You are on page 1of 12

คู‹ มื อ

การปฏิบัติ
ตามมาตรฐานจีเอพี
มกษ. 7436–2563
สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ํา
เพื่อการบริโภค

.
¡Á»
กองพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานสินคŒาประมงและหลักฐานเพื่อการสืบคŒน TD
FCS
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ ¡Í§¾Ñ²¹ÒÃкº¡ÒÃÃѺÃͧÁÒμðҹÊÔ¹¤ŒÒ»ÃÐÁ§
áÅÐËÅÑ¡°Ò¹à¾×èÍ¡ÒÃÊ׺¤Œ¹
อาคารเชิดชาย อมาตยกุล ชั้น 5 กรมประมง เกษตรกลาง แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทรศัพท: 0 2579 7738 อีเมล: thacert@gmail.com
facebook: fisheriesthacert LINE line: 227ffebt
ทําไม? ตŒองเป
งเปลี
ปลี่ยนจาก จีเอพี ((GAP)
กรมประมง มาเปšน จีเอพี (GAP) มกษ.
GA

เดิมกรมประมงมีมาตรฐานการปฏิบตั ทิ างการเพาะเลีย้ งสัตวนา้ํ ทีด่ ี หรือ


มาตรฐาน จีเอพี (GAP) กรมประมง เปนมาตรฐานขั้นพื้นฐานเนนเรื่องอาหาร
ปลอดภัย (Food Safety)
แตเนือ่ งจากพระราชกําหนดการประมง พ.ศ. 2558 กําหนดใหกรมประมง
มี ห น า ที่ ส ง เสริ ม พั ฒ นา และแนะนํ า ตลอดจนให ก ารรั บ รองมาตรฐาน
สินคาเกษตรแกเกษตรกรผูเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา จึงไดมี มาตรฐาน จีเอพี (GAP)
มกษ. 7436–2563 (สําหรับฟารมเลีย้ งสัตวนา้ํ เพือ่ การบริโภค) ซึง่ เปนมาตรฐาน
สินคาเกษตรที่จัดทําขึ้นตามกฎหมายและหลักการสากล มุงเนนเรื่องการ
ควบคุมการผลิตที่มีคุณภาพ ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัยตอผูบริโภค
ซึ่งไมแตกตางจากมาตรฐาน จีเอพี (GAP) กรมประมง ดังนั้นเพื่อเปนการ
ลดความซ้ํ า ซ อ น กรมประมงจึ ง มุ ง เน น ส ง เสริ ม ให เ กษตรกรใช ม าตรฐาน
จีเอพี (GAP) มกษ. 7436–2563 และจัดทําคูมือฉบับนี้เพื่อเปนแนวทาง
ในการปรับเปลี่ยนจากมาตรฐาน จีเอพี (GAP) กรมประมง มาเปนมาตรฐาน
จีเอพี (GAP) มกษ. 7436–2563
2 คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค
มาตรฐาน มกษ. 7436–2563 การปฏิบตั ทิ างการเพาะเลีย้ งสัตวนาํ้
ที่ดีสําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค
เปนมาตรฐาน จีเอพี มกษ. ที่มีขอกําหนดครอบคลุมการผลิต เพื่อใหได
สัตวนาํ้ ทีม่ คี ณ
ุ ภาพและปลอดภัยตอผูบ ริโภค อีกทัง้ เปนมาตรฐานทีม่ คี วามใกลเคียง
กับมาตรฐาน จีเอพี กรมประมง
มกษ. 7436–2563 เหมาะกับสัตวน้ําเพื่อการบริโภค

สัตวนาํ้ ทุกชนิด ทัง้ สัตวนาํ้ จืดและสัตวนาํ้ ชายฝง เชน กุง ทะเล


ปลานิล ปลากะพง หอยทะเล ยกเวน จระเข สาหรายทะเล
1 กุง เครยพชิ เนือ่ งจากมีมาตรฐาน จีเอพี มกษ. เฉพาะสําหรับ
สัตวน้ําทั้ง 3 ชนิด

ครอบคลุมกิจกรรมการเลี้ยง ตั้งแต การเลี้ยง การจับ


จนถึงหลังการจับกอนการขนสงออกจากฟารม ซึ่งไมรวม 2
การเพาะพันธุและอนุบาล

สามารถเลี้ยงไดทั้งในบอและในแหลงน้ําสาธารณะ เชน
3 การเลี้ ย งกุ ง ก า มกรามในบ อ ดิ น หรื อ การเลี้ ย งปลานิ ล
ในกระชังบริเวณริมแมน้ํา

คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค 3


“จีเอพี กรมประมง เหมือน/แตกต‹าง
มกษ. 7436–2563
อย‹างไร?”

1. สถานที่
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ ฟารมตั้งอยูในบริเวณที่มีแหลงน้ํา
คุณภาพดี หางไกลจากแหลงกําเนิดมลพิษ เชน โรงงานอุตสาหกรรม พื้นที่
เกษตรกรที่ใชสารเคมี หากตั้งอยูในบริเวณแหลงกําเนิดมลพิษ ฟารมควรมี
มาตรการปองกัน มีคมนาคมสะดวก และมีสาธารณูปโภคเพียงพอ
มกษ. 7436–2563 มีขอกําหนดเพิ่ม โดยฟารมตองไมตั้งอยูในเขต
หามเลีย้ งตามกฎหมาย เชน ไมตง้ั อยูใ นเขตปาสงวน เขตอนุรกั ษของปาชายเลน
สําหรับกรณีกุงทะเล ตองเลี้ยงอยูในพื้นที่ที่ประกาศเปนเขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
ควบคุม มีเอกสารอนุญาตประกอบกิจการการเพาะเลีย้ งสัตวนา้ํ ควบคุม (จสค.)
และอยูในพื้นที่ที่ประกาศเปนเขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ําควบคุมโดยคณะกรรมการ
ประมงประจําจังหวัด

4 คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค


2. การจัดการการเลี้ยง
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ ฟารมมีการเตรียมบอตามหลักวิชาการ
กรองน้าํ กอนนําน้าํ เขาฟารมเพือ่ ปองกันพาหะและศัตรู มีระบบใหอากาศทีเ่ หมาะสม
ดูแลความสะอาดบริเวณเลี้ยงและอุปกรณอยางสม่ําเสมอ ใชอาหารสัตวน้ํา
ทีม่ กี ารขึน้ ทะเบียนและไมหมดอายุ อาหารสัตวนาํ้ และวัตถุดบิ ไมปนเปอ นยาสัตว
และสารหามใช กรณีผลิตอาหารสัตวน้ําใชเองตองผลิตอยางถูกสุขลักษณะ
ปลอดภัยตอสัตวน้ําและผูบริโภค และมีการจัดเก็บอยางถูกสุขลักษณะ

มกษ. 7436–2563 มีขŒอกําหนดเพิ่ม

ควรมีการสังเกตคุณภาพน้าํ หรือ
ตรวจคุณภาพน้าํ ทัง้ กอนนํามาใช
1 ในการเลีย้ งและระหวางการเลีย้ ง
6.07
อยางสม่ําเสมอ

ใชลูกพันธุที่มาจากฟารมที่ไดรับ
การรับรองมาตรฐาน จีเอพี หรือ
FMD
FMD
2 แหลงทีเ่ ชือ่ ถือได มีเอกสารกํากับ FMD
AFPD
AFPD
AFPD
การซือ้ –ขายลูกพันธุส ตั วนา้ํ หรือ
เอกสารแสดงแหลงที่มา

มีวิธีการจัดการใหอาหาร
อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
3 ให อ าหารในปริ ม าณที่
เหมาะสมกั บ ขนาดและ
ชนิดของสัตวน้ําที่เลี้ยง

คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค 5


3. การจัดการสุขภาพสัตวน้ํา
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ ฟารมควรมีการเฝาระวังและดูแล
สุขภาพสัตวนาํ้ ทีเ่ ลีย้ งอยางสม่าํ เสมอ เชน มีการสังเกต สุม ตรวจโรค เมือ่ สัตวนาํ้
มีอาการผิดปกติ ควรหาสาเหตุและปรับวิธกี ารจัดการเลีย้ งและสภาพแวดลอม
ใหเหมาะสม กอนจะใชยาและสารเคมี หากมีสัตวน้ําปวยตายมากผิดปกติ
หรือมีการระบาดของโรค เกษตรกรตองแจงเจาหนาที่ทราบเพื่อหาสาเหตุ
ซึ่งเกษตรกรตองมีการจัดการซากสัตวน้ําและน้ําทิ้งอยางถูกวิธี จดบันทึก
อาการผิดปกติที่พบพรอมวิธีแกไข รวมถึงการใชยาและสารเคมี

ïĆîìċÖÖćøĔßš÷ćÿĆêüŤĒúąÖćøøĆÖþć
ïîìÖÖćøĔß÷ćÿêüĒúąÖćøøÖ þćÿĆêüŤîĞĚć
(Veterinary
( i ddrugs andd Therapeutants)
The
h

Ĕßš÷ćÿĆêüŤ ĔßšÿćøđÙöĊ
ÿč×õćóÿĆêüŤîĞĚć ÝĞćîüî êøüÝüĉđÙøćąĀŤ
(÷ĊęĀšĂ, ÿćøÿĞćÙĆâ, (÷ĊĀę Ăš , ÿćøĂĂÖùìíĉ,ĝ
üĆîìĊę (úĆÖþèąĂćÖćø ÿĆêüŤîĞĚć ĀćÿćđĀêč
đú×ìąđïĊ÷î, ĂĆêøć đú×ìąđïĊ÷î Ēúą
ìĊęñĉéðÖêĉ) ìĊęðśü÷, êć÷ (ÿŠÜĀšĂÜĒúĘð øąïč)
ÖćøĔßšĒúąĔïÿĆęÜ÷ć) ĂĆêøćÖćøĔßš)

Āöć÷đĀêč : ïĆîìċÖĔîÖøèĊìĊęóïüŠćÿĆêüŤîĞĚćêć÷öćÖñĉéðÖêĉ ĀøČĂðśü÷ ĒúąöĊÙüćöÝĞćđðŨîĔîÖćøĔßš÷ćÿĆêüŤ/ÿćøđÙöĊ


ĔîÖćøøĆÖþćĔîøąĀüŠćÜÖćøđúĊĚ÷ÜÿĆêüŤîĞĚćïŠĂîĊĚ ìĆĚÜîĊĚ ĔĀšïĆîìċÖߊüÜđüúćìĊęöĊÖćøĔßšĔĀšúąđĂĊ÷é

6 คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค


4. การใชŒยาสัตว สารเคมี และผลิตภัณฑจุลชีพ
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ หามใชยาและสารเคมีที่หามใช
ตามกฎหมายกําหนด กรณีจําเปนตองใชเมื่อสัตวน้ําปวย ใหใชยาและสารเคมี
ที่อนุญาตใหใช ขึ้นทะเบียนถูกตองและปฏิบัติตามฉลากอยางเครงครัด
มกษ. 7436 มีขอกําหนดเพิ่ม
1. การใชยาและสารเคมี ใหใชตามวิธีการใชที่ระบุในฉลาก หรือตาม
คําแนะนําของสัตวแพทยหรือเจาหนาที่ของกรมประมง
2. กรณีมีการใชผลิตภัณฑจุลชีพ ใหใชที่มีการขึ้นทะเบียน และปฏิบัติ
ตามคําแนะนําการใชที่ระบุในฉลาก

ตัวอย‹างฉลากและเอกสารกํากับยาสัตว

Scan QR Code ดาวนโหลด


เอกสารเผยแพร‹การใชŒยาและสารเคมี

คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค 7


5. สุขลักษณะภายในฟารม
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ หองน้ําและหองสุขาถูกสุขลักษณะ
มีระบบน้าํ ทิง้ แยกจากระบบการเลีย้ งเพือ่ ปองกันการปนเปอ น มีการจัดการขยะ
และของเสียอยางเหมาะสม และเก็บรักษาปจจัยการผลิต วัสดุ อุปกรณตาง ๆ
อยางเหมาะสม เปนระเบียบและสะอาด

6. น้ําทิ้ง
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ
น้ําทิ้งต อ งมี คุ ณ ภาพตามเกณฑ ที่ ก ฎหมาย
กําหนด กอนมีการระบายออกนอกฟารม
มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้ง มาตรฐานควบคุมการระบายน้ําทิ้ง
จากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจืด จากการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากร‹อยและชายฝ˜›ง
บ‹อเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา บ‹อเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
ดัชนี หน‹วย พื้นที่บ‹อตั้งแต‹ 10 ไร‹ขึ้นไป ดัชนี หน‹วย พื้นที่บ‹อตั้งแต‹ 10 ไร‹ขึ้นไป
ความเปšนกรดและด‹าง (pH) – 6.5 ถึง 8.5 ความเปšนกรดและด‹าง (pH) – 6.5 ถึง 9.0
บีโอดี (Biochemical Oxygen ความเค็ม (Salinity) – –
mg/l ไม‹เกิน 20
Demand : BOD) บีโอดี (Biochemical
mg/l ไม‹เกิน 20
สารแขวนลอย (Suspended Oxygen Demand : BOD)
mg/l ไม‹เกิน 80
Solids : SS) สารแขวนลอย (Suspended
mg/l ไม‹เกิน 70
แอมโมเนีย (NH3+N) mg-N/l ไม‹เกิน 1.1 Solids : SS)
ฟอสฟอรัสรวม แอมโมเนีย (NH3+N) mg-N/l ไม‹เกิน 1.1
mg-P/l ไม‹เกิน 0.5
(Total Phosphorus) ฟอสฟอรัสรวม
mg-P/l ไม‹เกิน 0.4
ไนโตรเจนรวม (Total Phosphorus)
mg-N/l ไม‹เกิน 4.0
(Total Nitrogen) ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) mg/l ไม‹เกิน 0.01
สภาพการนําไฟฟ‡า ไนโตรเจนรวม
1 dS/m ไม‹เกิน 0.75 mg-N/l ไม‹เกิน 4.0
ที่ 25 องศาเซสเซียล (Total Nitrogen)

8 คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค


7. การจับและการปฏิบตั หิ ลังการจับก‹อนการขนส‹งออกจากฟารม
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ มีวธิ กี ารจับและการปฏิบตั หิ ลังการจับ
ที่เหมาะสม เชน ใชน้ําแข็งควบคุมอุณหภูมิ รักษาคุณภาพของสัตวน้ํา ผลผลิต
สัตวนา้ํ ตองไมพบสารตกคางเกินเกณฑทกี่ รมประมงกําหนด ในการซือ้ ขาย
สัตวน้ําทุกครั้งตองมีการออกหนังสือการจําหนายสัตวน้ํา (MD) และลูกพันธุ
สัตวนา้ํ (FMD) หรือเอกสารแสดงแหลงทีม่ า ซึง่ มีรายละเอียดตามทีก่ รมประมง
กําหนด ในกรณีกุงทะเลตองมีหนังสือกํากับการซื้อขายสัตวน้ํา และผลิตภัณฑ
ที่ไดจากการเพาะเลี้ยง (APPD) และหนังสือกํากับการซื้อขายลูกพันธุสัตวน้ํา
ที่ไดจากการเพาะเลี้ยง (AFPD) ทุกครั้งที่ซื้อ–ขาย ภาชนะและอุปกรณที่ใช
ควรสะอาด ถูกสุขลักษณะ อยูในสภาพพรอมใชงาน

8. ผูŒปฏิบัติงาน
มกษ. 7436–2563 มีขอ กําหนดเพิม่
ผูป ฏิบตั งิ านควรมีความรูใ นงานทีร่ บั ผิดชอบ
ไดรบั การฝกอบรม/สัมมนา หรือแลกเปลีย่ น
ขาวสารในกลุมเกษตรกรเกี่ยวกับการเพาะ
เลี้ยงสัตวนํา้ ยาสัตว สารเคมี สุขลักษณะ
ภายในฟารม รวมถึงกฎระเบียบที่เกี่ยวของ
คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค 9
9. การเก็บหลักฐานและการบันทึกขŒอมูล
เหมือนกับ จีเอพี กรมประมง คือ

(1) ฟารมตองมีการเก็บเอกสารหลักฐานทีส่ ามารถตรวจสอบได


ไดแก ทบ.1 จสค. MD FMD APPD AFPD บันทึกการใชยา/
สารเคมี

(2) ฟารมควรมีการบันทึกขอมูลตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการเลีย้ ง


อยางสม่ําเสมอและเปนปจจุบัน เชน คุณภาพน้ํา สุขภาพ
สัตวน้ํา บันทึกการตาย การใหอาหาร หรือหลักฐานอื่น ๆ
ที่เกี่ยวของกับการเลี้ยง และหลักฐาน/บันทึกฝกอบรม

มกษ. 7436–2563 มีขอ กําหนดเพิม่


ให มี ก ารเก็ บ รั ก ษาบั น ทึ ก ข อ มู ล เป น เวลา
ไมนอยกวา 3 ป

Scan QR Code ดาวนโหลด


สมุดบันทึกการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า

10 คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค


ที่มาและความสําคัญของมาตรฐาน
สินคŒาเกษตร
เครื่องหมายรับรองมาตรฐาน คือ เครื่องหมายที่ใชแสดงกับสินคา
เกษตรเพื่อเปนการรับรองเกี่ยวกับแหลงกําเนิด สวนประกอบ วิธีการผลิต
คุณภาพ หรือคุณลักษณะอืน่ ใดของสินคาเกษตร ซึง่ มีความสําคัญในการสือ่ สาร
ขอมูลไปยังผูบริโภคหรือผูซื้อ เพื่อใหเกิดการยอมรับ เชื่อมั่น และเชื่อถือตอ
สินคาเกษตรวามีมาตรฐาน คุณภาพ และความปลอดภัย

กษ XX XXXX XX XXX XXXXXX GAP 1 หมายถึง ชื่อผูประกอบการตรวจสอบมาตรฐาน


1 2 3 2 หมายถึง รหัสมาตรฐานสินคาเกษตร
ที่ใหการรับรอง
เครื่องหมายมาตรฐานทั่วไป 3 หมายถึง รหัสจังหวัด รหัสชนิดสินคา รหัสแปลง
มีลักษณะเปนรูปตัวอักษร Q สีเขียวทรงกลม ที่ไดรับการรับรอง

วิธีการใชŒและแสดงเครื่องหมายรับรอง
มาตรฐานสินคŒาเกษตร
เกษตรกรที่ไดรับการรับรองสามารถแสดง
ใบรับรองไดที่สถานประกอบการใหเห็นไดงาย
และชัดเจน โดยวางไวที่สินคาเกษตรหรือแสดง
ไวทสี่ งิ่ บรรจุ หีบหอ สิง่ หอหุม สิง่ ผูกมัดปายสินคา
หรือเอกสารโฆษณาประชาสัมพันธ
ตัวอย‹างใบรับรองมาตรฐาน
คู‹มือการปฏิบัติตามมาตรฐานจีเอพี มกษ. 7436–2563 สําหรับฟารมเลี้ยงสัตวน้ําเพื่อการบริโภค 11
ขั้นตอนการรับรอง
มาตรฐาน GAP มกษ. 7436
ระยะเ
วลา 8
เกษตรกรยื่นคําขอ 5 วั น ท
การรับรองมาตรฐานไดŒ 1 ําการ
ณ สํานักงานประมงจังหวัด
หรือศูนยฯ ในพื้นที่

ผูŒตรวจประเมินเขŒาตรวจประเมินฟารม
พรŒอมเก็บตัวอย‹างสัตวน้ําเพื่อตรวจ
วิเคราะหสารตกคŒาง

3 2
เจŒาหนŒาที่รับคําขอส‹งคําขอ
ผ‹านโปรแกรมมายัง กมป.

กมป. ออกใบรับรอง
ที่มเี ครื่องหมาย Q 5
ใหŒเกษตรกรและเผยแพร‹
ขŒอมูลผูŒ ไดŒรับการรับรอง 4
ผ‹านเว็บไซต คณะทํางานตัดสินการรับรอง
พิจารณาตัดสินการรับรอง

เอกสารประกอบการยื่นคําขอรับการรับรอง
• สําเนาทะเบียนฟารม • บัตรประจําตัวประชาชน
• หนังสือมอบอํานาจ • สําเนาทะเบียนบŒาน
(หากไม‹ใช‹เจŒาของฟารม) • แผนที่และแผนผังฟารม

You might also like