You are on page 1of 32

วิชา GE 2102

เพศวิถีศึกษา
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุน่
กฎหมายและระเบียบคาสั่งที่เกี่ยวข้อง
กับปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

อ.ดร.ศิริพร เกื้อกูลนุรักษ์
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy)
คำนิยำม
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุระหว่าง 10-19 ปี (อายุ ณ เวลาที่คลอดบุตร)
(องค์การอนามัยโลก, World Health Organization: WHO)

Adolescents ช่วงอายุ 15-19 ปี

Younger
adolescents ช่วงอายุ 10-14 ปี

Adolescent Pregnancy (Issues in Adolescent health and Development), World Health Organization 2004.
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy)

ประเด็นปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นและเยาวชนเป็นปรากฏการณ์ที่ทั่วโลกให้
ความสาคัญ โดยองค์การสหประชาชาติได้กาหนดให้เป็นเป้าหมายสาคัญที่จะต้องร่วมกันลด
ปัญหาดังกล่าว กาหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-19 ปีเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของ
เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals, SDGs )

(SDGs) ตัวชี้วัดที่ 3.7.1 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิต


ที่มีคุณภาพที่ดีและส่งเสริมสุขภาวะทีด่ สี าหรับคนทุกวัย
(Ensure healthy lives and promote well-being for all
at all ages)
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy)
ข้อมูลจากสานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข :
สถานการณ์ใน
ประเทศไทย ❖อัตราการเจริญพันธุ์ของไทยต่ากว่า 1.5/ 1,000 ของประชากรในปัจจุบัน
❖ทารกคลอดใหม่ประมาณ 500,000 คนต่อปี
✓การคลอดบุตรมากกว่าร้อยละ 25 เป็นการเกิดที่ไม่ได้ตั้งใจหรือไม่มีความพร้อม
✓การคลอดบุตรร้อยละ 47 มาจากมารดาวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี

ปี พ.ศ.2566
- อัตราการเกิดมีชีพจากมารดาทีม่ อี ายุ 10-14 ปี เท่ากับ 0.85 ต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี 1,000 คน
ปี พ.ศ. จานวนการคลอดของหญิง10-14 ปี จานวนหญิงอายุ 10-14 ปีทั้งหมด อัตราต่อหญิงอายุ 10-14 ปี 1,000 คน
2555 3,710 2,096,028 1.8
2556 3,415 2,024,332 1.7
2557 3,213 1,991,041 1.6
2558 2,988 1,963,728 1.5
2559 2,746 1,941,436 1.4
2560 2,559 1,942,522 1.3
2561 2,385 1,943,238 1.2
2562 2,180 1,933,318 1.1
2563 1,783 1,912,480 0.9
2564 1,640 1,897,954 0.9
2565 1,569 1,895,746 0.8
ที่มา: ข้อมูลการคลอดมีชีพของหญิงอายุ 10-14 ปี และข้อมูลประชากรกลางปี 2555-2565 จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข / วิเคราะห์ข้อมูลโดยสานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ปี พ.ศ. จานวนการคลอดของหญิง15-19 ปี จานวนหญิงอายุ 15-19 ปีทั้งหมด อัตราต่อหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน
2555 128,493 2,404,152 53.4
2556 121,960 2,386,492 51.1
2557 112,278 2,342,738 47.9
2558 101,301 2,262,832 44.8
2559 91,838 2,162,983 42.5
2560 82,019 2,072,138 39.6
2561 70,181 2,003,012 35.0
2562 61,651 1,971,371 31.3
2563 56,074 1,955,525 28.7
2564 47,378 1,943,850 24.4
2565 40,888 1,943,640 21.0
ที่มา: ข้อมูลการคลอดมีชีพของหญิงอายุ 15-19 ปี และข้อมูลประชากรกลางปี 2555-2565 จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข / วิเคราะห์ข้อมูลโดยสานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
จานวนการคลอดมีชีพของหญิงเฉลีย่ ต่อวัน (คน)
อายุ ปี พ.ศ.
มารดา
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
15-19 ปี 352 334 308 278 252 225 192 169 154 130 112
10-14 ปี 10 9 9 8 8 7 7 6 5 4 4

ที่มา: สานักอนามัย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, สถานการณ์อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนปี 2565


การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy)
ภาวะความเสี่ยงจากการ
ตัง้ ครรภ์ของมารดาวัยรุ่น

➢ความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders)


➢ภาวะโลหิตจาง (Anemia)
➢การติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ
➢ภาวะขาดไอโอดีน (Iodine deficiency)
➢การคลอดก่อนกาหนด (Preterm)
➢ทารกน้าหนักน้อย (Low birth weight)
➢การตายปริกาเนิด (Perinatal and infant mortality)
➢มารดาทุพพลภาพและเสียชีวิต (Maternal morbidity and mortality
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy)

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สาเหตุสาคัญของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
มีสาเหตุมาจาก
การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ▪ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเพศ
โดยไม่มีการป้องกัน ▪การเข้าไม่ถึงบริการทางการแพทย์
▪การเข้าถึงสื่อลามกอนาจารได้ง่าย
▪ความคึกคะนองอยากรู้/อยากทดลอง
▪สภาพแวดล้อมในชุมชนมีความเสี่ยง
▪การใช้สารเสพติด/สุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
▪ความรัก/ความสนใจเพศตรงข้าม
•ฎีกานิยามความรัก
ความรักเป็นสิ่งที่เกิดจากใจไม่อาจบังคับกันได้ ความรักที่
แท้จริง คือความปรารถนาดีต่อคนที่ตนรัก ความยินดีที่คนที่ตนรัก
มีความสุข การให้อภัยเมื่อคนที่ตนรักทาผิด และการเสียสละ
ความสุขของตนเพื่อความสุขของคนที่ตนรัก
จาเลยปรารถนาจะยึดครองผู้ตายเพื่อความสุขของจาเลยเอง
เมื่อไม่สมหวังจาเลยก็ฆ่าผู้ตาย เป็นความผิดและการกระทาที่เห็น
แก่ตัวเห็นแก่ได้ของจาเลยโดยฝ่ายเดียว มิได้คานึงถึงจิตใจและ
ความรู้สึกของผู้ตาย หาใช่ความรักไม่ ทั้งเป็นความผิดที่เป็น
อันตรายต่อสังคมอย่างยิ่ง
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6083/2546
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา
• ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา แก้ไขล่าสุดตาม พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายอาญา (ฉบับที่ 27) พ.ศ.2562 มีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 28 พฤษภาคม 2562 เป็ นต้นมา

มาตรา 276 ผู้ใดข่มขืนกระทาชาเราผู้อื่นโดยขู่เข็ญด้วยประการใดๆ โดยใช้กาลังประทุษร้าย โดย


ผู้อื่นนั้นอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทาให้ผู้อื่นนั้นเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น ต้องระวาง
โทษจาคุกตั้งแต่ 4 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 80,000 บาทถึง 400,000 บาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง ได้กระทาโดยทาให้ผู้ถูกกระทาเข้าใจว่าผู้กระทามีอาวุธปืน
หรือวัตถุระเบิด ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 7 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 140,000 บาทถึง 400,000 บาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง ได้กระทาโดยทาให้ผู้ถูกกระทาเข้าใจว่าผู้กระทามีอาวุธปืน
หรือวัตถุระเบิด หรือโดยใช้อาวุธ หรือโดยร่วมกระทาความผิดด้วยกันอันมีลักษณะเป็นการโทรมหญิงหรือ
กระทากับชายในลักษณะเดียวกัน ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 15 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 300,000
บาทถึง 400,000 บาท หรือจาคุกตลอดชีวิต ...
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

•การโทรมหญิง คือ การที่ผู้ลงมือกระทาชาเราต้องมากกว่าหนึ่งคน ผลัดเปลี่ยนกันไปทา


อย่างน้อยสองคน

• ถ้าคนเดียวข่มขืนกระทาชาเรา ส่วนอีกคนแค่ยืนขู่หรือช่วยจับไม่ให้เหยื่อดิ้น แต่ไม่ได้ร่วมกระทา


ชาเรา แบบนี้ไม่ถือเป็นการโทรมหญิง แต่ทั้งสองคนอาจมีความผิดเป็นตัวการร่วมกันข่มขืน
กระทาชาเราตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 276 ประกอบ มาตรา 83
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 277 ผู้ใดกระทาชาเราเด็กอายุยังไม่เกิน 15 ปีซึ่งมิใช่ภริยาหรือสามีของตน โดยเด็กนั้น


จะยินยอมหรือไม่ก็ตาม ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 5 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 100,000 บาทถึง
400,000 บาท
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นการกระทาแก่เด็กอายุยังไม่เกิน 13 ปี ต้องระวางโทษ
จาคุกตั้งแต่ 7 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 140,000 บาทถึง 400,000 บาท หรือจาคุกตลอดชีวิต
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ได้กระทาโดยทาให้ผู้ถูกกระทาเข้าใจว่า
ผู้กระทามีอาวุธปืนหรือวัตถุระเบิด ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 10 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 200,000
บาทถึง 400,000 บาท หรือจาคุกตลอดชีวิต
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ได้กระทาโดยมีอาวุธปืนหรือวัตถุระเบิด
หรือโดยใช้อาวุธ หรือโดยร่วมกระทาความผิดด้วยกันอันมีลักษณะเป็นการโทรมเด็กหญิงหรือกระทากับ
เด็กชายในลักษณะเดียวกัน ต้องระวางโทษจาคุกตลอดชีวิต
...
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 277 ทวิ ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา 276 วรรคหนึ่ง หรือมาตรา 277 วรรค


หนึ่งหรือวรรคสอง เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทา
(1) รับอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 15 ปีถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่
300,000 บาทถึง 400,000 บาท หรือจาคุกตลอดชีวิต
(2) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจาคุกตลอดชีวิต

มาตรา 277 ตรี ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา 276 วรรคสาม หรือมาตรา 277 วรรคสี่


เป็นเหตุให้ผู้ถูกกระทา
(1) รับอันตรายสาหัส ผู้กระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต หรือจาคุกตลอดชีวิต
(2) ถึงแก่ความตาย ผู้กระทาต้องระวางโทษประหารชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 279 ผู้ใดกระทาอนาจารแก่เด็กอายุยังไม่เกิน 15 ปี โดยเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็


ตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นการกระทาแก่เด็กอายุไม่เกิน 13 ปี ต้องระวาง
โทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปีถึง 10 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ผู้กระทาได้กระทาโดยขู่เข็ญด้วย
ประการใดๆ โดยใช้กาลังประทุษร้าย โดยเด็กนั้นอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทาให้เด็ก
นั้นเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปีถึง 15 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000
บาทถึง 300,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

กระทาอนาจาร หมายความว่า การกระทาต่อเนื้อตัวบุคคล ที่ไม่สมควร


ทางเพศ ทาให้อับอายขายหน้าในทางเพศ ในลักษณะเปิดเผยในที่ที่อาจมีคนเห็นได้
(ต่อหน้าธารกานัล)
• การกอด จูบ ลูบ คลา แตะต้องเนื้อตัว (ดึงแขน/จับมือ) ที่ไม่ถูกกาลเทศะหรือไม่
เหมาะสม หรือโดยไม่ยินยอมและอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้
• แม้ผู้กระทาไม่ได้กระทาเพื่อความใคร่หรือกามารมณ์ ก็ถือเป็นความผิดฐานอนาจาร
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา 280/1 ถ้าผู้กระทาความผิดตามมาตรา 276 มาตรา 277 มาตรา 278


หรือมาตรา 279 ได้บันทึกภาพหรือเสียงการกระทาชาเรา หรือการกระทาอนาจารนั้นไว้
เพื่อแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบสาหรับตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษหนักกว่าที่
บัญญัติไว้ในมาตรานั้นๆ หนึ่งในสาม
ถ้าผู้กระทาความผิดตามวรรคหนึ่ง เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งภาพหรือเสียงการ
กระทาชาเราหรือการกระทาอนาจารที่บันทึกไว้ ต้องระวางโทษหนักกว่าที่บัญญัติไว้ใน
มาตรานั้นๆ กึ่งหนึ่ง
ความผิดเกี่ยวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา
• การกระทาความผิดฐานข่มขืนกระทาชาเราและมีการถ่ายคลิปไว้ เพื่อแสวงหาประโยชน์โดยมิ
ชอบ มีบทลงโทษหนักกว่าเดิมเพิ่มขึ้นอีก หนึ่งในสามของโทษที่บัญญัติไว้ตามความผิดนั้น
ตามมาตรา 280/1
• ถ้าเป็นบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้มีส่วนร่วมในการกระทาความผิดเลย เช่น
บุคคลที่เดินผ่านมาเห็นเหตุการณ์ที่กาลังมีการข่มขืนกระทาชาเรา แล้วถ่ายคลิปเก็บไว้
จะไม่มีความผิดตามมาตรานี้
แต่ถ้าเป็นการกระทาในลักษณะตัวการร่วมกันกระทาความผิด เช่น
นาย ก. และนาย ข. ร่วมกันข่มขืนกระทาชาเรานางสาว ง. ช่วงที่ผลัดกันกระทาชาเรา
นาย ก. และนาย ข. ได้ผลัดกันเป็นคนถ่ายคลิปเช่นนี้จะเข้าข่ายผิดมาตรานี้
กฎหมาย และระเบียบคาสั่ งที่เกีย่ วข้ องกับปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น

1. กฎหมายระหว่างประเทศ
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ.1989 (Convention of the Rights of the Child 1989) ประเทศไทยเป็นรัฐภาคีตั้งแต่ปี
พ.ศ.2535
“สิทธิเด็ก” เป็นสิทธิสากล (Universal Rights) และเป็นสิทธิเด็ดขาด (Absolute Rights) ที่ต้องได้รับการรับรองและ
คุ้มครอง โดยรัฐมีหน้าที่คุ้มครองและปกป้องสิทธิของเด็ก
❖หลักประโยชน์สูงสุดของเด็ก (The best interests of the child)
❖หลักการไม่เลือกปฏิบัติ (Non discrimination)
2. รัฐธรรมนูญ
มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง...
มาตรา 48 สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตร ย่อมได้รับความคุ้มครองและช่วยเหลือ...

3. พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ


วันที่ 31 มีนาคม 2559 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เป็นต้นไป)
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559

ความหมาย “วัยรุ่น” ภายใต้ พ.ร.บ.ฯ มาตรา 3


บุคคลอายุเกิน 10 ปีบริบรู ณ์ แต่ยังไม่ถึง 20 ปีบริบรู ณ์

“เพศวิถีศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้ในเรื่องเพศที่ครอบคลุมถึง


พัฒนาการในแต่ละช่วงวัย การมีสมั พันธภาพกับผู้อื่น การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
พฤติกรรมทางเพศ สุขภาวะทางเพศ และมิติทางสังคมและวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบ
ต่อเรื่องเพศ รวมทั้งสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับอนามัยการเจริญ
พันธุ์ที่ให้ความสาคัญกับความหลากหลายและความเสมอภาคทางเพศ
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์
6 กระทรวงหลัก
กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าทีอ่ อก
กฎกระทรวงและ
ระเบียบให้หน่วยงาน
กระทรวงการอุดมศึกษา
นาไปปฏิบัติ
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กระทรวงแรงงาน

กระทรวงมหาดไทย
กฎหมาย และระเบียบคาสั่ งที่เกีย่ วข้ องกับปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น

• พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
• กฎกระทรวงกาหนดประเภทของสถานบริการและการดาเนินการของสถานบริการในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2562 (กฎกระทรวงสาธารณสุข)
• กฎกระทรวงกาหนดประเภทของสถานศึกษาและการดาเนินการของสถานศึกษาในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2561 (กฎกระทรวงศึกษาธิการ), ฉบับที่ 2 พ.ศ.2566
• กฎกระทรวงการจัดสวัสดิการสังคมที่เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
พ.ศ.2563 (กฎกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ)
• ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขการส่งเสริมสับสนุน การให้คาปรึกษาแนะนา และดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2563
กฎหมาย และระเบียบคาสั่ งที่เกีย่ วข้ องกับปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น

• กฎกระทรวงกาหนดประเภท
ของสถานบริการและการดาเนินการของสถานบริการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
พ.ศ.2
กฎกระทรวง กาหนดการดาเนินการของราชการส่วนท้องถิ่นเพื่อให้วัยรุ่นได้รับสิทธิในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2564. (กฎกระทรวงมหาดไทย)
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
กลไกสาคัญภายใต้ พ.ร.บ. การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
อานาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการฯ
(1) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ
(2) กรรมการโดยตาแหน่ง 9 คน ได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
✓ เสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ฯต่อ
ของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข คณะรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และปลัด ✓ กาหนดแนวทางปฏิบตั ิให้
กรุงเทพมหานคร หน่วยงานรัฐและเอกชน
(3) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน ✓ เสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุง
(4) ผู้แทนเด็กและเยาวชน จานวน 2 คน กฎหมาย และความเห็นในการ
(5) อธิบดีกรมอนามัย เป็นกรรมการและเลขานุการ
ออกกฎกระทรวง
✓ เสนอรายงานต่อคณะรัฐมนตรี
(6) ผู้แทนสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผู้แทน
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ผู้แทนกรมกิจการเด็กและเยาวชน ผู้แทนกรมกิจการสตรีและ อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้
สถาบันครอบครัว เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
มาตรการเพือ่ ป้ องกันและแก้ไขปั ญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
2
1
สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข
✓จัดการสอนเพศวิถีศึกษาที่เหมาะสมกับ ✓ให้ข้อมูลและความรู้ในการป้องกันที่
วัย จัดหาและพัฒนาครูผู้สอน ถูกต้องและครบถ้วนแก่ผู้รับบริการ
✓ให้คาปรึกษาช่วยเหลือ วัยรุ่นตั้งครรภ์ วัยรุ่น
ให้เรียนต่อเนื่องได้อย่างเหมาะสม ✓ให้คาปรึกษาและบริการอนามัยเจริญ
✓มีระบบส่งต่อไปยังสถานบริการอนามัย พันธุ์ที่ได้มาตรฐาน
การเจริญพันธุ์ และสวัสดิการสังคม ✓มีระบบส่งต่อไปยังสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
มาตรการเพือ่ ป้ องกันและแก้ไขปั ญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
4
3
สถานประกอบการ
ราชการส่วนท้องถิ่น
✓ให้ข้อมูล ความรู้ การป้องกันและแก้ไข
ปัญหาการตั้งครรภ์แก่ลูกจ้างวัยรุ่นอย่าง ✓ดาเนินงานเพื่อป้องกันและแก้ไข
ถูกต้องและเพียงพอ ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
✓จัด/สนับสนุนให้ลูกจ้างวัยรุน่ ได้รับ ✓ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเพื่อให้
คาปรึกษาและบริการอนามัยการเจริญพันธุ์
✓มีระบบส่งต่อไปยังหน่วยงานด้าน วัยรุ่นได้รับสิทธิ
สวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
มาตรการเพือ่ ป้ องกันและแก้ไขปั ญหาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น
5
หน่วยงานสวัสดิการสังคม
✓สร้างแกนนาเยาวชนระดับจังหวัดและอาเภอ
✓บริการให้คาปรึกษา คาแนะนาแก่วัยรุ่นและครอบครัว
✓จัดหาที่พักอาศัยที่เหมาะสมและปลอดภัย ตามความจาเป็นทุกรายที่ต้องการความ
ช่วยเหลือโดยไม่เลือกปฏิบัติ
✓จัดหาครอบครัวทดแทน กรณีวัยรุ่นที่ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้
✓ฝึกอาชีพและจัดหางานให้แก่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
การจัดหาครอบครัวทดแทน การขึน้ ทะเบียน
คุณสมบัติของผู้ที่ประสงค์จะรับเลี้ยงดูบุตรของแม่วัยรุ่นเป็นการ
ชั่วคราว ❑ในเขตกรุงเทพมหานคร แจ้งความประสงค์ท่ี
✓อายุไม่ต่ากว่า 25 ปีบริบรู ณ์ - กรมกิจการเด็กและเยาวชน หรือ
✓มีความสามารถในการเลี้ยงดูบุตรของแม่วัยรุ่น - บ้านพักเด็กและครอบครัวกรุงเทพมหานคร
✓มีที่อยู่อาศัยเป็นหลักแหล่งและเหมาะสมในการเลี้ยงดูบุตรของแม่ ❑จังหวัดอื่นๆ แจ้งความประสงค์ท่ี
วัยรุ่น
✓มีความประพฤติเหมาะสมที่จะเป็นผู้เลี้ยงดูบุตรของแม่วัยรุ่น - บ้านพักเด็กและครอบครัว
✓มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจเพียงพอที่จะให้การเลี้ยงดู - สถานสงเคราะห์ ในความรับผิดชอบของกรมกิจการ
บุตรของแม่วัยรุ่น เด็กและเยาวชน
✓ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ - สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ความผิดที่ได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ จังหวัด
✓กรณีอน่ื ตามระเบียบทีอ่ ธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวชนกาหนด
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559
การยกเลิกการเลี้ยงดูบุตรของแม่วัยรุ่น
(1) สิ้นสุดระยะเวลาการเลี้ยงดูตามบันทึกข้อตกลง
เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการเลี้ยงดูบุตรตามบันทึก
(2) แม่วัยรุ่นขอรับบุตรของตนกลับมาเลี้ยงดู
ข้อตกลง หากไม่สามารถติดตามตัวแม่วัยรุ่นได้
(3) ครอบครัวทดแทนยกเลิกการเลี้ยงดู
หรือแม่วัยรุ่นยินยอมให้กรมกิจการเด็กและ
(4) ครอบครัวทดแทนผิดเงื่อนไขตามบันทึกข้อตกลง
เยาวชนดาเนินการตามกฎหมายต่อไป
(5) ครอบครัวทดแทนไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรของแม่
วัยรุ่นต่อไปได้ กรมกิจการเด็กและเยาวชนดาเนินการเพื่อ
(6) การเลี้ยงดูของครอบครัวทดแทน อาจก่อให้เกิด การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สงเคราะห์เด็ก หรือ
อันตรายแก่กายหรือจิตใจแก่บุตรของแม่วัยรุ่น การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายนั้นๆ
ต่อไป
พระราชบัญญัตกิ ารป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
การตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559

1. ได้เรียนเพศวิถีศึกษารอบด้านที่
เหมาะสมกับวัยและนาไปใช้ได้จริง
5. มีสิทธิได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงาน 2. เมื่อตั้งครรภ์สามารถเรียนต่อ
ต่างๆ เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว การฝึก ได้ โดยไม่ถูกบังคับให้หยุดเรียน
อาชีพ การจัดหาครอบครัวทดแทน เป็นต้น ประโยชน์ที่วัยรุ่นได้รับ หรือพักการเรียน
จากกฎหมายฉบับนี้

4. ได้รับการสนับสนุนให้เลี้ยงดู 3. รับคาปรึกษา ได้อย่างมั่นใจว่า


บุตรอย่างมีคุณภาพ ความลับจะไม่ถูกเปิดเผย
The End

You might also like