You are on page 1of 30

โรงพยาบาล

หากพบ potential donor กรุณาแจ้ง


ชือ่
โทร.
หรือ ศู น ย์ ร ับ บริ จ าคอวัย วะสภากาชาดไทย
08 1932 8542 , 08 1933 6957
คํานํา

ด้วยกระบวนการบริจาคอวัยวะมีความซับซ้อนและมีขนั ้ ตอนมากมาย เริม่ ตัง้ แต่


การพิจารณาหาผู้ท่ีคาดว่าจะบริจาคได้ การประเมินสภาพของผู้ป่วย การตรวจวินิ จฉัย
สมองตาย การให้ข้อ มูล และการเจรจาขอบริจ าคอวัย วะจากญาติ การจัด สรรอวัย วะ
การผ่า ตัด นํ าอวัย วะออก ตลอดจนการดูแ ลญาติแ ละร่า งผู้บ ริจ าคภายหลังการผ่า ตัด
เป็ นต้น ในแต่ละรายอาจจะมีการเรียงลําดับ ของกิจกรรมที่แตกต่ างกัน ผู้ปฏิบตั ิงานที่
เกีย่ วข้องจึงต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ ในเรือ่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการบริจาคและ
ปลูก ถ่ายอวัยวะเป็ นอย่างดี เพื่อให้ก ารประสานงานเป็ น ไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว
สามารถแก้ไขปั ญหาทีเ่ กิดขึน้ ได้ทนั ท่วงที กระบวนการบริจาคอวัยวะจึงสามารถดําเนินไป
ได้อย่างราบรื่น ญาติผบู้ ริจาคอวัยวะไม่รสู้ กึ ว่ามีความยุ่งยากหรือเป็ นภาระต่อครอบครัว
งานสามารถดําเนิ น ไปอย่างต่ อเนื่ อง อวัย วะสามารถนํ าไปปลูกถ่ ายให้แก่ ผู้รบั อวัยวะ
ภายในเวลาทีก่ าํ หนด ผลการปลูกถ่ายสําเร็จก่อให้เกิดชีวติ ใหม่ทม่ี คี ุณภาพชีวติ ทีด่ ี
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะฯ ได้จดั ทําคู่มอื การดูแลผู้บริจาคอวัยวะที่มภี าวะสมองตาย
และประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ เผยแพร่แก่โรงพยาบาลต่างๆ เพื่อใช้เป็ นแนวทาง
ในการดําเนินการเมือ่ มีผบู้ ริจาคอวัยวะสมองตาย ซึ่งเนื้อหาในคู่มอื ดังกล่าวมีรายละเอียด
ทุ ก ขัน้ ตอน รวมทัง้ เอกสาร แบบฟอร์ม ต่ า งๆ ซึ่ ง ในทางปฏิ บ ัติพ บว่ า ผู้ป ฏิบ ัติง าน
มีความยุง่ ยากในการค้นหาข้อมูลทีต่ อ้ งการอย่างเร่งด่วน ศูนย์ฯ จึงได้รวบรวมแนวปฏิบตั ิ
โดยสรุปของแต่ละขัน้ ตอน เพื่อให้บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านได้ใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน
ได้งา่ ยขึน้
ศูน ย์รบั บริจ าคอวัย วะฯ หวังว่ า ข้อ มูล ต่ า งๆ ในเอกสารนี้ จะเป็ นประโยชน์ ต่ อ
ผูป้ ฏิบตั งิ านไม่มากก็น้อย

คณะผูจ้ ดั ทํา
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
สิงหาคม 2556
สารบัญ
หน้ า
• คํานํา ............................................................................................................. 1
• เราสามารถพบผูป้ ่ วยสมองตายได้ทไ่ี หน ......................................................... 3
• ขัน้ ตอนการบริจาคอวัยวะ ............................................................................. 4
• การวินิจฉัยสมองตาย .................................................................................... 5
• การคัดเลือกผูบ้ ริจาคอวัยวะ ........................................................................... 9
• เหตุผลทีต่ อ้ งส่งตัวอย่างเลือด/ต่อมนํ้าเหลืองมาทีศ่ นู ย์รบั บริจาคอวัยวะ .......... 10
• การดูแลผูบ้ ริจาคอวัยวะ ............................................................................... 12
• แผนผังการประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ ................................................. 14
• การเจรจากับญาติเพือ่ ขอบริจาคอวัยวะผูป้ ่ วยสมองตาย ................................ 16
• การดูแลผูบ้ ริจาคอวัยวะและญาติภายหลังการบริจาคอวัยวะ .......................... 18
• การเดินทางของทีมผ่าตัดผูบ้ ริจาคอวัยวะ...................................................... 19
• การเตรียมห้องผ่าตัดและเครือ่ งมือ................................................................ 20
• การผ่าตัดผูบ้ ริจาคหลายอวัยวะและเนื้อเยือ่ ................................................... 22
• การบรรจุอวัยวะ .......................................................................................... 23
• การขอพระราชทานเพลิงเผาศพหรือดินฝั งศพผูบ้ ริจาคอวัยวะเป็ นกรณีพเิ ศษ 25
• เอกสารอ้างอิง .............................................................................................. 26
• สาระจาก ท่าน ว. วชิรเมธี ........................................................................... 27
• ผูบ้ ริหารและบุคลากรของศูนย์รบั บริจาคอวัยวะ ........................................... 28
• แผนทีศ่ นู ย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย .............................. ด้านในปกหลัง
เราสามารถพบผูป้ ่ วยสมองตายได้ที่ไหน

ผูป้ ่ วยที่อาจจะเป็ นผูบ้ ริจาคอวัยวะได้ (potential donor)


1. ต้องไม่รสู้ กึ ตัวและอยูใ่ นเครือ่ งช่วยหายใจ Glasgow Coma score E1M1VT
2. ไม่มกี ารติดเชือ้ รุนแรงทีอ่ าจติดต่อไปยังผูร้ บั อวัยวะได้
3. ไม่เป็ นมะเร็ง
4. อวัยวะยังทํางานได้ดี หรือใกล้เคียงปกติ
ขัน้ ตอนการบริจาคอวัยวะ
เมือ่ มีผปู้ ่ วยสมองตายทีอ่ าจจะบริจาคอวัยวะได้ (potential donor) ควรดําเนินการ
ดังนี้
1. ขออนุ ญาตแพทย์เจ้าของไข้เพือ่ ดําเนินการเรือ่ งการบริจาคอวัยวะ
2. ขอความร่วมมือแพทย์ในการวินิจฉัยสมองตายและแจ้งเรือ่ งสมองตายแก่ญาติ
3. เจรจากับญาติเพือ่ ขอรับบริจาคอวัยวะ
4. เตรียมข้อมูลผูป้ ่ วย: ประวัตกิ ารเจ็บป่ วย การรักษาในอดีต /ปั จจุบนั
ผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารฯลฯ (ตาม donor checklists)
5. ส่งตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารเพิม่ เติม ติดตามผล เพือ่ ประเมินการทํางานของอวัยวะ
6. ดูแลผูบ้ ริจาคอวัยวะให้อวัยวะอยูใ่ นสภาพทีเ่ หมาะสมสําหรับปลูกถ่าย
7. ส่งตัวอย่างเลือด ต่อมนํ้าเหลืองมายังศูนย์รบั บริจาคอวัยวะเพือ่ คัดกรองการ
ติดเชือ้ และตรวจหาชนิดของเนื้อเยือ่ (HLA typing)
8. เตรียมห้องผ่าตัด บุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ านในห้องผ่าตัด สําหรับผ่าตัดนําอวัยวะออก
9. ดูแลและอํานวยความสะดวกแก่ญาติในการรับร่างกลับไปประกอบพิธที างศาสนา

กระบวนการบริจาคอวัยวะของผู้ป่วยแต่ ละรายมีระยะเวลาที่ แตกต่ างกัน


เมื่อศูนย์รบั บริจาคอวัยวะฯ ได้รบั ข้อมูลผู้บริจาคอวัยวะ จะต้ องส่งต่ อข้อมูลนี้
ไปยัง โรงพยาบาลที่ ทํา การปลู ก ถ่ า ยอวัย วะ และจัด สรรอวัย วะตามเกณฑ์ ฯ
ในระหว่างนี้ จะประสานงาน การเตรียมห้องผ่าตัด/เวลาผ่าตัด และการเดินทาง
เพื่อให้สามารถนําอวัยวะไปปลูกถ่ายให้แก่ผรู้ ออวัยวะได้รวดเร็วที่สดุ

4 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
การวินิจฉัยสมองตาย

สมองตาย (brain death) หมายถึง การที่แกนสมองถูกทําลายจนสิ้นสุด


การทํางานโดยสิ้นเชิงตลอดไป (the irreversible cessation of brainstem function)
แพทยสภาได้ออกหลักเกณฑ์และวิธกี ารวินิจฉัยสมองตายพร้อมด้วยภาคผนวกทีม่ ี
ข้อแนะนําการวินิจฉัยสมองตายและการดูแลผูป้ ่ วยเพือ่ การบริจาคอวัยวะไว้ดว้ ยสําหรับ
ข้อสําคัญทีค่ วรทราบ มีดงั นี้
1. การวินิ จ ฉั ย สมองตายให้ ก ระทํ า โดยแพทย์ ไ ม่ น้ อ ยกว่ า 3 คน และต้ อ งไม่
ประกอบด้วยแพทย์ผู้ทําการผ่าตัดปลูกถ่ายอวัยวะรายนัน้ หรือแพทย์ท่ดี ูแลผู้ป่วยที่
ต้องการอวัยวะไปปลูกถ่ายหากมีขอ้ สงสัยให้ปรึกษาแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านระบบประสาท
2. แพทย์ ผู้ดูแ ลผู้ป่ วยสมองตายที่อ ยู่ ในข่ า ยเป็ นผู้บ ริจ าคอวัย วะได้ ควรตรวจ
วินิจฉัยสมองตายและแจ้งให้ญาติทราบ เมื่อครบตามเกณฑ์ แนะนํ าให้บริจาคอวัยวะ
โดยให้พบกับผูป้ ระสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะของโรงพยาบาล
3. ผู้อํ า นวยการโรงพยาบาลหรือ ผู้ไ ด้ ร ับ มอบหมาย จะต้ อ งร่ ว มเป็ นผู้ร ับ รอง
การวินิจฉัยสมองตายและเป็ นผูล้ งนามรับรองการตาย
4. ต้องตรวจผูป้ ่ วย 2 ครัง้ โดยครัง้ ที่ 1 ไม่ต้องทํา apnea test ทําเฉพาะการตรวจ
ครัง้ ที่ 2 ให้มรี ะยะห่างกันดังตารางด้านล่าง กรณีทํา apnea test ไม่ได้ใช้การตรวจอื่น
ยืนยันได้
อายุผปู้ ่ วย ระยะห่าง การตรวจยืนยัน
< 7 วัน ใช้เกณฑ์น้ีไม่ได้ -
7 วัน - 2 เดือน 48 ชัวโมง
่ electroencephalography
2 ครัง้ ห่างกัน 48 ชัวโมง

2 เดือน - 1 ปี 24 ชัวโมง
่ electroencephalography
2 ครัง้ ห่างกัน 24 ชัวโมง

> 1 ปี 6 ชัวโมง
่ กรณีไม่สามารถทดสอบ apnea test
อาจตรวจ cerebral angiography
หรือ isotope brain scan ได้
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 5
Apnea testing recommended guidelines

1. ดูแลให้ SBP ≥ 90 mmHg, BT ≥ 36º C, PaCO2 ≥ 40 mmHg


2. Pre-oxygenation: FiO2 = 1.0, tidal volume = 10 ml/kg,
respiratory rate 10 ครัง้ /นาที เป็ นเวลา 30 นาที
3. เจาะ arterial blood gas (ABG) baseline ให้ PaCO2 ≥ 40 mmHg,
PaO2 > 200 mmHg
4. หยุดเครือ่ งช่วยหายใจและสอดสายยางผ่าน endotracheal tube
เข้าไปในหลอดลมเหนือ carina ให้ O2100 % rate 6 L/min เป็ นเวลา
นาน 10 นาที
5. สังเกตว่าไม่มกี ารเคลือ่ นไหวของทรวงอกและหน้าท้อง ขณะหยุด
เครือ่ งช่วยหายใจ (apnea test positive)
6. เจาะ ABG: PaCO2 ≥ 60 mmHg หรือมีคา่ เพิม่ มากขึน้ กว่าค่าปกติ
20 mmHg
7. ต่อเครือ่ งช่วยหายใจทันทีเมือ่ มี arrythmia, BP ลดลง แม้วา่ เวลา
หยุดเครือ่ งช่วยหายใจยังไม่ถงึ 10 นาที และเริม่ ต้นการทดสอบใหม่
ห่างจากครัง้ แรกอย่างน้อย 2 ชัวโมง่

“การบริจาคอวัยวะ ไม่ทาํ ให้ผป้ ู ่ วยเสียชีวิต


การเสียชีวิตของผูป้ ่ วยทําให้เกิด การบริจาคอวัยวะ วะ””

6 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
ปัญหาที่อาจจะทําให้ไม่สามารถวินิจฉัยสมองตายได้
ปัญหา ผลลัพธ์ การแก้ปัญหา
1. Hypothermia Decreased CO2 production - keep warm BT ≥ 36º C
Arrythmia
2. Hemodynamic instability BP drop - increase IV fluid
- give colloid solution
3. Electrolyte imbalance Arrythmia - IV fluid add KCl, MgSO4
- keep urine output ≤ 300 ml/hr
4. Arrythmia cardiac arrest - correct electrolyte imbalance
keep warm
- decrease inotrope
5. PaCO2 < 60 mmHg inadequate stimuli for - check baseline ABG
spontaneous respiration - decreased RR 3-4 ครัง้ /นาที
6. Hypoxia BP drop, cardiac arrest - pre-oxygenation,
- give O2 via a tube over carina
7. Spinal reflex Misinterpretation - ตรวจ motor response บริเวณ
ใบหน้าเท่านัน้

การตายของบุคคล*
หมายความว่า
บุคคลอยู่ในสภาวะที่ระบบการไหลเวียนเลือด และระบบการหายใจหยุดทํางาน
โดยไม่สามารถกลับคืนได้อีก หรืออยู่ในสภาวะสมองตาย
คือ การที่แกนสมองถูกทําลายจนสิ้นสุดการทํางานโดยสิ้นเชิงตลอดไป

*ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 3)
ประกาศ ณ วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2551

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 7
ข้อสงสัยที่พบบ่อย
1. ผูใ้ ดควรเป็ นผูแ้ จ้งแก่ญาติว่าผูป้ ่ วยมีภาวะสมองตาย และแจ้งเมื่อใด
• แพทย์ทท่ี าํ การรักษาผูป้ ่ วยเป็ นผูแ้ จ้งให้ทราบตัง้ แต่เมือ่ ครบเกณฑ์สมองตาย
และแจ้งยืนยันอีกครัง้ เมือ่ การทํา apnea test positive
2. แพทย์ผใู้ ห้การรับรองตรวจภาวะสมองตายอีก 2 คนจําเป็ นต้องตรวจซํา้
ตามขัน้ ตอนทัง้ หมดหรือไม่
• การตรวจ brainstem reflexes เป็ น clinical check lists สามารถทําในเวลาใดก็ได้โดย
แพทย์ 3 คน
• การตรวจ apnea test ให้กระทําโดยแพทย์ทา่ นใดท่านหนึ่งทีร่ ว่ มรับรองตรวจภาวะ
สมองตาย
3. ผูป้ ่ วยขยับแขนขาได้เมื่อกระตุ้น หลังจากรับรองภาวะสมองตายแล้ว
• เป็ น spinal reflex ควรให้ muscle relaxants ระหว่างเคลือ่ นย้ายผูป้ ่ วย
หรือในระหว่างผ่าตัดนําอวัยวะออก
4. การลงเวลาตาย ควรเป็ นเมื่อไร
• ใช้เวลาตรวจวินิจฉัยครัง้ ที่ 2 เมือ่ ผล apnea test positive
5. กระบวนการทดสอบภาวะสมองตายโดยเฉพาะการตรวจ apnea test
ทําอันตรายผูป้ ่ วยหรือไม่
• การทํา apnea test เป็ นการตรวจขัน้ ตอนสุดท้าย
• ตราบใดทีไ่ ม่เกิด hypoxia หรือ BP ลดลงระหว่างการตรวจ จะไม่ทาํ ให้เกิด
อันตรายมากขึน้
6. โรงพยาบาลไม่มีแพทย์ประสาทวิทยาหรือประสาทศัลยแพทย์สามารถวินิจฉัย
และดูแลผูป้ ่ วยสมองตายได้หรือไม่
• แพทย์ทุกคนสามารถตรวจวินิจฉัยสมองตายได้

8 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
การคัดเลือกผู้บริจาคอวัยวะ
สาเหตุหลักการเสียชีวิตของผูบ้ ริจาคอวัยวะ
1. Cerebral trauma 2. Intracranial hemorrhage
3. Cerebrovascular accidents (CVA) 4. Primary brain tumor (No VP shunt)
5. Suicide (gun shot, hanging)
6. Brain hypoxia จาก respiratory & cardiac arrest เช่น drowning, seizure etc.
คุณสมบัติของ Potential donor
• on ET-tube ใช้เครือ่ งช่วยหายใจอยูใ่ นโรงพยาบาล
• Glasgow Coma Score E1M1VT (2T) with no reflex
• No sepsis, No malignancy, NO HIV positive
• Brain death diagnosis
• Family consent
Potential donor screening
1. ตรวจสอบประวัตกิ ารเจ็บป่ วยในอดีต และปั จจุบนั การรักษา จากแฟ้ มประวัติ
ผูป้ ่ วยใน และ OPD card ของผูป้ ่ วย
2. ประวัตอิ น่ื ๆ เช่น โรคประจําตัว ประวัตกิ ารผ่าตัด อาชีพ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การเบีย่ งเบนทางเพศ การได้รบั เลือดโรคติดต่ออืน่ ๆ และการดืม่ เหล้า
สูบบุหรี่ ระบุจาํ นวนและความถี่ การใช้ยาเสพติด
3. ปรึกษากับแพทย์เจ้าของไข้เกีย่ วกับประเด็นโรคต่างๆ ทีส่ งสัย
4. Laboratory screening& imaging studies :-
4.1 Infectious markers: HIV Ab, HBsAg, HBcAb, HBsAb, HCV Ab,
syphilis, HIV Ag
4.2 Blood chemistry: blood sugar, BUN, Cr, electrolyte, LFT,
4.3 Coagulation study: INR, PT, PTT
4.4 Hematology: Blood group ABO, CBC

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 9
4.5 Urinalysis
4.6 การตรวจอืน่ ๆ: chest x-ray, EKG, arterial blood gas, hemo c/s,
urine c/s, sputum c/s
4.7 Special investigation: Plain KUB, abdominal ultrasonography
5. ขนาดของผูบ้ ริจาคอวัยวะ : นํ้าหนัก ส่วนสูง
: รอบอก (วัดผ่าน nipple)
: รอบท้อง (วัดผ่าน xiphoid)
เหตุผลที่ต้องส่งตัวอย่างเลือด/ต่อมนํ้าเหลือง มาที่ศนู ย์รบั บริจาคอวัยวะ
1. ศูนย์ฯ จะตรวจหา HIV, HBV, HCV อีกครัง้ ด้วยวิธี NAT (Nucleic Acid
Amplification Testing)
2. เพือ่ ใช้ในการตรวจ HLA typing สําหรับจัดสรรไต
3. ส่วน lymph nodeหรือspleen จะนําไปแยกเอา lymphocyte สําหรับทดสอบ
HLA crossmatching
ดังนัน้ กรณีทย่ี งั ไม่ได้ผา่ ตัดผูบ้ ริจาคอวัยวะ หากโรงพยาบาลสามารถตัด lymph
node ส่งมายังศูนย์ฯได้ จะทําให้ทราบผล HLA crossmatching เร็วขึน้ แพทย์สามารถ
ปลูกถ่ายไตได้รวดเร็วขึน้ ช่วยลด cold ischemic time จึงเกิดผลดีต่อการปลูกถ่ายไต
4. เพือ่ ส่งตรวจพิเศษอื่นๆเช่น HIV Ag, CMV IgG, CMV IgM ฯลฯ

Clotted blood 20 ml repeat infectious markers,


EDTA blood 24 ml (serology, NAT),
HLA typing

Lymph node
HLA crossmatching
3-5 nodes

**เขียน ชื่อ- สกุล ผู้ป่วย ติดที่หลอดเลือดทุกหลอด

10 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
การบรรจุ
ตัวอย่างเลือด - มัดหลอดเลือดรวมกัน นําใส่ถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น
ต่อมนํ้าเหลือง - ใส่ขวด หรือถุงพลาสติก แช่ใน NSS ปิ ดให้แน่น
ไม่ต้องแช่นํ้าแข็ง นําทัง้ หมดใส่กล่องกระดาษ, กล่องโฟม หรือภาชนะทีเ่ หมาะสม
(ใส่กระดาษในกล่องเพือ่ กันกระแทก) ปิ ดภาชนะทีบ่ รรจุให้แน่น
สําหรับการส่งทางสายการบิน
ขอให้บรรจุใส่กล่องโฟม
ทุกครัง้
จ่าหน้ าถึง
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
อาคารเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระญาณสังวรฯ ชัน้ 5
ถนนอังรีดนู งั ต์ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร. 08 4361 2343, 08 1932 8542, 08 1933 6957
การจัดส่ง
เลือกช่องทางทีส่ ะดวกและรวดเร็วทีส่ ดุ เช่น
1. สายการบินพาณิชย์ เช่น การบินไทย นกแอร์
1.1 ประสานงานกับศูนย์รบั บริจาคอวัยวะฯ แจ้งเทีย่ วบิน วัน เวลา ทีจ่ ดั ส่ง
1.2 ศูนย์ฯ ทําหนังสือขอความอนุ เคราะห์สง่ ให้กบั โรงพยาบาล เพือ่ นําส่งพร้อม
ตัวอย่างเลือด
1.3 นําส่งทีส่ นามบินกับเจ้าหน้าทีส่ ายการบิน เป็ นส่งการประเภท care of purser
ก่อนเวลาเครือ่ งออกประมาณ 1 ชัวโมง ่
2. รถตู้ รถทัวร์แจ้งข้อมูล
2.1 เบอร์ตดิ ต่อท่ารถปลายทาง
2.2 ชื่อและเบอร์โทรติดต่อพนักงานขับรถ
2.3 สถานีปลายทางและเวลาทีร่ ถจะถึงจุดหมาย

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 11
การดูแลผู้บริจาคอวัยวะ
ผู้ป่ วยสมองตายมีก ารเปลี่ย นแปลงของร่า งกายหลายระบบ การดูแ ลรัก ษาที่ดี
จะทําให้ได้อวัยวะที่มคี ุณ ภาพ ส่งผลต่อการทํางานของอวัยวะเมื่อนํ าไปปลูกถ่ายให้
ผูร้ บั อวัยวะ
สิง่ ทีต่ อ้ งการในการดูแลผูบ้ ริจาคอวัยวะทีเ่ หมาะสม คือ
• BP systolic ≥100 mmHg
• CVP 5-10 cmH2O
• urine output >30 ml/hr
• body temperature ≥36°c
ปัญหาที่พบบ่อย
ปัญหา/สาเหตุ การดูแลรักษา
Hypotension
- Neurogenic shock - IV Fluid resuscition
- Hypovolemia - Inotropic support :-
- Diabetes insipidus (DI) - Dopamine < 12 µg/kg/min
- Fluid restriction - Dobutamine < 15 µg/kg/min
- Epinephrine< 0.1 µg/ Kg/min
- Norepinephrine< 0.2 µg/ Kg/min
Polyuria
- Pituitary,Hypothalamic dysfunction - Fluid replacement
- Lack of antidiuretic hormone - DDAVP 0.3 µg/kg IV
(ถ้าไม่ม ี ให้ Vasopressin 0.1 u/min)
- Correct electrolyte imbalance
- CVP of 6-10mmHg (5-10 cm H2O)
- Inotropic support
12 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
ปัญหา/สาเหตุ การดูแลรักษา
Hypothermia
- Loss of central temperature - Monitoring body temperature
regulation - Keep warm :-
- ห่มผ้าอุน่
- ให้สารนํ้าทีอ่ นุ่
- เพิม่ อุณหภูมหิ อ้ ง
Fluid and electrolyte imbalance
- Polyuria - Fluid replacement (crystalloid ± colloid)
- Metabolic acidosis - Correct electrolyte imbalance
Keep Na < 155 mEq/L, K > 3.5 mEq/L
Anemia
- Injury - PRC replacement or blood transfusion
keep Hct > 25%
- Fluid replacement
Infection
- Prolonged ventilation - Strict aseptic conditions
- Trauma - urine c/s, sputum c/s and hemo c/s
- Prophylaxis broad spectrum antibiotics
Arrhythmia
- Electrolyte imbalance - Monitor EKG
- CNS injury - Drug treatment in cardiac arrhythmia
- Acid base abnormality Beta blocker: isoproterenol, epinephrine
- Hypothermia - แก้ไขภาวะ hypokalemia, hypocalcemia,
hypomagnesemia, hypernatremia และ
ภาวะ hypothermia
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 13
แผนผังการปฏิบัติงานเมื่อมีผูบริจาคอวัยวะสมองตาย
Identify potential donor
โดยแพทยเจาของไขหรือพยาบาลประจําหอผูปวย

แจงผูประสานงานการปลูกถายอวัยวะ (Transplant coordinator)

แจงแพทยเพือ่ วินิจฉัยสมองตายตามเกณฑแพทยสภา

ยินยอมบริจาคอวัยวะ ขอบริจาคอวัยวะจากญาติ ไมยนิ ยอมบริจาคอวัยวะ

ญาติลงนามในใบยินยอมบริจาคอวัยวะ ดูแลผูปวยและญาติ

แจงผูประสานงานการปลูกถายอวัยวะ ของศูนยรับบริจาคอวัยวะฯ
โทร. 08 1932 8542 , 08 1933 6957

แจงคณะแพทยทดี่ ูแลผูบริจาคอวัยวะ ศูนยรับบริจาคอวัยวะจัดสรรอวัยวะ เจาะเลือดและตัด lymph node


- ประเมินผูบริจาคอวัยวะ แตละอวัยวะตามสถานะของผูร ออวัยวะ สงมายังศูนยรับบริจาคอวัยวะฯ
และตามลําดับของทีมผาตัด - clotted blood 20 ml
: chest X-ray, EKG, laboratory ฯลฯ
- EDTA blood 24 ml
- รักษาอวัยวะใหอยูในสภาพที่เหมาะสม
คณะแพทยที่รักษาผูรออวัยวะ - lymph node 3-5 nodes ใสใน
: BP systolic 100 mmHg NSS หรือ transport media
: CVP 5-10 cmH2O กรณีปลูกถายหัวใจ/ปอด หรือตับ
- คัดเลือกผูร ออวัยวะที่เหมาะสม
: urine output (>30 cc/hr)
- เตรียมผูรออวัยวะเขาอยูโรงพยาบาล หองปฏิบัติการเนื้อเยือ่ ตรวจ
: body temperature (36c) เพื่อรับการปลูกถายอวัยวะ infectious markers, HLA typing
และเลือกผูรอไตตามเกณฑ
กําหนดเวลาทําผาตัดนําอวัยวะ โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร

ผาตัดผูบริจาคอวัยวะ หองปฏิบัติการเนื้อเยือ่ ตรวจ


(donor operation) HLA crossmatching เพื่อจัดสรรไต

ประเมินอวัยวะตางๆ กรณีปลูกถายหัวใจ/ปอด หรือตับ แจงผล HLA crossmatching


สามารถนําไปปลูกถายได อาจเริม่ การผาตัดผูรออวัยวะ แก รพ.ที่ไดรับการจัดสรรไตให

ผาตัดนําอวัยวะออกจากผูบริจาค ทีมผาตัดเก็บรักษาอวัยวะใหเหมะสม นําอวัยวะบริจาคมาปลูกถายใหแก


(organ retrieval) เพื่อเตรียมปลูกถายใหผูรออวัยวะ ผูรออวัยวะ (organ transplant)

แจงผลการปลูกถายอวัยวะ
สนับสนุนและอํานวยความสะดวกแกญาติผูบริจาค สนับสนุนโรงพยาบาลที่มีผูบริจาคอวัยวะ มายังศูนยรับบริจาคอวัยวะฯ
1. จัดหาโลงศพและรถสงศพไปยังสถานที่บําเพ็ญกุศล - คาใชจายในการดูแลผูบริจาคอวัยวะ
2. มอบหรีดเคารพศพ - ใชจายในการผาตัดนําอวัยวะออก
3. มอบเกียรติบัตรสภากาชาดไทย เชิดชูความดี จัดลําดับในการจัดสรรอวัยวะ
ผูบริจาคอวัยวะ ครั้งตอไป
4. ขอพระราชทานเพลิงเผาศพ
5. มอบสมาชิกกิตติมศักดิ์สภากาชาดไทยแกทายาท 1 คน

หมายเหตุ 1. โรงพยาบาลสามารถแจงผูบริจาคอวัยวะมายังศูนยรับบริจาคอวัยวะได ตัง้ แต Identify potential donor ได


2. ทีมผาตัดจะตองนํา spleen ออกเพื่อนํามาใชในการทํา HLA crossmatching เพื่อการจัดสรรอวัยวะดวย
การเจรจากับญาติเพื่อขอบริจาคอวัยวะผูป้ ่ วยสมองตาย
การเตรียมเจรจา
ผูเ้ จรจาต้องเตรียมพร้อมก่อนการเจรจาขอบริจาคอวัยวะจากญาติ และต้องตรวจสอบ
ให้มนใจเกี
ั่ ย่ วกับเรือ่ งต่อไปนี้
1. แพทย์เจ้าของไข้ได้แจ้งกับญาติถงึ ผลการรักษาและภาวะสมองตายแล้ว
2. แพทย์เจ้าของไข้อนุ ญาตให้เจรจาขอบริจาคอวัยวะกับญาติได้
3. ทราบรายละเอียดและประวัตกิ ารรักษาของผูเ้ สียชีวติ
4. ญาติพร้อมทีจ่ ะเจรจาด้วย
5. ญาติทจ่ี ะเจรจาด้วยเป็ นผูม้ อี าํ นาจตัดสินใจและลงนามยินยอมบริจาคอวัยวะ
6. เตรียมใบยินยอมบริจาคอวัยวะ และข้อมูลทีส่ ามารถสนับสนุ นการเจรจา
ขอบริจาคอวัยวะ
7. จัดสถานทีใ่ ห้พร้อม เหมาะสม
หากผูป้ ่ วยมีบตั รบริ จาคอวัยวะ
จะช่วยให้ญาติ ตดั สิ นใจบริ จาคอวัยวะได้มากขึน้
สามารถสอบถามศูนย์รบั บริ จาคอวัยวะฯ ได้ว่า
ผู้ป่ วยมี บ ตั รบริ จ าคอวัย วะหรื อ ไม่
การเจรจาขอบริจาคอวัยวะ
1. เจรจาขอบริจาคอวัยวะหลังจากแพทย์แจ้งอาการ สาเหตุการเสียชีวติ และ
ผลการรักษาของผูป้ ่ วยแก่ญาติแล้ว
2. สอบถามข้อมูลอืน่ ทีจ่ ะเป็ นประโยชน์ เช่น บุคลิกลักษณะส่วนตัวทีม่ คี วามโอบอ้อม
อารี ช่วยเหลือผูอ้ น่ื ทําบุญ เพือ่ ให้ญาติเห็นด้วยและยินยอมบริจาคอวัยวะ
3. การเจรจากับญาติดว้ ยคําถามปลายเปิ ด จะช่วยให้ญาติได้แสดงความรูส้ กึ
ให้มากทีส่ ดุ ไม่ควรใช้ศพั ท์ทางการแพทย์หรือพูดเร็วจนเกินไป
4. เปิ ดโอกาสให้ญาติได้ซกั ถาม และให้เวลาญาติได้ปรึกษาหารือร่วมกัน
5. ไม่เสนอสิง่ แลกเปลีย่ นหรือผลประโยชน์เพือ่ ให้ญาติยนิ ยอมบริจาคอวัยวะ
6. เคารพการตัดสินใจของญาติและขอบคุณญาติ แม้วา่ จะไม่บริจาคอวัยวะ
16 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
เมื่อญาติยินยอมบริจาคอวัยวะ
1. ให้ญาติลงนามในใบยินยอม ญาติที่สามารถลงนามบริจาคอวัยวะได้
บริจาคอวัยวะ (เรียงตามลําดับ)
คูส่ มรส บุตรทีบ่ รรลุนิตภิ าวะ
2. หากญาติทม่ี อี าํ นาจลงนาม
บิดา มารดา
ตามกฎหมายไม่สามารถเดินทางมาได้ พี่ น้อง
ให้ญาติลาํ ดับถัดมาลงนามแทน และ ญาติทบ่ี รรลุนติ ภิ าวะ
เขียนข้อความเพิม่ เติมในใบยินยอมว่า ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมตามกฎหมาย
“ (ผูม้ อี าํ นาจลงนาม) ยินยอมบริจาค
อวัยวะของ..... แต่ไม่สามารถเดินทางมาได้
จึงให้ (ญาติทจ่ี ะลงนามแทน) ลงนามบริจาคอวัยวะแทน” และให้ลงนามกํากับ
ตัวอย่าง
“นายใจดี ใจบุญ บิดาของนายใจงาม ใจบุญ ได้รบั ทราบเรื่องการบริจาคอวัยวะแล้ว ไม่ขดั ข้อง
ยินยอมบริจาคอวัยวะของนายดีใจ ใจบุญ แต่เนื่องจากอยูต่ ่างจังหวัดและไม่สามารถเดินทางมาได้
จึงให้ นายญาติ ใจสุข ซึง่ เป็ นน้าชายของผูป้ ่ วยลงนามบริจาคอวัยวะแทน”

หากมีปัญหาเรือ่ งความสัมพันธ์ของญาติกบั ผูบ้ ริจาคอวัยวะ อาจจําเป็ นต้องให้


เจ้าพนักงานตํารวจเป็ นผูส้ อบปากคําและลงบันทึกเป็ นหลักฐานยืนยันความสัมพันธ์วา่
เป็ นญาติกนั และยินดีบริจาคอวัยวะของผูป้ ่ วยโดยไม่รบั สิง่ ตอบแทน
3. กรณีมญ ี าติมาหลายคนให้ญาติอกี 2 คน ลงนามเป็ นพยาน ถ้าไม่มญ ี าติอน่ื
เจ้าหน้าทีข่ องโรงพยาบาล หรือผูป้ ระสานงานฯ สามารถลงนามเป็ นพยานได้
4. บันทึกข้อมูลของญาติ เช่น ชือ่ นามสกุล ทีอ่ ยู่ เพือ่ การจัดส่งเอกสาร
และการติดต่อในอนาคต
5. ควรสําเนาเอกสารสําคัญเพือ่ ยืนยันตัวบุคคลของผูบ้ ริจาคอวัยวะและญาติ
เช่น บัตรประจําตัวประชาชน หรือทะเบียนบ้านเก็บไว้
6. เก็บใบยินยอมบริจาคอวัยวะไว้กบั แฟ้ มประวัตขิ องผูป้ ่ วย

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 17
การดูแลผู้บริจาคอวัยวะและญาติภายหลังการบริจาคอวัยวะ

ก่อนผ่าตัดนําอวัยวะออก
1. แนะนําญาติเรือ่ ง วัน/เวลา ทีส่ ามารถ  ควรให้ขอ้ มูลกับญาติเป็ นระยะๆ ว่า
รับร่างผูบ้ ริจาคกลับไปประกอบพิธที าง อยูใ่ นขันตอนใดของการบริ
้ จาค
 ให้โอกาสญาติในการลาผูบ้ ริจาค
ศาสนา การเตรียมรับร่างผูบ้ ริจาคอวัยวะ
อวัยวะก่อนนําเข้าห้องผ่าตัด ถ้าญาติ
เอกสารทีต่ อ้ งใช้ประกอบการออกมรณบัตร
2. แจ้งญาติกรณีทเ่ี ป็ นผูป้ ่ วยนิตเิ วช และต้องมีการผ่าศพเพือ่ ชันสูตรพลิกศพ
อาจจะมีขนั ้ ตอนมากขึน้ ใช้เวลารับศพนานขึน้
3. สอบถามญาติเรือ่ งการเตรียมจัดหาโลงศพและรถส่งศพ หากญาติตอ้ งการให้
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะจัดหาให้กไ็ ด้ แต่ไม่สามารถมอบเงินให้ญาติไปดําเนินการเองได้
หลังจากผ่าตัดผูบ้ ริจาคอวัยวะแล้ว
1. ดูแลความเรียบร้อยร่างของผูบ้ ริจาคอวัยวะด้วยความเคารพ
2. อํานวยความสะดวกแก่ญาติในการรับศพ
3. ศูน ย์รบั บริจาคอวัยวะ ขอความร่วมมือในการจัดหาพวงหรีดเคารพศพ โดยให้
เบิกค่าใช้จา่ ยจากศูนย์รบั บริจาคอวัยวะได้
4. แจ้งเรื่องสิทธิสมาชิกกิตติมศักดิสภากาชาดไทย
์ กรณี ท่สี ามารถนํ าอวัยวะไปใช้
ประโยชน์ ไ ด้ โดยสภากาชาดไทยจะมีห นั งสือ ถึงญาติเพื่อ ให้แ จ้ง รายชื่อ ผู้รบั สิท ธิฯ
กลับมายังสภากาชาดไทย ทัง้ นี้ ผูร้ บั สิทธิฯ จะต้องเป็ นญาติโดยสายโลหิตกับผูบ้ ริจาค
อวัยวะ
5. กรณี ที่ ส ามารถนํ าอวั ย วะไปใช้ ป ระโยชน์ ได้ หากญ าติ ม ี ค วามประสงค์
ขอพระราชทานเพลิงเผาศพหรือ ดิน ฝั งศพเป็ น กรณี พิเศษ ศูน ย์รบั บริจาคอวัย วะจะ
ดําเนินการให้
กรณี ที่ญาติบริจาคอวัยวะแล้ว แต่ไม่ได้ผา่ ตัดผูบ้ ริจาคอวัยวะด้วยสาเหตุใดก็ตาม
ไม่สามารถขอพระราชทานเพลิงเผาศพฯและรับสิทธิสมาชิกกิตติมศักด์ ิ สภากาชาดไทย

18 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
การเดินทางของทีมผ่าตัดผูบ้ ริจาคอวัยวะ
ที ม ผ่ า ตัด ผู้ บ ริจ าคอวัย วะมีเ วลาจํ า กัด ในการเตรีย มพร้อ มสํ า หรับ การเดิน ทาง
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะฯ อํานวยความสะดวกในการเดินทางแก่ทมี ผ่าตัด โดยจัดหาพาหนะ
สําหรับทีมผ่าตัด ดังนี้
1. รถพยาบาลยกเว้น กรณี ท่ีต้อ งใช้รถพร้อมกัน หลายคัน ทีม ผ่าตัด ต้องเตรียมรถ
สําหรับเดินทางเองหรือโรงพยาบาลนัน้ สะดวกเดินทางด้วยรถของตนเองก็ได้
2. เครือ่ งบินพาณิชย์ ซึง่ ได้รบั ความอนุ เคราะห์จากการบินไทย และสายการบินนกแอร์
ครัง้ ละไม่เกิน 8 ทีน่ งั ่
3. เครือ่ งบินของกองบินตํารวจ สํานักงานตํารวจแห่งชาติ
4. รถตํารวจจราจรนําทีมผ่าตัดกลับโรงพยาบาล กรณีเร่งด่วน หรืออาจจะประสานกับ
ศูนย์ควบคุมการจราจร ตํารวจทางด่วน หรือตํารวจทางหลวง
ศูนย์ฯ จะประสานงานกับโรงพยาบาลที่ มีผ้บู ริจาคอวัยวะทันที ที่ ได้ ข้อมูลของ
ทีมผ่าตัด เกี่ยวกับ
1. กําหนดเวลาทําผ่าตัดและวิธเี ดินทางของทีมผ่าตัด
2. ตําแหน่งของห้องผ่าตัด อยูต่ กึ ใด ชัน้ ใด เบอร์โทรศัพท์
3. ชือ่ เบอร์โทรศัพท์ ของผูป้ ระสานงานฯ ของโรงพยาบาลทีม่ ผี บู้ ริจาคอวัยวะ
4. ชือ่ เบอร์โทรศัพท์ ของทีมผ่าตัด และของผูป้ ระสานงานฯ
5. จุดจอดรถ หรือจุดนัดหมายให้ทมี ผ่าตัดไปพบ
6. ในกรณีทท่ี มี ผ่าตัดต้องเดินทางด้วยเครือ่ งบิน จําเป็ นต้องขอความร่วมมือ
โรงพยาบาลทีม่ ผี บู้ ริจาคอวัยวะ
6.1 เตรียมพาหนะรับ-ส่งทีมผ่าตัด
6.2 กรณีท่จี ําเป็ นต้องค้างคืนเพื่อรอการผ่าตัด ศูนย์ฯ จะขอความร่วมมือให้
โรงพยาบาลที่มผี ู้บ ริจาคอวัยวะจัดหาที่พ กั รวมถึงรถรับส่ง โดยศูนย์ฯ
รับผิดชอบค่าใช้จา่ ย
7. กรณีเร่งด่วนต้องให้รถตํารวจจราจรนําทีมผ่าตัดกลับโรงพยาบาล
จะประสานงานในรายละเอียดเป็ นรายๆ ไป
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 19
การเตรียมห้องผ่าตัดและเครื่องมือ
ทีมผ่าตัดผูบ้ ริจาคอวัยวะ (retrieval or recovery team) ต้องการบุคลากรและ
เครือ่ งมือบางชนิดจากโรงพยาบาลทีม่ ผี บู้ ริจาคอวัยวะ
บุคลากร
ทีมผ่าตัดนําอวัยวะออก โรงพยาบาลที่มีผบ้ ู ริจาคอวัยวะ
1. ศัลยแพทย์และผูช้ ว่ ย 2-3 คน 1. พยาบาลส่งเครือ่ งมือ 1 คน
2. พยาบาลส่งเครือ่ งมือ 1 คน 2. พยาบาลช่วยรอบนอก 1 คน
3. พยาบาลช่วยรอบนอก 1 คน 3. วิสญ
ั ญีแพทย์/พยาบาล 1 คน
4. วิสญ
ั ญีแพทย์/พยาบาล 1 คน 4. ศัลยแพทย์ 1 คน (กรณีชว่ ยเย็บปิ ด)
(เฉพาะ รพ.ทีไ่ ม่สามารถจัดหาได้)

เครื่องมือ
โรงพยาบาลที่มีผบู้ ริจาคอวัยวะ
เครื่องมือ non-sterile supply เครื่องมือ sterile supply
1. โต๊ะเครือ่ งมือผ่าตัดใหญ่ 2 - 3 ตัว 1. basic set or laparotomy set
2. ขาตัง้ สําหรับแขวนขวดนํ้าเกลือ 3 อัน 2. rib spreader or other suitable
3. suction machines 2 เครือ่ ง chest retractor
4. เครือ่ งจีไ้ ฟฟ้ า 1 เครือ่ ง 3. abdominal retractor
5.เครือ่ งมือวิสญ ั ญีและเครือ่ งช่วยหายใจ 1 ชุด 4. pencil cautery 2 ชุด
6. EKG monitor 1 เครือ่ ง 5. poole suction tips and tubing 2 ชุด
7. โต๊ะ mayo 1 ตัว 6. ห่อผ่าตัด
8. เครือ่ งวัดความดันโลหิต 1 ชุด 7. ห่ออ่าง (ขัน,ชามรูปไต)
9. ring stand 2-3 อัน 8. เสือ้ กาวน์ ประมาณ 10 ตัว
10. acetar เย็นจัด 9. ถุงมือ sterile
11. NSS หรือ acetar เย็นจัดเป็ นเกล็ด 10. ผ้าซับเลือดในการผ่าตัด
นํ้าแข็ง (slush)
12. นํ้าแข็งเกล็ดสําหรับแช่อวัยวะกลับ

20 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
ทีมผ่าตัดผู้บริจาคอวัยวะ
เครื่องมือ non-sterile supply เครื่องมือ sterile supply
1. กระติกสําหรับเก็บอวัยวะพร้อมนํ้าแข็ง 1. vascular instruments
2. ป้ ายสําหรับเขียนรายละเอียดของอวัยวะ 2. sternum saw
ผูกทีถ่ ุงใส่อวัยวะ 3. suture material
3. ถุงพลาสติกขนาดใหญ่สาํ หรับหุม้ กระติก 4. ยาทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้
ใส่อวัยวะ พร้อมเทป/เชือก สําหรับใช้ผกู 5. นํ้ายาถนอมอวัยวะ
4. หลอดใส่ตวั อย่างเลือด 6. ถุงบรรจุอวัยวะ
ผังการวางของในห้องผ่าตัด
เสานํ้าเกลือสําหรับแขวนนํ้ายาถนอมอวัยวะ
suction
Mayo เสานํ้าเกลือ
ring stand
สําหรับใส่
เครื่องมือ
นํ้าแข็งทุบ เตียงผ่าตัด
โต๊ะวาง วิสญ
ั ญี
sterile และ
เครื่องมือ
รอรับอวัยวะ
ผ่าตัด
เสานํ้าเกลือ

โต๊ะวางเครื่องมือผ่าตัด
สําหรับ perfusion เครื่องจีไ้ ฟฟ้ า เครื่องวัด
ด้านนอก ความดันโลหิต

สิ่งที่ส่งไปห้องผ่าตัดพร้อมกับผู้บริจาคอวัยวะ
• แฟ้ มประวัตทิ งั ้ หมด
• บันทึกการตรวจวินิจฉัยสมองตาย, ใบยินยอมของญาติผบู้ ริจาคอวัยวะ,
chest x-ray และผลการตรวจอืน่ ๆ ทีม่ ี
ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 21
การผ่าตัดผู้บริจาคหลายอวัยวะและเนื้ อเยื่อ (Multiorgan and Tissue Retrieval)
1. ศัลยแพทย์ตอ้ งตรวจสอบ: เอกสารยืนยันว่าผ่าตัดถูกคน เห็นบันทึกการตรวจ
วินิจฉัยสมองตาย ใบยินยอมของญาติผบู้ ริจาคอวัยวะ ผลตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารและ
หมูเ่ ลือด
2. แผลผ่าตัดจะเป็ น long midline ยาวตัง้ แต่ suprasternal notch ถึง pubic
symphysis (± transverse abdominal incision)
3. สํารวจดูความสมบูรณ์ของอวัยวะ, congenital anomalies และความผิดปกติอน่ื ๆ
หากมีความผิดปกติ หรือสงสัยมะเร็ง ศัลยแพทย์อาจจะตัดชิน้ เนื้อส่งตรวจด้วยวิธี
frozen section โดยด่วนต่อไป
4. ทีมผ่าตัดอวัยวะต่างๆ จะเข้ามาเลาะและคล้องหลอดเลือดสําคัญเตรียมไว้
5. เตรียมแช่เย็นอวัยวะ โดยใส่ทอ่ ไว้ในเส้นเลือดต่างๆ และเตรียมนํ้ายาถนอมอวัยวะ
6. clamp aorta และหยุดเครือ่ งช่วยหายใจ
7. บันทึกเวลา aortic clamp (cross clamp) เพือ่ คํานวณ ischemic time
8. ใส่ slush ice ในช่องหน้าอก/ช่องท้อง เพือ่ ลดอุณหภูมอิ วัยวะ ตัดอวัยวะออก
9. ตัดม้ามทัง้ อันเพือ่ นําไปใช้ในการตรวจ HLA typing และ cross matching
10. แพทย์อาจเก็บ aorta, IVC, iliac vessels เพือ่ ใช้เป็ น vascular graft
11.ดูดซับเลือดในช่องท้องและทรวงอกให้แห้งและเย็บปิ ดแผลด้วย nylon 2/0 ชัน้ เดียว
12. ทําผ่าตัดเนื้อเยือ่ อืน่ ในกรณีทบ่ี ริจาคเนื้อเยือ่ เช่น ดวงตา ผิวหนัง กระดูก
เมื่อทําผ่าตัดเสร็จ
ศัลยแพทย์ต้องเขียน
• operative note เก็บไว้แฟ้ มประวัตขิ องผูป้ ่ วย
• Retrieval team report และแนบไปพร้อมกับอวัยวะบริจาค
สิ่งที่ทีมผ่าตัดต้องนํากลับมาพร้อมอวัยวะ
• Retrieval team report
• ตัวอย่างเลือดเพือ่ ตรวจ Infectious markers, HLA typing
(ในบางกรณีทส่ี ง่ มาก่อนผ่าตัดเพียงพอแล้ว อาจจะไม่ตอ้ งการเพิม่ )
• spleen / lymph node สําหรับทํา cross matching
22 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
การบรรจุอวัยวะ

เตรียมถุงพลาสติกชนิดเย็น sterile ขนาดเหมาะสมกับอวัยวะ จํานวน 3 ใบ/อวัยวะ


แต่ละชัน้ ควรใช้ขนาดทีต่ ่างกันเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการบรรจุและ cord tape 3 เส้น
  

3.พับปากถุงลงมา และมัด
2.ไล่อากาศออกบิดปากถุง ด้วย cord tape อีกครัง้
1. ใส่อวัยวะในถุงชัน้ แรก เป็ นเกลียวมัดด้วย cord
เทนํ้ายาถนอมอวัยวะ tape เป็ นเงือ่ นตาย
หรือ acetar เย็นจัด

ไม่เป็ นนํ้าแข็ง ลงไป
พอท่วม ไม่ใส่มากเกินไป 

5. อวัยวะบรรจุในถุง 4.นําถุงชัน้ ที่ 1 บรรจุใน


เรียบร้อย ถุงชัน้ ที่ 2 และ 3 โดย
6. ติดป้ ายแสดงรายละเอียด ไม่ตอ้ งใส่สารละลายหรือ
ผูกไว้กบั ถุงให้แน่น นํ้าแข็งในชัน้ ที่ 2 และ 3
พับปากถุงมัดด้วย
cord tape อีกครัง้
ชือ่ -สกุล อายุ ปี
โรงพยาบาล
อวัยวะ ข้อมูลในป้ าย
วันทีท่ าํ ผ่าตัด ถ้าเป็ นไต ต้องระบุ
clamp time blood group ข้างซ้าย หรือข้างขวา
ผูป้ ระสานงาน เบอร์โทร

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 23
การบรรจุอวัยวะ /นํ้ายา ใส่กระติก

1.รองกระติกด้วย 2. ใส่น้ําแข็งเกล็ด ผูกปาก 3. ปิ ดฝากระติก และผนึกฝา


ถุงพลาสติก แล้วจึงใส่ ถุงพลาสติกให้แน่น โดยรอบด้วยเทปกาว
ถุงบรรจุอวัยวะหรือนํ้ายา

ถ้ามี tube เลือดกลับมาพร้อมอวัยวะ


ให้วางไว้บนถุงบรรจุอวัยวะในกระติกเดียวกัน

การบรรจุอวัยวะเพื่อจัดส่งทางเครื่องบิน

1. บรรจุอวัยวะในกระติกตามขัน้ ตอน
2. นํากระติกบรรจุลงกล่องกระดาษสะอาด
3. ปิ ดเทปโดยรอบ จ่าหน้าถึงศูนย์รบั บริจาคอวัยวะฯ
4. ผูกเชือกให้เรียบร้อย เพือ่ ความสะดวกต่อการยกหรือเคลือ่ นย้าย

24 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
การขอพระราชทานเพลิงเผาศพหรือดินฝังศพผูบ้ ริจาคอวัยวะ
เป็ นกรณี พิเศษ
ผูบ้ ริจาคอวัยวะทีส่ ามารถนําอวัยวะไปช่วยเหลือผูป้ ่ วยอืน่ ได้ ญาติสามารถแจ้ง
เรือ่ งขอพระราชทานเพลิงเผาศพหรือดินฝั งศพเป็ นกรณีพเิ ศษได้
1. สาเหตุของการเสียชีวติ ต้องไม่เกิดจาก อัตตวินิบาตกรรม (การฆ่าตัวตาย) หรือ
เหตุจากพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น เกิดเหตุทะเลาะวิวาท เป็ นต้น
2. วันฌาปนกิจศพหรือฝั งศพต้องห่างจากวันจัดส่งเอกสารให้ศนู ย์ฯ ไม่น้อยกว่า
4 วันทําการ ทัง้ นี้ ผูป้ ระสานงานต้องหารือกับศูนย์ฯ ก่อนแจ้งญาติ
3. กรณีทจ่ี ดั พิธนี อกพืน้ ทีท่ ส่ี าํ นักพระราชวังจะเดินทางไปได้ (กรุงเทพฯ และ
ปริมณฑลบางพืน้ ที)่ ญาติจะต้องมารับหีบเพลิงพระราชทาน ทีส่ าํ นักพระราชวังเอง
4. จัดเตรียมเอกสารให้ครบถ้วน ดังนี้
เอกสารที่ต้องแนบพร้อมเรื่องขอพระราชทานเพลิ งเผาศพฯ
• สําเนามรณบัตร
• ประวัตผิ บู้ ริจาคอวัยวะ ได้แก่ ประวัตสิ ว่ นตัว ครอบครัว การศึกษา
การทํางาน สาเหตุการเสียชีวติ
• กําหนดฌาปนกิจศพหรือฝั งศพ ได้แก่ วัน เวลา สถานที่ ทีอ่ ยูข่ องสถานที่
ฌาปนกิจศพ หรือฝั งศพ
• ชือ่ -นามสกุล เบอร์โทรศัพท์ ของญาติทร่ี บั ผิดชอบการขอพระราชทาน
เพลิงเผาศพหรือดินฝั งศพฯ และความสัมพันธ์กบั ผูบ้ ริจาคอวัยวะ
• สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาทะเบียนบ้าน ของผูบ้ ริจาคอวัยวะ
• สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาทะเบียนบ้าน ของญาติทร่ี บั ผิดชอบฯ

5. จัดส่งเอกสารให้ศนู ย์ฯ
5.1 ทางโทรสาร 0 2255 7968
5.2 สแกนส่ง email: odc-tc@redcross.or.th

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 25
เอกสารอ้างอิง

1. แพทยสภา. ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม
(ฉบับที่ 3), 2551.

2. แพทยสภา. หลักเกณฑ์และวิธกี ารวินิจฉัยสมองตาย, 2554.

3. ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย. คูม่ อื การดูแลผูบ้ ริจาคอวัยวะทีม่ ี


ภาวะสมองตายและประสานงานการปลูกถ่ายอวัยวะ. กรุงเทพมหานคร: 2556.

4. ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย. ระเบียบสภากาชาดไทย ว่าด้วย


ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย พ.ศ.2545. กรุงเทพมหานคร: 2545.

5. สุกจิ ทัศนสุนทรวงศ์. การวินิจฉัยสมองตาย : ทําอย่างไรในเวชปฏิบตั ิ ใน


ศัลยศาสตร์ววิ ฒ
ั น์ เล่ม 47 ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา มหาราชา.
กรุงเทพฯ: กรุงเทพเวชสาร, 2554.

6. O’Conner K J., Wood K E.,Lord K. Intensive Management of Organ Donors


to maximize transplantation. Critical Care Nurse. 2006;26:94-100

7. Valero, Ricard.(ed.), Transplant Coordination Manual, Barcelona:


Limpergraf S.L., 2007.

8. Wijdicks, Eelco F.M., ed.Brain Death, Philadelphia: Lippincott


William&Wilkins, 2001.

26 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
ถือเอาสาระจากสิ่งที่ ไร้สาระ
การบริจาคอวัยวะทําให้บางคนกังวลว่าศพจะไม่สวย นี่เป็ นความกังวลที่
ไร้สาระ เพราะเมือ่ ล่วงลับดับขันธ์ไปแล้ว สาระของร่างกายก็ไม่เหลืออยู่
อีกต่อไป มีแต่จะถูกนํ าไปเผา หรือนํ าไปฝั งเท่านัน้ ลองคิดดูง่ายๆ ว่า
ระหว่างปล่อยให้อวัยวะบางส่วนทีย่ งั ใช้การได้ ได้เป็ นประโยชน์ ต่อผูท้ ่ี
ยังอยู่ กับปล่อยให้ถูกเผาหรือฝั งอย่างไร้ประโยชน์ สิง่ ไหนจะดีกว่ากัน
ดังนัน้
“การบริจาคอวัยวะ”จึงเป็ นการ“ถือเอาสาระจากสิ่งที่ไร้สาระ”

พระมหาวุฒิชยั วชิรเมธี

ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย 27
ผูบ้ ริหารและบุคลากรของศูนย์รบั บริจาคอวัยวะ

นพ.วิศิษฏ์ ฐิตวัฒน์ รศ.นพ.สุภนิติ์ นิวาตวงศ์


ผู้อํานวยการศูนย์ รับบริจาคอวัยวะ รองผู้อํานวยการศูนย์ รับบริจาคอวัยวะ
E-mail: odc-trcs@redcross.or.th E-mail: odc-trcs@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2501 Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2502

นางอรุ ณณี จึงสง่ าสม นางสาวยุวดี อรรถจารุ สิทธิ์


หัวหน้ าฝ่ ายบริหารงานทั่วไป หัวหน้ าฝ่ ายปฏิบัตกิ าร
E-mail: odc-trcs@redcross.or.th E-mail: odc-trcs@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2503 Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2504

นางศุกวรรณ สร้ อยสนธิ์ นางสาวชัญญ์ ชญา ปิ่ นมงคล


ผู้ประสานงานการบริจาคอวัยวะ ผู้ประสานงานการบริจาคอวัยวะ
E-mail: odc-tc@redcross.or.th E-mail: odc-tc@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2505,2506 Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2505,2506
Oncall: 08 1932 8542, 08 1933 6957 Oncall: 08 1932 8542, 08 1933 6957

นางสาวนวพรรษ สฤษดิ์บุญมาผล นางจิดาภา ไวศยะ


ผู้ประสานงานการบริจาคอวัยวะ ผู้ประสานงานการบริจาคอวัยวะ
E-mail: odc-tc@redcross.or.th E-mail: odc-tc@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2505,2506 Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2505,2506
Oncall: 08 1932 8542, 08 1933 6957 Oncall: 08 1932 8542, 08 1933 6957

นางสาววราภรณ์ สืบแจ้ ง นางสาวสุกัญญา คงอินทร์


ผู้ประสานงานการบริจาคอวัยวะ ผู้ประสานงานการบริจาคอวัยวะ
E-mail: odc-tc@redcross.or.th E-mail: odc-tc@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2505,2506 Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2505,2506
Oncall: 08 1932 8542, 08 1933 6957 Oncall: 08 1932 8542, 08 1933 6957

นางศิริวรรณ ใครอุบล นางสาวนงนุช มาพะเนา


พยาบาลคลังเนื้อเยือ่ พยาบาลคลังเนื้อเยือ่
E-mail: odc-tsb@redcross.or.th E-mail: odc-tsb@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2507,2508 Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2507,2508
Oncall: 09 2247 9864 Oncall: 09 2247 9864

นางสาวอริศรา แย้ มใส


พยาบาลคลังเนื้อเยือ่
E-mail: odc-tsb@redcross.or.th
Tel: 0 2256 4045-6 ต่ อ 2507,2508
Oncall: 09 2247 9864

28 ศูนย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย
แผนที่ศนู ย์รบั บริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย

ไปคลองเตย ถนนพระราม 4 ไปหัวลําโพง

ตึกภปร. สนง.บรรเทาทุ
. กข์
สระนํ้า
รพ.จุฬาลงกรณ์
อาคารเทิดพระเกียรติฯ ชัน้ 5 สถานเสาวภา
ศูนย์รบั บริ จาคอวัยวะฯ สวนงู
ศูนย์บริการโลหิต

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) ชัน้ 5


ถนนอังรีดนู งั ต์ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร. 1666, 0 2256 4045-6 โทรสาร: 0 2255 7968
www.redcross.or.th, www.organdonate.in.th
E-mail : odc-trcs@redcross.or.th

You might also like