You are on page 1of 34

เกียรแบบธรรมดา

เกียรแบบธรรมดาเปนอุุปกรณเพิ่มและ
ลดความเร็ ว เครื่ อ งยนต โ ดยเฟ อ งเกี ย ร
และเปลี่ ย นความเร็ ว นั้ น เป น แรงบิ ด ที่
เหมาะสมเพื่อสงไปยังลอขับ
บทบาทของหองเกียร

(1) ใชตอ/ตัดกําลังขับจากเครือ่ งยนตโดยการโยกคันเกียร

(2) เพื่อเพิ่มแรงบิดในขณะออกรถหรือไตเขา

(3) เพื่อใหลอรถวิ่งที่ความเร็วสูงในระหวางการขับขี่ที่
ความเร็วสูง

(4) การขับรถถอยหลัง
กราฟแสดงประสิทธิภาพในการขับขี่

ในทางอุ ด มคต เส


‐ในทางอดมคติ เสนกราฟของแรงขบจาก
น กราฟของแรงขั บ จาก
เครื่ อ งยนต ค วรเปลี่ ย นแปลงอย า งต อ เนื่ อ ง
เหมือนกับ เสน
เหมอนกบ เสน A ในภาพอยางไรกตาม
ในภาพอยางไรก็ตาม แรง
ขั บ ของเกี ย ร แ บบธรรมดาในความเป น จริ ง
เปลี่ยนแปลงไปแบบไมตอเนื่องจากเกียร 1 ถง
เปลยนแปลงไปแบบไมตอเนองจากเกยร ถึง
เกียร 6
‐แรงขับจากเครื่องยนตจะถูกสงตออยางมีประสิทธิภาพเมื่อทําใหพื้นที่รูปในกราฟ
แคบลงเพื่อใหใกลเคียงกับเสนในอุดมคติ
‐จะเห็นไดวามันจะใกลเคียงกับเสนอุดมคติ A ของแรงขับไดเมื่อจํานวนเกียรเพิ่ม
มากขึ้นอยางไรก็ตาม การออกแบบเกียรจะกลายเปนเรื่องซับซอน หรืออาจทําใหเกิด
ความยุงยากกับผูขับขี่ในการเปลี่ยนเกียร
ความจําเปนในการเปลีย่ นเกียร
(1) เมื่อออกรถ
เมือื่ รถเริมิ่ ออกตัวั จะตอ งการกําํ ลังั มาก ดังั นัน้ั เกียี ร 1 ซึงึ่ มีแี รงขัับมากทีีส่ ุดจึงึ ถูกใช
ใ
(2) การขับเคลือ่ น
หลังั จากออกตัวั เกีียร 2 และเกียี ร 3 ถูกใชใ เพื่ือเพิมิ่ ความเร็ว็ รถ เกียี รเ หลา นี้ีถูกใช ใ
เนื่องจากมีขดี จํากัดของความเร็วรถในเกียร 1 และแรงขับทีต่ อ งการก็ไมมากนัก
( ) เมือื่ ขับั ขีีท่ คี่ วามเร็ว็ สูง
(3)
สําหรับการขับขี่ทคี่ วามเร็วสูง เกียร 4, 5, และ 6 ถูกใชเพื่อเพิ่มความเร็วรถมากขึ้น
การใช ใ เกีียรท ีม่ แี รงขัับนอยและลดความเร็ว็ รอบของเครือ่ื งยนตจ ะชว ยลดการ
สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
(4) เมือื่ ถอยหลงั
เมือ่ เขาเกียรถอยหลัง เฟองสะพานเกียรถอยจะถูกเพิ่มเขามา ทําใหเกียรถอยหลัง
ั 
หมุนกลบดานและรถจะถอยหลง ั
อัตราทด
‐ถาเฟองตามมีฟนเฟอง 38 ซี่และ เฟองขับมี 12 ซี่ อัตราทดของเกียร 1 นี้มีคาเทากับ
38/12 คือ 3.166
‐เมื่ อ การหมุ น และแรงบิ ด จากเพลารั บ
กํ า ลั ง เข า ถกส
กาลงเขาถู ก สงไปยงเพลาสงกาลง
ง ไปยั ง เพลาส ง กํ า ลั ง
ความเร็ ว รอบในการหมุ น จะลดลงและ
แรงบิดจะเพิ่มขึ้นตามอัตราทดเกียร
แรงบดจะเพมขนตามอตราทดเกยร
แรงบิดสงออก = แรงบิดรับเขา x อัตราทดเกียร

ความเร็วรอบรับเขา = ความเร็วรอบสงออก x อัตราทดเกียร


‐แรงบิดเพิ่มขึ้นและความเร็วรอบลดลงเมือ่ อัตราทดมากขึ้น กลาวไดวารถอาจจะ
ถูกขับทีคี่ วามเร็ว็ สูงเมืือ่ อัตราทดลดลง แมว ากํําลังขับจะลดลง
กลไกการทํางาน
ชนิดควบคุมระยะไกล

-ชนิดนี้เชื่อมตอคันเกียรกับกระปุกเกียร
ดวยสายเคเบิลหรือกานตอหรืออื่นๆ
-โดยถูกนํามาใชในรถยนต FF และ
มี คุ ณ ลั ก ษณะบางอย า งเช น เกิ ด การ
สั่นสะเทือนและเกิดเสียงรบกวนไดยาก
และสามารถออกแบบคั น เกี ย ร ไ ด โ ดย
อิสระ
กลไกการทํางาน

ชนิดควบคุมโดยตรง

ชนิดนี้เชื่อมตอคันเกียรเขากับกระปุก
เกี ย ร โ ดยตรงชนิ ด นี้ ใ ช กั บ รถยนต
FR เพราะวาการเปลี่ยนเกียรทําได
เร็วและใหการควบคุมที่ดี
เสนทางการสงกําลัง
-เกียรแบบธรรมดาแบบใชกับรถยนตขับเคลื่อนลอหนาจะติดตั้งอยูท่ีดานซายสุดหรือ
ขวาสุดของเครื่องยนตวางขวางในรถยนต FF
-เกียรแบบธรรมดาแบบใชกับรถยนตขับเคลื่อนลอหลังจะติดตั้งอยูท่ีดานหลังสุดของ
เครื่องยนตวางตามยาวในรถยนต FR
การทํางานของเกียรธรรมดาแบบใชกับรถยนตขับเคลื่อนลอหนา
เกียรวาง
-กําลังจากเครื่องยนตไมไดถูกสงจาก
เพลารับั กําํ ลังั ไปยั
ไป งั เพลาสงกําํ ลังั
ดังนั้นจึงไมไดถูกสงไปยังเฟองทาย
ดว ย
-ศรสีฟา:การสงกําลัง
-ลูกศรสีแี ดง:ทิิศทางของการหมุน
-ความยาวของลูกศรแสดงความเร็ว
รอบและความกวา งของลูกศรแสดง
แรงบิด
-ยิิ่งลูกศรยาวมาก จะยิิ่งแสดง
ความเร็วรอบมาก และลูกศรยิ่งกวาง
เทา ไร
ไ จะแสดงแรงบิิดมากเทานัน้ั
เกียร 1

-เฟองของเพลาสงกําลังที่ขบกับ
เฟฟองเกีียร 1 ของเพลารัับกําลังั ทํา
การสงกําลังไปยังเฟองทายผาน
ทางเฟฟองขับั
-ลูกศรสีฟา:การสงกําลัง
-ลูกศรสีแี ดง:ทิิศทางของการหมุน
-ความยาวของลูกศรแสดง
ความเร็็วรอบและความกวา งของ
ลูกศรแสดงแรงบิด
-ยิิ่งลูกศรยาวมาก จะยิิ่งแสดง
ความเร็วรอบมาก และลูกศรยิ่ง
กวา งเทาไร
ไ จะแสดงแรงบิิดมาก
เทานั้น
เกียร 3

เฟองของเพลาสงกําลังที่ขบกับเฟอง
เกียร 3 ของเพลารบกาลง
เกยร ของเพลารับกําลัง ทาการสง
ทําการสง
กําลังไปยังเฟองทายผานทางเฟอง
ขับ
ขบ
ลูกศรสีฟา:การสงกําลัง
ลูลกศรสี
กศรสแดง:ทศทางของการหมุ
แดง ทิศทางของการหมนน
ความยาวของลูกศรแสดงความเร็ว
รอบและความกวางของลกศรแสดง
รอบและความกวางของลู กศรแสดง
แรงบิด
ยิ่งลกศรยาวมาก
ยงลู กศรยาวมาก จะยงแสดง
จะยิ่งแสดง
ความเร็วรอบมาก และลูกศรยิ่งกวาง
เทาไร จะแสดงแรงบดมากเทานน
เทาไร จะแสดงแรงบิดมากเทานั้น
เกียรแบบธรรมดาแบบใชกับรถขับเคลื่อนลอหลัง
สําหรับเกียรแบบธรรมดาแบบใชกับรถขับเคลื่อนลอหลัง เพลารับกําลัง
และเพลาสงกําลังจะติดตั้งอยบนแกนเดยวกน
และเพลาสงกาลงจะตดตงอยู นแกนเดียวกัน และเฟองรองจะเชอมตอ
และเฟองรองจะเชื่อมตอ
เพลารับและเพลาสงกําลังเพื่อสงผานกําลัง
กลไกซิงโครเมช -กลไกซิงโครเมชใชเพื่อปองกันเสียง
รบกวนจากเกียรและชวยใหการเปลี่ยนเกียร
ราบเรียบขึ้น
-กลไกนี้ถูกเรียกวา "ซิงโครเมช" เนื่องจาก
เฟองสองตัวที่หมุนดวยความเร็วรอบตางกัน
ถูกทําใหหมุนประสานจังหวะกันดวยแรง
เสียดทานในระหวางการเปลี่ยนเกียร
-เกียรแบบธรรมดาแบบใชกับรถขับเคลื่อน
ลอหนาที่มีกลไกซิงโครเมชมีขอดี
(1) ชวยใหคนขับไมตองเหยียบคลัตชส อง
ครั้งทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนเกียร
(2) เมื่อเปลี่ยนเกียร กําลังจะถูกสงตอโดยมี
ความลาชานอยลง
(3) การเปลีย่ นเกียรราบเรียบขึ้นโดยไมมี
ความเสียหายตอเฟองเกียร
ซิงโครเมชแบบมีตัวหนอน
โครงสราง
<1> เฟองเกียรเดินหนาแตละเกียรบนเพลารับกําลังจะขบกับเฟองเกียรท่ีตรงกันบน
เพลาส ง กํ า ลั ง ตลอดเวลา เฟ อ งเหล า นี้ ห มุ น อยู ต ลอดเวลาแม ห ลั ง จากคลั ต ช จั บ ตั ว
เนื่องจากเฟองเหลานี้ไมไดยึดติดอยูกับเพลาและสามารถหมุนไดอิสระ
<2> ดุุมคลัตชขบกับเพลาดวยรองฟนที่อยููในดุุมคลัตช นอกจากนี้ปลอกเลื่อนยังขบกับ
รองฟนบนเสนรอบวงดานนอกของดุมคลัตชและสามารถเลื่อนไปไดตามแนวแกน
<3> ดุดมคลั
มคลตชมรองอยู
ตชมีรองอยสามร
ามรองตามแนวแกนและตวหนอนทสามารถเขาไปอยู
องตามแนวแกนและตัวหนอนที่สามารถเขาไปอยในร นรอง
อง
นั้น ตัวหนอนจะถูกดันติดกับปลอกเลื่อนตลอดเวลาดวยสปริงดันตัวหนอน
<4> เมือื่ คันั เกียี รอ ยูในตํําแหนงเกีียรวาง สวนที่ีเปนยอดของตััวหนอนแตละอัันจะอยูใน
รองของปลอกเลื่อนพอดี
<5> เฟองทองเหลืืองจะอยูระหวางดุมคลัตชกับโคนของเฟองเกียรและจะถูกดันใหติด
กับโคนเกียรอันใดอันหนึ่ง มีรองเล็กๆ ทั่วทั้งสวนที่เปนโคนดานในของเฟองทองเหลือง
เพืื่อเพิ่มแรงเสียดทาน นอกจากนี้ เฟองทองเหลืืองยังมีรองสามรองสําหรับใหตัวหนอน
เขาไปพอดี
กลไกซิงโครเมช
การทํางาน
การทํางาน
<1> เกียรวาง
เฟองเกียรแตละตัวจะขบกับเฟองตามที่ตรงกันและหมุุนอิสระบนเพลา
<2> เริม่ กระบวนการปรับความเร็วรอบ
เมือื่ เริมิ่ โยกคั
โ นั เกียี ร กา มปูปทีอ่ ยูในรองของปลอกเลื
ป ือ่ นจะเคลือื่ นไปในทิ
ไปใ ิศทาง
ตามแนวลูกศร
เนือื่ งจากสว นยอดทีีอ่ ยูตรงกลางของตััวหนอนซึ่ึงติดิ อยูกับรองของปลอก ป
เลื่อน ตัวหนอนจึงเคลื่อนที่ไปพรอมกันในทิศทางตามแนวลูกศร และดันให
เฟฟองทองเหลือื งแนบกับั สว นที่ีเปนโคนของเฟ โ ฟองเกียี ร เปปนการเริม่ิ
กระบวนการปรับความเร็วรอบ
การทํางาน
<3> ระหวา งกระบวนการปรั ป บั ความเร็็วรอบ
เมื่อโยกคันเกียรออกไปมากขึ้น แรงที่กระทํากับปลอกเลื่อนจะมากกวาแรงของ
สปริ
ป ิงดัันตัวั หนอน ทําํ ให
ใ ป ลอกเลือ่ื นเคลือื่ นตัวั ไปอยู
ไป บนยอดของตัวั หนอน
<4> สิ้นสุดกระบวนการปรับความเร็วรอบ
แรงที่กระทํากับเฟองทองเหลืองมากขึ้นและดันสวนโคนของเฟองเกียรที่ทําให
ความเร็วรอบของเฟองเกียรเทากับความเร็วรอบของปลอกเลื่อนเมื่อความเร็วรอบ
ของปลอกเลื่อนเทากับความเร็วรอบของเฟองเกียร เฟองทองเหลืองจะเริ่มหมุน
เล็กนอยในทิศทางการหมุนเปนผลใหรองฟนบนปลอกเลื่อนขบกับรองฟนของ
เฟองทองเหลือง
<5> สนสุ
สิ้นสดการเปลี
ดการเปลยนเกยร
่ยนเกียร
หลังจากที่รองฟนบนปลอกเลื่อนขบกับรองฟนของเฟองทองเหลือง ปลอกเลื่อนจะ
ไปขบกับรองฟนของเฟองเกียรเปนการสิ้นสดการเปลี
ไปขบกบรองฟนของเฟองเกยรเปนการสนสุ ดการเปลยนเกยร
่ยนเกียร
กลไกซิงโครเมชแบบสามโคนหรือสองโคน

เพืื่ อ เพิิ่ ม ประสิ


ป ิ ท ธิิ ภ าพของกลไกซิ
ไ ิง
โครเมช ในรถรุนใหมใชกลไกซิงโคร
เมชแบบสามโคนหรื โ ื อ สองโคน

โดยเฉพาะกับเกียรสองและเกียรสาม
กลไกซิงโครเมชแบบสามโคน
กลไกซิงโครเมชแบบสามโคนแบงเฟองทองเหลืองเปนแหวนวงนอก วงกลาง และวง
ใน เมอดนแหวนวงนอก
เมื่อดันแหวนวงนอก แหวนวงนอกและวงกลางจะสร
แหวนวงนอกและวงกลางจะสรางโคนหนงโคน
างโคนหนึ่งโคน และแหวนวง
กลางและวงในจะกลายเปนอีกหนึ่งโคน นอกจากนี้ แหวนวงในและเฟองเกียรจะเปนอีก
หนึ่งโคน ดงนนแรงเสยดทานจงเกดจากโคนทงสามสวน
หนงโคน ดังนั้นแรงเสียดทานจึงเกิดจากโคนทั้งสามสวน ประสทธภาพในการดู
ประสิทธิภาพในการดดซั
ดซบบ
ความแตกตางของความเร็วรอบของเกียรจึงมากขึ้น และกระบวนการปรับความเร็วรอบ
จึงสําเร็จอยางราบเรียบ
จงสาเรจอยางราบเรยบ

กลไกซิงโครเมชแบบสองโคน

กลไกซิงโครเมชแบบสองโคนมีหลักการเหมือนกันกับกลไกซิงโครเมชแบบสามโคน
ยกเวนแตวา ไมมีการปรับความเร็วรอบระหวางแหวนวงในกับเฟองเกียร
ซิงโครเมชแบบไมมีตัวหนอน
กลไกซิงโครเมชแบบไมมีตัวหนอนมีสปริงล็อกทําหนาที่แทนตัวหนอนและใชกับเกียร 5
ของเกียรที่ใชกับรถขับเคลื่อนลอหนาบางรุนุ
โครงสราง
<1> ปลอกเลื่อน
มีรองสามรองอยูในปลอกเลื่อนเพื่อไวกดสปริงล็อกในขณะที่ปรับความเร็วรอบ
<2> ดุมคลัตช
จะมีสามรองอยููรอบดุุมคลัตชเพื่อยึดเฟองทองเหลืองและสปริงล็อก
<3> สปริงล็อค
สปริ
ป ิงล็็อกมีเี ดือื ยสี่ีเดือื ยเดือื ยหนึง่ึ เปปนตัวั ยึดึ สปริ
ป ิงล็อ็ กเองสว นอีกี สามเดือื ยจะ
ยึดตัวหนอน
<4> เฟองทองเหลือง
มีรองอยูตลอดเสนรอบวงสําหรับใหเดือยของสปริงล็อกยึดไดสามจุด รองถูกลบ
มุมบางสวน
ก ล ไ ก ซิ ง โ ค ร เ ม ช ใ น เ กี ย ร ถ อ ย ห ลั ง
เฟองทองเหลืองของเกียรเดินหนาลดความเร็ว
เฟองทองเหลองของเกยรเดนหนาลดความเรว
รอบของเพลารับกําลังลงกอนที่จะเปลี่ยนเกียร
ถอยหลัง ดวยวธน
ถอยหลง ดวยวิธีนี้ เฟองสะพานเกยรถอยและ
เฟองสะพานเกียรถอยและ
เฟองเกียรถอยหลังบนเพลารับกําลังจะขบกัน
อยางราบรื่น
อยางราบรน
ก ล ไ ก ช ะ ล อ ค ว า ม เ ร็ ว เ พื่ อ เ ข า เ กี ย ร ถ อ ย
เมื่อเขาเกียรถอยหลัง แขนภายในเปลยนเกยร
เมอเขาเกยรถอยหลง แขนภายในเปลี่ยนเกียร
หมายเลข 3 สั ม ผั ส กั บ สลั ก ของเพลาก า มปู
หมายเลข 1 และขยบตาแหนงของเพลากามปู
และขยับตําแหนงของเพลากามป
หมายเลข 1 ไปเปนระยะ A ในทิศทางของเกียร
ทที่ 2ใหเฟองทองเหลองของเกยร
ใหเฟองทองเหลืองของเกียร 2 ทางาน ทํางาน ลด
ความเร็วรอบของเพลารับกําลัง เมื่อแขนภายใน
เปลี่ยนเกียรหมายเลข 3 แยกจากสลกของเพลากามปู
เปลยนเกยรหมายเลข แยกจากสลักของเพลากามปหมายเลข
หมายเลข 1 เปนการสนสุ
เปนการสิ้นสดการเขดการเขาา
เกียรถอยหลัง
กลไกเปลี่ยนเกียร

โครงสราง
-เพลาแขนเลืือ กและเปลี ป ี่ ย นเกีี ย ร
ถู ก ติ ด ตั้ ง ในแนวตั้ ง ฉากกั บ เพลา
ก า มปูป ตรงส ว นบนของเสืื้ อ ชุ ด
เพลาส ง กํ า ลั ง แบบที่ ใ ช กั บ รถ
ขับั เคลือ่ื นลอ หนา
-ไดมีการนํากลไกปองกันการเขา
เกีี ย ร พ ร อ มกัั น และกลไกป
ไ ป อ งกัั น
การเขาเกียรถอยหลังผิดจังหวะมา
ใ  รวมทั้ังกลไกป
ใช ไ ปองกัันเกีียรหลุด
และกลไกป อ งกั น เกี ย ร ถ อยหลั ง
หลุดก็ต็ ิดตัง้ั อยูบนเพลากามปูป
กลไกปองกันการเขาเกียรพรอมกัน

กลไกนี้ ป อ งกั น การเข า เกี ย ร ส อง


เกียรในเวลาเดียวกันที่อาจเกิดขึ้น
เกยรในเวลาเดยวกนทอาจเกดขน
ได เ มื่ อ ก า มปู ส องอั น เคลื่ อ นที่ ใ น
เวลาเดียวกัน กามปู
เวลาเดยวกน กามปทัท้งงสองเขาเกยร
สองเขาเกียร
และจะเปนการเขาเกียรซอน ซึ่งทํา
ใ หห เ กีก ย รร ไ มม ห มุม น ร ถ มีม อ า ก า ร
เหมื อ นกั บ เบรกค า งและล อ ล็ อ ค
ตาย เปนสาเหตุ
เปนสาเหตให ใหเกดอนตรายได
เกิดอันตรายได
แผนล็อคกามปูถูกล็อคไมใหหมุน
โดยโบลท ซงจะยอมใหเพลาและ
โดยโบลท ซึ่งจะยอมใหเพลาและ
ก า นเปลี่ ย นเกี ย ร เ ลื่ อ นได เ ฉพาะ
เพลาที่เลือกเทานั้น
เพลาทเลอกเทานน
การทํางานของกลไกปองกันการเขาเกียรพรอมกัน
-แผนล็อคกามปูจะสวมกั้นสองจาก
สามรองที่เปลี่ยนตําแหนงเกียร
ตลอดเวลาและจะล็อคกามปูท้ังหมด
ยกเวนเกียรที่กําลังจะเปลี่ยน
ตัวอยางเชน เมื่อโยกเกียรไปที่เกียร 1
หรือเกียร 2 แผนล็อคกามปูและแขน
ภายในเปลี่ยนเกียรหมายเลข 1 จะเลื่อน
ไปทางขวาตามรูปทางซายมือ
-แผนล็อคกามปูจะปองกันไมใหหัว
กามปูเกียร 3 ไปเกียร 4 และ 5 ไปเกียร
ถอยหลังเลื่อนไปได ดังนั้น จึงมีเพียง
กามปูเปลี่ยนเกียร 1 ไปเกียร 2 เทานั้นที่
เลือ่ นได
กลไกปองกันการเขาเกียรถอยหลังผิดจังหวะ
ถาหากเกียรถูกโยกไปยังเกียรถอยหลังขณะที่รถแลนจะทําใหเกิดความเสียหายที่คลัตช
และตัวเกียรธรรมดา ทั้งยังทําใหลอล็อคตายเปนสาเหตุใหเกิดอันตรายได ดังนั้น กลไกนี้
จึงถูกกําหนดใหผูขับขี่ตองเปลี่ยนเกียรเปนเกียรวางกอนที่จะเขาเกียรถอยหลังได
การทํางานของกลไกปองกันการเขาเกียรถอยหลังผิดจังหวะ

1.เมื่อเลือกตําแหนงเกียร

เมื่อคันเกียรถูกเลื่อนไปที่ตําแหนงเลือกเกียร 5
ไปเกียรถอยหลัง (ตําแหนงกลางระหวางเกียร 5
และเกี ย ร ถ อยหลั ง ) แขนภายในเปลี่ ย นเกี ย ร
หมายเลข 2 จะเคลื่อนที่ตามทิศทาง "เกียร 5 ไป
เกียรถอยหลัง" ทําใหสลักปองกันการเขาเกียร
ถอยหมุนไปในทิศทางตามลูกศร A
2.เมื่อเปลี่ยนเปนเกียร 5

เมอเกยรถู
เมื ่อเกียรถกกเปลี
เปลยนไปทเกยร
่ยนไปที่เกียร 5 แขนภายในเปลยนเกยรหมายเลข
แขนภายในเปลี่ยนเกียรหมายเลข 2 จะหมุ
จะหมนไปในทิ
นไปในทศทาง
ศทาง
ตามลูกศร B และจะปลอยสลักปองกันการเขาเกียรถอย ทําใหสลักปองกันการเขาเกียร
ถอยหมนกลั
ถอยหมุ นกลบไปยงตาแหนงเดมตามแรงสปรงดงกลบ
บไปยังตําแหนงเดิมตามแรงสปริงดึงกลับ
การทํางานของกลไกปองกันการเขาเกียรถอยหลังผิดจังหวะ
3. เมื่อพยายามเขาเกียรจากเกียร 5 ไปเกียรถอย
หลัง
ถาพยายามเปลี่ยนเกียรโดยตรงจากเกียร 5 ไป
เกียรถอยหลัง (ตามลูกศร C) แขนภายใน
เปลี่ยนเกียรหมายเลข 2 จะไปชนกับสลัก
ปองกันการเขาเกียรถอย ปองกันไมใหเปลี่ยน
เกียรจากเกียร 5 ไปที่เกียรถอยหลัง
4. เมื่อเขาเกียรถอยหลัง
หลังจากที่คันเกียรกลับไปอยูที่ตําแหนงกลางระหวางเกียร 3 และเกียร 4 แลวจึงเลื่อนไป
ที่ตําแหนงเลือกเกียร 5/เกียรถอยหลัง แขนภายในคันเกียรหมายเลข 2 และสลักปองกัน
การเขาเกียรถอยจะอยูในตําแหนงตามรูปทางซายมือ ในตําแหนงนี้ การเขาเกียรถอยหลัง
จะทําใหแขนภายในเปลี่ยนเกียรหมายเลข 2 หมุนไปตามลูกศร D โดยไมมีการขัดขวาง
จากสลักปองกันการเขาเกียรถอย
กลไกการเขาเกียรถอยหลังทางเดียว
เฟฟองสะพานเกีียรถ อยจะเคลือ่ื นทีตี่ อเมืื่อเขา เกีียรถ อยหลัังเทานัั้นเมือื่ เขาเกีียร 5
เฟองสะพานเกียรถอยจะอยูในตําแหนงปกติ
การทํางานของกลไกการเขาเกียรถอยหลังทางเดียว

(1) เมอเปลยนเปนเกยร
เมื่อเปลี่ยนเปนเกียร 5
เมื่อเปลี่ยนไปที่เกียร 5 เพลากามปูหมายเลข 3 จะเคลื่อนไปทางขวา ทําใหลูกปนถูกดัน
ไปอยในรองของเพลากามปู
ไปอยู นรองของเพลากามปหมายเลข
หมายเลข 2
(2) เมื่อเขาเกียรถอย
เมื่อเปลี่ยนเปนเกียรถอยหลัง กามปูเกียรถอยหลังจะถูกทําใหเคลือ่ นทีไ่ ปทางซายดวย
แหวนรัดที่สวมอยูบนเพลากามปูหมายเลข 3
(3) เมื่อเปลี่ยนจากเกียรถอยหลังเปนเกียรวาง
เพลากามปหมายเลข
เพลากามปู หมายเลข 3,3 ลูลกป
กปนและกามปู
นและกามปเกี
เกยรถอยหลงจะเคลอนไปดวยกนทางขวา
ยรถอยหลังจะเคลื่อนไปดวยกันทางขวา
กลไกปองกันเกียรหลุด

ที่เพลากามปูแตละอันจะมีสามรอง
และลูกปนล็อคจะถูกกดใหอยูใน
ร อ งด ว ยสปริ ง ในขณะที่ เ ปลี่ ย น
เกียร นอกจากจะชวยปองกันไมให
เกียรหลุดแลว ยังเปนตัวบอกใหผู
ขับขี่รูสึกถึงการเขาเกียรดวย
หนาที่ของปลอกเลื่อน
เพื่อปองกันไมใหเกียรหลุด ฟนระหวางปลอกเลื่อนกับเฟองความเร็วจะถูกลบมุมเพื่อให
การขบกันของปลอกเลื่อนกับเฟองความเร็วดีขึ้น เพื่อจุดประสงคเดียวกัน ฟนเฟองบน
เพลารับกําลัง เฟองสะพานและเฟองเกียรถอยหลังจะถูกลบมุมเล็กนอยดวย
(1) เมื่อแรงขับถูกสงจากเฟองเกียรไปที่

ปลอกเลื อ่ื น
ฟนของเฟองเกียรขบกับฟนของปลอก
เลือื่ นทังั้ หมด
(2) เมื่อแรงขับถูกสงจากปลอกเลื่อนไป
ยังั เฟฟองเกีียร (ในระหว
ใ า งการใช
ใ 
เครื่องยนตชวยเบรก)
จําํ นวนฟฟนของเฟฟองเกีียรท ีข่ บกับั ฟนของ
ปลอกเลื่อนนอยกวา ทําใหแรงดันการขบ
ระหวา งปลอกเลื
ป อ่ื นกับั เฟฟองเกีียรม ากขึึ้น
จึงชวยในการปองกันเกียรหลุด
กลไกปองกันเกียรถอยหลังหลุด

ที่ ผิ ว หน า ด า นบนของก า มปู เ กี ย ร


ถอยหลั ง จะมี ร อ งลู ก ป น ซึ่ ง ลู ก ป น
ล็ อ คจะถู ก กดให อ ยู ใ นร อ งด ว ย
สปริงเมื่อไมไดอยูในตําแหนงเกียร
ถอยหลั ง ร อ งดั ง กล า วจะป อ งกั น
ไ ม ใ ห เ ฟ อ ง ส ะ พ า น เ กี ย ร ถ อ ย
เคลื่อนที่ขณะเดียวกันเมื่อเลื่อนไป
อยูใ นตําแหนงเกียรถอยหลัง ก็็จ ะ
เปนการบอกผูขับขี่วาไดเขาเกียรจน
สุดหรือไม

You might also like