You are on page 1of 27

ความปลอดภัย

 กลยุทธ์ ( strategies) ซึ่งเป็ นความหมายดั้งเดิมในอดีต


โดยสื่ อไปในทางการหาวิธีการหรือลดจำนวนการเกิดอุบัตเิ หตุ
เฉพาะตัวบุคคล โดยให้ ความสำคัญในเรื่องอุปกรณ์ ทปี่ ้ องกันส่ วน
บุคคล เช่ น หมวกนิรภัย รองเท้ านิรภัย หรือแม้ แต่ เสื้อผ้ าทีใ่ ห้ ผ้ ู
ปฏิบัตงิ านสวมใส่
ความปลอดภัย
เน้ นการใส่ ความหมายในเชิงรุก ( active
approach) มากกว่ าคำนิยามเดิมอย่ างทีก่ ล่ าว
มาแล้ว
เน้ นไปในเรื่องของการป้องกันการสูญเสี ย
( loss preventive) ก่ อนการเกิด
อุบัตเิ หตุ ซึ่งการป้องกันการสูญเสี ย
ความปลอดภัย
การระบุอนั ตราย ( hazard
identification)
 เทคนิคการประเมินผล ( technical
วิธีการออกแบบเชิงวิศวกรรมด้ วย ( design
evaluation)
of new engineering feature)
เทคนิคเพือ่ ทำให้ เกิดผลสำเร็จในการป้องกันอุบัตเิ หตุ
และเพิม่ ประสิ ทธิผลของความปลอดภัยมากขึน้
นิยาม
ความปลอดภัย หรือการป้ องกันการสู ญเสี ย ( safety or loss prevention) หมายถึง การป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึน้
โดยใช้ เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการระบุสาเหตุที่จะทำให้ เกิดภัย และกำจัดส่ งเหล่ านั้นออกไปก่ อนที่จะเกิดอุบัติเหตุขนึ้
นิยาม
ภัย ( hazard) หมายถึง สภาวะทางกายภาพ เคมีและชีวภาพที่มีศักยภาพที่จะก่อให้ เกิดสาเหตุให้ เกิดทำลาย
ชีวติ และทรัพย์สินและสิ่ งแวดล้อมได้
นิยาม
ความเสี่ ยง ( risk) หมายถึง การวัดขนาดของความสามารถที่ทำให้ เกิดการบาดเจ็บของมนุษย์ การทำลายสิ่ ง
แวดล้ อม การสู ยเสี ยทางเศรษฐกิจ หรือทำให้ เกิดทั้งหมดที่กล่าวมา
ความสำคัญ
 ในกระบวนการผลิตของสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรมต่ างๆ มักจะมีอนั ตรายมากมายและหลากหลาย ทั้งที่มองเห็นและแผงตัวอยู่ที่ไม่
สามารถมองเห็นได้ ไม่ ว่าจะเป็ นอันตรายที่เกิดจากเครื่องจักรอุปกรณ์ ซึ่งสามารถทำให้ เกิดอันตรายหรือการบาดเจ็บต่ อผู้ปฏิบัติงานจากสาเหตุต่างๆ
ขั้นตอนการสร้ างความปลอดภัย ( Safety
Programs)
การทำให้ เกิดความปลอดภัยสำเร็จตามเป้ าหมายได้ น้ ัน จำเป็ นจะต้ องอาศัยปัจจัยต่ างๆ มาประสานกันเพือ่ ให้ เกิด
ผลสำเร็จ
ขั้นตอนการสร้ างความปลอดภัย ( Safety
Programs)
ระบบ ( system)
ทัศนคติ ( attitude)
พืน้ ฐานของสถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมต่ างๆ
(basic)
ประสบการณ์ ( experience)
ระยะเวลา ( time)
ตัวผู้ปฏิบัตงิ าน ( you)
ขั้นตอนการสร้ างความปลอดภัย ( Safety
Programs)
 ระบบ ( system)
 ทัศนคติ ( attitude)
 พืน้ ฐานของสถานประกอบการหรือโรงงาน
อุตสาหกรรมต่ างๆ (basic)
 ประสบการณ์ ( experience)
 ระยะเวลา ( time)
 ตัวผู้ปฏิบัตงิ าน ( you)
ขั้นตอนการสร้ างความปลอดภัย ( Safety
Programs)
 ขั้นตอนแรก จะต้ องมีการสำรวจและบันทึกรายละเอียดต่ างๆ ทีจ่ ำเป็ นเบือ้ ง
ต้ น สาเหตุทอี่ าจจะทำให้ เกิดความล้ มเหลวในการทำงานของโปรแกรมความปลอดภัย
และวิธีการกำจัดสิ่ งเหล่ านั้นออกไป
 ขั้นตอนทีส่ อง เป็ นขั้นตอนทีว่ ธิ ีการ เทคนิคทีจ่ ะทำให้ เกิดความสำเร็จใน
การสร้ างโปรแกรมความปลอดภัยให้ เกิดขึน้ ในสถานประกอบการและโรงงาน
อุตสาหกรรมต่ างๆ
 พืน้ ฐานของสถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมต่ างๆ (basic)
 ประสบการณ์ ( experience)
 ระยะเวลา ( time)
 ตัวผู้ปฏิบัตงิ าน ( you)
ขั้นตอนการสร้ างความปลอดภัย ( Safety
Programs)
 ขั้นตอนทีส่ าม ระบุว่ากิจกรรมใดทีจ่ ะส่ งเสริมและนำ
ไปสู่ ผลสำเร็จในการสร้ างโปรแกรมความปลอดภัยได้ สำเร็จ
สถิตอิ ุบัตเิ หตุและการสูญเสี ย
 สถิตอิ บุ ัตเิ หตุและสถิตกิ ารสู ญเสี ยเป็ นสิ่ งสำคัญอย่ าง
ยิง่ เนื่องจากเป็ นตัววัดประสิ ทธิผลของโปรแกรมความ
ปลอดภัย ซึ่งสถิตเิ ป็ นมูลค่ าสำหรับการหาความปลอดภัย
ของกระบวนการหรือการการวัดประสิ ทธิภาพการทำงานให้
เกิดความปลอดภัย
ลักษณะของการเกิดอุบัตเิ หตุและประสิ ทธิภาพของการสู ญเสี ย

วิธีการวิเคราะห์ ท้งั 3 ประเภทคือ


OSHA incident rate (อัตราการเกิดอุบัติ
การณ์
Fatal) accident rate (FAR)
(อัตราการตายจากอุบัตเิ หตุ)
Fatality Rate (อัตราการตายจาก
อุบัตเิ หตุ)
อัตราการเกิดอุบัตกิ ารณ์ (OSHA incident rate)

OSHA ย่ อมาจาก Occupational Safety


and Health Administration ของ
ประเทศสหรัฐอเมริกา มีหน้ าทีด่ ูแลให้ คนงานอยู่ใน
สภาพการทำงานทีป่ ลอดภัย เป็ นคำนิยามของ
OSHA ทีเ่ กีย่ วข้ องกับสถิตอิ ุบัตเิ หตุเนื่องจากการ
ทำงาน
อัตราการเกิดอุบัตกิ ารณ์ (OSHA incident rate)

OSHA incident rate เป็ นอัตราการเกิด


อุบัตเิ หตุการณ์ เป็ นการคิดจากพืน้ ฐาน การเกิดอุบัตเิ หตุ
ต่ อจำนวนผู้ปฏิบัตงิ าน 100 คนต่ อปี ซึ่ง 1 ปี คิดว่ าผู้
ปฏิบัตงิ านทำงานได้ ท้งั หมด 2,000 ชั่วโมง (50
สั ปดาห์ ต่อปี x 40 ชั่วโมงต่ อสั ปดาห์ ) ซึ่งอัตราการ
เกิดอุบัตกิ ารณ์ เป็ นอัตราแสดงบนพืน้ ฐาน 200,000
ชั่วโมงการทำงานทีผ่ ู้ปฏิบัตงิ านมีโอกาสสั มผัสอันตราย
อัตราการเกิดอุบัตกิ ารณ์ (OSHA incident rate)

จำนวนวันที่สูญเสียจากการบาดเจ็ บ เจ็บป่ วย  200,000


OSHA อัตราการเกิ ดอุบตั ิกรณ์
า 
จำนวนชัว่ โมงทำงานของผู้ปฏิบตั ิงานตลอดชีวิ ตการทำงาน
อัตราการตายจากอุบัตกิ ารณ์ (Fatal accident
rate :FAR)

เป็ นสถิตทิ สี่ ามารถบอกข้ อมูลพืน้ ฐานทีค่ ำนวณมา


จากจำนวนผู้ปฏิบัตงิ าน จำนวน 1 ,000 คน ที่
ทำงานตลอดชีวติ ซึ่งโดยให้ สมมติฐานว่ าสามารถ
ทำงานได้ อย่ างน้ อย 50 ปี ดังนั้น FAR ซึ่ง
สามารถทำให้ อยู่ในรู ปเลขยกกำลังได้ เท่ ากับ ชั่วโมง
การทำงาน 10 ชั่งโมง ( 2,000 ชั่วโมง/ปี x
8

50 ปี x 1,000 คน)
อัตราการตายจากอุบัตกิ ารณ์ (Fatal accident
rate :FAR)

  จำนวนผู้ท่เสี
ี ยชีว
ิต 10 8
FAR =จำนวนชัว่ โมงการทำงานทังหมดของ
้ ผู้ปฏิบตั ิตลอดอายุ
อัตราการตายจากอุบัตเิ หตุ (Fatality Rate)
วิธีการสุ ดท้ ายเป็ นค่ าสถิตทิ พี่ จิ ารณาอัตราการตายหรือการตายต่ อ
คนต่ อปี ซึ่งระบบนีจ้ ะเป็ นการคำนวณจากจำนวนชั่วโมงการ
ทำงานได้ จริงและจะบอกเฉพาะจำนวนการตายทีค่ าดว่ าจะเป็ น
คนต่ อปี
จำนวนชั่วโมงทีท่ ำงานของผู้ปฏิบัติ เปรียบเทียบกับชั่วโมงการ
ทำงานทีค่ าดคะเนว่ าผู้ปฏิบัตงิ านจะสามารถทำงานได้ ตลอดอายุ
ชีวติ โดยมีหน่ วยเป็ นเป็ นอายุต่อคนต่ อปี
อัตราการตายจากอุบัตเิ หตุ (Fatality Rate)
จำนวนการตายต่อปี
Fatality Rate =
จำนวนรวมของลูกจ้ าง
อัตราการเกิดอุบัตกิ ารณ์ (OSHA incident rate) และ
อัตราการตายจากอุบัตกิ ารณ์ ( FAR) ขึน้ อยู่กบั ชั่วโมงการทำงาน
ทีส่ ั มผัสอันตรายของผู้ปฏิบัตงิ านจากการทำงานจำนวน 10
ชั่วโมง ต่ อกะย่ อมมีโอกาสเกิดอันตรายต่ อผู้ปฏิบัตงิ านทีท่ ำงาน
จำนวน 8 ชั่วโมงต่ อกะ
OSHA อัตราการเกิดอุบัตกิ ารณ์
อัตราการตายจากอุบัติ
(รวมจำนวนการเจ็บป่ วยและการ
ประเภทโรงงาน การณ์ (FAR)
ตาย)
1985 1998 1986 1990
เคมีและอนุพนั ธ์ ของสารเคมี 0.49 0.35 4.0 1.2
ยานยนต์ 1.08 6.07 1.3 0.6
เหล็กและโลหะ 1.54 1.28 8.0
กระดาษ 2.06 0.81
เหมืองถ่ านหิน 2.22 0.26 4.0 7.3
อาหาร 3.28 1.33
ก่ อสร้ าง 3.88 0.6 67 5.0
เกษตรกรรม 4.53 0.89 10 3.7
การผลิตเนือ้ สัตว์ 5.27 0.96
รถบรรทุก 7.28 2.10
โรงงานอุตสาหกรรมต่ างๆ 1.68
ตัวอย่ าง
ตัวอย่ าง เหมืองแร่ แห่งหนึ่งทางภาคใต้ มีค่า FAR เท่ากับ 4 ถ้าสมมติให้ผู ้
ปฏิบตั ิงานในเหมืองแร่ ดงั กล่าวมีชวั่ โมงการทำงานเท่ากับ 8 ชัว่ โมงต่อวัน
และมีจ ำนวนวันที่ตอ้ งปฏิบตั ิงานจำนวนเท่ากับ 280 ชัว่ โมงต่อปี จงหา
อัตราการตายต่อคนต่อปี
วิธีการ
อัตราการตายต่อคนต่อปี = (8 ชัว่ โมง/วัน) x (280 วันต่อปี )
x (4 คนต่อ/108ต่อชัว่ โมง)
อัตราการตายต่อคนต่อปี = 0.0896 x10-3
ตัวอย่ าง
ซึ่งค่ า FAR เท่ ากับ 4 ในตัวอย่ างนี้ คิดมาจาก จำนวนผู้ปฏิบัติ
งาน 1,000 คน ในสถานประกอบการ ซึ่ง 1,000 คน จะคิดจาก
เวลาการทำงานตลอดชีวติ ของผู้ปฏิบัตงิ านจะมีความตาย 40
คนใน 1,000คน ซึ่ง 40 คนนีอ้ าจจะสั มผัสารเคมีอนั ตรายหรือ
สิ่ งอืน่ ทีอ่ าจก่ อให้ เกิดอันตรายต่ อชีวติ ได้
สถิตกิ ารตายสำหรับกิจกรรมทีไ่ ม่ ได้ เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม
กิจกรรม FAR (ตาย / 108 อัตราการตาย (ตายต่ อคนต่ อปี )
ชั่วโมง)
การตัง้ ใจทำ
1.ที่บ้าน 3 17 x 10-5
2.การเดินทางโดย
รถยนต์ 57 4 x 10-5
จักรยาน 96 500 x 10-5
เครื่ องบิน 240 6 x 10-11
จักรยานยนต์ 660 1 x 10-7
เรื อ 1 ,000 150 x 10-7
ปี นหน้ าผา 4,000 600 x 10-7
สูบบุหรี่ (20 มวน/วัน)
ไม่ ตงั ้ ใจทำ
1. ปะทะกับหินอุกาบาต
2. ฟ้าผ่ า
3. ไฟไหม้
4. รถออกนอกเส้ นทาง
การตายเนื่องจากอุบัตเิ หตุท้งั หมด
ประเภทการตาย การตายในปี 1998 (คน)
ยานยนต์
ทั่วไป 38,900
ทำงาน 21,000
ที่อยู่อาศัย 200
จำนวนรวม 41,200 (43.5%)
ที่ทำงาน 3,000
ไม่ ใช่ รถยนต์ 21,000
ยานยนต์ 51,000 (5.4%)
จำนวนรวม 28,200
ที่บ้าน 200
ไม่ ใช่ ยานยนต์ 28,400
ยานยนต์ 20,000
จำนวนรวม 20,000 (21.1%)
สาธารณะ 92,200
จำนวนรวม
การตายจากอุบัติเหตุ
ตัวอย่ าง
กิจกรรมพายเรือจะมีโอกาสเกิดอันตรายมากทีส่ ุ ดมากกว่ าการ
ตายโดยวิธีการอืน่ ๆ แต่ หากเปรียบเทียบแล้ วจะเห็นจำนวน
การตายเปรียบเทียบแต่ ละชั่วโมง กิจกรรมการตายจากการ
ขับขีจ่ ักรยานยนต์ มอี ตั ราสู งกว่ ากิจกรรมพายเรือ เนื่องจาก
คนส่ วนใหญ่ จะมีการเดินทางโดยจักรยานยนต์ มากกว่ าพาย
เรือ นอกจากนีค้ นส่ วนใหญ่ จะนิยมเดินทางโดยรถ
จักรยานยนต์ มากกว่ าการพายเรือ

You might also like