You are on page 1of 15

การใช้แรงงานหญิง

รศ. ตรีเนตร สาระพงษ์


คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ขอบเขตการนำเสนอ

๏งานทีก่ ฎหมายห้ามมิให้ลกู จ้างทีเ่ ป็ นหญิงทำ


๏งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
๏การคุม้ ครองลูกจ้างหญิงทำงานทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุภาพ
และความปลอดภัยในเวลา ๒๔.๐๐น.-๐๖.๐๐น.
๏ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์มสี ทิ ธิขอให้นายจ้างเปลีย่ น
งานชัวคราว

๏ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิงเพราะเหตุมคี รรภ์
งานทีก่ ฎหมายห้ามมิให้ลกู จ้างทีเ่ ป็ นหญิงทำ
มาตรา ๓๘ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงทำงาน
อย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร ้างทีต ่ ้องทำใต ้ดิน ใต ้น้ำ ในถ้ำ
ในอุโมงค์หรือปล่องในภูเขา เว ้นแต่สภาพของการทำงานไม่เป็ น
อันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของลูกจ ้าง
(๒) งานทีต ่ ้องทำบนนั่งร ้านทีส
่ งู กว่าพืน ิ เมตรขึน
้ ดินตัง้ แต่สบ ้ ไป
(๓) งานผลิตหรือขนสง่ วัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ เว ้นแต่สภาพ
ของการทำงานไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของ
ลูกจ ้าง
(๔) งานอืน ่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
มาตรา ๓๙ บัญญัตวิ า่ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้างซ งึ่ เป็ น
หญิงมีครรภ์ทำงานอย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี้
(๑) งานเกีย ่ วกับเครือ่ งจักรหรือเครือ
่ งยนต์ทม
ี่ ค ั่
ี วามส น
สะเทือน
(๒) งานขับเคลือ ่ นหรือติดไปกับยานพาหนะ
(๓) งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน
สบิ ห ้ากิโลกรัม
(๔) งานทีท ่ ำในเรือ
(๕) งานอืน ่ ตามทีก ่ ำหนดในกฎกระทรวง”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
มาตรา ๓๙/๑ บัญญัตวิ า่ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้าง
ซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำงานในระหว่างเวลา ๒๒.๐๐
นาฬกา ิ ถึงเวลา ๐๖.๐๐ นาฬกา ิ ทำงานล่วงเวลา หรือ
ทำงานในวันหยุดในกรณีทล ู จ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์
ี่ ก
ทำงานในตำแหน่งผู ้บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ
หรืองานเกีย ่ วกับการเงินหรือบัญช ี นายจ ้างอาจให ้
ลูกจ ้างนัน้ ทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได ้เท่าทีไ่ ม่ม ี
ผลกระทบต่อสุขภาพของลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์
โดยได ้รับความยินยอมจากลูกจ ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไป”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ

“ มาตรา ๓๙ เป็ นการพิจารณาในแง่ของ


“ประเภทงาน” โดยดูจากสภาพของงาน

มาตรา ๓๙/๑ เป็ นการพิจารณาในแง่


“เวลาในการทำงาน”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ
(ก)คุ ้มครองลูกจ ้างหญิงทีม ่ คี รรภ์ปัญหาว่ามีครรภ์หรือ
ไม่นัน้ เป็ นข ้อเท็จจริง เชน่ นีล ้ กู จ ้างหญิงจะต ้องแจ ้ง
ให ้นายจ ้างทราบในทันทีทม ี่ คี รรภ์

(๒) ลักษณะงานทีห ่ ้ามลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ


จะเห็นได ้ว่ามีงานตามมาตรา ๓๙(๑) ถึง (๔) ล ้วนเป็ น
งานทีก ่ ระทบต่อทารกทีอ ่ ยูใ่ นครรภ์ ซงึ่ เป็ นบทบัญญัต ิ
ทีห
่ ้ามทำเด็ดขาด
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ

(๓) เวลาทีห ่ ้ามลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำซงึ่ แยกพิจารณาได ้


ดังนี้
ตามมาตรา ๓๙/๑ มีบญ ั ญัตวิ า่ “ห ้ามมิให ้นายจ ้างให ้ลูกจ ้างซงึ่ เป็ น
หญิงมีครรภ์ทำงานในระหว่างเวลา๒๒.๐๐ นาฬกา ิ ถึงเวลา ๐๖.๐๐
นาฬกา ิ ทำงานล่วงเวลา หรือทำงานในวันหยุด
ในกรณีทล ี่ กู จ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำงานในตำแหน่งผู ้บริหาร งาน
วิชาการ งานธุรการหรืองานเกีย ่ วกับการเงินหรือบัญช ี นายจ ้างอาจ
ให ้ลูกจ ้างนัน ้ ทำงานล่วงเวลาในวันทำงานได ้เท่าทีไ่ ม่มผ ี ลกระทบ
ต่อสุขภาพของลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์โดยได ้รับความยินยอม
จากลูกจ ้างก่อนเป็ นคราว ๆ ไป”
งานซึง่ ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์ทำ

(๔) ลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์ ทีท


่ ำงานในตำแหน่ง
บริหาร งานวิชาการ งานธุรการ หรืองานเกีย ่ วกับการเงิน
หรือบัญชม ี ข
ี ้อพิจารณาดังนี้
ก) นายจ ้างสามารถให ้ “ทำงานล่วงเวลาได”้ ในวันทำงาน
ได ้เท่าที่ “ไม่มผ ี ลกระทบต่อสุขภาพ”และต ้อง “ได ้รับ
ความยินยอม”จากลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์เป็ นคราวๆ
ไป
ข) มาตรา ๓๙/๑ ยกเว ้นให ้ทำงานล่วงเวลาตาม ข ้อ ก)
การคุม้ ครองลูกจ้างหญิงทำงานทีเ่ ป็ นอันตรายต่อ
สุภาพและความปลอดภัยในเวลา
๒๔.๐๐น.-๐๖.๐๐น.
มาตรา ๔๐ บัญญัตวิ า่ “ในกรณีทน ี่ ายจ ้างให ้ลูกจ ้างซ งึ่
เป็ นหญิงทำงานระหว่างเวลา ๒๔.๐๐นาฬกา ิ ถึงเวลา
๐๖.๐๐ นาฬกา ิ และพนักงานตรวจแรงงานเห็นว่างานนัน ้
อาจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของหญิง
้ ให ้พนักงานตรวจแรงงานรายงานต่ออธิบดีหรือผู ้ซ งึ่
นัน
อธิบดีมอบหมายเพือ ่ พิจารณาและมีคำสงั่ ให ้นายจ ้าง
เปลีย่ นเวลาทำงาน หรือลดชวั่ โมงทำงานได ้ตามทีเ่ ห็น
สมควร และให ้นายจ ้างปฏิบต ิ ามคำสงั่ ดังกล่าว”
ั ต
ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์มสี ทิ ธิขอให้
นายจ้างเปลีย่ นงานชัวคราว

มาตรา ๔๒ บัญญัตวิ า่
“ในกรณีทล ู จ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมีครรภ์มใี บรับรองของ
ี่ ก
แพทย์แผนปั จจุบน ั ชน ั ้ หนึง่ มาแสดงว่าไม่อาจทำงาน
ในหน ้าทีเ่ ดิมต่อไปได ้ ให ้ลูกจ ้างนัน ิ ธิขอให ้
้ มีสท
นายจ ้างเปลีย ่ นงานในหน ้าทีเ่ ดิมเป็ นการชวั่ คราวก่อน
หรือหลังคลอดได ้ และให ้นายจ ้างพิจารณาเปลีย ่ น
งานทีเ่ หมาะสมให ้แก่ลก ู จ ้างนัน
้ ”
ลูกจ้างซึง่ เป็ นหญิงมีครรภ์มสี ทิ ธิขอให้
นายจ้างเปลีย่ นงานชัวคราว

แม ้งานทีล ู จ ้างหญิงมีครรภ์ทำงานนี้ จะไม่ใชง่ านอันตรายต่อ
่ ก
สุขภาพอนามัยของลูกจ ้างก็ตาม แต่หากลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิงมี
ครรภ์ขอเปลีย ่ นงานในหน ้าทีเ่ ดิมได ้
๑)ต ้องเป็ นลูกจ ้างหญิงมีครรภ์ ซงึ่ เวลาทีข ่ นได ้คือ ชว่ ง
่ อเปลีย
เวลาก่อนคลอด และหลังคลอดแล ้วก็สามารถขอได ้
๒)ต ้องมีใบรับรองแพทย์แผนปั จจุบน ั ขัน
้ ๑ มาแสดงว่าไม่อาจ
ทำงานในตำแหน่งเดิมได ้
๓)เมือ่ ลูกจ ้างขอเปลีย ่ นงานโดยแสดงใบรับรองแพทย์แล ้ว
นายจ ้างต ้องพิจารณาเปลีย ่ นงานทีเ่ หมาะสมให ้ นายจ ้างจะใช ้
ดุลยพินจ ิ ไม่เปลีย ่ นงานไม่ได ้
ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์
มาตรา ๔๓ บัญญัตวิ า่
“ห ้ามมิให ้นายจ ้างเลิกจ ้างลูกจ ้างซงึ่ เป็ นหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์”
ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์
ข้อสงเกตั
๑) “การเลิกจ ้างเพราะเหตุมค ี รรภ์”เป็ นข ้อเท็จจริงทีล
่ ก
ู จ ้างยกขึน ่ นี้
้ อ ้าง เช น
หากลูกจ ้างจะยกเหตุดงั กล่าวขึน ้ อ ้างจะต ้องเก็บพยานหลักฐานต่างๆ เอา
ไว ้อย่างรอบคอบ
๒) มาตรา ๔๓ เป็ นการห ้ามเลิกจ ้างเพราะเหตุมค ี รรภ์เท่านัน ้ หากมีการเลิก
จ ้างเพราะเหตุอน ื่ ในระหว่างการตัง้ ครรภ์ นายจ ้างก็สามารถบอกเลิกจ ้างได ้
ดังนัน้ จึงควรพิจารณาถึง “เหตุ” ว่าเลิกจ ้างด ้วยเหตุอะไร มีเหตุจากตัว
ลูกจ ้าง เชน ่ ถ ้าลูกจ ้างละทิง้ หน ้าทีเ่ ป็ นเวลาทำงานเกินกว่า ๓ วันโดยไม่ม ี
เหตุอน ั สมควร หรือถ ้าลูกจ ้างกระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ ้าง
หรือมีเหตุจากตัวนายจ ้าง เชน ่ นายจ ้างขาดทุน เป็ นต ้น นายจ ้างก็สามารถ
เลิกจ ้างได ้ แม ้จะอยูใ่ นระหว่างการตัง้ ครรภ์ก็ตาม
ห้ามมิให้เลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์

ข้อสงเกต
๓) หากนายจ ้างเลิกจ ้างโดยฝ่ าฝื นมาตรา ๔๓ เพราะเหตุท ี่
ลูกจ ้างหญิงมีครรภ์คำสงั่ เลิกจ ้างของนายจ ้างจึงเป็ น “คำสงั่ ที่
ไม่ชอบด ้วยกฎหมาย” เพาะฝ่ าฝื นพระราชบัญญัตค ิ ุ ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ อันเป็ นกฎหมายทีเ่ กีย ่ วกับความสงบ
เรียบร ้อย เชน่ นีจ
้ งึ ต ้องถือว่า “ลูกจ ้างยังมีสถานะเป็ นลูกจ ้าง
อยู”่ ทำให ้ลูกจ ้างมีสท ิ ธิฟ้องคดีตอ่ ศาลแรงงานเพือ ่ ให ้ศาล
แรงงานแสดงว่าคำสงั่ นัน ้ เป็ นคำสงั่ ทีไ่ ม่ชอบด ้วยกฎหมาย
และสามารถเรียกร ้องค่าเสย ี หายได ้

You might also like