You are on page 1of 34

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

Pibulsongkram Rajabhat University

บทที่ 6 การคลังสุขภาพ
(Health Financial)
โดย อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 1
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

วัตถุประสงค์
1.อธิบายแผนรายจ่ายสุขภาพได้
2.อธิบายแหล่งที่มาของเงินและวิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาลได้

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 2
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

หัวข้อในวันนี้
1.รายจ่ายสุขภาพ
2.ที่มาของเงินและวิธีการจ่ายแก่สถานบริการ

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 3
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

รายจ่ายสุขภาพในประเทศที่พัฒนาและประเทศกําลังพัฒนา

รายจ่ า ยสุ ข ภาพเป็ น ดั ช นี ห นึ่ ง ที่ แ สดงถึ ง ทรั พ ยากรที่ เ ป็ น ตั ว เงิ น ที่
ไหลเวีย นในระบบสุข ภาพของประเทศ หนึ่ ง ๆ เป็นการวัดปัจจั ย นําเข้าใน
ระบบสุขภาพ เมื่อนําปัจจัยนําเข้ามาเทียบเคียงกับผลลัพธ์ หรือผลตอบแทน
ของกิจกรรมในระบบสุขภาพ จะแสดงถึงประสิทธิภาพของระบบสุขภาพนั้น ๆ

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 4
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

ระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง

ระบบที่มีรายจ่ายสุขภาพในปริมาณที่เหมาะสมกับความสามารถใน
การจ่ายของประเทศ ซึ่งวัดโดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และมีดัชนี
สถานะสุ ข ภาพที่ ดี ซึ่ ง มั ก จะวั ด ในรู ป ของอายุ ขั ย เฉลี่ ย เมื่ อ แรกเกิ ด ของ
ประชาชนในชาติ หรืออัตราตายทารก

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 5
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

รายจ่ายสุขภาพ
รายจ่ายสุขภาพ สามารถนําเสนอเป็นหลายมิติ มิติที่พบบ่อย และมีความหมายต่อการวางแผน
งานสุ ข ภาพ ต่ อ การประเมิ น ผลการปฏิ รู ป ระบบสุ ข ภาพ โดยเฉพาะการปฏิ รู ป ระบบการคลั ง
การวางแผนนโยบายมหภาคที่เกี่ยวเนื่องกับระบบเศรษฐกิจทั่วไป ได้แก่
1) รายจ่ายสุขภาพเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
2) สัดส่วนรายจ่ายสุขภาพที่จ่ายจากแหล่งการคลังภาครัฐและภาคเอกชน
3) รายจ่ายสุขภาพต่อหัวประชากร
4) แบบแผนของรายจ่ายสุขภาพ เช่น รายจ่ายเพื่อบริการส่วนบุคคล (บริการผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน) การซื้อยากินเอง
บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และรายจ่ายเพื่อการบริหารจัดการของระบบสุขภาพ เป็นต้น
5) สัดส่วนของรายจ่ายสุขภาพไปสู่ผู้ให้บริการประเภทต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสถานพยาบาลภาครัฐ และภาคเอกชน
6) อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายสุขภาพต่อหัวประชากรเป็นเครื่องชี้วัดที่ดีของการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยนําเข้า
ในระบบสุขภาพในแต่ละปี
อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 6
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

1) รายจ่ายสุขภาพเป็นร้อยละของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 7
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

2) สัดส่วนรายจ่ายสุขภาพที่จ่ายจากแหล่งการคลังภาครัฐและภาคเอกชน

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 8
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

3) รายจ่ายสุขภาพต่อหัวประชากร

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 9
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

4) แบบแผนของรายจ่ายสุขภาพ เช่น รายจ่ายเพื่อบริการส่วนบุคคล (บริการ


ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน) การซื้อยากินเอง บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค
และรายจ่ายเพื่อการบริหารจัดการของระบบสุขภาพ เป็นต้น

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 10
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

5) สัดส่วนของรายจ่ายสุขภาพไปสู่ผู้ให้บริการประเภทต่าง ๆ ทั้งที่เป็น
สถานพยาบาลภาครัฐ และภาคเอกชน

6) อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายจ่ายสุขภาพต่อหัวประชากรเป็นเครื่องชี้วัด
ที่ดีของการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยนําเข้าในระบบสุขภาพในแต่ละปี

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 11
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

รายจ่ายสุขภาพ หมายถึง

รายจ่ายที่จ่ายจากทุกแหล่งการคลังโดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้สุขภาพของ
ประชาชนดี ขึ้ น รายจ่ า ยเหล่ า นั้ น ประกอบด้ ว ย รายจ่ า ยเพื่ อ บริ ก ารบุ ค คลเมื่ อ
เจ็บป่วย (personal health services) และรายจ่ายอื่นซึ่งประกอบด้วย
รายจ่ า ยเพื่ อ การบริ ห ารจั ด การของระบบสาธารณสุ ข รายจ่า ยเพื่ อ การส่ ง เสริ ม
สุขภาพ และป้องกันโรค การควบคุมสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ การพัฒนาบุคลากรใน
ระบบสุขภาพ
อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 12
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

รายจ่ายสุขภาพในประเทศไทย

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 13
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP)


มู ล ค่ า ของสิ น ค้ า และบริ ก ารขั้ น สุ ด ท้ า ยที่ ผ ลิ ต ขึ้ น ภายในประเทศใน
ระยะเวลาหนึ่ง โดยไม่คํานึงว่าทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตสินค้า และบริการ
จะเป็นทรัพยากรของพลเมืองในประเทศหรือเป็นของชาวต่างประเทศ ในทาง
ตรงข้าม ทรัพยากรของพลเมืองในประเทศแต่ไปทําการผลิตในต่างประเทศก็
ไม่นับรวมไว้ในผลิตภัณฑ์ในประเทศ

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 14
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

วิธีการจัดเก็บข้อมูล
1. รายงานข้ อ มู ล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมของประเทศไทย สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2. รายงานงบประมาณประจําปี สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี
3. บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่าง
ประเทศ
4. National Health Account by country WHO

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 15
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=index

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 16
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

https://www.bb.go.th/index.php

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 17
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

https://www.ihppthaigov.net/

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 18
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

แหล่งข้อมูล
1. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2. สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี
3. สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
4. สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
5. World Health Organization

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 19
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

ความยั่ ง ยื น ด้ า นการคลั ง สุ ข ภาพ แสดงถึ ง แหล่ ง การคลั ง ซึ่ ง


ประกอบด้วย งบประมาณ เงินสมทบ และรายจ่ายของครัวเรือน ที่อยู่ในวิสัย
ที่ประเทศ รัฐบาล และครัวเรือนสามารถลงทุนด้านสุขภาพได้ในระยะยาว
งบประมาณสํ า หรั บ การจั ด บริ ก ารสุ ข ภาพเพื่ อ ให้ ป ระชาชนทุ ก คนเข้ า ถึ ง
บริการสุขภาพรวมถึงยาและเทคโนโลยีที่จําเป็น และป้องกันไม่ให้ครัวเรือน
ประสบภาวะล้ ม ละลายหรื อ กลายเป็ น ครั ว เรื อ นยากจนจากการจ่ า ยค่ า
รักษาพยาบาล

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 20
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

ดัชนีสําคัญที่ติดตามสถานการณ์แนวโน้มการใช้จ่ายด้านสุขภาพ และแสดงขนาดของ
ทรัพยากรที่ใช้ไปทั้งโดยภาครัฐและเอกชนของประชากรในประเทศ คือ

(1) รายจ่ายสุขภาพทั้งหมด (Total Health Expenditure: THE) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม


ภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 4.6 และไม่เกิน
ร้อยละ 5
(2) รายจ่ายของรัฐบาลด้านสุขภาพ (General Government Health Expenditure:
GGHE) ต่อรายจ่ายภาครัฐทั้งหมด (General Government Expenditure: GGE) ต้อง
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 17 และไม่เกินร้อยละ 20

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 21
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

(3) ครัวเรือนที่เกิดวิกฤติทางการเงินจากการจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Catastrophic health


expenditure) ไม่เกินร้อยละ 2.3
(4) ครั ว เรื อ นที่ ต้ อ งกลายเป็ น ครั ว เรื อ นยากจนภายหลั ง จากการจ่ า ยค่ า รั ก ษาพยาบาล
(Healthimpoverishment) ไม่เกินร้อยละ 0.47

พบว่า

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 22
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

รายจ่ า ยสุ ข ภาพทั้ ง หมด (THE) เพิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจาก
127,655 ล้านบาท ในปี 2537 เป็น 677,740 ล้านบาท ในปี 2562 โดย
ร้ อ ยละรายจ่ า ยสุ ข ภาพทั้ ง หมด(THE) เมื่ อ เที ย บกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวม
ภายในประเทศ(GDP) อยู่ที่ ร้อยละ 3.46 ในปี 2537 และเพิ่มสูงขึ้นเป็น
ร้ อยละ 4.02 ในปี 2562 ซึ่ ง ยั ง ต่ํ า กว่า เป้า หมาย (แผนภาพที่ 6) ร้ อยละ
รายจ่ า ยของรั ฐ บาลด้ า นสุ ข ภาพ (GGHE) ต่ อ รายจ่ า ยภาครั ฐ ทั้ ง หมด
(GGE) เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จากร้อยละ 14.46 ในปี 2537 เป็นร้อยละ 16.56
4 ในปี 2562 ซึ่งต่ํากว่าเป้าหมายเล็กน้อย (แผนภาพที่ 7)

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 23
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 24
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 25
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

เมื่ อ พิ จ ารณาสั ด ส่ ว นระหว่ า งรายจ่ า ยสุ ข ภาพจากภาครั ฐ (Public


health expenditure) รายจ่ายสุขภาพจากครัวเรือน (Household
Health Expenditure/ Out of pocket:OOP) และรายจ่าย
สุข ภาพจากภาคเอกชนไม่ร วมรายจ่ า ยจากครั ว เรื อ น (Private health
expenditure excludeOOP) พบว่ า สั ด ส่ ว นรายจ่ า ยสุ ข ภาพจาก
ภาครั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากร้ อ ยละ 45 ในปี 2537 เป็ น ร้ อ ยละ 78
ในปี 2562 หรือเพิ่มขึ้นจาก 56,885 ล้านบาท เป็น 528,802 ล้านบาท ในทาง
กลับกันรายจ่ายสุขภาพจากครัวเรือน (OOP) มีสัดส่วนที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง
จากร้อยละ 44 ใน ปี 2537 เป็นร้อยละ 10 ในปี 2562 (แผนภาพที่ 8)
อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 26
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 27
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

ส่ ว นดั ช นี ก ารลดภาระรายจ่ า ยด้ า นค่ า รั ก ษาพยาบาลของครั ว เรื อ น (Household


Health Expenditure) จากการวิเคราะห์ข้อมูลการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของ
ครั ว เรื อ น สํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ พบว่ า ครั ว เรื อ นที่ เ กิ ด วิ ก ฤติ ท างการเงิ น จากการจ่ า ยค่ า
รั ก ษาพยาบาล(Catastrophic health expenditure: รายจ่ า ยด้ า นสุ ข ภาพของ
ครัวเรือนมากกว่าร้อยละ 10 ของรายจ่ายทั้งหมดของครัวเรือน) มีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ จากร้อย
ละ 7.94 (7.1แสนครัวเรือน) ในปี 2531 เหลือร้อยละ 1.97 (4.3 แสนครัวเรือน) ในปี 2562
เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 2.3 (แผนภาพที่ 9) และครัวเรือนที่กลายเป็นครัวเรือนยากจนภายหลังจาก
การจ่า ยค่ ารั กษาพยาบาล (Health impoverishment: ครัว เรื อนที่ต กอยู่ ใต้ เ ส้ นความ
ยากจนหลังจ่ายค่ารักษาพยาบาล) ลดลงจากร้อยละ 2.36 (2.5แสนครัวเรือน) ในปี 2531 เหลือ
ร้อยละ 0.20 (4.4 หมื่นครัวเรือน) ในปี 2562 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 0.47 (แผนภาพที่ 10)

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 28
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 29
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 30
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

วิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล
วิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล (health care institution) หรือการจ่ายเงินแก่ผู้ให้
บริการ (health care provider) มีความสําคัญอย่างยิ่งต่อประสิทธิภาพของระบบการคลังสุขภาพ
ทั้ ง นี้ เ พราะ วิ ธี ก ารจ่ า ยเงิ น แต่ ล ะแบบส่ ง สั ญ ญาณที่ แ ตกต่ า งกั น ต่ อ พฤติ ก รรมของผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร และ
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการแตกต่างกัน โดย เฉพาะอย่างยิ่งต่อการตัดสินใจใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจํากัดใน
ระบบสุขภาพ วิธีการจ่ายเงินเหล่านั้น มีผลต่อประสิทธิภาพของการบริโภคทรัพยากร และประสิทธิภาพ
ของระบบสุขภาพโดยรวม (health systems performance)

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 31
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

วิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 32
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

วิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 33
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
Pibulsongkram Rajabhat University

เอกสารอ้างอิง
วิน เตชะเคกะกิจ. (2558). หลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
พลภัทร บุราคม. (2551). รายจ่ายสาธารณะ ประสิทธิภาพในการจัดสรร และประสบการณ์ระหว่าง ประเทศ. กรุงเทพฯ:
บริษัท ดี เค ปริ้นติง้ เวิลด์ จากัด.
สมชาย สุขศิริเสรีกุล. (2551). เศรษฐศาสตร์สุขภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอกสารการสอนชุดวิชาหลักเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ( Principles of Economics and Health Economics )
เล่ม 1 (หน่วยที่ 1-8) สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. 2553.
เอกสารการสอนชุดวิชาหลักเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ( Principles of Economics and Health Economics )
เล่ม 2 (หน่วยที่ 9-15) สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. 2553.

อาจารย์อภิรักษ์ แสนใจ 34

You might also like