You are on page 1of 39

สัมมนา

FTA ไทย-EFTA กับโมเดลเศรษฐกิจใหม่หลัง COVID-19

20 กันยายน 2564
การค้าการลงทุนระหว่างไทยกับ EFTA

2
การค้าสินค้า : มูลค่าการค้าของ EFTA กับไทย
ส่งออกจาก EFTA มายังไทย หน่วย :ล้านเหรียญสหรัฐ
CAGR = -4.33% รวมทองคา
7,674 1.73% ของการ ไอซ์แลนด์
7,268
นาเข้าไทย ส่งออก 11 ล้านเหรียญ
4,969 4,511 4,162 CAGR = -0.18% นาเข้า 24 ล้านเหรียญ
1,909 1,645 1,663 1,935 1,895 0.79% ของการ
นาเข้าไทย นอร์เวย์
2558 2559 2560 2561 2562 ส่งออก 464 ล้านเหรียญ
นาเข้า 394 ล้านเหรียญ
ส่งออกจากไทยไปยัง EFTA หน่วย :ล้านเหรียญสหรัฐ CAGR = 18.94%
2.45% ของการ
6,019
5,447 5,093 ส่งออกไทย
สวิตเซอร์แลนด์
CAGR = 1.60%
3,007 3,104
0.63% ของการ
& ลิกเตนสไตน์
1,797 1,585 1,550 ส่งออก 3,687 ล้านเหรียญ
1,455 1,397 ส่งออกไทย
นาเข้า 5,601 ล้านเหรียญ
EFTA
2558 2559 2560 2561 2562 EFTA (ไม่รวมทองคา)

สวิตเซอร์แลนด์ & ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์


1,620 1,528
1,289 1,257 1,420 706
415 408 383 422 464 25 25
394 16 18 24
1,065 1,138 1,132 23 25
1,025 971 345 382 11 11
277
11
2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562

ที่มา: UN Comtrade และกรมศุลกากร (ไม่รวมทองคา)


การค้าสินค้าในสถานการณ์โรคโควิด-19
ส่งออกจากไทยไปยัง EFTA หน่วย :ล้านเหรียญสหรัฐ ส่งออกจาก EFTA มายังไทย หน่วย :ล้านเหรียญสหรัฐ
8,560
3.73% ของการส่งออก 22 7,268
379 25 1.27% ของการนาเข้า
ทั้งหมดของไทย 382 ทั้งหมดของไทย
6,019
24
394
0.61% ของการส่งออก 4,162 0.69% ของการนาเข้า
ทั้งหมดของไทย 11 ทั้งหมดของไทย
8,160 464
3,104 6,861 2,651
25 6 1,935 1,894
422 5,601 1,585 1,550 1,391 391
25 24 22
25
382
11 1,441
422 394 3,687 464 6
2,657 379 391
+93.92% +42.22% 1,138 -2.20%1,132 -10.22% 991 -42.74% -36.30% 2,254 1,527 -2.08% 1,420 -23.94%
1,044
2561 2562 2563 2561 2562 2563 2561 2562 2563 2561 2562 2563
รวมทองคา ไม่รวมทองคา รวมทองคา ไม่รวมทองคา
Switzerland & Liechtenstein Norway Iceland

สวิตเซอร์แลนด์ & ลิกเตนสไตน์ 706


นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์
1,527 25 25 24
1,289 1,420 22
1,257 408 422 464 18
1,044 391 25
23
971 1,065 1,138 1,132 991 383 382 394 379
345 11 11
6
2559 2560 2561 2562 2563 2559 2560 2561 2562 2563 2559 2560 2561 2562 2563

ที่มา: UN Comtrade และกรมศุลกากร (ไม่รวมทองคา)


การค้าสินค้า : 5 อันดับสินค้าส่งออกจาก EFTA มายังไทย
สวิตเซอร์แลนด์ & ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์
ยกเว้นทองคา
HS711319 เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ 81.82 (9.64%) HS030214 ปลาแซลมอนสดหรือแช่เย็น 116.74 (98.01%)
HS910221 นาฬิกาไขลานโดยอัตโนมัติ 73.96 (87.14%) HS030354 ปลาแมคเคอเรลแช่เย็นจนแข็ง 26.56 (22.44%)
HS910219 นาฬิกาอื่นๆ 67.02 (52.60%) HS030211 ปลาเทราต์สดหรือแช่เย็น 25.60 (99.03%)
HS911490 ส่วนประกอบของนาฬิกา 61.60 (51.61%) HS030314 ปลาเทราต์แช่เย็นจนแข็ง 16.61 (51.81%)
HS910129 นาฬิกาที่ตัวเรือนทาด้วยโลหะมีค่า 69.85 (90.07%) HS470200 เยื่อไม้เคมีชนิดละลายได้ 15.27 (10.23%)

ไอซ์แลนด์
HS030391 ตับ ไข่และมิลท์ จากปลา 3.91 (43.61%)
HS030359 ปลาแมคเคอเรลอื่นๆ และจะละเม็ด 2.16 (0.83%)
HS030389 ปลาทะเลแช่เย็นจนแข็ง 0.76 (1.42%)
HS150420 ไขมันและน้ามันของปลา 0.64 (4.34%)
HS030486 ปลาเฮอร์ริง สด แช่เย็น หรือจนแข็ง 0.59 (80.38%)

ที่มา: UN Comtrade และกรมศุลกากร


หมายเหตุ: ตัวเลขแรก คือมูลค่าล้านเหรียญสหรัฐ, ตัวเลขในวงเล็บ คือ สัดส่วนต่อการนาเข้าของไทยทั้งหมด
การค้าสินค้า : 5 อันดับสินค้าส่งออกจากไทยไปยัง EFTA
สวิตเซอร์แลนด์ & ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์
ยกเว้นทองคา
HS911490 ส่วนประกอบของนาฬิกา 64.05 (63.70%) HS851762 เครื่องจักรรับส่ง เสียง ภาพ ข้อมูล 20.60 (1.52%)
HS710391 ทับทิม แซปไฟร์และมรกต 57.81 (6.50%) HS870332 รถยนต์และยานยนต์สาหรับบุคคล 20.28 (0.61%)
HS711319 เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ 51.78 (2.44%) HS841582 เครื่องปรับอากาศ 18.67 (90.61%)
HS847170 หน่วยเก็บเครื่องประมวลผลข้อมูล 50.97 (0.46%) HS852871 เครื่องรับโทรทัศน์ที่ไม่ได้มีจอ 17.15 (2.73%)
HS911320 สายนาฬิกาของนาฬิกาชนิดวอตช์ 32.12 (97.23%) HS100630 ข้าวที่สีบ้างแล้วหรือสีทั้งหมด 13.12 (0.35%)

ไอซ์แลนด์
HS851762 เครื่องจักรรับส่ง เสียง ภาพ ข้อมูล 1.45 (0.11%)
HS870421 ยานยนต์สาหรับขนส่งของน้าหนัก 1.20 (0.02%)
HS160414 ปลาทูนา สคิปแจ็ก ปรุงแต่งไว้ไม่ให้เสีย 1.14 (0.05%)
HS150420 ไขมันและน้ามันของปลา 1.10 (6.00%)
HS160232 ไก่ ปรุงแต่งไว้ไม่ให้เสีย 0.74 (0.03%)

ที่มา: UN Comtrade และกรมศุลกากร


หมายเหตุ: ตัวเลขแรก คือมูลค่าล้านเหรียญสหรัฐ, ตัวเลขในวงเล็บ คือ สัดส่วนต่อการส่งออกของไทยทั้งหมด
การค้าสินค้า : รายจ่ายภาษีนาเข้า
หน่วย :ล้านเหรียญสหรัฐ EFTA นาเข้าจากไทย : 5 อันดับสินค้าที่มีรายจ่ายภาษีสูงสุด
รายจ่ายภาษี มูลค่า อัตราภาษี
94.57 กรณี MFN (ล้านเหรียญ) (ล้านเหรียญ) (%)
86.87 HS020714 ชิ้นเนื้อและส่วนของสัตว์ปีกมีชวี ิต 8.10 2.95 275.15
HS190230 พาสต้าทาให้สุก/ยัดไส้/ปรุงแต่ง 6.82 7.74 88.15
HS160232 ไก่ ปรุงแต่งไว้ไม่ให้เสีย 5.97 5.06 118.07
HS210390 ซอสและของปรุงแต่ง 5.90 16.19 36.45
HS070999 ข้าวโพดหวาน กระเจี๊ยบสด/แข่เย็น 5.67 7.55 75.10
กรณี PRF
HS160232 ไก่ ปรุงแต่งไว้ไม่ให้เสีย 1.25 5.06 24.70
HS160239 เนื้อสัตว์อื่นปรุงแต่งไว้ไม่ให้เสีย 0.47 2.08 22.38
3.44
HS610990 เสื้อผ้าที่ทาด้วยวัตถุทออื่นๆ 0.27 5.09 5.34
HS200599 ผักที่บรรจุในภาชนะที่อากาศเข้าไม่ได้ 0.24 0.54 45.22
กรณี MFN กรณี PRF EFTA
ไทยน าเข้ส่างจาก
ออก
มาไทย HS160414 ปลาที่บรรจุในภาชนะที่อากาศเข้าไม่ได้ 0.11 32.91 0.35
EFTA นาเข้าจากไทย EFTA
ไทยนาเข้าจาก EFTA : 5 อันดับสินค้าที่มีรายจ่ายภาษีสูงสุด
รายจ่ายภาษีของไทยที่จ่ายให้กับ EFTA กรณี MFN = 86.87 ล้านเหรียญ HS711319 เครื่องเพชรพลอยและรูปพรรณ 8.20 81.98 10
กรณี PRF = 3.44 ล้านเหรียญ
HS300490 สารระงับเชื้อ ยาชา ยาสลบ 4.72 59.55 7.93
รายจ่ายภาษีของ EFTA ที่จ่ายให้กับไทย = 94.57 ล้านเหรียญ
HS330499 ครีมและโลชันอื่น ๆ สาหรับหน้าหรือผิว 4.65 15.50 30
HS310520 ปุ๋ยที่ได้จากแร่หรือปุ๋ยเคมี 4.43 88.56 5
HS910221 นาฬิกาไขลานโดยอัตโนมัติ 3.70 73.96 5
ที่มา : UN Comtrade และกรมศุลกากร 7
การค้าบริการ : มูลค่าการค้าบริการของ EFTA
EFTA ส่งออกไปโลก หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ ประเภทบริการส่งออกสูงสุด
177,857
172,405
168,950 CAGR = 1.93% 2 3
165,635 1
71% เป็นของ
159,702 สวิตเซอร์แลนด์ & บริการธุรกิจอื่นๆ เช่น บริการประกันและ บริการขนส่ง
ลิกเตนสไตน์ บริการวิชาชีพ วิจัยพัฒนา การเงิน $26,981 ล้าน
$36,444 ล้าน $33,734 ล้าน CAGR = -5.48%
2558 2559 2560 2561 2562 CAGR = -3.52% CAGR = -4.00%
EFTA นาเข้าจากโลก หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ ประเภทบริการนาเข้าสูงสุด
163,102 161,137
159,372
CAGR = 2.79% 1 2 3
150,054 65% เป็นของ
144,316
สวิตเซอร์แลนด์ & บริการธุรกิจอื่นๆ เช่น บริการประกันและ บริการโทรคมนาคม
ลิกเตนสไตน์ บริการวิชาชีพ วิจัยพัฒนา การเงิน คอมพิวเตอร์ และข้อมูล
$30,339 ล้าน $30,055 ล้าน $18,878 ล้าน
2558 2559 2560 2561 2562 CAGR = -5.15% CAGR = -6.31% CAGR = 3.03%

สวิตเซอร์แลนด์ & ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์


113,704 118,819 122,082 126,842 121,642 52,783 53,412
47,269 48,349 49,840 6,325 6,572
104,038 5,350
94,206 98,483 105,747 106,039 41,647 41,465 40,543 44,443 45,137 4,351 5,626
4,279 3,687
3,785
2,841 3,221
2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562 2558 2559 2560 2561 2562

ที่มา: UNCTAD/WTO นาเข้า ส่งออก


หมายเหตุ: ด้วยข้อจากัดของข้อมูล จึงไม่สามารถที่จะแสดงข้อมูลการค้าบริการระหว่างไทยกับ EFTA ได้
การค้าบริการ : มูลค่าการค้าบริการของ EFTA กับไทย
ประเภทบริการ EFTA ส่งออกสูงสุด CAGR = 5 ปีย้อนหลัง (2558-2563)
EFTA ส่งออกมายังไทย หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ

863 926 954


848 815
14 17 17
218
19
234 9 1 2 3
195 197 191
บริการขนส่ง ค่าใช้สิทธิในทรัพย์สิน บริการธุรกิจอื่นๆ เช่น
639 +1.8% 648 +7.4% 691 +3.0% 701 -14.6% 614
$190 ล้าน ทางปัญญา บริการวิชาชีพ วิจัยพัฒนา
(สัดส่วน 23.28%) $185 ล้าน $143 ล้าน
2559 2560 2561 2562 2563E CAGR = +5.57% (สัดส่วน 22.66%) (สัดส่วน 17.56%)
ไทยส่งออกไปยัง EFTA หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ CAGR = +7.10% CAGR = +1.05%
1,507 1,581 ประเภทบริการไทยส่งออกสูงสุด
1,467 1,367
1,256 15 17 17
12 450 405 435 11
306
312 1 2 3
931 +16.9% 1,002 +2.7% 1,085 +4.9% 1,128 -13.5% 1,050 บริการเกี่ยวกับ บริการธุรกิจอื่นๆ เช่น บริการขนส่ง
การท่องเที่ยว บริการวิชาชีพ วิจัยพัฒนา $178 ล้าน
2559 2560 2561 2562 2563E $724 ล้าน $143 ล้าน (สัดส่วน 13.04%)
(สัดส่วน 52.94%) (สัดส่วน 26.37%) CAGR = +9.50%
Switzerland&Liechtenstein Norway Iceland CAGR = +8.78% CAGR = +5.09%

สวิตเซอร์แลนด์ & ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์


1,002 1,085 1,128 1,050 450 435 19
931 405 17 17
312 306 14
11
15 17 17
639 648 691 701 614 12
195 197 218 234 191 9
2559 2560 2561 2562 2563E 2559 2560 2561 2562 2563E
2559 2560 2561 2562 2563E
ที่มา: OECD Import Export
การลงทุน : มูลค่า FDI ของ EFTA กับไทย
การลงทุนโดยตรงของ EFTA มายังไทย สาขาที่ EFTA ลงทุนในไทยสูงสุด ปี 2562 (แสดงเฉพาะ 7 สาขาแรก)
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ FDI Stock CAGR
สาขา
(ล้านดอลลาร์สรอ.) (%)
5,475
กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 1,915 14.4%
4,319 4,530 4,431 CAGR = การผลิตผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก 967 21.2%
8.3% การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยาน
362 13.0%
ยนต์และจักรยานยนต์
กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 346 0.9%
1,045 สัดส่วนจาแนกประเทศ การผลิตเคมีภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์เคมี 234 12.6%
338 211 -100 สวิตเซอร์แลนด์ = 83.7% การผลิตเภสัชภัณฑ์พื้นฐานและการผลิตสูตร
183 14.7%
นอร์เวย์ = 10.8% ตารับทางเภสัชกรรม
2559 2560 2561 2562 ลิกเตนสไตน์ = 2.0% การผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์
178 6.9%
Stock Net Flow ไอซ์แลนด์ = 3.5% อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์

การลงทุนโดยตรงของไทยไปยัง EFTA สาขาที่ไทยไปลงทุน EFTA สูงสุด ปี 2562


หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐ
FDI Stock CAGR
สาขา
296 (ล้านดอลลาร์สรอ.) (%)
245 264 CAGR = การผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทอื่น ๆ 72 2.9%
184 32.2% การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยาน
ยนต์และจักรยานยนต์ 65 67.5%
87 การผลิตยานยนต์ รถพ่วงและรถกึ่งพ่วง 35 N/A
60 สัดส่วนจาแนกประเทศ
20 32 กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 24 15.1%
สวิตเซอร์แลนด์ = 85.7%
การผลิตผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์
2559 2560 2561 2562 นอร์เวย์ = 3.7%
อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์ทางทัศนศาสตร์ 6 53.7%
ลิกเตนสไตน์ = 8.7%
Stock Net Flow ไอซ์แลนด์ = 1.8%
ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย
ประโยชน์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย
ของ FTA ไทย-EFTA

11
ผลกระทบของการลดภาษีนาเข้าสินค้าทุกรายการต่อเศรษฐกิจไทย (กรณีไทยไม่ได้สิทธิ GSP แล้ว)
ผลกระทบระยะยาว ผลกระทบระยะสั้น
ผลกระทบต่อตัวแปร
ไทย, EFTA ลด ไทย, EFTA ลด
ภาษี ไทยลดภาษี EFTA ลดภาษี ภาษี ไทยลดภาษี EFTA ลดภาษี
สวัสดิการสังคมของไทย ณ ราคาปี 2557
(EV, ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 801 128 672 396 2 394
GDP (%) 0.179 0.059 0.120 0.003 0.005 -0.002
อัตราเงินเฟ้อ (%) 0.169 -0.018 0.187 0.213 -0.005 0.218
ดุลการค้า ณ ราคาปี 2557 (ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ) 66 -15 80 -202 -97 -105
รายได้ภาษี (%) 0.165 -0.080 0.246 0.057 -0.114 0.172
การส่งออก (%) 0.142 0.141 0.001 -0.131 0.056 -0.187
การนาเข้า (%) 0.224 0.132 0.092 0.086 0.089 -0.003
อัตราการค้า (%) 0.095 -0.021 0.115 0.140 -0.007 0.147
การบริโภคของครัวเรือน (%) 0.215 0.037 0.177 0.097 0.001 0.096
การลงทุน (%) 0.312 0.096 0.215 0.331 0.102 0.229
จานวนคนจน (คน) -85,189 -6,869 -78,838 -77,822 -4,520 -55,010
ช่องว่างความยากจน (%) -0.017 -0.003 -0.014 -0.012 -0.001 -0.011
ความรุนแรงของความยากจน (%) 0.002 -0.001 0.003 0.002 0.000 0.003
รายได้เกษตรกร (%) 0.960 0.022 0.937 0.863 -0.008 0.871
สัมประสิทธิ์จีนี (%) -0.036 0.002 -0.038 -0.039 0.001 -0.040
สัดส่วนรายได้ 20% บนต่อ 20% ล่าง -0.033 0.002 -0.031 -0.035 0.001 -0.036
ปริมาณการปล่อยก๊าซ CO2 (%) 0.085 0.047 0.038 -0.068 -0.001 -0.068
อัตราค่าจ้างแรงงานทักษะ (%) 0.255 0.040 0.215 0.193 0.021 0.173
อัตราค่าจ้างแรงงานทักษะน้อย (%) 0.327 0.041 0.286 0.272 0.024 0.248
ที่มา : การจาลองสถานการณ์ด้วยแบบจาลอง GTAP 12
การลดภาษีนาเข้าสินค้าที่ทาให้สวัสดิการสังคมเพิม่ ขึ้นสูงสุด
การลดภาษีของไทย การลดภาษีของ EFTA หน่วย : การเปลี่ยนแปลง
สวัสดิการสังคม (EV, สวัสดิการสังคม (EV, ล้าน
สาขา GDP (%) สาขา GDP (%)
ล้านเหรียญสหรัฐ*) เหรียญสหรัฐ*)
ผลิตภัณฑ์เนื้อจากสัตว์จาพวกไก่ 363.9 0.063
คอมพิวเตอร์, อุปกรณ์ 66.8 0.028 หมู และเครื่องใน
อิเล็กทรอนิกส์, Optical Products ผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆ เช่น 53.9 0.010
อุปกรณ์ไฟฟ้า, เครื่องใช้ไฟฟ้า 27.3 0.012 ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา ผัก และ
เคมีภัณฑ์ 11.7 0.006 ผลไม้ ผลิตภัณฑ์จากแป้ง
ผลิตภัณฑ์โลหะ 11.5 0.005 เครื่องแต่งกาย 23.4 0.006
เครื่องจักรและอุปกรณ์อื่นๆ สิ่งทอ 9.0 0.002
11.1 0.005
ผลิตภัณฑ์โลหะ 8.7 0.002

สาขา จานวนคนจน (คน) สาขา จานวนคนจน (คน)


คอมพิวเตอร์, อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, Optical -2,092 ผลิตภัณฑ์เนื้อจากสัตว์จาพวกไก่ หมู -56,386
Products และเครื่องใน
เคมีภัณฑ์ -412 ผักผลไม้และถั่ว -1,686
ผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆ เช่น ผลิตภัณฑ์แปรรูป -412 ข้าวที่สีแล้ว -1,364
จากปลา ผัก และผลไม้ ผลิตภัณฑ์จากแป้ง ผลิตภัณฑ์โลหะ -1,012
ผลิตภัณฑ์ยา -412 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารอื่ น ๆ เช่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ปรรู ป -834
*ณ ราคาปี 2557 จากปลา ผัก และผลไม้ ผลิตภัณฑ์จากแป้ง
ที่มา : การจาลองสถานการณ์ด้วยแบบจาลอง GTAP และแบบจาลองจุลภาคครัวเรือน 13
การลดภาษีนาเข้าสินค้าที่ทาให้สวัสดิการสังคมลดลง
การลดภาษีของไทย การลดภาษีของ EFTA หน่วย : การเปลี่ยนแปลง
สวัสดิการสังคม
สาขา (EV, ล้านเหรียญ GDP (%) - ไม่มี -
สหรัฐ*)
ผลิตภัณฑ์นม -0.7 0.000
น้ามันและไขมันจากพืช -0.9 0.000
เครื่องแต่งกาย -1.7 0.000
ผลิตภัณฑ์อาหารอื่นๆ เช่น -2.2 0.000
ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา ผัก
และผลไม้ ผลิตภัณฑ์จากแป้ง
ผลิตภัณฑ์ยา -8.9 -0.002

*ณ ราคาปี 2557
ที่มา : การจาลองสถานการณ์ด้วยแบบจาลอง GTAP และแบบจาลองจุลภาคครัวเรือน 14
ผลกระทบของการเปิดเสรีการลงทุนโดยตรงในภาคบริการ
หน่วย : การเปลี่ยนแปลง
การ
สวัสดิการสังคม บริโภค
ของไทย ดุลการค้า การ ของ
(EV, ล้าน อัตราเงิน (ล้าน รายได้ ส่งออก การนาเข้า อัตรา ครัวเรือน การลงทุน
การเปิดเสรีในสาขา เหรียญฯ*) GDP (%) เฟ้อ (%) เหรียญฯ*) ภาษี (%) (%) (%) การค้า (%) (%)
ผลกระทบในระยะยาว
ธนาคาร/บริการทางการเงินอื่นๆ 2,670 1.05 -0.26 -339.29 -1.87 1.04 1.03 -0.187 0.87 1.84
การประกัน 943 0.77 -0.85 -1473.64 -8.54 -0.46 0.00 -0.073 0.96 3.28
โทรคมนาคม 1,789 0.72 -0.14 -309.24 -1.76 0.59 0.60 -0.129 0.51 1.31
ผลกระทบในระยะสั้น
ธนาคาร/บริการทางการเงินอื่นๆ 290 0.02 0.01 -1906.74 -2.49 -0.57 0.21 0.079 0.18 1.94
การประกัน -3,151 -1.03 -0.38 -4248.06 -9.48 -3.25 -1.40 0.405 -0.24 3.44
โทรคมนาคม 97 -0.01 0.05 -1430.32 -2.20 -0.56 0.01 0.061 0.01 1.39
*ณ ราคาปี 2557
ที่มา : การจาลองสถานการณ์ด้วยแบบจาลอง GTAP และแบบจาลองจุลภาคครัวเรือน

15
ผลกระทบของการเปิดเสรีการลงทุนโดยตรงในภาคบริการ (ต่อ)
หน่วย : การเปลี่ยนแปลง
สัดส่วน อัตราค่าจ้าง
ช่องว่าง ความรุนแรง รายได้ รายได้ 20% ปริมาณการ อัตราค่าจ้าง แรงงาน
จานวนคน ความยากจน ของความ เกษตรกร สัมประสิทธิ์ บนต่อ 20% ปล่อยก๊าซ แรงงาน ทักษะน้อย
การเปิดเสรีในสาขา จน (คน) (%) ยากจน (%) (%) จีนี (%) ล่าง CO2 (%) ทักษะ (%) (%)
ผลกระทบในระยะยาว
ธนาคาร/บริการทางการเงินอื่นๆ -246,805 -0.064 -0.017 0.96 0.027 0.015 1.05 1.20 1.13
การประกัน -247,909 -0.073 -0.021 0.02 0.376 0.185 0.14 4.00 1.80
โทรคมนาคม -125,603 -0.040 -0.012 0.44 0.036 0.026 0.58 1.05 0.87
ผลกระทบในระยะสั้น
ธนาคาร/บริการทางการเงินอื่นๆ -150,504 -0.036 -0.010 0.40 0.012 0.009 0.14 0.83 0.80
การประกัน -32,155 -0.013 0.002 -0.93 0.351 0.178 -1.44 3.33 1.22
โทรคมนาคม -66,543 -0.018 -0.005 0.04 0.026 0.021 -0.07 0.79 0.64

ที่มา : การจาลองสถานการณ์ด้วยแบบจาลอง GTAP และแบบจาลองจุลภาคครัวเรือน

16
ผลกระทบของการลดอุปสรรคการลงทุนโดยตรงต่อเงินลงทุนขาเข้า (Inward FDI) ของไทย
ตัวแปร ค่าสัมประสิทธิ์
ตัวแปรตาม = Ln(FDI18ij)
Ln(FDI17ij) 0.1864 สถานะของไทย
(0.1509)  ข้อจากัดด้านทุนต่างประเทศ (Equity restriction) = 0.174
Ln(GDPj) 0.6642
(0.8565)  การคัดกรองและอนุมัติการลงทุนจากต่างประเทศ (Screening &
Ln(POPj) 0.4097 approval) = 0.031
(1.0068)  ข้อจากัดบุคลากรหลักจากต่างประเทศ (Key foreign personnel)
Ln(distance) -0.3223
= 0.013
(1.1676)
Equity -37.2343**  ข้อจากัดอื่นๆ (Other restriction) = 0.049
(18.2654)
 ข้อจากัดทั้งหมด = 0.268
Screen -12.5752
(22.7852)
KeyPerson -10.5275
(78.6895)
หากไทยลดข้อจากัดด้านทุนต่างประเทศลงเหลือ 0
Other 66.2458 => เงินทุนขาเข้าจาก EFTA เพิ่มขึ้น 6.5% (0.174 ×
(49.8694) 37.2%)
Constant -18.2150
(16.41136)
R2 0.1644
หมายเหตุ: () คือ Standard error, ** = ระดับนัยสาคัญ 95%
ที่มา : การประมาณค่าแบบจาลอง Gravity 17
ผลกระทบของการลดอุปสรรคการลงทุนโดยตรงต่อเงินลงทุนขาออก (Outward FDI) ของไทย

ตัวแปร ค่าสัมประสิทธิ์
ตัวแปรตาม = Ln(FDIij,t)
Ln(FDIij,t-1) 0.2617 การมี FTA ระหว่างไทยกับ EFTA คาดว่าจะทาให้มูลค่า
(0.1186) การลงทุนของไทยไปยัง EFTA เพิ่มขึ้น 2.6%
Ln(GDPj,t) 3.4154
(3.3423)
Ln(POPj,t) -8.2173
(17.9373)
FTAt 2.5637*
(1.5451)
Constant 67.4673
(286.9367)
R2 0.6595
หมายเหตุ: () คือ Standard error, * = ระดับนัยสาคัญ 90%
ที่มา : การประมาณค่าแบบจาลอง Gravity

18
ผลกระทบจากการเปิดตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
และผลิตภัณฑ์ยาสูบ

19
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อัตราภาษีนาเข้า MFN เฉลี่ย 60% ยาสูบ อัตราภาษีนาเข้า MFN เฉลี่ย 60%
2559 2560 2561 2562 2563 2559 2560 2561 2562 2563
มูลค่านาเข้าจาก EFTA (ลบ.) 0.007 0.041 0.083 0.093 0.035 มูลค่านาเข้าจาก EFTA (ลบ.) 5.238 5.458 5.349 2.427 0.054
%การเปลี่ยนแปลง +485.7% +102.4% +12.05% -62.37% %การเปลี่ยนแปลง +4.2% -2.0% -54.63% -97.78%
สัดส่วนต่อการนาเข้าของไทย 0.002% 0.013% 0.022% 0.024% 0.012% สัดส่วนต่อการนาเข้าของไทย 2.56% 2.39% 1.93% 0.76% 0.02%

คิดเป็นสัดส่วนต่อการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศ ≈ 0.0014% คิดเป็นสัดส่วนต่อการบริโภคยาสูบของประเทศ ≈ 0.14%


*คานวณร่วมกับมูลค่าการบริโภคในบัญชีประชาชาติ *คานวณร่วมกับมูลค่าการบริโภคในบัญชีประชาชาติ
ต้นทุนเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จาก EFTA ต้นทุนเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดจากการบริโภคยาสูบจาก EFTA
ณ ปัจจุบัน ≈ 1.2 ล้านบาทต่อปี ณ ปัจจุบัน ≈ 96.8 ล้านบาทต่อปี
*คานวณโดยอ้างอิงงานศึกษาของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2560) *คานวณโดยอ้างอิงงานศึกษาของสานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (2557)
o ต้นทุนทางตรง ≈ 0.05 ล้านบาทต่อปี ประกอบด้วย ต้นทุนค่ารักษาพยาบาล ต้นทุน o ต้นทุนทางตรง ≈ 23.93 ล้านบาทต่อปี ประกอบด้วย ต้นทุนจากการรักษาพยาบาล
ความเสียหายต่อทรัพย์สิน และต้นทุนการดาเนินคดีความ o ต้นทุนทางอ้อม ≈ 72.91 ล้านบาทต่อปี ประกอบด้วย ต้นทุนเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
o ต้นทุนทางอ้อม ≈ 1.13 ล้านบาทต่อปี ประกอบด้วย ต้นทุนเสียชีวติ ก่อนวัยอันควรด้วย ด้วยโรค
อุบัติเหตุ และด้วยโรค

การลดภาษีนาเข้าเป็น 0 ต้นทุนที่เกิดจากลดภาษีนาเข้า 1 แสนบาทต่อปี


จะทาให้ราคาสินค้าทั้งสองของ EFTA เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้กับ EFTA 17.31
ลดลงประมาณ 37.5% ต้นทุนที่เกิดจากลดภาษีนาเข้า
17.2 ล้านบาทต่อปี ล้านบาทต่อปี
ยาสูบให้กับ EFTA
*คานวณจากโครงสร้างราคาที่ประกอบไปด้วย ราคา CIF, อากรขาเข้า,
ภาษีสรรพสามิต, ภาษีเพื่อมหาดไทย และภาษีมูลค่าเพิ่ม *คานวณโดยใช้ค่าความยืดหยุ่นของต้นทุนเศรษฐกิจและสังคมต่อราคาจากงานศึกษาของต่างประเทศ
เช่น Wagenaar AC, Komro KA and Salois MJ (2009) , Elder RW, Lawrence B, Ferguson A,
Naimi TS,20Brewer RD, Chattopadhyay SK, et al. (2010), Reed H (2010)
ผลกระทบของการลดภาษีนาเข้าระหว่าง EFTA
กับประเทศในอาเซียน ที่มีต่อเศรษฐกิจไทย

21
ผลกระทบของการลดภาษีนาเข้าทัง้ หมดระหว่าง EFTA กับประเทศในอาเซียน
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาคของไทย หน่วย: การเปลี่ยนแปลง, ล้านเหรียญฯ ณ ราคาปี 2557
เอฟทีเอ สวัสดิการสังคม GDP ดุลการค้า รายได้ภาษี การส่งออก การนาเข้า การลงทุน
อินโดนีเซีย-EFTA -8.3 -8.3 -0.4 -3.7 -10.3 -11.9 -5.4
เวียดนาม-EFTA -4.5 -4.2 -0.3 -1.8 -3.4 -4.5 -2.8
มาเลเซีย-EFTA -4.6 -4.3 -0.2 -1.7 -5.6 -6.9 -3.2
ฟิลิปปินส์-EFTA -3.4 -9.4 0.7 -0.1 -10.3 -9.2 -3.0
รวม -22.4 -26.3 -0.2 -7.3 -29.6 -32.5 -14.4
ผลกระทบต่อสาขาการผลิตของไทย หน่วย: การเปลี่ยนแปลง, ล้านเหรียญฯ ณ ราคาปี 2557
เอฟทีเอ
สาขาการผลิต อินโดนีเซีย-EFTA เวียดนาม-EFTA มาเลเซีย-EFTA ฟิลิปปินส์-EFTA รวม
เคมีภัณฑ์ -10.3 -0.4 -0.7 -0.3 -11.4
เครื่องใช้ไฟฟ้า -1.6 -2.2 -4.8 -1.0 -10.0
เครื่องจักรและอุปกรณ์อื่นๆ -3.9 -0.4 -3.0 -0.8 -8.7
การค้า -1.7 -1.0 -1.1 -3.5 -7.3
ผลิตภัณฑ์อาหารอืน่ ๆ (เช่น ปลาแปรรูป ผัก ผลไม้ แป้งแปรรูป) -0.3 -3.7 -0.8 0.1 -4.4
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 0.9 -0.3 1.6 -5.9 -3.7
ธุรกิจก่อสร้าง -1.0 -0.5 -0.6 -1.0 -3.6
ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและถ่านหิน -2.4 -0.2 -0.2 -0.2 -3.0
ผลิตภัณฑ์โลหะ -0.7 -0.1 -1.2 -0.4 -2.5
ผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก 0.5 0.1 -2.8 -0.2 -2.4
ที่มา : การจาลองสถานการณ์ด้วยแบบจาลอง GTAP
แนวโน้มของเนื้อหาการเจรจา

23
เปรียบเทียบบท (chapter) ใน FTA ระหว่าง EFTA ก ับประเทศ
ต่าง ๆ ชื่อบท อินโดนีเซีย
(ปี 2561)
เอกวาดอร์
(ปี 2561)
จอร์เจีย
(ปี 2559)
ฟิลิปปินส์
(ปี 2559)
เนื้อหาในความตกลง
บทบัญญัติทั่วไป (General provisions)    
การค้าสินค้า (Trade in goods)    
การค้านอกภาคเกษตร (Trade in non-agricultural products) * *  
การค้าสินค้าเกษตร (Trade in agricultural products) * *  
มาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) * *  
อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (TBT) * * * 
กฎว่าด้วยถิ่นกาเนิดสินค้า (Rules of origin) * * * *
การอานวยความสะดวกทางการค้า (Trade facilitation) * * * *
การเยียวยาทางการค้า (Trade remedies) * * * *
การค้าบริการ (Trade in services)    
การจัดตั้งธุรกิจ (Establishment)    
การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (Protection of intellectual property)    
การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ (Government procurement)    
การแข่งขัน (Competition)    
การค้าและการพัฒนาที่ยั่งยืน (Trade and sustainable development)    
ความร่วมมือ (Cooperation)  
บทบัญญัติของสถาบัน (Institutional provisions)    
การระงับข้อพิพาท (Dispute settlement)    
บทบัญญัติสุดท้าย (Final provisions)    
* มิได้แยกออกมาเป็นบท แต่เป็นหัวข้อย่อยภายใต้บท
ภาพรวมการค้าสินค้า : พันธกรณีที่กลุ่มประเทศสมาชิก EFTA มีต่อคู่ภาคีต่าง ๆ
 EFTA ลดภาษีเป็นศูนย์ทั้งหมดในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมที่กาหนดไว้ (NAMA, Non-Agricultural
Products Market Access)
 รูปแบบการปกป้องตลาดสินค้า เช่น
 ภาษีนาเข้า
 การใช้ระบบโควตาภาษี
 การใช้กลไกการชดเชยราคา (PCM)
 ลดภาษี โดยมีเงื่อนไขพิเศษ
 มีการระบุเงื่อนไขเฉพาะ สาหรับสินค้าบางกลุ่ม เช่น กลุ่มปาล์มน้ามันของอินโดนีเซีย ต้องเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ด้านความยั่งยืน (ตามที่ระบุไว้ในข้อตกลง)

25
การค้าสินค้า : พันธกรณีที่กลุ่มประเทศสมาชิก EFTA มีต่อคู่ภาคีต่างๆ
นอร์เวย์
 สินค้าที่นอร์เวย์ปกป้อง
 ใช้มาตรการภาษี : สินค้าเกษตร สินค้าพิกัด 3823-โมโนคาร์บอกซิลิกแฟตตี้แอซิดที่ใช้ในอุตสาหกรรม
3501-กาวเคซีอีน 3502-แอลบูมิน
 การใช้ระบบโควตภาษี : เนย น้าผึ้งธรรมชาติ เนื้อสุกร
 การใช้กลไกการชดเชยราคา : บัตเตอร์มิลค์ ขนมที่ทาจากน้าตาล ช็อคโกแลตและอาหารปรุงแต่งที่มี
โกโก้ พาสต้า
 การไม่เปิดเจรจา (กับบางคู่ภาคี) : เนื้อสุกร กะหล่าปลี กาวเคซีอิน
 ลดภาษีเป็นศูนย์ โดยมีเงื่อนไขเพื่อใช้ในการผลิตอาหารสัตว์ : พืชผักแห้ง ข้าวโพด ข้าว แป้งสาลีหรือ
แป้งเมสลิน
การค้าสินค้า : พันธกรณีที่กลุ่มประเทศสมาชิก EFTA มีต่อคู่ภาคีต่างๆ
ไอซ์แลนด์
 สินค้าที่ไอซ์แลนด์ไม่ลดภาษีเป็นศูนย์ ทั้งหมดเป็นกลุ่มสินค้าเกษตรพื้นฐานหรือสินค้าเกษตรแปรรูป
 การปกป้องตลาดสินค้าเกษตรใช้กลไกหลัก 2 ด้าน
 การไม่เปิดการเจรจา (Non-Preferential Treatment: NPT)
 การใช้มาตรการด้านภาษี
 สินค้าที่ไม่เปิดการเจรจา เช่น
 สัตว์มีชีวิต (Chapter1) เนื้อสัตว์ (Chapter2) ฟางและแกลบของธัญพืชที่ไม่ได้จัดทา (พิกัด
1213.00.00) เป็นต้น
 สินค้าที่ปกป้องสูง โดยใช้มาตรการภาษี เช่น
 พาสต้า ซอสและของปรุงแต่งสาหรับทาซอส เนยเทียม แป้งพาย แป้งพิซซ่า (HS1901.2064)
ช็อกโกแลตและอาหารปรุงแต่งอื่นๆที่มีโกโก้ เป็นต้น
การค้าสินค้า: พันธกรณีที่กลุ่มประเทศสมาชิก EFTA มีต่อคู่ภาคีต่างๆ
สวิตเซอร์แลนด์
 สินค้าที่ปกป้อง
 ใช้โควตาภาษี : 1511-น้ามันปาล์ม 1513-น้ามันมะพร้าว (กรณีข้อตกลงกับอินโดนีเซีย)
 ใช้มาตรการภาษี เช่น
 น้ามันมะกอก เนื้อมะพร้าวแห้ง (โคปรา) ถั่วลิสง
 สิ่งเข้มข้นที่ได้จากโปรตีนของหางนม (เวย์)
 ซิการ์ เชอรูต ชิการิลโลและบุหรี่ ผลิตภัณฑ์ยาสูบ สุรา ลิเคียวร์และเครื่องดื่มอื่นๆ ที่เป็นสุรา
 ไส้กรอกและผลิตภัณฑ์ที่คล้ายกัน
 เนื้อสัตว์ ส่วนอื่นของสัตว์หรือเลือดสัตว์ที่ปรุงแต่งหรือทาไว้ไม่ให้เสีย
 น้าผลไม้ (รวมถึงเกรปมัสต์)
 ใช้กลไกการชดเชยราคา : บัตเตอร์มิลค์ โยเกิร์ต เนยเทียม ช็อกโกแลตและอาหารปรุงแต่งอื่นๆที่มีโกโก้
(กรณีข้อตกลงกับประเทศเอกวาดอร์)
 ไม่นาเข้าสู่การเจรจา เช่น สินค้าเกษตรทั้งหมด (กรณีข้อตกลงกับเอกวาดอร์) กาวเคซีอีน แอลบูมิน
 ลดภาษีเป็นศูนย์โดยมีเงื่อนไขเพื่อใช้ในทางเทคนิค เช่น ไขมันและน้ามันจากสัตว์หรือพืช กลุ่มพืชผักอื่นๆ
ที่ปรุงแต่งหรือทาไว้ไม่ให้เสีย เป็นต้น
การค้าบริการ : ภาพรวมของระดับการเปิดตลาด และการเรียกร้องระหว่าง EFTA และคู่ภาคี

 พันธกรณีมีความยืดหยุ่นสูง ขึ้นอยู่กับคู่ภาคี และรายสาขาการเจรจา ระดับการเปิดตลาด


ระหว่าง EFTA และคู่ภาคีจึงหลากหลายและแตกต่างกัน
 EFTA มีท่าทีและแนวโน้มสนใจ การเปิดเสรีในสาขา “บริการวิชาชีพ” ใน Mode 1, 2, 3
(จากข้อเรียกร้องต่ออินโดนีเซีย จอร์เจีย เอกวาดอร์ และฟิลิปปินส์)
 สาขา “การสื่อสาร” เป็นสาขาที่ EFTA ให้ความสนใจ และมีการกาหนดการผูกพันเต็มที่
ใน Mode 1, 2, 3 โดยระดับการเปิดตลาดแตกต่างกันในแต่ละภาคี
 EFTA สนใจในการกาหนดข้อผูกพันเต็มที่ในบริการที่เกี่ยวข้องกับ “ตัวแทนการขนส่งทาง
ทะเล” และ “บริการซ่อมบารุงท่าอากาศยาน”
การค้าบริการ : ภาพรวมของระดับการเปิดตลาด และการเรียกร้องระหว่าง EFTA และคู่ภาคี

 EFTA มีท่าทีและแนวโน้มให้คู่ภาคีเปิดเสรีในสาขาการ “บริการทางด้านสุขภาพ” เช่น


การจัดการโรงพยาบาลและสิ่งอานวยความสะดวกด้านสุขภาพ บริการด้านสังคม
 EFTA มีท่าทีและแนวโน้มเรียกร้องให้คู่ภาคีเปิดเสรีในสาขา “บริการทางการเงิน” แม้ว่า
EFTA เองมีข้อสงวนในสาขานี้อย่างเข้มข้น เนื่องจากความเชื่องโยงด้านกฎระเบียบทาง
การเงินกับ EU และประสบการณ์วิกฤตการเงินในอดีต
 คู่ภาคีมีการเปิดสาขาที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญพิเศษ และอาจกาลังต้องการหรือขาด
แคลน เช่น
 อินโดนีเซียเปิดเสรีสาขา บริการด้านพลังงาน วิศวกรรมการสารวจพลังงานความ
ร้อนใต้พิภพ
 ฟิลิปปินส์เปิดเสรีเต็มที่ใน Mode 4 ให้ EFTA แต่คู่ภาคีอื่นเปิดเสรีเฉพาะบางตาแหน่ง
เช่น ผู้บริหารระดับสูง
การลงทุนที่มิใช่บริการ
ดัชนีกีดกันด้านกฎเกณฑ์ FDI (FDI regulatory restrictiveness index)
อุตสาหกรรม สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ ไทย
เกษตรและป่าไม้ 0.000 0.000 0.120  0.500
เกษตรกรรม เช่น การทานาปลูกพืช การเลี้ยงปศุสัตว์ 0.000 0.000 0.120  0.600
ป่าไม้ 0.000 0.000 0.120 - 0.400
ประมง 0.000 0.575 0.612  0.340
เหมืองแร่และเหมืองหิน (การสกัดน้ามัน) 0.000 0.050 0.112  0.410
อุตสาหกรรมการผลิต 0.000 0.000 0.112 - 0.066
อาหารและอื่นๆ 0.000 0.000 0.112 - 0.126
น้ามันและโรงกลั่น 0.000 0.000 0.112  0.065
โลหะเครื่องจักรและแร่ธาตุอื่นๆ 0.000 0.000 0.112 - 0.059
อุปกรณ์และเครื่องมือไฟฟ้า 0.000 0.000 0.112 - 0.040
อุปกรณ์ขนส่ง 0.000 0.000 0.112 - 0.040
ไฟฟ้า 0.500 0.000 0.562 0.090
การผลิตไฟฟ้า 0.500 0.000 0.562  0.140
การจาหน่ายไฟฟ้า 0.500 0.000 0.562 0.040
การก่อสร้าง 0.000 0.000 0.112 - 0.090
หมายเหตุ: 1 ไม่พบข้อมูลของลิกเตนสไตน์ จึงใช้ตัวบทความตกลงกับคู่ภาคี ในการพิจารณาข้อสงวนของอุตสาหกรรมต่างๆ
✓ คือ ตัวบทความตกลงกับคู่ภาคี แสดงให้เห็นว่ามีข้อสงวนในอุตสาหกรรมนั้น แต่การกีดกันหรือข้อสงวนนี้ค่อนข้างยืดหยุน่ ขึ้นกับการตกลงระหว่างคู่ภาคี
2 ตัวเลขในช่อง คือ ดัชนีกีดกันทางด้านกฎเกณฑ์ FDI (FDI regulatory restrictiveness index) ของ OECD
ที่มา : OECD และตัวบทความตกลงการค้าของ EFTA กับประเทศอื่น
ทรัพย์สินทางปัญญา
ประเด็น ประเด็น
ปฏิบัติตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ (International ภาคีจะต้องพยายามที่จะให้สัตยาบันหรือลงนามในความตกลง
Conventions)  ความตกลงกรุงเฮกว่าด้วยการจดทะเบียนการออกแบบผลิตภัณฑ์
 ความตกลงว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการค้า ระหว่างประเทศ
(TRIPS Agreement)  สนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงของ WIPO (ค.ศ.
 การคุ้มครองทรัพย์สินอุตสาหกรรม (Paris Convention) 1996) (WPPT)
 อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและ  สนธิสัญญาว่าด้วยลิขสิทธิ์ของ WIPO (ค.ศ. 1996) (WCT)
ศิลปกรรม  อนุสัญญากรุงโรมว่าด้วยการคุ้มครองสิทธินักแสดง ผู้กากับเสียง
 สนธิสัญญาความร่วมมือด้านสิทธิบัตร (PCT) และองค์การแพร่ภาพแพร่เสียง
 พิธีสารที่เกี่ยวกับความตกลงมาดริดเรื่องการจดทะเบียนระหว่าง  สนธิสัญญาบูดาเปสว่าด้วยการฝากเก็บจุลินทรีย์เพื่อกระบวนการจด
ประเทศของเครื่องหมาย สิทธิบัตร (ค.ศ. 1977)
 ภาคีที่ยังไม่ได้เป็นภาคีของอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการ  ความตกลงกรุงนีซว่าด้วยการจัดจาพวกสินค้าและบริการระหว่าง
คุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV) ฉบับปี 1978 จะต้องดาเนินการให้ ประเทศเพื่อวัตถุประสงค์ในการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
สอดคล้องกับหลักการที่สาคัญใน UPOV ฉบับปี 1991  สนธิสัญญาปักกิ่งว่าด้วยการแสดงในงานโสตทัศนวัสดุ (ค.ศ. 2012)
 Annex นี้จะไม่กระทบต่อปฏิญญาโดฮาว่าด้วยความตกลงทริปส์
และการสาธารณสุข รวมทั้ง การแก้ไขความตกลง TRIPS โดยที่
ประชุมคณะมนตรีใหญ่ WTO เมื่อ 6 ธันวาคม 2548
32
ประเด็น อินโดนีเซีย เอกวาดอร์ จอร์เจีย ฟิลิปปินส์
สิทธิบัตร
ขยายอายุสิทธิบัตรกรณีขึ้น    
ทะเบียนยาล่าช้าอย่างไม่  ขึ้นกับประเทศภาคีอาจ  ผลิตภัณฑ์ยา และ
สมเหตุสมผล กาหนดให้มีกลไกเพื่อชดเชย ผลิตภัณฑ์อารักขาพืช ไม่เกิน
(Patent Extension) เวลาสาหรับผลิตภัณฑ์ยา 5 ปี (ยาเด็กเพิ่มให้ 6 เดือน
หากกฎหมายของประเทศ
ภาคีอนุญาต)
ข้อมูลที่ไม่เปิดเผย    
(Undisclosed Information)  DE – ระยะเวลาที่กาหนด  DE อย่างน้อย 3 ปี*  DE อย่างน้อย 6 ปี*
 ผลิตภัณฑ์ยา เป็นไปตามกฎหมาย  ห้ามวางตลาด - อย่าง
ภายในประเทศภาคี น้อย 5 ปี*

 ผลิตภัณฑ์เคมีเกษตร  อย่างน้อย 10 ปี*  DE อย่างน้อย 6 ปี*  DE อย่างน้อย 10 ปี*


 ห้ามวางตลาด - อย่าง
น้อย 10 ปี*
DE = Data Exclusivity
*นับจากวันที่ยาที่เป็นเจ้าของข้อมูลได้รับการอนุมตั ิให้วางลาด
33
UPOV 1991 : ประเด็นเจรจาของ EFTA กับประเทศคู่เจรจาอื่นที่ผ่านมา
จากการศึกษาข้อตกลงการค้าเสรีของ EFTA กับประเทศคู่เจรจาอื่นที่ผ่านมา 27 FTA พบว่า การเจรจาในประเด็น UPOV ส่วนใหญ่มี
ข้อกาหนดให้ประเทศคู่เจรจา เข้าภาคี UPOV แต่ให้เลือกได้ว่าจะเข้าเป็นภาคี UPOV 1978 หรือ 1991 (ร้อยละ 37)

กาหนดให้เข้าเป็นภาคี UPOV
1991 หรือมีกฎระเบียบที่ ไม่ได้บังคับให้เข้าภาคี UPOV
สอดคล้องตามบทบัญญติที่ แต่ต้องมีกฎหมายคุ้มครองพันธุ์
สาคัญของ UPOV 1991 ยกเว้น พืชใหม่
จะเป็นภาคีใน UPOV 1978 อยู่ เกาหลีใต้4%(2003)
เช่น Central America State (2014) แล้วและเลือกที่จะไม่เข้าร่วม
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2015 UPOV 1991
เอกวาดอร์ (2018) 11%
[CATEGORY NAME]
[PERCENTAGE]
[CATEGORY NAME] เช่น ชิลี (2004) โคลอมเบีย (2011)
[PERCENTAGE] เปรู (2011) แอลเบเนีย (2010)
เช่น ฮ่องกง (2012) มอนเตเนโกร (2012) เซอร์เบีย (2010)
อินโดนีเซีย (2018)
ฟิลิปปินส์ (2018)
ไม่มีข้อบท กาหนดให้มีการดาเนินการที่
15% สอดคล้องตาม UPOV 1961
เช่น แคนาดา (2009)
กลุ่มความร่วมมืออ่าวอาหรับ (2014) 18% เช่น เม็กซิโก (2001)
รัฐปาเลสไตน์ (1999) นอร์ทมาซิโดเนีย (2002)

34
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

• มีความยืดหยุ่นในการเจรจา ขึ้นกับคู่เจรจา
• หากเคยเปิดตลาดใน FTA อื่นแล้ว จะรวมเรื่องกฎระเบียบตาม WTO GPA และมีระดับการ
เปิดตลาดที่ไม่น้อยกว่า FTA ที่เคยมี
• หากไม่เคยเปิดตลาด เช่น อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์ จะระบุหลักการเรื่องความโปร่งใส และ
การเจรจาในอนาคต

35
การแข่งขันทางการค้า

• ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นธรรม มีกฎหมายกากับพฤติกรรมกีดกันการแข่งขัน
• ลดการผูกขาดและการให้สิทธิพิเศษ โดยเฉพาะรัฐวิสาหกิจ
• มีการตรวจสอบรัฐวิสาหกิจ
• ลดการอุดหนุนโดยรัฐ แต่รัฐยังสามารถอุดหนุนธุรกิจได้ในกรณีที่เป็นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะ

การค้ากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
• ปฏิบัติตามหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานของ ILO
• ให้ความสาคัญด้านแรงงาน ขจัดปัญหาความยากจน คานึงถึงประโยชน์ร่วมกันเป็นสาคัญ
• ปฏิบัติตามกฎหมาย และนโยบายภายในประเทศในด้านการคุ้มครองแรงงาน และสิ่งแวดล้อม
• ให้ความสาคัญในเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม และการปฏิบัติต่อกลุ่มคนที่เปราะบาง เช่น ผู้หญิง เด็ก
ชาวนา
36
การสร้างร่วมมือและขีดความสามารถ

• เสริมสร้างความร่วมมือและขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางด้านการค้าสินค้าและบริการ
• หารือและปรับปรุงข้อกาหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้มีมาตรฐาน
• เน้นการร่วมมือและสร้างความขีดความในด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม
• หาข้อสรุปเพื่อให้เกิดการยอมรับระหว่างผู้มีส่วนได้เสียจากการเข้าร่วมข้อตกลง

37
ข้อเสนอแนะการปรับตัวและเยียวยา

38
การปรับตัวของภาครัฐและภาคธุรกิจ
• พัฒนาฐานข้อมูลเพื่อให้ภาคเอกชน โดยเฉพาะ SMEs สามารถเข้าถึงข้อมูลตลาด EFTA ได้ง่ายและรวดเร็ว
• ส่งเสริมการฝึกอบรม/เพิ่มพูนทักษะให้พนักงาน โดยมุ่งเน้นไปที่ผู้ประกอบการรายย่อย
• ส่งเสริมธุรกิจทดสอบมาตรฐานสินค้า เพื่อให้เอกชนและเกษตรกรเข้าถึงได้ง่าย
• ลดภาษีนาเข้าวัตถุดิบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจ

การชดเชยเยียวยา
• ให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่า/ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลแก่ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ
• ขยายระบบประกันสังคมให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ เพื่อรองรับในกรณีว่างงาน
• ฝึกอบรมแรงงานในสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อย้ายจากอุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบไปยังอุตสาหกรรมอื่น

เพิ่มบทบาทของกองทุนเอฟทีเอ
• อานวยความสะดวกให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงกองทุนได้ง่าย
• จัดตั้งเป็น พ.ร.บ. กองทุน FTA เพื่อรับประกันความมั่นคงของกองทุน เพื่อให้กองทุนมีเงินในการชดเชยหรือ
พัฒนาศักยภาพของผู้ได้รับผลกระทบอย่างเพียงพอ
• ศึกษาความเป็นไปได้และวิธีการในการนาประโยชน์จากผู้ได้ประโยชน์มาชดเชยผู้เสียประโยชน์ ทั้งโดยตรงโดย
อ้อม

You might also like