย้งกังกันนจ�ำจำเป็
�เป็นนต้ต้องอำศั
องอาศัยข้ยอข้มูอลมูล
ที่
ที่หนั
หนักแน่
กแน่นนตรงประเด็
ตรงประเด็นนเป็เป็นนข้ข้ออเท็เท็จจจริจริงง โดยข้
โดยข้ออมูมูลต่
ลต่ำางๆ
งๆ เหล่
เหล่านี้
ำนี้จจะได้
ะได้จจำกกำรค้
ากการค้นนคว้
คว้ำาและเรี
และเรียยบเรี
บเรียง
ข้อมลจากแหล่งต่
มูลจำกแหล่งต่าำงๆ เช่น
เช่น การอ่
กำรอ่าำน การฟั กำรฟัง การสักำรสังเกต
๘. การพูดโต้แย้งโดยการค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตนมีข้อควรค�านึงถึงสิ่งใดบ้าง
สิ่่�สิ่ งที่่�ทีนั่ ตัก้ อเรีียนต้้
งค� ำ นึ งอถึงคำำง ในกำรพู ด โต้ แ ย้ ง โดยกำรค้
�นึึงถึึงในการพููดโต้้ น หำ นและเรี
แย้้งโดยการค้้ ย บเรี ย งข้ อ สนั
หาและเรีียบเรีียงข้้ อสนัับบสนุ น ทรรศนะของ
สนุุนทรรศนะของ
ตนนั้น ต้ต้้องพิ
ตนนั้้� งพิิจำรณำควำมเหมำะสมในกำรน�
ารณาความเหมาะสมในการนำำำ�เสนอข้ เสนอข้้อมูมููลล เพรำะถ้
เพราะถ้้ำาน�นำำำ�เสนอข้
เสนอข้้อมูมููลมากเกิิ
ลมำกเกินนไป ไป
อำจท�ำ�ให้
อาจทำำ ให้้นน่่่ำาเบื่่�
เบื่ออ หรื
หรืืออถ้ถ้้ำามีมีีข้้
ข้ออมูมููลน้้
ลน้อยเกิ นไปก็
อยเกิิ อำจท�
นไปก็็ ำให้�ให้้
อาจทำำ ขำดควำมหนั
ขาดความหนัักแน่ น ขำดควำมน่
กแน่่น ำเชื่อถืออถืือ
ขาดความน่่าเชื่่�
16

๙. จงบอกเทคนิคการพูดโต้แย้ง
กำรพู ด โต้ แ ย้ ง ย่ อ มมุ ่ ง ให้ ฝ ่ ำ ยของตนได้ รั บ กำรยอมรั บ จึ ง ต้ อ งพู ด โต้ แ ย้ ง โดยชี้ ใ ห้ เ ห็ น จุ ด อ่ อ น
ของฝ่ำยตรงข้ำม ได้แก่ จุดอ่อนของกำรนิยำมค�ำส�ำคัญ จุดอ่อนของปริมำณและควำมถูกต้องของ
ข้อมูล และจุดอ่อนของสมมติฐำน
๑๐. ข้อควรค�านึงในการพูดโต้แย้งมีอะไรบ้าง
กำรพูดโต้แย้งที่ดีจ�ำเป็นต้องพูดด้วยควำมระมัดระวัง เพรำะหำกไม่ระมัดระวังอำจท�ำให้เกิดปัญหำ
ควำมขัดแย้งต่ำงๆ ตำมมำได้ กำรพูดโต้แย้งทุกครั้งนักเรียนควรค�ำนึงถึงสิ่งต่ำงๆ ดังนี้
๑. ผู ้ พู ด โต้ แ ย้ ง ควรหลี ก เลี่ ย งกำรโต้ แ ย้ ง กั น ด้ ว ยอำรมณ์ ขณะพู ด โต้ แ ย้ ง ควรควบคุ ม อำรมณ์
ของตนให้ดี
๒. ผูพ้ ดู โต้แย้งควรใช้ภำษำอย่ำงมีมำรยำทในระหว่ำงกำรโต้แย้ง เช่น กำรใช้คำ� ให้ถกู ต้องเหมำะสม
แก่ระดับบุคคล กำรใช้อวัจนภำษำอย่ำงมีมำรยำท
๓. ผู้พูดโต้แย้งควรเลือกประเด็นพูดโต้แย้งที่สร้ำงสรรค์ เพื่อประโยชน์สูงสุด

ตอนที่ ๓ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบายเหตุผล


ข้อที่เห็นว่าผิด
.............. ๑. การพูดโต้แย้งเกิดขึ้นหลังจากที่เราได้ยินได้ฟังทรรศนะความคิดในเรื่องต่างๆ
x ๒. การพูดโต้แย้งไม่จ�าเป็นต้องใช้ข้อมูล เอกสาร สถิติ หลักฐานประกอบ เพียงผู้พูดมีลีลาและน�้าเสียง
..............
ที่น่าฟังก็พอ
(เหตุผล จ�ำเป็นต้องใช้ข้อมูลเหล่ำนั้นในกำรพูดอ้ำงอิงให้ดูน่ำเชื่อถือ)
.............. ๓. การตั้งประเด็นในการพูดโต้แย้งผู้พูดต้องค�านึงอยู่เสมอว่าตนเองก�าลังโต้แย้งเรื่องใดประเด็นใด
x ๔. การโต้แย้งแบ่งได้ ๒ ประเภท คือ การโต้แย้งเกี่ยวกับข้อเสนอต่างๆ เพื่อเรียกร้อง และการโต้แย้ง
..............
แบบประเมินค่า
(เหตุผล ที่กล่ำวมำเป็นประเภทของกำรตั้งประเด็นก่อนกำรพูดโต้แย้ง)
x
.............. ๕. การนิยามไม่จา� เป็นต้องครอบคลุมเรือ่ งนัน้ ๆ ทัง้ หมดก็ได้
(เหตุผล ต้องครอบคลุมเรือ่ งทีพ่ ดู ทัง้ หมด)
.............. ๖. การนิยามมีหลายวิธี เช่น การใช้พจนานุกรม สารานุกรม การเปรียบเทียบ
.............. ๗. การเรียบเรียงข้อมูลอาจได้จากการอ่าน การฟัง และการสังเกต
.............. ๘. การใช้ข้อมูลอ้างอิงในการพูดโต้แย้งจะท�าให้น่าเชื่อถือ
x ๙. การพูดโต้แย้งต้องใช้อารมณ์สื่อความคิดให้มากที่สุด
..............
(เหตุผล ไม่ควรแสดงอำรมณ์ของผู้พูด)
.............. ๑๐. ผู้พูดโต้แย้งควรเลือกประเด็นพูดโต้แย้งที่สร้างสรรค์และมีประโยชน์สูงสุด
17
17
17
ตอนที่ ๔ ค�ำชี้แจง : จงยกตัวอย่างการพูดที่ขัดแย้งและการพูดโต้แย้งที่ไม่ท�าให้เกิดความขัดแย้งมา ๒ ข้อ
ตอนที่ ๔ ค�ำชี้แจง : จงยกตัวอย่างการพูดที่ขัดแย้งและการพูดโต้แย้งที่ไม่ท�าให้เกิดความขัดแย้งมา ๒ ข้อ
กำรพูดที่ขัดแย้ง กำรพูดโต้แย้งที่ไม่ท�ำให้เกิดควำมขัดแย้ง
กำรพูดที่ขัดแย้ง กำรพูดโต้แย้งที่ไม่ท�ำให้เกิดควำมขัดแย้ง
ตัวอย่ำง เราอย่าไปโทษมณีเลย เพราะการที่มณีออกไปพูด
ตัเป็วนอย่ ำง คนเดียวที่ออกไปพูดรายงานไม่ดี เราอย่ าไปโทษมณี
เพราะมณี รายงานนั ้นเป็นมติเขลยองกล่
เพราะการที
ุมนะ ่มณีออกไปพูด
เป็นเพราะมณีคนเดียวที่ออกไปพูดรายงานไม่ดี รายงานนั้นเป็นมติของกลุ่มนะ
๑. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน) ๑. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๑. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน) ๑. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๒. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน) ๒. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
๒. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน) ๒. (ค�ำตอบอยู่ในดุลยพินิจของผู้สอน)
น ยยทที่ ี่


นว่
หห

การเขียนสรุปความ
การเขียนสรุปความ
ใบงำนที่ ๕.๑ เรื่อง กำรสรุปควำม
ใบงำนที่ ๕.๑ เรื่อง กำรสรุปควำม
ค�ำชีแ้ จง : จงอธิบายความหมายของการสรุปความและหลักการเขียนสรุปความโดยท�าลงในกรอบที่ก�าหนดให้
ค�ำชีแ้ จง : จงอธิบายความหมายของการสรุปความและหลักการเขียนสรุปความโดยท�าลงในกรอบที่ก�าหนดให้
ความหมายของการสรุปความ หลักการเขียนสรุปความ
ความหมายของการสรุปความ หลักการเขียนสรุ นสรุปความ ปความ
กำรเก็บใจควำมส�ำคัญของเนื้อเรื่องใน ๑. พิจำรณำเรื อ่ งรำวทีจ่ ะสรุปควำมก่อน
กำรเก็ ๑.๑. พิว่จำารณาเรื
ำรณำเรื อ่ งประเภทใด
งรำวที จ่ ะสรุ ปควำมก่
เช่อนนว่ข่าอเป็ำนวน
แต่ละย่บอใจควำมส�
การเก็ ใจความสำ�คำญ
หน้ำ แล้วน�คัญ ของเนื
อ้ เรือ่ ้อ
ยบเรีเรืย่องใหม่
งใน
ั ของเนื งในแต่ละ
ำมำเรี เป็นเรือ่ ่องราวท จี่ ะสรุ ปความก่
แต่ย ่ อ หน้
ะย่ำานวนภำษำที
อหน้แล้ำ วแล้
นำ �วมาเรี ย บเรียยบเรี งใหม่ ด้วย ว่เรืบทควำม
ำอ่ เป็ นเรื่อนิงประเภทใด
งประเภทใด เช่น ข่าว บทความ เช่น ข่นิทำาน ว
ด้สำว�ลยส�
นวนภาษาท สี่ ละสลวย
น�่สละสลวย
ำมำเรี ยำนแล้
อ่
อ่านแล้วเข้อ่าำใจง่
งใหม่
ายวว หรือสารคดีนิทำน หรือสำรคดี
ทำน หรือสำรคดี
ด้เข้วำยส� ำ นวนภำษำที ส
่ ละสลวย นแล้ ๒. บทควำม
อ่่าำนเรื นเรื่อ่องราว
งรำวหรืหรื
เข้ควรเป็

ใจง่นำสำย�นวนภาษาของผ
ใจง่ ำ ย
ควรเป็นส�ำนวนภำษำของ
ควรเป็ น ส� ำ ู้สรุปความเอง
นวนภำษำของ ๒.๒. อ่ออย่ำนเรื ่ อ งรำว หรือฟัอองฟัฟัเรืงง่อเรื
เรืงที่่อจงที
่ อ ะสร
งที ่
่จุปะสรุ
จ ะสรุ อยปป่าง
ผู้สรุปควำมเอง ละเอีำงละเอี ยดทั้งหมด ยดทัและพยายามจั
้งหมด และพยำยำม บใจความ
ผู้สรุปควำมเอง อย่ ำ งละเอี
จับใจควำมของเรื ย ดทั ง
้ หมด่องให้ และพยำยำม
ได้ โดยแบ่ ง
ของเรื อ่ งให้ได้ โดยแบ่งข้ อความเป็ นตอนๆ
จัหรื

ข้ออควำมเป็ ใจควำมของเรื นตอนๆ หรื
แบ่งข้อความตามย

่ งให้
อ่ หน้

อแบ่ ด้
าโดยหาให้
โดยแบ่
งข้อควำม ง
ได้วา่
ข้เป็

ตำมย่ ควำมเป็
นเรื่อองอะไร น
หน้ำใคร ตอนๆ โดยหำให้ หรื อแบ่
ทำ�อะไร ไที่ด้ไหน ง ข้ อ ควำม
ว ่ำเป็ เมื่อนไร
๓. ตำมย่
เขียนสร
เรือ่ งอะไร อุปหน้ความเป็
ใคร ำ โดยหำให้
ท�ำนอะไร ร้อยแก้ ทีไไ่ หน ด้วด้วว่ำเมืเป็อ่ นไร
ยภาษา
เรื
ของตนเอง
และอย่ อ่ งอะไร ำงไรใคร
ใช้ภาษาที่ชัท�ำอะไร ดเจนทีไ่ อ่หน านเข้เมืาใจง่ อ่ ไราย
๔. และอย่
ถ้าเป็นคำ�ำราชาศั งไรป ควำมเป็ พท์ควรคงไว้
๓. เขี ย นสรุ น นร้อัอกยแก้ ว
๓.๕. เขี
ไม่ควรใช้ ย นสรุ
ด้ ว ยภำษำของตนเอง
อปักษรย ควำมเป็่อ ยกเว้ น ร้ อ ษรย่อวที่
ยแก้
ใช้ ภ ำษำ
ด้รทีู้จ่วชักัยภำษำของตนเอง
ทั่วไป
ดเจน อ่ำนเข้ำใจง่ำย ภ ำษำ ใช้
๔. ทีถ้่ชำัเป็ ดเจนนค�ำอ่รำชำศั ำนเข้ำพใจง่ ท์คำวรคงไว้

๔.
๕. ถ้ไม่ำเป็ นค�ำรำชำศั
ค วรใช้ อั ก ษรย่พอท์คยกเว้ วรคงไว้ น อั ก ษร
๕. ไม่ ค วรใช้
ย่อที่รู้จักทั่วไป อ ั ก ษรย่ อ ยกเว้ น อั ก ษร
ย่อที่รู้จักทั่วไป
18
18

ใบงำนที่ ๕.๒ เรื่อง กำรเขียนสรุปควำม


คําชี้แจง : จงเขียนสรุปความจากสารที่กาํ หนดให
สรุ
สรุปปความเรื
ควำมเรื่อ่องง ก่ก่ออพระทราย
พระทรำย ความว่
ควำมว่าำการก่ กำรก่ออพระทรายถื
พระทรำยถืออเป็เป็นนประเพณี ประเพณีทที่ที่ทำ�กั�ำกันนในเทศกาลสงกรานต์
ในเทศกำลสงกรำนต์
มีขั
มีขน้ นั้ ตอนคื
ตอนคืออการขนทรายมากองไว้
กำรขนทรำยมำกองไว้ทที่ลานวั ลี่ ำนวัดดให้
ให้มมจี จี �ำ ำ� นวนมากพอท
นวนมำกพอทีจี่ จ่ ะแบ่งให้ ะแบ่งให้คคนอื นอืน่ น่ ก่ก่ออพระทรายได้
พระทรำยได้เวลาบ่าย
เวลำบ่ำย
หนุ่
หนุม่มสาวก็สำวก็จจะแต
ะแต่่งงตัตัววออกจากบ้
ออกจำกบ้าำนน เตร เตรีียยมธงกระดาษส
มธงกระดำษสีีซซึ่งึ่งตัตัดดเป็ เป็นนรรููปปสามเหลี่ยมติ
สำมเหลี่ยมติดดปลายไม้ ปลำยไม้ไไปด้ ปด้ววยย
การก่
กำรก่ออพระทรายซึ่
พระทรำยซึง่งสส่่ววนมากจะทำ
นมำกจะท��ำเป็ เป็นนรรููปปลอมฟางหรื
ลอมฟำงหรืออรรููปปกรวยเมื กรวยเมื่อ่อเรเรีียยบร้
บร้ออยแล้ ยแล้วว ก็ก็เอาธงกระดาษ
เอำธงกระดำษ
ปัปักกประดั
ประดับบไว้ไว้การก
กำรก่อ่ อพระทรายถื
พระทรำยถืออเป็
เป็นนการทำ
กำรท��บุำบุญอย่
ญอย่าำงหน งหนึงึ่ ง่ ซซึงึ่ ง่ ทางวั
ทำงวัดดอาจนำ
อำจน��ำทรายไปใช้
ทรำยไปใช้กกอ่ อ่ สร้ สร้าำงหรื
งหรืออถมที่ลุ่
ถมทีล่ มมุ่
ภำยในวัด
ภายในวั

ใบงำนที่ ๕.๓ เรื่อง กำรเขียนสรุปควำม


คําชี้แจง : จงเขียนสรุปความจากสารที่กําหนดให
คำำค��ำตอบอยู่่�
ตอบอยูใ่ในดุุลยพิิ
นดุลยพินินิจของผู้้ ของผู� ้สอน แต่่ผู้้
แต่ผู�้เขีียนสรุุปความต้้
ขียนสรุปควำมต้องเขี ยนให้เป็ป็็นร้ร้้อยแก้
งเขีียนให้้ ยแก้้วและต้
และต้้องถู กหลัก
งถููกหลัั
กำรเขียนตำมทีเ่เรีียนมา
การเขีียนตามที่่� รียนมำ เช่ เช่่น ลููกอมสีีเขีียว
ลูกอมสีเขียว สีีขาว สีขำว สีีฟ้้
สีฟ้ำา ช่ช่่ำางน่ ำเปล่ำเปลี่ยว เพรำะไม่
งน่่าเปล่่าเปลี่่� เคยรู้ว�ว่่่ำาพ่่ออม
เพราะไม่่เคยรู้้ พ่ออม
แม่อมอยูไ่ไหน
แม่่อมอยู่่� หน ต้้ต้อองเป็็
งเป็นนกำำก��ำพร้้
พร้าำถ้้ถ้าำใครสงสารลููกอม
ใครสงสำรลูกอมช่่ช่ววยซื้้�
ยซือ้อลููกอมหน่่อย
ลูกอมหน่อย

ใบงำนที่ ๕.๔ เรื่อง กำรเขียนสรุปควำม


คําชี้แจง : จงเขียนสรุปความจากสารที่กําหนดให
คำำคํ�าตอบอยู่่�
ตอบอยูใใ นดุุลยพิิ
นดุลยพินินจิ จิ ของผู้้
ของผูส� ส อนอน แต่่ต้้
แตตออ งเขีียนให้้
งเขียนใหถููถกหลัั
กู หลักการเขีียนสรุุปความ
การเขียนสรุปความ เช่่ เชน ศิิศิลปะการดำำ
ปะการดํ�าเนิิ
เนินชีีวิิ
ชีวติ
คืืคืออลดละความเห็็
ลดละความเห็นนแก่่ตัั
แกตววั เมื่่�เมือ่อนึึกถึึงตัั
นึกถึงตัววเองน้้
เองนอยลง ปััปญญหาชีีวิิ
หาชีวติ ก็็ก็จะลดลง ชีีวิิ
ชีวติ มีีแต่่ความถููกต้้
มีแตความถูกตอง เบิ เบิิกบาน
แมไม่่มีีเงิิ
แม้้ ไมมีเนงินทองแต่่ก็็
ทองแตกมีีค
็มีความาสุุข
วามสุข และนี่่�
และนีคื่คือความสุุขที่่�
ความสุขที่แท้้ทจริิริง

ใบงำนที่ ๕.๕ เรื่อง กำรเขียนสรุปควำม


คําชี้แจง : จงเขียนสรุปความจากสารที่กําหนดให
คําคำตอบอยู
�ตอบอย ในดุ ลยพินนิจจิของผู
ใู่ นดุลยพิ ของผูสส้ อน
อน แต
แต่ตอ้ งเขี ยนใหถกู กต้ตอองตามหลั
งเขียนให้ งตามหลักกการเขียนสรุ
การเขียนสรุปปความ ความเช่น เชนความสำ ความสํ �คญ ั าคัญ
ของศาสนากั
ของศาสนากั บจริบยจริ
ธรรมเปรี ยบเหมื
ยธรรมเปรี อนกับอนํนกั
ยบเหมื า้ และอากาศที
บนํ้าและอากาศที่ จ่ าํ เปนและสํ
จำ�เป็านคัและสำ
ญตอชี�ค วติ ัญต่เปอนชีวิ
สิง่ ตทีใ่ ชเป็หนลอสิเลี
่งที่ย้ ใงชีช้ วติ
และสั งคมของเราอยู
หล่อเลี้ยงชีวิ ตและสัโงดยไม รูตัว แตมโู่ ดยไม่
คมของเราอย นุษยกรตู้็ไมวั คอแต่
ยเห็ มนุนษความสํ าคัญจนกว
ย์กไ็ ม่ค่อยเห็ นความสำาจะเกิ�คดญ ั ปจนกว่
ญหากัาบจะเกิ สิ่งเหลดปัาญนีหา ้ เชน
เกิกัดบการขาดแคลน
สิ่งเหล่านี้ เช่นเปเกินดพิการขาดแคลน
ษ เปนอันตราย เป็ มนุนษพิยษจงึ เป็เริน่มอัรูสนกึ ตราย
ตัวและเห็
มนุษนย์คุจณึงเริ
คา่มรู้สึกตัวและเห็นคุณค่า
19
19

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๕

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด


๑. ข้อใดให้ความหมายของการเขียนสรุปความได้ดีที่สุด
จ. กำรเก็บใจควำมส�ำคัญของเนื้อเรื่องมำเรียบเรียงใหม่ เหลือเฉพำะใจควำมส�ำคัญ
๒. ข้อใดไม่ใช่หลักการเขียนสรุปความที่ดี
ก. เก็บใจควำมทุกตัวอักษร
๓. การเขียนสรุปความ ควรเขียนในรูปแบบใด
ข. ร้อยแก้ว
๔. ข้อใดไม่ควรท�าในการเขียนสรุปความ
ก. หำกมีรำชำศัพท์ ให้เปลี่ยนเป็นค�ำธรรมดำ
๕. ข้อใดเป็นประโยชน์ในการสรุปความรู้จากหนังสือเรียน
จ. ถูกต้องทุกข้อ
๖. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนสรุปความ
จ. ผิดทุกข้อ
๗. “อาหารบางประเภทไม่ว่าจะเป็นผลไม้ เช่น ทุเรียน หรือของสด เช่น ปลาสลิด จะมีปัญหาในเรื่องกลิ่น
ท�าให้สายการบินทั้งในและต่างประเทศพากันล�าบากใจในการรับขนส่ง จึงจ�าเป็นต้องมีเที่ยวบินพิเศษเพื่อรับ
ขนส่งสิ่งเหล่านี้โดยเฉพาะ” สามารถสรุปความได้ดังข้อใด
ค. กำรขนส่งอำหำรบำงประเภทต้องใช้เที่ยวบินพิเศษ
๘. “การศึกษาในปัจจุบนั เป็นการเตรียมคนเพือ่ ให้เป็นพลเมืองทีด่ มี ปี ระสิทธิภาพ โรงเรียนในปัจจุบนั ท�าหน้าที่
แทน ครอบครัว ซึง่ ก็เป็นไปตามสภาพของเศรษฐกิจ และสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป” ข้อใดเป็นใจความส�าคัญของ
ข้อความนี้
ง. ปัจจุบันโรงเรียนมีหน้ำที่อบรมคนให้เป็นคนดีมีควำมสำมำรถ
๙. “การสือ่ สารสามารถท�าให้ระบบเศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีการเจริญเติบโตและท�าให้หลายๆ สิง่ หลายๆ อย่าง
เจริญขึ้น ปฏิเสธไม่ได้ว่ายุคนี้คือยุคของเทคโนโลยีการสื่อสาร ไม่ว่าจะท�าอะไรก็ต้องพึ่งพาการสื่อสาร
แบบไร้ขดี จ�ากัดด้วยกันทัง้ นัน้ ” จากข้อความสามารถสรุปความได้ดงั ข้อใด
จ. เทคโนโลยีกำรสื่อสำรมีควำมจ�ำเป็นอย่ำงยิ่งส�ำหรับคนในยุคนี้
๑๐. “ต้นเฉาก๊วยเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึง่ ของประเทศจีน จัดอยูใ่ นตระกูล LAMIACEAE มีชอื่ ทางพฤกษศาสตร์
ว่า Mesona Chinensis Benth มีชื่อเรียกตามภาษาท้องถิ่นหลายชื่อ เช่น เหลี่ยงหุงเฉ้า เสียนฉ่าว เหลียงเผิงฉ่าว
เชียนยีนตุ้ง เป็นต้น เฉาก๊วยเป็นพืชล้มลุกตระกูลเดียวกับสะระแหน่ แมงลัก โหระพา ฯลฯ” ข้อใดเป็น
สาระส�าคัญของข้อความนี้
ค. ต้นเฉำก๊วยเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งของประเทศจีน
20

ตอนที่ ๒ คำ�ชี้แจง : จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้


๑. การเขีียนสรุุปความคืืออะไร
การสรุุปความคืือ การเก็็บใจความสำำ�คััญของเนื้้�อเรื่่�องในแต่่ละย่่อหน้้า แล้้วนำำ�มาเรีียบเรีียงใหม่่
ด้้วยสำำ�นวน ภาษาที่่�สละสลวย อ่่านแล้้วเข้้าใจง่่าย
๒. การสรุุปความที่่�ดีีควรมีีลัักษณะอย่่างไร
ลัักษณะของสรุุปความที่่�ดีี ควรเก็็บเฉพาะใจความสำำ�คัญ
ั มาเรีียบเรีียงใหม่่โดยตััดส่่วนที่่�เป็็นรายละเอีียด
หรืือพลความออก ให้้เหลืือเฉพาะใจความสำำ�คััญๆ ประมาณ ๒๐ – ๓๐% ของเนื้้�อเรื่่�องทั้้�งหมด
๓. การเขีียนสรุุปความมีีจุุดประสงค์์ใดบ้้าง
การเขีียนสรุุปความอาจมีีจุุดประสงค์์เพื่่�อเก็็บสาระสำำ�คัญ
ั หรืือเก็็บรายละเอีียดจากสารที่่�ได้้อ่่านหรืือฟััง
๔. จงบอกหลัักการเขีียนสรุุปความมา ๕ ข้้อ
๑. พิิจารณาเรื่่�องที่่�จะสรุุปความก่่อนว่่า เป็็นเรื่่�องประเภทใด เช่น่ ข่่าว บทความ นิิทาน หรืือสารคดีี
๒. อ่่านเรื่่�องราว หรืือฟัังเรื่่�องราวที่่�จะสรุุปอย่่างละเอีียดทั้้�งหมด และพยายามจัับใจความของเรื่่�อง
ให้้ได้้ โดยแบ่่งข้้อความเป็็นตอนๆ หรืือแบ่่งข้้อความตามย่่อหน้้า โดยหาให้้ได้้ว่่าเป็็นเรื่่�องอะไร
ใคร ทำำ�อะไร ที่่�ไหน เมื่่�อไร และอย่่างไร
๓. อ่่านข้้อความในแต่่ละย่่อหน้้าให้้ละเอีียดอีีกครั้้�ง แล้้วจัับใจความสำำ�คััญ หรืือสัังเกตประโยค
ใจความสำำ�คััญ ให้้ได้้ครบทุุกย่่อหน้้า ไม่่ควรอ่่านไปย่่อไป
๔. นำำ�ประโยคใจความสำำ�คััญหรืือสรุุปความสำำ�คััญของแต่่ละย่่อหน้้ามาเรีียบเรีียงตามลำำ�ดัับความ
สำำ�คััญ และให้้ได้้เนื้้�อเรื่่�องที่่�สมบููรณ์์ครบถ้้วน มีีความเป็็นเอกภาพ
๕. เขีียนสรุุปความเป็็นภาษาร้้อยแก้้ว โดยเรีียบเรีียงจากประโยคใจความสำำ�คััญทั้้�งหมดที่่�รวบรวม
ไว้้ด้ว้ ยภาษาของตนเอง หากต้้องกล่่าวถึึงบุุคคลในเรื่่อ� งให้้ใช้้ชื่่อ� โดยตรง และใช้้สรรพนามบุุรุุษที่่� ๓
๖. อ่่านทบทวนสิ่่ง� ที่่�เขีียนแล้้วสัังเกตว่่า ภาษาที่่�ใช้้ในการเขีียนสละสลวย และคงความหมายในแต่่ละ
ย่่อหน้้าไว้้ได้้อย่่างสมบููรณ์์หรืือไม่่
๗. การเขีียนสรุุปความควรใช้้ภาษาชััดเจน อ่่านแล้้วเข้้าใจง่่าย หากเป็็นคำำ�ศััพท์์ที่่�ใช้้เฉพาะใน
คำำ�ประพัันธ์์ ควรถอดความให้้เป็็นภาษาร้้อยแก้้วธรรมดา
๘. ถ้้าเป็็นคำำ�ราชาศััพท์์ให้้คงไว้้เหมืือนเดิิม หรืือใช้้คำำ�ราชาศััพท์์ตามระดัับบุุคคล
๙. ไม่่ควรใช้้อัักษรย่่อ ยกเว้้นเป็็นอัักษรที่่�รู้้�จัักกัันทั่่�วไป เช่น่ กทม. (กรุุงเทพมหานคร)
21
21

๕. ถ้าเรื่องที่สรุปเป็นความเรียงร้อยแก้ว นวนิยาย นิทาน เรื่องสั้น ต�านาน ฯลฯ มีวิธีการสรุปความอย่างไร


ใช้ภำษำของตนเองเล่ำเรื่อง
๖. ถ้าเป็นเรื่องประเภทร้อยกรอง มีวิธีการสรุปความอย่างไร
ต้องบอกประเภท ชื่อเรื่อง ของใคร และต้องสรุปควำมเป็นภำษำร้อยแก้ว
๗. จงเขียนข้อแนะน�าในการสรุปความรู้จากหนังสือเรียนและค�าอธิบายของครู
กำรสรุปควำมรู้จำกหนังสือเรียน รวมถึงค�ำอธิบำยของครู มีข้อปฏิบัติดังนี้
• ควรสรุปควำมเป็นระยะๆ ตลอดปีกำรศึกษำ กำรสรุปควำมชนิดนีห้ ำกท�ำเป็นประจ�ำ จะช่วยกระตุน้
ควำมทรงจ�ำในบทเรียนนั้นๆ ได้เป็นอย่ำงดี
• หำกไม่เข้ำใจสิ่งที่ครูอธิบำย ให้ซักถำมและเพิ่มเติมในบทสรุปควำมของตนให้ชัดเจน
• หากสร
หำกสรุปุ ปความได้
ควำมได้ดดแี ีและชั
ละชัดดเจนมากเท่
เจนมำกเท่าไร ก็เพิม่ ก็ความสะดวกและความเข้
ำไหร่ าใจให้ตนเองได้
จะเพิ่มควำมสะดวกและควำมเข้ ำใจให้ตมนเอง
ากเท่านัน้
๘. นักเรียนมีวิธีการสรุปความรู้จากหนังสืออย่างไรบ้าง
คำ(ค��ตอบอยู่
ำตอบอยูในดุลยพิ
่ในดุลยพินนิจิจของผู
ของผู้ส้สอน
อน)
๙. จงบอกประโยชน์ของการเขียนสรุปความ
๑. ช่วยให้กำรอ่ำน กำรฟังได้ผลดียิ่งขึ้น ช่วยให้เข้ำใจและจดจ�ำข้อควำมส�ำคัญที่ได้อ่ำนหรือฟังได้
สะดวกรวดเร็ว
๒. ช่ช่วยในการจดบั
วยในกำรจดบันนทึทกึก เมืเมือ่ ได้
่อได้ฟฟงั หรือศึอกศษำวิ
ังหรื ชำใดก็
ึกษาวิ ชาใดก็ ตำมตาม รูจ้ กั จะทำ
จดข้�อให้ควำมส�
จดข้อำความสำ
คัญลงสมุ
�คดัญได้ทนั เวลำ
ลงสม ุดได้
และเรื ่องรำว นเรื่องราว
ทันเวลาและทั
๓. ช่วยในกำรตอบแบบฝึกหัดหรือข้อสอบ กล่ำวคือผู้ตอบจะต้องย่อควำมรู้ทั้งหมดที่มีอยู่ในรูป
ของข้อเขียนสั้นๆ แต่มีใจควำมครบถ้วน
๔. ช่่ช่วยเตืื
ยเตือนความทรงจำำ
นควำมทรงจ��ำ นัันักเรีียนอ่่านหนัั
เรียนอ่ำนหนังสืืสือแล้้ แล้วทำำท��บ
ำบทย่ อหน้าำเป็็
ทย่่อหน้้ เป็นตอนๆ หรืืหรือเป็็
เป็นระยะๆ
ควรท��ติ
ควรทำำ ำติิดต่่อกัั
ต่อกันอย่่างสม่ำำ
อย่ำงสม��� ่ำเสมอ จะช่่วยให้้ ยให้ไไม่่ต้้
ม่ตอ้องอ่่านหนัั
งอ่ำนหนังงสืืสืออซ้ำำซ��� ้ำใหม่่ตลอดเล่่ม
ใหม่ ตลอดเล่ม
๑๐. พลความ คืออะไร
พลควำม คือ เนื้อเรื่องที่เป็นส่วนขยำยใจควำมส�ำคัญ หรือประโยคที่เป็นส่วนขยำยควำมเพื่อให้
เห็นควำมชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งหำกตัดพลควำมออกไปผู้อ่ำนก็ยังคงเข้ำใจเนื้อควำมของเรื่องอยู่ ในส่วน
พลควำมนี้อำจเป็นส่วนอธิบำยให้รำยละเอียด นิยำมค�ำจ�ำกัดควำมข้อควำมที่ยกตัวอย่ำงเป็นสถิติ
หลักฐำนอ้ำงอิง สุภำษิต ค�ำเปรียบเทียบ
22
22

ตอนที่
ตอนที่ ๓ คำค��ชี้
ำชีแจง
้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้
งหมาย หน้าข้อที่ถู
ที่ถกู และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ทีผ่ ิด
ด และอธิบาย
เหตุ
เหตุผลข้อที่ทีเ่ ห็นว่าผิด
xx ๑.
.............. การสรุุปความคืื
การสรุปความคือการเก็็ การเก็บใจความสำำ
ใจความส��คัั าคัญทุุกตััวอัักษรของสาร
ญทุกตัวอักษรของสาร
(เหตุุผล
(เหตุผล เฉพาะส่่วนที่่�
เฉพำะส่วนทีเ่เป็็ป็นนใจความสำำ ใจควำมส��คั ำคััญญ ไม่่ใช่่ทุุกตัั
ไม่ใช่ทุกตัววอััอักกษร) ษร)
.............. ๒. การสรุปความมีความส��คัั
การสรุุปความมีีความสำำ าคัญต่่
ญต่อการศึึ การศึกษา
.............. ๓. ถ้้ถ้ามีีราชาศััพท์์
มีราชาศัพท์ให้้ห้คงไว้้ งไว้เเหมืื
หมืออนเดิิ นเดิมม หรืื หรืออใช้้
ใช้รราชาศััพท์์
าชาศัพท์ตตามระดัับบุุคคล
ามระดับบุคคล
.............. ๔. ไม่ควรใช้้
ไม่่ วรใช้อััอกษรย่่
ักษรย่อในการเขีียนสรุุปความ
ในการเขียนสรุปความ
x ๕.
.............. ถ้้ถ้าต้้ต้องสรุุปความเกี่่
งสรุปความเกีย� ่ วกัับจดหมาย
วกับจดหมาย หนัังสืื หนังสือราชการ พระราชสาส์์ พระราชสาส์น ไม่ ไม่่จำจ�ำา� เป็็
เป็นต้้ต้องบอกเลขที่่�
งบอกเลขทีจด จ่ ดหมาย
หมาย
(เหตุผล จำำจ��ำเป็็
(เหตุุผล เป็นนอย่่างยิ่่�
อย่ำงยิง่งที่่�ทีต้่ต้อ้องระบุุเลขที่่�
งระบุเลขทีจ่จดหมาย) ดหมำย)
.............. ๖. การเขียนสรุปความควรใช้ภาษาที่่�
การเขีียนสรุุปความควรใช้้ าษาทีอ่่อ่า่านเข้้
นเข้าาใจง่่
ใจง่าาย ย
xx ๗.
.............. การสรุปความต้องรวบรวมความรู้้�
การสรุุปความต้้ งรวบรวมความรูเ้ พิ่่�พิม่มเติิ เติมมให้้
ให้มมากๆ ากๆ เพื่่�
เพือ่อใส่่ใส่ไไว้้ว้ใในงานสรุุปความ
นงานสรุปความ
(เหตุผล ไม่่จำำ
(เหตุุผล ไม่จ��ำเป็็เป็นน))
.............. ๘. ก่่ก่อนจะสรุุปความต้้
นจะสรุปความต้องพิิ งพิจารณาก่่
ารณาก่ออนว่่ นว่าาเป็็
เป็นนเรื่่เรื�อ่องประเภทใดก่่
งประเภทใดก่ออนน
xx ๙.
.............. ไม่ต้ต้องถอดคำำ
ไม่่ งถอดค��ป าประพั นธ์ใให้้ห้เเป็็ป็นนร้้ร้ออยแก้้
ระพัันธ์์ ยแก้ววทุุกครั้้�
ทุกครัง้ง
(เหตุผล ควรถอดคำำ
(เหตุุผล ควรถอดค��ำประพัั ประพันธ์์ธ์ใให้้ห้เเป็็ป็นนร้้ร้ออยแก้้ยแก้ววทุุกครั้้�
ทุกครัง)้ง)
x ๑๐.
.............. ไม่จำจำ��าเป็็
ไม่่ เป็นนต้้ต้อองอ่่
งอ่าานเรื่่
นเรื�อ่องที่่�
งทีจ่จะสรุุปความอย่่
ะสรุปความอย่าางละเอีียด งละเอียด
(เหตุ ผลควรอ่ำนคร่ำวๆ ก่ก่่อน
(เหตุุผลควรอ่่านคร่่าวๆ อน แล้ แล้้ววจึจึึงอ่่านละเอีียดอีีกครั้้�
งอ่ำนละเอียดอีกครั้งงก่ก่่อนสรุุปความ) อนสรุปควำม)

ตอนที่่�่ ๔ ค�คำำำ�ชี้
ตอนที ชี้แ� จง : ให้้นนััักกเรีียนเขีียนสรุุปความจากนิิ
ให้ เรียนเขียนสรุปความจากนิททานดั
านดัังต่่ ไปนี้้� โดยใช้้
งต่อไปนี าษาของตนเองเขีียนเล่่
้ โดยใช้ภาษาของตนเองเขี เรื่่�อ่ ง
ยนเล่าเรื

(คำำ
(ค��ำตอบอยู่่�
ตอบอยูใ่ นดุุลยพิิ
นดุลยพินินิจของผู้้
ของผู�ส้ อน)


ยที่
นว่ 

การอ่
การอานอย่
นอยางมีประสิทธิภาพ

ใบงำนที่ ๖.๑ เรื่อง วิเครำะห์กำรอ่ำน


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนอ่านเรื่องต่อไปนี้แล้วตอบค�าถาม โดยจับเวลาการอ่านด้วย
๑. การเขียนหนังสือที่ดีเป็นอย่างไร
เขียนตำมแบบแผน เขียนให้ไพเรำะ ใช้ถ้อยค�ำอย่ำงประหยัด
๒. “ถวายการต้อนรับเสด็จ” หรือ “ให้การต้อนรับ” เป็นภาษาที่ยืดยาดเพราะเหตุใด
ใช้ค�ำที่มีควำมหมำยซ�้ำบ้ำง ค�ำที่ไม่จ�ำเป็นบ้ำง จัดว่ำใช้ถ้อยค�ำอย่ำงไม่ประหยัด
23

๓. “อาชีีพที่่�แท้้จริิงของท่่านคืืออาลัักษณ์์ ฉะนั้้�นภาษาหนัังสืือของท่่านจึึงจัับผิิดไม่่ได้้” ข้้อความตััวหนา


หมายถึึงอะไร
ไม่่มีีที่่�ผิิดให้้ใครจัับได้้เลย
๔. คุุณพระสารประเสริิฐได้้รัับยกย่่องว่่าเป็็นครููที่่�พิิเศษเพราะเหตุุใด
เป็็นผู้้�มีีความรู้้�ความชำำ�นาญในการใช้้ภาษาอย่่างดีีเยี่่�ยม
๕. “คนเจ้้าระเบีียบในเรื่่�องของภาษา” หมายถึึงอะไร
ผู้้�ที่่�เคร่่งครััดการใช้้ภาษาให้้ถููกแบบแผน ระวัังเรื่่�องความไพเราะและความประณีีต
๖. ความไพเราะอย่่างหนึ่่�งของภาษาเขีียนร้้อยแก้้วตามที่่�ปรากฏในข้้อความนี้้�คืืออะไร
การเขีียนให้้มีีสััมผััสคล้้องจองกััน
๗. “ต้้องฟัังเทศน์์เป็็นกััณฑ์์ๆ” มีีความหมายอย่่างไร
การถููกดุุหรืือถููกตำำ�หนิิอย่่างยืืดยาว
๘. “ภาษาที่่�บ้้าน้ำำ�ล
� ายเข้้าหููต่่างๆ” มีีความหมายอย่่างไร
ภาษาที่่�ใช้้คำำ�ซ้ำำ��ซ้้อนกัันโดยไม่่จำำ�เป็็น
๙. “การเขีียนหนัังสืือที่�สำ่ �ำ นวนแปร่่ง” มีีความหมายอย่่างไร
การใช้้สำำ�นวนที่่�แปลกไป ไม่่รู้้�สึึกคุ้้�นหูู ไม่่เคยชิิน
๑๐. “ยิ่่�งอ่่านหนัังสืือดีีๆ มากเท่่าใด ยิ่่�งระลึึกถึึงท่่าน” เป็็นเพราะเหตุุใด
เพราะท่่านเคยพร่ำำ��สอนให้้ใช้้ภาษาซึ่่�งเป็็นแบบแผน ไพเราะ และประหยััดถ้้อยคำำ�
๑๑. “ได้้ฟัังภาษาที่�ไ่ ม่่ค่่อยเพราะหููเท่่าใด ก็็ยิ่่�งระลึึกถึึงท่่าน” เป็็นเพราะเหตุุใด
เพราะท่่านเคยอบรมให้้ใช้้ภาษาอย่่างประณีีต
๑๒. “การแปลให้้ได้้ดีีนั้้�นเป็็นของยาก” เป็็นเพราะเหตุุใด
เพราะผู้้�แปลจะต้้องมีีความรู้้�อย่่างดีียิ่่�งทั้้�งสองภาษา
๑๓. เท่่าที่่�อ่่านมานี้้�วิิชาที่่�คุุณพระสารประเสริิฐสอนคืือวิิชาใด
วิิชาภาษาบาลีี
๑๔. ข้้อความใดในบทอ่่านนี้้�ที่่�ยืืนยัันว่่า คุุณพระสารประเสริิฐเป็็นผู้้�มีีความรู้้�ทางภาษาไทยอย่่างดีีเยี่่�ยม
อาชีีพที่่�แท้้จริิงของท่่านคืืออาลัักษณ์์
24
24

ใบงำนที่ ๖.๒ เรื่อง กำรอ่ำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ


ค�ำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมผังมโนทัศน์ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์

๑. กำรอ่ำนจับใจควำมส�ำคัญ
วิธีการอานอยางมีประสิทธิภาพ ๒. กำรอ่ำนเร็ว

๑. ปัญหำด้ำนสุขภำพ ได้แก่ เจ็บป่วย สำยตำสัน้


หรือยำว สำยตำไม่ดี
๒. ปัญหำด้ำนจิตใจ ได้แก่ ขำดสมำธิ ฟุ้งซ่ำน
ท�ำให้ไม่สำมำรถจับใจควำม ไม่สำมำรถสรุป
สาเหตุของการอานหนังสือชา สำระส�ำคัญ หรือจับวัตถุประสงค์ของผูแ้ ต่งได้
๓. ขำดทักษะกำรอ่ำนอย่ำงสม�ำ่ เสมอ
๔. ขำดทักษะในกำรคิดแบบรวบยอด จับประเด็น
ไม่ได้
๕. ปัญหำด้ำนสภำพแวดล้อม เช่น แสงสว่ำ ง
ไม่เพียงพอ ฯลฯ

วิธีการอานเร็วภายในเวลา ๑. วิธกี ำรอ่ำนข้ำม


ที่กําหนด ๒. วิธกี ำรอ่ำนคร่ำว

ใบงำนที่ ๖.๓
ใบงานที่่� ๖.๓ เรื่่
เรื�อ่ ง การอ่่านหนัั
กำรอ่ำนหนังสืืสือของข้้
ของข้าำพเจ้้
พเจ้าำ
คำำค��ชี้
ำชี้�แจง : ให้้
ให้นัันกเรีียนเขีียนถึึ
ักเรียนเขียนถึงวิิวิธีีธการอ่่
ีการอ่านหนัังสืื
นหนังสือของตนเองว่่
ของตนเองว่าาเป็็
เป็นนอย่่
อย่าางไร นัักเรีียนพอใจกัับเวลาในการอ่่
งไร นักเรียนพอใจกับเวลาในการอ่าานน
ของตนเองหรือไม่่
ของตนเองหรืื ไมอย่่ยางไร พร้้
พรอมบอกเหตุุผลด้้
มบอกเหตุผลดวย
คำำ(คํ�าตอบอยู่่� ตอบอยูใในดุุลยพิิ
นดุลยพินินิจิจของผู้้
ของผู�สสอน
อน)
25
25
แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๖

ตอนที่่�
ตอนที่ ๑ คำำค��ชี้ ำชี้�แจง : จงเขีียนเครื่่
จงเขียนเครื�อ่ งหมาย x ข้้ x ทัอบที่่�ข้ถูอูกทีต้้่ถอูกงที่่�
ต้อสุุด
งที่สุด
๑. “ทองทาเป็็
“ทองทาเป็นหลานของตาชื่่
หลานของตาชืน� ่ ที่่�ทีส่ ติิติไไม่่ม่ดีี ตอนนี้้�ก็็ก้ โ็ ตจนเรีียนอยู่่�มัั
ดี ตอนนี ตจนเรียนอยูม่ ธั ยมแล้้ ยมแล้ว ทุุกกลางวัันเขาต้้
ทุกกลางวันเขาต้องคอยเอาอาหาร
มาให้้
มาให้ตาชื่่ าชืน�่ ตอนเย็
ตอนเย็็นก็ก็็ไปรั
ปรัับจ้้ งขายของที่่�ต่ ลาดทุ
บจ้างขายของที ลาดทุุกวัันเพื่่�
กวันเพือ่ หาเงิิ หาเงินมาเป็็ มาเป็นค่่ค่ารััรักษาพยาบาลของตา เห็ เห็็นไหมว่
ไหมว่่าเขา
ช่่ช่างเป็็
งเป็นเด็็ เด็กดีีอะไรอย่่
ดีอะไรอย่างนี้้� งนี”้ จากการอ่่
จากการอ่านข้้ นข้ออความนี้้�นัักเรีียนคิิ
ความนี้นักเรียนคิดว่ ดว่่าาน้ำำน���้าเสีียงของผู้้�พูู
เสียงของผู้พดูดตรงตามข้้ ตรงตามข้ออใด ใด
จ. ชื่่�
จ. ชืน่ ชม
ใช้้
ใช้ข้ข้อความต่่ ความต่อไปนี้้�ตอบคำำ
ไปนี้ตอบค��ถ ามข้้อ ๒ – ๓
าถามข้
“ดูู
“ดูเจ้้จ้าหล่่
หล่อนสิิ
นสิแต่่ต่งตััวอย่่
ตัวอย่างกัับผู้้�
งกับผูห้ ญิิ ญิงกลางคื กลางคืืน นี่่�นีถ่ ถ้า้ ไม่ ไม่่ใช่ช่่ภรรยาของเพื
รรยาของเพื่่�อ่ นสนิ นสนิิทฉันั ไม่ ไม่่มมีีที ทางที่่�
างทีฉ่ ฉันั จะให้
จะให้้มานั
านั่่�ง่
ในรถฉัั
ในรถฉันเป็็ เป็นอัันขาด ทั้้�งที่่�
อันขาด ทั้งทีไ่ ม่่ม่เคยรู้้�จัั
คยรู้จกักกัันมาก่่
กันมาก่ออนน แต่่ แต่ทำทำ��าไมฉั
ไมฉัันนถึึถึงงไม่่
ไม่ชชอบหล่่ อบหล่ออนได้้ นได้ถึถึงึงขนาดนี้้�”
ขนาดนี้”
๒. ข้้ข้อใดคืื
ใดคือความรู้้�สึึ
ความรู้สกึ ของผู้้�พูู
ของผู้พดู
ค.ค. ไม่่ถููกชะตา
ไม่ถูกชะตำ
๓. ผู้้�พูู
ผู้พดู กล่่ กล่าวถึึวถึงใคร
ค.ค. ภรรยาของเพื่่�
ภรรยำของเพือ่ น
ใช้้
ใช้ข้ข้อความต่่ ความต่อไปนี้้�ตอบคำำ
ไปนี้ตอบค��ถ ามข้้อ ๔ – ๕
าถามข้
๔. “ขมิ้้�
“ขมิน้ ชัันมีีวิิ
ชันมีวติ ามิิ
ามิน เอ, ซีซีี, อีี ที่่�
อี ทีเ่ ข้ข้้าสูสู่่�ร่ร่ า่ งกายแล้
งกายแล้้วจะท� จะทำำา�งานพร้
งานพร้้อมกั มกัันทั้้�นทัง้ ๓๓ ตััว จึึ
ตัว จึงงมีมีีผลทำำ
ผลท�า�ให้ ให้้ชช่ว่ ยลดไขมั
ยลดไขมัันในตัับ
นในตับ
สมานแผลภายในกระเพาะอาหาร ช่่
สมานแผลภายในกระเพาะอาหาร ช่วยย่่ ยย่อยอาหาร ทำำ
ยอาหาร ท��าความสะอาดลำำ ความสะอาดล��าไส้้ ไส้ เปลี่่� นไขมัันให้้
เปลี่ยนไขมั นให้เป็็ป็นกล้้กล้ามเนื้้�อ
มเนื้อ
ต้้ต้านอนุนอนุุมููมูลอิิอิสระ ป้้
ระ ป้อองกังกัันมะเร็็
นมะเร็งตัตัับบ สร้ สร้้าางภู งภููมมิิคิคุุ้้ม้�มกักัันให้้
นให้กกััับบผิิ ผิวหนั หนััง กำำ
ง ก�า�จััด จัดเชืเชื้้�้ออราที
ราที่่�่ปปนเปื
นเปื้้้อ�อนในอาหารที
นในอาหารที่่�่รรััับบประทานประทาน
เข้้
เข้าไปและสะสมในร่่
ไปและสะสมในร่างกายเตรีียมก่่ งกายเตรียมก่อตััวเป็็ ตัวเป็นเซลล์์ เซลล์มมะเร็็ ะเร็งง ช่่ช่ววยขัับน้ำำ
ยขับน���้านมสำำ นมส��าหรัับสตรีีหลัังการคลอดบุุตรได้้
หรับสตรีหลังการคลอดบุตรได้ดีี ดี
รองมาจากการกิิ
รองมาจากการกินหััวปลีี” หัวปลี”
๔. ข้้ข้อใดเป็็
ใดเป็นจุุดประสงค์์
จุดประสงค์ของผู้้� องผูแ้ ต่่ต่งบทความนี้้�
บทความนี้
จ. เพื่่� เพือ่ ให้้
ให้ความรู้้
วำมรู� ้
๕. ชื่่�ชือ่ เรื่่
เรื�อ่ งในข้้ ใดเหมาะสมกับบทความนีม้มากที่่�
งในข้อใดเหมาะสมกัับบทความนี้้� ำกทีสุุ่สดุด
ข.ข. สารพัั สำรพัดประโยชน์์
ประโยชน์จากขมิ้้� ำกขมิน้
ใช้้
ใช้ข้ข้อความต่่ ความต่อไปนี้้�ตอบคำำ
ไปนี้ตอบค��ถ ามข้้อ ๖ – ๗
าถามข้
๖. “ปัั
“ปัจจจุุบัั
จุบนวััฒนธรรมความเป็็
นั วัฒนธรรมความเป็นญี่่� ญีปุ่่ป่ น� ุ่ ในสัังคมไทยนั้้�
ในสังคมไทยนัน้ ปรากฏให้้ ปรากฏให้เห็็ห็นนอยู่่�ทั่่ อยูท่ ว� วั่ ไปและมีีรูู
ไปและมีรปปู แบบที่่�
แบบทีหห่ ลากหลาย ลากหลาย ไม่ ไม่่ว่วา่
จะเป็็
จะเป็นสื่่�สือ่ อย่่ อย่างละครและภาพยนตร์์
งละครและภาพยนตร์ เกม การ์์ การ์ตูตูนญี่่�ญีปุ่่่ป�นุ่ การแต่่
การแต่งกาย อาหาร สิิ อาหาร สินค้้ค้าานำำน��าเข้้ เข้าา วรรณกรรม
วรรณกรรม ภาษา ภาษา
ญี่่�
ญี่ปปุุ่่่น� ฯลฯ เรี เรีียกได้้
ยกได้ว่ว่าวััฒนธรรมญี่่�
วัฒนธรรมญี่ปุ่่ปุ่�นปรากฏอยู ปรากฏอยู่่�่แทบทุุกด้้ ทบทุกด้านของชี นของชีีวิิวติ ”
๖. ข้้ข้อใดเป็็
ใดเป็นใจความสำำ
ใจความส��คัั าคัญของข้้
ญของข้อความ
ง. วัั
ง. วัฒนธรรมญี่่� นธรรมญีปุ่่ป่�นุ แพร่่หลายในสัั
แพร่หลำยในสังคมไทย
๗. จากข้้
จากข้อที่่�ที่ ๖๖ ข้้ข้อใดไม่่สามารถอนุุมานได้้
ใดไม่สำมำรถอนุมานได้จากข้้ ากข้อความ
จ. วัั
จ. วัฒนธรรมญี่่� นธรรมญีปุ่่ป่�นุ เป็็ เป็นที่่�ทีย่ อมรัั
อมรับในสัั ในสังคมไทยมากที่่�คมไทยมำกทีสุุ่สดุด
๘. ข้้ข้อใดไม่่สามารถใช้้
ใดไม่สำมำรถใช้วิวิธีีธการอ่่ ีการอ่านคร่่ นคร่าวได้้
วได้
ง. การจัั กำรจับใจความสำำ
ใจควำมส��คั ำคััญของเรื่่
ของเรื�อ่ ง
26
๙. ข้้ข้อใดเป็็
ใดเป็นนวิิวิธีีธการช่่
ีการช่ววยให้้
ยให้อ่อ่า่านคร่่
นคร่าาวได้้
วได้รรวดเร็็
วดเร็วว
ข. การหาจุุดมุ่่
กำรหำจุดมุ�ง่ หมายของเรื่่
หมำยของเรื�อ่ ง
๑๐. ข้้ข้อใดไม่่ใช่่
ใดไม่ใช่ปัปัจจัั ัจจัยของการอ่่
ยของการอ่าานหนัังสืื
นหนังสืออเร็็เร็วว
ก. การจัั
กำรจับเวลาในการอ่่าน
เวลำในกำรอ่ำน
ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงตอบค�าถามต่อไปนี้
๑. วิธีการอ่านแบ่งเป็นกี่ลักษณะ มีอะไรบ้าง
สำมำรถแบ่งกำรอ่ำนได้เป็น ๓ ลักษณะตำมจุดมุ่งหมำยในกำรอ่ำน ดังนี้
๑. กำรอ่ำนแบบคร่ำวๆ (skimming) หมำยถึง กำรอ่ำนด้วยควำมรวดเร็วเพื่อให้เห็นภำพรวมของ
งำนเขียนทีเ่ รำอ่ำนเรือ่ งนัน้ ๆ กำรอ่ำนลักษณะนีไ้ ม่ใช่กำรอ่ำนทุกตัวอักษร แต่เป็นกำรอ่ำนผ่ำนๆ
เพื่อพิจำรณำประเด็นส�ำคัญที่ปรำกฏในงำนเขียน กำรอ่ำนลักษณะนี้มีประโยชน์อย่ำงยิ่งในกำร
ตัดสินใจเลือกซื้อหนังสือ และการเลื และกำรเลื อกยื อกยื มหนั มหนั งสืงอสืเพือ่อเพืใช้่อทใช้ำ�ทรายงานต่
�ำรำยงำนต่ างๆำงๆ อีกทัอี้งกการเห็ นภาพรวม
ทั้งกำรเห็ นภำพ
รวมของงำนที
ของงานที่ อ่านยั่อง่ำทำนยั�ให้งท�เมืำให้ เมื่อาเรำอ่
่อเราอ่ นอย่ำานอย่ งละเอี ำงละเอี
ยดก็สยามารถเข้ ดก็จะสำมำรถเข้ ำใจเนื้อหำสำระต่
าใจเนื้อหาสาระต่ างๆ ได้ดำงๆ ียิ่งขึ้นได้ดี
ยิ่งขึ้น
๒. การอ่่านแบบกวาดสายตา (scanning) หมายถึึง การอ่่านด้้วยความรวดเร็็วเพื่่�อค้้นหาเนื้้�อหาสาระ
๒. กำรอ่
ที่่� เราต้้ำอนแบบกวำดสำยตำ
งการจากงานเขีียนนั้้� (scanning) หมำยถึง กำรอ่
นๆ โดยไม่่สนใจเนื้้� ำนด้วยควำมรวดเร็
อหาในส่่วนอื่่� นๆ ที่่�ไม่่ต้้วอเพื งการ อ่ ค้นหำเนื อ้ หำสำระ
การอ่่านแบบ
ที่เรำต้องกำรจำกงำนเขี
กวาดสายตาไม่่ใช่่ การอ่่านหนััยนนั้นงสืืๆอทั้้�โดยไม่
งเล่่ม สนใจเนื แต่่เป็็น้อการอ่่านเพื่่�
หำในส่วนอือ่นหาสิ่่� ๆ งทีที่่�่ไเม่ราต้้
ต้อองกำร งการคำำกำรอ่ ำนแบบ
�ตอบเท่่านั้้� น
ลัักวำดสำยตำไม่
กษณะการอ่่านประเภทนี้้ ใช่กำรอ่ำนหนั � เช่่งนสือการอ่่านพจนานุุกรม
ทัง้ เล่ม แต่เป็นกำรอ่ำการค้้ นเพือ่ นหำสิ ง่ ทีเ่ รำต้องกำรค�พำตอบเท่
หาหมายเลขโทรศัั ท์์จากสมุุด ำนัน้
โทรศััลักษณะกำรอ่ พท์์ ำนประเภทนี้ เช่น กำรอ่ำนพจนำนุกรม กำรค้นหำหมำยเลขโทรศัพท์จำกสมุด
๓. การอ่่านอย่่างละเอีียด
โทรศัพท์ (intensive reading) หมายถึึง การลงมืืออ่่านงานเขีียนอย่่างละเอีียด
ทุุกถ้้
๓. กำรอ่อำยคำำ �เพื่่�ำองละเอี
นอย่ ให้้เข้้ายใจเนื้้� อหาสาระต่่างๆ
ด (intensive reading) ในงานเขีียนนั้้�
หมำยถึง นกำรลงมื ๆ ออ่ำนงำนเขียนอย่ำงละเอียด
ทุกถ้อยค�ำเพื่อให้เข้ำใจเนื้อหำสำระต่ำงๆ ในงำนเขียนนั้นๆ
๒. จงยกตััวอย่่างวิิธีีการเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการอ่่าน อย่่างน้้อย ๓ ข้้อ
๒. ๑. ควรจดบัั
จงยกตัวอย่างวินธีกทึึกสิ่่� ารเพิง่มที่่�ประสิ ทธิภอาพในการอ่
อ่่านเพื่่� เตืือนความจำำ าน �ว่่ อย่าได้้
างน้อ่่อานหนัั
ย ๓ ข้องสืืออะไร ผู้้�เขีียนเป็็นใคร ได้้แนวคิิด
๑. อย่่างไร
ควรจดบัและสามารถนำำ นทึกสิ่งที่อ่ำนเพื �ไปใช้้่อเตืปอระโยชน์์
นควำมจ� ได้้เำมื่่�ว่อำต้้ได้องการ
อ่ำนหนังสืออะไร ผู้เขียนเป็นใคร ได้แนวคิด
อย่ำงไร และสำมำรถน�
๒. หาโอกาสนำำ ำไปใช้ประโยชน์
�สิ่่�งที่่�อ่่านมาแลกเปลี่่� ยนความคิิ ได้เมืด่อกััต้บผู้ องกำร้�อื่่�น โดยเข้้าร่่วมกิิจกรรมหรืือชมรมการอ่่าน
๒. หำโอกำสน�
วิิ ำสิ่งที่อ่ำนมำแลกเปลี
ธีีนี้้�เป็็นการตรวจสอบความเข้้ ่ยนควำมคิดกับผู้อื่น โดยเข้ำดร่เห็็
าใจของตนเองและทราบความคิิ วมกิ จกรรมหรื
นของผู้้ �อื่่�น อชมรมกำรอ่ำน
วิธอีนอ่่านแล้้
๓. เมื่่� ี้เป็นกำรตรวจสอบควำมเข้
วไม่่เข้้าใจสิ่่�งใดต้้องพยายามหาคำำ ำใจของตนเองและทรำบควำมคิ �ตอบโดยไม่่ปล่่อยให้้ดสิ่่เห็ ง� นั้้�นนของผู
ผ่่านไป ้อื่นควรจดลงบััตรคำำ�
๓. เพื่่�
เมือ่ หาความหมาย
อ่ำนแล้วไม่เข้ำใจสิ จะทำำง่ ใดต้
�ให้้รัอับค
งพยำยำมหำค�
วามรู้้�เพิ่่�มขึ้้�นำตอบโดยไม่ปล่อยให้สงิ่ นัน้ ผ่ำนไป ควรจดลงบัตรค�ำ
๔. เป็็
เพืน่อคนช่่
หำควำมหมำย างสัังเกต เพราะจะเป็็
จะท�ำให้รับนควำมรู วิิธีีหนึ่่�ง้เพิที่่�ทำ่มำ�ขึให้้
้น อ่่านหนัังสืือได้้อย่่างรวดเร็็ว
๕. ฝึึ
๔. เป็กนตนเองให้้
คนช่ำงสัเงป็็เกต นนัักเพรำะจะเป็
อ่่านที่่�ดีี โดยพยายามทำำ
นวิธีหนึ่งที่ท�ำ�ค ให้อวามเข้้
่ำนหนัางใจและตีีความสาร
สือได้อย่ำงรวดเร็ว การฝึึกตนเองอย่่าง
๕. สม่ำำ
ฝึก�� ตนเองให้
เสมอ เป็็เนป็การพัั นนักอ่ฒำนาทัันที่ดกี ษะการอ่่านที่่�
โดยพยำยำมท� ดีีวิำิธีีควำมเข้
หนึ่่�ง ำใจและตีควำมสำร กำรฝึกตนเองอย่ำง
สม�่ำเสมอ เป็นกำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนที่ดีวิธีหนึ่ง
๓. จงบอกประโยชน์์ของการอ่่าน
๓. ๑. ทำำ
จงบอกประโยชน์
�ให้้ผู้�อ่่้ านได้้ของการอ่ าน
รัับสาระความรู้้ �ต่่างๆ
๑. ท��ำให้้
๒. ทำำ ให้สผมองได้้
ู้อ่ำนได้คิริดับและเกิิ
สำระควำมรู ดสมาธิิ้ต่ำงๆ
๒. ท��ำให้้
๓. ทำำ ให้ผู้ส�อ่่้ มองได้
านมีีอิิคสิดระทางความคิิ
และเกิดสมำธิด
๓. สร้้
๔. ท�ำาให้ ผู้อ่ำนมีอิสดระทำงควำมคิ
งความเพลิิ เพลิินและคลายความเครีียด ด
๔. สร้ำงควำมเพลิดเพลินและคลำยควำมเครียด
27
27
๔. การอ่านเร็วมีความส�าคัญต่อนักเรียนอย่างไรบ้าง
กำรอ่ำนเร็วท�ำให้ได้เปรียบผูอ้ นื่ ในเรือ่ งของกำรทบทวนควำมรูต้ ำ่ งๆ กำรอ่ำนช้ำย่อมจะประสบปัญหำ
กับกำรอ่ำนหนังสือไม่ทนั กำรอ่ำนเร็วจึงเป็นเครือ่ งมือที่ส�ำคัญส�ำหรับกำรศึกษำ
๕. นักเรียนสามารถน�าการอ่านเร็วมาใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไรบ้าง
กำรอ่ำนเร็วสำมำรถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้มำกมำย เช่น กำรอ่ำนหนังสือพิมพ์ นิตยสำร
บทอ่ำน โดยอำจเริม่ อ่ำนพำดหัวข่ำว หัวเรือ่ ง ชือ่ เรือ่ ง ย่อหน้ำแรกของเรือ่ ง หำกสนใจก็อำ่ นต่อไป
หำกไม่สนใจเรำสำมำรถอ่ำนข้ำมไปได้ หรือเลือกอ่ำนเรื่องใหม่
๖. จงบอกสาเหตุของการอ่านหนังสือช้า
สำเหตุกำรอ่ำนหนังสือช้ำ มีดังนี้
๑. ปัญหำด้ำนสุขภำพ ได้แก่ เจ็บป่วย สำยตำสั้นหรือยำว หำกสำยตำไม่ดี ควรใส่แว่นตำช่วย
เพื่อถนอมสำยตำไว้ เพรำะดวงตำเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในกำรอ่ำน
๒. ปัญหำด้ำนจิตใจ ได้แก่ กำรขำดสมำธิ จิตใจฟุ้งซ่ำน ท�ำให้ไม่สำมำรถเข้ำใจเรื่องได้โดยตลอด
ส่งผลให้ไม่สำมำรถสรุปสำระส�ำคัญของเรื่อง ตลอดจนจับวัตถุประสงค์ของผู้แต่งไม่ได้
๓. ขำดกำรฝึกทักษะกำรอ่ำนอย่ำงสม�่ำเสมอ ได้แก่ ขำดกำรฝึกทักษะกำรอ่ำนในใจ ท�ำให้ต้องอ่ำน
ออกเสียง หรืออ่ำนวนไปวนมำ หรือพุ่งควำมสนใจไปที่ค�ำใดค�ำหนึ่งมำกเกินไปจึงเสียเวลำใน
กำรอ่ำน และไม่เข้ำใจเรื่อง
๔. ขำดทักษะในกำรคิดแบบรวบยอด ท�ำให้สรุปสำระส�ำคัญของเรื่องไม่ได้ จับประเด็นของเรื่อง
ผิดพลำด
๕. ปัญหำด้ำนสภำพแวดล้อม เช่น แสงสว่ำงไม่พอ และอุปสรรคอื่นๆ ผู้อ่ำนควรเลือกหรือควรจัด
สภำพกำรณ์ ให้ดีขณะอ่ำนหนังสือ
๗. จงบอกปัจจัยการอ่านหนังสือเร็ว
๑. ควำมยำกง่ำยของสิง่ ทีอ่ ำ่ น ควำมยำกง่ำยนัน้ อำจมีเนือ้ หำเกีย่ วกับเรือ่ งทีผ่ อู้ ำ่ นไม่มปี ระสบกำรณ์
มำก่อน เพรำะหำกผู้อ่ำนมีประสบกำรณ์เรื่องที่อ่ำนมำก่อน อำจช่วยคำดเดำเหตุกำรณ์ได้
๒. โครงเรื่องที่อ่ำน โครงเรื่องที่ซับซ้อนมำกย่อมเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกำรอ่ำนของผู้อ่ำน
๓. กำรใช้ศพั ท์สำ� นวนทีเ่ ข้ำใจยำก เช่น กำรใช้ศพั ท์เฉพำะทำง หำกผูอ้ ำ่ นไม่มคี วำมรูเ้ รือ่ งค�ำศัพท์
ทำงด้ำนนัน้ ก็อำจเป็นอุปสรรคต่อกำรอ่ำนได้
๘. นักเรียนเป็นคนอ่านหนังสือช้าหรือไม่ ถ้าเป็น นักเรียนมีแนวทางในการปรับปรุงทักษะการอ่านอย่างไร
คำ(ค��ำตอบอยู่
ตอบอิสใระ)
นดุลยพินิจของผู้สอน
๙. นักเรียนคิดว่าทักษะการอ่านหนังสือเร็วเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหรือไม่อย่างไร
คำ(ค��ำตอบอยู่
ตอบอิสใระ)
นดุลยพินิจของผู้สอน
๑๐. การอ่านข้อสอบ ควรเลือกใช้วิธีการอ่านลักษณะใด
กำรอ่ำนข้อสอบ ควรอ่ำนอย่ำงละเอียด (intensive reading) เพือ่ ให้เข้ำใจเนือ้ หำสำระต่ำงๆ ในข้อสอบ
ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
28
28

ตอนที่ ๓ คำค��ชี้
ตอนที่ ำชีแจง
้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้
งหมาย หน้าข้อที่ถู
ที่ถกู และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ทีผ่ ิดและอธิบาย
เหตุ
เหตุ ผ ลข้ อ ที
ที่ เ
่ ห็ น ว่ า ผิ ด
.............. ๑. หากนักเรียนสามารถอ่านได้้
หากนัักเรีียนสามารถอ่่ นเร็วเร็็ได้วได้้จะท� จะทำำาให้�ให้้ มีเมีีวลาทบทวนความรู
เวลาทบทวนความรู้้�ต่่ ้ต่างๆ
างๆมากขึ ้น น
มากขึ้้�
.............. ๒. การอ่านจัับใจความสำำ
การอ่่ นจับใจความส��คัั าคัญเป็็
ญเป็นนทัักษะเบื้้�
ทักษะเบือ้องต้้ งต้นนของการอ่่
ของการอ่าานหนัังสืืนหนังสืออ
.............. ๓. นักเรียนสามารถน��าการอ่่
นัักเรีียนสามารถนำำ การอ่านเร็็
นเร็ววไปใช้้ ไปใช้ใในชีีวิิ นชีวติตประจำำ
ประจ��วัั าวันได้้
นได้ เช่่เช่นน อ่่อ่าานหนัังสืื
นหนังสืออพิิพิมมพ์์พ์ นินิิตตยสาร
ยสารบทอ่่
บทอ่าาน

.............. ๔. การทราบสาเหตุของการอ่านหนัังสืื
การทราบสาเหตุุของการอ่่ นหนังสือช้้ช้า จะทำำ จะท��าให้้
ให้นัันกเรีียนนำำ
ักเรียนน��าไปปรัับปรุุงการอ่่
ไปปรับปรุงการอ่าานได้้ นได้
x ๕.
.............. การเตรียมตัวทีดีีด่ เกิิ
การเตรีียมตััวที่่� เี กินไปเป็็
ไปเป็นสาเหตุุหนึ่่�
สาเหตุหนึง่ ของการอ่่ ของการอ่านหนั งสือช้ช้้า
นหนัังสืื
(เหตุผล การเตรีียมตัั
(เหตุุผล กำรเตรียมตัววในการอ่่านจะช่ ในกำรอ่ำนจะช่่ววยให้้ ยให้อ่่อานได้้
่ำนได้เเร็็ร็ววขึ้้ขึ�น้น))
x ๖.
.............. การอ่านข้้
การอ่่ นข้ามเป็็
มเป็นวิิวิธีีธการอ่่
ีการอ่านหนัังสืื
นหนังสือเร็็เร็วว โดยที่่� โดยทีผู้้�อ่
่ผู้อ่า่านต้้
นต้อองอ่่
งอ่าานทุุกตััวอัักษร
นทุกตัวอักษร
(เหตุผล ไม่่จำำ
(เหตุุผล ไม่จ�ำ� เป็็
เป็นนต้้ต้อองอ่่านทุุกตัั
งอ่ำนทุกตัววอััอักกษร) ษร)
x ๗.
.............. การอ่านเร็็
การอ่่ นเร็วไม่่
ไม่จำจำ��าเป็็
เป็นนต้้ต้อองอ่่
งอ่าานทุุกย่่
นทุกย่ออหน้้ หน้าา
(เหตุผล จำำจ��ำเป็็
(เหตุุผล เป็นต้้ต้อองอ่่านทุุกย่่อหน้้
งอ่ำนทุกย่อหน้าำแต่่ไม่่ต้้ แต่ไม่ตออ้ งทุุกตัั
งทุกตัววอััอักกษร) ษร)
.............. ๘. การอ่านคร่่
การอ่่ นคร่าวเป็็
วเป็นการอ่่ การอ่าานเร็็นเร็ววที่่�ทีไ่ไม่่ม่ไได้้ด้มุ่่�มงุ่งหาใจความสำำ
หาใจความส��คัั าคัญหรืื
ญหรืออแนวคิิ แนวคิดสำ
ดส�ำ�คัั
าคัญแต่่
ญแต่เป็็เป็นนการอ่่
การอ่าานเพื่่�
นเพือ่อหา
หา
คำำค��าตอบอย่่
ตอบอย่างรวดเร็็
งรวดเร็วในเรื่่ ในเรื�อ่องที่่�
งทีต้่ต้อ้องการทราบ
งการทราบ
x ๙.
.............. การอ่านจัับใจความสำำ
การอ่่ นจับใจความส��คัั าคัญไม่่
ญไม่จำจำ��าเป็็ เป็นนต้้ต้อองพิิ งพิจจารณาชื่่�
ารณาชือ่อเรื่่เรื�อ่องง
(เหตุ ผล ควรพิ
(เหตุุผล ควรพิิจจำรณำชื ารณาชื่่�อ่ อเรืเรื่่อ่ อ� ง)ง)
.............. ๑๐. ประสบการณ์เป็็ป็นปััปัจจัั
ประสบการณ์์ จจัยหนึ่่�
ยหนึ่งของการอ่่
ของการอ่านหนัังสืื นหนังสือเร็็เร็วว

ตอนที่ ๔ ค�ำชี้แจง : จงอ่านบทความต่อไปนี้ แล้วตอบค�าถาม โดยจับเวลาในการอ่านด้วย

๑. งานทิ้งกระจาดจัดขึ้นในช่วงใด และจบลงในวันใด
จัดขึ้นในช่วงวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๗ ตำมปฏิทินจีน โดยในวันที่ ๑ เดือน ๗ จะเริ่มพิธีและจบลงใน
วันที่ ๓๐ เดือน ๗
๒. “กุ้ยเล้ย” คืออะไร
หมวกสำนแบบจีน
๓. จุดประสงค์หลักของงานทิ้งกระจาด คืออะไร
เพื่อท�ำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ และแจกสิ่งของครั้งใหญ่ที่ได้รับบริจำคมำให้แก่ผู้ยำกไร้
29

่น ยที่


การอ่านประเมินค่านวนิยาย เรื่อง ความสุขของกะทิ

ใบงานที่่� ๗.๑ เรื่่�อง ความรู้้�ทั่่�วไปเกี่่�ยวกัับนวนิิยาย


คำำ�ชี้แ�้ จง : หากนัักเรีียนได้้รัับหนัังสืือเป็็นของขวััญจากเพื่่�อน ๑ เล่่ม นัักเรีียนจะทราบได้้อย่่างไรว่่าหนัังสืือเล่่มนั้้�น
เป็็นนวนิิยายหรืือไม่่ จงอธิิบายเป็็นแผนภาพความคิิด

- เป็็นเรื่่อ� งเล่่า หรืือร้้อยแก้้วขนาดยาว

- มีีตััวละครที่่�มีีบทบาท และ มีีส่่วนประกอบตรงกัับนวนิิยาย


พฤติิกรรมเหมืือนมนุุษย์์ นวนิิยาย ได้้แก่่
- มีีตััวละครหลายตััว - มีีโครงเรื่่อ� ง
- มีีตััวละครหลายตััว
- มีีฉาก
- แนวคิิด
- การใช้้ภาษา

ใบงานที่่� ๗.๒ เรื่่�อง การอ่่านประเมิินค่่านวนิิยาย


คำำ�ชี้้�แจง : ให้้นัักเรีียนเลืือกอ่่านนวนิิยายต่่อไปนี้้� ๑ เรื่่�อง แล้้วพิิจารณาตามส่่วนประกอบของนวนิิยาย
จดหมายจางวางหร่ำ��� ของ น.ม.ส.
นิกกับพิม ของ ว.ณ. ประมวลมารค
แมงมุมเพื่อนรัก ของ อี.บี. ไวท์ มัลลิกา แปล
ให้้พิิจารณาส่่วนประกอบของนวนิิยาย ได้้แก่่ โครงเรื่่�อง ตััวละคร ฉาก แนวคิิด และการใช้้ภาษา
30
แนวทางการพิิจารณา มีีดัังนี้้�
๑. โครงเรื่่อ� ง กลวิิธีีการเรีียบเรีียงเหตุุการณ์์อย่่างเป็็นเหตุุเป็็นผล การสร้้างโครงเรื่่อ� งจึึงมีีความ
สำำ�คััญตั้้�งแต่่เริ่่�มเรื่่�องจนจบเรื่่�อง ทั้้�งการเปิิดเรื่่�อง การดำำ�เนิินเรื่่�อง และการปิิดเรื่่�อง
๒. ตััวละคร การกระทำำ� หรืือพฤติิกรรมของตััวละคร ควรมีีเหตุุผลรองรัับและสอดคล้้องกัับ
บุุคลิิกลัักษณะของตััวละคร ซึ่่�งพฤติิกรรมนี้้�เปลี่่�ยนแปลงได้้โดยมีีเหตุุผลจููงใจที่่�ชััดเจน ตััวละครที่่�ดีีควรมีี
ชีีวิิตชีีวาเหมืือนบุุคคลจริิงๆ โดยแสดงลัักษณะนิิสััย ความคิิด พฤติิกรรม และบทสนทนา หรืืออาจใช้้
ตััวละครที่่�ไม่่ใช่่มนุุษย์์ก็็ได้้
๓. ฉาก เวลา และสถานที่่�ที่่�ตััวละครใช้้แสดงพฤติิกรรมและสภาพแวดล้้อม ฉากในนวนิิยาย
จึึงมีีความสำำ�คััญเพราะสััมพัันธ์์กัับองค์์ประกอบต่่างๆ ในเรื่่�อง อาจเป็็นฉากสมมติิ หรืือฉากจริิงก็็ได้้
๔. แนวคิิดสำำ�คััญที่่�ผู้้�เขีียนต้้องการเสนอให้้ผู้้�อ่่านทราบ แนวคิิดที่่�ผู้้�อ่่านได้้รัับ
๕. การใช้้ภาษา การบรรยาย พรรณนา การใช้้ภาพพจน์์ต่่างๆ การใช้้ภาษาที่่�ดีีและสละสลวย
จะทำำ�ให้้นวนิิยายเรื่่�องนั้้�นน่่าอ่่าน นวนิิยายส่่วนใหญ่่จะมีีบทสนทนา คืือบทพููดของตััวละครซึ่่�งจะช่่วยทำำ�ให้้
ผู้้�อ่่านรู้้�จัักตััวละครได้้ดีี บทสนทนาที่่�ดีีต้้องมีีลัักษณะสมจริิงตามฐานะ เพศ และวััย

ใบงานที่่� ๗.๓ เรื่่�อง องค์์ประกอบของนวนิิยาย


คำำ�ชี้้�แจง : ๑. ให้้นัักเรีียนเติิมผัังมโนทััศน์์ต่่อไปนี้้�ให้้สมบููรณ์์

๑. การวางโครงเรื่่อ� ง
๒. ตััวละคร
องค์ประกอบของนวนิยาย ๓. ฉาก
๔. แนวคิิด
๕. การใช้้ภาษา

๒. ให้้นัักเรีียนอธิิบายคำำ�ที่่�กำำ�หนดให้้
๑. ตััวละคร
ผู้้ �ร่่ วมประกอบพฤติิ ก รรมตามเหตุุการณ์์ ในเรื่่� อ ง การกระทำำ� หรืื อ ตัั ว ละครควรมีีเหตุุผลรองรัั บ
และสอดคล้้องกัับบุุคลิิกลัักษณะของตััวละคร ซึ่่�งพฤติิกรรมนี้้�เปลี่่�ยนแปลงได้้โดยมีีเหตุุผลจููงใจที่่�
ชััดเจน ตััวละครที่่�ดีีควรมีีชีีวิิตชีีวาเหมืือนบุุคคลจริิงๆ โดยแสดงลัักษณะนิิสััย ความคิิด พฤติิกรรม
และคำำ�พููดอย่่างสมจริิง
๒. ฉาก
เวลาและสถานที่่�ที่่�ตััวละครใช้้แสดงพฤติิกรรมและสภาพแวดล้้อมเป็็นส่่วนประกอบที่่�สำำ�คััญใน
นวนิิยายเพราะทำำ�ให้้เรื่่�องน่่าติิดตาม และทำำ�ให้้ผู้้�อ่่านเกิิดภาพและจิินตนาการ
31

ใบงานที่่� ๗.๔ เรื่่�อง การอ่่านประเมิินค่่านวนิิยาย เรื่่�องความสุุขของกะทิิ


คำำ�ชี้้�แจง : ให้้นัักเรีียนอ่่านนวนิิยายเรื่่�อง ความสุุขของกะทิิ แล้้วฝึึกประเมิินค่่า
คำำ�ตอบอิิสระ แต่่ต้้องอิิงกัับหลัักการประเมิินค่่านวนิิยายในหน่่วยที่่� ๗

แบบทดสอบท้้ายหน่่วยการเรีียนรู้้�ที่่� ๗

ตอนที่่� ๑ คำำ�ชี้้�แจง : จงเขีียนเครื่่�องหมาย x ข้้อที่่�ถููกต้้องที่่�สุุด


๑. ข้้อใดกล่่าวถููกต้้องเกี่่�ยวกัับนวนิิยาย
ก. นวนิิยายได้้รัับอิิทธิิพลมาจากตะวัันตก
๒. ข้้อใดเป็็นองค์์ประกอบที่่�ควรพิิจารณาเพื่่�อประเมิินค่่านวนิิยาย
จ. ถููกต้้องทุุกข้้อ
๓. ตััวละครใดไม่่เกี่่�ยวข้้องกัับเรื่่�องความสุุขของกะทิิ
ค. น้ำำ��ตา
๔. ข้้อใดเป็็นหนึ่่�งในชื่่�อตอนของเรื่่�องความสุุขของกะทิิ
ค. บ้้านกลางเมืือง
๕. ข้้อใดไม่่สามารถอนุุมานได้้จากเนื้้�อเรื่่�อง
ง. พ่่อของกะทิิเป็็นคนไม่่มีีน้ำำ��ใจ
๖. ข้้อใดกล่่าวไม่่ถููกต้้อง
จ. พ่่อกัับแม่่ของกะทิิแต่่งงานกัันที่่�อัังกฤษแล้้วไปอยู่่�ด้้วยกัันที่่�ฮ่่องกง
๗. ข้้อใดกล่่าวถููกต้้องเกี่่�ยวกัับกะทิิ
ข. กะทิิเป็็นเด็็กน่่ารััก จิิตใจดีี และว่่านอนสอนง่่าย
๘. กะทิิอาศััยอยู่่�กัับตายายที่่�จัังหวััดอะไร
ข. อยุุธยา
๙. เหตุุใดแม่่จึึงทิ้้�งกะทิิไว้้ให้้อยู่่�กัับตาและยาย
ก. ไม่่อยากทำำ�ให้้กะทิิมีีอัันตราย
๑๐. สาระสำำ�คััญของนวนิิยายเรื่่�องนี้้�คืือข้้อใด
ง. ความสุุขหาได้้ง่่ายๆ หากทุุกคนพอใจในสิ่่�งที่่�ไม่่เกิินตััว
32

ตอนที่ ๒ คำ�ชี้แจง : จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้


๑. นวนิิยายแตกต่่างจากเรื่่�องสั้้�นอย่่างไร จงอธิิบาย
นวนิิยายมีีองค์์ประกอบคล้้ายคลึึงกัับเรื่่อ� งสั้้�น ความแตกต่่างที่่�เห็็นได้้ชัดั คืือ ความสั้้�น–ยาวกล่่าวคืือ
นวนิิยาย เป็็นเรื่่�องเล่่าที่่�มีีขนาดยาว ดัังนั้้�นย่่อมมีีความซัับซ้้อนมากกว่่าเรื่่�องสั้้�น
๒. การวางโครงเรื่่�องมีีความสำำ�คััญต่่อนวนิิยายอย่่างไร
การวางโครงเรื่่�องมีีความสำำ�คััญ เพราะเป็็นกลวิิธีีหนึ่่�งในการสร้้างความกระหายใคร่่รู้้�แก่่ผู้้�อ่่าน
เป็็นการเรีียบเรีียงเหตุุการณ์์อย่่างเป็็นเหตุุเป็็นผล การสร้้างโครงเรื่่�องจึึงมีีความสำำ�คััญตั้้�งแต่่ต้้นเรื่่�อง
จนจบเรื่่�อง ในส่่วนของโครงเรื่่�องจะมีีทั้้�งการเปิิดเรื่่�อง การดำำ�เนิินเรื่่�อง และการปิิดเรื่่�อง
๓. การพิิจารณาตััวละครในนวนิิยาย ควรพิิจารณาข้้อใดบ้้าง
การพิิจารณาตััวละครในนวนิิยาย ควรพิิจารณาความเป็็นเหตุุเป็็นผลของการกระทำำ�หรืือพฤติิกรรม
ที่่�ตั ั ว ละครแสดงออกมา โดยพฤติิ ก รรมนั้้�นต้้องสอดคล้้องกัั บบุุคลิ ิ ก ลัั ก ษณะของตัั ว ละคร
ซึ่่�งพฤติิกรรมนี้้�สามารถเปลี่่�ยงแปลงได้้โดยการมีีเหตุุผลจููงใจที่่�ชััดเจน ตััวละครที่่�ดีีควรมีีชีีวิิตชีีวา
เหมืื อนบุุคคลจริิ ง ๆ โดยแสดงลัั ก ษณะนิิสั ั ย ความคิิ ด พฤติิ ก รรม และคำำ�พูู ดได้้ อย่่างสมจริิ ง
ผู้้�อ่่านจะรู้้�จักั ตััวละครจากการบรรยาย หรืือพรรณนาบุุคลิิกลัักษณะทั้้ง� หมดของตััวละคร จากบทสนทนา
ของตััวละครนั้้�นกัับตััวละครอื่่�น
๔. ฉากมีีความสำำ�คััญต่่อนวนิิยายอย่่างไร
ฉากมีีความสำำ�คััญต่่อนวนิิยายคืือ เป็็นสิ่่�งที่่�บอกเวลาและสถานที่่�ที่่�ตััวละครใช้้แสดงพฤติิกรรม และ
สภาพแวดล้้อมเป็็นส่่วนประกอบที่่�สำำ�คััญในนวนิิยาย เพราะทำำ�ให้้เรื่่�องน่่าติิดตาม และทำำ�ให้้ผู้้�อ่่าน
เกิิดภาพและจิินตนาการ บางครั้้�งฉากในนวนิิยายบางเรื่่�องจำำ�เป็็นต้้องอาศััยการตีีความ ผู้้�อ่่านจึึงจะ
เข้้าใจฉากในนวนิิยาย ฉากในนวนิิยายจึึงมีีความสำำ�คัญ ั เพราะช่่วยแสดงความสััมพัันธ์์กับั องค์์ประกอบ
ต่่าง ๆ ในเรื่่อ� ง เช่่น ฉากในนวนิิยายย้้อนยุุคต้้องเป็็นสถานที่่�และเหตุุการณ์์ในสมััยนั้้�น ฉากในนวนิิยาย
ท้้องถิ่่�นต้้องมีีบรรยากาศความเป็็นท้้องถิ่่�นสภาพชนบท ประเพณีีที่่�เกิิดในท้้องถิ่่�น
๕. จงอธิิบายลัักษณะที่่�ดีีของบทพููดของตััวละคร
บทพููดหรืือบทสนทนาที่่�ดีีต้้องมีีลัักษณะสมจริิงตามฐานะ เพศ และวััย บางครั้้�งบทสนทนาอาจจะ
ช่ว่ ยในการดำำ�เนิินเรื่่อ� งแทนการบรรยายตรงๆ ดัังนั้้�นการเลืือกใช้้คำ�ำ หรืือประโยคพููดที่่�สื่่อ� ความหมาย
หรืือความรู้้�สึึกของตััวละครจะช่่วยให้้การดำำ�เนิินเรื่่�องเป็็นไปอย่่างราบรื่่�น และช่่วยให้้ผู้้�อ่่านรู้้�จััก
ตััวละครได้้ดีียิ่่�งขึ้้�น
๖. ตััวละครที่่�นัักเรีียนชื่่�นชอบมากที่่�สุุดในเรื่่�องคืือใคร เพราะเหตุุใด
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิิจของผู้้�สอน
๗. จงย่่อเรื่่�อง ความสุุขของกะทิิ ด้้วยภาษาของตนเอง
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิิจของผู้้�สอน
33
33

๘. ความสุุขของกะทิิ
ความสุขของกะทิ เนื้้�เนื้อเรื่่เรื� ่องแบ่่
งแบ่งออกเป็็
ออกเป็นนกี่่�กีต่ตอน อะไรบ้้
อน อะไรบ้าางง
ควำมสุขของกะทิ แบ่่งเป็็
ความสุุขของกะทิิ แบ่งเป็น ๓ ตอน ดััดังนี้้นี� ้
ตอนที่ ๑ บ้้บ้าำนริิ
ตอนที่่� นริมคลอง
ตอนที่ ๒ บ้้บ้าำนชายทะเล
ตอนที่่� นชำยทะเล
ตอนที่ ๓ บ้้บ้าำนกลางเมืื
ตอนที่่� นกลำงเมือง
๙.๙. จงยกตััวอย่่
จงยกตัวอย่างตอนที่่�
งตอนทีนัั่นกเรีียนชอบจากนวนิิ
ักเรียนชอบจากนวนิยยายเรื่่
ายเรื�อ่องนี้้� พร้้
งความสุ ขของกะทิ
อมอธิิ พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
บายเหตุุผลประกอบ
คำำ(ค��ำตอบอยู่่�
ตอบอยูใ่ในดุุลยพิิ
นดุลยพินินิจิจของผู้้
ของผู�ส้สอน
อน)
นักเรียนได้ข้ข้อคิิคิดอย่่
๑๐. นัักเรีียนได้้ อย่างไรจากการอ่่
งไรจากการอ่านนวนิิ
นนวนิยยายเรื่่
ายเรื�อ่อง ความสุุขของกะทิิ
ง ความสุขของกะทิ
คำำ(ค��ำตอบอยู่่�
ตอบอยูใ่ในดุุลยพิิ
นดุลยพินินิจิจของผู้้
ของผู�ส้สอน
อน)

ตอนที่ ๓ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบาย


เหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด
x ๑. ความสุขของกะทิเป็นนวนิยายขนาดยาวมีเนื้อหาซับซ้อน
..............
(เหตุผล เป็นนวนิยำยสัน้ เนือ้ หำไม่ซบั ซ้อน เข้ำใจง่ำย)
x ๒. กะทิอาศัยอยู่กับตายายที่บ้านสวน จังหวัดปทุมธานี
..............
(เหตุผล จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ)
x ๓. แม่ของกะทิแต่งงานใหม่กับชาวพม่าจึงท�าให้กะทิอยู่กับตายาย
..............
(เหตุผล แม่ไม่ได้แต่งงำนใหม่)
x
.............. ๔. แม่ของกะทิป่วยเป็นมะเร็งขั้นสุดท้ายจึงอยากพบกะทิก่อนตาย
(เหตุผล แม่กะทิปว่ ยเป็นโรคเอแอลเอส)
.............. ๕. ทองเคยช่วยกะทิเมื่อกะทิอายุ ๒ ขวบ
x ๖. น้ากันต์เป็นเลขานุการของแม่
..............
(เหตุผล เลขำนุกำรของแม่คือน้ำฎำ)
.............. ๗. พ่อของกะทิชื่อ แอนโทนี ซัมเมอร์ เป็นชาวพม่า
.............. ๘. แม่ของกะทิมีหน้าที่การงานที่ดี
x ๙. ตอนจบกะทิกลับไปอยู่กับพ่อที่อังกฤษ
..............
(เหตุผล กะทิกลับมำอยูก่ บั ตำยำยทีบ่ ำ้ นริมคลองทีอ่ ยุธยำ)
.............. ๑๐. กะทิไม่ได้ส่งจดหมายถึงพ่อหลังจากที่แม่เสีย
34

ตอนที่่� ๔ คำำ�ชี้แ�้ จง : จงวิิเคราะห์์พฤติิกรรมของตััวละครต่่อไปนี้้�


๑. กะทิิ ๑๕๗
๑๕๗
๒. ตาและยาย
๓.ตอนที
แม่่ข่ ๔องกะทิิ
ตอนที ่ ๔ให้ให้
นักนเรีักยเรีนวิ
ยนวิเคราะห์
เคราะห์
พฤติ
พฤติกรรมของตั
กรรมของตั
วละครต่
วละครต่
อไปนี
อไปนี ้ ้
๔. ลุุงตอง
๑.๑.กะทิ กะทิ
๕. น้้๒.
ากัันต์์
๒.ตาและยาย
ตาและยาย
๖. น้้๓.
าฎา ๓.แม่แม่ของกะทิ
ของกะทิ
(คำำ�ตอบอิิ ส ระ
๔.๔.ลุงลุตอง แต่่ต้้องอิิงหลัักประเมิินค่่านวนิิยายในหน่่วยที่่� ๗)
งตอง
๕.๕.น้าน้กัานกัต์นต์
๖. ๖.น้าน้ฎาาฎา


ว่ ที่ คาตอบอิ
ย คาตอบอิ สระ
สระแต่แต่
ต้อตงอิ
้องอิ
งหลั
งหลั
กประเมิ
กประเมินค่นาค่ในหน่
าในหน่
วยที
วยที
่ ๗่ ๗

การแต่งคำ�ประพันธ์ประเภทฉันท์
หน่หน่
วยการเรี
วยการเรี
ยนรู
ยนรู
้ที่ ้ที่๘ ๘การแต่
การแต่งคงาประพั
คาประพั
นธ์นปธ์ระเภทฉั
ประเภทฉันท์นท์
ใบงานที่่�
ใบงานที
ใบงานที ๘.๑
่ ๘.๑เรืเรื่่อ่เรื�องอ่ งการแต่
่ ๘.๑ ง การเขีียนแผนผัั
การแต่ นงธ์ครุุ
งคงาประพั
คาประพั ปลหุุ
นปธ์ระเภทฉั
ระเภทฉั
นท์นท์
คำำค�ชี้าชี
คแ�้ าชี
้แจงจง
้แ:จง: จงเขี
:จงเขีียนแผนผัังครุุ ลหุุจากฉั
จงเขี
ยนแผนผั
ยนแผนผั
งครุงครุลหุลหุ
จากฉั
จากฉั
นนั ท์นท์์ตท์ต่่อ่อตไปนี
่อไปนี
้ ้
ไปนี้้�

๑ ๑บาท
บาท ั ั ัุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุ ุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุั ั ุ ุั ั ั
๑ ๑บทบท
ั ั ัุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุ ุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุั ั ุ ุั ั ั
สััมผััสระหว่่ างบท
สัมสัผัมสผัระหว่
สระหว่
างบท
างบท
ั ั ัุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุ ุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุั ั ุ ุั ั ั
๑ ๑บทบท
ั ั ัุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุ ุ ุ ั ั ุ ุ ุ ุั ั ุ ุั ั ั

ใบงานที
ใบงานที
่๘.๒
่๘.๒เรือ่เรืงอ่ การแต่
ง การแต่
งคงาประพั
คาประพั
นธ์นปธ์ระเภทฉั
ประเภทฉันท์นท์
คาชี
คาชี้แจง
้แจง: ให้: ให้
นักนเรีักยเรีนบอกประเภทฉั
ยนบอกประเภทฉั นท์นตท์ามที
ตามที ่กาหนดให้
่กาหนดให้
๑.๑. ฉันฉัท์นท์๘ ๘ ได้ได้ แก่แก่วิ ชวิชุชมชุมาลาฉั
มมาลาฉั นท์นท์มาณวกฉั
มาณวกฉั
นท์นท์
๒.๒. ฉันฉัท์นท์๑๑๑๑ ได้ได้ แก่แก่อิ นอิทรวิ
นทรวิ เชีเยชีรฉั
ยรฉั นท์นท์
๓.๓. ฉันฉัท์นท์๑๒๑๒ ได้ได้ แก่แก่ภุชภุงคปยาตฉั
ชงคปยาตฉั นท์นท์
๔.๔. ฉันฉัท์นท์๑๔๑๔ ได้ได้ แก่แก่วสัวสั
นตดิ นตดิลกฉัลกฉั นท์นท์
๕.๕. ฉันฉัท์นท์๑๕๑๕ ได้ได้ แก่แก่มาลิมาลิ นีฉนันี ฉท์ันท์
๖.๖. ฉันฉัท์นท์๑๙๑๙ ได้ได้ แก่แก่สัทสัทุทลทุวิลกวิกีกฬกีิ ตฬฉัิ ตนฉัท์นท์
35
35

ใบงำนที่ ๘.๒ เรื่อง ประเภทของฉันท์


ค�ำชีแ้ จง : ให้นักเรียนบอกประเภทของฉันท์ตามที่ก�าหนดให้
๑. ฉันท์ ๘ ได้แก่ วิชชุมมำลำฉันท์ มำณวกฉันท์
๒. ฉันท์ ๑๑ ได้แก่ อินทรวิเชียรฉันท์
๓. ฉันท์ ๑๒ ได้แก่ ภุชงคประยำตฉันท์
๔. ฉันท์ ๑๔ ได้แก่ วสันตดิลกฉันท์
๕. ฉันท์ ๑๕ ได้แก่ มำลินีฉันท์
๖. ฉันท์ ๑๙ ได้แก่ สัททุลวิกกีฬิตฉันท์
๗. ฉันท์ ๒๐ ได้แก่ อีทิสังฉันท์
๘. ฉันท์ ๒๑ ได้แก่ สัทธรำฉันท์

๑๕๘
ใบงานที่ ๘.๓
ใบงำนที
ใบงานที่่� ๘.๓ เรือ่ เรื่่
เรืง �อ่ การแต่
ง อิิอินงทรวิิ
คทรวิ
าประพั นธ์นนปท์์ท์ระเภทฉันท์
ชียรฉั
เชีียรฉัั
คำำค�ค�ชี้
ำาชีชีแ�้ ้แจง
จง : ให้้
:: ให้ให้นนัันักกเรีียนเขีียนแผนผัังครุุ ลหุุของอิิ
ักเรีเรียนเขี
ยนเขียนแผนผั
ยนแผนผั งอิงนครุทรวิลหุเชีขยองอิ
รฉันนนท์ทรวิิ
ทรวิเเชีียรฉั
ชียรฉันั นท์์ท์

๑ บาท ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั


๑๕๘
๑ับท
ใบงานที่ ๘.๓ เรือ่ ง การแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์
ัั ัััััััั ัั ัั ั ั ััั ั ัั ัั
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนแผนผังอินทรวิเชียรฉันท์
สัสัมมผัสระหว่าางบท
สััมผััสระหว่่ งบท

ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั


ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั
๑ับท
ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ัั ั ัั ัั
ัั ัััััััั ัั ัั ั ั ััั ั ัั ัั
สัมผัสระหว่างบท
.ใบงานที่ั๘.๔ เรือ่ ง การแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์
ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนแผนผังวสันตดิลกฉันท์

ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ัั ั ัั ัั
ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั

๑ับท
.ใบงานที่ั๘.๔ เรือ่ ง การแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์
ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั

ัั ัััััััั ัั ัั 36
36 ััั ั ัั ั ัั ัั

ใบงำนที
.ใบงานที่ั๘.๔ เรือ่ เรืง ่อการแต่
ง วสังนคตดิ ลกฉันนธ์ท์ประเภทฉันท์
าประพั
ค�คำาชีชีแ้ จง : ให้ให้
นักนเรีักยเรีนเขี ยนแผนผั
ยนเขี งวสังนครุตดิลหุ
ยนแผนผั ลกฉั นท์ นตดิลกฉันท์
ของวสั

๑ บาท ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั


๑๕๘
๑ับท
ใบงานที่ ๘.๓ เรือ่ ง การแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์
ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั
คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนแผนผังอินทรวิเชียรฉันท์
สัผัมสผัระหว่
สระหว่
สัมสััมผััสระหว่่ างบท
างบท

ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั
ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั
๑ับท
ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั
ัั ัััััััั ัั ัั ั ั ััั ั ัั ัั
สัมผัสระหว่างบท

ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ััั ั ัั ัั


ใบงำนที
ใบงานที่่�่ ๘.๕ เรื� ่อง ข้้ข้อสััสังเกตในการแต่่งคำำ
เรื่่ เกตในกำรแต่งค��ำประพัั
ประพันธ์์ธ์ปประเภทฉัั
ระเภทฉันนท์์ท์
ค�คำำำ�ชี้ชีแ้� จง : ให้
ให้้นนััักกเรีียนเติิ
เรียนเติมผัังมโนทััศน์์
ผังมโนทัศน์ต่ต่อไปนี้้�ให้้
ไปนี้ให้สสมบูู
มบูรรณ์์ณ์
ัั ัััััััั ัั ัั ััั ั ัั ั ัั ัั
๑. ค�คำำ�คครุรุ - ลหุ ๓. ระวังเรื่องคณะของฉันท์

.ใบงานที่ั๘.๔ เรือ่ ง การแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์


คาชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนแผนผังวสันตดิลกฉันท์ขข้อสังเกตในการแต
เกตในการแต่ง
คํคำา�ประพันธธ์ประเภทฉันทท์

ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั
๒. เลือกประเภทฉันท์ ๔. บ่ ก็ ไป่ ณ บ เป็นค�คำำ�ลลหุหุ
ให้เหมำะสมกั
หมาะสมกับเนื้อควำม
ความ ๑ับท

ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั
สัมผัสระหว่างบท

ัั ัััััััั ัั ััั ั ั ัั ั ั ัั ั ัั ัั
37
37

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๘

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด


๑. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับค�าประพันธ์ประเภทฉันท์
ง. ฉันท์ไม่จ�ำเป็นต้องมีสัมผัสระหว่ำงบท
๒. ข้อใดมีค�าครุ – ลหุ อย่างละ ๒ ค�า
ข. น�้ำอมฤต (อ่ำน น�้ำ-อะ-มะ-ริด/รึด)
๓. ข้อใดอ่านออกเสียงครุ - ลหุดังนี้ ุ ั ุ ั
ก. ระหกระเหิน
๔. ค�าฉันท์ในข้อใดใช้แต่งเนื้อความที่กล่าวถึงบุคคลและสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ง. สัททุลวิกกีฬิตฉันท์
๕. ฉันท์ประเภทใดแต่งด้วยค�าครุล้วน
ค. วิชชุมมำลำฉันท์
๖. ฉันท์ประเภทใดมีจ�านวนวรรค ๔ วรรค ใน ๑ บท
จ. สัทธรำฉันท์
๗. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. ฉันท์แต่ละประเภทที่มีจ�ำนวนวรรคเท่ำกันจะมีสัมผัสบังคับเหมือนกัน
๘. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
จ. ถูกต้องทุกข้อ
๙. “เสนอโทษะเกียจคร้าน กิจการนิรันดร
โดยอรรถะตรัสสอน กลหกประการแถลง”
ค�าประพันธ์ดังกล่าวเป็นฉันท์ประเภทใด
ก. อินทรวิเชียรฉันท์
๑๐. ข้อใดเป็นสัทธราฉันท์
ง. ขอเชิญเดินตำมสุธรรมศรี สุพละวิริยะมี
สิทธิธรรมธีร์ ลุลำภำ
38
38

ตอนที
ตอนที่่ ๒ ค�คำำ�ชี้ชี้แแจง
จง : จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าเป็นค�คำา�ฉัฉันนท์ท์ประเภทใด
ระเภทใด
๑. อีอีีทิิ
ทิสสัังฉัฉัันท์ท์์
๒. อิอิินทรวิทรวิิเชีียรฉัั
ชียรฉันท์์ท์
๓. อิอิินทรวิทรวิิเชีียรฉัั
ชียรฉันท์์ท์
๔. ภุชงคประยำตฉันท์ท์์
๔. ภุุชงคประยาตฉัั
๕. ภุชงคประยำตฉันท์ท์์
๕. ภุุชงคประยาตฉัั
๖. วสั
วสัันตดิ ตดิิลกฉั
กฉัันท์์ท์
๗. มำลิ
มาลิินนีีฉั ีฉันท์ท์์
๘. สัสััททุทุุลวิิ
ลวิกกีกีีฬิิ
ฬิตฉัฉัันท์ท์์
๙. สัสััทธรำฉั
ธราฉัันท์ท์์
๑๐. วิวิิชชชุุชุมมมาลาฉัั
มำลำฉันท์ท์์

ตอนที่ ๓ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบาย


เหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด

.............. ๑. ฉันท์ ๘ ฉันท์ ๑๑ ฉันท์ ๑๔ ตัวเลขหมายถึงจ�านวนค�าที่มีใน ๑ บาท


.............. ๒. ลักษณะเด่นของฉันท์คือการบังคับจ�านวนค�าครุ – ลหุ
x ๓. การแต่งฉันท์ตอ้ งเลือกเนือ้ ความให้เข้ากับประเภทของฉันท์นนั้ ๆ เช่น ใช้อนิ ทรวิเชียรฉันท์บรรยาย
..............
เนื้อความโกรธ ตระหนกตกใจ
(เหตุผล อินทรวิเชียรฉันท์ ใช้พรรณนำสิง่ สวยงำม)
.............. ๔. อาจมีผู้คิดค้นประดิษฐ์ค�าฉันท์ขึ้นมาใหม่อีกหลายประเภทนอกเหนือไปจากคัมภีร์วุตโตทัยก็ได้
.............. ๕. การแต่งฉันท์ อาจเลือกใช้ค�าผิดไปจากหลักภาษาก็ได้เพื่อให้เข้ากับฉันทลักษณ์
x ๖. ความยากของการแต่งฉันท์อยู่ที่สัมผัสบังคับของแต่ละบท
..............
(เหตุผล ควำมยำกอยูท่ กี่ ำรบังคับค�ำครุ ลหุ)
x ๗. ค�าประสมด้วยสระ อ�า ใอ ไอ เอา จัดเป็นค�าลหุล้วน
..............
(เหตุผล จัดเป็นค�ำครุ)
x ๘. สัญลักษณ์ค�าครุ ในการแต่งฉันท์ คือ ุ
..............
(เหตุผล สัญลักษณ์คำ� ครุคอื “ ั ” และสัญลักษณ์คำ�ล �ำลหุหุคืคอื ““ ุ ”)
ุ ”)
.............. ๙. การอ่านออกเสียงค�าฉันท์จะต้องอ่านเสียงหนัก – เบา ให้ตรงกับค�าครุ – ลหุ
x ๑๐. สระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด จัดเป็นค�าลหุ
..............
(เหตุผล จัดเป็นค�ำครุ)
39


ยที่
นว่

กาพย์เห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร

ใบงานที่่� ๙.๑ เรื่่�อง กาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศร


คำำ�ชี้แ�้ จง : ให้้นัักเรีียนเติิมผัังมโนทััศน์์เรื่่�อง “กาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศร” ให้้สมบููรณ์์
ผู้แต่ง ลักษณะคำ�ประพันธ์
เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุรยิ วงศ์ โคลงสี่สุภาพและกาพย์ยานี ๑๑
(เจ้าฟ้ากงุ้ ) กาพย์เห่เรือ

เนื้อเรื่องย่อ คุณค่าจากเรื่อง
เนื้้�อเรื่่�องของกาพย์์เห่่เรืือแบ่่งเป็็น ๑. คุุณค่่าด้้านเนื้้�อหา คืือ การให้้ความรู้้ท� าง
๒ ตอน ตอนที่่� ๑ ประกอบด้้วยบทเห่่ ธรรมชาติิวิิทยา ปรากฎอย่่างเด่่นชััดในบท
๔ ตอน ได้้แก่่ เห่่ชมเรืือกระบวน เห่่ชมปลา เห่่ชมไม้้ และเห่่ชมนก บทเห่่
เห่่ชมปลา เห่่ชมไม้้ และเห่่ชมนก แต่่ละตอนให้้ความรู้้�เรื่่�องพัันธุ์์�ปลา พัันธุ์์�ไม้้
ตอนที่่� ๒ เป็็ น บทเห่่เรื่่� อ งกากีี และพัันธุ์์�นกเป็็นอย่่างดีี
บทเห่่สัังวาส และบทเห่่ครวญ ๒. คุุณค่่าด้้านวรรณศิิลป์์ ได้้แก่่ การเล่่นเสีียง
การเล่่นคำำ� การพรรณนาภาพ การเลืือกสรรคำำ�
เพื่่�อสื่่�ออารมณ์์ความรู้้�สึึก และการแนะภาพ
นางที่่�รััก

๑. หางไก่ว่ายแหวกว่าย หางไก่คล้ายไม่มีหงอน
คิดอนงค์องค์เอวอร ผมประบ่าอ่าเอี่ยมไร
ทรงผมของผู้หญิงในสมัยก่อนจะไว้ผมยาวประบ่าและมีไรผม
๒. งามทรงวงดั่งวาด งามมารยาทนาดกรกราย
งามพริ้มยิ้มแย้มพราย งามคำ�หวานลานใจถวิล
ผู้หญิงไทยสมัยก่อนต้องมีรูปร่างงดงาม และมีมารยาทงามทั้งการเดิน การยิ้ม และการพูดจำ�ต้องงาม
พร้อมทุกอย่าง
40

๓. จำ�ปาหนาแน่นเนื่อง คลี่กลีบเหลืองเรืองอร่าม
คิดคะนึงถึงนงราม ผิวเหลืองกว่าจำ�ปาทอง
ค่านิยมของหญิงไทยสมัยก่อนที่นิยมว่าผิวเหลืองเป็นผิวที่งาม เกิดจากการใช้ขมิ้นขัดผิวหรือทาผิว
๔. สาวหยุดพุทธชาด บานเกลื่อนกลาดดาษดาไป
นึกน้องกรองมาลัย วางให้พี่ข้างที่นอน
งานฝีมือของผู้หญิงไทยสมัยก่อนคือการร้อยมาลัยและนำ�มาลัยมอบให้ชายคนรัก
๕. โนรีสีปานชาด เหมือนช่างฉลาดวาดแต้มลาย
ไม่เท่าเจ้าโฉมฉาย ห่มตาดพรายกรายกรมา
ผู้หญิงไทยสมัยก่อนห่มผ้าที่ทอด้วยไหมควบกับเงินแล่งหรือทองแล่งจำ�นวนเท่ากัน
41

ใบงานที่่� ๙.๔ เรื่่�อง การเล่่าความเป็็นมาของกาพย์์เห่่เรืือ


คำำ�ชี้้�แจง : ให้้นัักเรีียนเล่่าความเป็็นมาของกาพย์์เห่่เรืือ
ประเพณีีเห่่เรืือมีีในสัังคมไทยมาตั้้�งแต่่โบราณ ปััจจุุบัันนี้้�นัับเป็็นพระราชพิิธีีสำำ�คััญ สมเด็็จพระเจ้้า-
บรมวงศ์์เธอกรมพระยาดำำ�รงราชานุุภาพได้้อธิิบายไว้้ในตำำ�นานเห่่เรืือ ในหนัังสืือประชุุมกาพย์์เห่่เรืือสมััย
อยุุธยาและรััตนโกสิินทร์์ว่่า ประเพณีีการเห่่เรืือของไทยแบ่่งได้้ ๒ ประเภท คืือ เห่่เรืือหลวง และเห่่เรืือเล่่น
เห่่เรืือหลวงเป็็นการเห่่ในพระราชพิิธีีของหลวง ส่่วนการเห่่เรืือเล่่นเป็็นการเห่่สำำ�หรัับการเสด็็จเวลาเล่่นเรืือ
ไปเที่่�ยวกััน หรืือไปเที่่�ยวเตร็็ดเตร่่กััน ซึ่่�งบทเห่่เรืือเล่่นมีีมาตั้้�งแต่่สมััยพระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่หั� ัว

ใบงานที่่� ๙.๕ เรื่่�อง กาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรตอนที่่�ข้้าพเจ้้าชอบ


คำำ�ชี้้�แจง : ให้้นัักเรีียนคััดกาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรตอนที่่�ชอบ พร้้อมบอกเหตุุผล
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิิจของผู้้�สอน
41
42

แบบทดสอบท้ำยหน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๙

ตอนที่ ๑ ค�ำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย x ทับข้อที่ถูกต้องที่สุด


๑. ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการแต่งกาพย์เห่เรือ
จ. เพื่อใช้เป็นบทเห่เรือพระที่นั่ง
๒. ข้อใดไม่ได้พรรณนาถึงนารี
ง. ตัวเดียวมำไร้คู่ เหมือนพี่อยู่ผู้เดียวดำย
๓. ข้อใดไม่ปรำกฏในกาพย์เห่เรือ
ค. บทเห่จับระบ�ำ
๔. ข้อใดต่ำงจากพวก
ค. โนรี (โนรี เป็นชื่อนก ส่วนข้ออื่นเป็นชื่อปลำ)
๕. นาวาแน่นเป็นขนัด ล้วนรูปสัตว์แสนยำกร
เรือริ้วทิวธงสลอน สาครลั่นครั่นครื้นฟอง
ข้อความที่เป็นตัวหนา หมายถึงอะไร
ก. หัวเรือ
๖. ข้อใดใช้ภาพพจน์ต่ำงจากข้ออื่น
ค. น�้ำเงินคือเงินยวง ขำวพรำยช่วงสีส�ำอำง
ไม่เทียบเปรียบโฉมนำง งำมเรืองเรื่อเนื้อสองสี
(ภำพพจน์อุปลักษณ์ สังเกตจำกค�ำว่ำ “คือ” ส่วนข้ออื่นเป็นภำพพจน์อุปมำ)
๗. ข้อใดไม่แสดงความเคลื่อนไหว
ก. ม่ำนกรองทองรจนำ หลังคำแดงแย่งมังกร
๘. ความในข้อใดผู้เขียนใช้จินตนาการมำกที่สุด
ก. ลมชวยรวยกลิ่นน้อง หอมเรื่อยต้องคลองนำสำ
(ข้ออืน่ เกิดจินตภำพชัดเจน ส่วนข้อนีไ้ ม่มภี ำพแต่บรรยำยถึงกลิน่ ซึง่ ต้องใช้จนิ ตนำกำรมำกกว่ำข้ออืน่ )
๙. ภาพสะท้อนด้านใดปรากฏอยู่ในค�าประพันธ์ที่เป็นตัวเลือกของค�าถามข้อ ๘
ค. ประเพณี
๑๐. ข้อใดไม่ได้สะท้อนลักษณะทางวัฒนธรรม
ก. น�้ำเงินคือเงินยวง ขำวพรำยช่วงสีส�ำอำง
ไม่เทียบเปรียบโฉมนำง งำมเรืองเรื่อเนื้อสองสี
(ข้ออื่นสะท้อนวัฒนธรรมด้ำนค่ำนิยมของหญิงไทยสมัยก่อน ส่วนข้อนี้เป็นเพียงกำรเปรียบเทียบสี
ของปลำน�้ำเงินกับสีผิวของหญิงผู้เป็นที่รัก)
43

ตอนที่ ๒ คำ�ชี้แจง : จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้


๑. กวีีแต่่งกาพย์์เห่่เรืือด้้วยจุุดประสงค์์ใดเป็็นสำำ�คััญ
เจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรทรงพระราชนิิพนธ์์กาพย์์เห่่เรืือเพื่่�อใช้้เป็็นบทเห่่เรืือพระที่่�นั่่�งของพระองค์์เอง
เมื่่�อครั้้�งตามเสด็็จสมเด็็จพระราชบิิดาไปนมััสการและสมโภชพระพุุทธบาทที่่�สระบุุรีี เดิิมเป็็นบท
เห่่เรืือเล่่น ต่่อมาในสมััยพระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััวนำำ�มาเป็็นบทเห่่เรืือหลวง นัับเป็็น
บทเห่่เรืือฉบัับเก่่าแก่่ที่่�สุุดที่่�มีีต้้นฉบัับหลงเหลืืออยู่่�ในปััจจุุบัันนี้้�
๒. จงอธิิบายลัักษณะคำำ�ประพัันธ์์ในกาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศร
เจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรทรงพระราชนิิพนธ์์กาพย์์เห่่เรืือโดยใช้้ คำำ�ประพัันธ์์ประเภทโคลงสี่่�สุุภาพและ
กาพย์์ยานีี โดยใช้้โคลงสี่่�สุุภาพเป็็นบทนำำ� ๑ บท แล้้วพรรณนาความ โดยใช้้ ก าพย์์ ย านีีไม่่จำำ �กั ั ด
จำำ�นวนบท กาพย์์ยานีีบทแรกจะเลีียนใจความสำำ�คััญของโคลงสี่่�สุุภาพที่่�เป็็นบทนำำ� กาพย์์ยานีีบท
ต่่อๆ มาเป็็นการขยายความที่่�สััมพัันธ์์ต่่อเนื่่�องกัันตามลำำ�ดัับจนสิ้้�นความ
๓. กาพย์์เห่่เรืือเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรมีีเนื้้�อเรื่่�องกี่่�ตอน อะไรบ้้าง
เนื้้�อเรื่่�องของกาพย์์เห่่เรืือแบ่่งเป็็น ๒ ตอน ตอนที่่� ๑ ประกอบด้้วยบทเห่่ ๔ ตอน ได้้แก่่ เห่่ชมเรืือ
กระบวน เห่่ชมปลา เห่่ชมนก และเห่่ชมไม้้ ตอนที่่� ๒ เป็็นบทเห่่เรื่่�องกากีี บทเห่่สัังวาส และบท
เห่่ครวญ
๔. จงยกตััวอย่่างชนิิดปลาที่่�ปรากฏในกาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศร
ปลานวลจัันทร์์ ปลาคางเบืือน ปลาตะเพีียนทอง ปลากระแห ปลาแก้้มช้ำำ�� ปลาทุุก ปลานํ้้�าเงิิน
ปลากราย ปลาหางไก่่ ปลาสร้้อย ปลาเนื้้�ออ่่อน ปลาเสืือ ปลาแมลงภู่่� ปลาหวีีเกศ และปลาชะแวง
๕. จงยกตััวอย่่างพัันธุ์์�ไม้้ที่่�ปรากฏในกาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศร
นางแย้้ม จำำ�ปา ประยงค์์ พุุดจีีบ พิิกุุล สุุกรม สาวหยุุด พุุทธชาด บุุนนาค เต็็ง แต้้ว แก้้ว กาหลง
มะลิิวััลย์์ และลำำ�ดวน
๖. กาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรให้้คุุณค่่าด้้านใดบ้้าง
กาพย์์เห่่เรืือของเจ้้าฟ้้าธรรมธิิเบศรมีีคุุณค่่าโดดเด่่นด้้านวรรณศิิลป์์ ได้้แก่่ การเล่่นคำำ� การพรรณนา
การเลืือกสรรคำำ�เพื่่�อสื่่�ออารมณ์์ความรู้้�สึึก และการแนะภาพนางที่่�รััก และยัังให้้คุุณค่่าด้้านเนื้้�อหา
กล่่าวคืือ ให้้ความรู้้�ทางธรรมชาติิวิิทยา ปรากฏเด่่นชััดในบทเห่่ชมปลา เห่่ชมไม้้ และเห่่ชมนก
โดยบทเห่่แต่่ละตอนจะให้้ความรู้้�เรื่่�องพัันธุ์์�ปลา พัันธุ์์�ไม้้ และพัันธุ์์�นก เป็็นอย่่างดีี
๗. จงยกตััวอย่่างคำำ�ประพัันธ์์ส่่วนที่่�แสดงคุุณค่่าด้้านวรรณศิิลป์์ในเรื่่�องการเล่่นคำำ�
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิจิ ของผู้้ส� อน
๘. จงยกตััวอย่่างคำำ�ประพัันธ์์ส่่วนที่่�แสดงการพรรณนาภาพ พร้้อมทั้้�งถอดความคำำ�ประพัันธ์์
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิจิ ของผู้้ส� อน
๙. จงยกตััวอย่่างคำำ�ประพัันธ์์ส่่วนที่่�ใช้้โวหารภาพพจน์์ พร้้อมระบุุโวหารภาพพจน์์ที่่�ใช้้
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิจิ ของผู้้ส� อน
๑๐. จงยกตััวอย่่างตอนที่่�แสดงถึึงความอาลััยอาวรณ์์ของกวีีที่่�ต้้องพรากจากนางอัันเป็็นที่่�รััก
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิจิ ของผู้้ส� อน
44

ตอนที่ ๓ คำ�ชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย x หน้าข้อที่ผิดและอธิบาย


เหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด
x ๑. กาพย์์เห่่เรืือเป็็นบทสำำ�หรัับเห่่เรืือพระที่่�นั่่�งของพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวบรมโกศเมื่่�อครั้้�ง
..............
เสด็็จไปนมััสการพระพุุทธบาทสระบุุรีี (เหตุุผล กาพย์์เห่่เรืือใช้้เป็็นบทเห่่เรืือพระที่่�นั่่�งของ
เจ้้าฟ้้าธรรม ธิิเบศร)
x ๒. เจ้้าฟ้้ากุ้้�งสิ้้�นพระชนม์์ระหว่่างทางขณะแต่่งกาพย์์เห่่เรืือ (เหตุุผล พระองค์์ไม่่ได้้สิ้้�นพระชนม์์
..............
ระหว่่างทางขณะแต่่งกาพย์์เห่่เรืือ)
.............. ๓. กาพย์์เห่่เรืือประกอบด้้วยโคลงสี่่�สุุภาพและกาพย์์ยานีี
.............. ๔. ประเพณีีการเห่่เรืือของไทยแบ่่งได้้เป็็น ๒ ประเภท คืือเห่่เรืือหลวง และเห่่เรืือเล่่น
.............. ๕. เรืือต้้น แปลว่่า เรืือของพระเจ้้าแผ่่นดิิน
.............. ๖. กาพย์์เห่่เรืือมีีคุุณค่่าด้้านวรรณศิิลป์์ที่่�โดดเด่่น ได้้แก่่ การเล่่นเสีียง การพรรณนาภาพ
x ๗. กาพย์์เห่่เรืือ แบ่่งเป็็น ๓ ตอน ได้้แก่่ ตอนชมนก ตอนชมไม้้ และตอนชมเรืือ (เหตุุผล แบ่่งเป็็น
..............
๔ ตอน ได้้แก่่ เห่่ชมเรืือกระบวน เห่่ชมปลา เห่่ชมไม้้ และเห่่ชมนก)
x ๘. เรืือที่่�กล่่าวถึึงมีี ๓ จำำ�พวก ได้้แก่่ เรืือต้้น เรืือกลาง เรืือท้้าย (เหตุุผล ได้้แก่่ เรืือต้้น เรืือชััย
..............
และเรืือเหล่่าแสนยากร)
x ๙. นางนวล เป็็นชื่่�อพัันธุ์์�ไม้้ (เหตุุผล เป็็นชื่่�อนก)
..............
x ๑๐. บทเห่่ครวญเป็็นการแสดงภาพความงดงามของฝีีพายกระบวนเรืือ (เหตุุผล เป็็นบทที่่�แสดงถึึง
..............
ความรู้้�สึึกเศร้้า คิิดถึึงนางผู้้�เป็็นที่่�รััก)

ตอนที่่� ๔ คำำ�ชี้้�แจง : จงนำำ�ตััวอัักษรหน้้าข้้อความด้้านขวามืือไปเติิมลงในช่่องว่่างด้้านซ้้ายมืือที่่�มีีความสััมพัันธ์์กััน


ง.
.............. ๑. กราย ก. ชื่่�อผ้้าชนิิดหนึ่่�งทอด้้วยไหมควบกัับเงิินแล่่งหรืือทองแล่่ง
จ.
.............. ๒. พลพาย ข. ฮึึกห้้าว
ฉ.
.............. ๓. เพรีียกไพร ค. ไม้้ทุ้้�งจัังหวะ
ซ.
.............. ๔. มี่่� ง. เคลื่่�อนไหวอย่่างมีีท่่าทีีเนิิบช้้า
ญ.
.............. ๕. เมรุุ จ. ทหารที่่�พายเรืือ
ฌ.
.............. ๖. ทีีผาดเผ่่น ฉ. ร้้องแซ่่อยู่่�ในป่่า
ก.
.............. ๗. ตาด ช. ดัังลั่่�น
ข.
.............. ๘. ลำำ�พอง ซ. เสีียงดััง
ค.
.............. ๙. เส้้า ฌ. ท่่าทางเหมืือนกระโจน
ช.
.............. ๑๐. อึึงอล ญ. ภููเขา
45
ยที่

๑๐
นว่

ไตรภูมิพระร่วง

ใบงานที่่� ๑๐.๑ เรื่่�อง ความรู้้�ทั่่�วไปเกี่่�ยวกัับไตรภููมิิพระร่่วง


คำำ�ชี้แ�้ จง : ให้้นัักเรีียนเติิมผัังมโนทััศน์์เรื่่�อง ไตรภููมิิพระร่่วง ให้้สมบููรณ์์

ผู้แต่ง ลักษณะคำ�ประพันธ์
พระมหาธรรมราชาที่่� ๑ หรืือพญาลิิไท แต่่งเป็็นความเรีียงร้้อยแก้้ว มีีศััพท์์บาลีี
เป็็นพระมหากษััตริิย์์พระองค์์ที่่� ๕ ปนตลอดทั้้�งเรื่่�อง
แห่่งราชวงศ์์สุุโขทััย
ไตรภูมิพระร่วง

คุณค่าจากเรื่อง
ให้้คุุณค่่าด้้านเนื้้�อหา คุุณค่่าด้้านภาษา และคุุณค่่าด้้านวรรณศิิลป์์
ให้้ข้้อคิิดเรื่่�องการทำำ�บุุญทำำ�กุุศลเพื่่�อให้้ได้้ไปอยู่่�ในสวรรค์์ดิินแดน
อุุตตรกุุรุุทวีีป

เนื้อเรื่องย่อ
เนื้อหาในตอนนี้กล่าวถึงดินแดนที่ถือว่าเป็นดินแดนอุดมคติ ซึ่งเป็นแนวคิดสากลของทุกชาติ
มนุษย์แบ่งเป็น ๓ ประเภทได้แก่ อภิชาตบุตร อนุชาตบุตร และอวชาตบุตร อภิชาตบุตรเป็นลูกที่มี
ความเฉลียวฉลาดกว่าพ่อและแม่ มีรูปงาม เป็นคนดี และมีเกียรติยศ อนุชาตบุตรเป็นลูกที่มีความ
เท่าเทียมกับพ่อและแม่ทั้งทางรูปโฉม ปัญญา และเกียรติยศ อวชาตบุตรเป็นลูกที่เลวกว่าพ่อและแม่
มนุษย์มี ๔ พวก คือ คนนรก คนเปรต ดิรัจฉาน และคนมนุษย์ คนนรกเป็นคนที่ทำ�บาป
ฆ่าสัตว์ จะได้รับกรรมถูกตัดมือตัดเท้าได้รับความเจ็บปวดทรมาน คนเปรตเป็นผู้ที่ไม่เคยทำ�บุญเลย
เป็นคนเข็ญใจ จึงไม่มีเสื้อผ้าใส่ กินอะไรไม่ได้ รูปชั่ว ดิรัจฉานคือพวกที่ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ ไม่มี
ความเมตตากรุณา ไม่เกรงใจคนแก่ ไม่กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้มีพระคุณ ครูอาจารย์ ไม่รักพี่รักน้อง
ทำ�แต่บาป คนมนุษย์คือผู้ที่รู้จักบาปบุญคุณโทษรู้จักละอายต่อการทำ�บาป รักพี่รักน้อง เมตตากรุณา
ต่อผู้ยากไร้ กตัญญูต่อพ่อแม่ ครูอาจารย์ พระสงฆ์ รู้จักคุณของพระรัตนตรัย
มนุษย์ ๔ จำ�พวก อาศัยอยู่ใน ๔ ทวีป ได้แก่ ชมพูทวีป บุรพวิเทหทวีป อุตตรกุรุทวีป และ
อมรโคยานทวีป อุตตรกุรุทวีป มีความกว้าง ๘,๐๐๐ โยชน์ มีแผ่นดินเล็ก ๕๐๐ แผ่นดินล้อมรอบ
คนที่อาศัยอยู่ในดินแดนนี้มีหน้าเป็น ๔ เหลี่ยม เป็นมนุษย์ที่ประเสริฐกว่ามนุษย์อื่น เนื่องจากทำ�บุญ
รักษาศีล อุตตรกุรุทวีปเป็นดินแดนที่มีความงาม อุดมสมบูรณ์ไปด้วยธรรมชาติ คนในอุตตรกุรุทวีป
นั้นมีรูปร่างสมส่วนดูงาม แข็งแรง มีข้าวสารชื่อ สัญชาติสาลี ที่กินได้โดยไม่ต้องปลูกเอง
46

มนุุษย์์ที่่�เกิิดในดิินแดนนี้้�จะมีีความงดงามทั้้�งผู้้�หญิิงผู้้�ชาย ปราศจากความทุุกข์์โศก มีีความ


เสมอภาคกััน มีีชีีวิิตความเป็็นอยู่่�ที่่�สุุขสบาย ไม่่มีีโรคภััยไข้้เจ็็บ ผู้้�ใดปรารถนาสิ่่�งใดก็็นึึกเอาเองได้้
ที่่�ต้้นกััลปพฤกษ์์ ซึ่่�งมีีอยู่่�รอบเมืือง ไม่่ว่่าจะเป็็นเงิินทอง เครื่่�องประดัับ เสื้้�อผ้้า ต้้นกััลปพฤกษ์์จะ
บัันดาลผู้้�หญิิงในอุุตตรกุุรุุทวีีปรููปงาม รููปร่่างสมส่่วน และงามทั่่�วร่่างกาย ไม่่มีีวัันแก่่เฒ่่าเช่่นเดีียว
กัับผู้้�ชายในอุุตตรกุุรุุทวีีป เมื่่�อชายและหญิิงรัักกัันจะอยู่่�ด้้วยกัันเพีียง ๗ วััน แล้้วตััดขาดจากกััน
เมื่่� อ ผู้้ � ห ญิิ ง คลอดลููกก็็ ไม่่เจ็็ บค รรภ์์ เมื่่� อ คลอดแล้้ ว ก็็ ไม่่ต้้ อ งเลี้้ � ย งมีี หญ้้ า อ่่อนไว้้ ให้้ ท ารกนอน
คนทั้้�งหลายที่่�ผ่่านไปผ่่านมาก็็ใช้้นิ้้�วป้้อนน้ำำ�� นมที่่�ไหลออกมาจากนิ้้�วแก่่ทารก เมื่่�อทารกโตขึ้้�นถ้้าเป็็น
เด็็กผู้้ห� ญิิงก็็ให้้ไปอยู่่�กับั เด็็กผู้้ห� ญิิง ถ้้าเป็็นเด็็กผู้้�ชายก็็ให้้ไปอยู่่�กับั เด็็กผู้้�ชายเป็็นเพื่่�อนกััน เมื่่�อหมดบุุญ
ตายไป ก็็ ไม่่ทุุกข์์ โศกร้้ อ งไห้้ นำำ � ศพไปแต่่งแล้้ ว ไปไว้้ ที่่ � ก ลางแจ้้ ง จะมีีนกมาคาบไปเรีียกว่่า
นกหััสดีีลิิงค์์ คนที่่�อยู่่�ในอุุตตรกุุรุุทวีีปเมื่่�อตายไปจะไปเกิิดในสวรรค์์เพีียงที่่�เดีียว เนื่่�องจากได้้บำ�ำ เพ็็ญ
บุุญและทานมาก

คำ�ชี้แจง : ให้นักเรียนดูภาพต่อไปนี้ แล้วใช้ความรู้ในหน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ ไตรภูมิพระร่วงตอนอุตตรกุรุทวีป


อธิบายภาพ

ภาพข้้างต้้นเป็็นภาพอุุตตรกุุรุุทวีีป ทวีีปนี้้�เป็็นทวีีปหนึ่่�งในทวีีปทั้้�งสี่่�ของไตรภููมิิ อุุตตรกุุรุุทวีีป


มีีลัักษณะโดดเด่่นดัังนี้้�
อุุตตรกุุรุุทวีีป มีีความกว้้าง ๘,๐๐๐ โยชน์์ มีีแผ่่นดิินเล็็ก ๕๐๐ แผ่่นดิินล้้อมรอบ คนที่่�อาศััย
อยู่่�ในดิินแดนนี้้�มีีหน้้าเป็็น ๔ เหลี่่�ยม เป็็นมนุุษย์์ที่่�ประเสริิฐกว่่ามนุุษย์์อื่่�น เนื่่�องจากทำำ�บุุญ รัักษาศีีล
อุุตตรกุุรุุทวีีปเป็็นดิินแดนที่่�มีีความงาม อุุดมสมบููรณ์์ไปด้้วยธรรมชาติิ คนในอุุตตรกุุรุุทวีีปนั้้�นมีี
รููปร่่างสมส่่วนดููงาม
รูปร่างสมส่วนดูงาม แข็็ แข็งแรง มีีข้้
มีข้าวสารชื่่�
วสารชือ่อสััสัญญชาติิ
ชาติสสาลีีที่่
ำ�ลี �กิที่ินกได้้
ินได้โดยไม่่ต้้
โดยไม่อตงปลููกเอง
้องปลูกเอง
มนุุษย์์ ที่่ � เ กิิ ด ในดิิ น แดนนี้้ � จ ะมีีความงดงามทั้้� ง ผู้้ � ห ญิิ ง ผู้้ �ช าย ปราศจากความทุุกข์์ โ ศก
มีีความเสมอภาคกััน มีีชีีวิิตความเป็็นอยู่่ที่่� สุุข � สบาย ไม่่มีีโรคภััยไข้้เจ็็บ ผู้้ใ� ดปรารถนาสิ่่ง� ใดก็็นึึกเอาได้้ที่่�
ต้้นกััลปพฤกษ์์ ซึ่่�งมีีอยู่่�รอบเมืือง ไม่่ว่่าจะเป็็นเงิินทอง เครื่่�องประดัับ เสื้้�อผ้้า ต้้นกััลปพฤกษ์์จะ
บัันดาลให้้ผู้ห�้ ญิิงในอุุตตรกุุรุุทวีีปรููปงาม รููปร่่างสมส่่วน และงามทั่่�วร่่างกาย ไม่่มีีวัันแก่่เฒ่่า เช่น่ เดีียวกัับ
ผู้้ �ช ายในอุุตตรกุุรุุทวีีป เมื่่� อ ชายและหญิิ ง รัั ก กัั น จะอยู่่� ด้ ้ ว ยกัั น เพีียง ๗ วัั น แล้้ ว ตัั ด ขาด
จากกััน เมื่่�อผู้้�หญิิงคลอดลููกก็็ไม่่เจ็็บครรภ์์ เมื่่�อคลอดแล้้วก็็ไม่่ต้้องเลี้้�ยงดูู ให้้เอาลููกไปไว้้ริิมทาง
จะมีีหญ้้าอ่่อนไว้้ให้้ทารกนอน คนทั้้�งหลายที่่�ผ่่านไปมาก็็ใช้้นิ้้ว� ป้้อนน้ำำ�� นมที่่�ไหลออกมาจากนิ้้�วแก่่ทารก
เมื่่�อทารกโตขึ้้�น ถ้้าเป็็นผู้้�หญิิงก็็ให้้ไปอยู่่�กัับเด็็กผู้้�หญิิง ถ้้าเป็็นผู้้�ชายก็็ให้้ไปอยู่่�กัับเด็็กผู้้�ชายเป็็น
เพื่่�อนกััน เมื่่�อหมดบุุญตายไป ก็็ไม่่ทุุกข์์โศกร้้องไห้้ นำำ�ศพไปแต่่งแล้้วไปไว้้ที่่ก� ลางแจ้้ง จะมีีนกมาคาบไป
เรีียกว่่านกหัั
มาคาบไป เรียสกว่ ดีีลิิ
า งนกหั
ค์์ คนที่่�
สดีลิงอค์ยู่่�คนที่
ในอุุตตรกุุรุุทวีีปเมื่่�
อยู่ในอุตตรกุรุทวีอปตายไปจะไปเกิิ
เมื่อตายไปจะไปเกิ ด ในสวรรค์์
ดในสวรรค์เพีียงที่่�
เพียงที่เดีียว
เดียว
เนื่่�องจากได้้บำำ�เพ็็ญบุุญและทานมาก
47

ใบงานที่่� ๑๐.๓ เรื่่�อง ลัักษณะคำำ�ประพัันธ์์จากเรื่่�องไตรภููมิิพระร่่วง


คำำ�ชี้้�แจง : ให้้นัักเรีียนอธิิบายลัักษณะคำำ�ประพัันธ์์จากเรื่่�องไตรภููมิิพระร่่วง
ไตรภููมิิพระร่่วงหรืือเตภููมิิกถา แต่่งเป็็นความเรีียงร้้อยแก้้ว ที่่�มีีลัักษณะสััมผััสคล้้องจองคล้้ายร่่าย
เป็็นภาษาที่่�เรีียบง่่าย มีีศััพท์์บาลีีปนอยู่่�ตลอดทั้้�งเรื่่�อง

แบบทดสอบท้้ายหน่่วยการเรีียนรู้้�ที่่� ๑๐

ตอนที่่� ๑ คำำ�ชี้้�แจง : จงเขีียนเครื่่�องหมาย x ข้้อที่่�ถููกต้้องที่่�สุุด


๑. ข้้อใดถููกที่่�สุุด
ข. ไตรภููมิิพระร่่วงเป็็นวรรณคดีีที่่�สำ�คั
ำ ัญในสมััยสุุโขทััย
๒. ใครเป็็นผู้้�แต่่งเรื่่�องไตรภููมิิพระร่่วง
ง. พญาลิิไท
๓. ข้้อใดเป็็นคุุณค่่าด้้านศาสนาที่่�ได้้จากเรื่่�องไตรภููมิิพระร่่วง
ก. แก่่นแท้้ของมนุุษย์์นั้้�นไม่่เที่่�ยงแท้้ ความสุุขที่่�เที่่�ยงแท้้ คืือ นิิพพาน
๔. “การจััดเตรีียมดอกไม้้ธูปู เทีียนใส่่มือื ผู้้�ตายก่่อนปิิดฝาโลง ทำำ�เพื่่�อให้้ผู้้�ตายได้้นำ�ด
ำ อกไม้้ธูปู เทีียนดัังกล่่าวไป
สัักการบููชาพระจุุฬามณีีเจดีีย์์ที่่�สถิิตอยู่่�ในสวรรค์์ชั้้�นดาวดึึงส์์” จากข้้อความแสดงสาระเกี่่�ยวกัับเรื่่�องใด
ค. ประเพณีีและวััฒนธรรม
๕. กามภููมิิคืืออะไร
จ. ดิินแดนของผู้้�ที่่�เกี่่�ยวข้้องอยู่่�กับั กามตััณหา
๖. โสฬสพรหม หมายถึึงข้้อใด
ค. ดิินแดนของพรหม ๑๖ ชั้้�น
๗. ข้้อใดถููกที่่�สุุด
ข. โลกัันตนรกเป็็นนรกที่่�มีีแต่่ความมืืด
๘. ไตรภููมิิ หรืือโลกทั้้�ง ๓ ประกอบด้้วยอะไรบ้้าง
ก. กามภููมิิ รููปภููมิิ อรููปภููมิิ
๙. ข้้อใดไม่่จััดอยู่่�ในปััญจศีีล
ก. การไม่่ฆ่่าสััตว์์เล็็ก
๑๐. “ในนรกนั้้�นมีีหม้้อเหล็็กแดงอัันใหญ่่เท่่าภููเขาอัันใหญ่่” จากข้้อความใช้้โวหารภาพพจน์์ข้้อใด
จ. อุุปมา
47
48

ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงตอบค�าถามต่อไปนี้


๑. ไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่าอย่างไร
เตภูมิกถำ
๒. ไตรภูมิพระร่วงมีแก่นเรื่องที่เน้นเรื่องอะไร
ควำมเป็นอนิจจัง
๓. ไตรภูมิพระร่วงจัดเป็นสารโน้มน้าวใจประเภทหนึ่งที่มีจุดมุ่งหมายใด
โน้มน้ำวใจให้ผู้ฟังมุ่งท�ำดี ละเว้นควำมชั่ว
๔. “คนผู้ใดอันกระท�าร้ายแก่พ่อแลแม่ สมณพราหมณ์ผู้มีศีล แลยุยงพระสงฆ์ให้ผิดกัน.....” จากข้อความข้างต้น
อยู่ในไตรภูมิพระร่วงตอนใดและกล่าวถึงสิ่งใด
อยู่ในตอนโลกันตนรก กล่ำวถึงคนที่ท�ำร้ำยพ่อแม่ สมณพรำหมณ์ผู้รักษำศีล และท�ำให้พระสงฆ์
แตกแยกกัน ถือเป็นผู้ท�ำลำยศำสนำ เมื่อตำยไปจะต้องอยู่ในโลกันตนรกนี้
๕. มนุษย์อยู่ในภูมิใด และภูมินั้นมีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร
แนวค�ำตอบ มนุษย์อยู่ในมนุสสภูมิ ซึ่งเป็นภูมิที่มีเนื้อหำเน้นกล่ำวถึงก�ำเนิดและลักษณะของมนุษย์
๖. ดินแดนในอุดมคติของมนุษย์ หมายถึงที่ใด
สวรรค์และอุตตรกุรุทวีป
๗. ให้นักเรียนอธิบายประเภทมนุษย์
มนุษย์แบ่งเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ อภิชำตบุตร อนุชำตบุตร และอวชำตบุตร อภิชำตบุตรเป็นบุตร
ที่มีควำมเฉลียวฉลำดกว่ำพ่อแม่ มีรูปงำม เป็นคนดี และมีเกียรติยศ อนุชำตบุตรเป็นลูกที่มีควำม
เท่ำเทียมพ่อแม่ทั้งรูปโฉม ปัญญำ และเกียรติยศ ส่วนอวชำตบุตรเป็นบุตรที่เลวกว่ำพ่อแม่
๘. จงอธิบายเรื่องอนันตริยกรรม
อนันตริยกรรม คือกรรมที่เป็นกรรมบำปที่สุด มีด้วยกัน ๕ ประกำร ได้แก่ ฆ่ำบิดำ ฆ่ำมำรดำ
ฆ่ำพระอรหันต์ ท�ำให้พระกำยของพระพุทธเจ้ำห้อเลือด และท�ำให้พระสงฆ์แตกแยกกัน
๙. ให้นักเรียนอธิบายเรื่องต้นกัลปพฤกษ์ในอุตตรกุรุทวีป
ต้นกัลปพฤกษ์มคี วำมสูง ๑๐๐ โยชน์ กว้ำง ๑๐๐ โยชน์ โดยรอบปริมณฑลได้ ๓๐๐ โยชน์ ผูใ้ ดปรำรถนำ
สิ่งใดก็นึกเอำได้ที่ต้นกัลปพฤกษ์ ซึ่งมีอยู่รอบเมือง ไม่ว่ำจะเป็นเงินทอง เครื่องประดับ เสื้อผ้ำ
ต้นกัลปพฤกษ์สำมำรถบันดำลให้ทงั้ หมด
๑๐. นักเรียนได้รับข้อคิดอะไรจากเรื่องไตรภูมิพระร่วง
คำ�ำตอบอย
(ค� ตอบอิสใู่ ระ)
นดุลยพินจิ ของผสู้ อน
49

ตอนที่ ๓ คำ�ชี้แจง : จงอธิบายข้อความต่อไปนี้


ในคััมภีีร์์อัันหนึ่่�งว่่าดั่่�งนี้้� แผ่่นดิินในอุุดรกุุรุุทวีีปนั้้�นราบคาบเสมอกัันงามนัักหนา บ่่มิิได้้เป็็นขุุมเป็็นรูู
บ่่มิิได้้ลุ่่�มบ่่มิิได้้เทง อัันว่่าคนทั้้�งหลายอัันอยู่่�ที่่�นั่่�น บ่่ห่่อนจะรู้้�มีีความทุุกข์์ความโศกเลย อัันว่่าสิิงสััตว์์ทั้้�งหลายมีีอาทิิ
คืือหมูู แลหมีีหมา แลงููเงี้้�ยวเบี้้�ยวของ แลสรรพสััตว์์อัันร้้ายอัันคะนองและจะได้้เบีียดเบีียนคนทั้้�งหลายอัันอยู่่�ในที่่�นั้้�
นหาบ่่มิิได้้เลย แลว่่ายัังมีีหญ้้าสิ่่�งหนึ่่�ง ชื่่�อว่่าฉวิินยา เป็็นขึ้้�นในแผ่่นดิินนั้้�น แลเห็็นเขีียวงามดำำ�งามนัักดั่่�งแววนกยููง
แลละเอีียดอ่่อนดั่่�งฟููก ดั่่�งสำำ�ลีี แลสููงขึ้้�นพ้้นดิิน ๔ นิ้้�ว แลน้ำำ��ใสเย็็นสะอาดกิินหวาน เซาะท่่าน้ำำ��นั้้�นดููงดงาม เทีียรย่่อ
มเงิินทองแลแก้้วสััตตพิิธรััตนะไหลเรีียงเพีียงเสมอฝั่่�ง กากิินบ่่มิิพัักก้้ม คนแห่่งหั้้�นลางคนสููง สููงค่่าคนใน
บุุรพพิิเทหทวีีป”
แผ่่นดิินอุุตตรกุุรุุทวีีปมีีความงาม แผ่่นดิินราบเรีียบ ไม่่มีีที่่�ลุ่ม�่ ดอน คนที่่�อยู่่�ในอุุตตรกุุรุุทวีีปไม่่มีี
ความทุุกข์์โศก ไม่่เบีียดเบีียนผู้้�ใด ไม่่มีีสััตว์์ร้้ายใดๆ มีีหญ้้าที่่�เรีียกว่่าฉวิินยาอยู่่�ในแผ่่นดิินนี้้� มีีลัักษณะ
เขีียวงามเหมืือนกัับขนนกยููง ละเอีียดอ่่อนเหมืือนฟููกสำำ�ลีี สููงจากพื้้�น ๔ นิ้้�ว น้ำำ��ในดิินแดนนี้้�ใสสะอาด
มีีเงิิน ทอง แก้้ว มณีีต่่างๆ อยู่่ต� ามฝั่่�งน้ำำ�� กากิินน้ำำ�� ได้้โดยไม่่ต้้องก้้มหััว คนในอุุตตรกุุรุุทวีีปนี้้เ� ป็็นคนดีีกว่่า
คนในบุุรพวิิเทหทวีีป

ตอนที่่� ๔ คำำ�ชี้้�แจง : จงนำำ�ตััวอัักษรหน้้าข้้อความด้้านขวามืือไปเติิมลงในช่่องว่่างด้้านซ้้ายมืือที่่�มีีความสััมพัันธ์์กััน

ญ. ๑.
.............. กััลปพฤกษ์์ ก. คนแห่่งนั้้�น
ก. ๒.
.............. คนแห่่งหั้้�น ข. มาลาตีี หรืือมะลิิซ้้อน
ฉ. ๓.
.............. แค้้นเนื้้�อแค้้นใจ ค. ทุุกคน
ช. ๔.
.............. งููเงี้้�ยวเบี้้�ยวของ ง. รัังนก
ค. ๕.
.............. ชู่่�คน จ. เรีียงรายกััน
ซ. ๖.
.............. โชติิปราสาท ฉ. คัับแค้้นใจ
ฎ. ๗.
.............. บ่่มิพััิ ก ช. งููและสััตว์์มีีพิิษทั้้�งหลาย
ง. ๘.
.............. บ้้านนก ซ. แผ่่นหิินที่่�ทำำ�ให้้เกิิดไฟลุุกโชติิช่่วง
ข. ๙.
.............. มาลุุติิ ฌ. เครื่่�องประดัับกาย
จ. ๑๐.
.............. เลืือนกััน ญ. ต้้นไม้้ที่่�เชื่่�อกัันว่่าให้้ผลสำำ�เร็็จตามความปรารถนา
ฎ. ไม่่จำำ�ต้้อง
50
ยที่

๑๑
นว่

สามัคคีเภทคำ�ฉันท์

ใบงานที่่� ๑๑.๑ เรื่่�อง ความรู้้�ทั่่�วไปเกี่่�ยวกัับสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์


คำำ�ชี้แ�้ จง : ให้้นัักเรีียนเติิมผัังมโนทััศน์์เรื่่�อง “ความรู้้�ทั่่�วไปเกี่่�ยวกัับสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์” ให้้สมบููรณ์์

ลักษณะคำ�ประพันธ์
ผู้แต่ง
แต่งด้วยคำ�ประพันธ์ประเภท
นายชิต บุรทัต
ฉันท์ ๑๙ ชนิด กาพย์ ๑ ชนิด

สามัคคีเภทคำ�ฉันท์

คุณค่าจากเรื่อง
แสดงให้เห็ น โทษของการแตกความสามั คคี และ
การใช้สติปัญญาให้เกิดผลสำ�เร็จโดยไม่ต้องใช้กำ�ลัง

เนื้อเรื่องย่อ
พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธ มีพระประสงค์จะขยายอาณาจักรให้กว้างขวาง แคว้น
ที่ทรงหมายตาคือแคว้นวัชชีของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวี พระเจ้าอชาตศัตรูทรงมีปุโรหิตที่ปรึกษาชื่อ
วัสสการพราหมณ์ เป็นผรู้ อบรศู้ ลิ ปศาสตร์และมีสติปญ ั ญาเฉียบแหลม วัสสการพราหมณ์กราบทูล
ให้ทรงใช้อุบายในการตีแคว้นวัชชี โดยอาสาเป็นไส้ศกึ ไปยุยงเหล่ากษัตริยล์ จิ ฉวีให้ทรงแตกสามัคคี
พระเจ้าอชาตศัตรทู รงเห็นชอบ วัสสการพราหมณ์จงึ เริม่ แผนการโดยกราบทูลทัดทานการไปตีแคว้นวัชชี
พระเจ้าอชาตศัตรูแสร้งกริ้ว ทรงสั่งให้ลงโทษวัสสการพราหมณ์อย่างหนัก แล้วเนรเทศไป
วัสสการพราหมณ์มุ่งหน้าไปเมืองเวสาลีเพื่อขอเข้ารับราชการ เหล่ากษัตริย์ลิจฉวีทรง
หลงเชื่อ รับวัสสการพราหมณ์ไว้ในราชสำ�นัก
วัสสการพราหมณ์เริม่ สร้างความแคลงใจในหมพู่ ระกมุ ารโดยออกอุบายให้พระกมุ ารเข้าใจผิด
เหล่าพระกุมารนำ�ความไปกราบทูลพระบิดา ต่างก็ทรงเชื่อถือพระโอรสของพระองค์ ทำ�ให้เกิด
ความขุ่นเคืองกันทัว่ ไปในหมกู่ ษัตริยล์ จิ ฉวี เมือ่ เวลาผ่านไป ๓ ปี วัสสการพราหมณ์เห็นว่าแผนการ
เป็นผลสำ�เร็จ จึงลอบส่งข่าวไปกราบทูลพระเจ้าอชาตศัตรูให้ทรงยกทัพมาตีแคว้นวัชชี แต่เหล่
ากษัตริย์ลิจฉวีต่างทรงถือทิฐิ ไม่มีผู้ใดคิดวางแผนป้องกันภัย กองทัพของแคว้นมคธจึงยกทัพ
เข้าเมืองได้ง่ายดาย
51

ใบงานที่่� ๑๑.๒ เรื่่�อง คำำ�ศััพท์์ในสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์


คำำ�ชี้แ�้ จง : ให้้นัักเรีียนบอกความหมายของคำำ�ศััพท์์ในตารางให้้ถููกต้้อง

ที่ คำ�ศัพท์ ความหมาย


๑. กสิก ชาวนา
................................................................................................
๒. คดี เรื่อง
................................................................................................
๓. ทม ความข่ มใจ
................................................................................................
๔. นฤสาร ไม่เป็นสาระ
................................................................................................
๕. ประเด มอบให้ หมด
................................................................................................
๖. ภัต ข้าว
................................................................................................
๗. วิรุธ ผิ................................................................................................
ดปกติ
๘. สุขาลัย ที่ที่มีความสุข
................................................................................................
๙. หิตะ ประโยชน์
................................................................................................
๑๐. อุรส โอรส ลูกชาย
................................................................................................

ใบงานที่่� ๑๑.๓ เรื่่�อง การเขีียนแผนผัังคำำ�ประพัันธ์์จากสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์


คำำ�ชี้แ�้ จง : ให้้นัักเรีียนเขีียนแผนผัังคำำ�ประพัันธ์์ที่่�สนใจจากเรื่่�องสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิิจของผู้้�สอน
52

ใบงานที่่� ๑๑.๔ เรื่่�อง ความเป็็นมาของสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์


คำำ�ชี้แ�้ จง : ให้้นัักเรีียนเขีียนเล่่าความเป็็นมาของเรื่่�องสามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์
ในสมััยรััชกาลที่่� ๖ เกิิดวิิกฤตการณ์์ทั้้�งภายในและภายนอกประเทศ เช่่น เกิิดสงครามโลก
ครั้้�งที่่� ๑ เกิิดกบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ซึ่่�งส่่งผลกระทบต่่อความมั่่�นคงของบ้้านเมืือง นายชิิต บุุรทััต จึึงได้้แต่่งเรื่่�อง
สามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์ขึ้้�นในปีี พ.ศ. ๒๔๕๗ เพื่่�อมุ่่�งชี้้�ความสำำ�คััญของการรวมกัันเป็็นหมู่่�คณะ เรื่่�องสามััคคีีเภท
เป็็นนิิทานสุุภาษิิต ในมหาปริินิิพพานสููตร และอรรถกถาสุุมัังคลวิิลาสิินีี ทีีฆนิิกายมหาวรรค ลงพิิมพ์์ใน
หนัังสืือธรรมจัักษุุ ของมหามกุุฎราชวิิทยาลััย โดยเรีียบเรีียงเป็็นภาษาบาลีี
นายชิิต บุุรทััต อาศััยเค้้าคำำ�แปลของเรื่่�องสามััคคีีเภทมาแต่่งเป็็นคำำ�ฉัันท์์ เพื่่�อแสดงความ
สามารถในเชิิงกวีีให้้เป็็นที่่�ปรากฏ และเป็็นพิิทยาภรณ์์ประดัับบ้้านเมืือง

ใบงานที่่� ๑๑.๕ เรื่่�อง สามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์ตอนที่่�ข้้าพเจ้้าชอบ


คำำ�ชี้แ�้ จง : ๑. ให้้นัักเรีียนคััดสามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์ตอนที่่�ชอบ พร้้อมบอกเหตุุผล
๒. ท่่องบทสามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์ตอนที่่�ชอบ
คำำ�ตอบอยู่่�ในดุุลยพิินิิจของผู้้�สอน

แบบทดสอบท้้ายหน่่วยการเรีียนรู้้�ที่่� ๑๑

ตอนที่่� ๑ คำำ�ชี้้�แจง : จงเขีียนเครื่่�องหมาย x ข้้อที่่�ถููกต้้องที่่�สุุด


๑. เรื่่อ� งสามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์เกี่่ย� วข้้องกัับสิ่่ง� ใด
ค. พุุทธศาสนา
๒. ควรเติิมข้้อความใดในช่่องว่่างจึึงจะถููกต้้องตามฉันั ทลัักษณ์์
“ ไหว้้คุุณพระพุุทธา อุุระพาสบายครััน
................................ ก็็จะสุุขสวััสดีี
ก. ไหว้้พ่่อและแม่่พลััน (อิินทรวิิเชีียรฉัันท์์ ๑๑ )
๓. นายชิิต บุุรทััต แสดงเจตนาในการแต่่งหนัังสืือเรื่่อ� งสามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์ไว้้ตรงกัับข้้อใด
ข. แสดงโทษของการแตกสามััคคีี
๔. ข้้อใดเป็็นแก่่นหลัักของเรื่่อ� งสามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์
ก. โทษของการแตกสามััคคีีนำ�ำ หมู่่�คณะไปสู่่�ความฉิิบหาย
๕. การกระทำำ�ของวััสสการพราหมณ์์ตรงกัับสำำ�นวนไทยว่่ากระไร
ข. ไส้้ศึึก
53

๖. ข้้อความต่่อไปนี้้�มีีรสวรรณคดีีตามข้้อใด
สามยอดตลอดระยะระยัับ วะวะวัับสลัับพรรณ
ช่่อฟ้้าตระการกลจะหยััน จะเยาะยั่่ว� ทิิฆัมั พร
บราลีีพิิลาศศุุภจรููญ นภศููลประภััสสร
หางหงส์์ผจงพิิจิติ รงอน ดุุจกวัักนภาลััย
ก. เสาวรจนีี
๗. ข้้อความต่่อไปนี้้�ใช้้โวหารภาพพจน์์อย่่างไร
เปรีียบปานมหรรณพนทีี ทะนุุที่่�ประทัังความ
ร้้อนกายกระหายอุุทกยาม นรหากประสบเห็็น
เอิิบอิ่่ม� กระหยิ่่ม� หทยคราว ระอุุผ่่าวก็็ผ่อ่ นเย็็น
ยัังอุุณหมุุญจนและเป็็น สุุขปีีติดีีิ ใจ
ก. อุุปมา
๘. ข้้อความต่่อไปนี้้�ดีีเด่่นทางด้้านใด
พลหััยพิิศเห็็นเช่่นเหิิน หาวเหาะเหยาะเดิิน
เดาะเตืือนก็็เต้้นตีีนซอย
ก. เด่่นทางอัักษร
๙. คำำ�ประพัันธ์์ต่อ่ ไปนี้้� ข้้อใดเล่่นพยััญชนะต้้นเป็็นคู่่�ๆ ได้้ไพเราะและก่่อให้้เกิิดมโนภาพชััดเจนที่่�สุุด
ข. เล็็งสููงลิ่่�วสวยชวยธง ชายโบกชวนบง
สะบััดระริ้้ว� ปลิิวปลาย
๑๐. ลัักษณะประการใดของพระเจ้้าอชาตศััตรููที่่นัั� กเรีียนไม่่ควรยึึดถือื ปฏิิบััติติ าม
ก. เชื่่�อเพื่่�อนมากกว่่าพ่่อแม่่
53
54

ตอนที่ ๒ ค�ำชี้แจง : จงตอบค�าถามต่อไปนี้


๑. สามัคคีเภทค�าฉันท์แต่งด้วยค�าประพันธ์ชนิดใดบ้าง
ฉันท์, กำพย์
๒. ค�าประพันธ์ประเภทฉันท์นอกจากบังคับสัมผัสแล้วยังก�าหนดข้อบังคับใดอีก
ค�ำครุ, ค�ำลหุ
๓. ผลงานประเภทค�าฉันท์ของนายชิต บุรทัต นอกจากสามัคคีเภทค�าฉันท์มเี รือ่ งใดบ้าง
ตำโป๋คำ� ฉันท์, กรุงเทพฯ ค�ำฉันท์ และเวทัพพชำดกค�ำฉันท์
๔. ฉันท์เป็นค�าประพันธ์ทรี่ บั มาจากประเทศใด
อินเดีย
๕. พระเจ้าอชาตศัตรูเป็นกษัตริยแ์ ห่งเมืองใด
เมืองรำชคฤห์ แคว้นมคธ
๖. สัญญาณทีใ่ ช้เรียกประชุมกษัตริยล์ จิ ฉวีคอื อะไร
กลอง
๗. การกระท�าของวัสสการพราหมณ์แสดงให้เห็นสิง่ ใดบ้าง
กำรพูด มีผลทัง้ ทำงทีด่ แี ละไม่ดี
๘. เหตุใดวัสสการพราหมณ์จงึ ท�าให้กษัตริยล์ จิ ฉวีแตกความสามัคคีกนั ได้
ใช้คำ� พูดท�ำลำยควำมไว้วำงใจและควำมสำมัคคี
๙. ถ้านักเรียนเป็นประชาชนแห่งแคว้นวัชชีและมีการแตกความสามัคคี นักเรียนจะท�าอย่างไร
ค�ำตอบอยูใ่ นดุลยพินจิ ของผูส้ อน
๑๐. ความสามัคคีมคี วามส�าคัญอย่างไร
กลุ่มคนในสังคมใดมีควำมสำมัคคี รักใคร่ปรองดองกัน สังคมจะเกิดควำมสุข ควำมเจริญก้ำวหน้ำ
ในสังคม
55

ตอนที่่� ๓ คำำ�ชี้้�แจง : จงเขีียนเครื่่�องหมาย หน้้าข้้อที่่�ถููก และเครื่่�องหมาย x หน้้าข้้อที่่�ผิิด และอธิิบายเหตุุผล


ข้้อที่่�เห็็นว่่าผิิด
................... ๑. สามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์เป็็นนิิทานสุุภาษิิต
x ๒. สามััคคีีเภทคำำ � ฉั ั น ท์์ ไ ด้้ รัั บเลืื อ กให้้ เ ป็็ น แบบเรีียนวรรคดีีเพราะดีีเด่่ น ในด้้ า นศิิ ล ปะ
...................
การใช้้ภาษา
................... ๓. นามปากกาของนายชิิต บุุรทััต ได้้แก่่ เอกชน เจ้้าเงาะ แมวคราว
................... ๔. สามััคคีีเภทคำำ�ฉัันท์์แต่่งด้้วยคำำ�ประพัันธ์์ประเภทฉัันท์์ ๑๙ ชนิิด และกาพย์์ ๑ ชนิิด
x ๕. กาพย์์ยานีี ๑๑ เป็็นกาพย์์ที่่�มีีลีีลาสง่่างาม (เหตุุผล กาพย์์ฉบััง ๑๖)
...................
x ๖. กมลฉัันท์์ ๑๒ เป็็นฉัันท์์ที่่�เหมาะสำำ�หรัับบทที่่�น่่ากลััว เอะอะ เกรี้้�ยวกราด ตื่่�นเต้้น
...................
(เหตุุผล จิิตรปทาฉัันท์์ ๘)
................... ๗. อนุุสร หมายถึึง ระลึึก คำำ�นึึงถึึง
x ๘. คำำ�ประพัันธ์์ประเภทฉัันท์์บัังคัับคำำ�เอกและคำำ�โท (เหตุุผล คำำ�ครุุ คำำ�ลหุุ)
...................
................... ๙. สามััคคีีเภทคำำ�ฉันั ท์์ตีีพิิมพ์์จากสำำ�นัักงานหนัังสืือพิิมพ์์ไทยเมื่่�อ พ.ศ. ๒๔๕๘
x ๑๐. กษััตริิย์์แห่่งแคว้้นมคธมีีพระนามว่่าวััสสการพราหมณ์์ (เหตุุผล พระเจ้้าอชาตศััตรูู)
...................

ตอนที่่� ๔ คำำ�ชี้้�แจง : จัับคู่่�คำำ�ศััพท์์กัับความหมายให้้ถููกต้้องและสััมพัันธ์์กััน

ข.
................... ๑. คม ก. วััน
ค.
................... ๒. ประศาสน์์ ข. ไป
ก.
................... ๓. ทิิน ค. การสั่่�งสอน
ฉ.
................... ๔. นิิวััต ง. ที่่�ที่่�มีีความสุุข
ซ.
................... ๕. รโหฐาน จ. ผิิดปกติิ
ฌ.
................... ๖. พิิชััย ฉ. กลัับ
จ.
................... ๗. วิิรุุธ ช. มาถึึง
ง.
................... ๘. สุุขาลััย ซ. ที่่�ลัับ
ญ.
................... ๙. มน ฌ. ความชนะ
ช.
................... ๑๐. อาคม ญ. ใจ
55
56

เฉลยแนวข้อสอบ O – NET ภาษาไทย


ค�ำชี้แจง : ปรนัย 5 ตัวเลือกมีค�ำตอบที่ถูกต้อง 1 ค�ำตอบ
1. ข้อใดใช้ส�านวนต่างประเทศ (ท. 4.1)
เฉลย 2. มีหกโรคร้ำยที่คุกคำมชีวิตของทำรกนับล้ำนในแต่ละปี
เหตุผล ข้อ 2. ได้ได้รรับับอิอิททธิธิพพลกลวิ
ลกลวิธธีกีการเรี
ำรเรียยงคำ
งค��ำจากภาษาต
จำกภำษำต่่าำงประเทศ
งประเทศ คืคืออ เอาคำ
เอำค��ข
ำขยำยไว้
ยายไว้หน้าำ
ค�ำหลัก ดังนี้ “มีหกโรคร้ำยที่คุกคำมชีวิตของทำรกนับล้ำนในแต่ละปี” โดย “หก” เป็น
ค�ำขยำย ค�ำหลักคือ “โรคร้ำย”

2. ข้อใดไม่
ใดไม่แแสดงถึ
สดงถึงอิงทอิธิทพธิลจากภาษาต่
พลจากภาษาต่างประเทศ (ท. 4.1)4.1)
างประเทศ (ท.
เฉลย 2. ฉันเสียใจอย่ำางยิ่งทีที่่ทรำบข่ ำวร้ำายนี
ราบข่าวร้ ยนี้้
เหตุผล ข้อ 1. ค�ำว่ำ “คอมพิวเตอร์” ได้รับอิทธิพลด้ำนค�ำศัพท์มำจำกภำษำอังกฤษ
ข้อ 3. ค�ำว่ำ “กะละแม” ได้รับอิทธิพลด้ำนค�ำศัพท์มำจำกภำษำโปรตุเกส
ข้อ 4. ค�ำว่ำ “กุหลำบ” ได้รับอิทธิพลด้ำนค�ำศัพท์มำจำกภำษำเปอร์เซีย

3. ข้อใดไม่
ใดไม่มมีคีค�าำ�ยืยืมมจากภาษาต่
จากภาษาต่างประเทศ
างประเทศ (ท.(ท. 4.1) 4.1)
เฉลย 1. 1. ถ้ถ้ำาสอนอะไรยำวๆ
สอนอะไรยาวๆ เกี เกี่่ยยวกั
วกับบสิสิ่ง่งทีที่่เเด็ด็กกไม่
ไม่รรู้จู้จักัก เด็
เด็กจะเบื่อและสับสน
เหตุผล ข้อ 2.และ และ 33.มีคำ
มีค��ำยืยืมมจากภาษาต่
จำกภำษำต่ำางประเทศ งประเทศ คืคืออโทรทั โทรทัศศน์น์แและด�
ละดำำเนิ นน
�เนิ

4. ประโยคข้อใดใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง (ท. 4.1)


เฉลย 4. โรงเรียนควรกระตุ้นผู้ปกครองให้ช่วยกันเอำใจใส่เรื่องกำรเรียนของลูกหลำน
เหตุผล ข้ออื่นๆ มีกำรใช้ส�ำนวนต่ำงประเทศ ดังนี้
ข้อ 1. “มันมักง่ำายเกิ
1 “มั ยเกินนไป......”
ไป......” กำรขึ ้นต้นประโยคลอยๆ
การขึ้นต้ นประโยคลอยด้วๆย “มัน”” เป็เป็นนกำรเขี ยนแบบ
การเขียนแบบ
สำส��ำนวนภาษาต่
นวนภำษำต่ำางประเทศ งประเทศ
ข้อ 2. “สุนนทรภู่
2 “สุ ทรภูถ่ ถูกู กยกย่
ยกย่ออง......”
ง.....” สำ �ส�นวนภาษาต
ำ นวนภำษำต่ ำ งประเทศมักกเขียนให้
่ า งประเทศมั เขี ย นให้ปประธานเป็
ระธำนเป็ น
ผูผู้ถูกกระทำ
กระท�ำ�ข ของประโยค
องประโยค
ข้อ 33. “ในที่
“ในทีส่สุดุดแล้
แล้วว......”
.....” ใช้
ใช้สส�ำำ�นวนต่
นวนต่ำางประเทศ
งประเทศ คือ “ในที
“ในที่่สุดแล้ว” มำจำกค�
มาจากคำำ�ว่ำา “Finally”
“Finally

5. ประโยคข้อใดไม่
ใดไม่มมีขีข้อ้อบกพร่
บกพร่ององ(ท.(ท.4.1)
4.1)
เฉลย 4. บุคคลควรมีมำรยำทในกำรสื่อสำร
เหตุผล ค�ำว่ำ “กำรสื่อสำร” ในข้อนี้ตำมรูปประโยค จ�ำเป็นต้องใช้อำกำรนำม หำกตัดค�ำว่ำ
“กำร” ออก จะสื่อควำมไม่ได้ ส่วนข้ออื่นๆ ใช้คำฟุม่ เฟือยแบบไม่จำ� เป็น โดยเฉพำะค�ำที่
เขียนว่ำ ท�ำกำร, ให้กำร, ต่อกำร, ซึง่ , ให้ควำม, มีควำม
57
56

ข้อ 1
1. เขาทำ
เขำท��ำการวิ
กำรวิ่งแข่งกั
แข่งกับเพื
เพื่อ่อนนๆๆ
ข้อ 2.
2 บริ
บริษัททั้งงสองบรรลุ
สองบรรจุซซึ่งึ่งข้ข้ออตกลง
ตกลง
ข้อ 33. สองสหายมีความยิ
สองสหำยมีควำมยินดีที่ไี่ ด้พบกัน
ข้อ 55. เธอนอนอยู่
เธอนอนอยูภ่ ายในบ้
ำยในบ้าำน
6. ประโยคใดใช้ค�ากระชับมากที่สุด (ท. 4.1)
เฉลย 5. เด็กสมัยนี้ก้ำวหน้ำกันเร็วมำก
เหตุผล ข้ออืน่ ๆ ใช้คำ� ฟุม่ เฟือย โดยเฉพำะค�ำทีเ่ ขียนว่ำ ท�ำกำร, ให้กำร, ต่อกำร, ซึง่ , ให้ควำม, มีควำม
ข้ข้ออ11. เราควรที่
เรำควรทีจ่จะมีความอดทน
ะมีควำมอดทน เพื เพื่อ่อที่ทีจ่จะประสบความสำ
ะประสบควำมส��ำเร็เร็จจ
ข้ข้ออ22. การเรี
กำรเรียนรู้ไม่มีคีคำ�ำ�ว่ว่ำาสำยสายดัดังนังนั้น้นเรำควรจะท�
เราควรจะทำ ำกำรศึ �การศ กษำอย่
ึกษาอยำงหนั ก ก
่างหนั
ข้ข้ออ33. การมีความรู
กำรมี ค วำมรู้ ย่้ อย่มทำ อ มท�
�ให้ำเให้
รามีเ รำมี
โอกาสที่ โ อกำสที
จะได้่ จงานอย่
ะได้ ง ำนอย่
างสูง (ย่ำ งสู
อม,ง ที่(ย่จะ,อ ม,อย่าทีง่ จ ะ, อย่ ำ ง
เป็
เป็นนคำค��ำฟุฟุ่ม่มเฟื
เฟืออยย)
ข้ข้ออ4 ขอท่
4. ขอท่าำนได้ นได้โปรดกรุ
โปรดกรุ ณณารัำรั บทรำบเรื
บทราบเรื อ่ งน่อดงนี
ี้ ว้ ย้ด้ว(คำย�ว่(ค�า ำ“โปรด”
ว่ำโปรดและ และกรุ
“กรุณณา”ำ มีความหมาย
มีควำมหมำย
เหมื
เหมืออนกั นกันนคืคืออการขอร้
กำรขอร้ออง,ง,วิงวิวอน
งวอนควรเลื ควรเลื อกใช้
อกใช้ แค่คำแค่�คใดคำ �หน
�ำใดค� งึ่ ) ่ง)
ำหนึ

7. ข้อใดใช้ค�าผิดความหมาย (ท. 4.1)


เฉลย 5. กลิ่นคำวปลำอบอวลไปทั้งบ้ำน
เหตุผล ที่ถูกต้องคือ กลิ่นคำวปลำคลุ้งไปทั้งบ้ำน เพรำะ ค�ำว่ำ “คลุ้ง” ใช้กับกลิ่นที่เหม็น
ส่วน ค�ำว่ำ “อบอวล” ใช้กับกลิ่นที่หอม
8. ผู้สมัครคนนี้มี..............................ตามที่หน่วยงานเราต้องการ (ท. 4.1)
เฉลย 2. คุณสมบัติ
เหตุผล คุณสมบัติ หมำยควำมว่ำ คุณลักษณะประจ�ำตัวที่ดีของบุคคล ดังนั้น “คุณสมบัติ”
จึงสอดคล้องกับบริบทในข้อนี้
9. สุจินดาเตรียมอาหารเย็น เขา..........ผักคะน้าเป็นท่อนยาวๆ..........เนื้อหมูเป็นชิ้นๆ แล้ว............ กระเทียม
จนละเอียด (ท. 4.1)
เฉลย 5. ตัด หั่น สับ
เหตุผล ค�คำำ�ว่ำา “ตัด” หมายความว่หมำยควำมว่าำ ทำท��ำให้ขาดด้ ำดด้วยของมีคม
ยของมีคม หรือมีด คำค��ำว่าำ “หั่น” มีความหมาย
มีควำมหมำย
คล้าำย “ตั “ตัดด”” แต่แต่ของที่
ของที่ใช้ใช้ “หั“หั
่น”่น”จะต้จะต้
องออกแรงมำกกว่
องออกแรงมากกว่ำเพรำะของที
าเพราะของที่่ถถูกูกหัหั่น่นค่มีลั
อนข้ ำงมี
กษณะ
ลัที่กเหนี ยวกว่่เหนี
ษณะที า ยส่วกว่
วนคำำ�ว่ส่า วนค�
“สับำ”ว่ำ หมายถึ
“สับ”ง หมำยถึ
เอาของมีคมฟั นลงไปโดยแรง
ง เอำของมี คมฟันลงไปโดยแรงหรือซอยถี่หรืๆอ
ซอยถี่ๆ
57
58

10. นักเรียนหลายคนมี.........ที่ไม่ดีกับวิชาภาษาไทย (ท. 4.1)


เฉลย 4. ทัศนคติ
เหตุผล ทั ศ นคติ คื อ กำรแสดงออกถึ ง ควำมชอบหรื อ ไม่ ช อบต่ อ บุ ค คล สถำนที่ สิ่ ง ของ หรื อ
เหตุกำรณ์ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ดังนั้นข้อนี้จึงควรตอบข้อ 4
11. ข้อใดสื่อความหมายได้ชัดเจนที่สุด (ท. 4.1)
เฉลย 1. พรกมลดีใจจนร้องไห้เมื่อทรำบว่ำน้องสำวของตนสอบได้เกียรตินิยม
เหตุผล ข้อ 22. มีมีความหมายกำ
ควำมหมำยก�ำ�กวม กวม คืคืออ พรำวกั
พราวกับพรตักบำตรพระด้
บาตรพระด้วยกัน 2 คน หรือตักบำตรพระ
บาตรพระ
พร้ออมกั
พร้ มกันนทัทั้ง้ง 22 รูรูปป
ข้อ 3.
3 เนื่อ่องจำกไม่ ชัดดเจนว่
งจากไม่ชั เจนว่ำามณฑำไปเที
มณฑาไปเที่่ยยวกัวกับเพื
บเพื่อนอี
่อนอก ีก22 คน หรื
หรืออมณฑารวมกั
มณฑำรวมกับบเพื่อน
เป็นน 22 คน
คน แล้
แล้ววไปเที
ไปเที่่ยยว ว
ข้อ 44. นำยสิ
นายสิบซ้อมทหารเดิ
มทหำรเดินนแถวมี
แถวมี 2 ควำมหมำย
ความหมาย ควำมหมำยที ความหมายที่่หหนึนึ่่งงคืคืออนำยสิ
นายสิบฝึกฝน
ทหาร และควำมหมำยที
ทหำร และความหมายที่่สสองคื
องคืออ นำยสิ
นายสิบบท�ทำำ�ร้ร้ำายร่
ยร่ำางกำยทหำร
ยกายทหาร
ข้อ 55. ก�กำำ�กวมว่าำ น้องของแพรถู
งของแพรถูกกสุสุนนขั ัขกักัดดหรื
หรืออแพรถู
แพรถูกกสุสุนนขั ัขกักัดด
12. ข้อใดใช้ภาษาก�ากวม (ท. 4.1)
เฉลย 2. ใครตำมหมอมำ
เหตุผล ใครตามหมอมา
ใครตำมหมอมำมีมี2 2ความหมาย ควำมหมำย ความหมายท
ควำมหมำยที หี่ นงึ่ ่หคืนึอ่งใครท ตี่ ดิ ตามหมอมา
คือ ใครที และความหมาย
่ติดตำมหมอมำ และควำม
ทหมำยที
สี่ องคือ่สองคื
ใครเรีอยใครเรี
กหมอมา ยกหมอมำ
13. ข้อใดใช้ภาษาได้ถูกต้อง (ท. 4.1)
เฉลย 5. เขำท�ำรำยงำนอำทิตย์หนึ่งไม่ต�่ำกว่ำ 3 ฉบับ
เหตุผล ข้ออื่นใช้ภำษำก�ำกวม ดังนี้
ข้อ 11. ผมยุ
ผมยุ่่งมำก มาก (ก�
(กำำ�กวมระหว่ำางผมบนศี
งผมบนศรีรษะยุ
ษะยุ่่ง กักับบ ไม่ ไม่วว่า่ำง)ง)
ข้อ 22. ผลเป็นอย่ำางไร (ก� (กำำ�กวมระหว่ำางผลลัพธ์ กับ ผลที ผลที่่หมำยถึ
มายถึงผลไม้)
ข้อ 33. ผ้ำาขำดตั
ขาดตั้งเยอะ (ก� (กำำ�กวมระหว่ำางผ้ำาฉีกขำด
ขาด กับ ผ้ำาไม่พอ)
ข้อ 44. พรุพรุ่่งนีนี้้ผมไม่ว่ำาง มีนัดต้องผ่ำาตัด (ก�
(กำำ�กวมระหว่ำาง มีนัดต้องเข้ำารับกำรผ่ การผ่ำาตัด หรือ
มีนัดต้องผ่ำาตัดคนไข้)
59

14. ข้้อใดใช้้คำ�ฟุ่่
ำ �มเฟืือย (ท. 4.1)
เฉลย 4. พรกมลเป็็นลููกโทนคนเดีียว
เหตุุผล ลููกโทนมีีความหมายคืือ ลููกคนเดีียว จึึงมีีความหมายซ้ำำ��ซ้้อนกััน ข้้อนี้้�จึึงใช้้คำำ�ฟุ่่�มเฟืือย
15. ข้้อใดใช้้ภาษาเขีียนกะทััดรััด (ท. 4.1)
เฉลย 1. เขาใช้้เงิินเกิินความจำำ�เป็็น
เหตุุผล ข้้ออื่่�นๆ ใช้้ภาษาฟุ่่�มเฟืือย ดัังนี้้�
ข้้อ 2 เขาฝ่่าฝืืนกระทำำ�ผิิดกฎหมาย (ฝ่่าฝืืน, กระทำำ�ผิิด, มีีความหมายซ้ำำ�ซ้ � ้อน ควรเลืือกใช้้
คำำ�ใดคำำ�หนึ่่�ง)
ข้้อ 3 เขามีีความสนใจเรีียนภาษาอัังกฤษ (มีีความ คำำ�ฟุ่่�มเฟืือย สามารถตััดออกได้้)
ข้้อ 4 ไม่่น่่าเชื่่�อว่่าจะมีีการทุุจริิตคดโกงการเลืือกตั้้�ง (ทุุจริิต, คดโกง มีีความหมายซ้ำำ��ซ้้อน)
ข้้อ 5 เขาวิ่่�งชนะเพื่่�อนร่่วมชาติิเดีียวกัันในการแข่่งขัันครั้้�งนี้้� (เพื่่�อนร่่วมชาติิ, เดีียวกััน
มีีความหมายซ้ำำ��ซ้้อนกััน)
16. ข้้อใดใช้้ลัักษณนามผิิด (ท. 4.1)
เฉลย 1. พรกมลถืือผ้้าเช็็ดหน้้าหนึ่่�งแผ่่น
เหตุุผล ลัักษณนามของผ้้าเช็็ดหน้้าคืือ ผืืน
17. “ผมไม่่คิิดว่่าการลงทุุนกัับสิินค้้าชนิิดนี้้�จะทำำ�ให้้บริิษััทเราได้้กำำ�ไรมากขึ้้�น” ข้้อความนี้้�เป็็นสารชนิิดใด (ท. 3.1)
เฉลย 4. แสดงทรรศนะ
เหตุุผล “ผมไม่่คิิดว่่าการลงทุุนกัับสินิ ค้้าชนิิดนี้้จ� ะทำำ�ให้้บริษัิ ทั เราได้้กำ�ำ ไรมากขึ้้น� ” ข้้อความที่่�ขีีดเส้้นใต้้
เป็็นการแสดงทรรศนะ
18. ข้้อใดเป็็นการแสดงทรรศนะเกี่่�ยวกัับข้้อเท็็จจริิง (ท. 3.1)
เฉลย 4. บนดวงจัันทร์์น่่าจะมีีสิ่่�งมีีชีีวิิต
เหตุุผล ข้้อ 1 และ 5 เป็็นทรรศนะเกี่่ย� วกัับคุุณค่่า (ความเห็็นเกี่่ย� วกัับความดีี, ความงาม, ความไพเราะ
ข้้อ 2 และ 3 เป็็นทรรศนะเกี่่�ยวกัับนโยบาย (ความเห็็นประเภทข้้อเสนอ, ข้้อแนะนำำ�)
ข้้อ 4 เป็็นการสัันนิิษฐาน คาดคะเน ซึ่่�งจััดอยู่่�ในทรรศนะเกี่่�ยวกัับข้้อเท็็จจริิง
19. ข้้อใดต่่างจากพวก (ท. 3.1)
เฉลย 4. รััฐบาลควรรีีบดำำ�เนิินการเรื่่�องนี้้�โดยเร็็ว
เหตุุผล เนื่่�องจากข้้อนี้้�เป็็นสารแสดงทรรศนะ ในขณะที่่�ข้้ออื่่�นเป็็นสารที่่�บอกข้้อเท็็จจริิง
60

20. ข้้อความใดไม่่ใช่่การแสดงทรรศนะ (ท. 3.1)


เฉลย 5. ข้้าราชการพลเรืือนกระทำำ�ผิิดด้้วยวิินััยอย่่างร้้ายแรงให้้ลงโทษสถานหนััก
เหตุุผล ข้้อ 1, 2, 3 ให้้สัังเกตคำำ�ว่่า “ควร” ซึ่่�งเป็็นคำำ�ที่่�ใช้้เพื่่�อแสดงทรรศนะ ดัังนี้้�
ข้้อ 1 ครููพึึงให้้เกีียรติิครููด้้วยกััน (พึึง มีีความหมายเช่น่ เดีียวกัับ ควร)
ข้้อ 2 นัักเรีียนทุุกคนต่่างก็็ให้้ความเห็็นว่่าวิิชาภาษาไทยควรเป็็นวิิชาเลืือก
ข้้อ 3 เรื่่�องนี้้�เห็็นว่่าคุุณควรนำำ�มาประชุุมในการประชุุมวิิสามััญ
ข้้อ 4 ข้้าราชการครููเล่่นการพนัันน่่าจะถููกลงโทษสถานหนััก (น่่าจะ เป็็นคำำ�ที่่แ� สดงทรรศนะ)
21. ข้้อความต่่อไปนี้้�เป็็นการแสดงทรรศนะประเภทใด
“ข้้อมููลที่ไ�่ ด้้มาแสดงว่่า คนไข้้โรคประสาทมากกว่่าร้้อยละหกสิิบเป็็นผู้ที่้� มี�่ ฐี านะดีี ข้้าพเจ้้าจึึงมีีความเห็็นว่่า
สาเหตุุที่ค�่ นไทยเป็็นโรคประสาทถึึงหกแสนกว่่าคนในปีีนี้้มิ� ไิ ด้้เกิิดจากปััญหาเศรษฐกิิจแต่่เพีียงอย่่างเดีียว” (ท. 3.1)
เฉลย 3. แสดงทรรศนะเกี่่�ยวกัับข้้อเท็็จจริิง
เหตุุผล จากข้้อความได้้กล่่าวถึึงเหตุุการณ์์ที่่�เกิิดขึ้้�นจริิง ดัังนั้้�นข้้อนี้้�จึึงเป็็นการแสดงทรรศนะ
เกี่่�ยวกัับข้้อเท็็จจริิง
22. “ขี้้�ผึ้้�งน้ำำ��มัันไพลใช้้บรรเทาอาการเคล็็ดขััดยอก รัักษาส้้นเท้้าแตก บรรเทาอาการวิิงเวีียน” ข้้อความนี้้�มีี
ข้้อเท็็จจริิงตรงกัับข้้อใด (ท. 3.1)
เฉลย 3. ขี้้�ผึ้้�งนี้้มีีส่่ � วนผสมของไพล
เหตุุผล ขี้้�ผึ้้�งมีีส่่วนผสมของไพล ซึ่่�งไพลเป็็นสมุุนไพรที่่�ช่่วยบรรเทาอาการเคล็็ดขััดยอกและบรรเทา
อาการวิิงเวีียน
23. ผู้้�ใดควรระวัังในการพููดโต้้แย้้ง (ท. 3.1)
เฉลย 3. พริิบพราวพููดโต้้แย้้งด้้วยอารมณ์์ที่่�รุุนแรง
เหตุุผล ขณะพููดโต้้แย้้งควรหลีีกเลี่่�ยงการโต้้แย้้งด้้วยอารมณ์์ ขณะพููดแย้้งควรควบคุุมอารมณ์์
ของตนเองให้้ดีี
24. “การสอบเข้้ามหาวิิทยาลััย น่่าจะสอบครั้้�งเดีียวก็็พอ จะได้้ลดภาวะความเครีียดของเด็็ก สอบครั้้�งเดีียว
ก็็น่า่ จะตััดสิินได้้ เพราะเด็็กที่่�เก่่ง จะสอบกี่่ค� รั้้�งก็็ได้้คะแนนดีีทุุกครั้้�ง” ข้้อความข้้างต้้นเป็็นการแสดงความคิิดเห็็น
แบบใด (ท. 3.1)
เฉลย 4. แสดงความคิิดเห็็นโต้้แย้้ง
เหตุุผล การแสดงความคิิดเห็็นโต้้แย้้ง เป็็นการแสดงทรรศนะที่่�แตกต่่างกัันระหว่่างบุุคคล ๒ ฝ่่าย
ผู้้�แสดงทรรศนะต้้องพยายามหาเหตุุผล สถิิติิ หลัักการ อ้้างข้้อมููลและหลัักฐานต่่างๆ
มาสนัับสนุุนทรรศนะของตนให้้น่่าเชื่่�อถืือ และคััดค้้านทรรศนะของอีีกฝ่่ายหนึ่่�ง
61
25. ข้้อใดเป็็นคำำ�โต้้แย้้งที่่�เหมาะสมที่่�สุุด (ท. 3.1)
เฉลย 1. ผมมีีความเห็็นที่่�ต่่างจากคุุณ
เหตุุผล การโต้้แย้้งควรใช้้คำำ�สุุภาพและไม่่พููดจาด้้วยอารมณ์์ (ข้้อ 2, 3, 4 เป็็นการพููดโต้้แย้้ง
ที่่�ใช้้ภาษาไม่่เหมาะสม แทรกไปด้้วยอารมณ์์ที่่�ไม่่พึึงประสงค์์)
26. ข้้อความใดเป็็นความย่่อที่่�ได้้ความครบถ้้วนและกระชัับที่่�สุุด (ท. 2.1)
เฉลย 2. เมื่่�อเลืือกใช้้ถุุงพลาสติิกบรรจุุอาหาร ควรเลืือกถุุงใหม่่เนื้้�อเรีียบ มััน ไม่่มีีสีี และ
ต้้องเลืือกชนิิดของถุุงให้้เหมาะกัับประเภทของอาหารด้้วย
เหตุุผล ข้้อ 2 ใช้้ถ้้อยคำำ�ที่่�กระชัับและได้้ใจความครบถ้้วน ในขณะที่่�ข้้ออื่่�นระบุุข้้อมููลที่่�ไม่่ใช่่ส่่วน
ของใจความสำำ�คััญ
27. ชื่่�อเรื่่�องในข้้อใดเหมาะสมกัับบทความนี้้�มากที่่�สุุด (ท. 1.1)
ความเชื่่�อเป็็นสิ่่�งที่่�อยู่่�ควบคู่่�กัันกัับสัังคมไทยมาอย่่างยาวนาน หนึ่่�งในความเชื่่�อที่่�มีีอิิทธิิพลโดดเด่่นไม่่แพ้้
ความเชื่่อ� อื่่น� ๆ เลยก็็คือื ความเชื่่อ� เกี่่ย� วกัับไสยศาสตร์์ และวิิทยาคม ซึ่่�งเป็็นความเชื่่อ� ที่่�เกี่่ย� วข้้องกัับเรื่่อ� งราวลึึกลัับ
เหนืือธรรมชาติิ ที่่ไ� ม่่สามารถพิิสูจน์ ู ท์ ราบหรืือหาเหตุุผลอธิิบายได้้ด้ว้ ยวิิธีีการทางวิิทยาศาสตร์์ สำ�ำ หรัับความเชื่่อ�
เกี่่�ยวกัับไสยศาสตร์์และวิิทยาคมนี้้�มีีความโดดเด่่นมากถึึงขั้้�นที่่�มีีสำำ�นวนที่่�ว่่า “ไม่่ได้้ด้้วยเล่่ห์์ก็็เอาด้้วยกล
ไม่่ได้้ด้้วยมนต์์ก็็เอาด้้วยคาถา” แต่่สำำ�หรัับสัังคมไทยนั้้�นเรื่่�องความเชื่่�อไสยศาสตร์์มนต์์ดำำ�เป็็นที่่�ยอมรัับและ
ได้้ให้้ความสนใจกัันอย่่างแพร่่หลาย แม้้จะมีีผู้้�ออกมาต่่อต้้านบ้้างแต่่ก็็ไม่่เคยส่่งผลให้้ผู้้�ที่่�เชื่่�อและศรััทธานั้้�น
ลดลงเลยแม้้แต่่น้้อย อาจเป็็นเพราะความเชื่่�อเหล่่านั้้�นได้้ซึึมลึึกลงไปในจิิตใจของผู้้�คนมานานจนแก้้ไขอะไร
ไม่่ได้้แล้้ว
เฉลย 2. มนต์์ดำำ�กับค ั นไทย
เหตุุผล ชื่่� อ เรื่่� อ งไม่่ควรมีีความหมายที่่� ก ว้้ า งไป เช่่ น ความเชื่่� อ , เรื่่� อ งลึึกลัั บ เหนืื อ ธรรมชาติิ
ไสยศาสตร์์ นอกจากนี้้ค� วรตั้้ง� ชื่่อ� ให้้น่่าสนใจเพื่่�อดึึงดููดผู้้�อ่่านอีีกด้้วย ในข้้อนี้้ผู้� เ�้ ขีียนให้้ความหมาย
ของมนต์์ดำำ� หมายถึึง ความเชื่่�อเกี่่�ยวกัับไสยศาสตร์์ และวิิทยาคม ที่่�คนไทยมีีความเชื่่�อ
และศรััทธามาแต่่โบราณ ดัังนั้้�นชื่่�อเรื่่�องที่่�ดีีที่่�สุุดคืือ มนต์์ดำ�กั ำ ับคนไทย
28. จากข้้อ 27 ข้้อใดคืือใจความสำำ�คััญของบทความนี้้� (ท. 1.1)
เฉลย 5. ความเชื่่�อไสยศาสตร์์มนต์์ดำำ�เป็็นที่่�ยอมรัับของคนส่่วนมากในสัังคมไทย
เหตุุผล ตำำ�แหน่่งประโยคใจความสำำ�คััญคืือ “สำำ�หรัับสัังคมไทยนั้้�นเรื่่�องความเชื่่�อไสยศาสตร์์มนต์์ดำำ�
เป็็ นที่่� ย อมรัั บ และได้้ ให้้ ค วามสนใจกัั น อย่่างแพร่่หลาย แม้้ จ ะมีีผู้้ � อ อกมาต่่อต้้ า นบ้้ า ง
แต่่ก็็ไม่่เคยส่่งผลให้้ผู้�ที่่้ เ� ชื่่�อและศรััทธานั้้�นลดลงเลยแม้้แต่่น้้อย” สามารถสรุุปได้้ความหมาย
เดีียวกัับคำำ�ตอบ
61
62

ใช้บทความต่อไปนี้ตอบค�าถามข้อ 29-30
เรื่อง การออกก�าลังกายแบบแอโรบิก
(1) การออกกำ
การออกก��าลลังั กายแบบแอโรบิก คืคืออการออกก� การออกกำา�ลัลงั กายนานาชนิดทีทท่ี่ า��ำ ติดต่อกกันั เป็นเวลานานพอที่จะ
เวลานานพอทีจ่ ะ
กระตุน้ ให้
ให้รรา่ ่างกายใช้
ยกายใช้พพลัลังงงานจากกระบวนการสั
งานจากระบวนการสันนดาปออกซิดาปออกซิเจนเพิ
เจนเพิ่มม่ ขึขึ้นน้ กว่กว่าาปกติ
ปกติ จจนสามารถกระตุ
นสามารถกระตุ้น
ให้เกิดการพั
การพัฒฒนาอวันาอวัยยวะต่
วะต่าางๆงๆในร่
ในร่าางกาย
งกายได้ได้แก่แก่หัหัวใจ หลอดเลื
วใจ หลอดเลือด ปอด และกล้
อด ปอด และกล้ ามเนื ้อ ้อ
ามเนื
(2) การออกก�าลังกายแบบแอโรบิกมีองค์ประกอบที่ควรค�านึงถึง 3 ประการ คือ ความหนัก ความนาน
และความบ่อย ประการแรกความหนัก ไม่หนักมากจนท�าติดต่อกันเกิน 5 นาทีไม่ได้ แต่ก็ไม่เบา
จนไม่รสู้ กึ เหนือ่ ย ประการทีส่ องความนาน โดยทัว่ ไปถือว่าการปฏิบตั วิ นั ละ 10 นาที 6 ครัง้ ต่อสัปดาห์
จะได้ผลสมรรถภาพแอโรบิก แต่จะให้ได้ผลดีเต็มที่ ควรท�าถึงวันละ 20 – 30 นาที โดยนับรวมแล้ว
ไม่ตา�่ กว่า 60 นาทีตอ่ สัปดาห์ ประการสุดท้ายความบ่อย คือ อย่างน้อย 2 – 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์
29. ข้อใดเป็นใจความส�าคัญของย่อหน้าที่ 1 (ท. 1.1)
เฉลย 1. กำรออกก�ำลังกำยแบบแอโรบิก คือกำรออกก�ำลังกำยที่ท�ำให้ร่ำงกำยมีกระบวนกำร
เผำผลำญมำกกว่ำปกติ
เหตุผล ต�ำแหน่งของประโยคใจควำมส�ำคัญคือ “กำรออกก�ำลังกำยแบบแอโรบิก คือกำรออกก�ำลังกำย
นำนำชนิดทีท่ ำ� ติดต่อกันเป็นเวลำนำนพอทีจ่ ะกระตุน้ ให้รำ่ งกำยใช้พลังงำนจำกกระบวนกำร
สันดำปออกซิเจนเพิ่มขึ้นกว่ำปกติ” สำมำรถสรุปได้ควำมหมำยเดียวกับค�ำตอบ
30. ข้อใดเป็นความคิดหลักในย่อหน้าที่ 2 (ท. 1.1)
เฉลย 3. องค์ประกอบของกำรออกก�ำลังกำยแบบแอโรบิก
เหตุผล ต�ำแหน่งของประโยคใจควำมส�ำคัญคือ “กำรออกก�ำลังกำยแบบแอโรบิกมีองค์ประกอบที่
ควรค�ำนึงถึง 3 ประกำร”
31. ข้อใดเป็นใจความส�าคัญของข้อความต่อไปนี้
ความเครียดเป็นตัวการส�าคัญที่ท�าให้แก่เร็ว เพราะความเครียดท�าให้เพิ่มฮอร์โมนอะดรีนาลินในเลือด
ท�าให้หัวใจเต้นเร็ว เส้นเลือดบีบตัว กล้ามเนื้อตึง ระบบย่อยอาหารผิดปกติและเกิดอาการปวดหัว ปวดท้อง
ใจสั่น แข้งขาอ่อนแรง (ท. 1.1)
เฉลย 1. ควำมเครียดท�ำให้แก่เร็ว
เหตุผล ต�ำแหน่งของประโยคใจควำมส�ำคัญคือ “ควำมเครียดเป็นตัวกำรส�ำคัญที่ท�ำให้แก่เร็ว”
63
62

32. “มานีสาวหม้ายแห่งตำต��าบลหนองทรายเจ้าหล่อนมักจะใช้ความสวยท วามสวยทีมี่ ่ อี ยูน่ อ้ ยนิ


ยนิดดในการล่
ในการล่ออให้
ให้ผผชู้ ชู้ ายมาตอม
ายมาตอม
ได้มาก และใช้ทรัพย์สินที่ทีม่ ีเป็นตัวล่อได้มากที่
ากทีส่ ุด” จากข้
ุด” จากข้อความนี้นักเรียนคิ นคิดดว่ว่าา นํน�้าเสียงของผู้เขีขียยนตรงตาม
นตรงตาม
ข้อใด (ท.
ใด (ท. 1.1)
เฉลย 2. เสียดสี
เหตุผล สังเกตได้จำก “ใช้ควำมสวยทีม่ อี ยูน่ อ้ ยนิดในกำรล่อให้ผชู้ ำยมำตอมได้มำก” แสดงน�ำ้ เสียง
ที่เสียดสีของผู้พูด
33. “บรรยากาศแบบนี้ผมชักเสียวๆ แล้วซิ บอกตรงๆ เลยนะครับว่าคืนนี้ผมขอเปิดไฟนอนตลอดทั้งคืน
นะครับ ประตูหน้าต่างยิง่ ผุๆ เข้ากับบรรยากาศจริงๆ ผมคิดว่าคืนนีค้ งจะไม่เจอกับแขกทีไ่ ม่ได้รบั เชิญหรอก
นะครับ” แขกที่ไม่ได้รับเชิญ หมายถึงใคร (ท. 1.1)
เฉลย 3. ผี
เหตุผล สังเกตจำก “คืนนี้ผมขอเปิดไฟนอนทัง้ คืนนะครับ” แสดงว่ำเขำกลัวผี จึงไม่กล้ำปิดไฟนอน
ใช้บทความต่อไปนี้ตอบค�าถามข้อ 34-35
ยา ถือเป็นปัจจัย 4 ในการด�ารงชีวติ ของมนุษย์ ช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วยจากโรคหรือบาดแผลต่างๆ
ซึง่ ยาแต่ละชนิดก็มสี รรพคุณในการรักษาโรคทีแ่ ตกต่างกันไป ท�าให้ในการรักษาจึงต้องวินจิ ฉัยเพือ่ เลือกใช้ยา
ให้ถกู ต้องตามอาการเจ็บป่วย ซึง่ บางครัง้ การวินจิ ฉัยเลือกใช้ยาทีผ่ ดิ พลาดของแพทย์ อาจท�าให้ผปู้ ว่ ยไม่หายขาด
จากโรคและยังอาจท�าให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อีกด้วย แต่ในอนาคตปัญหาเรื่องเหล่านี้จะไม่เกิดขึ้นอีก ถ้าการ
สังเคราะห์ยาทีเ่ รียกว่า “ยาครอบจักรวาล” เป็นผลส�าเร็จ ยานีถ้ อื เป็นยาทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ มวลมนุษยชาติมากมาย
เพราะนอกจากจะสามารถรักษาได้ทุกโรคแล้ว ยังช่วยให้มนุษย์มีอายุที่ยืนยาวมากขึ้นอีกด้วย
34. ชื่อเรื่องในข้อใดเหมาะสมกับบทความนี้มากที่สุด (ท. 1.1)
เฉลย 3. ยำครอบจักรวำล
เหตุผล ชื่อเรื่องไม่ควรมีควำมหมำยที่กว้ำงหรือแคบจนเกินไป ดังเช่น ยำ ยำช่วยรักษำทุกโรค
และประโยชน์ของยำมีควำมหมำยที่กว้ำงไป ส่วนชื่อเรื่องว่ำ ยำรักษำมะเร็ง มีควำมหมำย
ที่แคบเกินไป นอกจากนี้ควรตั
นอกจำกนี้ควรตั้งชื่อให้น่าำสนใจอี
สนใจแก่กด้ผวู้อย่ำนอีกด้วย
35. ใจความส�าคัญของบทความนี้คือข้อใด (ท. 1.1)
เฉลย 5. ยำครอบจักรวำลช่วยรักษำทุกโรคและช่วยให้มีอำยุยืนยำว
เหตุผล ต�ำแหน่งของประโยคใจควำมส�ำคัญคือ “ยำนี้ถือเป็นยำที่มีประโยชน์ต่อมวลมนุษยชำติ
มากมายเพราะนอกจากจะสามารถรั
มำกมำย เพรำะนอกจำกจะสำมำรถรักกษาได้
ษำได้ททกุ กุ โรคแล้
โรคแล้ว ยัวงยัช่วยให้
มนุมษนุย์ษมย์อี มายุอี ำยุ
งช่วยให้ ทยี่ ทนื ยี่ ยาวมากขึ้น
นื ยำวมำก
อีกด้วย” ซึ่งเป็นประโยคใจความสำ�คัญหลักของบทความนี้
ขึ้นอีกด้วย” ซึ่งเป็นประโยคใจควำมส�ำคัญหลักของบทควำมนี้
64

36. ข้้อใดเป็็นใจความสำำ�คััญของบทความต่่อไปนี้้� (ท. 1.1)


“ภััยแผ่่นดิินไหวไม่่สามารถพยากรณ์์ล่ว่ งหน้้า และไม่่สามารถแจ้้งเตืือนภััยได้้ทัันทีี เมื่่�อเกิิดแผ่่นดิินไหว
จะก่่อให้้เกิิดความเสีียหายร้้ายแรงทั้้�งต่่อชีีวิิตและทรััพย์์สิิน ดัังนั้้�นเราควรรู้้�วิธีีิ เตรีียมการรัับมืือกัับเหตุุการณ์์
แผ่่นดิินไหวเพื่่�อบรรเทาความเสีียหายที่่�อาจเกิิดขึ้้�น”
เฉลย 5. ความจำำ�เป็็นในการเรีียนรู้้�วิธีีิ เตรีียมรัับมืือกัับเหตุุการณ์์แผ่่นดิินไหว
เหตุุผล ตำำ�แหน่่งของประโยคใจความสำำ�คััญคืือ “เราควรรู้้�วิิธีีเตรีียมการรัับมืือกัับเหตุุการณ์์
แผ่่นดิินไหว” ซึ่่�งเป็็นประโยคแสดงใจความสำำ�คััญ
37. ข้้อใดต่่อไปนี้้�เป็็นวสัันตดิิลกฉัันท์์ (ท. 4.1)
เฉลย 1. แสงดาววะวาวระกะวะวัับ ดุุจะดัับบเดนดวง
แขลัับก็็กลัับพิิภพรสรวง มิิสรพรึึบพะพราวเพรา
เหตุุผล ข้้อ 1 เป็็น วสัันตดิิลกฉัันท์์ ซึ่่�งมีีแบบแผนนํ้้�าหนัักเสีียง ดัังนี้้�
ครุุ/ครุุ/ลหุุ/ครุุ/ลหุุ/ลหุุ/ลหุุ/ครุุ ลหุุ/ลหุุ/ครุุ/ลหุุ/ครุุ/ครุุ
38. คำำ�ประพัันธ์์ใดเป็็นวิิชชุุมมาลาฉันั ท์์ (ท. 4.1)
เฉลย 1. ชาวสวนชาวนา หรรษาเบิิกบาน
ข้้าวปลาอาหาร สมบููรณ์์พููนผล
เหตุุผล ข้้อ 1 เป็็น วิิชชุุมมาลาฉัันท์์ โดยที่่�คำำ�ทุุกคำำ�เป็็นคำำ�ครุุ
ส่่วนข้้อ 2 และ 3 เป็็น วสัันตดิิลกฉัันท์์
39. “ไหนพ่่อจะช้ำำ��อุุระระทด อปยศและหมดหวััง” จััดเป็็นคำำ�ประพัันธ์์ประเภทใด (ท. 4.1)
เฉลย 1. วสัันตดิิลกฉัันท์์
เหตุุผล วสัันตดิิลกฉัันท์์ มีีแบบแผนน้ำำ��หนัักเสีียง ดัังนี้้�
ครุุ/ครุุ/ลหุุ/ครุุ/ลหุุ/ลหุุ/ลหุุ/ครุุ ลหุุ/ลหุุ/ครุุ/ลหุุ/ครุุ/ครุุ
40. คำำ�ประพัันธ์์นี้้�เป็็นฉัันท์์ประเภทใด (ท. 4.1)
บงเนื้้�อก็็เนื้้�อเต้้น พิิศเส้้นสรีีร์์รััว
ทั่่�วร่่างและทั้้�งตััว ก็็ระริิกระริิวไหว
เฉลย 2. อิินทรวิิเชีียรฉัันท์์ 11
เหตุุผล อิินทรวิิเชีียรฉัันท์์ 11 มีีแบบแผนน้ำำ�� หนัักเสีียง ดัังนี้้�
ครุุ/ครุุ/ลหุุ/ครุุ/ครุุ ลหุุ/ลหุุ/ครุุ/ลหุุ/ครุุ/ครุุ
65

41. “ระทึึกใจยามพิิศพิินิิจนาง” มีี ครุุ ลหุุ อย่่างละกี่่�คำำ� (ท. 4.1)


เฉลย 4. ครุุ 6 คำำ� ลหุุ 2 คำำ�
เหตุุผล คำำ�ครุุ ได้้แก่่ ทึึก, ใจ, ยาม, พิิศ, นิิจ, นาง
คำำ�ลหุุ ได้้แก่่ ระ, พิิ
42. ข้้อใดมีีคำำ�ลหุุ (ท. 4.1)
เฉลย 3. สละ
เหตุุผล คำำ�ลหุุ คืือคำำ�ที่่อ� อกเสีียงเบา ได้้แก่่ คำำ�ที่่ไ� ม่่มีีตััวสะกดและสระเสีียงสั้้�น
43. “คงไม่่ใช่่แต่่กะทิิคนเดีียวที่่�นอนไม่่หลัับ กะทิิย่่องลงบัันไดมาถึึงเรืือนเล็็ก และเห็็นน้้ากัันต์์นั่่�งอยู่่�ข้้างเตีียง
ของแม่่ น้า้ กัันต์์เป็็นคนเดีียวที่่�กะทิิไม่่เคยเห็็นแสดงอารมณ์์หรืือน้ำำ��ตา แต่่ในแสงสลััวของห้้องพัักคนเจ็็บ กะทิิเห็็น
ไหล่่ทั้้�งคู่่�ของน้้ากัันต์์สั่่น� สะท้้าน” ข้้อใดคืือความรู้้�สึกึ ของตััวละคร (ท. 1.1)
เฉลย 1. เสีียใจ
เหตุุผล ข้้ อ ความมาจากเรื่่� อ งความสุุขของกะทิิ โดยข้้ อ ความที่่� แ สดงว่่าตัั ว ละครมีีความรู้้ �สึึ ก
เสีียใจ สัังเกตจาก “........น้้ากัันต์์เป็็นคนเดีียวที่่�กะทิิไม่่เคยเห็็นแสดงอารมณ์์หรืือน้ำำ�� ตา แต่่ใน
แสงสลััวของห้้องพัักคนเจ็็บ กะทิิเห็็นไหล่่ทั้้�งคู่่�ของน้้ากัันต์์สั่่�นสะท้้าน” แสดงว่่าน้้ากัันต์์
กำำ�ลังั ร้้องให้้เศร้้าเสีียใจอยู่่�
44. ข้้อใดแตกต่่างจากข้้ออื่่�น (ท. 5.1)
เฉลย 4. นาคา
เหตุุผล ข้้อ 4 เป็็นชื่่�อเรืือ ส่่วนข้้ออื่่�นๆ เป็็นชื่่�อปลา
45. ข้้อใดให้้สาระต่่างกัับข้้ออื่่�น (ท. 5.1)
เฉลย 4. ยามสองฆ้้องยามย่ำำ� ทุุ � กคืืนค่ำำ�ย่ำ
� ��ำ อกเอง
เหตุุผล ข้้อ 4 แสดงวััฒนธรรมไทยเรื่่�องการนัับเวลา ส่่วนข้้ออื่่�น ๆ มีีสาระเกี่่�ยวกัับการแต่่งกาย
ของหญิิงสาว
46. ข้้อใดกวีีพููดถึึงชีีวประวััติิของตน (ท. 5.1)
เฉลย 1. ชายใดในแผ่่นดิิน ไม่่เหมืือนพี่่�ที่่ต� รอมใจ
เหตุุผล สัังเกตจากคำำ�พููดที่่�บ่่งบอกถึึงตััวเองคืือ “พี่่�”
66

47. ข้้อใดพรรณนาเนื้้�อหาแตกต่่างจากข้้ออื่่�น (ท. 5.1)


เฉลย 1. หางไก่่ว่่ายแหวกว่่าย หางไก่่คล้้ายไม่่มีีหงอน
เหตุุผล ข้้อ 1 พรรณนาเนื้้�อหาเกี่่�ยวกัับปลา ส่่วนข้้ออื่่�นๆ พรรณนาเนื้้�อหาเกี่่�ยวกัับเรืือ
48. จากเรื่่�องไตรภููมิิพระร่่วง “โลกของผู้้�ที่่�ยัังติิดอยู่่�ในกามกิิเลส” เป็็นความหมายในข้้อใด (ท. 5.1)
เฉลย 1. กามภููมิิ
เหตุุผล กามภููมิิ เป็็นแดนที่่�อยู่่ข� องผู้้�ที่่ยั� งั ข้้องแวะอยู่่ใ� นกาม มีีทั้้�งสิ้้น� 11 ภููมิิ ประกอบด้้วยอบายภููมิิ 4
และสุุคติิภููมิิ 7
- อบายภููมิิ 4 ได้้แก่่ นรกภููมิิ ติิรัจั ฉานภููมิิ เปตติิวิสิ ยาภููมิิ และอสุุรกายภููมิิ
- สุุคติิภููมิิ 7 ได้้แก่่ มนุุสสภููมิิ จาตุุมหาราชิิกาภููมิิ ดาวติิงสภููมิิ ยามาภููมิิ ตุุสิิตาภููมิิ
นิิมมานนรติิภููมิิ และปรนิิมมิิตวสติิภููมิิ
49. จากเรื่่�องไตรภููมิิพระร่่วง “โลกทั้้�ง 3” ประกอบด้้วยอะไรบ้้าง (ท. 5.1)
เฉลย 5. ไม่่มีีข้้อถููก
เหตุุผล โลกทั้้�ง 3 ประกอบด้้วย กามภููมิิ รููปภููมิิ อรููปภููมิิ

50. “อัันว่่านิิพพานสมบััติินี้้�สนุุกสุุขเขษมนัักหนาหาที่่�จะปานบ่่มิไิ ด้้เลย สมบััติิอินิ ทร์์พรหมทั้้�งหลายก็็ดีี ถ้า้ จะเอา


มาเปรีียบด้้วยสมบััติินิพิ พานนั้้�น ประดุุจเอาหิ่่�งห้้อยมาเปรีียบด้้วยพระจัันทร์์ ถ้า้ มิิดั่่ง� นั้้�นดุุจน้ำำ��อัันติิดอยู่่�ปลายผม
แลมาเปรีียบด้้วยน้ำำ��มหาสมุุทรอัันลึึกได้้ 84,000 โยชน์์ ผิบ่ิ มิ่ ดััิ งนั้้�นดุุจเอาดิินธุุรีีนั้้�นมาเปรีียบด้้วยเขาพระสุุเมรุุ
สมบััติิในนิิพพานนั้้�นสุุขพ้้นจะประมาณ” จากข้้อความกวีีต้้องการสื่่�อความหมายตามข้้อใด (ท. 5.1)
เฉลย 3. นิิพพานเป็็นความสุุขที่่�ยิ่่�งใหญ่่
เหตุุผล สัังเกตที่่�ประโยคแสดงใจความสำำ�คััญ คืือ “นิิพพานสมบััติินี้้�สนุุกสุุขเขษมนัักหนาหาที่่�จะ
ปานบ่่มิิได้้เลย..........................สมบััติิในนิิพพานนั้้�นสุุขพ้้นจะประมาณ”

You might also like